Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางศึกษารัฐศาสตร์.อำนาจเจริญ.E-Book1

แนวทางศึกษารัฐศาสตร์.อำนาจเจริญ.E-Book1

Published by thanya_rato, 2022-03-12 13:00:32

Description: แนวทางศึกษารัฐศาสตร์.อำนาจเจริญ.E-Book1

Search

Read the Text Version

[243] แนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวข้องกบั ชนชันนา แนววิเคราะห์ชนชันนา (Elite Approach) แนววิเคราะห์ชนช้ันนํามองว่าในสังคมจะประกอบไปด้วย คน 2 ชนช้ันคือชนช้ันนําและคนชนช้ันล่างชนชั้นนํา หมายถึง คน ส่วนน้อยในส่ังคมท่ีมีอํานาจครอบงําคนช้ันล่างที่เป็นคนส่วนใหญ่ ของสังคม เนื่องจาก ชนนั้นนําเป็นคนที่กุมอํานาจทางเศรษฐกิจ คือ มีเงินทองและความร่ํารวย เมื่อมีความร่ํารวยทําให้สามารถใช้ความ ร่ํารวยในการแสวงหาอํานาจทางการเมือง, เม่ือมีอํานาจทาง การเมือง อํานาจในด้านอ่ืนก็จะเพ่ิมพูนขึ้น และทําให้ชนช้ันนําเป็น คนกําหนุดชะตากรรมของคนท้ังสังคมสาเหตุท่ีชนช้ันนําสามารถ กําหนดความเป็นไปของสังคมได้ เพราะชนช้ันนํามีลักษณะต่างๆ คือชนชั้นนํามีจํานวนน้อยทําให้ติดต่อสื่อสาร รวมกันอย่างเหนียว แน่น และพบว่าชนช้ันนํายังมีการเก่ียวดองกันในรูปของเครือญาติ ผา่ นการแต่งงานขา้ มตระกูลกัน แนวคิดชนชั้นนําจึงมองว่าการเมืองเป็นเรื่องของชนชั้นนํา ทําให้การกําหนดนโยบายต่างๆเป็นไปเพื่อชนชั้นนํา โดยชนชั้นล่าง ได้รับประโยชน์แต่เพียงเล็กน้อย ผลประโยชน์ท่ีชนช้ันนําจัดสรรให้ ชนชั้นล่างเป็นการจัดสรรให้เพียงพอเพื่อไม่ให้ชนชั้นล่างรู้สึกว่าถูก เอาเปรยี บจนเกินไป และลุกขึน้ มาท้าทายอํานาจของชนช้ันนําเท่าน้ัน การนําแนววิเคราะห์ชนช้ันนํามาอธิบายการเมืองไทยแนว วิเคราะห์ชนช้ันนําสามารถนํามาอธิบายการเมืองไทยได้เป็นอย่างดี เนื่องจากคนที่เข้าไปมีอํานาจทางการเมืองเวลานี้คือชนชั้นนําทาง ธรุ กิจเพยี งไม่กีต่ ระกูล ทําใหช้ นชน้ั นําเหลา่ น้ีเข้าไปกําหนดบทบาทท่ี เป็นประโยชน์ต่อธุรกิจของตนเองสําหรับการเมืองไทยชนช้ันนําท่ี เข้ามามีบทบาททางการเมืองในระยะแรกคือทหาร ข้าราชการ

[244] ระดับสูง โดยมีนักธุรกิจอยู่เบื้องหลังในการสนับสนุน ข้าราชการ ทหารเหล่านั้นต่อมาเม่ือการเมืองมาอยู่ในมือของนักการเมือง นัก ธุรกิจก็มาสนับสนุนนักการเมือง และพรรคการเมือง แต่ทุกวันนี้นัก ธรุ กิจเขา้ มาเลน่ การเมืองอยา่ งเตม็ ตวั แนวคิดชนช้ันนํา (Elitism) มีฐานมาจากการขยายตัวของ ประชาธิปไตยใน ตะวันตกต้ังแต่ปลายศตวรรษท่ี 19 เป็นแนว วิเคราะห์สําคญั ในการศึกษารัฐศาสตร์ โดยมีฐานความคิดว่า อํานาจ ทางการเมืองจะอยู่ในมือของคนกลุ่มน้อยเพียงไม่ก่ีคนตู่มีบทบาทใน การตัดสินใจทางการเมือง ท่ีเรียกว่า ชนช้ันนําหรือชนช้ันปกครอง นักปรัชญาคนสําคัญในสํานักน้ี ได้แก่ Vilfredo Pareto (1935), Gaetano Mosca (1939),Harold D. Lasswell และ Daniel Learner ซึ่งได้พัฒนาแนวคิดน้ีข้ึนให้มีลักษณะเป็นทฤษฎีที่ทันสมัย ขนึ้ ในตน้ ศตวรรษที่ 20 (ณัชซานุช พิชิตธนารัตน์, ม.ป.ป.)การศึกษา แนวคิดชนช้ันนําในระดับชาติ นักคิดที่มีช่ือเสียงในยุคหลังที่สําคัญ คือ ซี.ไรท์ มิลล์(C. Wright Mills) ซ่ึงให้ความเห็นว่าสังคมอเมริกา อยู่ ภายใตค้ วามครอบครองของปัจเจกชนจํานวนไม่ก่ีพันคน ซึ่งเป็น แนวทางเดียวกับ นักคิดก่อนหน้านี้ ที่ว่าชนชั้นนําคือ ผู้นําทาง เศรษฐกิจ ผู้นําทางการเมอื งและกลุ่ม ผู้นําทางทหาร โดยสามกลุ่มน้ี (ข้าราชการ ทหาร และนักธุรกิจ) เรียกว่า ชนช้ันนําทางอํานาจ (Power Eite) โดยผู้นําทางด้านเศรษฐกิจมีบทบาทและความสําคัญ มากกว่าผู้นําทางด้านอ่ืน ๆ (เบญจวรรณ บุญโทแสง, 2550 อ้างถึง ใน ณัชชานุช พิชิตธนารัตน์, ม.ป.ป.) ลักษณะของชนชั้นนํา (Elite) (นิธิ เอยี วศรวี งศ์, 2554)ชนชนั้ นาํ คอื คนจํานวนน้อยที่มีอํานาจเกิด จากความม่ังค่ัง รํ่ารวย มีตําแหน่งทางการเมืองและได้รับการ ยอมรับจากสังคม ซ่ึงคนส่วนมากเป็นผู้นําของแต่ละกลุ่มและมี

[245] อิทธิพลต่อผู้อื่นลักษณะของชนช้ันนํา (Elite ) และความแตกต่าง จากมวลชน (Mass) 1. ชนช้ันนําเป็นคนจํานวนน้อยท่ีมีอํานาจในสังคม และมี อิทธิพลต่อคนส่วนใหญ่ ชนชน้ั นําจะมอี ิทธิพลตอ่ คนส่วนใหญ่ ชนช้ัน นําจะเปน็ ผู้ทาํ หนา้ ทีจ่ ดั สรรที่มีคุณคา่ ในสงั คม ในขณะท่ีคนส่วนใหญ่ ไม่มสี ว่ นรว่ มในการกาํ หนดนโยบาย 2. คนจํานวนน้อยที่มีอํานาจน้ีไม่ใช่ตัวแทนของปวงชน ส่วนมากท่แี ท้จรงิ แต่จะคดิ มาจากชนชัน้ ในระดับสงู ในสงั คม 3. ชนชน้ั นํามีค่านยิ มร่วมกนั มีลักษณะที่เหมือนกัน ซ่ึงเป็น ค่านิยมพื้นฐานของสังคมที่คนส่วนใหญ่ต้ังเป็นเป้าหมายที่อยากจะ ได้และอยากจะเป็น ชนชั้นนําจะทําหน้าท่ีปกป้องค่านิยมพื้นฐาน ของสงั คม 4. ชนช้นั นํา มีความกระตือรือร้น เข้มแข็ง รวมกลุ่มเหนียว แนน่ มอี ทิ ธพิ ลจากคนส่วนใหญ่ แต่คนส่วนใหญ่จะเป็นฝ่ายนําได้รับ อทิ ธิพลจากชนชนั้ นํามากกว่า 5. นโยบายของรัฐบาลมิได้สะท้อนความต้องการของคน ส่วนใหญ่แต่จะสะท้อนความต้องการชนชั้นนํามากกว่า การ เปล่ียนแปลงนโยบาย จะเป็นไปในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป โดย หลกี เล่ยี งการใช้กาํ ลงั หรอื การปฏวิ ัตอิ ยา่ งรวดเรว็ แนวคิดชนช้ันนํา (Eitism) มีฐานมาจากการขยายตัวของ ประซาธิปไตยในตะวันตกตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 เป็นแนว วิเคราะห์สําคัญในการศึกษารัฐศาสตร์โดยมีฐานความคิดว่า อํานาจ ทางการเมืองจะอยู่ในมือของคนกลุ่มน้อยเพียงไม่ก่ีคนที่มีบทบาทใน การตัดสินใจทางการเมืองที่เรียกว่าช้ันชั้นนําหรือชนช้ันปกครองนัก ปรัชญาคนสําคัญในสํานักน้ี ได้แก่ Vilfredo Pareto (1935),

[246] Gaetano Mosca(1939), Harold D. Lasswell และ Daniel Learer ซ่ึงได้พัฒนาแนวคิดนี้ขึ้นให้มีการศึกษาแนวคิดชนชั้นนําใน ระดับชาติ นักคิดที่มีชื่อเสียงในยุคหลังท่ีสําคัญคือ ซี.ไรท์ มิลล์ (C. Wright Mills) ในงาน \"The Power Elite\"(1956) (เบญจวรรณ บุญโทแสง, 2550, หน้า 22-23) ซ่ึงให้ความเห็นว่าสังคมอเมริกาอยู่ ภายใต้ความครอบครองของปัจเจกชนจํานวนไม่ก่ีพันคน ซึ่งเป็น แนวทางเดียวกับนักคิดก่อนหน้าน้ี ท่ีว่าชนชั้นนําคือผู้นําทาง เศรษฐกิจ ผู้นําทางการเมือง และกลุ่มผู้นําทางทหาร โดยสามกลุ่มนี้ (ข้าราชการ ทหาร และนักธุรกิจ) เรียกว่า ชนชั้นนําทางอํานาจ (Power Elite) โดยผนู้ ําทางด้านเศรษฐกิจมบี ทบาทและความสําคัญ มากกว่าผู้นําทางด้านอื่น ๆ ซ่ึงแนวความคิดน้ีมีลักษณะคล้ายคลึง กับแนวคิดของมาร์กซ์ (Karl Marx) และท้ังสามกลุ่มมีคุณลักษณะ สําคัญคือ มีความเหมือนกันในทางสังคม โดยมีต้นกําเนิดจาก สถานภาพสังคมเดียวกัน มีเอกภาพเชิงค่านิยมที่ตกลงร่วมกัน ระหว่างกลุ่มชนชั้นนําด้วยกันเอง และมีปฏิสัมพันธ์ท้ังแบบท่ีไม่เป็น ทางการ โดยอาศัยความสัมพันธ์ส่วนตัวและแบบที่เป็นทางการผ่าน สมาคม (สญั ญา สญั ญาวิวฒั น,์ 2527, หน้า 42-44; พิชาย รัตนดิลก ณ ภเู ก็ต, 2552, หน้า19 ในการศึกษาในระดับท้องถ่ิน งานเด่นท่ีสุดได้แก่ ของ ฮัน เตอร์ (FloyedHunter) คือ \"Community Power Structure\" (1953) ซ่ึงเป็นการศึกษาโครงสร้างอํานาจในเมืองแอตแลนต้า (Atlanta) ผลการศึกษาพบว่า โครงสร้างอํานาจของเมืองถูก ปกครองโดยกลุ่มชนชั้นนําท่ีมีอิทธิพลเพียง 40 คนเท่านั้น และผู้มี อทิ ธิพลส่วนใหญ่เปน็ เจ้าของธุรกิจ บริษัทการเงิน และอุตสาหกรรม มีลักษณะเป็นพีระมิดแห่งอํานาจ ซึ่งผู้ท่ีมีอํานาจจะมีความสัมพันธ์

[247] กันอย่างใกล้ชิดและรวมตัวกันอย่างเหนียวแน่น ผู้นําทางเศรษฐกิจ แบบแฝง (Covert Economic Elite) จะเป็นผชู้ ี้นาํ การตัดสินใจของ เจ้าหน้าท่ีของรัฐในชุมชน แม้จะเข้าสู่อํานาจอย่างเป็นทางการ หรือไมก่ ต็ าม (Dye, 1997, pp. 377-379) การศึกษาในระดับท้องถิ่น มีนักวิชาการอีกหลายคน ได้แก่ โรเบิร์ต และลินด์ ( Robert and Helen Lynd) การศึกษาของ Roland J. Pellegein, Charles H. Coates ซึ่งทําการศึกษาเพ่ือ ยนื ยันแนวความคดิ ของ ฮันเตอร์ Delbert C. Miller ศึกษาเมืองแป ซิฟิค ซิต้ี (Pacific City) ซึ่งเป็นการยืนยันแนวคิดของสํานักชนช้ัน นิยมนี้ ดังที่ พาเรโต (Vifredo Pareto) กล่าวว่า \"ทุก ๆ คน จะถูก ปกครองโดยชนชั้นนําซึ่งถกู เลอื กสรรขึน้ มาจากประชาชน\" และมอส กา (Gaetano Mosca)ที่ว่า \"ในทุกสังคม ไม่ว่าจะเป็นสังคมด้อย พัฒนาหรือสังคมที่เจริญจะมีคนอยู่ 2 ชนชั้น คือชนชั้นผู้ปกครอง และชนช้ันผู้ถูกปกครอง ชนชั้นปกครองมีจํานวนน้อย เป็นผู้ปฏิบัติ ภาระหน้าท่ีทางการเมือง ผูกขาดอํานาจ กอบโกยผลประโยชน์ท่ี เกิดขึ้น ในขณะที่อีกชนช้ันหนึ่งมีจํานวนมาก ถูกกระทํา และถูก ควบคุมโดยชนชั้นในกลุ่มแรก\" ซ่ึงลาสเวลล์ /,เลิร์นเนอร์ และ รอธ เวลล์ (Lasswell & Lerner and Roth- well, 1952) ได้กล่าวถึงใน เร่ืองน้ีว่า \"การค้นพบว่าการตัดสินใจในสังคมขนาดใหญ่ของทุก สังคมอยู่ในกํามือของคนจํานวนน้อยน้ัน ยืนยันว่าเป็นความจริงท่ีว่า รัฐบาลท้ังหลายต่างเป็นรัฐบาลของคนจํานวนน้อย ไม่ว่าจะเป็น รัฐบาลในนามของคนจํานวนน้อย คน ๆ เดียว หรือคนหมู่มากก็ ตาม\" รวมท้ังนักวิชาการชนชั้นนํานิยมรุ่นหลัง อย่างดอมฮอฟฟ์ (Domhoff, 1990) ซ่งึ จะพบวา่ (จมุ พล หนมิ พานชิ , 2529,หน้า 30- 31) เม่ือพิจารณาถึงการศึกษาโครงสร้างอํานาจท้องถ่ินในแนวทาง

