[144] ของทุนได้ถูกส่งผ่านความก้าวหน้าทางการสื่อสารในยุคโลกาภิวัตน์ ทั้งเสรีนิยมใหม่ทางเศรษฐกิจ เช่น การเปิดเสรีทางการค้า การเปิด เสรที างการเงนิ เสรีนยิ มใหมท่ างวฒั นธรรม เช่น วิถีชีวิตที่คล้ายคลึง กันทั้งโลก การมีวัฒนธรรมโลกที่เป็นแบบแผนเดียวกัน การ บริโภคตามกระแสวัตถุนิยม และเสรีนิยมใหม่ทางการเมือง เช่น กระแสประชาธิปไตย (Democratization) ธรรมาภิบาล (Good Governance) และการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization) เป็นต้น พัฒนาการของการสื่อสารทางการเมืองในยุคโลกาภิวัตน์ จึงได้ ก่อให้เกิดความเปล่ียนแปลงในด้านองค์ความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับ พัฒนาการของการสื่อสารทางการเมืองตามไปด้วย เน่ืองจากบริบท ทางสงั คมทีเ่ ปลี่ยนไป ความสาคัญของการสื่อสารทางการเมอื ง ลูเซียน พาย (Lucian W. Pye) เห็นว่า การสื่อสาร โครงข่ายท่ีโยงใยสังคมมนุษย์ โครงสร้างของระบบการส่ือสาร เปรียบเสมือนโครงกระดูกของสังคม เน้ือหาสาระ (content) ของ การส่ือสารกค็ อื ใจความสําคัญ (substance) ของการปฏิสัมพันธ์กัน ของมนุษย์ (intercourse) การไหลเวียนของสารสื่อสารจะกําหนด ทิศทางและอตั ราการพลวัตการพัฒนาของสังคม การส่ือสารแผ่ซ่าน ไปทั่วสังคมและพบเห็นได้ในทุกส่วนในวิถีสังคม ดังนั้นจึงมีความ เป็นไปได้ท่ีจะทําการวิเคราะห์กระบวนการทางสังคมทั้งหมดโดย อาศยั โครงสร้างเนอื้ หาสาระ และการไหลเวียนของการส่ือสาร พาย ได้พิจารณาบทบาทของการสื่อสารในการพัฒนาทางการเมือง โดย แบง่ สงั คมออกเป็น 3 แบบ ได้แก่ 1. สังคมโบราณ (Traditional Society) คือ เป็นสังคม ซึ่งระบบการเมืองยังไม่พัฒนาอาจเป็นระบบหัวหน้าเผ่า (Tribal
[145] Leader) หรือเจ้าผู้ครองนครหรือราชาธิปไตย หรือคณาธิปไตยซ่ึง คงรูปไม่แน่นอนในสังคมเช่นน้ีการส่ือสารทางการเมืองเป็นไปตาม ระดับสถานะทางการเมืองซึ่งกําหนดแน่นอนตายตัวการถ่ายทอด ข่าวสารและความคิดเห็นไปในทางเดียว คือ จากเบ้ืองบน (ผู้ครอง อํานาจในแผน่ ดนิ ) ลงมาสปู่ ระชาชน ไม่มีการถ่ายทอดย้อนกลับจาก ประชาชนไปสู่ผู้กุมอํานาจ ในการปกครองในสังคมแบบนี้ การส่ือสารมวลชนยังไม่กําเนิดขึ้น เพราะมวลชนยังไม่มีสิทธิ์มีเสียง ในทางการเมือง มวลชนมีหน้าที่เพียงรับฟัง คําแถลงการณ์หรือคํา ชี้แจงจากรัฐบาลเท่านน้ั 2. สังคมสมัยใหม่ (Modern Society) ในสังคมเช่นน้ี อํานาจทางการเมืองกระจายออกไป สังคมประกอบด้วยกลุ่มชนซ่ึง มุ่งปกป้องรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของตนเอง อํานาจทาง การเมืองอาจเปลี่ยนแปลงได้โดยสันติ การส่ือสารทางการเมือง เป็นไปในลักษณะทิศทางที่สวนกันคือ ข่าวสารและความคิดเห็นถูก ถ่ายทอดจากผู้คุมอํานาจทางการเมืองมาสู่มวลชน และจากมวลชน ย้อนกลับ (Feedback) ข้ึนไปสู่เบ้ืองบนอีกครั้งหน่ึง ในสังคมเช่นน้ี การสื่อสารมวลชนเป็นสอื่ สาํ คัญทางการเมืองเพราะเป็นสื่อถ่ายทอด ข่าวสาร และเปน็ ตลาดเสรขี องความคิดเห็น 3. สังคมซ่ึงกาลังเปลี่ยนรูป (Transitional Society) เป็นสงั คมซึ่งอยใู่ นระดบั ระหวา่ งสังคมโบราณและสังคมสมัยใหม่ คือ สังคมท่ีกําลังพัฒนาจากสังคมโบราณแต่ยังไม่บรรลุถึงความสําเร็จที่ จะเป็นสังคมสมัยใหม่อย่างแท้จริง ในสังคมชนิดน้ี อํานาจทาง การเมืองยังไม่กระจายออกไปสู่ประชาชนอย่างแท้จริง แต่มวลชน เริ่มมีสิทธิมีเสียงในทางการเมือง (Political -Participation) ใน สังคมเช่นนี้ กลุ่มชนท่ีสําคัญ คือ ผู้นําสมัยใหม่ซึ่งอาจเป็นผู้ได้รับ การศึกษาดี ตระหนักในภาวะของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ผู้นํา
[146] สมัยใหม่เหล่าน้ีเป็นพลังสําคัญในสังคมแบบนี้ เพราะเป็นผู้ผลักดัน มวลชนรับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้น เช่น กลุ่มประเทศที่กําลัง พัฒนา ในสังคมซึ่งกําลังเปลี่ยนรูป การส่ือสารมวลชนเร่ิมฟักตัว เกิดขึ้นฉะน้ันการปฏิบัติหน้าท่ีของส่ือมวลชนอาจไม่สมบูรณ์เช่นใน สังคมสมัยใหม่ คือ ยังไม่มีการถ่ายทอดสวนทิศทางระหว่างผู้มี อํานาจกับมวลชนอย่างแท้จริง บทบาทของส่ือสารมวลชนในสังคม เช่นนี้ มักจะเป็นไปในรูปท่ีผู้นําจะเป็นผู้ช้ีทางให้ประชาชนเข้าใจใน สภาพความเปลี่ยนแปลงทางสังคมสําหรับสื่อสารมวลชนน้ันมี ภาระหน้าท่ีเป็นพิเศษ คือ เป็นผู้นําและเป็นผู้สอนให้เข้าใจใน บทบาททางการเมอื งของตน พาย ได้อธิบายว่า กระบวนการสื่อสารยังทําหน้าท่ีในการ ขยายความรู้สกึ ของปจั เจกชนใหก้ ลายเปน็ ความรู้สกึ ของสงั คมได้ ซ่ึง การขยายตัวของความรู้สึกดังกล่าวจะเกิดขึ้นหรือไม่ขึ้นอยู่กับ กระบวนการของการสื่อสาร กระบวนการทางการเมืองและ กระบวนการส่ือสารมีความใกล้ชิดกัน มนุษย์ต้องเกี่ยวข้องกับระบบ การสื่อสารเพื่อเตรยี มตัวให้เข้าใจถึงข้อความทางการเมืองที่ต้องการ สาระสําคัญทางการเมืองมักจะเข้ามาทางองค์กรของกระบวนการ ส่ือสาร นอกจากนี้กระบวนการส่ือสารยังมีหน้าท่ีในการเตรียม พ้ืนฐาน อันจําเป็นในการใช้เหตุผลของการเมืองแบบมหาชน
[147] ประชาชนจะสามารถถกเถียงกันในกิจการส่วนรวม (collective action) ได้ก็ต่อเม่ือประชาชนได้ร่วมกันแลกเปล่ียนความรู้และ ข้อมูลข่าวสารกัน กระบวนการสื่อสารจะให้ข้อมูลแก่ประชาชนว่า ผู้นําของตนมีการมองการณ์ไกลหรือไม่ พาย ได้อธิบายว่า การ สื่อสารมหี น้าทที่ ี่สําคญั 6 ประการในทางการเมือง กล่าวคือ 1) การสื่อสารจะต้องถูกใช้เพื่อส่งเสริมความรู้สึกเป็นชาติ (Nation ness) เดยี วกนั 2) การสื่อสารจะต้องถูกใช้เสมือนเป็นเสียงสะท้อนของ ประชาชน ต่อของแผนพฒั นาแหง่ ชาติ 3) การส่ือสารจะต้องถูกใช้ในการช่วยสอนทักษะท่ีจําเป็น แกป่ ระชาชนในการมสี ่วนรว่ มในการพฒั นาประเทศ 4) การส่ือสารจะต้องถูกใช้เพ่ือการขยายตลาดอย่างมี ประสิทธภิ าพ 5) การส่ือสารจะต้องถูกใช้เพื่อช่วยประชาชนในการเตรียม ตัวเพื่อรบั บทบาทใหม่ในการพัฒนาประเทศ 6) การสื่อสารจะต้องถูกใช้เพื่อเตรียมประชาชนในการรับ บทบาทในฐานะส่วนหนง่ึ ของชาตทิ ตี่ อ้ งแขง่ ขันกับชาติอื่น ๆ โดยสรุปแล้วจะเห็นได้ว่า การส่ือสารทางการเมืองเป็น กระบวนการทางการเมืองทกี่ อ่ ให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก ของสังคมการเมือง มีพัฒนาการความเป็นมาที่ยาวนาน และมี ความสําคัญต่อระบบการเมือง เป็นกิจกรรมท่ีแพร่หลายทั่วไป ทั้ง การสร้างโครงข่ายผลประโยชน์ การประสานผลประโยชน์การสร้าง กฎ การประยุกต์ ใช้กฎและการปรับเปล่ียนกฎ ล้วนดําเนินไปโดย อาศัยการส่ือสารเปน็ เคร่อื งมอื ดว้ ยกนั ท้งั สน้ิ
[148] การเมืองไทยในปัจจุบัน พรรคการเมืองแต่ละพรรค หรือ แม้กระทั่งคณะรัฐประหารต่างก็นํากลยุทธ์ทางการตลาด มา ประยุกต์ใช้ในการส่ือสารหรือรณรงค์ทางการเมือง โดยแต่ละพรรค การเมืองจะมีนําวิธีการขายสินค้า (product marketing) รวมทั้ง การสร้างคุณค่าในตราสินค้า (พรรคการเมือง) ดังน้ัน จึงเกิดการบูร ณาการเป็นแนวคิดใหม่ ๆ ด้วยการนําการส่ือสารการตลาด (Marketing Communication) มาผสมผสานกับแนวคิดการ รณรงค์หาเสียงเลือกต้ัง หรือเป็นลักษณะของ “การสื่อสาร การตลาดทางการเมือง ” (Integrated Marketing Communication: IMC) เช่น การจัดสัมมนา การจัดนิทรรศการ การใช้สื่อผลิตภัณฑ์ และการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดย วัตถุประสงคเ์ พื่อให้ไดร้ บั การยอมรับและชนะการเลือกตงั้ การสือ่ สารทางการเมืองในยุคโลกาภิวัตน์ จึงมีลักษณะเป็น รูปแบบของการสื่อสารท่ีเน้นอยู่บนหลักของการตลาด ท่ีมีผู้ผลิต สนิ ค้าหรอื บริการ ผ้จู ดั จําหน่ายสนิ ค้า ฝ่ายโฆษณาของบริษัท บริษัท ตัวแทนโฆษณาหรือพนักงานขาย อยู่ในฐานะของผู้ส่งข่าวสาร ซึ่ง อาจอยู่ในรูปของสัญลักษณ์ ภาพ เสียง แสง การเคล่ือนไหว ตัวอักษร คําพูด หรือ เสียงเพลง ผ่านช่องทางการส่ือสารประเภท ต่าง ๆ เพ่ือให้ผู้รับข่าวสารหรือประชาชนตอบสนองในทิศทางท่ี ตอ้ งการนอกจากน้ัน การส่ือสารทางการเมืองยังต้องหาช่องทางการ เข้าถึงผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกต้ังซ่ึงเป็นกลุ่มเป้าหมายให้ได้มากท่ีสุด ดังน้ัน นักการเมืองและนักการตลาดจึงเลือกใช้ กลยุทธ์การส่ือสาร หลาย ๆ รูปแบบมาผสมผสานกัน และยังต้องคํานึงถึงความถี่ท่ี เหมาะสมในการใช้ส่ือด้วย ในแง่มุมหน่ึง การส่ือสารทางการเมือง โดยการํากลยุทธ์การส่ือสารการตลาดแบบผสมผสานมาใช้กันอย่าง แพร่หลาย ทง้ั การใช้แคมเปญโฆษณา การประชาสัมพันธ์ การตลาด
[149] แบบทางตรงด้วยการอาศัยการหาเสียง หรือเดินพบปะประชาชน รวมทง้ั การสรา้ งภาพลักษณข์ องพรรค (brand image) นั้น แสดงถึง บูรณาการทางการเมืองท่ีได้มีการนํากลยุทธ์ทางการตลาดและสื่อ หลาย ๆ แขนงมาใช้ให้เกดิ ประโยชนท์ างการเมืองให้มากท่ีสุด ทําให้ พรรคการเมืองต่าง ๆ พยายามนําเสนอข้อมูลข่าวสาร นั่นก็คือ การ นําเสนอผู้สมัครและการสร้างพรรคการเมืองที่มีคุณภาพ ตลอดจน การส่งเสริมให้พรรคการเมืองทํางานเป็นทีม เพ่ือให้สามารถทําการ ส่ือสารทางการเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพและส่งผลให้ได้รับชัย ชนะ ในการเลือกต้ัง สาหรับการเลือกตัง สภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ในปี 2562 เป็นการเลือกต้ังคร้ังหน่ึงในประวัติศาสตร์ชาติไทยนับจากการ เลือกตั้งครั้งล่าสุดเมื่อปี 2554 ซ่ึงในการเลือกต้ังครั้งนี้ได้มีการออก พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ป ร ะ ก อ บ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ว่ า ด้ ว ย ก า ร เ ลื อ ก ต้ั ง สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรพ. ศ. 2561 ซงึ่ มีผลต่อการใช้สื่อของพรรค การเมอื งท่ีไม่สามารถหาเสียงผ่านโทรทัศน์และวิทยุได้ทําให้ส่ือหลัก ของการหาเสียงในครั้งนี้คือ \"สื่อออนไลน์\" และ \"ส่ือนอกบ้าน\" รวมท้ังการลงพ้ืนที่เดินหาเสียงพบปะกับประชาชนซึ่งปัจจุบันพบว่า สอ่ื โซเชยี ลเป็นเครอื่ งมือที่สําคัญในการส่ือสารใช้เป็นช่องทางการหา เสยี งเพือ่ ดึงดูดให้คนเข้ามาลงคะแนนเสียงผู้สมัครหรือพรรคของตน ขณะเดียวกันก็เป็นช่องทางหลักในการดึงดูดคนรุ่นใหม่ในฐานะผู้มี สิทธ์ิเลือกตัง้ ครั้งแรกหรือกลุ่ม new voter ซ่ึงท่ัวประเทศมีมากกว่า 7 ลา้ นคน