[248] แบบชนชั้นนํา นักวิชาการกลุ่มนี้เชื่อว่าทุกท้องถิ่นจะมีคนกลุ่มน้อย กลุ่มหนึ่งท่ีเป็นผู้ใช้อํานาจเหนือทรัพยากรและบุคคลในสังคม และ สามารถควบคุมผลการตัดสินใจที่สําคัญ ๆ ในห้องถิ่น (นาตาชา วศนิ ดิลก, 2540, หน้า 20) ทําให้เกิดฐานคติในเรื่องการแบ่งช้ันทาง สังคม (Social Stratification) โดยพิจารณาจากความไม่เท่าเทียม กันทางด้านเศรษฐกิจ ด้านเกียรติยศ และด้านอํานาจของคน เมื่อ แบ่งชนช้ันอย่างคร่าว ๆ จะได้ 3 ชนชั้นด้วยกันคือ ชั้นสูง (Upper Class) ชัน้ กลาง (Middle Class)และชั้นตํ่า (Lower Class) (สถิตย์ นิยมญาติ, 2524, หน้า 144)การศึกษาโครงสร้างอํานาจท้องถ่ินที่ สํานักชนช้ันนํานิยมใช้ศึกษาท้องถ่ินน้ัน มักจะพบว่าการศึกษาจะมี ขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ดังนี้ (นาตาชา วศินดิลก, 2540, หนา้ 21) ขน้ั แรก คอื การระบตุ วั บคุ คลที่เป็นชนชน้ั นํา ขั้นที่สอง สํารวจปัจจัยที่ส่งเสริมให้เป็นชนชั้นนําว่าปัจจัย ใดบ้างท่ีอธบิ ายการเป็นชนช้นั นํา ขั้นท่ีสาม เป็นการสํารวจระดับช้ันของอํานาจและ ความสมั พนั ธ์ ทางอาํ นาจของชนชนั้ นาํ ในระดับอํานาจทต่ี า่ ง ๆ กนั ข้ันท่ีส่ี อาจจะเป็นการศึกษาถึงความแตกต่างระหว่างชน ช้ันนํากับบุคคลท่ัวไปท่ีไม่ได้รับการยกย่องให้เป็นชนชั้นนําซ่ึงใน การศึกษาชนชั้นนําในประเทศไทยตามที่กล่าวแล้วของนักวิชาการ ไทย เห็นว่าธรรมชาติของสงั คมมี 2 ชนชั้นเป็นอย่างน้อย คือ ชนชั้น นําเป็นชนกลุ่มน้อย (Minority group) เป็นกลุ่มที่มีทรัพย์สิน อํานาจ มีชื่อเสียงเกียรติยศ และครอบครองส่ิงที่มีค่าทางสังคม ใน อัตราท่ีมากกว่าชนกลุ่มมาก (Majority Group) ดังน้ัน ชนช้ันนํา คือ ชนชั้นปกครอง (Ruling Class) หรือชนช้ันแห่งอํานาจ (The Power Elite) ส่วนชนช้ันที่ไม่มสี ่วนในการปกครองก็เรียกว่า ชนช้ัน

[249] ถูกปกครอง(Non-governing Class) หรือมวลชน (Mass) (Bottomore, 1993) ชนชั้นนําผูกขาด การใช้อํานาจทางการเมือง เป้าหมาย สําคัญ คือ เข้ามามีบทบาทโดยตรงในรัฐ เป็น ผู้มีส่วนสําคัญในการ ตัดสินใจในการกําหนดนโยบายและอํานาจจะกระจายอยู่ใน กลุ่ม เท่าน้ัน (Witt, 1982, pp. 9-11) แนวคิดน้ีมีตัวแทนของนักคิดท่ี สําคัญตามที่ได้นําเสนอไปคือ Hunter (1953) และ Domhoff (2002) (ระดม วงษ์น้อม, 2527; Domhoff, 2002; ปรีซา เป่ียม พงศ์สานต์, 2553) โดย Hunter ให้ความสําคัญต่อ ฐานอาํ นาจที่มาจากหลากหลายรูปแบบ เช่น ตําแหน่งทางการเมือง หรอื ทุนทาง เศรษฐกิจ และหน่วยในการวิเคราะห์จะให้ความสําคัญ แกก่ ารวเิ คราะห์แบบสหวิทยาการแทนท่ีการใช้กลุ่มพหุนิยมหรือชน ช้ัน โดยเชื่อมโยงกับแนวคิดเครือข่ายอํานาจว่าได้มีการปฏิบัติหรือ ทําหน้าทีอ่ ย่างไร ซงึ่ Domhoff ก็ใหค้ วามสาํ คญั กบั เครือข่ายอํานาจ เช่นเดียวกัน ในฐานะท่ีเครือข่ายอํานาจเป็นกลไกในการก่อรูป โครงสร้างอํานาจ เพราะเห็นว่าจุดเร่ิมต้นของโครงสร้างอํานาจเกิด จากการสร้างเครือข่ายอํานาจขององค์การต่าง ๆ และโยงกันจนก่อ รูปโครงสร้าง ดังน้ันเครือข่ายอํานาจจึงเปรียบเสมือนอิฐบล๊อค (Building Block) สําหรับการก่อรูปโครงสร้างข้ึนมา ในการก่อรูป โครงสร้างอํานาจแบบชนชั้นนําน้ัน จะพบว่ากลไกกลางท่ีจะเป็น ตัวเชื่อมระหว่างชนชั้นนําท้องถ่ินกับประชาชนท่ัวไป คือเครือข่าย ของระบบอุปถมั ภ์

[250] แนวคิดเรื่องอุดมการณ์และการครองอานาจนา (Ideology and Hegemony) ซ่ึงแนวคิดทฤษฎีเร่ืองอุดมการณ์ของหลุย อัลธูแซร์ และ การครองอํานาจนําของอันโตนิโอ กรัมซ่ี เป็นแนวคิดท่ีเน้นว่า \"ใน กิจกรรมทางสังคมและการเมืองน้ัน ท้ังภาคทฤษฎีและปฏิบัติการไม่ อาจแยกจากกันไดโ้ ดยสิ้นเชิง ความเปล่ียนแปลงทางสังคมการเมือง จะมีความสัมพันธ์กับจังหวะท่ีเคล่ือนไหวไปในชีวิตประจําวันของ ผู้คนในสังคมเสมอ\" จะเห็นได้ว่า แนวคิดของกรัมข่ีและอัลแซร์ มี ความสอดคล้องกันท่ีซื้ให้เห็นความสําคัญและเข้าใจโครงสร้าง ส่วนบนท่ียึดกุมความคิดและจิตใจของชนชั้นใต้ปกครองในระดับ ชีวิตประจําวันและสามัญสํานึก(Common Sense) ให้ยินยอมต่อ อํานาจของชนช้ันปกครอง โดยหลักการสร้างเหตุผลของทุนนิยมที่ เข้ามาครอบงําจิตสํานึกของมวลชนผ่านกลไกอุดมการณ์(กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน, 2553, หน้า 166)แนวคิดการครอง อํานาจนําเชื่อว่าชนชั้นนํานายทุนมีอํานาจเหนือผู้อ่ืนได้โดยต้อง อาศยั พลังทางการเมือง และอาศัยเคร่ืองมือทางอุดมการณ์อันได้แก่ สถาบันต่าง ๆ ของประชาสังคม (Civil Society) องค์กรทางศาสนา ครอบครัวสหภาพแรงงานล้วนเป็นเคร่ืองมือทางอุดมการณ์ของทุน นิยมและในส่วนของโครงสร้างอํานาจรัฐนั้น การครองอํานาจนํา อธิบายไว้ว่ารัฐเองก็ถูกใช้เป็นเคร่ืองมือในการสร้างอํานาจทาง การเมืองบีบบังคับชนช้ันอ่ืน แต่เสถียรภาพของสังคมทุนนิยมข้ึนอยู่ กับอํานาจครอบงําทางอุดมการณ์ของชนช้ันแรงงาน (เก่งกิจ กิติ เรียงลาภ, 2550)โดยอํานาจนํานั้นเป็นการรวมตัวกันของอุดมการณ์ กับวัฒนธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นอุดมการณ์ที่หย่ังรากฝังลึกเหมือน วัฒนธรรม และในขณะเดียวกันก็เป็นวัฒนธรรมที่มีลักษณะครอบงํา

[251] ชักนําและรับใช้อํานาจหรือผลประโยชน์ของคนบางกลุ่มเหมือน อุดมการณ์ (เกษียร เตซะพี่ระ, 2550)จะเห็นว่าแนวคิดเกี่ยวกับ โครงสร้างอํานาจรัฐ แนวคิดเร่ืองอุดมการณ์ และแนวคิดการครอง อํานาจนํา เป็นแนวคิดคิดที่เกี่ยวพันกันหากนํามาวิเคราะห์ โครงสร้างอํานาจท้องถ่ิน โดยจะพบว่า การใช้อุดมการณ์เป็น เครื่องมือสําคัญในการสร้างให้เกิดข้ึนของการครองอํานาจนํา และ การครองอํานาจนําน้ันเป็นการสร้างจากชนช้ันนายทุน ซ่ึงได้แก่ชน ช้ันนาํ โดยการครองอาํ นาจนําน้ีอาจผ่านจากการใช้โครงสร้างอํานาจ รฐั เป็นเครอื่ งมือดว้ ยเช่นกัน ในขณะเดียวกัน โครงสร้างอํานาจรัฐซึ่ง กระทบต่อโครงสร้างอํานาจท้องถ่ินก็เป็นผลจากอุดมการณ์และ วัฒนธรรมที่ครอบงําในสังคม การสร้างอํานาจนํา เป็นไปเพื่อสร้าง ความชอบธรรมของโครงสร้างอํานาจในท้องถิ่น และพบว่า ใน ทอ้ งถ่นิ นั้นโครงสร้างอํานาจรัฐเป็นเคร่ืองมือสําคัญยิ่งของโครงสร้าง อํานาจท้องถ่ิน การใช้แนวคิดดังกล่าวในการวิคราะห์ จะทําให้เห็น ถึงพฒั นาการของโครงสรา้ งอํานาจท้องถ่นิ ไดช้ ัดเจน แนวคิดระบบชนช้ัน จะพบว่าแม้สังคมไทยในปัจจุบันมี ความเป็นชนชั้นอยู่บ้าง แต่ในสภาพสังคมเศรษฐกิจของไทยโดย ภาพรวมมีความเป็นสังคมกษตรกรรมและความชนบทยังคงอยู่ ความเป็นชนชั้นของคนในสังคมมิได้ก่อให้เกิดความขัดแย้ง มีกลุ่ม ผู้นํา ที่เรียกได้ว่าชนช้ันนําแต่ก็มีลักษณะอุปถัมภ์และพึ่งพิงกันและ กันมาโดยตลอด มีการพัฒนาตนเองของซนช้ันระดับรองข้ึนสู่ชนช้ัน นาํ และผู้นําทางอํานาจทอ้ งถ่นิ ในพน้ื ที่ก็มีลักษณะคาบเก่ียวอยู่หลาย ชนช้ัน ดังน้ันลักษณะความเป็นชนช้ันจะมีอยู่เจือจาง สภาพความ เป็นชนช้ันที่แท้จริงผูกติดอยู่กับระบบอุปถัมภ์ดังนั้นในการศึกษา โครงสร้างอํานาจท้องถ่ินควรจะพิจารณาประกอบกับระบบอุปถัมภ์

[252] อันจะสะท้อนลักษณะโครงสร้างอํานาจท้องถ่ินได้ลุ่มลึกและชัดเจน มากกว่า (อานนั ท์ กาญจนพนั ธ์ุ, 2527) ในส่วนของแนวคิดเร่ืองอุดมการณ์และการครองอํานาจนํา เมอ่ื ผสานกบั แนวคิดโครงสร้างอํานาจรัฐ ซึ่ง ไฮม์ (2554) ได้อธิบาย ไวว้ า่ หมายถงึ รัฐและกลไกของรัฐ องค์กรของรัฐท่ีเข้าไปมีบทบาทใน ท้องถิ่น อันได้แก่กลไกของรัฐทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง เช่น ส่วนราชการในจังหวัด อําเภอ ท่ีเข้ามามีบทบาทในท้องถ่ิน ตลอดจนการลงทนุ ทางด้านเศรษฐกจิ ของรัฐ เช่น การท่องเท่ียวแห่ง ประเทศไทย กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นต้น ท่ีเข้ามามีบทบาทใน ท้องถิ่นและกลุ่มทุนท้ังในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ กลุ่มทุนจาก ต่างประเทศ ซ่ึงเข้ามาลงทุนและมีบทบาทในท้องถ่ินจนสามารถ สถาปนาตนเป็นโครงสร้างอํานาจสําคัญในท้องถิ่นได้ (โอฬาร์ ถิ่น บางเตียว, 2554, หน้า 82) ดังน้ันในการวิเคราะห์โครงสร้างอํานาจ สามารถท่ีจะผสานแนวคิดดังกล่าวเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ได้จะเห็น ไดว้ ่าการสร้างอุดมการณ์ การสะสมทุนของชนช้ันสูงซ่ึงเป็นชนช้ันท่ี มีอิทธิพลในสังคมสามารถนําเสนออุดมการณ์ และครองอํานาจนํา ในสังคมได้โดยผ่านกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่แทรกซึมไปในชีวิตประจําวัน แนวคิดต่าง ๆ ของ กรัมซี่สามารถนํามาวิพากษ์ปรากฏการณ์ของ สังคมไทยได้อย่างดี เนื่องจากสังคมไทยเป็นระบบสังคมเก่า ที่ต้อง ต่อสู้ต่อรองกับอํานาจศักดินา เป็นสังคมที่ปิดก้ันทางความคิด ภายใตก้ ารทาํ งานของอุดมการณ์หลักของชนชั้นปกครองที่มุ่งช่วงชิง พื้นที่ทางความคิด เพ่ือสร้างความหมายให้ชนชั้นที่ถูกปกครองรู้สึก ถงึ การพฒั นาไปในทางทดี่ ยี ิ่งข้นึ การใช้อดุ มการณ์เปน็ เคร่ืองมือ การ ครองอํานาจของชนช้ันและส่งผ่านอุดมการณ์ที่แฝงมาในรูปแบบ ความสัมพันธ์ของ ภาพ สัญญะ ที่ชนชั้นผู้ปกครองใช้กําหนด

[253] ความหมายให้กับสิ่งต่าง ๆ จนกลายเป็นกลไกโครงสร้างอํานาจรัฐ ซ่ึงนั่นเท่ากับว่า โครงสร้างเป็นตัวการในการกําหนดท้ังความหมาย และหน้าที่ของสิ่งต่าง ๆ ในสังคม จนกระทั่งสะท้อนออกมาในรูป ของโครงสร้างอํานาจ และพัฒนาการความเปลี่ยนแปลงของ อุดมการณ์ รวมทั้งการครองอํานาจนํา ซึ่งสามารถก่อให้เกิดความ เปล่ยี นแปลงในพฒั นาการโครงสร้างอาํ นาจทอ้ งถิน่ ดว้ ย ตัวแบบชนชันนา เป็นแนวความคิดทางสังคมวิทยาที่มี รากฐานมาจากแนวความคิด การจัดลําดับข้ันทางสังคม (Social stratification) โดยมองว่า สภาพการทาง สังคมน้ันเป็นลักษณะ สังคมท่ีไม่เสมอภาคในลักษณะต่าง ๆ กัน (Social inequality) อีก นยั หน่งึ การจดั ลําดบั ขั้นทางสังคมเป็นเรือ่ งทางสังคมโดยเฉพาะ เป็น เรื่องระบบในสังคม น้ันเป็นผู้กําหนดกฏเกมและประเมินค้าจัด ระเบียบการแบ่งช้ันทางสังคมออกเป็นน้ันต่าง ๆ จนเป็นช้ันทาง สังคมในที่สุด (ระสม วงนอม, 2527 : 6) ซึ่งการประเมินโดยวัดเอา จากความรสู้ กึ หรือสงิ่ ทีเ่ หน็ ได้ทว่ั ๆ ไปเป็นสําคัญในการจัดลําดับขั้น ทางสังคม ดังน้ันจึงกล่าวได้ว่า การจัดลําดับช้ันทางสังคมเป็นเรื่อง ของความเชื่อ ระเบียบปฏิบัติ ท่ีได้รับการถ่ายทอดกันมาจากช่วง อายุคนไปยงั ชั่วอายุคนรุ่นต่อไป โดยผ่านกระบวนการสังคม ของแต่ ละสงั คม การศกึ ษาโครงสร้างอํานาจท้องถ่ินท่ีสํานักชนชั้นนํานิยมใช้ ศึกษาท้องถ่ินน้ัน มักจะพบว่าการศึกษาจะมีข้ันตอนต่าง ๆ ดังนี้ (นาตาชา วศนิ ดิลก, 2540, หนา้ 21) ขน้ั แรก คอื การระบตุ วั บุคคลทเี่ ป็นชนชั้นนาํ ขั้นที่สอง สํารวจปัจจัยที่ส่งเสริมให้เป็นชนชั้นนําว่าปัจจัย ใดบ้างที่อธิบายการเปน็ ชนช้ันนํา

[254] ขั้นที่สาม เป็นการสํารวจระดับช้ันของอํานาจและ ความสมั พันธ์ทางอํานาจของชนช้ันนาํ ในระดบั อาํ นาจทต่ี ่าง ๆ กัน ขั้นที่ส่ี อาจจะเป็นการศึกษาถึงความแตกต่างระหว่างชน ช้ันนาํ กับบคุ คลท่วั ไปทีไ่ ม่ไดร้ บั การยกย่องใหเ้ ป็นชนช้ันนาํ ประเภทของชนชันนา ผู้นําโดยบารมี (Charismatic Leader) ตามแนวคิดของ Max Weberผู้นําแบบน้ี มักจะไม่ได้มาจากสถานการณ์ปกติ กล่าวคือ ในยามท่ีสังคมมีปัญหายุ่งยากมักจะเกิดผู้นําโดยธรรมชาติ ซ่ึงไม่ใช่ผู้มีอํานาจอย่างเป็นทางการ หรือคนที่มีฐานะนําโดยจารีต ประเพณี ผู้นําดังกล่าว มักถูกมองว่ามีความสามารถพิเศษ และอาจ มีความเป็นมาหลากหลาย ต้ังแต่เป็นศาสดา วีรบุรุษ นักพูด ผู้นําฝูง ชน หรือแม้แต่หัวหน้าโจร การท่ีผู้นําโดยบารมีมักจะเป็นที่ต้องการ ในสถานการณ์ทีม่ ีปญั หายุ่งยากทางสังคม การเกิดข้ึนของผู้นําชนิดนี้ จงึ มกั เกี่ยวขอ้ งกับสภาพจติ ตื่นเตน้ เรา่ ร้อนของมวลชน ซึ่งพร้อมที่จะ มอบตัวอยู่ภายใต้การชี้นําของวีรบุรุษ โดยทั่วไปแล้วพวกผู้นําโดย บารมีมักจะเป็นพวกหัวรุนแรง (Radical) ซึ่งก้าวข้ึนมาท้าทาย

[255] กฎเกณฑท์ ่ียอมรบั กันอยู่ ผนู้ าํ แบบน้ีจะครอบงําคนด้วยคุณสมบัติซึ่ง หาไดย้ ากในผู้อ่ืน และแตกต่างออกไปทั้งจากความคิดและวิถีปฏิบัติ ที่คุ้นเคยแต่ด้ังเดิม มวลชนซ่ึงเป็นผู้ตามมักจะยินดีหันหลังให้กับกฏ ระเบียบเก่า และเดินตามแบบแผนท่ีไม่เคยมีมาก่อนซ่ึงผู้นําโดย บารมเี สนอขึน้ มา อาจกลา่ วไดว้ ่า การนําโดยบารมีที่แท้จริงน้ัน จะมี การเรียกร้องพันธะผูกมัดของผู้ตามมากกว่าการนําแบบอื่นๆ ผู้นําท่ี มีบารมีจะเรียกร้องการเชื่อฟังของมวลชนในการปฏิบัติภารกิจ (Mission) ทเ่ี ขารสู้ กึ วา่ ตัวเองได้รบั มอบหมายมา ผู้นําแบบพ่อขุนอุปถัมถ์ (Patrimonialism) นภาษาไทย เพราะคําว่า “พ่อขุน” น้ันหมายถึงผู้นําโบราณที่ปกครองราษฎร แบบพ่อปกครองลูกนั่นเอง ตามแนวคิดของเวเบอร์นั้น ระบอบพ่อ ขุนอุปถัมภ์ เป็นระบอบท่ีโตขึ้นมาจาก “ปิตาธิปไตย” (Patriarchy) ซึ่งพ่อหรือเพศชายเป็นใหญ่ในสังคม หรือท่ีเวเบอร์เรียก ปรากฏการณ์เช่นน้ีว่า เป็นการครอบงําโดยจารีตประเพณี (Traditional Domination) อันดับแรกเราคงต้องมาพิจารณาถึง ลักษณะของปิตาธิปไตยหรือระบบท่ีพ่อเป็นใหญ่ ซ่ึงเป็นการใช้ อํานาจปกครองภายในตระกูลกันก่อน ปิตาธิปไตยมีลักษณะเด่นๆ คือ 1.อํานาจเป็นอภิสิทธิส่วนตัวของผู้เป็นนาย (Private Prerogative) ซงึ่ สืบทอดกันมาในฐานะมรดกอย่างหนึ่ง 2.บรรดาผู้อยู่ใต้อํานาจล้วนมีความสัมพันธ์กับนายเป็นการ สว่ นตวั มีความเช่ือถือและรับฟังคําบัญชาของผู้เป็นนาย เพราะเห็น วา เป็นส่ิงท่ีถกู ตอ้ งตามจารตี ประเพณี 3 . อํ า น า จ แ บ บ ปิ ต า ธิ ป ไ ต ย เ ป็ น อํ า น า จ ต า ม อํ า เ ภ อ ใ จ (Arbitrary Power) แต่ก็มขี อบเขตคอื ตอ้ งอยใู่ นกรอบของประเพณี

[256] การครอบงําโดยจารีตประเพณีเช่นน้ี จะไม่มีการจัดองค์กรหรือมี เจ้าหน้าท่ีเฉพาะ แต่หากมีการขยายตัวของทรัพย์สิน ผู้เป็นนายก็ อาจจะมอบหมายให้ลูกน้องดูแลส่วนต่างๆเป็นรายคนไป และ จะตอ้ งสง่ ผลประโยชน์กลบั คนื มาตามที่นายกาํ หนด เบ้าหลอมผู้นําการเมืองในหนังสือท่ีชื่อว่า “Leadership” ของ James M. Burn ได้ชี้ให้เห็นว่า อิทธิพลต่างๆที่บ่มเพาะให้เด็ก บางคนมลี กั ษณะของความเป็นผู้นําเช่นในครอบครัวหรือในโรงเรียน นั้น มิได้หมายความวา่ เดก็ เหลา่ นัน้ จะต้องเติบโตขึ้นมาเป็นผู้นําทาง การเมืองเสมอไป เพราะตามความคิดของเบิร์น คนท่ีจะพัฒนาขึ้น มาเป็นผู้นําทางการเมืองได้ ยังจําเป็นต้องอาศัยเงื่อนไขสําคัญอีก สองประการคอื 1) มีแรงบนั ดาลใจทางการเมือง (Political Motivation) 2) มโี อกาสทางการเมือง (Political Opportunity) คนที่มีแรงบันดาลใจทางการเมืองแต่ขาดโอกาสน้ัน อาจจะ เคลื่อนไหวโดยปราศจากทิศทางหรือไม่ก็เป็นแบบอนาธิปไตยไปเลย ส่วนคนท่ีมีโอกาสแต่ไม่มีแรงบันดาลใจก็อาจใช้อํานาจไปอย่างแห้ง แล้งเขา้ ประเภทเชา้ ชามเย็นชาม นักแสวงหาอํานาจ (The Prince)แความสัมพันธ์ท้ังปวง ในทางสังคมล้วนแล้วแต่เป็นความสัมพันธ์ทางอํานาจ ดังน้ัน ความก้าวหน้าและพัฒนาการทางสังคมจึงถูกกําหนดโดยการ เปล่ียนแปลงในความสัมพันธ์ทางอํานาจระหว่างกลุ่มและบุคคล ต่างๆ อํานาจในที่นี้ก็คือกฎเกณฑ์ทางสังคมท่ีเปรียบเสมือน กฏเกณฑท์ างวิทยาศาสตร์ โดยเชื่อกันว่าทุกคนและหน่วยทางสังคม ทุกหนว่ ย ต่างกพ็ ยายามขยายอํานาจของตัวเองออกไปให้มากย่ิงข้ึน ผู้ใดย่ิงมีอํานาจผู้น้ันย่ิงมีคนมาห้อมล้อม และในสายตาของคนที่

[257] กําลังแสวงหาอํานาจ คนแบบนี้นับว่ามีประโยชน์อย่างยิ่ง เพราะ พวกที่มีอํานาจรองๆลงไปมักจะหาทางให้คนมีอํานาจมากๆช่วย สนับสนุนตนให้ไต่สูงขน้ึ ไปอีก ขณะเดียวกัน คนที่ีถูกมองว่ามีอํานาจ มากกม็ กั จะร้สู กึ ผูกพนั กบั กลมุ่ และประเมนิ ค่าตนเองไว้สูง พวกเขามี แนวโน้มที่จะกําหนดพฤติกรรมของผู้อ่ืนมากกว่าพวกมีอํานาจ นอ้ ยลงไป และชอบคบคา้ สมาคมอยู่ในหมู่ผูม้ ีอํานาจด้วยกนั ผู้นําแบบวีรชน (Hero) การเป็นผู้นําท่ีแท้จริงน้ัน มิได้ หมายถึงความจัดเจนในการแสวงหาและใช้อํานาจเพียงอย่างเดียว หากจะต้องเกี่ยวโยงกับจุดมุ่งหมายที่ย่ิงใหญ่ ซึ่งนําไปสู่การ เปล่ียนแปลงท่ีถาวรด้วย ในทรรศนะของเขา ผู้นําแบบวีรชน คือคน ท่ีพยายามเชิดชูความคิดริเร่ิมสร้างสรร ซึ่งก่อให้เกิดการ เปลีย่ นแปลงท่มี แี ก่นสารแท้จริง กลุ่มชนชันนาในพืนที่ตาบลโนนงาน อาเภอปทุมราชวงศา จงั หวดั อานาจเจรญิ และบทวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงอานาจใน กลมุ่ ชนชันนาในพืนที่ (การครอบนาและการนาในระบบการเมอื ง เศรษฐกิจ การเมอื ง การกาหนดวถิ ชี ีวิต) จากการศกึ ษาสามารถแบ่งออกเปน็ 3 กลุ่ม ดังนี 1. กลุ่มผู้นาท่ีเปน็ ทางการเมอื ง 1) นายแสง ทองห่อ อดีต ผู้ดํารงตําแหน่ง นายกองค์การ บริหารส่วนตําบล ครบวาระ 8 ปี โดยไม่มีเร่ืองร้องเรียน หรือโดน วินัย ครั้นเมื่อปี 2564 ได้ลงสมัครตําแหน่ง นายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลโนนงาม ซึ่งแพ้คะแนนการเลือกตั้งของ นายทอน บุตตะ เพียง 10 คะแนน นั่นหมายความว่านายแสง ทองห่อ ยังคงได้รับ ความนิยมในพื้นที่อยู่มาก ประกอบกับ เม่ือครั้งดํารงตําแหน่งนายก

[258] องค์การบริหารส่วนตําบล เป็นคนที่มีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี ให้ ความสําคัญกบั การแก้ปญั หาความเดอื ดร้อนของประชาชนในพ้นื ที่ 2) นายทอน บุตตะ ตําแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วน ตําบลโนนงาม ปัจจุบัน เดิมดํารงตําแหน่งสมาชิกองค์การบริหาร ส่วนตําบลมาหลายสมัยเป็น มีการทํางานไปในทิศทางเดียวกัน ประสานงานกันเป็นความสัมพันธ์ท่ีค่อนขา้ งดี สามารถชนะเสียงของ นายแสง ด้วยจํานวน 10 คะแนน การท่ีคร้ังนี้ นายทอน บุตตะ สามารถชนะนายแสงทองห่อได้นั้น อาจะเป็นเพราะในพ้ืนที่ ต้องการเปลี่ยนแปลงผูน้ ํา การบรหิ ารงาน เปน็ ตน้ อีกทั้งนายทอนฯ ยังสามารถแก้ไขปัญหาของประชาชนใน หมู่บ้านได้จึงได้รับคะแนนเสียงในช่วงการเลือกต้ังที่ผ่านมา มีการ พบปะมีการลงพื้นท่ีสม่ําเสมอ รวมถงึ มกี ารฐานคะแนนเสียงจากการ เป็นสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตําบลในพื้นท่ีอีกด้วย ส่วนใน กลุ่มเครือญาติ นายทอน บุตตะ น้ัน ตระกูล บุตตะ ถือเป็นอีกหนึ่ง ตระกูลท่ีมีเครือญาติค่อนข้างมาก และสารวัตรกํานันในพื้นที่ ก็เป็น หน่ึงในเครือญาตของนายทอน บุตตะ ซ่ึงประเด็นเครือญาติก็อาจ สง่ ผลใหน้ ายทอนได้รบั การเลือกเปน็ นายกองค์การบริหารส่วนตําบล ในคราวนดี้ ว้ ย 2. กลมุ่ ชนชันนาเจา้ หน้าที่รัฐและเจา้ หน้าที่ท้องถ่ิน จากการสอบถามประชาชนในพ้ืนที่ นางวิลา (นามสมมติ) ให้ข้อมูล วา่ นายสุรพงษ์ พุทธวิ งศ์ นายช่างโยธาชํานาญงาน (รู้จักนักการเมือง ในพ้ืนที่ สส สจ ) มคี วามสัมพนั ธก์ ับนกั การเมืองในพ้ืนที่ ซ่ึงสามารถ เขยี นโครงการ แล้วเสนอผา่ น สส /สจ ให้สามารถนํางบประมาณมา ลงในพ้ืนท่ีได้ ยกตัวอย่างเช่น นายสุรพงษ์ ได้ไปประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการดําเนินการเจาะบ่อประปาพลังงานแสงอาทิตย์ ซ่ึงมี