[150] ซึ่งจากการศึกษาของส่ือในสํานักต่าง ๆ อย่างเช่น media intelligence หรือ MI. ได้เปิดเผยเม็ดเงินการหาเสียงของพรรค การเมืองทั่วประเทศเพราะว่าในปี 2554 เม็ดเงินท่ีใช้โฆษณาอยู่ท่ี 300 ล้านบาทโดยใช้ไปกับส่ือ หนังสือพิมพ์ 50% ส่ือโทรทัศน์ 46 % ซ้ือวิทยุ 3 เปอร์เซ็นต์ แ ล ะ ส่ื อ น อ ก บ้ า น 1% แ ต่ สําหรับในปี 2562 เม็ดเงินที่ใช้ ในการหาเสียงอยู่ท่ีราว 300 ถึง 500 ล้านบาทซึ่งถึงแม้เม็ดเงินท่ี ใช้ในการหาเสียงในระหว่างปี 2554 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2552 จะมีขนาดใกล้เคียงกันแต่ ช่องทางในการหาเสียงกบั แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง น่ันคือช่องทางใน ก า ร ห า เ สี ย ง ข อ ง พ ร ร ค ก า ร เ มื อ ง ใ น ปี 2562 เ พ่ื อ ส ร้ า ง ก า ร รั บ รู้ ใ น แ บ ร น ด์ ข อ ง พ ร ร ค การเมือง ตัวบุคคล หรือ นโยบายพรรคการเมือง มี อยู่ 2 ช่องทางคือ ส่ือ ออนไลน์ซึ่งเป็น platform social media ต่างๆและสีนอกบ้าน และนอกจากนีย้ งั มีการเดินสายหาเสียงพบปะประชาชนในพื้นท่ีต่าง ๆ ของนักการเมืองเองในขณะที่หนังสือพิมพ์แม้จะลงโฆษณาได้แต่ กลับพบว่าหลายๆพรรคการเมืองลดการใช้ส่ือประเภทน้ีลง เมื่อ วิเคราะห์เจาะลึกลงไปที่สนามการเลือกตั้งของจังหวัดอํานาจเจริญ จะพบว่าการหาเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือ ส.ส. ใน
[151] ปี 2562 ไปท่ีจังหวัดอํานาจเจริญ ซึ่งก่อนที่จังหวัดอํานาจเจริญจะ ก่อตั้งเป็นจังหวัดข้ึนนั้น จังหวัดอํานาจเจริญเป็นหน่ึงในอําเภอของ จงั หวดั อุบลราชธานี ต่อมา ในปี 2536 ได้ถูกยกฐานะข้ึนเป็นจังหวัด อํานาจเจริญมีกี่เขตเลือกต้ังท้ังหมด 2 เขตเลือกต้ังมีโควต้าประจํา จังหวัดได้ 2 คน ประกอบด้วย เขต 1 มีอําเภอเมืองอํานาจเจริญ อําเภอหัวตะพาน และเขต 2 อําเภอปทุมราชวงศา อําเภอพนา อําเภอลืออํานาจ อําเภอชานุมาน และอําเภอเสนางคนิคม ซึ่งการ เลือกต้ังในปี 2562 ทั่วท้ังจังหวัดอํานาจเจริญมีผู้มีสิทธิ์เลือกต้ัง จํานวน 297,503 คน มีหน่วยเลือกตั้งทั้ง 2 เขตจํานวน 269 หน่วย เลอื กต้ัง มีผู้สนใจลงสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเขตเลือกตั้ง ที่ 1 จํานวน 29 คน และเขตเลือกตั้งท่ี 2 จํานวน 30 คนรวมท้ัง 2 เขตมีผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสส. จํานวน 59 คน ซ่ึง เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั การเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี 2554 พบว่าพรรคการเมืองใหญ่ 2 พรรค คือพรรคเพ่ือไทยและพรรค ประชาธิปัตย์แบง่ เกา้ อ้ี ส.ส. อํานาจเจรญิ ไปคนละ 1 ที่นงั่ แต่การ เลือกตั้ งในปี 2562 สนาม เลือกตั้ งจังหวั ด อํานาจเจริญอาจจะไม่ใช่พรรคเพ่ือไทย และพรรคประชาธิปัตย์ที่ชิง กันเพียงสองพรรคใหญ่เท่าน้ัน แต่มีพรรคการเมืองที่ลงสนามชิงชัย เพมิ่ อกี คอื พรรคภมู ใิ จไทยและพรรคพลังประชารัฐ ฉะนน้ั ในการเลือกตั้งในปี 2562 จังหวัดอํานาจเจริญในเขต เลือกต้ังท่ี 1 เป็นการสู้ศึกกันระหว่าง 4 พรรคการเมืองใหญ่คือ พรรคเพ่ือไทยซ่ึงเป็นแชมป์เก่าเม่ือปี 2554 และมีผู้ท้าชิงจาก 3 พรรคการเมอื งใหญค่ ือพรรคประชาธิปัตย์ พรรคภูมิใจไทยและพรรค พลังประชารัฐ และในเขตเลือกตั้งที่ 2 แชมป์เก่าคือพรรค ประชาธิปัตย์ต้องเจอคู่แข่งอีก 5 พรรคใหญ่ซ่ึงล้วนแล้วแต่ผ่านเวที
[152] ผู้สมัครสส. หรือผู้สมัครส.ว. มาแล้วทั้งสิ้นเช่นพรรคเพ่ือไทย พรรค พลงั ประชารฐั พรรคภมู ิใจไทย พรรคอนาคตใหม่ เปน็ ต้น ซ่ึงในการหาเสียงของผู้สมัครในแต่ละภาคน้ันส่วนใหญ่การ หาเสียงจะอยู่ในรูปแบบของส่ือนอก บ้านคือป้ายคัทเอาท์หาเสียงและป้าย หาเสยี งโฆษณาต่างๆรวมถึงการลงพื้นท่ี ของตัวผู้สมัครเองซ่ึงเป็นวิธีการหลักที่ ผู้สมัครลงรับเลือกต้ังสสของจังหวัด อํานาจเจริญเลือกใช้เป็นวิธีการหาเสียงหลัก ๆโดยลงพื้นท่ีหาเสียง พร้อมบุคคลสําคัญของพรรค ด้วยอาจจะเป็นเพราะจังหวัด อํานาจเจริญเป็นจังหวัดเล็กๆและมีพื้นท่ีค่อนข้างน้อยจึงทําให้ ผู้สมัครสส. สามารถลงพื้นท่ีหาเสียงได้อย่างครอบคลุมนอกจากนี้ก็ จะเป็นรูปแบบการหาเสียงแบบปากต่อปากโดยใช้ผู้นําชุมชนเป็น ตั ว ก ร ะ ตุ้ น ใ น ก า ร ห า เ สี ย ง เพราะการหา เสียงในรูปแบบ ปากต่อปากนี้หัวคะแนนจะ เป็นบุ คคลสํ าคัญใ นพ้ืน ท่ี อ ย่ า ง เ ช่ น ผู้ นํ า ชุ ม ช น คณะกรรมการหมู่บ้านหรืออ สมเพราะการหาเสียงในรูปแบบปากต่อปากอีกเช่นนี้หัวคะแนน ส ามารถพู ดโ น้มน้าว ให้ คนในชุ มช นห รือพื้ นท่ีคะแนน เสี ยงขอ ง ผู้สมัครเช่ือฟังคําพูดและสามารถมีนํ้าหนักในการหาเสียงแทน ผสู้ มคั รได้
[153] ผลการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี 2562 ใน จังหวดั อํานาจเจริญเขตเลือกตั้งท่ี 1 ผลปรากฏว่าพรรคเพ่ือไทยโดย นางสมหญิง บัวบุตร ได้รับเลือกต้ังด้วยคะแนนเสียง 26,320 คะแนน ท้ิงห่างอันดับที่ 2 อย่างพรรคภูมิใจไทย 20,000 กว่า คะแนน ขณะท่ีเขตเลือกตั้งท่ี 2 ผลการเลือกต้ังปรากฏว่าพรรคเพ่ือ ไทย โดยนายดนัย มะหิพันธ์ ได้รับเลือกต้ังด้วยคะแนนเสียง 26,540 คะแนน ทิ้งห่างพรรคพลังประชารัฐ อันดับท่ี 2 10,000 กว่าคะแนน ซ่ึงในจังหวัดอํานาจเจริญพรรคเพื่อไทยได้คว้าชัยชนะ ไปท้ัง 2 เขตเลือกต้ัง ท้ังนี้ นโยบายของพรรคก็มีส่วนสําคัญในการ ชนะผลการเลือกตั้ง เพราะเมื่อดูท่ีนโยบายของพรรคจะพบว่าพรรค เพื่อไทยเน้นไปท่ีการแก้ไขปัญหาปากท้องของประชาชนชาวราก หญ้าเป็นหลักทําให้การหาเสียงของสส. และหัวคะแนนต่างมุ่ง จุ ด ห ม า ย ข อ ง ก า ร ห า เ สี ย ง ไ ป ที่ ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ป า ก ท้ อ ง ข อ ง ประชาชนเป็นหลัก ซึ่งจากท่ีกลุ่มของพวกเราได้นําเสนอข้อมูลไปแล้วในข้างต้น สามารถนาํ แนวทางการศกึ ษามาอธิบายประกอบการนําเสนอโดยใช้ \"แนวทางการศึกษาการส่ือสารหรือ communication approach\" มาอธิบาย ซึ่ง communication approach มุ่งเน้นการอธิบายการ ส่ือสารทางการเมืองเพ่ือทําความเข้าใจของระบบสื่อสารทาง การเมอื งอันเกี่ยวขอ้ งกับการมเี สถยี รภาพและการไร้เสถียรภาพหรือ ความม่ันคงทางการเมืองเป็นสําคัญโดยเน้นประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของการสื่อสารมากกว่าวิธีการซึ่งนักคิดคนสําคัญ เช่น Karl w.Deustch ซ่ึงอธิบายไว้ว่าการสื่อสารทางการเมืองเป็น ภารกิจทางการเมืองท่ีเป็นกระบวนการในการชี้นําและตรวจสอบ หลังความพยายามของมนุษย์เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายการส่ือสารทาง
[154] การเมืองไม่ใช่เร่ืองของชะตากรรมแต่เชื่อม่ันในความสามารถและ กา ร ก ร ะทํ า จ า กม นุ ษ ย์ ท่ีอ า ศั ย ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ จ าก ธ ร ร มช า ติ ข อ ง การเมือง Karl w.Deustch มองวา่ ระบบการเมืองสามารถมีดลุ ย ภาพภายใตก้ ระบวนการทาํ งานของระบบทเ่ี ปน็ โครงสร้างอนั ประกอบไปด้วย 1) กลไกตัวรับข่าวสารที่ทําหน้าที่รวบรวมข่าวสารและทํา ก า ร คั ด เ ลื อ ก ต ร ว จ ส อ บ ข้ อ มู ล ข่าวสารและทําการบันทึกเข้า ระบบต่อไปเห็นได้จากการหา เสียงของเหล่าบรรดาส.ส. และ พรรคการเมือง เพ่ือกระตุ้นให้ ป ร ะ ช า ช น ไ ด้ รั บ ท ร า บ ข้ อ มู ล ข่าวสารเกี่ยวกับตัวผู้สมัครและ พรรคการเมืองให้เกิดภาพจําเข้า ไปในการรับรขู้ ่าวสาร 2) คนไกลตัวบันทึก ข้อมูลและประเมินผลกลไกน้ีจะ รับข้อมูลและบันทึกข้อมูลด้วย ก า ร แ จ ก แ จ ง ข่ า ว ส า ร ใ ห ม่ กั บ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ใ น อ ดี ต ว่ า มี ความสมั พันธเ์ ชือ่ มโยงกันอย่างไรและหน่วยประมวลผลจะทําหน้าท่ี ชแี้ นะแนวทางการเลือกตอ่ ข้อมูลขา่ วสารนนั้
[155] 3) กลไกทําหน้าที่ตัดสินทําหน้าท่ีรับข้อมูลจากการบันทึก และการประเมินผลก่อนหน้านี้จึงได้ตัดสินใจทางการเมืองออกมาซ่ึง อีกประการหนึ่งของการสื่อสารทางการเมืองของพรรคการเมืองเอง จะเห็นได้ว่าตราสญั ลักษณข์ องพรรคการเมอื งเองก็มสี ว่ นช่วยในเร่ือง ของการเกิดภาพจํารวมถึงการจัดทําส่ือนอกบ้านท่ีติดตามท่ีสําคัญๆ ก็จะช่วยให้ทําให้เกิดภาพจําแล้วทําให้เกิดกลไกในการตัดสินใจได้ ง่ายข้ึน 4) กลไกตวั ปฏิบัติการเปน็ กลไกนําผลของการตดั สนิ ใจไป ดาํ เนินการให้ไปสเู่ ป้าหมายท่ีวางไว้ 5) กลไกตัวควบคุมและป้อนกลับข่าวสารทําหน้าท่ีรายงาน ผลของการปฏิบัติหน้าท่ีและนํากลับมาเข้าสู่กลไกท่ีเป็นตัวรับ ขา่ วสารอีกคร้งั
[156] เอกสารอ้างอิง การสือ่ สารทางการตลาดเพื่อการเมืองของพรรคอนาคต ใหม่ ในการเลือกต้งั ปี 2562 ค้นเมอ่ื วันที่ 17 กมุ ภาพันธ์ 2565 http://www.graduate.dusit.ac.th/journal/index.php/sdujournal/ article/view/950 จงั หวัดอํานาจเจรญิ ในการเลือกตัง้ สมาชกิ สภาผูแ้ ทน ราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 ค้นเม่ือวันท่ี 17 กุมภาพนั ธ์ 2565 https://th.wikipedia.org เจาะสนาม : ‘อาํ นาจเจริญ’จับตา‘เขต2’ล้นุ สนกุ แน่ ค้น เม่อื วันที่ 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2565 https://www.naewna.com/politic/398273 ชาํ แหละกลยุทธใ์ ชส้ อื่ เลือกตง้ั ‘62 พรรคการเมืองแห่ใช้ “คอนเทนต์ + โซเชยี ลมีเดีย” สร้างสาวกคน้ เมือ่ วนั ท่ี 17 กมุ ภาพันธ์ 2565 https://www.marketingoops.com/reports/media- stat/content-and-social-media-strategy-thailand-general- election-2019/ ชวนะ ภวกานนั ท์. (2548). การศกึ ษารัฐศาสตร์แนว ทางการส่ือสาร. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและวธิ ีการศึกษา ทางรฐั ศาสตร์. นนทบุร:ี มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. พลงั ประชารฐั ชูนโยบายหาเสียงโคง้ สุดทา้ ย อัดสโลแกน ‘เลือกความสงบ.. จบทีล่ งุ ตู่’ ค้นเม่ือวันที่ 17 กมุ ภาพันธ์ 2565 https://thestandard.co/thailandelection2562- palangpacharat-policy/
[157] พรรคอนาคตใหม่กบั การสร้างคะแนนนยิ มผา่ น Social Media คน้ เมื่อวนั ท่ี 17 กุมภาพนั ธ์ 2565 https://www.thairath.co.th/news/tech/1693908 วชั รา ไชยสาร. (2017). การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง: กล ยทุ ธก์ ารสอ่ื สารการตลาด. http://www.thaitopic.com/mag/pol/imc01.htm คน้ คืนเมือ่ September 20, 2017 ศกึ เลือกตัง ส.ส.อานาจเจรญิ ปชป.-เพอื่ ไทย รักษาแชมป์ ได้หรือไม่? คน้ เม่ือวนั ท่ี 17 กุมภาพนั ธ์ 2565 https://www.banmuang.co.th ‘อดตี ส.ส.เพือ่ ไทย’ มนั่ ใจไดเ้ ขต 1 อาํ นาจเจรญิ ชี้ ไทยควร รกั ษา ‘ระบอบปชต.’ ช่ัวลกู หลาน ค้นเมอ่ื วันที่ 17 กุมภาพนั ธ์ 2565 https://www.matichon.co.th ›