[259] เงื่อนไขว่า การจะเจาะบ่อได้นั้น จะต้องมีการรวมกลุ่มของบุคคล จํานวน 7 คน ขึ้นไป และมีการสละที่ดิน /สถานที่ที่ขุดเจาะ มี ค่าใช้จ่ายในการดําเนินการ บ่อละ 20,000 บาท ซ่ึงมีประชาชนใน พื้นที่สนใจเป็นจํานวนมาก นายสุรพงษ์ ได้ดําเนินการเจาะบ่อ ประปาพลังงงานแสงอาทิตย์ไปจํานวน ทั้งสิ้น 10 บ่อ รวมเป็นเงิน 200,000 บาท แต่ โครงการดังกล่าวกลับยังไม่มีการดําเนินการใดๆ ยังไมส่ ามารถนาํ แผงพลงั งานแสงอิทย์มาตดิ ตงั้ ได้ ส่งผลใหป้ ระชาชน ในพืน้ ที่ ไม่พอใจ รวมตัวกันไปร้องเรียน นายสุรพงษ์ เนื่องจากเกรง วา่ จะถกู หลอกลวง แต่เน่อื งด้วยนายสรุ พงษ์ เป็นผู้ท่ีกว้างขวาง รู้จักข้าราชการ ในพ้ืนท่ี นักการเมือง และยังมีความสัมพันธ์เกี่ยวกับนักการเมืองใน พื้นที่เร่ืองการดําเนินการโครงการต่างๆ ซ่ึงนายสุรพงษ์มีหน้าท่ี หาพ้นื ทท่ี ส่ี ามาถจะดาํ เนินโครงการได้ โดยอา้ งว่า มีนักการเมืองเป็น ผู้ดําเนินการหางบประมาณมาลง ทั้งน้ีนายสุรพงษ์จะได้ส่วนแบ่ง ดังกล่าวด้วย ซึ่งหลายเหตุการณ์ท่ีประชาชนในพ้ืนท่ี ไม่พอใจนายสุ รพงษ์ แต่ก็ไม่สามารถท่ีจะเอาผิดนายสุรพงษ์ได้ โดยนายสุรพงษ์มัก อ้างว่า หากมีปญั หากบั ตน จะไม่นาํ โครงการมาลงในพ้นื ที่ให้ 3. กลุ่มชนชนชันนาทไ่ี มเ่ ปน็ ทางการ จากการสอบถามนายบุญ (นามสมมติ) ชาวบ้าน บ้านม่วง โป้ หมู่ที่ 2 ตาํ บลโนนงาม ให้ข้อมูลวา่ 1) นายสมพร (นามสมมต)ิ อดีตขา้ ราชการครู อาศัยอยู่หมู่ที่ 2 บ้านม่วงโป้ ตําบลโนนงาม(เป็นบุคคลที่มีลักษณะ เป็นผู้นํา ชอบ เข้าวัด เมื่อเข้าวัดก็จะนําข้อมูลต่างๆของภาครัฐ มาช้ีแจ้ง อธิบาย โน้มน้าวชาวบ้าน ให้คล้อยตามกับเร่ืองต่างๆ ) ด้วยนายสมพรมี บุคลิกที่เข้าหาคน พบปะผู้คนค่อนข้างมาก ยกตัวอย่าง เร่ืองของ

[260] การรณรงค์การฉีดวัคซีนภายในหมู่บ้านนั้น ส่วนราชการ สํานักงาน สาธารณสุขอําเภอ เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องได้ให้ความสําคัญกับการ เร่งรัดการฉีดวัคซีน โดยนายสมพรมักจะนําข้อมูลข่าว ผลกระทบ effect ของการฉีดวัคซีน มาเล่าสู่ประชาชนในพ้ืนท่ี ประชาชน หวาดกลัว ไม่เขา้ รบั การฉีดวคั ซีน ส่งผลให้ จํานวนการฉีดวัคซีนของ ประชาชนในหม่บู า้ นน้ี น้อยท่ีสุดในระดับตําบล นอกจากน้ัน ยังเป็น แกนนําในการร้องเรียน ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน เช่น ร้องเรียนถนนชํารุด ส่งผลให้ในช่วงฤดูฝน มีนํ้าขัง สัญจรไปมา ลําบาก แต่เมื่อส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้อง อําเภอ องค์การบริหารส่วน ตําบล และเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้อง ได้ลงพ้ืนที่ตรวจสอบข้อเท็จจริง กลับพบว่า ถนนชํารุดเพียงเล็กน้อย แต่สามารถโน้มน้าวให้บุคคล ใกล้เคยี งร่วมรอ้ งเรียนได้ บทสรุปทไ่ี ด้จากการศึกษา ในสังคมไทย ไม่ว่าจะเป็นองค์กรทางสังคมการเมืองแทบ ทุกประเภทตั้งแต่กลุ่มผลประโยชน์เล็กๆไปจนถึงองค์กรทาง การเมืองขนาดใหญ่ ผู้นําจะเป็นจุดศูนย์กลางแห่งความสัมพันธ์ ภายในกลุ่ม ทําหน้าที่ยึดเหนี่ยวและดึงดูดสมาชิกของกลุ่มไว้ด้วย ความสามารถในการนํา บารมีหรือบุคลิกลักษณะพิเศษบางประการ โดยท่ัวไปแล้วการจัดตั้งกลุ่มจะอยู่บนพื้นฐานของความสัมพันธ์ส่วน

[261] บุคคลอันมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ผู้นํา ถ้าผู้นําสามารถดึงดูดสมาชิกใน กลุ่มได้กลุ่มก็จะคงอยู่ได้ยาวนาน แต่หากมีการเส่ือมสลายของผู้นํา ขึ้น กย็ อ่ มนํามาซงึ่ ความเส่ือมสลายของกลุ่ม นอกจากว่าจะสามารถ มีผู้นําคนใหม่ที่เหมาะสมขึ้นมาสืบทอดแทนได้ ความเป็นผู้นําใน สังคมไทยคือกระบวนการสร้างผู้ตามและกลุ่มการเมืองของตนเอง ขนึ้ มา พื้นฐานสาํ คัญของความเปน็ ผนู้ าํ และกระบวนการสร้างกลุ่มท่ี จะต้องได้รับการเสริมสร้างและเป็นไปอย่างต่อเนื่องคือ ปัจจัยทาง เศรษฐกิจและทรัพยากร ความพร้อมในการนํา ความกล้าตัดสินใจ และรับผิดชอบต่อผู้ตาม ขนาดและขอบข่ายอิทธิพลทางการเมือง ของกลุ่มและผู้นํา ย่อมถูกกําหนดจากการแข่งขันกับผู้นําและกลุ่ม การเมืองอนื่ ๆ กลุ่มการเมืองกลุ่มหนึ่ง มักจะแบ่งออกเป็นกลุ่มย่อยเล็กๆ หลายกลุ่ม โดยมีลูกน้องติดตามจํานวนหนึ่ง ทําหน้าที่คอยควบคุม เครือข่ายของสมาชกิ ท่อี ยู่ในกลุ่มย่อยตา่ งๆ อํานาจและความอยู่รอด ของผู้นําจึงขึ้นอยู่กับความสามารถในการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ และส่งเสรมิ ความสมั พันธ์อันดีและความจงรักภกั ดขี องผู้นํากลุ่มย่อย เหล่าน้ี เพื่อที่ผู้นําจะได้รับความช่วยเหลือและสนับสนุนจากผู้นํา กลุ่มย่อยเม่ือถึงเวลาจําเป็นหรือเพ่ือปฏิบัติกิจกรรมทางการเมือง อย่างใดอยา่ งหนึ่ง กล่มุ การเมอื งในสงั คมไทยน้นั ไม่ได้เป็นระบบการ จัดตั้งภายใต้กฎระเบียบและหลักการท่ีแน่นอนชัดเจน หากแต่เป็น ระบบความสัมพันธ์ที่เช่ือมโยงชนช้ันนําและผู้นําเข้ากับกลุ่ม การเมือง รวมท้ังผู้นํากลุ่มย่อย ผู้มีอิทธิพล นายทุน ท่ีรวมตัวกันขึ้น เป็นระบบความสัมพันธ์เชิงอํานาจ ดังน้ัน ระบบการเมืองไทย จึง ต้ังอยู่บนพ้ืนฐานของความสัมพันธ์ส่วนบุคคล ทําให้ความสัมพันธ์ ระหว่างผู้นํากับผู้ตามจึงเป็นสิ่งสําคัญในการกําหนดพฤติกรรม

[262] ทางการเมืองของกลุม่ และความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้นํากับผู้ตามน้ี เอง จงึ เปน็ ตน้ กําเนดิ แหง่ อาํ นาจและศักยภาพทางการเมอื งของผู้นาํ อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นํากับผู้ตามเป็น ความสัมพันธ์ที่ผันแปรไม่แน่นอน และอาจจบส้ินได้ทุกเวลา นักการเมืองไทยสามารถเปลี่ยนกลุ่มหรือผู้นําต้นสังกัดได้ทุกเมื่อ เส้นทางสู่ความสําเร็จในสังคมไทย คือการแสวงหาผู้อุปถัมภ์อย่าง ถูกต้องและเหมาะสม เมื่อผู้อุปถัมภ์ประสบความสําเร็จในการต่อสู้ แย่งชิงอํานาจทางการเมืองในระดับสูง ผู้อยู่ใต้การอุปถัมภ์ก็ย่อม ไดร้ บั การเเลื่อนสถานภาพ ตําแหนง่ และฐานะตามไปด้วย ผู้ตามบาง คนอาจจะสะสมบารมีและทรัพยากรได้ในระดับหน่ึง และกลาย สภาพเป็นผู้นํากลุ่มย่อย ตลอดจนมีผู้อยู่ใต้การอุปถัมภ์ของตนเอง ดังนั้น การเลือกผู้อุปถัมภ์ท่ีดี การปรับเปลี่ยนผู้อุปถัมภ์ในเวลาและ โอกาสอนั เหมาะสมจึงเป็นช่องทางสู่ความสําเร็จสําหรับนักการเมือง ทุกคน ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงผู้นําได้นั้นทําให้ผู้นําไม่ สามารถตัดสินใจเรื่องต่างๆด้วยความเฉียบขาดมากนัก เพราะ ตอ้ งการถนอมนํา้ ใจและรกั ษาความสัมพันธ์ของผู้นํากลุ่มย่อยภายใต้ การอปุ ถัมภข์ องตนไว้ นอกจากนีโ้ ครงสรา้ งของระบบการเมืองไทยที่ ยดื หย่นุ เชน่ น้ี ไมไ่ ดเ้ กิดขึ้นเพราะกลุ่มหรือพรรคการเมืองมาต่อสู้แย่ง ชิงอํานาจในการตัดสินใจ และจัดต้ังรัฐบาลเพ่ือทําการบริหาร ประเทศภายใต้กฏกติกาที่แน่นอนชัดเจน แต่กลับเป็นการต่อสู้เพื่อ แย่งชิงผลประโยชน์ระยะสั้น การต่อสู้ดังกล่าว ยังตั้งอยู่บนพ้ืนฐาน ของความสัมพันธ์ส่วนบุคคลมากกว่าระเบียบกฎเกณฑ์ท่ียอมรับ รว่ มกนั

[263] ความสัมพันธภ์ ายใต้ระบบอุปถัมภใ์ นสังคมไทยท่ีเคยเหนียว แน่ น ม า ใน อ ดี ต นั้ น ปั จ จุ บั นมี ค ว า ม สลั บ ซั บ ซ้ อน ม า ก ขึ้ น ความสัมพันธท์ างสงั คมการเมืองระหว่างเจ้านายกับลูกน้อย ผู้นํากับ ผู้ตาม จึงมีลักษณะของการแลกเปล่ียนผลประโยชน์ในรูปแบบของ การค้าและเงินตราท่ีแน่นอนชัดเจนมากข้ึน ในขณะท่ีความผูกพัน ทางอารมณ์ ความจงรักภักดี การยึดมั่นในความสัมพันธ์และความ รับผิดชอบต่อกันและกันกลับลดน้อยถอยลงไป ความเสื่อมของ ระบบอุปถมั ภด์ งั กลา่ ว ผนวกกบั ความสมั พันธ์เชิงอํานาจภายในกลุ่ม และพรรคการเมืองท่ีวางอยู่บนพื้นฐานของผลประโยชน์เฉพาะหน้า นั้น ทําให้กลุ่มการเมืองและระบบการเมืองไทยมีลักษณะที่ยืดหยุ่น อ่อนไหว แปรเปล่ียนตามสภาวการณ์และผลประโยชน์ท่ี เปลย่ี นแปลงได้ตลอดเวลา โครงสร้างของกลุ่มและระบบการเมืองท่ี ยืดหยุ่นนี้ นําไปสู่ปัญหาวิกฤตเรื่องผู้นําและปัญหาเสถียรภาพของ รัฐบาลเสมอมา เนื่องจากพรรคการเมืองไทยมักไม่ค่อยคํานึงถึงการ มองหาบุคคลที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองและมีจุดมุ่งหมายอย่าง เดียวกัน มาทํางานร่วมกัน ปัญหาเร่ืองเอกภาพ จึงเป็นปัญหาท่ีพบ เห็นจากกลมุ่ หรือพรรคการเมอื งไทยอยู่เสมอ จากที่ได้กล่าวไปในข้างต้นพบว่าในพื้นที่ตําบลโนนงาม ซึ่งเป็นตําบลเล็กๆท่ีมีหมู่บ้านเพียง 8 หมู่บ้านเท่านั้น แต่พบว่า ชนช้ันนําและผู้นําเข้าจะเข้ากับกลุ่มการเมือง รวมท้ังผู้นํากลุ่มย่อย ผู้มีอิทธิพล นายทุน เพ่ือแสวงหาผลประโยชน์ร่วมกัน และประคับ ประครองอํานาจ ปลูกฝังความเช่ือผ่านกระบวนการความเชื่อของ คนในชุมชนอาศัยบารมีที่มีต่อสังคมรอบด้านเพื่อผลประโยชน์ของ ตน และเปลี่ยนแปลงสภาพตามข้ัวอํานาจของฝั่งนักการเมืองท่ีมี อาํ นาจในระยะเวลาน่นั ๆ ตามชว่ งเวลา

[264] เอกสารอา้ งองิ เว็ปไซต์ แนวพนิ ิทางรฐั ศาสตร์ ภาวะวิทยา ญาณวิทยา และวิธีวทิ ยา. คน้ เมือ่ วันท่ี 5 มีนาคม 2565. จาก https://www.baanjomyut.com/library_2/extension -3/ontology_epistemology_and_methodology/08.html แนวคิดเชิงทฤษฎแี ละกรอบแนวความคิด. ค้นเมื่อวันท่ี 4 มีนาคม 2565. จาก http://dc.oas.psu.ac.th/dcms/files//03224/Chapter2.pdf แนวคิดวิเคราะห์ โครงสร้างอาํ นาจท้องถ่นิ ในประเทศไทย. ค้นเมื่อวนั ท่ี 6 มนี าคม 2565. จาก http://www.polsci- law.buu.ac.th/pegjournal/document/3-2/1.pdf สรุปเน้ือหาชนชน้ั นํา. ค้นเม่ือวนั ท่ี วนั ที่ 5 มนี าคม 2565. จาก https://ramjoti.wordpress.com/2020/04/08

[265] แนวการศึกษาวฒั นธรรมทางการเมอื ง (Political culture approach) บทวเิ คราะห์ : ว่าด้วยพฤติกรรมการเมืองท้องถนิ่ กรณีศกึ ษา : ประชาชนในเขตเทศบาลตาบลเสนางคนิคม อาเภอเสนางคนคิ ม จังหวัดอานาจเจรญิ ธีระพจน์ มีเพียร, ปฏภิ าณ เรมิ่ คดิ การ, ชิงชยั นาสืบ และ วรพิชชา สมประสงค์ บทนา การเมืองท้องถ่ินในประเทศไทย มีแบบแผนวัฒนธรรม และพฤติกรรมการเมืองที่แตกต่างกัน การมีส่วนร่วมของประชาชน ถือเป็นรากฐานสําคัญของการเมืองแบบประชาธิปไตยเช่นเดียวกับ ก า ร เ มื อ ง ใ น ร ะ ดั บ ท้ อ ง ถิ่ น ที่ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ก็ มี ความสําคัญอย่างมากเช่นเดียวกัน เพราะเป็นเสมือนแบบฝึกหัดให้ ประชาชนได้เรียนรู้กระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมือง ทําให้ ประชาชนเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมในชุมชนท้องถ่ินอันเป็นถิ่น ท่อี ยขู่ องตนเอง ทําให้เกิดประโยชน์ท่ีหลากหลาย ทั้งด้านตัวบุคคล สงั คมชุมชนและหน่วยงานองค์การต่าง ๆ เพ่ิมคุณภาพการตัดสินใจ สร้างฉันทามติ ลดกระแสการต่อต้าน หลีกเล่ียงความขัดแย้ง ลด ค่าใช้จ่าย และการสูญเสียเวลา มีการรวมพลังเกิดความสามัคคีเป็น การแบ่งเบาภาระของรัฐซึ่งจะทําให้ บรรลุวัตถุประสงค์ในการ กระจายอํานาจสปู่ ระชาชนทอ้ งถิ่น

[266] การมีส่วนร่วมในการเมืองการบริหารท้องถ่ินของไทย มี วิธีการท่ีสําคัญและยอมรับปฏิบัติกันโดยทั่วไป เช่น การเลือกต้ังใน ระดับท้องถิ่น การใช้สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ใน ประเด็นหรือเร่ืองราวที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์สาธารณะของ ประชาชนในระดับท้องถิ่น การเดินขบวนหรือชุมนุมประท้วง เพื่อ เรียกร้องให้กระทําสิ่งใดส่ิงหนึ่ง ยังรวมถึงการก่อความวุ่นวาย ทาง การเมือง การงดให้ความร่วมมือกับหน่วยงานรัฐหรือองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน เป็นการ แสดงออกของประชาชนที่ไม่เชื่อฟัง อาํ นาจรฐั เปน็ ตน้ สาํ หรับการมีสว่ นรว่ มของประชาชนใน การจัดทํา บริการสาธารณะ (public service) ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถ่นิ ไทย มลี ักษณะการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดบริการ สาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินใน เช่น การรับรู้ข้อมูล ข่าวสาร การเสนอความคิดเห็น การเข้าร่วมในเวทีประชุม ปรึกษาหารือ การเข้าร่วมจัดกิจกรรม และการเข้าร่วมตรวจสอบ การดําเนินงาน เปน็ ต้น กรอบแนวคิดการวิเคราะห์พฤติกรรมการเมืองท้องถ่ิน 1. ประเภทวัฒนธรรมทางการเมือง ของประชาชนในเขต เทศบาลตาํ บลเสนางคนิคม อาํ เภอเสนางคนคิ ม จงั หวัดอํานาจเจริญ 2. การมีส่วนร่วมทางการเมืองและการตัดสินใจในการเมือง ท้ อ ง ถ่ิ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ น เ ข ต เ ท ศ บ า ล ตํ า บ ล เสนางคนคิ ม อาํ เภอเสนางคนคิ ม จงั หวัดอาํ นาจเจริญ 3. พฤติกรรมการมีส่วนร่วมตามข้ันตอนของกระบวนการ ประชาธปิ ไตยแบบมีส่วนร่วม (บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และถวิลวดี บุรี กลุ ) ประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเสนางคนคิ ม

[267] แผนภาพกรอบแนวคิดการวเิ คราะห์พฤตกิ รรมการเมืองท้องถ่นิ 1. ประเภทวัฒนธรรมทางการเมือง ของประชาชนในเขต เทศบาลตาบลเสนางคนิคม อาเภอเสนางคนิคม จังหวัด อานาจเจรญิ ขอ้ มลู ทั่วไป เทศบาลตําบลเสนางคนิคม เป็นเทศบาลตําบลขนาดเล็ก ได้รับ การยกฐานะมาจากสุขาภิบาลในวันท่ี 25 พ.ค. 2542 ตาม พ.ร.บ. เปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาล เป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 ต้ังอยู่ในพ้ืนที่ ตําบลเสนางคนิคม อําเภอเสนางคนิคม จังหวัดอํานาจเจริญ โดยมี อาณาเขตครอบคลุมบ้านหนองทับม้า หมู่ท่ี 1,3,4,11 ,12 และบ้าน บก หมู่ท่ี 2 และ 14 มีพื้นที่ประมาณ 5.1 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 3,187.5 ไร่ อยู่ทางทิศ เหนือของจังหวัดอํานาจเจริญ ประมาณ 23 กโิ ลเมตร ห่างจาก กทม. 640 กโิ ลเมตร

[268] จํานวนครัวเรอื น 1,642 ครัวเรือน คน จาํ นวนประชากรทงั้ หมด 5,761 คน คน ชาย 2,794 คน หญงิ 2,967 คน จาํ นวนประชากรทมี่ ีสทิ ธิเลือกตัง้ 4,569 ชาย 2,180 หญิง 2,389 : ข้อมลู ณ วนั ท่ี 28 มนี าคม 2564 องคค์ วามรเู้ กี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมือง วัฒนธรรมการเมือง หมายถึง ความคิดและความเข้าใจเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ทางสังคมโดยเฉพาะความคิดและความเข้าใจต่อการ จั ด ส ร ร แ บ่ ง ปั น ท รั พ ย า ก ร ใ น สั ง ค ม แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ทางการเมืองยังหมายถึงรูปแบบการกําหนดทิศทางสู่เป้าหมายทาง การเมืองส่วนใหญ่แสดงออกในรูปแบบความเชื่อ สัญลักษณ์ และคุณค่า สําหรบั บคุ คลวฒั นธรรมทางการเมืองทําหน้าที่เป็นเคร่ืองชี้แนะแนว ทางการประพฤติทางการเมืองให้แก่บุคคล โดยการช่วยตีความสิ่งท่ี เป็นการเมือง สําหรับสังคมโดยรวม วัฒนธรรมทางการเมือง เปรียบเสมอื นแบบแผนของค่านยิ มและบรรทัดฐานทางการเมือง ซึ่ง ช่วยให้การทํางานของสถาบันและองค์กรทางการเมืองมีความ สอดคลอ้ งกนั พอสมควร (นธิ ิ เอียวศรีวงศ์. 2554)

[269] 1. ประเภทวัฒนธรรมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมอื งไทยในอดตี ไม่วา่ จะเป็นวฒั นธรรมแบบ ระบบอปุ ถมั ภ์ค้ําชู แบบศักดินานยิ มและแบบอาํ นาจนยิ มเมอ่ื อยภู่ ายใต้ ระบบการปกครองแบบเกา่ โครงสร้างทางสังคมแบบเก่า วัฒนธรรม ทางการเมอื งเหล่านกี้ ด็ าํ รงอยู่ได้อย่างไม่น่าจะมีปัญหาเพราะอาจจะ มีความสอดคล้องกับระบบการปกครองและโครงสร้างทางสังคม ในอดีตของไทยแต่ในภาวะปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงการ ป ก ค ร อ ง จ า ก ร ะ บ อ บ ส ม บู ร ณ า ญ า สิ ท ธิ ร า ช ย์ ม า สู่ ร ะ บ อ บ ประชาธิปไตยจนได้เจ็ดสิบห้าปี นับได้ว่าเป็นก้าวย่างท่ียาวนานแต่ อย่างไรก็ตาม ความเป็นประชาธิปไตยของประเทศไทยที่พยายาม จําลองแบบประชาธิปไตยตะวันตกมาดูเสมือนหนึ่งว่าเติบโ ตไม่ได้ เตม็ ท่อี ยา่ งท่ีควรจะเป็นดังประเทศตะวันตกวัฒนธรรมทางการเมือง ประชาธิปไตยแบบตะวันตกเน้นในเร่ืองสิทธิเสรีภาพ ความเสมอ ภาค เคารพตอ่ หลกั นิติรัฐ เคารพตอ่ ความเห็นของคนส่วนใหญ่แต่ยัง คาํ นงึ ถึงเสยี งส่วนน้อยของสังคมได้เข้ามาสู่ประเทศไทยเมื่อประเทศ ไดเ้ ปดิ รบั อารยธรรมตะวนั ตกและจะเห็นได้ชัดหลังการเปล่ียนแปลง การปกครองแผ่นดินในปี พ.ศ.2475 เป็นต้นมาแต่วัฒนธรรมทาง การเมืองของไทยในอดีตก็ยังคงอยู่ไม่สูญสลายหายไปไหนและยืน หยดั อยไู่ ด้จนถงึ ปัจจบุ นั แตอ่ าจมีการเปล่ยี นรูปแบบไปบา้ งเช่นระบบ อุปถัมภ์คํ้าชูในอดีตก็ยังดํารงอยู่ในสังคมประชาธิปไตยแบบไทย ๆ แต่เปลี่ยนจากการอุปถัมภ์ค้ําชูดัวยโครงสร้างฐานันดรทางสังคม (social hierarchicalstructure) มาเป็นการอุปถัมภ์คํ้าชูด้วย เงินตรา (cashnexus) ศักดินานิยมและอํานาจนิยมในอดีตก็ยังคง อยู่ถึงปัจจุบันแต่อยู่ในรูปแบบใหม่ท่ีผูกพันกันด้วยเงินตราและ ผลประโยชน์ต่างตอบแทนในรูปแบบอื่น ๆ ท่ีมิใช่เงินตรา ส่ิงเหล่าน้ี

[270] คือ วัฒนธรรมทางการเมืองประชาธิปไตยอุปถัมภ์ของไทย (เกรียง ไกร เจริญธนาวัฒน์.2550) ประเภทวัฒนธรรมทางการเมืองถูกแบ่ง ออกเปน็ ดังนี้ 1.1 วัฒนธรรมทางการเมืองแบบคับแคบ (Parochial Political Culture) วัฒนธรรมทางการเมืองแบบนี้ ประชาชนแทบไม่มี ความสัมพันธ์กับระบบการเมืองระดับชาติจะตอบสนองความ ตอ้ งการอะไรของเขาได้เป็นวัฒนธรรมทางการเมืองของบุคคลท่ีไม่มี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการเมืองเลยไม่มีการรับรู้ ไม่มี ความเห็นและไม่ใส่ใจต่อระบบการเมืองไม่คิดว่าตนเองมีความ จํ า เ ป็ น ต้ อ ง มี ส่ ว น ร่ ว ม ท า ง ก า ร เ มื อ ง เ พ ร า ะ ไ ม่ คิ ด ว่ า ก า ร เ มื อ ง ระดับชาติจะกระทบเขาได้ และไม่หวังว่าระบบการเมืองระดับชาติ จะตอบสนองความต้องการของตนได้สังคมท่ีอาจพบวัฒนธรรมทาง การเมืองแบบคบั แคบก็คือบรรดาสังคมเผ่าทั้งหลายในทวีปแอฟริกา หรือชาวไทยภูเขาเผ่าต่าง ๆ ซึ่งในแต่ละเผ่าขาดความเชื่อมโยงกับ การเมืองระดับชาติขาดโอกาสในการรับรู้และเข้าใจบทบาทของตน ตอ่ ระบบการเมืองแต่มกี ารรับรู้ท่ี “แคบ” อยู่เฉพาะแต่กิจการในเผ่า ของตน หรือในประเทศด้อยพัฒนาท่ีประชาชนส่วนใหญ่ยากจนและ ไร้การศึกษาจึงถูกปลูกฝังด้วยความเชื่อดั้งเดิมมาแต่โบราณว่าเรื่อง การปกครองเป็นเรอื่ งของผปู้ กครองทําให้ผู้ปกครองใช้อํานาจได้โดย ไม่ถกู ตรวจสอบจากประชาชน 1.2 วฒั นธรรมทางการเมืองแบบไพรฟ่ ้า (Subject political Culture) วัฒนธรรมทางการเมืองในรูปแบบน้ีประชาชนส่วนใหญ่ ในสังคมรู้จักสถาบันการเมืองและมีความรู้สึกต่อมันไม่ว่าในแง่บวก