[158] แนวการศึกษามาร์กซสิ ต์ (Marxist Approach): กรณีศกึ ษาการเมอื งท้องถนิ่ ในพนื ท่ตี าบลนาผือ อาเภอเมอื ง จงั หวัดอานาจเจริญ นิวัฒน์ สู่เสน, ธาราทิพย์ ลาภาอุตม์, พงศกร แก้วรตั นกาญจน์ และดิสนนั ท์ ป้องกัน บทนา มาร์กซิสต์ เป็นวิธีการวิเคราะห์สังคมและเศรษฐกิจซึ่งวิพากษ์ ทุนนิยมผ่านกระบวนทัศน์การขูดรีดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง ชนช้ันและความขัดแย้งทางสังคมโดยใช้การตีความพัฒนาการ ประวัติศาสตร์แบบวัสดุนิยม และทัศนะวิภาษวิธีการแปลงสังคม (social transformation) ถือกําเนิดจากนักปรัชญาชาวเยอรมัน สมัยครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 19 คาร์ล มากซ์และฟรีดรชิ เองเงลิ ส์ ลัทธมิ ากซใ์ ชว้ ธิ ีวทิ ยาที่เรียกวัตถุนิยมประวัติศาสตร์เพ่ือวิเคราะห์ และวพิ ากษ์การพัฒนาของทุนนิยมและบทบาทของการต่อสู้ระหว่าง ชนชั้นในการเปล่ียนแปลงเศรษฐกิจท้ังระบบ ตามทฤษฎีลัทธิมากซ์ ความขดั แย้งระหว่างชนช้ันเกิดในสังคมทุนนิยมอันเนื่องจากความขัดกัน ระหว่างผลประโยชน์ทางวัตถุของชนกรรมาชีพท่ีถูกกดขี่ ชนกรรมาชีพ คอื ผูใ้ ช้แรงงานเอาค่าจ้างท่ีชนช้ันกระฎุมพีหรือชนชั้นตํ่า, มักใช้คู่กับ คําว่า ไพร่ว่าจ้างเพื่อผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งชนช้ันกระฎุมพีนี้เป็น ชนช้ันปกครองที่เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและเอาความม่ังค่ังมา จากการจัดสรรผลิตภัณฑ์ส่วนเกิน (กําไร) ท่ีชนกรรมาชีพผลิตข้ึน การต่อสู้ระหว่างชนชั้นนี้ซึ่งมักแสดงออกมาเป็นการกบฏของกําลัง การผลิตของสังคม (productive force) ต่อความสัมพันธ์การผลิต (relation of production) ของสังคม ส่งผลให้เกิดวิกฤติระยะสั้น เม่ือชนช้ันกระฎุมพีประสบความลําบากในการจัดการความแปลกแยก ของแรงงาน (alienation of labor) ท่ีทวีความรุนแรงขึ้นของชนกรรมาชีพ
[159] แม้ว่ามีความสํานึกเรื่องชนชั้น (class consciousness) ระดับมากน้อย วิกฤตน้ีลงเอยด้วยการปฏิวัติของชนกรรมาชีพและการสถาปนา สังคมนิยมในท่ีสุด ซ่ึงเป็นระบบทางสังคมและเศรษฐกิจที่ยึดสังคม เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต กระจายให้แต่ละคนตามการมีส่วนร่วม และการผลิตที่จัดระเบียบโดยตรงสําหรับการใช้ เมื่อกําลังการผลิต ก้าวหน้าข้ึน มากซ์ต้ังสมมติฐานว่าสังคมนิยมสุดท้ายจะแปลงเป็น สังคมคอมมิวนิสต์ หมายถึง สังคมไร้ชนชั้น ไร้รัฐ และมีมนุษยธรรม ทย่ี ึดกรรมสทิ ธิ์รว่ มและหลกั การพน้ื เดิม \"จากแต่ละคนตามความสามารถ ใหแ้ ต่ละคนตามความต้องการ\" (From each according to his ability, to each according to his needs) ปรัชญาการเมืองของมาร์กซ์ หรือที่เรียกว่า มาร์กซิสม์ (Marxism) นัน้ เป็นการวิเคราะหป์ ระวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ โดยการ พิจารณาถงึ ความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันทางสังคมกับพลังทางเศรษฐกิจ โดยใช้ทฤษฏีวิภาษวิธี-วัตถุนิยม (dialectical materialism) ซึ่งเขา ได้รับอิทธิพลมาจาก เฮเกล (Hegel) เป็นเคร่ืองมือในการวิเคราะห์ อาจกลา่ วได้ว่ามาร์กซิสม์น้ีเป็นท้ังปรัชญาทางการเมือง ปรัชญาทาง เศรษฐกิจ และกลยุทธในการปฏิวัติสังคม กล่าวคือในฐานะที่เป็น ปรัชญาการเมือง ลัทธิมาร์กซ์มุ่งอธิบายโครงสร้างทางชนชั้นทางสังคม ท่ีได้เปรียบ ในฐานะที่เป็นปรัชญาทางเศรษฐกิจ ลัทธิมาร์กซ์มุ่งวิจารณ์ วิถีแห่งการผลิตแบบนายทุนท่ีมีลักษณะกดขี่ผู้ใช้แรงงาน ซ่ึงมาร์กซ์ เหน็ ว่าในทสี่ ดุ ก็จะทําให้ระบบการผลิตเชน่ นล้ี ม่ สลายไปในท่ีสุด และ ในฐานะท่ีเปน็ กลยทุ ธ์ของการปฏิวัติสังคม มารก์ ซไ์ ดม้ งุ่ อธิบายถึงกลยุทธ์ ของการปฏิวัติสังคม มาร์กซ์ได้มุ่งอธิบายถึงกลยุทธ์ในการล้มล้าง ลัทธนิ ายทนุ โดยการต่อสทู้ างชนชนั้ เพื่อนําไปสสู่ งั คมคอมมิวนสิ ต์
[160] ปัจจยั ท่ีมีอทิ ธิพลให้มาร์กซ์คิดทฤษฎีสังคมนิยม อิทธิพลของปรัชญา จิตนิยม และวัตถุนิยมต่อมาร์กซ์ในระยะแรกเริ่ม ทรรศนะของมาร์กซ์ มองวัตถนุ ิยมวา่ เป็นทรรศนะทีถ่ กู ตอ้ ง เพราะไมอ่ ธบิ ายว่าโลกถูกสร้างขึ้น ด้วยอํานาจเหนือธรรมชาติ ส่วนปรัชญาจิตนิยมในความเห็นของ มาร์กซ์น้ันเป็นปรัชญาที่ไม่ให้ความสําคัญแก่ชีวิตจริง ในทรรศนะ ของมาร์กซ์มองปรัชญาวัตถุนิยมของกรีก และโรมันว่าเป็นขั้นปฐม เท่าน้ัน มาถึงสมัยกลาง ปรัชญาที่เคยเป็นวิชาการอิสระได้ถูกนําไป รับใช้ศาสนจักร จนมาถึงสมัยใหม่ มาร์กซ์ได้ยกย่องนักปรัชญาวัตถุ นิยม เช่น สปิโนซ่าเห็นว่าสสารเป็นพ้ืนฐานของเอกภพ เป็นต้น และ นักปรัชญาวัตถุนิยม ให้ทรรศนะในเร่ืองสสารที่สําคัญ เช่น บอกว่า มนุษย์เป็นสสารซึ่งถือว่าเป็นส่วนหน่ึงของธรรมชาติอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ ของสสาร และในด้านทฤษฎีความรู้ และอภิปรัชญายังคงให้ ความสําคัญแก่สสาร อาจเป็นเพราะเขาไม่ชอบระบบศักดินา ศาสนาคริสต์ และปรัชญาจิตนิยม ซ่ึงสิ่งน้ีคือแรงบันดาลใจวาทะ ของมาร์กซ์ท่ีกล่าวว่า “ศาสนา คือ ยาเสพติดของประชาชน” ศาสนา เปน็ เครื่องมือของชนชัน้ สูง เพื่อรกั ษาสถานภาพทางสังคม สังคมไทยมีลักษณะวิวัฒนาการคล้ายกับสังคมของมาร์กซ์เดิมที่ อํานาจ สิทธิเสรีภาพ ความเป็นพลเมืองข้ึนอยู่กับผู้ที่มีอํานาจ และ ยงั คงอย่ใู นทุกวนั น้ี แต่มีลกั ษณะที่แฝงอยู่สามารถจดั เป็นลักษณะ คือ ๑. โครงสร้างส่วนล่าง ๒.โครงสร้างส่วนบน ในอดีตจะเห็นความสัมพันธ์ ระหว่างโครงสร้างส่วนล่างถูกกําหนดโดยโครงสร้างส่วนบน แต่ ปัจจุบันสถานการณ์แปรเปล่ียนไปโครงสร้างสังคมส่วนล่างเป็น ตัวกําหนดโครงสร้างสังคมส่วนบน หมายถึงทรรศนะทางการเมือง คนส่วนล่างเป็นผู้ต้ังรัฐบาล แต่คนส่วนบนเป็นผู้ล้มรัฐบาลที่ปรากฏ สภาพการเมืองมาจนทุกวันน้ี ความจริงภาพสังคมตามแนวคิดของ คาร์ล มาร์กซ์ยังคงมีอยู่ การต่อสู้ของคนช้ันกรรมากรเรียกร้องต่าง ๆ ก็ ยังปรากฏจนนําไปสู่ความขัดแย้งในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับปัจเจก บุคคล ครอบครัว สังคม รัฐ จนถึงระดับโลก ด้วยความแตกต่างในด้าน เปา้ หมาย วธิ ีการ ค่านยิ ม วัฒนธรรม อันจะนําไปสกู่ ารคดิ ความรู้สึก
[161] การกระทําต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึงแตกต่างกัน ไม่ยอมให้กัน เกิดเป็นความ ขัดแย้งข้ึน ในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา กระแสการเคลื่อนไหวใน สังคมโลกส่งผลให้มีการปรับเปล่ียนกระบวนวิธีคิดของกระบวนการ ยุติธรรมทางเลือกและการยุติข้อพิพาทใช้กระบวนการในทางอาญา บางประเภทดว้ ย “ลัทธิมาร์กซ์ (Marxism-Communism) มีลักษณะพิเศษท่ีเรียกว่า ‘totalizing discourse’ หรือวาทกรรมที่ครอบคลุมในทุกมิติของชีวิต มนั เป็นท้ังอุดมการณ์เพื่อการปฏิวัติและชุดความคิดความเชื่อที่ครอบโลก สงั คม และประวัตศิ าสตร์ พยายามเสนอมุมมองครอบจักรวาลท่ีเมื่อ สมาทานรับเข้าไปแล้ว จะเรียกร้องให้ผู้ท่ีรับปรับวิถีการดําเนินชีวิต ให้สอดคล้องกับความคิดของลัทธิเสมือนว่าบวช”แม้ร่องรอยของ มาร์กซ์ในการเมืองไทยจะจางลง แต่เกษียรเสนอว่าการเข้ามาของ มาร์กซ์ในการเมืองไทยท้ิงโจทย์ใหญ่ท่ีอาจเรียกได้ว่าเป็นมรดกทาง ปัญญาอันลาํ้ คา่ ไว้ถึง 2 โจทย์ คอื โจทย์ว่าด้วยรัฐและทุน แต่ 30-40 ปี ทผ่ี า่ นมา ฝ่ายซ้ายไทยกลบั ทําโจทยใ์ ดโจทย์หนงึ่ หายไปเม่ือวิเคราะห์ การเมอื งไทย ซ่ึงมองว่าเปน็ เรือ่ งทต่ี อ้ ง “เฉลยี วคิด” จุดเด่นการวิเคราะห์การเมืองของมาร์กซ์คือ มาร์กซ์ไม่ได้ มองที่ตัวบุคคล แต่มองทะลุลงไปถึงเบ้ืองหลังของพลังการเปล่ียนแปลง ทางสังคมท่ีสะดุดหรือถูกขัดขวางไม่ให้ความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้ ก่อให้เกิดความขัดแย้งในสังคม ระบบหรือโครงสร้าง แสดงออกมา เบ้อื งหน้าให้เห็นเป็นความขัดแย้งระหว่างตัวบุคคล ระหว่างพรรคการเมือง ระหว่างฝา่ ยซ้ายฝา่ ยขวา ระหว่างนายทุนและชนชัน้ แรงงาน หรอื ระหว่าง ฝ่ายนิยมและไม่นิยมกษัตริย์ แล้วความขัดแย้งนั้นจะต้องไปสู่จุด แตกหกั เพ่อื ให้สังคมกา้ วต่อไปได้” หากอ่านการเมืองไทยแบบมาร์กซ์ เราจะเห็นว่าความขัดแย้งทาง การเมอื งในระยะ 15 ปที ี่ผา่ นมา คือพลังคลื่นความขัดแย้งใต้นํ้าจาก การพัฒนาทุนนิยมท่ีเดินมาถึงข้ันที่ระบบการเมืองและความคิด ทางการเมืองแบบด้ังเดิมไม่สามารถรองรับได้ เราจึงเห็นการปะทะ กันทางการเมืองและความคดิ ของสองขว้ั การเมือง
[162] แนวทางการศกึ ษาการเมืองทอ้ งถิ่น แนวคดิ 1. หลักการสําคัญในการศึกษาการเมืองท้องถ่ินได้ แก่การเข้าใจพื้นฐาน เกี่ยวกับการเมืองท้องถ่ินซ่ึงเป็นการเมืองระดับฐานรากของระบบ การเมืองการปกครองของประเทศซึ่งมภี าคสว่ นทีเ่ กีย่ วข้องหลายภาคส่วน ทําให้การเมอื งทอ้ งถน่ิ มคี วามสาํ คญั ต่อการเมืองการปกครองของประเทศ โดยท่กี ารเมืองท้องถิ่นมี ปฏิสมั พันธ์กับการเมืองระดับชาติอย่างใกลช้ ิด 2. แนวการศึกษาการเมืองท้องถิ่นแบ่งออกได้เป็น 3 ยุค ได้แก่ยุคก่อน พฤตกิ รรมนยิ ม ยคุ พฤติกรรม นยิ ม และยุคหลังพฤติกรรมนยิ ม 3. การประยุกต์ใช้แนวทางในการศึกษาการเมืองท้องถ่ินมีหลักการสําคัญ คือ การนาํ ทฤษฎสี กู่ าร ปฏิบัตแิ ละวธิ ีการใช้แนวทางในการวเิ คราะห์ การเมืองทอ้ งถนิ่ โดยอาศยัแนวคิดทฤษฎีมารก์ ซสิ ม์ การเมอื งท้องถน่ิ 1. หลกั การเมืองท้องถนิ่ 1.1 ความเขา้ ใจพ้ืนฐาน 1.2 ความสาคญั 1.3 ความสมั พนั ธ์ เกี่ยวกบั การเมืองทอ้ งถน่ิ ของการเมือง ระหวา่ งการเมือง ทอ้ งถิ่นกบั การเมือง ทอ้ งถิ่น ระดบั ชาติ
[163] 2. แนวทางการศึกษาการเมืองท้องถน่ิ 2.1 แนวทางการศึกษา 2.2 แนวทางการศึกษา 2.3 แนวทางการศึกษา ก่อนยคุ พฤติกรรมนิยม ยคุ พฤติกรรมนิยม หลงั ยคุ พฤติกรรมนิยม 3. การประยกุ ต์ใช้แนวทางในการศึกษาการเมืองท้องถิน่ 3.1 หลกั การประยกุ ตใ์ ชแ้ นวทาง 3.2 กรณีศึกษาการวเิ คราะห์การเมือง ทอ้ งถิ่น 1. หลกั การเมอื งทอ้ งถิน่ 1.1 ความหมายของ “การเมอื งท้องถ่นิ ” การเมอื ง (politics) เปน็ คาํ ท่ีถกู กลา่ วขวญั บอ่ ยครัง้ มากคําหน่ึง คําว่า “การเมือง” เป็นคําที่มาจากคํากรีกโบราณคือ Politika ซึ่งหมายถึง “กิจการของเมือง” (affairs of the cities) ก่อนท่ีจะ กลายมาเป็น politics ในภาษาอังกฤษสมัยใหม่ (modern English) เมื่อพิจารณาการนิยามของคําว่า “การเมือง” กลับมีการนิยาม ความหมายของคานอ้ี ยู่มากเชน่ กัน Harold Lasswell นักรัฐศาสตร์ท่ีมีช่ือเสียงด้านนโยบาย สาธารณะให้ความเห็นว่า การเมืองคือ ใครได้อะไร เมื่อไร และ อย่างไร (Who get what when and how) ในขณะท่ี เดวิด อีสตัน (David Easton) นักรัฐศาสตร์อีกคนหนึ่งท่ีเป็นท่ีรู้จักกันดีเกี่ยวกับ แนวคิดเชิงระบบให้ความเห็นว่า การเมืองเป็นเร่ืองของการใช้อํานาจ