[271] หรอื ลบ ประชาชนเริ่มสนใจและความสัมพันธ์กบั ระบบการเมือง คือ เขารวู้ า่ ระบบการเมืองสามารถจัดสรรและจัดการผลประโยชน์ให้เขา ได้ แต่เขาไม่สามารถมีบทบาทหรืออิทธิพลต่อระบบการเมืองน้ันได้ เขารู้เร่ืองราวเก่ียวกับอํานาจรัฐและการเมืองและยอมรับกับระบบ น้ัน ๆ แต่ไม่รู้ว่าตนจะสามารถเข้ามามีส่วนร่วมผ่านช่องทางหรือ กลไกใดเปน็ วัฒนธรรมทางการเมอื งของบคุ คลที่มีความรู้ความเข้าใจ ต่อระบบการเมืองโดยท่ัว ๆ ไป แต่ไม่สนใจที่จะเข้ามีส่วนร่วม ทางการเมืองในตลอดทุกกระบวนการและไม่มีความรู้สึกว่าตนเองมี ความหมายหรืออิทธิพลต่อระบบการเมืองบุคคลเหล่าน้ีมักมี พฤติกรรมยอมรับอํานาจรัฐเชื่อฟังและปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐ โดยดุษณีลักษณะของวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้าจะพบได้ ในกลุ่มคนช้ันกลางในประเทศกําลังพัฒนา เป็นกลุ่มคนที่มีความรู้ เข้าใจเก่ียวกบั ระบบการเมืองโดยท่ัวไป แต่ยังคงมีความเช่ือท่ีฝังราก ลึกมาแต่เดิมอันเป็นอิทธิพลของสังคมเกษตรกรรมว่าอํานาจรัฐเป็น ของผู้ปกครอง ประชาชนท่ัวไปควรมีหน้าท่ีเช่ือฟังและปฏิบัติตาม กฎหมายเทา่ นนั้ 1.3 วฒั นธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วม (Participant political Culture) วฒั นธรรมการเมืองแบบนี้ ประชาชนมคี วามรเู้ กย่ี วกบั ระบบการเมอื งและรู้สกึ เป็นส่วนหนงึ่ ของการเมืองไมว่ ่าจะเป็น ทางบวกหรือลบประชาชนมีสาํ นึกและตระหนกั ถงึ บทบาทของตนใน การเข้าไปมสี ่วนร่วมทางการเมือง พวกเขาเช่ือมน่ั ว่าตนเองสามารถ มีอิทธิพลตอ่ การเมืองไดแ้ ละมีอํานาจทจ่ี ะก่อใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลง ไดเ้ ปน็ วฒั นธรรมทางการเมืองของบุคคลที่มีความรู้ความเข้าใจ เก่ยี วกบั ระบบการเมอื งเปน็ อยา่ งดี เหน็ คุณคา่ และความสําคัญในการ

[272] เขา้ มสี ่วนรว่ มทางการเมือง ท้ังน้ีเพ่อื ควบคมุ กํากับ และตรวจสอบ ให้ผ้ปู กครองใช้อาํ นาจปกครองเพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของ ประชาชนลักษณะวฒั นธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วมจะพบเห็น ไดใ้ นชนชน้ั กลางส่วนใหญ่ของประเทศอุตสาหกรรมหรอื ประเทศที่ พฒั นาแลว้ (Developed Country) จากการวเิ คราะห์วัฒนธรรมทางเมอื งหรอื พฤติกรรมทางเมือง ของประชาชนในเขตเทศบาลตําบลเสนางคนิคม พบว่าประชาชนมี วัฒนธรรมทั้งสามประเภท แต่ส่วนใหญ่จะเป็นประเภทวัฒนธรรม แบบไพรฟ่ า้ คือบคุ คลในสังคมสนใจการเมอื งบ้าง แต่เข้าใจการเมือง ในลักษณะที่ยอมรับอํานาจของผู้ปกครอง ดังนั้นจึงไม่สนใจที่จะเข้า ไปมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรง มักมีพฤติกรรมยอมรับอํานาจรัฐ เชื่อฟังและปฏิบัติตามกฎหมายของรัฐโดยดุษณี และเช่ือฟังปฏิบัติ ตามระเบียบ กฎหมาย ตามทร่ี ฐั บาลหรือหน่วยงานกาํ หนด 2. วัฒนธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย คือ ทัศนคติและ ความเชือ่ แบบประชาธิปไตย ซึ่งมีผลต่อ “ความม่ันคง” ของระบอบ ประชาธิปไตยในแต่ละประเทศ นักทฤษฎีการเมืองเลื่องช่ือชาว อังกฤษผู้หน่ึงคือ John Stuart Mill ได้เขียนไว้ว่าก่อนที่ ประชาธิปไตยจะมีขึ้นได้ พลเมืองในประเทศจะต้องมีความ ปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะปกครองตนเองเสียก่อนความปรารถนา สะท้อนทัศนคติท่ีว่า ประชาธิปไตยเป็นของดีและสมควรจะทําให้ เกิดมีขึ้นความหมายก็คือ การเป็นประชาธิปไตยข้ึนอยู่กับ ศรัทธา ข อ ง ค น ใ น ช า ติ ที่ ป ร ะ ส ง ค์ จ ะ มี ก า ร ป ก ค ร อ ง แ ล ะ มี ชี วิ ต แ บ บ ประชาธิปไตยประชาธิปไตยจะงอกงามต่อเม่ือราษฎรมีลักษณะที่ ภาษาเทคนคิ เรยี กว่าการเข้าสู่สภาพการเมือง (Politicized) การเข้า

[273] สู่สภาพการเมืองดังกล่าวหมายถึง ลักษณะดังต่อไปนี้ (ฌานิทธิ์ สัน ตะพันธ์ุ.2549) การเอาใจใส่วิถีหรือเหตุการณ์ทางการเมืองการมี ทัศนคติท่ีว่าอย่างน้อยที่สุดราษฎรจะต้องเก่ียวข้องกับการเมืองไม่ โดยตรงก็โดยอ้อมบ้าง เพราะถึงอย่างไรก็ตามการเมืองจะมา เก่ียวข้องกับเขาจนได้และ การมีความเช่ือว่าการเมืองเป็นเร่ือง สําคัญท่ีสมควรจะอุทิศเวลาให้ตามสมควรวัฒนธรรมทางการเมือง แบบประชาธิปไตยสามารถแบ่งออกเป็นแบบของสังคมที่เจริญแล้ว กับของสังคมท่ีด้อยความเจริญสําหรับวัฒนธรรมทางการเมืองของ สังคมท่ีเจริญไดแ้ ก่ (ทนิ พนั ธ์ นาคะตะ. 2546) ประการแรกการถือหลักการแบ่งแยกบทบาทกันอย่างชัดเจน (Role Differentiated)ระหว่างบุคคลองค์กรหรอื สถาบันต่าง ๆ เช่น มีการขายสินค้าชนิดหน่ึงโดยเฉพาะหรือการท่ีบุคคลผู้หนึ่งจะทํา หน้าที่ในฐานะผู้บริหารอย่างเดียวไม่ทําหน้าท่ีฝ่ายนิติบัญญัติฝ่าย ตลุ าการไปดว้ ย ประการสองมุ่งสู่ความสําเร็จตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ของ ภาระหน้าที่งานหรืออาชีพของบุคคลองค์กรหรือสถาบันเป็น หลักการประสบความสําเรจ็ ย่อมไดร้ บั การยอมรบั นับถือ ประการสามบรรทัดฐานทางสังคม (Centralistic Norms) จะมีผลบังคับใช้ท่ัวไปกับทุกคนทุกเวลาและทุกสถานที่เช่นความ เสมอภาคกนั ในทางกฎหมายทางการเมอื งเศรษฐกจิ และสังคม อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม เ ม่ื อ ม อ ง โ ด ย ภ า พ ร ว ม แ ล้ ว ส า ม า ร ถ ส รุ ป วัฒนธรรมทางการเมอื งแบบประชาธปิ ไตยวา่ มีลักษณะ ดังตอ่ ไปน้ี 1. จะต้องมีความเชื่อม่ันศรัทธาต่อหลักการปกครองแบบ ประชาธิปไตยประชาชนในสังคมนั้น ๆ ต้องการให้มีการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยมากกว่าระบอบอื่นและเห็นด้วยในหลักการ

[274] ของระบอบประชาธิปไตยว่าเป็นการปกครองของประชาชนโดย ประชาชนและเพ่ือประชาชน 2. จะต้องยึดมั่นและเช่ือถือในหลักความสําคัญและศักด์ิศรี ของบุคคลหลักความเสมอภาคของบุคคลหลักแห่งเสรีภาพในการ แสดงความคิดเห็นโดนต้องเคารพในสิทธิเสรีภาพของบุคคลอ่ืน ใน การพูดแสดงความคิดเห็น และการแสดงออกแม้ตนจะไม่เห็นด้วย กับความคิดเห็นเหล่านน้ั ก็ตามผู้มีจิตใจประชาธิปไตยจะต้องยอมรับ หรือมีความอดกลั้นต่อการปฏิบัติที่แตกต่างไปของผู้อื่นหาก พฤตกิ รรมเหลา่ นั้นไมช่ ัดต่อการใช้สิทธเิ สรภี าพของตน 3. เคารพในกติกาของการปกครองระบอบระชาธิปไตย คือหลักการตัดสินด้วยเสียงข้างมากโดยมีข้อผูกพันที่จะต้องได้รับ การปฏิบัติตามจากทุก ๆ ฝ่ายทั้งนี้จะต้องให้ความคุ้มครองในสิทธิ เสรีภาพของเสียงส่วนน้อยด้วยเพ่ือเป็นหลักประกันว่าการแก้ไข ปัญหานั้นๆกระทําไปเพ่ือผลประโยชน์ส่วนรวมโดยวางอยู่บน พน้ื ฐานของหลักแห่งเสรภี าพและความเสมอภาคนอกจากน้ันยังต้อง ปฏบิ ัติต่อกนั อยา่ งยุติธรรมเคารพในกฎหมายและสทิ ธขิ องบคุ คล 4. มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองและการปกครองโดย ติดตามข่าวคราวกิจกรรมต่าง ๆ ของรัฐบาลการแสดงความคิดเห็น ต่าง ๆ และเข้าไปมีส่วนร่วมต่อการตัดสินใจหรือกําหนดนโยบาย ของรัฐบาลรวมทงั้ การใช้สทิ ธกิ ารเลือกต้ัง 5. ต้องเป็นผู้มีความสํานึกในหน้าท่ีพลเมืองของตนและมี ความเชื่อมั่นในตนเองกล่าวคอื ต้องเช่ือม่นั วา่ ตนสามารถเข้าไปมีส่วน ร่วมตอ่ การตัดสินใจหรือกําหนดนโยบายของรัฐบาลการใช้สิทธิออก เสียงเลือกต้ังเนื่องจากการปฏบิ ตั ิเชน่ ว่านเ้ี ป็นประโยชน์ต่อสังคมโดย สว่ นรวม

[275] 6. มองโลกในแง่ดีมีความไว้วางใจในเพ่ือนมนุษย์มีความ เช่ือม่ันในตัวเจ้าหน้าที่และสถาบันของทางราชการเนื่องจาก การเมอื งเป็นเร่ืองของความร่วมมือร่วมใจและไว้วางใจกันประชาชน จะต้องเช่ือมั่นและศรัทธาว่าระบอบประชาธิปไตยจะช่วยแก้ปัญหา และภาวะวกิ ฤตต่าง ๆ ได้และมนุษย์สามารถปกครองตนเองได้ 7. การวิพากษ์วิจารณ์ต้องมีเหตุผลและเป็นไปในทาง สรา้ งสรรคโ์ ดยเฉพาะต่อการใช้อํานาจหน้าท่ีและการปฏิบัติงานของ ทางราชการกล่าวคือประชาชนจะต้องคอยตรวจสอบการใช้อํา นาจ ข อ ง ข้ า ร า ช ก า ร แ ล ะ ผู้ มี อํ า น า จ ท า ง ก า ร เ มื อ ง อ ยู่ เ ส ม อ โ ด ย ก า ร ตรวจสอบคัดค้านและเหนี่ยวร้ังมิฉะน้ันอาจนําความหายนะมาสู่ สงั คมได้ 8. จะต้องเป็นผู้ไม่มีจิตใจเป็นเผด็จการเพราะหากคนส่วน ใหญ่ในสังคมมีจิตใจเป็นเผด็จการก็ยากท่ีระบอบประชาธิปไตยใน ประเทศนนั้ จะประสบความสาํ เรจ็ ได้เพราะผู้มีจิตใจเป็นเผด็จการจะ มอบความรับผิดชอบทุกอย่างไว้ที่ผู้นําชอบการใช้อํานาจเด็ดขาด ออ่ นน้อมยอมจํานนต่อผมู้ อี าํ นาจนยิ มระบบเจา้ ขุนมูลนายไม่ยอมรับ ความเสมอภาคของบุคคลไม่ยอมรับความแตกต่างของผู้อื่นในการใช้ สทิ ธเิ สรีภาพของเราและมกั ยดึ มั่นในคา่ นิยมแบบเดิม 2.กา รมีส่ว น ร่ว มทาง การเ มือง แ ละก ารตัด สิน ใ จ ในการเมืองท้องถ่ิน ของประชาชนในเขตเทศบาลตาบล เสนางคนิคม อาเภอเสนางคนิคม จงั หวัดอานาจเจรญิ 1) การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนถือเป็นรากฐานสําคัญของ การเมืองแบบประชาธิปไตยเช่นเดียวกับการเมืองในระดับท้องถิ่นที่ การมีส่วนร่วมของประชาชนก็มีความสําคัญอย่างมากเช่นเดียวกัน

[276] เพราะเป็นเสมือนแบบฝึกหัดให้ประชาชนได้เรียนรู้กระบวนการมี สว่ นรว่ มทางการเมือง ทําใหป้ ระชาชนเกิดความรสู้ กึ เป็นเจ้าของร่วม ในชุมชนท้องถ่ินอันเป็นถ่ินท่ีอยู่ของตนเอง ทาให้เกิดประโยชน์ที่ หลากหลาย ทั้งด้านตัวบุคคล สังคมชุมชนและหน่วยงานองค์การ ต่าง ๆ เพิ่มคุณภาพการตัดสินใจสร้างฉันทามติ ลดกระแสการ ต่อต้าน หลีกเลี่ยงความขัดแย้ง ลดค่าใช้จ่ายและการสูญเสียเวลา มกี ารรวมพลงั เกิดความสามัคคีเป็นการแบ่งเบาภาระของรัฐซ่ึงจะทํา ให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ในการกระจายอาํ นาจสูป่ ระชาชนท้องถิน่ 2) การมีส่วนร่วมในการเมืองการบริหารท้องถิ่นของไทย มีวธิ ีการท่ีสําคัญและยอมรับปฏิบัติกันโดยท่ัวไป เช่น การเลือกต้ังใน ระดับท้องถ่ิน การใช้สิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ใน ประเด็ นหรื อเ ร่ืองราวที่เ ก่ีย วข้องกับผ ลปร ะโ ยชน์ สา ธาร ณะของ ประชาชนในระดับท้องถ่ิน การเดินขบวนหรือชุมนุมประท้วง เพื่อ เรียกร้องให้กระทําส่ิงใดส่ิงหน่ึง ยังรวมถึงการก่อความวุ่นวายทาง การเมือง การงดให้ความร่วมมือกับหน่วยงานรัฐหรือองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน เป็นการแสดงออกของประชาชนที่ไม่เช่ือฟัง อาํ นาจรฐั เปน็ ต้น สําหรับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทํา บริการสาธารณะ (public service) ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถ่นิ ไทย มีลักษณะการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดบริการ สาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินใน เช่น การรับรู้ข้อมูล ข่าวสาร การเสนอความคิดเห็น การเข้าร่วมในเวทีประชุม ปรึกษาหารือ การเข้าร่วมจัดกิจกรรม และการเข้าร่วมตรวจสอบ การดําเนินงาน เป็นต้น

[277] 3) กิจกรรมทางการเมืองในท้องถิ่นปัจจุบันมิอาจ หลีกเลี่ยงที่จะกล่าวถงึ การมสี ว่ นร่วมของประชาชนได้ เพราะถือเป็น หลักการที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่ามีความสําคัญ และ ต้องส่งเสริมให้เกิดข้ึน โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการเมืองการปกครอง และการบริหารท้องถิ่น ภายใต้สถานการณ์ความท้าทายน้ี แนวโน้ม ของการมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นของไทย จึงอาจไม่ได้มอง ความสําเร็จของการมีส่วนร่วมอยู่เพียงแค่จัดให้มีการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในเชิงปริมาณเท่าน้ัน หากแต่ต้องคํานึงถึงการวัดความสา เร็จหรือเป้าหมายของการมีส่วนร่วมที่การเกิดกระบวนการเรียนรู้ รว่ มกันระหว่างประชาชนและหน่วยงานรัฐหรือองค์กรปกครองส่วน ท้ อ ง ถิ่ น เ พื่ อ ส ร้ า ง ค ว า ม รู้ สึ ก เ ป็ น เ จ้ า ข อ ง ร่ ว ม ในชุมชน การมีส่วนร่วม จึงเป็นพฤติกรรมทางการเมืองท่ีมี ความสําคัญตามแนวคิดในระบอบประชาธิปไตย ในแง่ท่ีเป็นส่ิงที่ ป้อนเข้าสู่ระบบการเมือง ซ่ึงอาจจะเป็นในลักษณะการเรียกร้อง หรือการสนับสนุนต่อระบบท่ีดํารงอยู่ ซูซาน แบล็คคอล ฮานเซน (Susan Blackall Hansen) เห็นว่า การมีส่วนร่วมของพลเมือง ส า ม า ร ถ มี อิ ท ธิ พ ล ต่ อ พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ผู้นาํ การเมืองได้ 2 ทางดว้ ยกันคือ 1) ผู้นําการเมืองจําต้องตอบสนองต่อความต้องการของ ประชาชนมากขนึ้ ด้วยเกรงว่าจะถกู ขบั ออกจากตาแหน่ง 2) สื่อสารข้อมูลให้ผู้นําได้ทราบถึงว่าพลเมืองของเขา ต้องการในสิ่งใดการมีส่วนร่วมทางการเมือง จึงเป็นกลไกสําคัญของ ระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม โดยเฉพาะภายใต้ระบบ การเมืองทม่ี ีแบบแผนที่ซับซ้อน มนุษย์ถูกดึงเข้าไปเกี่ยวข้องสัมพันธ์

[278] กับการเมืองมากข้ึน ดังนั้น การปฏิบัติหน้าท่ีของระบบการเมือง สถาบันการเมืองรวมถึงตัวผู้นําการเมืองจะเป็นสิ่งที่จะตัดสินว่า สมาชิกในสังคมจะมีความมีชีวิตที่ดีเพียงใด ดังท่ี จอห์น สจ็วต มิลล์ (John Stuart Mills) เห็นว่า “มนุษย์จะต้องเรียนรู้ถึงความ รับผิดชอบในการเข้ามีส่วนร่วม การขาดความสามารถในการเข้ามี ส่วนร่วมแสดงให้เห็นถึงการขาดความเป็นสมาชิกอย่างเต็มตัว ภายในระบบนนั้ ” การมีส่วนร่วมทางการเมือง (political participation) นั้น นักวิชาการตะวันตกต่างให้ความหมายในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน สามารถแยกออกได้เปน็ 2 กล่มุ ใหญ่ ๆ กลุ่มแรก มองการมีส่วนร่วมทางการเมืองว่าเป็น กิจกรรมท่ี เก่ียวข้องกับเรื่องทางการเมืองท้ังตามรูปแบบและนอกรูปแบบ เช่น การอภิปรายทางการเมือง การร่วมชุมนุมเพื่อรับฟังเหตุการณ์ ทางการเมือง การร่วมรณรงค์หาเสียง การใช้กาลังรุนแรงทาง การเมืองการโน้มน้าวให้เห็นชอบหรือกดดันรัฐบาล การประท้วง และการใช้กาลังรุนแรง ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับพรรคการเมือง กลุ่ม อทิ ธิพล กลุม่ ผลประโยชน์ โดยไม่สนใจว่าจะถูกบังคับหรือโดยสมัคร ใจ สําเร็จหรือล้มเหลว นักวิชาการกลุ่มนี้ เช่น เจฟฟรี เค. โรเบิร์ต (Geffrey K.Robert); แซมมวล พี. ฮันติงตัน (Samuel P. Huntington) และ จอร์จ ไอ. เดมงิ เกซ (George I. Deminguez) กลุ่มที่สอง มองว่า การมีส่วนร่วมทางการเมืองเป็น ปฏิสัมพันธ์ร่วมระหว่างรัฐกับประชาชนตามวิถีประชาธิปไตยซ่ึง ไม่ได้มีความหมายเฉพาะกิจกรรมในเชิงสถาบันการเมืองเท่านั้น อาจเป็นการแสดงออกหรือกิจกรรมอย่างอ่ืนที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรง กับกระบวนการทางการเมืองก็ได้ แต่เป็นจุดเร่ิมต้นท่ีมีผลต่อการ

[279] ตัดสินใจของฝ่ายการเมือง นักวิชาการในกลุ่มน้ี ได้แก่ มิลบาร์ท และกอล (Milbrath and Goel); โรเซนสโตน (Rosenstone) และ ฮานเซน (Hansen) การมีส่วนร่วมของประชาชนจึงถือเป็นหลักการสากลที่ได้รับ การยอมรับว่ามีความสําคัญและจําเป็นในสังคมประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญซึ่งเป็นกติกาสูงสุดของประเทศสะท้อนเจตนารมณ์ใน การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างชัดเจน รวมถึงการ ปฏิรูปการบริหารงานภาครัฐภายใต้แนวคิดการบริหารภาครัฐแบบมี ส่วนร่วม (Participatory Governance) และแนวคิดธรรมาภิบาล (Good Governance) ได้ตระหนกั ถงึ ความสาํ คัญของการมสี ่วนร่วม ของประชาชน มกี ฎหมายหลายฉบับประกันสิทธิของประชาชนด้าน การมีส่วนรว่ มและกําหนดหน้าท่ีของภาครัฐในการเปิดให้ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วม อาทิ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่า ด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 นอกจากนี้ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการยังกําหนดเร่ืองการมีส่วน ร่วมของประชาชนไว้เช่นกัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงสาหรับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของประชาชนถือเป็นหัวใจหรือ เป็นองค์ประกอบท่ีขาดมิได้ ดังน้ัน การมีส่วนร่วมของประชาชนจึง เป็นความจําเป็น ดังจะเห็นได้ว่ามีการกาหนดให้ผู้บริหารท้องถ่ิน และสมาชกิ สภาทอ้ งถิ่นต้องเป็นตวั แทนของประชาชนซ่ึงมาจากการ มีส่วนร่วมของประชาชนผ่านกระบวนการเลือกตั้ง กําหนดให้มีการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงาน และ ตรวจสอบการทํางานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมี

[280] เป้าหมายให้การทํางานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินตอบสนอง ตอ่ ความตอ้ งการของประชาชนได้ตรงจุด แก้ปัญหาได้รวดเร็ว สร้าง ความโปร่งใส รวมทั้งเป็นวิธีการที่ช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชน ความเป็นเจ้าของชุมชนและเสริมสร้างประชาธิปไตยท้องถิ่น ดังน้ัน การปกครองส่วนท้องถ่ินจึงต้องมุ่งเสริมสร้างการมีส่วนร่วม ของประชาชน เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์การเกิดข้ึนขององค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน ถือเป็นรากฐานของการพัฒนาประชาธิปไตย น่นั เอง มีการให้นิยามความหมายการมีส่วนร่วมไว้หลากหลาย ประการ เช่น เออร์วิน วิลเล่ียม (Erwin William)5 ได้กล่าวว่า การ พัฒนาแบบมีส่วนร่วม คือ กระบวนการให้ประชาชนเข้ามามีส่วน เก่ียวข้องในการดําเนินงานพัฒนา ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วม แก้ปัญหาของตนเอง เน้นการมีส่วนร่วมการเข้ามาเก่ียวข้องอย่าง แขง็ ขันของประชาชน การให้ความคิดสร้างสรรค์ และความชํานาญ ของประชาชนในการแก้ปัญหาร่วมกับการใช้วิทยาการที่เหมาะสม และสนับสนุนติดตามผลการปฏิบัติงานขององค์การและเจ้าหน้าที่ท่ี เกีย่ วขอ้ ง องค์การอนามัยโลก (WHO) และ ยูนิเซฟ (UNICEF) ได้ให้ ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ น ฐ า น ะ ท่ีเป็นกระบวนการในการพัฒนาว่า คือ การเข้าร่วมอย่าง กระตือรือร้นและมีพลังของประชาชนในกระบวนตัดสินใจ เพื่อกา หนดเปา้ หมายของสังคม จัดทรพั ยากรเพ่อื ให้บรรลุเป้าหมายและเป็น การปฏิบตั ิตามแผนการหรือโครงการตา่ ง ๆ โดยความสมัครใจ ปีเตอร์ โอ๊คเลย์ (Peter Oakley) และ เดวิด มารเ์ ดน (David Marsden) กล่าวถึงความหมายของการมีส่วนร่วมของประชาชนไป

[281] สัมพันธ์กับเร่ืองการสร้างประชาธิปไตยทางการเมือง หรือมิฉะน้ันก็ เอาไปเกี่ยวพันกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางสังคม หรือการ เติบโตตามคําว่า “พัฒนา” ชี้นํา หรือท่ีใช้กันบ่อย ๆ คือ ในแง่ที่ รัฐบาลจะเข้าไปกับสภาพของการ “มีส่วนร่วม” ที่รัฐบาลใช้ ส่วน ความหมายของการมีส่วนร่วมอย่างกว้าง ๆ เช่น การมีส่วน ช่วยเหลือโดยสมัครใจ การให้ประชาชนเข้าร่วมกับกระบวนการ ตัดสินใจและกระบวนการดาเนินการของโครงการ ตลอดจนร่วมรับ ผลประโยชน์จากโครงการเหล่าน้ีล้วนเป็นข้อความที่ดูจะมีความ คล่องตัว ดูเป็นการปฏิบัติงานที่จริงจัง ซึ่งบ่งบอกว่าโครงการหรือ แผนงานนั้น การมสี ว่ นร่วมจะมกี ารกาํ หนดวัตถปุ ระสงค์และข้ันตอน การดาเนินงานอย่างไร สําหรับความหมายของการมีส่วนร่วมที่ระบุ ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง เช่น การที่จะให้ประชาชนมีท้ังสิทธิและ หนา้ ท่ที จี่ ะเขา้ รว่ มแก้ปัญหาของเขา ให้เขาเป็นผู้มีความริเริ่มและมุ่ง ใช้ความพยายามและความเป็นตัวของตัวเองเข้าดาเนินการและ ควบคุมทรัพยากรและระเบียบในสถาบันต่าง ๆ เพ่ือแก้ปัญหา เหล่าน้ีกเ็ ป็นการแสดงถงึ ความหมายท่ีบอกถึงสภาพการมีส่วนร่วมท่ี เนน้ ให้กลุ่มร่วมดาเนินการ และมีจุดสําคัญท่ีจะให้การมีส่วนร่วมน้ัน เป็นการปฏิบัติอย่างแข็งขัน มิใช่เป็นไปอย่างเฉยเมยหรือมีส่วนร่วม พอเปน็ พิธเี ท่านนั้ อคิน รพีพัฒน์ ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมของ ประชาชนสรุปได้ว่า การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึง การให้ ประชาชนเปน็ ผคู้ ดิ ค้นปัญหา เป็นผู้ท่ีทําทุกอย่างซึ่งไม่ใช่การกําหนด จากภายนอกแล้วให้ประชาชนเข้ามาร่วมในเรื่องใดเร่ืองหน่ึง หากแตท่ กุ อย่างจะต้องเปน็ เรอื่ งทีป่ ระชาชนคดิ เอง ซึ่งอาจแบ่งการมี สว่ นร่วมออกได้ 5 ข้นั ตอน คือ

[282] 1) การมีส่วนร่วมในการค้นหาและจัดลาดับความสําคัญของ ปญั หา 2) รว่ มในการวิเคราะหถ์ ึงสาเหตุและที่มาของปัญหา 3) ร่วมในการเลือกวิธกี ารและวางแผนในการแกป้ ัญหา 4) ร่วมในการดําเนนิ ตามแผน 5) รว่ มในการประเมินผล วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรค และ ปจั จัยทม่ี ีส่วนทาํ ใหเ้ กิดผลสําเร็จ อรทัย ก๊กผล กล่าวว่า ความหมายของการมีส่วนร่วมของ ประชาชนเปลี่ยนแปลงไปตามบริบททางสังคมและการเมือง ในอดีต การมีสว่ นรว่ มของประชาชนมกั หมายถึงการมีส่วนร่วมทางการเมือง แต่ปัจจุบันสังคมให้ความสําคัญกับประชาธิปไตยทางตรงและ ประชาธิปไตยท่ีประชาชนปกครองตนเอง ส่งผลให้ความหมายของ การมีส่วนร่วมของประชาชนมีขอบเขตกว้างขึ้น การมีส่วนร่วมของ ประชาชน (Public Participation) หมายถึง การที่องค์กรปกครอง ส่วน ท้อง ถ่ินเ ปิด ให้ป ระช าช นเข้าไป ร่ว มใน การ กํา หนด กฎเ กณฑ์ นโ ยบา ย กระ บว นก ารบริห ารและ ตัดสิน ใจของ ท้องถิ่ น เพื่อผลประโยชน์ของประชาชนโดยส่วนรวมอย่างแท้จริง ท้ังน้ี ต้อง อยู่บนพื้นฐานของการท่ีประชาชนจะต้องมีอิสระทางความคิด มี ความรู้ความสามารถในการกระทํา และมีความเต็มใจท่ีจะเข้าร่วม ตอ่ กจิ กรรมนน้ั ๆ โดยหลักการการมีส่วนร่วมของประชาชนจะต้องมี ลักษณะการเข้าร่วมอย่างครบวงจรต้ังแต่ต้นจนถึงส้ินสุด ไม่ใช่เป็น การจัดเวทีการมีส่วนร่วมครั้งเดียว ในการแก้ปัญหาของชุมชนควร เปดิ ให้ประชาชนเขา้ รว่ มตง้ั แต่ตน้ จนจบ ดงั น้ี