[164] ในการจัดสรรแบ่งปันสิ่งมีคุณค่าในสังคม (authoritative allocation of values for the society ) (David Easton (1957) แดเนียล คาราเมน่ี (Daniele Caramani) นิยามการเมืองว่า เป็นกิจกรรมของมนุษย์ ในการตัดสินใจท่ีเกี่ยวกับสาธารณะและการใช้อํานาจโดยท่ีเป็น กจิ กรรมในการได้มาซง่ึ อํานาจตัดสินใจดังกล่าวและใชอ้ ํานาจน้ัน โดยสรุป การเมืองเป็นท้ังการร่วมมือหรือแย่งชิงกันเพ่ือให้ ได้อํานาจมาเพื่อจัดสรรแบ่งปันทรัพยากรในสังคมซ่ึงอานาจในที่น้ี ห ม า ย ถึ ง อํ า น า จ รั ฐ ท่ี ส า ม า ร ถ ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ห รื อ ผลประโยชน์ของตนเองหรอื ของกลุม่ ได้ ส่วนคําว่า “ท้องถ่ิน” (local) เป็นคําที่มีหลายความหมายเช่นกัน อาทิ ท้องถิ่นในความหมายแรก หมายถึงสภาพทางกายภาพของ ท้องถิ่นท่ีอยู่ในเขตเมือง (urban area) ท่ีมีโครงสร้างพื้นฐานทาง เศรษฐกิจ สังคมที่พร้อม เช่น ถนน น้ําประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ เป็น ต้น ในขณะท่ีท้องถ่ินท่ีเป็นชนบท (rural) มักมีโครงสร้างพ้ืนฐาน ด้อยกวา่ ทอ้ งถน่ิ ท่เี ป็นเขตเมอื ง ท้องถ่ินในความหมายที่สอง หมายถึง ลักษณะของชุมชน ที่มีประชากรอาศัยอยู่รวมกัน โดยชุมชนเมืองเป็นชุมชนที่มี ประชากรหนาแน่นกว่าชุมชนชนบทท่ีประชากรอาจอยู่กระจัดกระจาย และเบาบางกว่าชมุ ชนเมือง ท้องถิ่นในความหมายท่ีสาม หมายถึง สถานท่ีที่ประชาชน มาอาศัยอยู่รวมกันและมีการพัฒนาวิถีการดํารงชีวิตท่ีมีลักษณะเฉพาะ ของชุมชนท้องถ่ินในแง่ของวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีจนเป็น ที่ยอมรับของคนในชุมชนท้องถิ่นนั้นๆ และมีความสัมพันธ์ท่ีซับซ้อน ระหวา่ งกันและกนั ในชุมชนท้องถน่ิ ทอ้ งถน่ิ ในความหมายที่ส่ี หมายถึง โครงสร้างทางการเมือง ระดับชมุ ชนท้องถ่ินนัน้ โดยมีองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นเป็นองค์กร ตัวแทนประชาชนท่ีประชาชนในท้องถ่ินน้ันเลือกเข้าไปทําหน้าที่ ตามที่รัฐมอบหมายหรือกระจายอํานาจมาให้ และตอบสนองความ ต้องการของประชาชนในชุมชนท้องถ่ินนั้น โดยประชาชนเข้ามีส่วนร่วม ทางการเมืองในการบริหารกิจการของท้องถิ่นร่วมกับการเมืองภาค
[165] ตัวแทนด้วย จะเห็นได้ว่า ท้องถ่ินมีความหมายครอบคลุมถึงทั้งใน เชิงกายภาพ ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เมื่อนําคําว่า “การเมือง” กับคาว่า “ท้องถ่ิน” เข้ามารวมกันเป็น “การเมืองท้องถิ่น” (local politics) จึงเป็นคําท่ีมีความหมายในเชิงสาระสําคัญท่ีสะท้อน ถึงการเข้ามสี ่วนร่วมทางการเมืองของภาคสว่ นที่เก่ียวข้องในการร่วมมือ หรอื แยง่ ชงิ อานาจในการจัดสรรแบ่งปันส่งิ ท่ีมีคุณคา่ ในชุมชนท้องถิ่น นอกจากนี้ การเมืองท้องถ่ินยังเป็นพ้ืนท่ีทางการเมืองท่ีภาคส่วน ท่ีเกี่ยวข้องซึ่งได้แก่ ภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน ต่างก็มีส่วนร่วมในการจัดสรรส่ิงมีคุณค่าในท้องถิ่นโดยมีปฏิสัมพันธ์ ต่อกันและกันอยู่ตลอดเวลา 1.2 ความสาคัญของการเมืองท้องถ่ิน การเมอื งท้องถิ่นมีความสําคัญต่อการเมืองระดับชาติ ในฐานะ ท่ีเป็นฐานรากสําคัญของการเมืองระดับชาติ ซ่ึงหากการเมืองท้องถิ่น มีความเข้มแข็งมั่นคงแล้วย่อมส่งผลดีต่อการเมืองระดับชาติอย่างแน่นอน ดังปรากฏให้เห็นตัวอย่างในหลายประเทศท่ีมีการพัฒนาทางการเมือง ที่เข้มแข็งม่ันคง เช่น สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐเยอรมัน เป็นต้น ซึ่งการเมืองของประเทศดังกล่าวนี้มีพัฒนาการทางการเมืองจากระดับล่าง สู่ระดับบน โดยมลรัฐหรือชุมชนท้องถ่ินมีความเข้มแข็งและมีบทบาท สําคญั ในการปกครองตนเองมากอ่ น ส่งผลให้เม่ือรวมตัวกันเป็นประเทศ ทาํ ใหก้ ารเมอื งระดับชาติมคี วามเข้มแข็งไปด้วย การเมืองท้องถ่ินยังเป็นเสมือนช่องทางการมีส่วนร่วมของประชาชน ในชุมชนท้องถ่ินในการสะท้อนถึงปัญหา ความต้องการของตนผ่าน การแสดงออกทางการเมอื งในหลากหลายชอ่ งทาง เช่น การยื่นข้อเรียกร้อง ต่อผู้บริหารท้องถ่ิน หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตเลือกต้ัง ของตน หรือการร้องเรียนผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ทําให้ปัญหาความต้องการ ของตนเองแพร่กระจายออกไปในวงกวา้ งจนทําให้เจ้าหน้าท่ีรัฐมิอาจ
[166] น่ิงเฉยได้ต้องเข้ามาดําเนินการแก้ไขหรือตอบสนองความต้องการ ดังกลา่ ว นอกจากนี้ การเมืองท้องถิ่นยังเป็นช่องทางให้ประชาชน ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดสรรสิ่งมีคุณค่าในชุมชนท้องถ่ินอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยงิ่ งบประมาณท้องถิ่นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มักเป็นผู้รับผิดชอบหลักในการจัดสรรงบประมาณ ซึ่งเป็นภาษี ที่ประชาชนจ่ายให้กับรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน แต่ใน หลายปีที่ผา่ นมาไดเ้ กิดมิติใหม่ทางการเมืองท้องถ่ินขึ้น เมื่อเกิดเหตุการณ์ ท่ีเมือง Porto Alegre ประเทศบราซิล ซ่ึงเป็นเมืองทางตอนใต้ของประเทศ ทม่ี ปี ระชากร 1.3 ลา้ นคน โดยในปี 1989 พรรคแรงงาน (Workers’ Party) ซ่ึงเป็นพรรคที่ประกอบด้วยขบวนการทางสังคมต่างๆ ท่ีรวมตัวกัน และประสบชัยชนะการเลือกตั้งท้องถ่ินเป็นคร้ังแรก และสามารถชนะ การเลือกตั้งติดต่อกันสี่สมัย โดยเสนอนโยบายเน้นความเป็นธรรมทางสังคม และควบคุมการตัดสินใจในการบริหารท้องถิ่นโดยประชาชน หลงั จากพรรคแรงงานเข้าบริหารเมือง Porto Alegre ได้เปิดโอกาส ให้ประชาชนในเมืองได้เข้ามีส่วนร่วมในการเสนอความต้องการต่อ สภางบประมาณ (Budget assemblies) ซึ่งก็ปรากฏว่า มีประชาชน ประมาณ 10,000 – 15,000 คน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนยากจนได้เข้าร่วม ในการประชุมสภางบประมาณ และมีความเช่ือมั่นว่า คณะผู้บริหาร เคารพการตัดสินใจของพวกตน และต่อมาได้มีการปรับปรุง กระบวนการโดยให้ชุมชนท้องถ่ินเป็นผู้พิจารณาเสนอความต้องการ เป็นเบ้ืองต้นและเสนอต่อระดับเขตและระดับคณะกรรมการจัดสรร งบประมาณตามลําดับ ซึ่งในระดับเขตและคณะกรรมการฯ จะมี ตัวแทนของประชาชนร่วมอยู่ด้วย ซึ่งปรากฏว่า การตัดสินใจท่ีผ่าน คณะกรรมการฯ ไปแล้วได้รับการดาเนินการจากฝ่ายบริหารท้องถิ่น เป็นส่วนใหญ่ การดําเนินการทางการเมืองเช่นนี้ ส่งผลให้เกิดกลุ่ม การเมอื งตา่ งๆ เพิม่ จํานวนมากขึ้นเพอ่ื นาํ เสนอปัญหา ความต้องการ
[167] ของกลมุ่ ต่อทปี่ ระชุมโดยมีการร่วมมือกันระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ในการ เป็นพันธมิตรเพ่ือย่ืนข้อเสนอ ทําให้เกิดการเรียนรู้ทางการเมืองขึ้น และสร้างความตื่นตัวทางการเมืองแก่ประชาชนในเมืองเป็นอย่างมาก กรณีของเมือง Porto Alegre ได้รับการยกย่องให้เป็นกรณีตัวอย่าง ระดบั นานาชาตถิ งึ แนวทางการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการเมอื งท้องถิ่น ในอีกด้านหน่ึง การเมืองท้องถ่ินยังเป็นเวทีหรือพ้ืนที่สาธารณะ ทางการเมืองของกล่มุ การเมอื งหรอื กล่มุ ผลประโยชน์ต่างๆ ในชุมชน ท้องถน่ิ ในการเจรจาแลกเปลี่ยนหรือต่อรองผลประโยชน์ระหว่างกัน หรือระหว่างกลุ่มกับภาครัฐ เช่น การท่ีกลุ่มอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม เจรจาร่วมมือกับกลุ่มธุรกิจท่องเท่ียวในพื้นที่ในการต่อต้านโครงการ สร้างโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานถ่านหินที่จังหวัดกระบ่ี ซึ่งเป็นพ้ืนท่ีที่มีชื่อเสียงทางด้านการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ หรือ กรณีชาวบ้านบริเวณริมคลองแสนแสบยินยอมยุติการประท้วงและ ร้ือถอนบ้านออกจากพื้นที่เพื่อแลกเปลี่ยนกับการที่รัฐจัดหาที่อยู่ ให้ใหม่ท่ีดีกว่าเดิม หรือกรณีชุมชนป้อมพระกาฬยืนหยัดต่อสู้กับ กรุงเทพมหานครที่พยายามย้ายผู้ที่อาศัยอยู่ในบริเวณป้อมพระกาฬ ออกไป เพ่ือจัดทําเป็นพ้ืนที่อนุรักษ์โดยชาวบ้านเสนอให้พัฒนาเป็น เขตพื้นท่ีเรียนรทู้ างวัฒนธรรมดั่งเดิมและอย่รู ว่ มในชมุ ชนเดิมต่อไปได้ ดังน้ัน การเมืองท้องถิ่นจึงเป็นเสมือนโรงเรียนในการให้การศึกษา ทา ง กา ร เ มือ ง แก่ ป ร ะช า ชน ใ น ชุม ช นท้ อ ง ถิ่น ใ นท า ง ปฏิ บั ติอ ย่ า ง ต่อเน่ือง และเป็นการเมืองที่อยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด เมื่อประชาชนมีความต่ืนรู้ทางการเมืองมากข้ึนแล้ว ประชาชนก็จะ เข้ามีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างต่อเน่ืองเพื่อประโยชน์ของคนในท้องถิ่น และชมุ ชนท้องถ่ินโดยรวม
[168] 1.3 ความสมั พนั ธ์ระหว่างการเมอื งท้องถ่นิ กบั การเมืองระดับชาติ มิติแรก การเมืองท้องถิ่นเป็นฐานรากสําคัญทางการเมือง (political based) ของการเมืองระดับชาติ เปรียบเสมือนสิ่งปลูกสร้าง ที่ต้องมีฐานรากท่ีมั่นคงแข็งแรงจึงจะทําให้สิ่งปลูกสร้างน้ันสามารถ ดํารงอยู่ได้อย่างม่ันคง ยาวนาน ดังนั้น การเมืองระดับชาติจะม่ันคง มเี สถยี รภาพไดต้ ้องมีการเมืองท้องถนิ่ ที่ม่ันคงดังปรากฏการณ์ในประเทศ ทมี่ ีพัฒนาการทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยท่ีม่ันคงต่อเนื่อง ยาวนานนนั้ ยอ่ มมีการเมอื งทอ้ งถน่ิ ทีเ่ ขม้ แขง็ มาก่อน มิติท่ีสอง การเมืองท้องถ่ินเป็นหุ้นส่วนทางการเมือง (political partnership) กับการเมืองระดับชาติ ดังปรากฏให้เห็น ว่า การเมืองท้องถิ่นเป็นฐานการเมืองสําคัญของการเมืองระดับชาติ ในการเลือกตั้งทั่วไป โดยพรรคการเมืองที่มีสาขาพรรคที่เข้มแข็ง ในท้องถิ่นย่อมสามารถช่วยให้ผู้สมัครเลือกตั้งของพรรคการเมือง ระดับชาติชนะการเลือกตั้งท่ัวไปได้ ในทางกลับกัน พรรคการเมือง ระดับชาติที่เป็นที่นิยมของประชาชนก็สามารถช่วยให้ผู้สมัคร เลือกต้ังระดับท้องถ่ินที่เป็นสมาชิกของพรรคหรือพรรคให้การ สนับสนนุ สามารถชนะการเลอื กตั้งทอ้ งถ่ินไดเชน่ กัน มติ ทิ ี่สาม การเมืองท้องถ่ินเป็นตัวชี้วัดความนิยมทางการเมือง (political preference) หรือความ ชอบธรรมทางการเมือง (political legitimacy) ของการเมืองระดับชาติได้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วง ของการเลือกตั้งระดับท้องถ่ินโดยหากพรรคการเมืองระดับชาติหรือ ผู้นําทางการเมืองระดับชาติได้รับความนิยมจากประชาชน หรือ ประชาชนเส่ือมความนิยม ย่อมส่งผลให้สมาชิกพรรคหรือกลุ่ม การเมืองท่ีพรรคสนับสนุนได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งหรือประสบ ความพา่ ยแพใ้ นการเลอื กตง้ั ได้
[169] 2. แนวทางการศกึ ษาการเมอื งทอ้ งถ่ิน ประกอบด้วย แนวทางการศึกษาก่อนยุคพฤติกรรมนิยม แนวทางการศึกษายุคพฤติกรรมนิยม และแนวทางการศึกษาหลัง ยคุ พฤตกิ รรมนยิ ม โดยมีแนวคิด ดังนี 2.1 แนวทางการศึกษาการเมืองท้องถน่ิ ก่อนยคุ พฤติกรรมนิยม ใหค้ วามสําคญั กับการศึกษาเชิงโครงสร้าง หน้าท่ี (structural – functional) และสถาบันทางการเมือง (political institutional) ซ่ึงสอดคล้อง กับการศึกษารัฐศาสตร์โดยท่ัวไป ดังปรากฏว่า การศึกษาการเมือง ท้องถ่ินมุ่งเน้นไปที่การปกครองท้องถ่ิน (Local Government) ซึ่งเป็น การเมืองการปกครองท้องถิ่นระดับล่าง กล่าวได้ว่า การปกครองท้องถ่ิน เป็นการเมอื งระดบั ท้องถิ่น โดยมีการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ การปกครอง ทอ้ งถนิ่ ไว้มากโดยเฉพาะการศึกษาเกี่ยวกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซ่ึงเป็นองค์กรหลักในทางการเมืองท้องถิ่นโดยมีผู้บริหาร สมาชิก สภาท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนและมีบทบาท สาคัญในการอํานวยบริการสาธารณะที่จําเป็นแก่ประชาชนในท้องถ่ิน และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนในท้องถิ่น 2.2 แนวทางการศึกษายคุ พฤติกรรมนยิ ม การศึกษาการเมืองท้องถิ่นยุคพฤติกรรมนิยม มุ่งเน้น ศึกษาเชิงพฤติกรรมทางการเมืองในระดับท้องถ่ินของประชาชนเพื่อ สร้างองค์ความรู้ (body of knowledge) โดยการใช้ระเบียบวิธีการวิจัย เพื่อแสวงหาความรู้อย่างเป็นวิทยาศาสตร์มากข้ึน เน่ืองจาก การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์เป็นเร่ืองที่สลับซับซ้อนและต้องใช้ เครอ่ื งมอื ท่สี ามารถวดั เชงิ พฤติกรรมได้อยา่ งเทย่ี งตรง น่าเชื่อถือ ทําให้มี การใช้ระเบียบวิธีวิจัย ทั้งในเชิงปริมาณ (quantitative method) และเชงิ คุณภาพ (qualitative method) ในการศกึ ษา
[170] โดยแนวทางสําคัญในการศึกษาการเมืองท้องถ่ินในยุค พฤติกรรมนิยมได้อาศัยแนวทางหลายแนวทางอาทิ แนวทางชนช้ันนํา (elite approach) แนวทางจิตวิทยา (psychology approach) แนวทางกลุ่ม (group approach) เป็นต้น โดยมีการใช้แนวทางเหล่าน้ี เพ่ือทําความเข้าใจกับปรากฏการณ์ทางการเมือง หรือพฤติกรรม ทางการเมืองในระดบั ท้องถิน่ 2.3 แนวทางการศกึ ษาหลงั ยคุ พฤติกรรมนิยม แนวทางการศึกษาการเมืองท้องถิ่นยุคหลังพฤติกรรมนิยม เป็นยุคที่ให้ความสําคัญกับการ นําองค์ความรู้ที่มีอยู่ไปใช้ในการแก้ไข ปัญหาหรือพัฒนาสังคมให้ดีขึ้น อันเป็นปรากฏการณ์ท่ีสะท้อนถึง การทน่ี ักวิชาการได้ตระหนักว่า บทบาทของตนไม่เพียงแต่การสร้าง องค์ความรู้เท่านั้นแต่ยังต้องนําองค์ความรู้ท่ีสร้างข้ึนมาไปก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อสังคมอีกด้วย หรือกล่าวได้ว่า เป็นการก้าวลงจาก หอคอยงาช้างมาสู่โลกความเปน็ จริงมากขน้ึ แนวทางการศึกษาการเมืองท้องถ่ินที่สําคัญมุ่งไปท่ี ภาคประชาชนมากขึ้น หลังจากท่ีผ่านมาได้ให้ความสําคัญกับโครงสร้าง หน้าที่ และสถาบนั ทางการเมอื งภาคตวั แทน อาทิ การเมืองภาคพลเมอื ง (civic politics) แนวทางขบวนการทางสังคม (social movement) แนวทางชุมชนนิยม (Communitarian) แนวทางสิทธิพลเมือง (civil right) แนวทางสิทธิชุมชน (community right) ทําให้เกิด ประเด็นในการศึกษาการเมืองท้องถ่ินที่กว้างขวางกว่าเดิมมาก เช่น การศึกษาเก่ียวกับความเสมอภาคทางเพศ การศึกษาความขัดแย้ง จากความไม่เท่าเทียม ความไม่เป็นธรรม หรือจากความยากจน การเมอื งทอ้ งถ่นิ กับสิง่ แวดล้อม เป็นต้น
[171] 3. การประยุกตใ์ ช้แนวทางในการศกึ ษาการเมืองทอ้ งถิน่ แนวคดิ 3.1 หลักการประยกุ ต์ใช้แนวทาง กลุ่มต่อต้านพฤติกรรมศาสตร์ท่ีโน้มเอียงไปในทางมาร์กซิสต์ แตกออกเปน็ หลายแนวทางด้วยกัน แนวทางเหล่านี้ส่วนใหญ่มีที่มาจาก ทางยุโรป และมีลกั ษณะท่ีเปน็ ไปในเชิงวิชาการมากกวา่ จะเปน็ โปรแกรม สาํ หรับการปฏิบัติการในทางการเมือง โดยมี 2 แนวทางด้วยกัน คือ 1. สํานักโครงสร้างนิยมในเชิงมาร์กซิสต์ (Maxist structuralism) สํานักนี้มีผู้นําที่สําคัญ คือ หลุยส์ อัลรูแซร์ และนิโคส พูลันซาส ซึ่งได้รับอิทธิพลจากอันโตนิโย กรัมซี อดีตผู้นําพรรคคอมมิวนิสต์ ของอิตาลีไป สมัยมสุ โสลินี ปรชั ญาพ้นื ฐานเก่ียวกับญาณวทิ ยาของแนวน้ี คอื ความคิดทเ่ี รยี กว่า “realism” ซ่ึงมีความเห็นว่าความ จริงควรจะ ได้รับการถ่ายทอดออกมาให้ตรงกับสภาพท่ีเป็นจริง การสร้างตัว แบบหรือการเข้าถงึ ความจริงในเชิง ประจักษ์นิยมสามารถทําให้เกิด ความเข้าใจได้แต่เพียงส่วนเดียวเท่าน้ัน นอกจากน้ันส่ิงที่ปรากฏต่อ ประสาทสัมผัส เป็นแต่เพียงเปลือกนอก ความจริงที่แท้มักอยู่เบื้องหลัง ท่ีปรากฏนั้น จะเห็นได้ว่าความคิดเช่นน้ีคล้ายคลึงกับ ปรัชญาทาง ภาษาศาสตรส์ าํ นกั หน่งึ คอื สํานกั โครงสรา้ งนยิ ม ท่มี เี ฟอรด์ ินาน เดอ ซอสเซีย (Ferdinand de Saussure) เป็นผู้นํา ในสหรัฐอเมริกานั้น ผู้นําทางภาษาศาสตร์ในแนวน้ีในทศวรรษ 1960 คือ โนม ขอมสก้ี (Noam Chomsky) ซึ่งเป็นนักภาษาศาสตร์ท่ีมีช่ือเสียงของอเมริกา และเป็นผู้นําปัญญาชนที่สําคัญ คนหนึ่งในการต่อต้านสงคราม เวียดนาม ความคิดของสํานักโครงสร้างนิยมเชิงมาร์กซิสต์เน้นหนัก ในเรือ่ งของการประจวบเหมาะกับของปัจจัยต่างๆ ภายในโครงสร้าง ท่ีนําไปสู่ปรากฏการณ์ใดปรากฏการณ์หนึ่ง ดังนั้นในการอธิบาย ทฤษฎีว่าด้วยรัฐ สํานักน้ีจึงเชื่อ ว่ารัฐที่ปรากฎไม่ว่าจะในรูปแบบใด
[172] ก็ตามหาใช่เป็นผลจากสภาพในทางเศรษฐกิจแต่อย่างเดียวไม่ หากแต่ผลมาจากประวัติศาสตร์และการประจวบเหมาะกันของสภาพ ต่าง ๆ ที่ส่งผลให้เป็นเช่นนั้น นอกจากนั้นรูปแบบของรัฐที่เกิดขึ้น ยังจะมผี ลในมมุ กลบั ต่อสภาพต่าง ๆ ท่มี ผี ลตอ่ รปู แบบของรัฐนน้ั ๆ ด้วย เชน่ เดียวกัน 3.2 กรณศี ึกษาการวิเคราะหก์ ารเมืองทอ้ งถ่ิน “บา้ นนาผือ ตาํ บลนาผอื อําเภอเมอื งอํานาจเจรญิ ” รูปแบบ ลักษณะชนชันทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมในพืนท่ีตาบล นาผือ 1. กลุ่มและบทบาทของผู้นา : ภูมิหลังของผู้นาท้องถิ่นและผู้นาการเมือง ท้องถิ่น
[173] ภูมิหลงั ของผู้นาทอ้ งถนิ่ 1) เพื่อศึกษาภูมิหลงั แรงจงู ใจ และบทบาทผนู้ าํ ท้องถิ่น ภมู ิหลงั ชุมชน” หมายความว่า กลุ่มประชาชนที่รวมตัวกันโดยมี ผลประโยชน์และวัตถุประสงค์ร่วมกันเพื่อช่วยเหลือหรือสนับสนุน กัน หรือทํากิจกรรมอันชอบด้วยกฎหมายและศีลธรรมร่วมกัน หรือ ดําเนินการอน่ื อนั เป็นประโยชน์ร่วมกันของสมาชิก มีการดําเนินการ อยา่ งตอ่ เนือ่ งและมรี ะบบบริหารจัดการและการแสดงเจตนาแทนกลุ่มได้ “ชุมชนท้องถ่ิน” หมายความว่า ชุมชนที่อยู่ร่วมกันในพื้นท่ีหมู่บ้าน หรอื ตําบล“ชุมชนท้องถ่นิ ด้ังเดิม” หมายความว่า ชุมชนท้องถ่ินซึ่งเกิดขึ้น กอ่ นประกาศใชร้ ัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ “องค์กรชุมชน” หมายความว่า องค์กรซ่ึงเป็นการรวมของชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถ่ินด้ังเดิม ซึ่งจดแจ้งการจัดต้ังตาม พระราชบญั ญัติน้ี ท้ังนี้ ไม่ว่าประชาชนจะจัดต้ังกันข้ึนเอง หรือโดยการ แนะนําหรือสนับสนุนของหน่วยงานของรัฐ เอกชน หรือองค์กร พัฒนาเอกชน“ผู้นาํ ชุมชน” หมายความว่า ประธานกรรมการของชุมชน ท้องถิน่ ชุมชนท้องถิ่นดงั้ เดิมหรอื ชมุ ชนอื่น หรือหัวหน้ากลุม่ หรือผู้ดํารง ตําแหน่งท่ีเรียกช่ืออย่างอื่นท่ีมีฐานะเป็นผู้นําของชุมชนท้องถิ่น ชุมชนทอ้ งถ่ินดั้งเดิมหรือชมุ ชนอน่ื ในลกั ษณะเดียวกนั “สมาชกิ ” หมายความว่า สมาชกิ สภาองคก์ รชุมชนตาํ บล “หมู่บ้าน” หมายความว่า หมู่บ้านตามกฎหมายว่าด้วย ลักษณะการปกครองท้องท่ี และให้หมายความรวมถึงชุมชนท่ีจัดตั้ง ขน้ึ ตามประกาศของทางราชการ “ตําบล” หมายความว่า เขตพื้นที่ในความรับผิดชอบของเทศบาล องค์การบริหารส่วนตําบลเขต หรอื เขตพนื้ ทที่ ี่กฎหมายเรียกชื่อเป็นอย่างอน่ื
[174] ผู้นํา คือผู้ที่มีบทบาทในการนําพาชุมชนสู่การพัฒนาและ การเปล่ียนแปลง เป็นผู้ท่ีมีบทบาทสําคัญต่อการบริหารจัดการและ กําหนดทิศทางการพัฒนาชุมชนให้อยู่ดี มีสุขได้ ชุมชนที่ประสง ความสําเร็จในการพัฒนาไม่ว่าจะมิติใด ๆ ก็ตามล้วนแล้วแต่มีผู้นํา เป็นปัจจัยความสําเร็จทั้งส้ิน คําว่า “ผู้นํา” ในการพัฒนาชุมชนน้ัน ไม่ได้มีเพียงผู้นําที่มีตําแหน่งหน้าท่ีทางกฎหมายเพียงอย่างเดียว จากประสบการณ์ทํางานที่ผ่านมาพบว่า ผู้นําในชุมชนสามารถแบ่ง ออกเป็น 4 ประเภท ซึ่งมีคุณลักษณะและข้อจํากัดที่แตกต่างกัน ซึ่งล้วนแล้วแต่มีบทบาทท่ีสร้างการพัฒนาให้เกิดข้ึนในชุมชนได้ท้ังสิ้น ประกอบดว้ ย 1. ผู้นําทางการปกครอง ได้แก่ ผุใ้ หญบ่ ้าน กาํ นัน ประธานชุมชน สถานะและเสถียรภาพ : มีอํานาจหน้าที่ตามกฎหมาย ตําแหน่ง หนา้ ทีม่ คี วามมั่นคงปานกลาง เปลี่ยนแปลงได้ 2. ผ้นู าํ ทางการเมือง ไดแ้ ก่ สมาชิกสภาท้องถ่ิน ผู้บริหารองค์กร ปกครองสว่ นท้องถิน่ สถานะและเสถยี รภาพ : มีอาํ นาจหน้าท่แี ละงบประมาณตามกฎหมาย ตาํ แหนง่ หนา้ ทค่ี วามมั่นคงน้อย เปล่ียนแปลงได้ (ตามวาระ) 3. ผู้นําทางศาสนา และผู้นําทางจติ วิญญาณ สถานะและเสถียรภาพ : มีศรัทธามีพื้นท่ีทางสังคม ตําแหน่ง หน้าที่มคี วามมั่นคงปานกลาง มีโอกาสเปลี่ยนแปลง 4. ผู้นําทางธรรมชาติ (หมายรวมถึงครู หมออนามัย ท่ีมีบาท บาทในการนาํ พาการพัฒนาชมุ ชน) สถานะและเสถียรภาพ : มีศรัทธา มีเครือข่ายภายนอกที่ทํา เร่ืองเดียวกัน หน้าท่ีความมั่นคงสูงเพราะทําด้วยใจ ยึดมั่นอุดมการณ์ เปล่ียนแปลงยาก
[175] ผู้นําของตําบลนาผือ ก่อตัวข้ึนมาจาก การรวมตัวของเครือญาติ ใน ตระกูล สู่เสน ซ่ึงเป็นตระกูลท่ีมีจํานวนประชากรเยอะที่สุด ในตําบลนาผือ (ตระกูลใหญ่ที่สุดในตําบล) เพราะเป็นตระกูลท่ีนํา ผู้คนมาตั้งหมู่บ้านในอดีตการเลือกผู้นําหมู่บ้านจึงเลือกจากเครือญาติ ของตระกูลสู่เสน ในปัจจุบันจะเกี่ยวดองกับตระกูลบุดดาวงศ์ และ ตระกลู อ่ืนๆ ซึ่งการกําหนดทิศทางการบริหารงานในระดับตําบลหมู่บ้าน มาจากผู้หลักผู้ใหญ่ในตระกูล สู่เสน เป็นส่วนใหญ่ แม้ในปัจจุบัน การเมืองได้แปรเปล่ียนไปการพึ่งพาการหาเสียงแบบการรักษา ตําแหน่งให้ ตระกูลยังคงได้ผลอยู่การส่งตัวแทนลงชิงชัยในสนาม เลือกต้ังผูน้ าํ หม่บู า้ นและตําบลยังคงเปน็ ตัวแทนของตระกูลสู่เสน แรงจงู ใจ 1. การรกั ษาผลประโยชน์อันพึงได้ของการบริหารจัดการทรัพยากร ในหมูบ่ ้านและตาํ บลนาผอื 2. การรกั ษาฐานอาํ นาจทางการเมอื งในระดับตําบลนาผือ 3. การชืน่ ชอบการเมอื งของคนในตระกลู สเู่ สนและเครอื ญาติ 4. ความตอ้ งการตาํ แหนง่ ท่ีดีในสงั คม บทบาทผู้นาท้องถิ่น ผู้นําในตําบลนาผือ ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน ในพื้นที่ ซึ่งจะมากน้อยข้ึนอยู่กับปัจจัยแวดล้อมและเงื่อนไขอื่น ๆ แต่หากเราเฉล่ียให้ผู้นําท้ัง 4 ประเภท มีผลต่อการสร้างการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการพัฒนาที่เท่าๆ กัน (กลุ่มละ 25%) จะพบว่า การมีผู้นําประเภทใดประเภทหนึ่ง ก็มีความเป็นไปได้ในการสร้าง การพัฒนาให้เกิดขึ้นในชุมชน แต่หากมีผู้นําในการพัฒนามากกว่า หนึ่งประเภทมาร่วมกันขับเคล่ือนการพัฒนาในชุมชน ย่อมแสดงให้เห็นว่า แนวโน้มความสําเร็จและการสร้างการมีส่วนร่วม (มวลชนในการพัฒนา) ยอ่ มเพิม่ มากขึ้นตามลําดับ และท่ีน่าสนใจคือ ผู้นําทางธรรมชาตินั้น
[176] เป็นผู้นําท่ีมีความม่ันคงสูง เป็นผู้ท่ีได้รับการยอมรับในวงกว้างได้มาก และสามารถอยู่ในคณุ ลักษณะของผู้นําประเภทอ่ืนๆ ได้อีกด้วย เช่น ผู้ใหญ่บา้ น ท่มี คี ุณลักษณะเป็นผ้นู าํ ทางธรรมชาติ เม่ือหมดวาระการ ดํารงตําแหน่งผู้ใหญ่บ้านแล้ว ก็ยังคงสถานะความเป็นผู้นําทาง ธรรมชาติ ท่ีมีบทบาทในการพัฒนาชุมชนต่อไปด้วยการยอมรับนับถือ ของประชาชน อย่างไรก็ตาม การพัฒนาไม่ใช่หน้าท่ีของผู้นําคนใดคนหนึ่ง เท่านั้น แต่เป็นหน้าท่ีของประชาชนทุก ๆ คน ที่สามารถลุกข้ึนมา เปน็ ผู้นําในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นของตนเองได้ จนกลายเป็นผู้นํา ทางธรรมชาติซ่ึงเป็นบุคคลท่ีชาวบ้านให้การยอมรับนับถือ ผ่านการ ลงมือดว้ ยความมุ่งมนั่ ตั้งใจ ภมู หิ ลังของผ้นู าการเมืองทอ้ งถนิ่ เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคในการเข้าสู่เวทีการเมืองของ นักการเมืองท้องถิ่น เป็นการแข่งขันของ 2กลุ่มอํานาจในตําบลนาผือ อันได้แก่ กลุ่มผู้นําหมู่บ้าน(อํานาจเก่า ตระกูลสู่เสน) และกลุ่มนายทุน (เจ้าของโรงสี และร้านวัสดุก่อสร้าง) เป็นกลุ่มผลประโยชน์ท่ีตั้ง ข้ึนมาใหม่เพ่ือการต่อรอง กับกลุ่มอํานาจเก่าของตําบลนาผือ และ ยงั มกี ลุม่ ข้าราชการในท้องถิ่นตําบลนาผือที่รับ นโยบายการบริหารงาน จากส่วนกลางมาเป็นกลุ่ม อํานาจเจริญทีม่ ีผลตอ่ ท้งั สองกล่มุ ด้วย แรงจูงใจ แรงจูงใจของนักการเมือง ท้องถิ่น การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึกด้วยแบบสัมภาษณ์ก่ึง โครงสร้าง นักการเมืองท้องถิ่น จ นวน 11 คน ผลการศึกษา พบว่า ภูมิหลัง แรงจูงใจของนักการเมืองท้องถ่ิน เกิดจากแรงจูงใจสนับสนุนจาก ปจั จยั 6 ประการ คอื (1) แรงจงู ใจจากครอบครวั
[177] (2) แรงจูงใจจากฐานะทางเศรษฐกจิ (3) แรงจงู ใจจากการมผี ลงาน (4) แรงจูงใจท่เี กิดจากกลุ่มนกั การเมืองและกลมุ่ ผลประโยชน์ (5) แรงจูงใจจากคนในชมุ ชน (6) ความ สนใจของตนเอง และในส่วนของบทบาทที่โดดเด่นในการ บรหิ ารงาน มี 2 ด้าน คือ 1. ด้านคุณภาพชีวิต และด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึง บทบาทท่ีเป็นจุดเด่นของนักการเมืองท้องถิ่น ในการบริหารงาน คือ ภาพลักษณ์ และมนษุ ยสมั พนั ธ์ที่ดี 2. ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าร่วมเวที การเมอื ง ประกอบดว้ ย (1) ปญั หาดา้ นคณุ วุฒิ (2) ปญั หาภาระครอบครวั (3) ปญั หาคู่แขง่ ทางการเมือง (4) ปัญหาดา้ นภาวะผนู้ าํ (5) ปญั หาด้านค่านยิ ม วฒั นธรรม และสังคม 3. แนวทางในการพัฒนาบทบาทของนักการเมืองท้องถ่ินสตรีในการ บริหารงาน 8 ประการ คอื (1) การมี ความรักศรัทธาในบทบาทและความพร้อม (2) การสรา้ งภาพลักษณท์ ่ดี ี (3) การพฒั นาศักยภาพของ ตนเอง (4) การรณรงค์ให้ผู้หญิงมีบทบาททางการเมอื งมากย่ิงขึ้น (5) การปรับเปลี่ยนความคิดที่ เกี่ยวกับค่านิยมเก่ียวกับผู้หญิง และการเมืองใหเ้ กิดการยอมรับมากยง่ิ ขึ้น (6) การใช้จุดเด่นของความ เป็นผู้หญิงที่เป็นข้อได้เปรียบในการ บรหิ ารงาน
[178] (7) การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืนและการเปิด โอกาสให้ ทกุ ภาคสว่ นมสี ่วนรว่ ม และ (8) การเข้าไปมีสว่ นรว่ มกับชุมชนหรือคนในท้องถ่ินผ่านกิจกรรม ต่าง ๆ การบริหารจัดการในระดับท้องถิ่นก็คือ ผู้นําหรือพรรคพวก ท่ีเสนอตัวตนเข้าไป เขาเหล่านั้นย่อมเป็นที่รู้จักของชาวบ้าน ชุมชน ท้ังการเป็นอดีตข้าราชการท่ีเกษียณอายุ ผู้รับก่อสร้าง ประมูลงาน หรือผูม้ ีอิทธพิ ลในทอ้ งถิ่นนัน้ ๆ หลากหลายบริบทในระบบเครือญาติ จักมีผู้บริหารทั้งกํานัน ผู้ใหญ่บ้าน นายก อบต. นายกเทศมนตรี เทศบาลไปจนกระทั่งถึง ส.ส.ที่อยู่ในสภาผู้แทนราษฎรของประเทศ การขายสิทธิ ซ้ือเสียงระหว่างผู้ไปลงคะแนนและผู้ที่ต้องการชนะ การเลือกตั้งมีความสลับซับซ้อนในยุคสังคมแห่งเทคโนโลยี คําถาม หน่งึ กค็ ือ ระบบกฎหมายถึงการลงโทษผู้กระทาํ ที่ผิดเงื่อนไข หรือผิด กฎหมาย สามัญสาํ นกึ ถงึ คุณธรรม จรยิ ธรรม ศีลธรรม ท่ีต้องการเข้า ไปเพื่อบริหารท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยปราศจากอํานาจ และผลประโยชน์ท่ีอยู่เบอ้ื งหลงั ลกั ษณะผ้นู าท่ดี ีในอดุ มคติ 1. คาํ นึงถงึ ประโยชนส์ ่วนรวมมากกวา่ ประโยชนส์ ่วนตน 2. มีความตงั้ ใจ เอาใจใส่ มีความรับผิดชอบต่อหนา้ ท่ขี องตน 3. ซ่ือสัตย์สุจรติ ตรวจสอบได้ 4. รักษาไวซ้ ่งึ คณุ ธรรม จริยธรรม ไม่กระทําสงิ่ ที่ขดั ต่อศลี ธรรม 5. มคี วามประพฤตทิ ี่ดี เป็นที่ยอมรบั นับถอื จากสังคม 6. รู้จกั การนําเอาขอ้ มลู มาใช้ในการพัฒนาชุมชน เพื่อสร้างกลไก การพัฒนาท่ดี ีขนึ้ 7. มีความริเริ่มสร้างสรรค์ ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางออกให้ชุมชน ทอ้ งถ่ิน
[179] 8. ร่วมสรา้ งให้เกิดผนู้ าํ ชุมชนทอ้ งถ่ินรนุ่ ใหม่ 9. สรา้ งและสานต่อให้เกิดเครอื ข่ายชมุ ชน ในหลากหลายลักษณะ 10. สามารถทาํ งานรว่ มกบั ทกุ ภาคส่วน ทกุ ฝา่ ยไดเ้ ปน็ อย่างดี 2. กลุ่มและบทบาทกลุ่มข้าราชการและเจ้าหน้าท่ีของรัฐในการเมือง เชิงพนื ท่ีและสถานะทางสงั คม เรื่องความสัมพันธ์ของข้าราชการกับนักการเมือง คนท่ัวไป ได้ยินแล้ว อาจรู้สึกเป็นเรื่องเฉพาะกลุ่มระหว่างข้าราชการกับนักการเมือง ประชาชนทั่วไปไม่เกี่ยวด้วย แต่ในความเป็นจริง เรื่องน้ีอยู่ใกล้ตัว และจะส่งผลกระทบถึงประชาชนได้ทุกคน ไม่ว่าจะโดยรู้ตัวหรือไม่รู้ตัว โดยอ้อมหรือโดยตรงก็ตาม และเป็นเร่ืองที่เกิดข้ึนได้ตลอดเวลา ไม่เลือก ฤดูกาลและสถานที่ เพราะถ้าความสมพันธ์ระหว่างข้าราชการ ประจํากับฝ่ายการเมืองไม่สอดคล้องลงรอยกันในวิถีทางท่ีถูกต้อง ตามระเบียบกฎหมาย เหตุผลหลักวิชาการ และคุณธรรม เช่น ข้าราชการประจํามีพฤติกรรมเป็นอุปสรรคแก่ฝ่ายการเมืองในการ ดําเนงานตามนโยบายป้องกัน/แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ ประชาชน \"การบําบัดทุกข์บํารุงสุข\" แก่ประชาชนก็ไม่เกิดข้ึน หรือ เกิดข้ึนไม่เต็มท่ี ขณะเดียวกันถ้าฝ่ายการเมืองใช้อํานาจครอบงํา ทํา ให้ข้าราชการประจําต้องกระทําการไม่สุจริต ไร้คุณธรรม ก็อาจเกิด การ \"สร้างทุกข์ขจัดสุข\" แก่ประชาชน หรือทําให้ประชาชนในฐานะ ผเู้ สียภาษี เจ้าของประเทศ ต้องเสียประโยชน์ท่ีควรได้ หรือต้องเสีย โอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทําให้มีความเป็นอยู่ในสภาพด้อย พฒั นามากกวา่ ทค่ี วรเปน็ ก็ได้ โดยกล่มุ ข้าราชการและเจา้ หน้าทข่ี องรัฐในพื้นทตี่ าํ บลนาผือ อําเภอเมืองอํานาจเจริญ จังหวัดอํานาจเจริญ กับฝ่ายการเมืองในเชิงพ้ืนท่ี ไม่ได้แยกกันเด็ดขาด แต่มีความสัมพันธ์กันตามบทบาท อํานาจ
[180] หน้าท่ี และกรอบจริยธรรม โดยฝ่ายการเมืองเป็นผู้กําหนดนโยบาย และฝา่ ยข้าราชการประจําเป็นกลไกในการนําโยบายไปปฏิบัติให้เกิดผล แต่ในการนํานโยบายดงั กล่าวไปปฏิบัติของข้าราชการและเจ้าหน้าท่ี ของรัฐก็ยังมีปัญหานักการเมืองแทรกแซงการทํางานฝ่ายราชการ โดยมิชอบอยู่ โดยการแทรกแชงทางการเมืองได้ระบาดไปถึงประชาชน ในระดับรากหญ้าแล้วโดย นักการเมืองท้องถ่ินระดับตําบลจะมี พฤติกรรมเลียนแบบนักการเมืองระดับชาติ พยายามใช้อิทธิพลเข้ามา มีบทบาทและควบคมหน่วยงานต่างๆ ให้เป็นฐานทางการเมืองของตน โดยจะพยายามอ้างว่าตนเองเป็นตัวแทนของประชาชนสามารถทํา อะไรก็ได้ ถ้าหน่วยงานใดไม่ปฏิบัติตามนโยบายที่นักการเมือง อิทธิพลคิดข้ึนมาเองก็จะไม่รุ่ง และจะโดนข้อกล่าวหาจาก นักการเมืองท้องถิ่น ว่าหัวหน้าหน่วยงานน้ันๆ ไม่ปรึกษา ไม่เช่ือฟัง และพยายามยุแยงผู้ใต้บังคับบัญชาของหน่วยงานนั้นๆ ให้กระด้าง กระเดื่อง สร้างปัญหาต่างๆ เพ่ือพยายามผลักดันให้ย้ายออกนอก พื้นที่ ซึ่งการกระทําเช่นนี้เกิดขึ้นทุกหน่วยงานในระดับตําบล หัวหน้าหน่วยงานที่ทํางานตรงไปตงมาก็อึดอัด ไม่สามารถที่จะ ต่อรองกับนักการเมืองท้องถ่ินได้เลย เพราะหน่วยงานต่างๆ ต้อง อาศัยคนในพื้นที่ บางคนถึงกับต้องขอย้ายตนเอง คนที่เข้าเป็น หัวหน้าหน่วยงานคนใหม่ถ้าทําตัวเห็นด้วยในทุกๆ เร่ืองกับ นักการเมือง ก็จะรุ่ง แต่การปฏิบัติงานไม่ก้าวไกล เพราะเอาแต่ทํา ตัวเป็นลูกนอ้ งนักการเมอื ง สําหรับสภาพที่เป็นอยู่ของข้าราชการในพื้นที่ตําบลนาผือ อําเภอเมืองอํานาจจเริญ มี 2 ประเภท คือ (1) ข้าราชการท่ีประจบ สอพลอพี่งนกั การเมืองเข้าสู่ตําแหน่ง (2) นักการเมืองไม่มีจริยธรรม ที่ชอบต้อนข้าราชการประจบสอพลอเข้าคอก เมื่อคน 2 กลุ่มนี้มา รวมกนั กจ็ ะมีการแสวงหาประโยชน์ใหก้ นั และกนั
[181] โดยบทบาทหน้าที่ซึ่งมีปัญหาการแทรกแซงของนักการเมือง แบ่งได้เป็น 3 ด้าน คือ (1) การบริหารงาน (2) บริหารงบประมาณ และ (3) บริหารบุคคล โดยในด้านการบริหารบุคคล และงบประมาณ เป็นทีเ่ พง่ เล็งมากท่ีสุด รูปแบบความสัมพันธ์ที่อาจเกิดขึ้นเมื่อวิเคราะห์ รูปแบบการทํางานของผู้มีตําแหน่งทางการเมืองใน 2 มิติประกอบกัน คือ (1) วิธีการใช้อํานาจ (means) และ (2) จุดมุ่งหมายหรือเจตนารมณ์ ในการใช้อํานาจน้ัน (ends) โดยสามารถจําแนกรูปแบบท้ังหมดในการ ทํางานของผู้มีตําแหน่งทางการเมืองได้เป็น 4 กรณี ซึ่งในแต่ละกรณี มีข้อเสนอแนะรูปแบบการทํางาน ที่ฝ่ายข้าราชการประจําควรเลือกใช้ เมือ่ ต้องสัมพนั ธ์กับฝ่ายการเมือง ไม่ว่าในด้านการบริหารงาน การบริหารคน หรอื การบรหิ ารเงินงบประมาณก็ตาม เป็น 4 กรณีเช่นกัน ดังตาราง ต่อไปนี้ รูปแบบการทางานของฝา่ ยการเมอื ง รปู แบบการทางาน ที่ฝา่ ยราชการควรใช้ วธิ ใี ช้อานาจ เจตนารมณ์ สนับสนนุ อยา่ งเต็มที่ กรณีท่ี 1 ตามระเบยี บ เพือ่ ประโยชน์ของ แนะนํา/หาทาง กรณที่ 2 สนบั สนนุ ให้วิธกี าร กฎหมาย ประชาชนในพื้นที่ ถกู ต้อง กรณท่ี 3 ยึดมั่นการปฏิบัตติ าม กรณที่ 4 นอกระเบียบ เพอ่ื ประโยชน์ ระเบียบกฎหมาย ยึดระเบยี บกฎหมาย + กฎหมาย ของประชาชน ใช้กุศโลบาย ในพื้นที่ ตามระเบียบ เพ่อื ประโยชน์ กฎหมาย ของตนเอง นอกระเบียบ เพื่อประโยชน์ กฎหมาย ของตนเอง จากตารางวิเคราะห์ดังกล่าว กรณีที่ 4 คือ กรณีที่นักการเมือง หาประโยชน์ส่วนตนโดยใช้อํานาจที่ไม่เป็นไปตามระเบียบกฎหมาย ซึ่งเป็นพฤติกรรมท่ีไม่ถูกต้องท้ังจุดหมายและวิธีการ ดังน้ัน นักการเมืองจึงต้องใช้วิธีการที่ไม่เปิดเผยและไม่ให้มีหลักฐานท่ีจะ
[182] ปรากฏเป็นความผิดของตนได้ กรณีเช่นนี้ส่งผลกระทบทางลบต่อ ระบบราชการและข้าราชการมากที่สุด ทําให้ข้าราชการและ เจ้าหน้าท่ีรัฐท่ีสุจริตถูกกดดัน เกิดความเครียด หมดกําลังใจในการ ปฏิบัติงาน ขณะเดียวกันข้าราชการบางส่วนก็ยอมละทิ้งความชอบ ธรรมหันไปร่วมมือกับฝ่ายการเมืองที่ทุจริต เกิดเป็นผลเสียหายแก่ ประเทศและประชาชน ดังน้ัน รูปแบบความสัมพันธ์ที่ยึดระเบียบกฎหมายอย่างเดียว และแสดงความเปน็ ปฏิปกั ษต์ อ่ นักการเมือง จงึ มีความเป็นไปได้น้อย ที่ข้าราชการจะนําไปใช้ได้อย่างจริงจัง เพราะข้าราชการประจําเป็น ฝ่ายเบ้ยี ล่าง อาจถูกโยกย้ายไปอยู่ในดําแหน่งหรือพ้ืนท่ีที่ไม่น่าพอใจ ถู ก ตั ด โ อ ก า ส แ ล ะ สิ ท ธิ ป ร ะ โ ย ช น์ เ รื่ อ ง ค ว า ม ดี ค ว า ม ช อ บ แ ล ะ ความก้าวหน้าในตําแหน่งหน้าที่ ถูกข่มขู่ หรือกลั่นแกล้งด้วยวิธีการ ตา่ งๆ จากนักการเมือง จากพรรคการเมืองของนักการเมืองน้ัน และ จากกลุ่มพวก หรือแม้แต่ข้าราชการด้วยกันเอง ท่ีเป็นเคร่ืองมือให้ ฝ่ายการเมอื งดงั กล่าวก็ได้ ดังนน้ั แนวทางแรกสดุ ท่ีขา้ ราชการควรใช้ คอื ใชศ้ ลิ ปะและกุศโลบาย (กศุ ล + อบุ าย) ต่างๆ เพื่อป้องกันตัวเอง มิใหเ้ ปน็ \"แพะรบั บาป\" ขณะเดยี วกัน กส็ ามารถปฏิบัติภารกิจหน้าท่ี ให้ประสบผลสําเร็จสร้างประโยชน์สุขแก่ประชาชนและสังคม ส่วนรวม พรอ้ มกับสามารถรักษาความสัมพันธ์กับนักการเมืองให้อยู่ ในระดับที่จะร่วมงานกันต่อไปได้ ส่วนการดําเนินการตามระเบียบ กฎหมาย ซึ่งเป็นวิธีในเชิงปฏิปักษ์ ควรเป็นทางเลือกที่สอง เมื่อไม่ สามารถดําเนินการตามแนวทางแรกได้ โดยกุศโลบาย และแนวทางเพื่อจัดการปัญหาการ แทรกแซงจากนกั การเมืองในพ้ืนท่ี ดงั น้ี
[183] (1) บริหารจัดการเอกสารหลักฐาน โดยในเวลาที่มีการประชุม คณะกรรมการใดๆ กบ็ ันทึกรายชอื่ ผู้เข้าประชุมไว้ให้ละเอียด เขาพูด อะไรกบ็ นั ทึกไวใ้ นรายงานการประชมุ ใหช้ ดั แจง้ อาจใช้ประโยชนไ์ ด้ (2) สง่ั สมความรคู้ ามสามารถ แสดงให้เห็นความเป็นวิชาชีพอย่างสูง จนนกั การเมอื งเห็นความสําคัญ ยอมรับเหตุผลของหลกั วชิ าชีพ และ เกรงใจ (3) เสริมสร้างความร่วมมือกันระหว่างข้าราชการที่สุจริตเพ่ือเป็น พลังสนบั สนุนช่วยเหลอื กันและกัน โดยวธิ ีต่างๆ เชน่ การสร้างความ ใกลช้ ิดซึ่งกนั และกนั ระหวา่ งขา้ ราชการทม่ี ีความคิดเห็นสอดคลอ้ งกัน (4) บริหารราชการอย่างโปร่งใส เป็นธรรมาภิบาลโดยประกาศเจตนารมณ์ ให้เป็นที่รับรู้ท่ัวไปอย่างชัดเจนและปฏิบัติตามเจตนารมณ์ดังกล่าว อยา่ งจริงใจ โปร่งใส เพ่ือยืนยนั การยึดมนั่ ความสุจรติ ถูกต้อง จนเป็น ท่ีรับรู้ - ยอมรับ - และสนับสนุน โดยข้าราชการและสาธารณชนท่ัวไป ถ้าข้าราชการทําให้การบริหารงาน การบริหารงบประมาณและการ บริหารบุคคล มีความโปร่งใส อะไรท่ีปิดอยู่ก็ให้เปิดเสีย อะไรมืด ก็ทําให้สว่างเสีย เช่น กําหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาวินิจฉัย ตัดสินใจท่ีมีเหตุมีผลอธิบายได้ และประกาศเปิดเผยอย่างชัดเจน หรือการให้คนนอกหน่วยงานมีส่วนร่วมในการวินิจฉัยตัดสินใจด้วย เป็นต้น จะทําให้การบริหารราชการเป็นที่เปิดเผยมีความสว่างข้ึน เมื่อทําเชน่ น้ีแล้วฝ่ายการเมืองก็จะต้องระวังมากขึ้น (5) บรหิ ารจัดการ \"กาละ\" และ \"เทศะ\" เพ่ือจัดการกบั ความต้องการ ของนักการเมือง เช่น การเรง่ หรอื การยดื เวลาดําเนินการในบางเรื่อง เพอื่ ให้เกดิ จังหวะ/สถานการณ์ท่ีจะเอื้ออํานวยให้ความสุจริตถูกต้อง เกิดขึ้นได้ หรือทําให้การทจริตเกิดข้ึนได้ยากยิ่งขึ้น หรือการเลือก ดําเนนิ การบางเรอื่ งในบางสถานที่ซ่งึ โปร่งใสไม่เอื้อตอ่ ความทุจรติ
[184] ปัญหาการแทรกแซงโดยมิชอบของนักการเมือง เกิดข้ึน อย่างหลากหลายและส่งผลกระทบต่อข้าราชการท้ังหมดอย่างต่อเน่ือง ต้ังแต่ระดับสูงลงมาจนถึงระดับต้น เมื่อประเมินท้ังในด้าน Probability และ impact แล้ว ถือเป็นความเส่ียงที่มีความสําคัญ จําเปน็ ตอ้ งบริหารจัดการซึ่งตามหลักวิชา ก็มีข้อเสนอแนะทางเลือก ให้พิจารณาหลายวิธี เช่น แบกรับความเส่ียงไว้ กระจายความเส่ียง (ซอยความเส่ียงให้เล็กลงหรือหาผู้ร่วมรับความเสี่ยงเพ่ิมขึ้น) ผู้อื่นท่ี มีบทบาทหน้าที่ต้องรับผิดชอบ เป็นต้น เพียงแต่การบริหารความ หรือโอนความเสี่ยงไปให้เสี่ยงในเรื่องน้ี ไม่สามารถดําเนินการได้ ในระบบการทํางานปกติ ต้องอาศัยความสามารถในการบริหาร ของข้าราชการแตล่ ะคนเป็นสําคญั 3. บทบาท อานาจ และอิทธิพลการเมอื งของกล่มุ ทนุ ทอ้ งถ่ิน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินถือได้ว่าเป็นหน่วยงานพื้นฐาน ในท้องถิ่นซ่ึงอยู่ใกล้ชิดกับประชาชนมากท่ีสุด มีภารกิจในการ ท่ีจัดบริการสาธารณะที่จําเป็นให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นส่วนหน่ึงของรัฐ มีฐานะเป็นนิติบุคคล ทมี่ หี น้าท่ีตามรัฐธรรมนูญ ระบุว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมี อํานาจหน้าที่โดยท่ัวไป ในการดูแล และจัดทําบริการสาธารณะ เพ่ือประโยชน์ของประชาชนในท้องท่ีและย่อมมีความเป็นอิสระในการ กําหนดนโยบายการบรหิ าร การจดั บริการสาธารณะ การบรหิ ารงาน บุคคล การเงินและการคลัง และอํานาจหน้าท่ีของตนโดยเฉพาะ โดยต้องคํานึงถึงความสอดคล้องกับการพัฒนาของจังหวัด และ ประเทศเป็นส่วนรวมด้วย ด้วยการกับกํากับดูแลของผู้ว่าราชการ จังหวัด และนายอําเภอ ภายใต้รัฐธรรมนูญ ซ่ึงระบุว่า การกํากับ ดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องทําเท่าท่ีจําเป็น และมี หลักเกณฑ์วิธีการเงื่อนไข ท่ีชัดเจนสอดคล้องและเหมาะสมกับ
[185] รูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ท้ังนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ โดยตอ้ งเป็นไปเพอ่ื การคุม้ ครองประโยชน์ของประชาชนในทอ้ งท่ี ในสังคมไทยกระบวนการทางการเมืองในรูปแบบของการ เลอื กตัง้ เริม่ มีมาอย่างตอ่ เน่ืองในกระบวนการทางการเมือง ได้สร้าง ฐานทรัพยากรอํานาจให้กับกลุ่มการเมืองในท้องถ่ิน จากการมี ทรัพยากรอํานาจทางการเมือง หรือทรัพยากรทางการเมืองในท้องถ่ิน เขา้ ส่กู ารมอี ํานาจทางการเมอื งในระดบั ชาติได้ แนวความคิดเก่ียวกับโครงสร้างอํานาจในท้องถ่ินสามารถ แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 3 รูปแบบ 1. โครงสร้างอํานาจท้องถิ่นแบบข้ัวเดียวหรือแบบรวมศูนย์ โครงสร้างลักษณะน้ี เกิดจากชนชั้นผู้นําท้องถ่ินเพียงกลุ่มเดียวทํา การผูกขาดอํานาจและการตัดสินใจของสังคมในทุกเรื่อง ท้ังในด้าน การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ในระดับจังหวัดและระดับชุมชน เพราะเป็น เพียงกล่มุ เดียวทีม่ ฐี านะทางเศรษฐกิจดี มีผู้อยู่ใต้อุปถัมภ์จํานวนมาก อีกท้ังมีความสัมพันธ์แน่นเฟ้นกับหน่วยงานต่าง ๆ ในท้องถิ่น จึงทํา ใ ห้ ส า ม า ร ถ ผู ก ข า ด อํ า น า จ ท า ง ก า ร เ มื อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง เ บ็ ด เ ส ร็ จ (Monopolistic Politics) ด้านการแข่งขันทางด้านการเมือง สืบเนื่องความสัมพันธ์ที่แน่นเฟ้นกับหน่วยงานในท้องถิ่น และมีผู้อยู่ใต้ อุปถัมภ์อย่างกว้างขวาง จึงทําให้คู่แข่งทางด้านการเมืองไม่สามารถ ทําคะแนนเพื่อชนะฝ่ายที่กุมอํานาจทางการเมืองได้ อีกท้ังกลุ่มผู้นํา ท้องถ่ินน้ี พยายามจะสืบทอดอํานาจทางการเมืองนี้ไปยังลูกหลาน และเครือญาตใิ นตระกูล รวมทง้ั คนใกลช้ ิด เพื่อจะผลักดันให้กลุ่มคน เหล่านี้เข้าสู่วงการเมืองและรักษาอํานาจแบบเบ็ดเสร็จเช่นน้ีต่อไป ปัจจัยท่ีก่อให้เกิดการผูกขาดทางการเมืองในท้องถิ่นอาจเริ่มเกิดขึ้น จากการก่อตัวของผู้มีอิทธิพลในท้องถ่ิน เช่น กํานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้มี อทิ ธิพลในส่วนงานราชการ หรือแม้กระท่ังผู้ท่ีมีผลงานเป็นท่ียอมรับ
[186] ของประชาชนในท้องถิ่นนั้น จนทําให้คนกลุ่มนี้ชนะการเลือกต้ัง และได้รับการเลือกเข้ามาอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นวัฒนธรรม การเมืองแบบผูกขาด-รวมศูนย์อํานาจ (Monopolistic centralized politic culture) 2. โครงสร้างอํานาจท้องถิ่นแบบสองหรือสามขั้วอํานาจ ด้านการเมืองของรูปแบบโครงสร้างแบบน้ีจะมีการแข่งขันกัน ตลอดเวลา โครงสร้างอํานาจแบบน้ีจึงไม่ตายตัว และมีการ เปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพราะไม่มีกลุ่มใดมีอํานาจเหนือกลุ่มใด อย่างเบ็ดเสร็จ เนื่องมาจากปัจจัยสะสมท้ังทางเศรษฐกิจและสังคม อย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน จนกลายเป็นกลุ่มที่มี อิทธิพลทางด้านการเมืองในท้องถิ่นน้ัน ๆ และมีจํานวนผู้อยู่ภายใต้ อุปถัมภ์ใกล้เคียงกันดังน้ัน การต่อสู้ทางการเมืองจึงมีความจริงจัง เข้มข้นในทุกช่วงเวลาการแข่งขันทางการเมือง ซึ่งรูปแบบของการ แข่งขันก็ยังคงเป็นการส่งลูกหลาน ญาติพี่น้อง ลงสมัครรับเลือกตั้ง โดยมีเป้าหมายหลักในการยึดกุมและขยายอิทธิพลพื้นท่ีทาง การเมอื งทอ้ งถน่ิ ไวใ้ นเครือข่ายตระกูลให้มากท่ีสุด 3. โครงสร้างอํานาจท้องถิ่นแบบไม่มีขั้วอํานาจที่ชัดเจน โครงสร้างอํานาจแบบนี้จะไม่ถูกครอบงําอย่างเบ็ดเสร็จ และไม่มี ความรุนแรงเท่ากับโครงสร้างแบบอื่น ๆ เนื่องจากอํานาจน้ันไม่ได้ ถูกผูกขาดอยู่กับกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง นอกจากน้ัน การสะสมทุนทางด้าน เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ยังมีไม่มากพอและมีข้อจํากัดหลาย อย่าง จึงทําเครือข่ายอุปถัมภ์และระบบทางการเมืองยังไม่แข็งแรง พอท่ีจะกลายเป็นกลุ่มท่ีมีอิทธิพลภายในท้องถ่ินน้ันๆ ได้ด้วย ข้อจํากัดดังกล่าว อํานาจทางการเมืองไม่ได้ตกอยู่ใต้ขั้วการเมือง อันหน่ึงอันใดและกระจายไปในข้ัวท่ีหลากหลายแตกต่างกันไป ดังน้ัน กลุ่มต่าง ๆ จึงต้องตกลงปลงใจเป็นพันธมิตรกันเป็นการ
[187] ช่ัวคราวเพื่อร่วมกันบริหารงานท้องถิ่น ซึ่งอาจจะกลายเป็นลักษณะ ของกลุ่มอํานาจทางยุทธศาสตร์ (Strategic power group) ท่ีรวมตัวกัน เป็นการชั่วคราว เพื่อเข้าสู่ฐานอํานาจและเป็นหนทางในการเข้าสู่ อํานาจทางการเมอื งต่อไป กลุ่มทุนคือ กลุ่มผลประโยชน์กลุ่มหน่ึงท่ีมีบทบาทและ แสดงสถานะของตนอยู่ตลอดเวลา อีกท้ังยังมีการปรับเปลี่ยนหรือ ปรับกลยุทธ์อยู่เสมอ เพ่ือให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง ที่ เ กิ ด ขึ้ น อยู่ บ่ อ ย ค ร้ั ง ใ น ก ร ณี ข อง ป ร ะเ ท ศ ไ ท ย กลุ่ ม ทุ น จํ า แ น ก ออกเป็น 2 ประเภทคือ กลุ่มนายทุนไทย และกลุ่มนายทุนต่างชาติ ซ่ึงท้ังสองกลุ่มน้ีจะพยายามที่เข้ามามีส่วนผลักดันรัฐให้กําหนด นโยบายอันเป็นผลประโยชน์ออกมาสนองตอบต่อตนเองหรือพวกพ้อง ของตน โดยกลุ่มทุนไทยนี้จะแสดงพฤติกรรมเพื่อสร้างผลประโยชน์ ให้เกิดแก่กลุ่มของตนเองใน 2 ลักษณะใหญ่ๆ ประการแรกคือ การเป็น ผู้ให้การสนับสนุนพรรคการเมืองท้ังในทางตรงและทางอ้อม โดยอาศัย กลไกภายในพรรคการเมืองให้สร้างนโยบายต่างๆ ท่ีเป็นประโยชน์ แก่กลุ่มและประการที่สองคือ การท่ีกลุ่มนายทนุ ผนั ตัวเองเข้ามาเป็น นักการเมืองเพ่ือผลักดันนโยบายท่ีเป็นผลประโยชน์ ทั้งน้ีหาก พิจารณาให้ดีก็จะพบว่า ลักษณะของกลุ่มนายทุนไทยแบบแรกน้ัน มรี ากฐานทกี่ ระทํามานานแลว้ ดังท่ีเรียกว่าเป็นระบบจ่ายค่านํ้าร้อน นํา้ ชาให้แก่ข้าราชการหรือเจ้าขุนมูลนายในอดีต เพียงแต่พฤติกรรม ในลักษณะน้ีดูมีความชอบธรรมน้อยกว่ารูปแบบการจ่ายเงินสนับสนุน พรรคการเมืองท่ีมีฐานรองรับจากกฎหมายรัฐธรรมนูญในแง่ที่พรรค สามารถรับเงินสนับสนุนจากผู้บริจาคได้ อย่างไรก็ตามพฤติกรรม ของนายทุนได้เกิดการปรับเปล่ียนมากข้ึนโดยใช้กลยุทธ์การผลักดัน นโยบายทางตรงมากขน้ึ โดยผันตนเองหรอื ตวั แทนของกลุ่มนายทุน เขา้ กระทําการ (active) เอง ดังจะพบว่าในช่วงเกือบ 3 ทศวรรษท่ี
[188] ผ่านมาสมาชกิ พรรคการเมอื งจาํ นวนไม่น้อยมาจากกลุ่มทุนได้ลงเล่น การเมืองด้วยตนเองมีจํานวนมากข้ึน มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จํานวนไม่น้อยที่มีภาพในเบื้องหลังเป็นนักธุรกิจช้ันนําของประเทศ มาก่อน กลุ่มธนกิจการเมืองเกิดข้ึนในประเทศไทย ด้วยความสัมพันธ์ ทางอํานาจระหว่างอํานาจการเมืองและอํานาจเศรษฐกิจท่ีมีความ เช่ือมโยงซึ่งกันและกัน จากปัจจัยทางสังคมของไทยท่ีมีระบบรวม ศูนยอ์ าํ นาจของทัง้ สองอํานาจให้เป็นของชนช้ันปกครองท้ังสองกลุ่ม มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน โดยกลุ่มผ้ปู กครองหรือชนชั้นนําทาง การเมืองต้องการแสวงหาความมั่งค่ัง ซ่ึงต้องอาศัยกลุ่มพ่อค้านัก ธุรกิจมาช่วยทําการค้าให้กับตน ขณะที่กลุ่มพ่อค้านักธุรกิจต้องการ อํานาจทางการเมืองเพ่ือช่วยคุ้มครองหรืออภิสิทธิ์ในการทางการค้า ของตนด้วย ความสัมพันธ์ดังกล่าวสะท้อนออกมาในรูปของการให้ สัมปทานผูกขาดในโครงการสาธารณูปโภคพื้นฐานและในอีกทางหนึ่ง เกิดพันธมิตรระหว่างพรรคหรือกลุ่มนักการเมืองสายธุรกิจกับ ข้าราชการ เพ่ือร่วมมือกันแย่งชิงอํานาจทางการเมืองและแบ่งปัน ผลประโยชน์ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งกนั กลุ่มทุนท้องถ่ิน ท่ีเข้ามามีส่วนสําคัญในการช่วยสนับสนุน ฐานเสียงให้กับนักการเมืองท้องถิ่น กลุ่มนายทุนบางคนมีความคาดหวัง ท่ีจะหวังผลประโยชน์ทางตําแหน่งทางการเมือง เพราะกลุ่มเหล่าน้ี จะประกอบธุรกิจเป็นส่วนใหญ่มีทุนทรัพย์ในการสนับสนุนนักการเมือง โดยอาศยั ความเปน็ ผบู้ รหิ ารหรือนายจ้างเข้ามาแทรกแทรงและหากมีการ ว่าจ้าง กลุ่มน้ีก็จะเข้ามาประมูลและผูกขาดทางธุรกิจ เพื่อมุ่งหวัง ผลประโยชน์กับนักการเมืองท้องถิ่น และยังมีกลุ่มผู้ประกอบการ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ อาทเิ ชน่ ร้านค้าโชห่วย บริษัท ห้างสรรพสินค้า โรงงานอุตสาหกรรม โรงสีข้าวขนาดใหญ่ กลุ่มเหล่าน้ี จะเข้ามาสนับสนุนท้ังด้านเงินทุนและสิ่งของ ในการสนับสนุนด้านเงินทุน
[189] อาจจะช่วยสนับสนุนเงินทุนในลักษณะของการลงพ้ืนท่ีช่วยหาเสียง หรืออาจจะช่วยสนับสนุนในลักษณะมอบส่ิงของให้กับนักการเมือง อาทิเช่น น้ําดื่ม เจ้าภาพเรื่องของอาหาร เป็นต้น ดังนั้น การมีอํานาจ ทางเศรษฐกิจหรือเงินทุนของผู้นําทางการเมือง ที่จะมีอํานาจเหนือ ผู้อ่ืนนั้น เป็นเง่ือนไขหน่ึงท่ีมีความจําเป็นนอกจากน้ี การได้อํานาจ ทางการเมอื งหรือการได้ดาํ รงตําแหน่งนั้น มีกระบวนการนําเสนอให้ ประชาชนไว้วางใจ หรือประชาสัมพันธ์แนวความคิดหรือนโยบาย ของตนให้แก่ประชาชนได้รับทราบ ล้วนมีค่าใช้จ่าย หรือค่าดําเนินการ ที่ผู้นําทางการเมืองไม่สามารถเบิกได้ตามระเบียบของราชการ จําเป็นท่ีผู้นําจะต้องมีความพร้อมทางเศรษฐกิจ ในระดับท่ีจะดูแล ประชาชนได้ และมีความพร้อมท่ีจะสนับสนุน หรือขับเคลื่อน กระบวนการทางานตามหน้าท่ีของตนให้ราบร่ืน ตลอดจนการ คํานึงถึงความไว้วางใจจากประชาชนในการลงสมัครรับเลือกต้ัง ในสมยั ต่อไปด้วย 4. บทบาท อานาจและอิทธิพลการเมืองของกลุ่มการเมืองและ พรรคการเมืองระดับชาติต่อการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมในพืนที่ ตาบลนาผอื กลุ่มอิทธิพลเป็นการรวมกลุ่มของผู้มีผลประโยชน์อย่าง เดียวกันเพื่อแสวงหาอิทธิพล กลุ่มอิทธิพลน้ันจะเข้มแข็งและ มปี ระสิทธิภาพก็ต่อเม่ือมีวัตถุประสงค์ท่ีแน่ชัดและเป็นแนวเดียวกัน ซ่ึงตรงกันข้ามกับพรรคการเมืองที่เป็นการรวมกลุ่มต่างๆ ท่ีมี ความเห็นไมเ่ หมือนกับที่เดียวกันเข้าด้วยกัน แต่รวมกันเพ่ือแสวงหา อาํ นาจทางการเมืองโดยวางนโยบายในการทํากิจกรรมทางการเมือง และเมื่อมีอํานาจทางการเมืองก็นํานโยบายของพรรคมาใช้ในการ บริหารกจิ การทางการเมอื ง
[190] สรุปรวมความว่า กล่มุ ผลประโยชน์หรือกลุ่มอิทธิพลต่อสู้ ป้องกันผลประโยชน์ของกลุ่มโดยใช้อิทธิพลทางอ้อมต่อศูนย์กลาง แห่งอํานาจมากกว่าท่ีต้องการมีอํานาจโดยตรง แต่พรรคการเมือง พยายามท่ีจะเข้าไปมีอํานาจไม่ว่าจะโดยวิธีการเลือกต้ัง หรือโดยวิธี รุนแรง เช่น กระทําการปฏิวตั ิรฐั ประหาร 1. ลักษณะขององค์กรกลุ่มผลประโยชน์อาจแบ่งได้อย่างกว้างๆ 4 ประการ คือ 1.1 กลุ่มท่ีมีสมาชิกน้อย แต่มีเงินใช้ดําเนินการมาก ได้แก่ สมาคมนายจา้ ง 1.2 มีเงินน้อยแต่มีสมาชิกมาก เช่น กลุ่มลูกจ้างชั้น ผู้บริหารระดบั กลาง 1.3 มเี งนิ มากพอสมควรและมีสมาชิกมากพอสมควร เช่น สมาคมข้าราชการ และกลุ่มลกู จา้ งชั้นผ้บู รหิ ารระดับสงู 1.4 มีเงินไม่มากแต่มีสมาชิกจํานวนมาก ได้แก่ สมาคม ลกู จา้ ง 2. เป้าหมายของกลุ่มผลประโยชน์ คอื พยายามทจี่ ะมีอิทธิพลต่อ นโยบายสาธารณะทีพ่ อจะรวบรวมได้ 5 ประการ คอื 2.1 พยายามให้มติมหาชนสนบั สนนุ โครงการของตน 2.2 พยายามมีอิทธิพลสนับสนุนผู้สมัครรับเลือกตั้งท่ีมี นโยบายทีก่ ลุ่มตนสนับสนุน 2.3 พยายามหาวิธีที่จะทําให้กลุ่มของตนมีส่วนสําคัญใน การวางนโยบายของพรรคการเมอื งใหญๆ่ 2.4 พยายามทาํ ให้สภาผแู้ ทนราษฎรเห็นว่ากลุ่มของตนมี ความสาํ คัญ 3. อํานาจของกล่มุ ผลประโยชน์
[191] โดยทั่วไปแล้วผู้นําของกลุ่มผลประโยชน์มักจะกล่าวอ้าง อํานาจของกลุ่มเกินความเป็นจริง เพ่ือเรียกร้องให้นักการเมืองและ ประชาชนสนใจและเห็นด้วยกับความเห็นของกลุ่มตนโดยหวังว่าจะ ทําให้กลุ่มตนมีอิทธิพลมากข้ึน ท้ังน้ี จุดประสงค์มิได้สร้างอิทธิพล เพอ่ื ประโยชน์ของกลุ่มแตห่ วงั ผลท่จี ะใหเ้ กดิ แกส่ ังคมทั้งมวล 4. ความสัมพันธร์ ะหวา่ งกลุ่มผลประโยชนก์ บั พรรคการเมือง โดยทั่วไปแล้วกลุ่มผลประโยชน์ท่ีมีรากฐานสําคัญของพรรค การเมือง คือ กลุ่มผู้ประกอบการกับกลุ่มผู้ใช้แรงงานโดยเฉพาะกลุ่มลูกจ้าง กล่าวคือ พรรคการเมืองท่ีมีความเกี่ยวพันกับผู้ประกอบการ ได้แก่ พรรคการเมืองที่มีแนวทางอนุรักษ์นิยม ส่วนกลุ่มผู้ใช้แรงงานก็จะ สนบั สนุนพรรคการเมอื งทม่ี ีนโยบายสนับสนนุ ผใู้ ชแ้ รงงาน สรุปรวมความวา่ กลุม่ ผลประโยชน์หรือกลุ่มอิทธิพลในประเทศ มีการปกครองระบอบประชาธิปไตยนั้น การแสดงออกของกลุ่มเป็นไป เพ่ือประโยชน์ส่วนรวมของสังคมมิใช่เพ่ือผลประโยชน์ของตน ซ่ึงส่งผล ไปถึงพรรคการเมอื งเช่นกนั การแสดงออกดงั กลา่ วนีจ้ ะไม่เกิดขึ้นในสังคม การเมืองในระบอบอ่ืนโดยเฉพาะในสังคมท่ีมีการปกครองไม่ใช่ระบอบ ประชาธิปไตยที่แท้จริงหรือระบอบประชาธิปไตย “ฟันปลอม” ตามความหมายท่ีหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี ได้ให้ความหมายถึงระบอบเผด็จการในคราบประชาธิปไตย ดังน้ัน กลุ่มผลประโยชน์หรือกลุ่มพลังเป็นรากฐานสําคัญของพรรค การเมอื งในสังคมระบอบประชาธปิ ไตย การศึกษาน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาลักษณะกลุ่มและ อํานาจทางการเมืองของกลุ่ม ต่าง ๆ ในตําบลนาผือ อําเภอเมือง อํานาจเจริญ จังหวัดอํานาจเจริญ และ ศึกษาการใช้ระบบอุปถัมภ์ ในการเมือง โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากการวิจัย เอกสาร ศึกษาข้อมูลเอกสารต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ใช้วิธีการคัดเลือก
[192] แบบเจาะจง ใชแ้ บบสัมภาษณ์ท้งั แบบมีโครงสรา้ งและไม่มีโครงสร้าง กลุ่มตัวอย่างจากฝ่ายข้าราชการการเมือง ฝ่ายข้าราชการประจํา และฝา่ ยประชาชนในพ้นื ที่ ผลการศึกษาพบว่า การเมืองท้องถิ่นในตําบลนาผือพบ การกระจุกตัวของอํานาจอยู่ที่กลุ่ม ๆ เดียว ซ่ึงเป็นกลุ่มท่ีมีสมาชิก ของกลุ่มชนะการเลือกต้ังในการเมืองท้องถ่ินและเข้ามาบริหาร บ้านเมืองด้วยกันท้ังสิ้น ซึ่งนับว่าเป็นส่วนหนึ่งของระบบอุปถัมภ์ จากอดีตนักการเมืองระดับชาติ ผู้ซึ่งยังคงมีบทบาทสําคัญและมี อิทธิพลต่อการเมืองท้องถิ่นของจังหวัดอํานาจเจริญอยู่ และเมื่อ สมาชิกของกลุ่มนี้จะต้องตัดสินใจในการบริหารบ้านเมือง ก็จะมีผล ต่อการเอ้ือผลประโยชน์ให้กับสมาชิกในกลุ่ม จึงทําให้เห็นว่าระบบ อุปถัมภ์ในการเมืองท้องถ่ินของจังหวัดอํานาจเจริญมีความเข้มข้น และเป็นปึกแผ่นมาเป็นระยะเวลายาวนาน ผลของการศึกษา ทําให้ เห็นถึงรูปแบบของการเมืองไทยท่ีมีระบบอุปถัมภ์เป็นพื้นฐานของ โครงสรา้ งทางการเมือง รวมไปถึงความสัมพันธ์ทางสังคมของบุคคล ทเี่ ป็นเสมือนเครือญาตทิ สี่ นิทชิดเชอื้ ซง่ึ สง่ ผลไปถึงการเมืองในทุก ๆ ระดับ ไม่เว้นแม้กระทั่งการเมืองในระดับท้องถ่ิน สามารถสรุป ประเด็นในเร่ืองผลประโยชน์ที่ได้เป็น 3 ด้าน ได้แก่ ผลประโยชน์ เชงิ บุคคล เชงิ นโยบายสาธารณะและเชิงพานิชย์ ระบบอุปถัมภ์ (Patron-client system) เป็นรูปแบบหนึ่ง ของความสัมพนั ธ์ระหว่างกลุ่มคนต่าง ๆ ในสังคม เป็นความสัมพันธ์ ท่ีต่างจากความสัมพันธ์ตามสายงานบังคับบัญชาอย่างเป็นทางการ ตามหน่วยงานต่าง ๆ ที่เห็นกันอยู่ในสังคมสมัยใหม่ ความสัมพันธ์ แบบอปุ ถมั ภท์ ่ีเคยดํารงอยู่ในสังคมจารีตของประเทศต่าง ๆนั้นยังคง แฝงเร้นอยู่ในสังคมสมัยใหม่ เพราะมีความยืดหยุ่นในการปรับตัวให้
[193] เข้ากับลักษณะทางสังคมในแต่ละช่วงของประวัติศาสตร์ จึงยืนยง แฝงเรน้ อยู่ในสังคมสมัยใหมม่ าจนถงึ ทกุ วนั น้ี ความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์เป็นรูปแบบหน่ึงของความสัมพันธ์ ส่วนตัวเชิงแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจ และสังคมท่ีต่างกัน คนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมท่ีสูงกว่า กล่าวคือ ผู้อปุ ถัมภ์ (Patron) จะใช้อทิ ธพิ ลและส่ิงท่ีตนมีอยู่คุ้มครอง หรือให้ผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างแก่ผู้รับ อุปถัมภ์ (Client) ที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมตํ่ากว่า โดยผู้รับ อุปถัมภ์จะตอบแทนด้วยการให้ความจงรักภักดี แรงงาน การรับใช้ การรับเอาวัตถุหรือบริการโดยไม่สามารถตอบแทนคืนได้เต็มท่ี จะสร้างหน้ีสินทางใจท่ีผูกพันผู้น้ันเข้ากับผู้อุปถัมภ์ ซ่ึงก่อให้เกิด ความสัมพันธ์แบบเฉพาะบุคคล คือตัวต่อตัวท่ีรู้สึกเป็นหน้ีบุญคุณ เกิดมิติทางอารมณ์ที่ผู้รับมีหน้ีสินทางวัตถุหรือทางใจได้สะสมเอาไว้ และจะต้องชดใชค้ ืนอยา่ งไมม่ วี นั จบสิ้น ระบบอุปถัมภ์มีความเป็นมา ท่ียาวนาน สืบเนื่องมาจากการเจริญเติบโตของระบบศักดินายุโรป ตะวันตกและญ่ีป่นุ ซึ่งความสัมพันธ์ส่วนตวั และการฝากตวั เป็นผู้อุปถัมภ์ ระหวา่ งเจ้าของทีน่ ากับชาวนาได้กลายมาเป็นรากฐานของการจัดระเบียบ องค์กรทางธุรกิจ สังคม และการเมือง เช่น ชุมชนชนบทในประเทศ เม็กซิโก ไร่นาขนาดใหญ่ในประเทศบราซิล ตอนใต้ของประเทศ อติ าลี ละตนิ อเมริกา แอฟริกา และเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ เปน็ ตน้ ขณะท่ีวิถีชีวิตของชาวบ้านในสังคมชนบทไทยดําเนินไป ตามครรลอง การพัฒนาได้ถูกนําเข้ามาสู่สังคมชนบทในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรูปขององค์การบริหารส่วนตําบลท่ีเป็นนิติ บุคคล โดยที่ภายหลังองค์การบริหารส่วนตําบลบางส่วนได้ถูกยกฐานะ ให้เป็นเทศบาล ท่ีมีอํานาจบริหารจัดการคนและงบประมาณตามสภาพ ท้องถิ่นน้ัน ๆ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348