[283] 1) เริ่มตั้งแต่การเกิดจิตสานึกในตนเองและถือเป็น ภาระหนา้ ท่ขี องตนในฐานะทีเ่ ป็นส่วนหนึ่งของสังคมหรือชุมชนท่ีตน อยู่ 2) ร่วมคิดด้วยกันว่าอะไรที่เป็นปัญหาของชุมชน มีสาเหตุ อย่างไรและจะจัดลําดับความสําคัญของปัญหาเป้าหมายอย่างไร และควรทจ่ี ะจัดการกบั ปัญหาใดก่อนหลงั 3) ร่วมกันวางแผนการดําเนินงานว่าจะจัดกิจกรรมหรือ โครงการอะไร จะแบ่งงานกันอยา่ งไร ใช้งบประมาณมาก น้อยเพยี งใด จะจัดหางบประมาณมาจากที่ใด และใครจะเป็นผู้ดูแล รักษา 4) ร่วมดําเนินงาน ประชาชนจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมด้วย ความเตม็ ใจ เตม็ กําลงั ความรู้ความสามารถของตนเอง 5) ร่วมกันติดตามประเมินผล ตลอดเวลาที่ทํางานร่วมกัน ประชาชนจะต้องมีส่วนร่วมในการตรวจสอบถึงปัญหาอุปสรรคและ ร่วมกันในการหาทางแก้ไขปัญหา เพ่ือให้งานหรือภารกิจดังกล่าว สามารถสาํ เร็จลุล่วงตามเป้าหมาย 6) ร่วมรบั ผลประโยชน์ ประชาชนท่ีเขา้ มามีส่วนร่วมกิจกรรม ของชุมชนแล้วย่อมที่จะได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน ซ่ึงอาจไม่จําเป็น จะตอ้ งอย่ใู นรปู ของเงิน วตั ถุส่งิ ของ แต่อาจเป็นความสุขสบายความ พอใจในสภาพของความเป็นอยู่ทีด่ ีข้ึนกไ็ ด้ ท้ังน้ี ในการทํางานเพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมนั้น จําเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องคํานึงถึงเง่ือนไขหรือหลักการสําคัญ 3 ประการ คือ การมีส่วนร่วมต้องเกิดจากความเต็มใจและความต้ังใจ ท่ีจะเขา้ รว่ ม เพราะจะทาํ ใหเ้ กิดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนใน การแก้ไขปัญหาตัดสินใจในเรื่องนั้น ๆ กระบวนการมีส่วนร่วมนั้น

[284] ต้องตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของความเสมอภาค และขีดความสามารถของ แต่ละบุคคลที่จะเข้ามามีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมต้องตั้งอยู่บน พื้นฐานของเสรีภาพ อิสรภาพที่จะตัดสินใจว่าจะเลือกหรือจัดให้มี การมสี ว่ นรว่ มหรือไม่ ขอ้ สาํ คัญคือ การมีส่วนร่วมนั้นต้องไม่เกิดจาก การบงั คับหรอื ขู่เข็ญจากผทู้ เ่ี หนอื กว่า แนวคิดการมสี ่วนร่วมในระดับท้องถ่ินเกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง เป็นเวลานานแล้วในต่างประเทศ และแนวคิดดังกล่าวได้มาสู่ ประเทศไทยอย่างชัดเจนนับต้ังแต่ทศวรรษ 2530 เป็นต้นมา ใน ปัจจุบันประเทศไทยได้ให้ความสนใจต่อหลักการมีส่วนร่วมเพื่อ พัฒนาประเทศทั้งด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม อันเป็นฐานสําคัญของประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม รวมถึงการ เปลี่ยนแปลงการบรหิ ารงานภาครัฐภายใต้แนวคิดการบริหารภาครัฐ แบบมีส่วนร่วม (Participatory Governance) และธรรมาภิบาล (Good Governance) โดยที่ภาครัฐต้องเปิดโอกาสให้ประชาชน แ ล ะ ผู้ ท่ี มี ส่ ว น เ กี่ ย ว ข้ อ ง ทุ ก ภ า ค ส่ ว น ไ ด้ ร่ ว ม รั บ รู้ ร่วมคดิ รว่ มตัดสินใจ รว่ มทํางาน และรว่ มรบั ผลท่ีเกิดจากการมีส่วน ร่วม ไปจนกระทั่งถึงร่วมตรวจสอบเพ่ือสร้างความโปร่งใสและเพิ่ม คุณภาพการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐให้ดีข้ึนและเป็นท่ียอมรับ ร่วมกันของทุกฝ่ายการมีส่วนร่วมในระดับท้องถ่ินจึงเป็นการรับรอง สิทธิข้ันพื้นฐานของประชาชนและชุมชนท้องถิ่นท่ีจะต้องได้รับการ คมุ้ ครองจากรฐั และยังเป็นกระบวนการสรา้ งประชาธิปไตยจากฐาน รากของประชาธิปไตยในระดบั ชาตติ อ่ ไป

[285] ตัวอย่ างกา รมีส่ว นร่วมทางการเมืองของประชาชน ใน เขต เทศบาลตําบลเสนางคนิคม ในการเลือกต้ังเป็นสมาชิกสภาเทศบาล และนายกเทศมนตรี เทศบาลตําบลเสนางคนิคม (การเลือกต้ังเม่ือ วันอาทิตย์ ที่ 28 มีนาคม 2564) ดงั นี้ 1.เขตเลอื กตั้ง จํานวน 2 เขต 1.1 เขตเลือกตงั้ ท่ี 1 ขนาดพ้นื ท่ี 3 ตร.กม. จํานวน 4 หน่วยเลอื กต้งั 1.2 เขตเลือกตงั้ ที่ 2 ขนาดพื้นที่ 2.1 ตร.กม. จํานวน 3 หน่วยเลือกตง้ั 2. ผู้มสี ทธเิ ลอื กต้ัง 2.1 นายกเทศมนตรี จาํ นวนผมู้ สี ทิ ธ์ิ 4,569 คน จาํ นวนผู้ใชส้ ิทธิ์ 3,352 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 73.36 2.2 สมาชิกสภาเทศบาล เขตท่ี 1 จํานวนผมู้ ีสิทธิ์ 2,293 คน จํานวนผใู้ ช้สทิ ธ์ิ 1,692 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 73.79 2.3 สมาชิกสภาเทศบาล เขตที่ 2 จํานวนผ้มู ีสทิ ธ์ิ 2,276 คน จํานวนผู้ใชส้ ทิ ธิ์ 1,658 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 72.85

[286] 3.พฤตกิ รรมการมสี ว่ นร่วมตามขันตอนของกระบวนการ ประชาธปิ ไตยแบบมีส่วนรว่ ม (บวรศกั ด์ิ อวุ รรณโณ และถวลิ วดี บรุ ีกลุ ) ประชาชนในเขตเทศบาลตาบลเสนางคนคิ ม 1) ขั้นการมีส่วนร่วมในการวางแผน โดยต้องประกอบด้วย การรบั รู้ การเข้าถงึ ขอ้ มลู เก่ยี วกบั การวางแผน และการมีส่วนร่วมใน การวางแผนกิจกรรม 2) ข้ันการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการหรือการดําเนินการ ประกอบด้วยการดําเนินการในกจิ กรรมต่าง ๆ การตดั สนิ ใจ 3 ) ข้ั น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร จั ด ส ร ร ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ เป็นการมีส่วนร่วมในการจัดสรรผลประโยชน์หรือผลของกิจกรรม หรอื ผลของการตดั สินใจ 4 ) ขั้ น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ติ ด ต า ม ป ร ะ เ มิ น ผ ล เป็นการประเมินผลในประสิทธิผลของโครงการหรือกิจกรรม และ การประเมินผลสําหรับการดาํ เนินกจิ กรรมต่อไป 5) การประเมินความพึงพอใจของประชาชนในพื้นที่ในการ บริการสาธารณะ โ ด ย ป ร ะ ช า ช น ใ น เ ข ต เ ท ศ บ า ล ตํ า บ ล เ ส น า ง ค นิ ค ม มสี ่วนรว่ มในการดาํ เนินการดังนี้

[287]

[288]

[289] บทสรุป 1.วัฒนธรรมทางเมืองหรือพฤติกรรมทางเมืองของประชาชน ในเขตเทศบาลตําบลเสนางคนิคม พบว่าประชาชนมีวัฒนธรรมท้ัง สามประเภท ดังน้ี 1.1 วฒั นธรรมทางการเมืองแบบคับแคบ (Parochial Political Culture) วัฒนธรรมทางการเมืองแบบนี้ ประชาชนแทบไม่มีความสัมพันธ์ กับระบบการเมืองระดับชาติจะตอบสนองความต้องการอะไรของ เขาได้เป็นวัฒนธรรมทางการเมืองของบุคคลท่ีไม่มีความรู้ความ เขา้ ใจเก่ียวกับระบบการเมืองเลยไม่มีการรับรู้ ไม่มีความเห็นและไม่

[290] ใส่ใจต่อระบบการเมืองไม่คิดว่าตนเองมีความจําเป็นต้องมีส่วนร่วม ทางการเมืองเพราะไม่คดิ วา่ การเมืองระดับชาติจะกระทบเขาได้ 1.2 วัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า (Subject political Culture) วัฒนธรรมทางการเมืองในรูปแบบนี้ประชาชนส่วนใหญ่ใน สงั คมรจู้ ักสถาบันการเมอื งและมีความรู้สึกตอ่ มันไมว่ ่าในแง่บวกหรือ ลบ ประชาชนเริม่ สนใจและความสมั พันธ์กับระบบการเมอื ง 1.3 วฒั นธรรมทางการเมืองแบบมสี ่วนร่วม (Participant political Culture) วัฒนธรรมการเมืองแบบนี้ ประชาชนมีความรู้เก่ียวกับระบบ การเมืองและรู้สึกเป็นส่วนหน่ึงของการเมืองไม่ว่าจะเป็นทางบวก หรือลบประชาชนมีสํานึกและตระหนักถึงบทบาทของตนในการเข้า ไปมสี ว่ นร่วมทางการเมอื ง แต่ส่วนใหญ่จะเป็นประเภทวัฒนธรรมแบบไพร่ฟ้า คือบุคคล ในสังคมสนใจการเมืองบ้าง แต่เข้าใจการเมืองในลักษณะที่ยอมรับ อาํ นาจของผูป้ กครอง ดังนั้นจงึ ไมส่ นใจทจี่ ะเข้าไปมีส่วนร่วมทางการ เมืองโดยตรง มกั มพี ฤติกรรมยอมรบั อาํ นาจรฐั เช่ือฟังและปฏิบัติตาม กฎหมายของรัฐโดยดุษณี และเชื่อฟังปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมาย ตามท่รี ัฐบาลหรือหนว่ ยงานกําหนด 2. การมีส่วนร่วมทางการเมืองและการตัดสินใจในการเมือง ท้ อ ง ถิ่ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ น เ ข ต เ ท ศ บ า ล ตํ า บ ล เสนางคนคิ ม อาํ เภอเสนางคนคิ ม จังหวัดอาํ นาจเจรญิ กิจกรรมทางการเมืองในท้องถ่ินปัจจุบันมิอาจหลีกเลี่ยงที่จะ กล่าวถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนได้ เพราะถือเป็นหลักการท่ี ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่ามีความสําคัญ และต้องส่งเสริม

[291] ให้เกิดข้ึน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเมืองการปกครองและการ บริหารท้องถิ่น ภายใต้สถานการณ์ความท้าทายนี้ แนวโน้มของการ มีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นของไทย จึงอาจ ไม่ได้มองความสําเร็จ ของการมสี ว่ นรว่ มอย่เู พยี งแคจ่ ดั ให้มีการมีส่วนร่วมของประชาชนใน เชิงปริมาณเท่าน้ัน หากแต่ต้องคํานึงถึงการวัดความสําเร็จหรือ เป้าหมายของการมีส่วนร่วมที่การ เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างประชาชนและหน่วยงานรัฐหรือองค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ เพอื่ สร้างความรสู้ กึ เป็นเจา้ ของรว่ มในชุมชน การมสี ว่ นร่วมในการเมอื งของประชาชนในเขตเทศบาลตําบล เสนางคนคิ ม สว่ นใหญด่ ําเนนิ การตามที่กฎหมายรองรับให้กระทําได้ หรือต้อง กระทํา มีวิธีการท่ีสําคัญและยอมรับปฏิบัติกันโดยท่ัวไป เช่น การเลือกตั้งในระดับท้องถิ่น การใช้สิทธิ เสรีภาพในการแสดง ความคิดเห็น ในประเด็นหรือเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ สาธารณะของ ประชาชนในระดับท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นการพูด การ เขียน และอ่ืน ๆ ซึ่งเป็นช่องทางการสื่อสารทางการเมือง ระหว่าง ประชาชนกับหน่วยงานรัฐ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การ เดินขบวนหรือชุมนุมประท้วง โดยประชาชนรวมตัวกัน เพื่อแสดง ความไม่เห็นด้วยกับนโยบายการดําเนินงานของหน่วยงานรัฐ หรือ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งเพื่อเรียกร้องให้กระทําส่ิงใดสิ่ง หน่ึง การมีส่วนร่วมแบบไม่เป็นทางการยังรวมถึง การก่อความ วุ่นวายทางการเมอื ง เช่น การนัดหยุดงาน การงดให้ความร่วมมือกับ หน่วยงานรัฐหรือองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นการแสดงออก ของประชาชนท่ีเช่ือฟังอํานาจรัฐ และยึดตามกฎระเบียบของทาง ราชการ

[292] หลกั การประชาธปิ ไตยแบบมีสว่ นร่วม • มหี ลกั การพืน้ ฐานสําคัญคือ การใหป้ ระชาชนมีสว่ นรว่ มใน การเมืองและการบริหาร • เน้นกระจายอาํ นาจในการตัดสนิ ใจและการจดั สรรทรพั ยากร • อํานาจในการจัดสรรทรัพยากรและการจัดสรรน้นั สง่ ผลตอ่ ชวี ิต ประชาชน • เพม่ิ การคมุ้ ครองสทิ ธิเสรีภาพประชาชน • การมีความยดื หย่นุ : โครงสร้างการทํางานตรวจสอบได้ โปรง่ ใส เนน้ ความตอ้ งการ ทรพั ยากรของผูม้ ีสว่ นร่วม • การมีส่วนรว่ มของประชาชนในระดบั ชาติและท้องถ่นิ • ประชาชนสามารถเขา้ ถึงข้อมูลข่าวสาร กระบวนการนโยบาย และกระบวนการยตุ ิธรรม ขนั ตอนของกระบวนการประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และถวิลวดี บุรีกุล) ประชาชนในเขตเทศบาลตาบล เสนางคนิคม 1) ข้ันการมีส่วนร่วมในการวางแผน โดยต้องประกอบด้วย การรบั รู้ การเข้าถงึ ข้อมลู เกีย่ วกบั การวางแผน และการมีส่วนร่วมใน การวางแผนกจิ กรรม 2) ขั้นการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการหรือการดําเนินการ ประกอบด้วยการดําเนินการในกจิ กรรมต่าง ๆ การตัดสินใจ 3 ) ขั้ น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร จั ด ส ร ร ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ เป็นการมีส่วนร่วมในการจัดสรรผลประโยชน์หรือผลของกิจกรรม หรือผลของการตดั สนิ ใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook