[44] เกมนีส้ ามารถเขียนแสดงในรูปแบบตารางได้ดงั นี้ รับสารภาพ ไมร่ ับสารภาพ รับสารภาพ -10, -10 0, -20 ไม่รับสารภาพ -20, 0 -1, -1 จะเห็นว่ากลยทุ ธเดน่ ของผ้เู ล่นท้งั สองฝ่ายคอื การรับสารภาพ เพราะ ไม่ว่าผู้เล่นอีกฝ่ายจะตัดสินใจอย่างไร ก็จะได้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เสมอ แต่เม่ือทั้งสองฝ่ายเลือกทางเลือกน้ี กลับไม่ให้ผลตอบแทนที่ดี ที่สุด ถึงแม้ผู้เล่นจะทราบว่าผลตอบแทนที่ดีที่สุดจะเกิดขึ้นเมื่อท้ัง สองฝา่ ยไมร่ ับสารภาพ แต่ทงั้ คูอ่ าจไม่กลา้ ทาํ เพราะไม่ไว้ใจอีกฝ่ายว่า จะรับสารภาพหรือไม่ จึงทําให้ท้ังสองฝ่ายต้องได้รับผลตอบแทนท่ีต่ําลง และจุด (-10, -10) ก็เป็นจุดสมดุลของแนชในเกมน้ี เพราะผู้เล่นท้ังสอง ฝา่ ยไม่สามารถเปล่ยี นไปเลอื กทางเลอื กอ่ืนทไ่ี ด้ผลตอบแทนดีกวา่ น้ี เกมไกต่ น่ื เกมไกต่ ่นื (Chicken) เป็นเกมท่มี ผี ู้เลน่ 2 คนและทางเลือก 2 ทาง มีสถานการณด์ ังน้ี ผู้เล่นสองคนขับรถด้วยความเร็วสูงเข้าหากัน ฝ่ายที่หักหลบรถก่อน จะเป็นผู้แพ้ แต่ถ้าผู้เล่นทั้งสองฝ่ายไม่หักหลบรถ รถจะชนกันและ จะทาํ ให้ผู้เลน่ ทัง้ สองฝา่ ยเกิดความเสยี หายอย่างมาก เกมนส้ี ามารถเขยี นแสดงในรูปแบบตารางไดด้ งั น้ี หลบ ไมห่ ลบ หลบ 0, 0 -1, +1 ไม่หลบ +1, -1 -10, -10
[45] จะเหน็ ว่าเกมในรูปแบบนีไ้ ม่มีกลยทุ ธเดน่ และมจี ุดสมดุลของแนช สองจุดคือ (-1, +1) และ (+1, -1) แต่วธิ ีทางจติ วทิ ยาสําหรับผูเ้ ล่น เกมนคี้ ือ พยายามส่งสญั ญาณใหผ้ ู้เลน่ ฝา่ ยตรงข้ามเหน็ ว่า ตนจะไม่ หักหลบอยา่ งแนน่ อน ซ่งึ จะทําใหผ้ ู้เล่นฝ่ายตรงขา้ มต้องยอมหกั หลบ ไปเอง มิฉะน้นั จะเสยี ผลตอบแทนอย่างมาก เกมแหง่ ความร่วมมือ เกมแห่งความร่วมมือ (Stag hunt) เป็นเกมที่มีผู้เล่น 2 คน และทางเลือก 2 ทาง ซึ่งเป็นทางเลือกระหว่างทางท่ีปลอดภัยกับ การให้ความร่วมมือกับอีกฝ่าย มีสถานการณ์ดังน้ี ผู้เล่นสองคน ต้องการเลือกล่าสัตว์ชนิดหนึ่งระหว่างกวางกับกระต่าย ซึ่งกวางมี ราคาดีกว่ากระต่ายมาก แต่ก็ล่ายากกว่าเช่นกัน จําเป็นต้องใช้สอง คนร่วมมือกันจึงจะล่าได้ ในขณะท่ีกระต่ายมีราคาตํ่าแต่ล่าได้ง่าย สามารถลา่ ไดโ้ ดยใชเ้ พียงคนเดียว เกมนส้ี ามารถเขียนแสดงในรูปแบบตารางไดด้ งั นี้ ล่ากวาง ล่ากระต่าย ลา่ กวาง +10, +10 0, +3 ลา่ กระตา่ ย +3, 0 +3, +3 จะเห็นว่าเกมในรูปแบบน้ีไมม่ ีกลยุทธเด่น และมจี ุดสมดลุ ของแนช สองจดุ คือ (+10, +10) และ (+3, +3) ซึ่งการทผ่ี ้เู ล่นทง้ั สองจะได้ ผลตอบแทนสงู สดุ นน้ั จะต้องอาศยั ความรว่ มมือร่วมใจกนั คอื เลือก ล่ากวางทั้งคู่ ซ่ึงผู้เล่นจะต้องมีความไว้วางใจผ้เู ลน่ อีกฝ่ายด้วย แนวคดิ (1) สถานการณ์เผชิญหน้าระหว่าง 2 ฝ่ายหรือมากกว่า แต่ละฝ่ายเลือกดําเนินการ หรือเลือกตัดสินใจ เป้าหมายเพ่ือ
[46] ประโยชนส์ ูงสดุ ในพน้ื ทีต่ ําบลหนองแก้ว อําเภอหัวตะพาน จังหวัด อํานาจเจริญ (2) การตัดสินใจเลือกของแต่ละฝ่าย เป็นการกระทํา ภายใต้การไตร่ตรองผลดี ผลเสยี อย่างสมเหตุสมผลมากที่สุด โดยแต่ ละฝ่ายพยายามท่ีจะตัดสินใจกระทําในแนวทางท่ีเป็นประโยชน์ สงู สุด ในขณะเดยี วกนั ก็เสียประโยชน์น้อยทีส่ ดุ (3) การตัดสินใจของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ย่อมนําไปสู่ ความสําเร็จตามต้องการหรือไม่อย่างไรขึ้นอยู่กับการตัดสินใจเลือก ของอกี ฝ่ายดว้ ย เกมกับการต่อรองทางการเมืองในการเลือกตังนายกและสมาชิก องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลหนองแกว้ 1. ผู้เลน่ แตล่ ะกลุ่มการเมืองในเกมการเลอื กตงั้ สมาชิก อบต. 2. ผู้เล่นแต่ละกล่มุ การเมอื งในการเลือกตัง้ นายก อบต. 3. ผเู้ ล่นแต่ละกลุม่ การเมอื งท่ไี มล่ งสนามเลือกต้ัง 4. ประชาชนในฐานะผเู้ ลน่ ในการเลือกตง้ั อบต. เนอ่ื งจากตาํ บลหนองแกว้ มจี ํานวนหมู่บ้าน 10 หมู่บ้านและ มปี ระชากร 4,223 คน อีกท้ังบริบทสภาพพื้นที่ของตําบลหนองแก้ว ไม่ชอบการแข่งขันในทางการเมือง ไม่ฝักใฝ่ด้านการเมืองไม่ชอบ การแข่งขันท่ีแก่งแย่งแข่งขันท่ีมีความรุนแรง ประกอบกับชุมชนใช้ หลักพระพุทธศาสนาในการดํารงชีวิตซ่ึงมีวัดเก่าบ่อ และวัดบ่อ ชะเนง เป็นศูนย์รวมของชุมชน ซึ่งกลุ่มบุคคลที่เล่นการเมือง มีไม่ มากนกั ก่อนที่นายสําลอง กัณหารัตน์ นายกองค์การบริหารส่วน ตําบลหนองแก้ว คนปัจจุบัน ได้มีคู่แข่งเป็นอดีตนายกองค์การ บริหารส่วนตําบลหนองแก้ว หลังจากที่นายสําลอง กัณหารัตน์
[47] เคยดํารงตําแหน่งนายก อบต. เป็นระยะเวลานาน (ต้ังแต่ปี 2540 จนถึงปี 2553) จนต่อมาได้มีคู่แข่งเข้ามาเป็นตัวเลือกให้ประชาชน ไดเ้ ลอื ก จนนายสําลอง กัณหารัตนไ์ ดพ้ า่ ยแพใ้ นสมัยนั้น แต่หลังจาก ท่ีอดีตนายกท่ีเป็นคู่แข่งของนายสําลองฯ ถูกให้พ้นจากตําแหน่ง ตามมาตรา 44 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับ- ช่ัวคราว พ.ศ. 2557) และ คําสั่ง คสช. 1/57 เรื่องการได้มาซ่ึง สมาชิกสภาท้องถ่ินหรือผู้บริหารท้องถิ่นเป็นการชั่วคราว ส่งผลให้ ประชาชนในพื้นที่ตําบลหนองแก้ว ไม่ไว้วางไว้ใจ และสาเหตุหน่ึง ท่ีทําให้ไม่มีผู้ลงสมัครเข้ามาเป็นตัวเลือกให้กับประชาชนนอกจาก นายสําลอง กัณหารัตน์ เป็นผู้เคยดํารงตําแหน่งนายก อบต.หนอง- แก้วมาก่อนแล้วนั้น ยังสร้างผลงานและความน่าเช่ือถือให้กับ ประชาชนในพ้นื ท่ีทงั้ ดา้ นโครงสร้างพ้นื ฐาน คุณภาพชีวิต ไฟฟ้าแสงสว่าง และใช้ชีวิตท่ีไม่มีความเสื่อมเสีย จึงเป็นตัวเลือกท่ีมีคุณภาพสูง ทาํ ใหป้ ระชาชนเกิดความเชอื่ มัน่ บทวเิ คราะห์วา่ ดว้ ยเกมกับการตัดสนิ ใจทางการเมือง 1 เกมไก่ต่ืน (Chicken) เกมไกต่ ื่น (Chicken) เปน็ เกมที่มีผูเ้ ลน่ 2 คนและทางเลอื ก 2 ทาง มีสถานการณด์ ังน้ี ผเู้ ลน่ สองคนขบั รถดว้ ยความเรว็ สูงเข้าหากนั ฝา่ ยที่หักหลบ รถกอ่ นจะเป็นผแู้ พ้ แต่ถ้าผเู้ ลน่ ทง้ั สองฝ่ายไม่หกั หลบรถ รถจะชน กันและจะทําใหผ้ ู้เลน่ ท้ังสองฝ่ายเกดิ ความเสียหายอยา่ งมาก เกมน้สี ามารถเขียนแสดงในรูปแบบตารางไดด้ งั นี้ หลบ ไม่หลบ หลบ 0, 0 -1, +1 ไม่หลบ +1, -1 -10, -10
[48] จะเห็นว่าเกมในรูปแบบนี้ไม่มีกลยุทธเด่น และมีจุดสมดุลของแนช สองจุดคือ (-1, +1) และ (+1, -1) แต่วิธีทางจิตวิทยาสําหรับผู้เล่น เกมน้ีคือ พยายามส่งสัญญาณให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามเห็นว่า ตนจะไม่ หักหลบอย่างแน่นอน ซ่งึ จะทาํ ให้ผู้เลน่ ฝ่ายตรงข้ามต้องยอมหักหลบ ไปเอง มิฉะน้ันจะเสียผลตอบแทนอย่างมาก จากทฤษฎีเกมข้างต้น จะเห็นได้ว่า นายสําลอง กัณหารัตน์ ได้ใช้ทฤษฎีดังกล่าวในการ แขง่ กบั ประชาชนว่าจะเลือกตัวเองให้เป็นนายกองค์การบริหารส่วน ตําบลหรือไม่ 2 การตอ่ รองและชยั ชนะในการเลอื กตั้ง นายสําลอง กัณหารัตน์ มีการโชว์นโยบายที่ทําให้ได้รับ ความไวใ้ จจากประชาชนในพ้นื ท่ี เชน่ 1. นโยบายเร่งด่วน เพื่อตอบสนองนโยบายเร่งด่วนของ รฐั บาล ได้แก่ การเทิดทูนสถาบนั พระมหากษัตริย์ การส่งเสริมความ เข้าใจในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนจากสาธารณภัย โรคติดต่อ อาทิเช่น Covid-๑๙ การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด และการป้องกันปราบปราม การทุจริตประพฤตมิ ชิ อบ 2. ด้านโครงสรา้ งพนื ฐาน - จดั ให้มีการบํารุงรักษาเสน้ ทางคมนาคม - จัดใหม้ ไี ฟฟา้ นํา้ ประปาที่ได้มาตรฐานอย่างทวั่ ถงึ 3. ด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม และประเพณี - สนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีมาตรฐาน ในการเรียน การสอนมากย่ิงข้ึน - สนบั สนนุ ใหม้ ีโรงเรียนผู้สูงอายุในตําบล - สนับสนุนการอนุรักษ์ศิลปะจารีตประเพณีภูมิปัญญา
[49] ท้ อ ง ถ่ิ น แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม อั น ดี ง า ม ข อ ง ท้ อ ง ถ่ิ น ไ ว้ - สนับสนุนให้คนในหมู่บ้านชุมชนมีจิตสํานึกในความรัก หมูบ่ า้ นชุมชนรักชาตศิ าสนาพระมาหากษัตรยิ แ์ ละสามคั คีกนั 4. ด้านเศรษฐกจิ - สนับสนนุ ใหม้ กี ลมุ่ อาชีพในหมู่บ้านและสนับสนนุ ใหม้ ี อุตสาหกรรมในครวั เรือน - สนับสนุนให้มีตลาดในหมบู่ ้าน/ชมุ ชน 5. ดา้ นสงั คม - จดั ใหม้ ศี นู ย์กชู้ ีพก้ภู ัยและพัฒนาศักยภาพของ อปพร. - พัฒนาพ้นื ท่ีทม่ี ีศักยภาพให้เปน็ แหล่งทอ่ งเทีย่ วของตาํ บล - สนับสนุนใหม้ กี ลมุ่ ผู้รักสขุ ภาพในหมบู่ า้ นชุมชน - สนบั สนุนให้มลี านกีฬาสถานที่ออกกําลังกายประจํา หมบู่ า้ นชมุ ชน - สนับสนุนให้เยาวชนห่างไกลยาเสพติดและมีความรัก ความสามัคคีกันโดยจัดกิจกรรมแข่งขันกีฬาภายในตําบลอย่าง ตอ่ เนื่อง - สนับสนุนให้มีศูนย์พัฒนาครอบครัวโดยเน้นดูแล ผดู้ ้อยโอกาส - สนับสนุนให้มีศูนย์รับเรื่องร้องทุกข์เพื่อส่งต่อหน่วยงานท่ี เก่ียวข้องและตดิ ตามความคืบหนา้ - สนับสนุนใหม้ กี ารพัฒนาสตรีเดก็ และเยาวชนผ้สู งู อายุและ ผพู้ ิการ - สนับสนุนให้องค์กรหรือหน่วยงานของรัฐในอันท่ีจะ ดาํ เนินการใดใดเพอื่ ประโยชนข์ องประชาชนในตําบล
[50] - สนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น - สนับสนุนส่งเสริมประชาธิปไตยความเสมอภาคและสิทธิ เสรีภาพของประชาชน 6. ด้านสาธารณสุขและสงิ่ แวดล้อม - สนับสนุนการรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยดูแล การจราจรในหมบู่ ้าน/ชุมชน - สนับสนุนการรักษาความสะอาดของถนนทางเดินร่อง ระบายนํ้าและท่ีสาธารณะ รวมท้ังการกําจัดขยะมูลฝอยและสิ่ง ปฏิกลู - ให้ความสําคัญในการดูแลป้องกันโรคและบรรเทา สาธารณภยั ต่าง ๆ 3 การพา่ ยแพ้ทางการเมอื งในการเลอื กต้ัง ถงึ แมน้ ายสําลองฯ จะได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกฯ ในการ เลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา แต่จะเห็นได้จากตัวเลขบัตรไม่เลือกผู้สมัคร ผใู้ ดทีม่ อี ยถู่ งึ รอ้ ยละ 8.88 เปรยี บเสมอื นการพ่ายแพ้ทางการเมืองใน การเลือกตั้งเนื่องจากไม่สามารถพิชิตใจผู้มีสิทธิมาเลือกตั้งในคร้ังน้ี ไดท้ ้งั หมดนัน่ เอง 4 ประชาชนกับเกมการตัดสนิ ใจลงคะแนนเสียงเลอื กตงั้ เ น่ื อ ง จ า ก ก า ร เ ลื อ ก ต้ั ง อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ตํ า บ ล เ มื่ อ วนั อาทิตย์ 28 พฤศจิกายน 2564 ที่ผ่านมาตําบลหนองแก้ว อําเภอ หัวตะพาน ได้มีผู้ลงสมัครรับเลือกต้ังเป็นนายกองค์การบริหารส่วน ตาํ บลหนองแกว้ เพยี งคนเดยี ว ซึ่งตําบลหนองแก้ว มีผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ท้งั หมด 3,251 คน โดยมีผู้มาใช้สิทธิจํานวน 2,137 คน คิดเป็นร้อย ละ 66.84 โดยมีบัตรดี คิดเป็นร้อยละ 85.73 บัตรเสียคิดเป็นร้อย ละ 5.38 บัตรไม่เลือกผู้สมัครผู้ใด คิดเป็นร้อยละ 8.88 จากข้อมูล ดังกล่าว เ ห็นได้ว่า ประชาช นใช้เกมอํ านาจใน การตัดสิ นใจเลื อ ก
[51] เพราะในพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถ่ินหรือ ผู้บริหารทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2562 มาตรา 111 ในกรณีที่มีผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้บริหาร ท้องถิ่นเท่ากับจํานวนผู้บริหารท้องถิ่น ท่ีจะพึงมีในเขตเลือกตั้งน้ัน หรือในกรณีท่ีมีผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นเท่ากับ หรอื น้อยกวา่ จํานวนสมาชิกสภาท้องถิ่นที่จะพึงมีในเขตเลือกต้ังน้ัน ผู้สมัครรับเลือกตั้งจะได้รับเลือกตั้งต่อเมื่อได้รับ คะแนนเสียง เลือกต้ังไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของจํานวนผู้มีสิทธิเลือกต้ังในเขต เลือกต้งั นั้น และมากกว่าคะแนนเสียงทไ่ี มเ่ ลอื กผู้ใด ระเบยี บคณะกรรมการการเลือกต้งั ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภา ทอ้ งถ่ินหรือผู้บริหารท้องถนิ่ พ.ศ. 2562 ข้อ 206 ใหผ้ ู้อาํ นวยการการเลือกตั้งประจําจังหวัดประกาศ ให้มีการเลือกตั้งใหม่และ ดําเนินการให้มีการรับสมัครเลือกตั้งใหม่ ในเขตเลอื กตั้งใด เม่อื มกี รณีดงั ต่อไปน้ี (2) กรณีผู้สมัครได้รับคะแนนเสียงเลือกตั้งน้อยกว่าร้อยละ สิบของจํานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกต้ังน้ัน หรือไม่มากกว่า คะแนนเสียง ที่ไม่เลือกผู้ใดตามมาตรา 111 แห่งพระราชบัญญัติ การเลือกตงั้ สมาชกิ สภาทอ้ งถน่ิ หรือผบู้ รหิ ารท้องถ่นิ พ.ศ. 2562 บทสรปุ การได้มาซึ่งอํานาจทางการเมือง โดยผู้มอบอํานาจให้คือ ประชาชน สร้างกลยุทธ์ต่างๆ ให้ได้มาซ่ึงอํานาจน้ัน รวมท้ังต้องมี การศึกษาวิเคราะห์คู่แข่งในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะด้านความสัมพันธ์ ด้านเครือญาติ การเจรจาต่อรองในทางการเมืองถือเป็นเร่ืองปกติ เนื่องจากเป็นการหากลไกลวิธีเพื่อให้ตนเองมีข้อได้เปรียบในการลง แข่งขนั
[52] 1. การวิเคราะห์ทรัพยากรอํานาจ พบว่า มีปัจจัยสําคัญซ่ึง เป็นตัวกําหนดการมี อํานาจทางการเมือง ได้แก่ การได้รับการ สนับสนุนจากกลุ่มเครือข่ายและองค์กร กลุ่มนัก ธุรกิจ กลุ่ม ข้าราชการ กลุ่มผู้นําชุมชน และกลุ่ม นักการเมืองระดับประเทศ โดยการเลือกต้ังแต่ละ คร้ังผู้สมัครรับเลือกตั้งแต่ละคนจะใช้ ทรัพยากร ทางการเมืองท่ีตนมี เช่น ทรัพยากรทางการเงิน การมี ช่ือเสียง มีวุฒิการศึกษา มีความเคารพศรัทธาและมีความน่าเช่ือถือ ในพื้นท่มี ีวงศ์ตระกูลดั้งเดิม มีเครือญาติพี่น้องมาก มีกลุ่มเพ่ือนสนิท และเกิดการยอมรับจากบุคคลอื่น โดยวิธีการท่ีนํามาใช้ในการสร้าง ฐานอํานาจทาง การเมือง มีทั้งที่ถูกต้องตามกฎหมายและผิด กฎหมาย ลักษณะดังกลา่ ว เกดิ ข้นึ และกลายเป็น วงจรทางการเมือง ทอ้ งถิน่ มาจนถงึ ปจั จบุ ัน ดังนี้ 1.1) เงื่อนไขด้านกลุ่มเครือญาติ กลุ่มเครือญาติ เป็น องค์ประกอบท่ีสําคัญยิ่งของการสร้าง รากฐานทางการเมืองให้แก่ นักการเมืองท้ังระดับชาติและระดับท้องถ่ิน หากผู้สมัครเลือกตั้ง กลุ่มใดท่ีมีเครือญาติจะมีความชื่อสัตย์ เท่ียงตรง ไม่มีการ แปรเปลี่ยน ช่วยสนับสนุนและส่งเสริมท้ัง แรงกายแรงใจในการ เชื่อมสัมพันธ์กับกลุ่ม ชาวบ้าน หากญาติพี่น้องเป็นผู้ท่ีกว้างขวาง เปน็ ผู้ ทม่ี อี าํ นาจหรอื บารมีในพ้ืนที่ ยิ่งสามารถเข้าไป ช่วยสนับสนุน และเป็นฐานเสียงได้อย่างง่ายดาย โดยอาศัยระบบอุปถัมภ์ภายใน ครอบครัว ซ่ึงกลุ่ม เครือญาติที่มีฐานเสียงสําคัญประกอบไปด้วย ปู่ ย่า ตา ยาย ก็จะช่วยสนับสนุนในฐานะท่ีตนเป็นผู้ ที่มีความเป็นผู้ อาวุโส การบอกกล่าวและส่งเสริม สนับสนุนเงินทุนในการลงสมัคร และเข้าถึง เครือข่ายได้ดี เนื่องจากว่า ปู่ ย่า ตา ยาย บางคนอดีต เคยรับตําแหน่งทางการเมืองหรือเป็นคนที่มีหน้ามีตาในแวดวงของ ท้องถนิ่ ทั้งยังเคยสร้าง ผลงานหรือช่วยเหลือสังคมไว้มาก ประชาชน
[53] ให้ความเคารพและศรัทธา ส่วน พ่อ แม่ ลุง ป้า น้า อา สามี ภรรยา ลูก หลาน เหลน ก็จะช่วยสนับสนุนให้การช่วยเหลือในการหา เครือข่ายท่ีตนรู้จักและคุ้นเคยเข้ามาสนับสนุน หรือใครมีเงินทุนก็ หยิบยืมมาก่อน และอาศัยการเข้าไปพุดคุยกับชาวบ้านและร่วม บริจาคเงินให้กับมูลนิธิ หรือในกิจกรรมของชาวบ้าน เช่น ร่วม บริจาคเงิน งานทอดกฐิน บริจาคเงินในงานบุญงานกุศลใน ชุมชน เป็นต้น ส่วนกลุ่มที่สนับสนุนและมีความ แปรเปลี่ยน มุ่งหวัง ผลประโยชนใ์ นทกุ ด้าน เช่น กลมุ่ กํานัน ผใู้ หญ่บา้ น กลุ่ม อสม. กลุ่ม อดีต นักการเมืองเดิม โดยลักษณะทั่วไป กลุ่มเหล่าน้ี จะรับเอา ผลประโยชน์มาทุกหวั คะแนน เพ่ือจะ ไปแจกให้กับชาวบ้าน เพื่อจะ เป็นตัวแทนให้แจก เงิน มีแบบฟอร์มคนที่จะรับผิดชอบแต่ละ ครวั เรอื น มุง่ ผลประโยชน์มากที่สุด สังคมชนบท หรือชาวบ้านจะให้ ความเคารพ เกรงใจเครอื ญาติ วงษ์ตระกลู หรือญาติ 1.2) เงื่อนไขด้านการมีอํานาจทาง เศรษฐกิจหรือเงินทุน กลุ่มเงินทุน ที่เข้ามามีส่วน สําคัญในการช่วยสนับสนุนฐานเสียง ให้กับ นักการเมืองท้องถิ่น กลุ่ม นายทุนบางคนมีความคาดหวังที่ จะหวัง ผลประโยชน์ทาง ตําแหน่งทางการเมือง เพราะ กลุ่มเหล่านี้ จะประกอบธุรกิจเป็นส่วนใหญ่มีทุน ทรัพย์ในการสนับสนุน นักการเมือง โดยอาศัย ความเป็นผู้บริหารหรือนายจ้างเข้ามา แทรกแซง และหากมีการว่าจ้าง กลุ่มนี้ก็จะเข้ามาประมูล และ ผูกขาดทางธุรกิจ เพ่ือมุ่งหวังผลประโยชน์กับ นักการเมืองท้องถ่ิน และยังมีกลุ่มผู้ประกอบการ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ อาทิเช่น ร้านค้าโชห่ว ย บริษัทห้างสรรพสินค้า โรงงาน อุตสาหกรรม เป็นต้น กลุ่มเหล่าน้ี จะเข้ามา สนับสนุนท้ังด้าน เงินทุนและสิ่งของ ในการ สนับสนุนด้านเงินทุนอาจจะช่วย สนับสนุนเงินทุน ในลักษณะของการลงพ้ืนท่ีช่วยหาเสียงหรือ
[54] อาจจะชว่ ยสนับสนุนในลกั ษณะมอบส่ิงของให้กับ นักการเมือง อาทิ เช่น นํ้าด่ืม เจ้าภาพเร่ืองของ อาหาร เป็นต้น ดังนั้น การมีอํานาจ ทางเศรษฐกิจ หรือเงินทุนของผู้นําทางการเมือง ท่ีจะมีอํานาจ เหนือผู้อ่ืนน้ัน เป็นเง่ือนไขหนึ่งที่มีความจําเป็น นอกจากนี้ การได้ อํานาจทางการเมืองหรือการได้ ดํารงตําแหน่งน้ัน มีกระบวนการ นําเสนอให้ ประชาชนไว้วางใจหรือ ประชาสัมพันธ์แนวความคิด หรือนโยบายของตนให้ แก่ ประชาชนได้รับทราบ ล้วนมีค่าใช้จ่าย หรือค่า ดําเนินการ ท่ีผู้นําทางการเมือง ไม่สามารถเบิกได้ ตาม ระเบียบของราชการ จําเป็นที่ผู้นําจะต้องมี ความพร้อมทาง เศรษฐกิจ ในระดับท่ีจะดูแล ประชาชนได้ และมีความพร้อมที่จะ สนับสนุนหรือขับเคล่ือนกระบวนการทํางานตามหน้าที่ของ ตนให้ ราบรืน่ ตลอดจนการคาํ นึงถึงความไว้วางใจ จากประชาชนในการลง สมคั รรบั เลือกต้ังในสมยั ต่อไปดว้ ย 1.3) เงื่อนไขด้านกลุ่มอาชีพที่สนับสนุน กลุ่มอาชีพท่ี สนับสนุนการสร้างฐานทางการเมือง ได้แก่ กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มสตรี กลุ่มผู้พิการ กลุ่ม ผู้ด้อยโอกาส กลุ่มผู้ประสบภัย กลุ่มผู้ใช้แรงงาน กลุ่มขา้ ราชการและลูกจ้างประจําหน่วยงานของ รัฐ กลุ่มประชาชน ทั่วไป กลุ่มเด็กและเยาวชน ซึ่ง กลุ่มอาชีพ โดยนักการเมืองได้รับ การสนับสนุนจากกลุ่มอาชีพที่สนับสนุน ท้ังกลุ่ม อาชีพทั่วไป กลุ่ม ธรุ กิจการเมอื ง กลมุ่ โรงงาน อุตสาหกรรม กลุ่มสมาคมท่ีจดทะเบียน ถูกต้อง ตามกฎหมาย และไม่ถูกต้องตามกฎหมาย นักการเมือง ท้องถิ่นบางกลุ่มเกิดจากการเป็น ตัวแทนของกลุ่มอาชีพ เพ่ือ ผลักดันกิจกรรม โครงการ เพื่อให้กลุ่มอาชีพของตนและพรรคพวก ได้รับผลประโยชน์ต่างตอบแทน ดังนั้น กลุ่ม อาชีพที่สนับสนุน นักการเมือง ต้องเชื่อมโยง เครือข่ายกว้างขวางในการสร้างฐาน อํานาจทาง การเมือง เพราะต้องเข้าไปทําความคุ้นเคย ช่วยเหลือ
[55] เก้ือกูล บริจาคทุนทรัพย์ในด้าน กิจกรรมแก่ชุมชนทั้งทางตรงและ ทางอ้อม ที่ สามารถเอ้ือประโยชน์ให้แก่กลุ่มอาชีพหรือกลุ่ม เครือข่ายองค์กรต่าง ๆ ได้ เช่น สนับสนุน โครงการโอท็อป การจัด กิจกรรมในชุมชน งาน แข่งขันกีฬาในพื้นท่ี เป็นต้น ผู้นําทาง การเมือง บางคนเป็นผู้ท่ีมีธุรกิจหรือมีหน้าท่ีการงานมาจาก การ ประกอบธุรกิจท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนา สาธารณูปโภค หรือเป็น อดีตข้าราชการในสังกัด ต่าง ๆ มาก่อน ซึ่งกลุ่มอาชีพดังกล่าว จะมี เครือข่ายความร่วมมือหลากหลาย ซึ่งสามารถนํามาใช้ในการสร้าง ฐานอํานาจทางการเมืองได้ ในอนาคตได้ 1.4) เงื่อนไขด้านการมีบุคลิกลักษณะ พิเศษ นักการเมือง ท้องถิ่นบางคนท่ีมีทรัพยากร อํานาจเหนือกว่าคนอื่นน้ัน เป็นผู้ท่ีมี คุณลักษณะ พิเศษ เช่น เป็นคนที่มีความประนีประนอม อ่อน น้อม ถ่อมตน มีไหวพริบ ปฏิภาณ เฉลียวฉลาด พูดจํา ไพเราะ เข้าถึง ประชาชน โน้มน้าว ประชาชน พูดจริงทําจริง และสามารถประสาน กับกลุ่มเครือข่ายหรือกลุ่มองค์กรในพื้นท่ีได้อย่างสมดุล มีเครือข่าย นักการเมืองหรือกลุ่ม ผลประโยชน์ทางการเมืองท่ีกว้างขวาง สามารถ ดึงงบประมาณให้เข้ามาพัฒนาชุมชนได้มากท่ีสุด เพ่ือให้ เกิดประโยชนแ์ ก่ประชาชนของตนเองเป็น สําคัญ สร้างความศรัทธา ให้เกิดขน้ึ แกป่ ระชาชน ในพน้ื ที่ มีความเช่อื มน่ั ศรทั ธาตอ่ คนรอบข้าง ศรัทธาในความสามารถและความพยายามของ มนุษย์ ศรัทธาต่อ เป้าหมายท่ี กําลังทําอยู่ มีพลัง กายและพลังประสาทที่เข้มแข็ง รู้ จุดมุ่งหมาย และหนทางท่ีจะนําองค์กรให้ได้รับการพัฒนา มีความ กระตือรือร้น มีความช่ือสัตย์สุจริต กล้าตัดสินใจ มีสติปัญญาและ รอบรู้ มคี วามศรัทธา และความเชอ่ื มนั่ 1.5) เงื่อนไขด้านความรู้ความสามารถและ ความสําเร็จ ต้องมีคุณสมบัติที่พิเศษกว่าคนอื่น เช่น มีบุคลิกภาพ การวางตัวที่
[56] เหมาะสม มีศิลปะ ในการแสดงออกที่น่าเคารพ มีความอ่อนน้อม ถ่อมตน ไม่แสดงท่าทีถือตัวถือตน การพูดจา ไพเราะ ไม่คุยโอ้อวด มีนํ้าใจ มีความเสียสละ ไม่ เห็นแก่ตัว รับทราบเข้าใจในการทํางาน ร่วมกบั ผู้อ่ืนการปรับตัวกับผู้คน นักการเมืองควรทําตัวเป็นกลางกับ ประชาชนทุกส่วน การมีมนุษย์สัมพันธ์ การให้เกียรติซ่ึงกัน การมี ธุรกิจการงาน ท่ีใหญ่โต มียศหรือตําแหน่งที่ประชาชนเกิดการ ยอมรับ มีความรู้ มีความจริงใจ พูดจริงทําจริง มี ความชัดเจน เสียสละ มีวิสัยทัศน์กว้างไกล ยึด มั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรม มุ่งผลประโยชน์ ส่วนรวมมาก่อนส่วนตัว แก้ไขปัญหาเร่ืองปากเรื่อง ทอ้ งแกป่ ระชาชนได้ดีทส่ี ุด 2. การสร้างเครือข่ายและการจัดองค์กร ทางการเมือง ท้องถ่นิ ท่ีมีผลต่อการสร้างฐาน อํานาจของผู้นําทางการเมืองท้องถิ่น กระบวนการสร้างเครือข่ายและการจัด องค์กรทางการเมืองท้องถิ่น น้ัน ประกอบไปดว้ ย กลุ่มต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 2.1) กลุ่มเครือญาติหรือญาติพี่น้อง เป็นกลุ่ มที่มี ความสําคัญอย่างย่ิง ต่อการสร้างฐาน อํานาจทางการเมือง ซ่ึงกลุ่ม เครือญาติจะมีความ ช่ือสัตย์ เที่ยงตรง ไม่มีการแปรเปล่ียน ช่วย สนับสนุนและส่งเสริมทั้งแรงกายแรงใจในการเชื่อมสัมพันธ์กับกลุ่ม ชาวบ้าน หากญาติพ่ีน้อง เป็นผู้ที่กว้างขวางเป็นผู้ที่มีอํานาจหรือ บารมใี น พนื้ ที่ ยิ่งสามารถเข้าไปช่วยสนับสนุนและเป็น ฐานเสียงได้ อย่างง่ายดาย โดยอาศัยระบบ อุปถัมภ์ภายในครอบครัว ซึ่งกลุ่ม เครอื ญาติทีม่ ี ฐานเสียงสาํ คัญและใหก้ ารสนบั สนนุ ไดแ้ ก่ 2.1.1) ปู่ ยา่ ตา ยาย ก็จะช่วยสนบั สนุนในฐานะท่ีตนเป็นผู้ ท่ีมีความเป็นผู้อาวุโส การบอกกล่าวและส่งเสริม สนับสนุนเงินทุน ในการลงสมคั รในทกุ ดา้ น
[57] 2.1.2) พ่อ แม่ ให้การช่วยเหลือในการหาคะแนนเสียงจาก กลุ่มเพ่ือนหรือเครือขายต่างๆโดยอาศัยเพ่ือนผู้ที่ มีอิทธิพลหรือผู้มี อํานาจให้การช่วยเหลือ อีกทั้ง ยังบอกกล่าวกับผู้คนท่ัวไปให้มา สนับสนนุ ญาติ ของตนเอง 2.1.3) พี่นอ้ ง ลุง ปา้ น้า อา ช่วย สนับสนุนในเร่ืองของการ ประชาสัมพันธ์ และการ ระดมทรัพย์สินหรือเงินทุน โดยการอาศัย ความคุ้นเคย พบปะหรือพุดคุยกับประชาชนใน พ้ืนท่ี (เพ่ือให้ ประชาชนมาเลือกญาติพี่น้องของตนเอง) หรือบางคราวอาจจะเป็น ตัวแทนในการ บริจาคส่ิงของให้กับชุมชน อาทิเช่น บริจาคเงิน ให้ มูลนิธิหรือองค์กรต่าง ๆ ร่วมทําบุญงาน ทอดกฐิน หรือร่วมบริจาค ในงานกจิ กรรมของ ชมุ ชน 2.1.4) สามี ภรรยา ลูก หลาน เหลน เป็น กลุ่มฐานเสียง สนับสนุนที่ตายตัว เพราะใช้ ความสัมพันธ์ในฐานะพ่อ หรือสามี เพ่อื สนับสนนุ ตนเอง 2.1.5) เพื่อน คนรู้จักสนิทสนม มีความ ผูกพันในลักษณะ ของกลุ่มเครือข่ายของเพ่อื น ต่างๆในสมยั ประถม มัธยม อุดมศึกษา หรือ สาขาอาชีพ ซ่ึงหากเข้ามาช่วยสนับสนุน เม่ือหาก ญาติพี่น้อง ได้เป็นนักการเมืองแล้ว จะให้คําม่ัน สัญญาที่จะฝากตัวให้กับลูก หลาน ได้ รับ ข้าราชการ ให้ได้มตี ําแหน่งหน้าท่ีการงานใน ตําแหน่ง ต่าง ๆ หรอื ช่วยฝากเขา้ สถานศึกษา 2. กลมุ่ นักธุรกิจ ประกอบไปด้วยกลุ่มบริษัทห้างสรรพสินค้า กิจการโรงแรม กิจการโรงงาน กิจการจําหนา่ ยรถยนต์ กิจการอสังหาริมทรัพย์ กลุ่ม ผู้รับเหมาก่อสร้าง กิจการ ร้านอาหาร เป็นกลุ่มที่สนับสนุนด้าน เงินทุน ด้านผลประโยชน์ร่วมกันในด้านรูปแบบของภาษี การ ประมูลโครงการจัดช้ือจัดจ้าง หรืออาจจะ สนับสนุนในด้านการเป็น
[58] เจ้าภาพในเร่ืองอาหาร เคร่ืองดื่มหรือสิ่งของ เพ่ือช่วยในการ สนับสนุน โครงการของกลุ่มเครือข่ายของนักการเมืองที่ เก่ียวข้อง ท้งั ที่เปิดเผยและไม่สามารถระบุตัวตนได้ แต่ทุกคนสามารถรู้ชัดเจน ได้ว่ากลุ่มไหน สนับสนุนโดยเฉพาะอย่างย่ิงกลุ่ม ผู้รับเหมาก่อสร้าง จะมีอิทธิพลต่อการสร้างฐานอํานาจให้กับนักการเมืองท้องถ่ินและ นักการเมือง ระดับประเทศ กลุ่มนี้สามารถเข้าไปมีบทบาท และมี ส่วนสร้างฐานอํานาจทางการเมืองท้องถิ่น มาทุกยุคสมัย เพราะว่า นักการเมืองส่วนใหญ่ เติบโตมาจากการเป็นเจ้าของธุรกิจ หรือเข้า ไปมีส่วนร่วมในการฮั๊วประมูลโครงการหรืองานก่อสร้างต่าง ๆ ที่ ท้องถิ่นดําเนินการ การท่ีกลุ่มเงินทุน หรือกลุ่มนักธุรกิจ เข้ามา มี ส่ ว น สํ า คั ญ ใ น ก า ร ช่ ว ย ส นั บ ส นุ น ฐ า น เ สี ย ง ใ ห้ กับ นั ก ก า ร เ มื อ ง ท้องถน่ิ นน้ั เนอื่ งจากวา่ กลุ่มนายทุนบางคนมีความคาดหวังท่ีจะหวัง ผลประโยชน์ทางตําแหน่ง ทางการเมอื ง เช่น สมาชิกองค์การบริหาร ส่วน จังหวัด สมาชิกเทศบาล และสมาชิกองค์กร ปกครองส่วน ท้องถ่นิ กล่มุ เหล่านี้ จะประกอบธุรกิจเป็นสว่ นตัว มที นุ ทรัพย์ในการ สนับสนุน นักการเมือง โดยอาศัยความเป็นผู้บริหารหรือ นายจ้าง เข้ามาแทรกแซง 3. กล่มุ ผนู้ าํ ชมุ ชน กลุ่มผู้นําถือว่ามี บทบาทสําคัญอีกกลุ่มหน่ึงท่ีจะประสาน หรือเป็น เครือข่ายให้กับผู้สมัครเลือกตั้งอาจจะด้วยการช่ืน ชอบ หรอื สนิทชดิ เช้อื เป็นญาตพิ น่ี ้อง กลุม่ ผ้นู ํา เหล่าซึ่งมีสมาชิกเป็นของ ตนเอง หรือมีพรรคพวก ของตนก็อาจใช้วิธีการใช้ตําแหน่งหน้าท่ี หรือ อํานาจมาเป็นเคร่ืองมือในการจูงใจ บังคับหรือ โน้มน้าวจิตใจ เพอื่ ใหป้ ระชาชนไปเลอื กตัง้ กลมุ่ ผู้นาํ ท่สี าํ คญั ได้แก่ 3.1) กลุ่มกํานัน เป็นกลุ่มที่มี อํานาจในเขตการปกครอง ของตน สามารถ ชว่ ยเหลอื ในการสร้างฐานเสียงหรือกลุ่มของตน ได้
[59] โดยใช้พลงั อาํ นาจของตนท่ีมีมาต่อรองหรือ การมีลูกน้องท่ีเคยได้รับ การช่วยเหลอื ก็จะเป็น ฐานเสียงสนบั สนนุ ได้ 3.2) ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วย ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการประจํา หมู่บ้าน สอบต. ประธานชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) มี ฐานเสียงของตนแต่เดิมในการเลือกตั้ง ผู้ใหญ่บ้าน กลุ่มผู้ใหญ่บ้านก็ มีเครอื ญาติ และ เครอื ข่ายของตน หากมีผลประโยชนร์ ่วมกันและ มี ปัจจัยเข้ามาส่งเสริมก็จะช่วยเป็นฐานเสียงในการสนับสนุนหรือ บางคร้ังก็จะเข้าไปสนับสนุน เพื่อหวังตําแหน่งรองนายกหรือเลขา นายกหรือการเมือง เช่น เจ้าของธุรกิจ บริษัทห้างร้าน โรงแรม โรงงาน การสร้างอสังหาริมทรัพย์ หรือ การปล่อยเงินกู้นอกระบบ การค้าขายส่ิงผิด กฎหมาย เช่น บุรี่เถื่อน นํ้ามันเถื่อน ค้ามนุษย์ ลัก รอบค้าไม้เถื่อน ของหนีภาษีทุกประเภท เป็น ต้น กลุ่มน้ีจะ ครอบคลมุ พนื้ ทแี่ ละมบี ทบาททาง การเมืองอย่างมากประชาชนก็จะ เคารพและให้ ความเกรงกลัวและเกรงใจในกลุ่มอิทธิพลเหล่านี้ 3.3) กลุ่มข้าราชการ ประกอบด้วย ข้าราชการประจํา ข้าราชการเมือง ทหาร ตํารวจ ครู เป็นกลุ่มข้าราชการท่ีเก่ียวข้อง ถึงการมุ่งหวังผลประโยชน์ทางยศตําแหน่ง การโยกย้าย หรือการ เล่ือนตําแหน่ง กลุ่มเหล่าน้ี จะเข้าไปแสดง เจตนาในการร่วมลงทุน ด้านธุรกิจ ท้ังทางตรง และทางอ้อม ข้าราชการบางคนอาจจะไม่ สามารถเข้าถึงกลุ่มนายใหญ่ได้ จึงจําเป็นที่ จะต้องเข้าไปเกาะ เก่ียวกับกลุ่มนักการเมือง ท้องถิ่น เพ่ือที่จะให้ช่วยเหลือในเร่ืองของ การเลอ่ื นตาํ แหน่งหรือโยกยา้ ยตําแหน่ง เมอื่ ไดเ้ ลื่อน หรอื ได้โยกย้าย ตําแหน่งแล้ว บางคราวอาจจะ ช่วยสนับสนุนด้านการเงิน หรือเพ่ือ ชว่ ยแกไ้ ข ปญั หาด้านคดคี วามหรอื ปัญหาต่าง ๆ
[60] เอกสารอา้ งองิ - สาระน่ารู้ เกย่ี วกับการเลือกตงั้ ท้องถนิ่ ,สํานักงานคณะกรรมการ การเลือกตัง้ พฤษภาคม 2562 - เว็บไซต์ องค์การบรหิ ารสว่ นตาํ บลหนองแกว้ (อบต.หนองแกว้ ) อําเภอหัวตะพาน จังหวดั อํานาจเจรญิ - บทสมั ภาษณ์ของ นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตาํ บลหนองแก้ว อาํ เภอหวั ตะพาน จงั หวดั อํานาจเจรญิ
[61] แนวการศกึ ษาระบบ (System Approach) บทวเิ คราะห์วา่ ด้วยการบรหิ ารจดั การในการพัฒนาท้องถิน่ ระดับตาบล กรณศี ึกษาตาบลคาพระ (กลุ่มแมบ่ ้านคาพระ) ตนิ ันท์ สุวรรณกฏู , สิรยิ าภรณ์ สมี ่วง, ธนศักด์ ศริ มิ ณี และ รชานนท์ แกว้ ตา บทนา แนวคิดเชิงระบบ (System approach) เป็นกรอบแนวคิด สําคัญที่ใช้ในการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง ในด้านท่ีเก่ียวข้องกับองค์การ เทคนิคต่างๆ ในการบริหารภาครัฐ ตลอดจนการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ แม้ว่าแนวคิด เชงิ ระบบจะเป็นแนวคิดท่ีเกิดข้ึนมานานแล้ว แต่ยังคงมีบทบาทและ ความสําคัญในฐานะแนวคิดในการออกแบบเครื่องมือเพ่ือการ บริหาร ในปัจจุบัน แสดงให้เห็นถึงความน่าสนใจและคุณค่าใน การศึกษา ตลอดจนทําความเข้าใจฐานความคิดเชิงปรัชญาของ แนวคิดเชิงระบบอยา่ งลกึ ซึ้ง ในทางรัฐประศาสนศาสตร์ แนวคิดเชิงระบบได้ถูกนํามาใช้ ในการศึกษาองค์การ องค์การก็มี ลักษณะเช่นเดียวกับส่ิงมีชีวิต ซึ่ง เปน็ สังคมทปี่ ระกอบไปด้วยองค์ประกอบต่างๆท่ีมีหน้าที่แตกต่างกัน ไป เช่น แผนกบุคคล แผนกการเงิน แผนกพัสดุ แผนกท่ีปฏิบัติ หนา้ ทหี่ ลกั ขององค์กร เป็นต้น ซึ่งแต่ ละแผนกต้องทําหน้าท่ีให้สอด ประสานกัน องค์กรจึงจะดํารงอยู่ได้ ด้วยเหตุน้ีองค์การจึง ประกอบด้วย ตรรกะเชิงระบบที่สามารถอธิบายได้ในเชิงประจักษ์ (Empirical) เช่นเดียวกับระบบของส่ิงมีชีวิตนอกจากน้ี แนวคิดเชิง ระบบยังถูกนํามาใช้ในฐานะเทคนิคในการบริหารด้วย เช่น เทคนิค
[62] การ บริหารโครงการอย่างเป็นระบบ อาศัยการจัดลําดับงาน (Scheduling Project Work) โดยอาศัย เทคนิค Critical Path Methods (CPM) เพื่อจัดลําดับและควบคุมการทํางาน โดยใช้ หลักการของ ค่าท่ีแน่นอน หรือกลยุทธ์การบริหาร Balanced Scorecard ซ่ึงเป็นระบบการบริหารงานและ ประเมินผลท่ัวทั้ง องค์กร ตลอดจนกําหนดวิสัยทัศน์ (vision) และแผนกลยุทธ์ (strategic plan) แล้ว แปลผลลงไปสู่ทุกจุดขององค์กรเพื่อใช้เป็น แนวทางในการดาํ เนนิ งานของแตล่ ะฝ่ายงานและแตล่ ะคน สาระสําคัญของแนวคิดเชิงระบบ โดยท่ัวไป “ระบบ” หมายถึง ชุดขององค์ประกอบท่ีสัมพันธ์กันทางใดทางหน่ึง เม่ือ เปลี่ยนแปลงหรือเคลื่อนย้ายองค์ประกอบหน่ึงองค์ประกอบใด ออกไป จะสง่ ผลกระทบทําให้เกิดความ แตกต่างขึ้นในองค์ประกอบ อื่นๆ กล่าวคือ ทําให้องค์ประกอบท่ีเหลือไม่สามารถทําหน้าท่ี เหมือนเดิม ได้ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบที่เกิดขึ้นภายใน ระบบถูกกําหนดโดยหน้าท่ีเฉพาะของแต่ละ องค์ประกอบ หน้าที่ ทั้งหมดของระบบจึงขน้ึ อยู่กับการท างานอย่างสอดประสานกันของ องค์ประกอบ ภายในระบบ ความล้มเหลวในการปฏิบัติหน้าท่ีของ องค์ประกอบหน่ึงองค์ประกอบใดภายในระบบ จะส่งผลกระทบต่อ หน้าที่ท้ังหมดของระบบ (Strickland, et.al., 1979 อ้างถึงใน สมบัติ ธํารงธัญวงศ์, 2547) ดังนั้น การดํารงอยู่ของระบบจึงขึ้นอยู่ กับการทําหน้าท่ีอย่างสอดประสานกันของแต่ละ องค์ประกอบ ซึ่ง หมายความถึงโครงสร้างของระบบ นอกจากนี้ในระบบหน่ึงยังมีเขต แดนกั้นระหว่าง ตัวระบบกับสภาพแวดล้อม อย่างไรก็ตาม ระบบ กับสภาพแวดล้อมยังคงมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันอยู่เสมอ ระบบอาจ เปรียบเทียบให้เห็นเป็นรูปธรรมได้จากระบบของสิ่งมีชีวิต อาทิ
[63] ระบบของร่างกาย ในร่างกายของมนุษย์ประกอบไปด้วยอวัยวะ มากมาย เชน่ สมอง หัวใจ ปอด ตับ กระเพาะ ลําไส้ กล้ามเน้ือ เป็น ต้น อวัยวะต่างๆแต่ละชนิดต่างมีหน้าที่ของตนเอง และต่างกระทํา หน้าที่ของตนเอง เพื่อใหร้ ะบบรา่ งกายดาํ รงอยู่ได้ ซ่ึงหมายถึงชีวิตของมนุษย์ หัวใจของทฤษฎีระบบอยู่ที่การ มองสังคม ว่าเป็นระบบ (Social system) ที่มีความสัมพันธ์เก่ียวข้อง กับระหว่างระบบใหญ่กับระบบย่อยคล้าย สิ่งมีชีวิต กล่าวคือ มอง ระบบในฐานะส่ิงมีชีวิต (Easton,1965b) คล้ายกับระบบร่างกายในทาง ชีววิทยา (System as organic entity) ดังน้ัน การดํารงอยู่ของระบบ จึงข้ึนกับการทําหน้าที่อย่าง สอดประสานของแต่ละองค์ประกอบ หาก องคป์ ระกอบใดทาํ หน้าที่ของตนเอง อาจส่งผล กระทบต่อการทําหน้าท่ี ขององค์ประกอบอื่นๆด้วย ในทางรัฐประศาสนศาสตร์ แนวคิดเชิง ระบบได้ถูกนํามาใช้ในการศึกษาองค์การ องค์การก็มี ลักษณะ เช่นเดยี วกบั สงิ่ มชี วี ติ ซ่ึงเปน็ สังคมท่ีประกอบไปด้วยองค์ประกอบต่างๆ ที่มีหน้าท่ีแตกต่างกัน ไป เช่น แผนกบุคคล แผนกการเงิน แผนกพัสดุ แผนกที่ปฏิบัติหน้าท่ีหลักขององค์กร เป็นต้น ซึ่งแต่ ละแผนกต้องทํา หน้าที่ให้สอดประสานกัน องค์กรจึงจะดํารงอยู่ได้ ด้วยเหตุนี้องค์การ จึงประกอบด้วย ตรรกะเชิงระบบที่สามารถอธิบายได้ในเชิงประจักษ์ (Empirical) เช่นเดียวกบั ระบบของสิ่งมชี วี ติ การวิเคราะหป์ รากฏการณ์ตามแนวคิดเชิงระบบ แนวคิดเชิงระบบถูกนํามาใช้ในการศึกษารัฐประศาสน ศาสตร์เปรยี บเทียบ เน่อื งจากเปน็ อิทธิพลของแนวคิดทางพฤติกรรม ศาสตร์ที่เน้นการแสวงหาหลักการทั่วไปเพื่อใช้อธิบายปรากฏการณ์ ทางการบริหาร หนึ่งในแนวทางการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์
[64] เปรียบเทียบโดยใช้แนวคิดระบบ คือ แนวการวิเคราะห์ระบอบการ ปกครอง ซึ่งให้ความสนใจกับความสมั พนั ธ์ระหวา่ งระบบราชการกับ ระบบการเมือง โดยในงานเขียนช้ินนี้ จะเน้นท่ีการวิเคราะห์ระบบ การเมืองเป็นหลัก การวิเคราะห์แนวระบบ เกิดจากความไม่พอใจ แนวการวิเคราะห์รัฐแนวกฎหมายและสถาบัน เน่ืองจากมุ่งอธิบาย เพียงภาพของการเมืองในส่วนที่เป็นทางการ และมีแนวโน้มที่จะยึด ติดกับรูปแบบ การเมืองการปกครองของตะวันตก ซึ่งไม่สามารถ นํามาอธิบายการเมืองในประเทศกําลังพัฒนา ซึ่งเพ่ิง จะเริ่มมี ลักษณะเป็นรัฐชาติ (Nation state) ได้ การวิเคราะห์ปรากฏการณ์ โดยใช้ทฤษฎีระบบ พยายามสร้างทฤษฏีในระดับมหาภาค (Macro level analysis) เพื่อมาวิเคราะห์และอธิบาย ปรากฏการณ์ในท่ี ตา่ งๆทั่วโลกได้ Easton (1965a) เป็นนักรัฐศาสตร์ ท่านแรกท่ีนําความคิดเชิงระบบมา เป็นกรอบในการวิเคราะห์การเมือง Easton พยายามสร้างทฤษฏีที่เป็น ระบบและใช้ได้ท่ัวไป ไม่จํากัดเวลา และสถานที่ซ่ึงทฤษฎีดังกล่าวจะทํา ให้เข้าใจการเมืองท้ังระบบ และ คํานึงถึงสภาพแวดล้อมต่างๆท่ีอยู่ รอ บ ๆ ระ บ บ กา ร เ มือ ง ด้ ว ย ซ่ึ ง หมายถึงระบบสังคมที่ใกล้ตัวระบบการเมืองน่ันเอง Easton ได้ แสดงให้เห็นถึงทฤษฎดี งั กลา่ วผ่านทางภาพจาํ ลองระบบการเมือง
[65] ทฤษฎีระบบมีฐานคติสําคัญว่า การเมืองดํารงอยู่อย่างเป็น ระบบเสมือนชีวติ การเมือง (Political life) กล่าวคอื ระบบการเมือง (Political system) ประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆ ทั้ง องค์ประกอบภายใน อันได้แก่ สถาบันการเมืองต่างๆ และ สิ่งแวดล้อม ซ่ึงเป็นองค์ประกอบภายนอกที่ มีอิทธิพลต่อการท า งานของระบบการเมือง อันได้แก่ระบบสังคมที่อยู่ใกล้หรือล้อมรอบ ระบบการเมือง Easton พยายามอธิบายให้เห็นว่าปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่างกิจกรรมทางการเมือง (Political activities) กับสภาพแวดล้อม (Environment) มีลักษณะเป็นระบบพลวัตร (Dynamic system) มีการเคล่ือนไหวอยู่เสมอ ไม่หยุดน่ิงอยู่กับที่ ก่อให้เกิดลักษณะที่เรียกว่า ชีวิตการเมือง (Easton, 1965b) อย่างไรก็ตาม แม้ว่าระบบการเมืองกับสิ่งแวดล้อมจะมีปฏิสัมพันธ์ กัน แต่ก็อาจแบ่งแยก เขตแดน (Boundary) ที่ก้ันแบ่งระหว่าง ระบบการเมอื งกบั สภาพแวดลอ้ มได้ กรอบแนวคิดการวิเคราะห์ ในการวิเคราะห์ระบบการเมืองในฐานะที่เป็นระบบพลวัตร Easton ได้กําหนดฐานคติที่สําคัญเพื่อเป็นกรอบในการวิเคราะห์ 4 ประการได้แก่ 1.ระบบการเมือง (System) คือ ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สถาบันการเมอื งดว้ ยกนั เอง กับปฏิสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการเมือง กับส่ิงแวดล้อม มีลักษณะเป็นพลวัตรและเป็นรูปธรรม สามารถ อธิบายในเชิงประจักษ์ได้ถึงหน้าท่ีเฉพาะของแต่ละองค์ประกอบ และความสัมพันธ์ สอดประสานระหว่างหน้าที่ต่างๆ เพ่ือทําให้ ระบบคงอยไู่ ด้
[66] 2.สิ่งแวดล้อม (Environment) Easton มองว่า ระบบ สามารถแยกตัวจากสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบๆระบบได้ และเปิดรับ อิทธิพลจากสภาพแวดล้อมซ่ึงอาจจําแนกได้เป็นส่ิงแวดล้อมภายใน ระบบ (Intra-Societal Environment) และสิ่งแวดล้อมนอกระบบ (Extra-Societal Environment) 3.การตอบสนอง (Response) คือ ความผันแปรใน โครงสร้างและกระบวนการภายในระบบซึ่งเป็นความพยายามของ สมาชิกในระบบในการที่จะกํากับหรือต้านทานความกดดันท่ีมาจาก สภาพแวดล้อม รวมทง้ั จากภายในระบบเองด้วย 4.ผลกระทบ (Impact) คือ สมรรถนะของระบบในการ ต้านทานความกดดัน เป็นหน้าที่ของระบบข้อมูล (Information) ที่ จะส่งกลับไปส่ผู ูก้ ระทาํ และผตู้ ัดสินใจ แผนภาพ กรอบการวเิ คราะห์
[67] ภายใต้ฐานคติดังกล่าว Easton ได้อธิบายให้เห็น ความสัมพันธ์ระหว่างระบบการเมืองกับสิ่งแวดล้อม ว่าหากสิ่งใด เกิดขึ้นภายในสภาพแวดล้อม จะกลายเป็นปัจจัยย้อนกลับ (Feedback) เข้าสู่ระบบการเมืองในรูปของปัจจัยนําเรียกร้อง (Demand) และการสนับสนุน (Supports) ระบบการเมืองต้องทํา หนา้ ท่ใี นการตัดสนิ ใจ และนําการตัดสินใจไปสู่การออกมาในรูปของ นโยบาย หรอื การตัดสินใจท่อี อกมาจากระบบการเมือง น่ันคือปัจจัย นําออก (Output) หรือผลผลิตของระบบการเมืองซึ่งผลผลิต ดังกล่าวอาจทําให้เกิดผลกระทบ (Outcomes) ท่ีแตกต่างกันไป กลายเปน็ ปัจจัยยอ้ นกลบั (Feedback) กลับเข้าสูร่ ะบบอีกครง้ั ความสัมพันธ์ระหว่างระบบการเมืองกับสิ่งแวดล้อมตาม ทฤษฏรี ะบบทําให้มองเหน็ วา่ ระบบ การเมืองมีลักษณะเป็นวงจรซึ่ง ทํางาน และมีการเคล่ือนไหวตลอดเวลา จากการมีปัจจัยนําเข้าใน รูป ของข้อเรียกร้องและการสนับสนุน จึงมีปัจจัยนําออกหรือ ผลผลิตออกมาเป็นแนวนโยบายหรือ กฎหมาย ซ่ึงมีผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อม หรือระบบสังคม ทําให้เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับท้ังใน ทางบวกและลบกลับเป็นปัจจัยนําเข้าอีกคร้ังหนึ่ง ทําให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง ปรับนโยบายและกฎ ต่อไปเป็นวัฏจักรไม่สิ้นสุด จาก ข้อสรุปดังกล่าว สามารถมองเห็นผ่านภาพจําลองของระบบ การเมืองที่ Easton ได้สรา้ งไว้ดังแสดงในแผนภาพ กรอบความคิดเชิงระบบ หรือ ทฤษฏีระบบ เป็นเคร่ืองมือ สําคัญในการแสวงหาคําตอบว่า ปรากฏการณ์ทางการเมืองท่ีดํารง อยู่ เกิดข้ึนได้อย่างไร และจะดําเนินต่อไปอย่างไร รวมท้ังช่วยให้ สามารถวิเคราะห์ถึงหน้าที่เฉพาะขององค์ประกอบต่างๆในระบบ การเมืองและปฏิสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบเหล่านี้ได้อย่างเป็น รูปธรรม และสามารถชี้ให้เห็นถึงสมรรถนะของระบบการเมืองต่อ
[68] การ ตอบสนองอิทธิพลจากสภาพแวดล้อม ว่ามีมากน้อยเพียงใด ภายใต้เงื่อนไขเวลาและสถานการณ์ท่ี แตกต่างกัน โดยสรุปแล้ว ทฤษฏีระบบเป็นเครื่องมือสําคัญที่จะขยายองค์ความรู้เกี่ยวกับ พฤติกรรม ทางการเมืองท่เี ป็นอยู่ การวเิ คราะหฐ์ านคิดเชิงปรัชญาท่ีอย่เู บอื งหลังแนวคดิ เชงิ ระบบ วิธีการแสวงหาความรู้ของแนวคิดเชิงระบบหรือทฤษฏีระบบ มาจากฐานความเช่ือท่ีว่ามีความจริงแท้ของสรรพส่ิง (Ontology) คือ มีระบบการเมืองอยู่จริง และความจริงแท้เหล่าน้ีต้องมองเห็นและ สัมผัสได้ (Empiricism) โดยแสดงให้เห็นในรูปของภาพจําลองของ ระบบการเมือง ซ่ึงมีองค์ประกอบต่างๆประกอบกันและทําหน้าท่ี ประสานกัน นอกจากน้ียังเช่ือว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ สังคมศาสตร์ไม่แตกต่างกัน (Epistemology)สามารถใช้วิธีการ เดียวกันมาอธิบายได้ คือมองระบบการเมืองมีลักษณะเดียวกันกับ ระบบร่างกาย กล่าวคือ เชื่อใน Unity of Science (Roy, 1998) จึง สามารถใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์มาศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสังคมศาสตร์ได้ในส่วนของวิธีการในการอธิบาย ปรากฏการณ์ทางการเมือง (Methodology) เป็นการอธิบายให้เห็น ภาพกว้างของระบบท้ังหมด กล่าวคือ ทําให้มองเห็นสภาพโครงสร้าง และการดําเนินงานพ้ืนๆของระบบ ซ่ึงสามารถใช้ในการทํานาย (Predict) เหตุการณ์ทางการเมืองได้ไม่ยากนัก เป็นการอธิบาย (Explain) อย่างผิวเผิน ไม่ได้ศึกษาถึงกลไกและโครงสร้าง (Mechanism & Structure) อันซับซ้อนที่อยู่เบื้องหลังปฏิสัมพันธ์ ของระบบการผลิตจริงๆ คือ กลไกของการตัดสินใจทางการเมือง แม้จะมีการกล่าวว่า ระบบมีลักษณะเป็นพลวัตร ไม่หยุดน่ิง เปล่ียนแปลงไดตลอดเวลา แต่หากพิจารณาให้ดีแล้วจะพบว่า Easton
[69] ไม่ได้ระบุรายละเอียดใดๆในการเปล่ียนแปลงน้ันกล่าวเพียงว่าระบบ การเมืองสามารถคงตัวอยู่ได้ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากมีการปรับตัวต่อแรงกดดันจากกสิ่งแวดล้อมท้ังภายในและ ภายนอก การเปล่ียนแปลงดังกล่าวยังคงเป็นการเปล่ียนแปลงภายใต้ การเมืองกระแสเดียว ภายใต้ระบอบการเมืองชนิดเดียว คือ การเมืองที่เป็นระบบแล้ว ซ่ึงท้ายท่ีสุดก็ยังคงผูกติดอยู่กับการ ช้ีให้เห็นความสามารถในการคงสภาพของระบบมากกว่า จึงมี ลักษณะท่ีสอดคล้องกับแนวคิดเชิงปฏิฐานนิยมมากกว่าแนวคิดเชิง สัจนิยม อีกประเด็นหน่ึงคือ ทฤษฎีระบบไม่ได้ให้ความสนใจถึง ปัจจัยเบื้องหลัง เช่น ปัจจัยด้านค่านิยมและวัฒนธรรม เรื่องของ อํานาจและอิทธิพล ซึ่งเข้ามาเก่ียวข้องกับระบบการเมือง จึงทําให้ สอดคลอ้ งกบั แนวคิดเชิงปฏิฐานนิยมมากกว่าแนวคิดเชิงการตีความ ท่จี ะต้องศึกษาเพื่อเข้าใจถึงความหมาย (Understanding) ของการ กระทําตา่ งๆของมนุษย์ กรณีศึกษาตาบลคาพระ อาเภอหัวตะพาน จังหวัดอานาจเจริญ (กลมุ่ แมบ่ ้านคาพระ) ประวัติบอกเล่าต่อกันมาเช่ือได้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกับที่มาตั้ง บ้านหัวตะพาน คือ มาจากหนองบัวลําภู (จังหวัดหนองบัวลําภูใน ปัจจุบัน) โดยอพยพหนีพวกลาวท่ีมารุกราน แต่ก็ยังมีผู้เชื่อว่าน่าจะ เปน็ การหาแหล่งทํามาหากินมากกว่า โดยได้มาจับจองท่ีอุดมสมบูรณ์ และปลอดภัย และยังมีกลุ่มอื่นท่ีมาสมทบจากเสลภูมิ (จังหวัด รอ้ ยเอด็ ) และคนลาวท่ีแสวงหาท่ีทํากิน โดยมาตั้งหมู่บ้านขึ้นที่บริเวณ โนนเมืองเก่า ในปัจจุบัน ซึ่งจากภูมิศาสตร์สภาพทําเลท่ีมีคูนํ้าและคู ด้านท่ีคล้ายกําแพงเมือง จึงเรียกว่าบ้านโพนเมือง ( ซึ่งเดิมข้ึนกับ อําเภอเขมราฐจังหวัดอุบลราชธานี ) ต่อมาแยกต้ังอําเภออํานาจเจริญ
[70] และได้ตั้งตําบลคําพระขึ้น ซ่ึงรวมเอาเขตของบ้านโนนเมืองไว้ด้วย ต่อมามีการขยายพืน้ เมืองต้ังของหมู่บ้านกว้างขึ้น โดยขยายลงมาทางใต้ และตะวันออก ซึ่งเป็นที่ต้ังของบ้านกุดซวย และบ้านคําพระ จนต้ังเป็นตําบลคําพระขึ้น สําหรับบ้านกุดซวยเป็นการเปลี่ยนช่ือมา จากบ้านโพนเมือง เป็นบ้านกุดซวย ( กุด ภาษาถ่ินหมายถึง แหล่งนํ้า หนองน้ํา ซวย ภาษาถ่ิน วัตถุรูปกรวยทําจากใบกล้วย ใช้ประกอบใน การทําพาขวัญของพานบายศรีชาวบ้านในการประกอบพิธีมงคลต่าง ๆ ) เพราะมีหนองนํ้าแหง่ หนึง่ อยู่ทางทิศเหนือของหมู่บ้าน ซึ่งหนองน้ําน้ี มีรปู ทรงคลา้ ยกรวย จึงเรียกช่ือหมู่บ้านตามลักษณะของแหล่งนํ้าจาก คําบอกเล่า ประกอบกับทําเลท่ีตั้งสภาพเมืองเก่า สันนิษฐานว่าคงมี การตั้งบ้านเรือนราว พ.ศ.2315 หรือก่อนน้ีเล็กน้อย ซ่ึงบ้านเก่าจึง น่าจะมีอายุประมาณ 223 ปี เป็นอย่างน้อย คือ พร้อม ๆ กับบ้านหัว ตะพาน อาชพี ของประชากร - อาชีพหลัก ประชากรส่วนใหญ่ในเขตพ้ืนที่ประกอบอาชีพหลัก คือ การทาํ การเกษตร (ทํานา,ทําไร)่ - อาชพี เสรมิ คือการทําหัตถกรรม การทอผ้าลายขิด การ แปรรปู ผลติ ภัณฑ์จากผ้าลายขิด เชน่ หมอน กระเปา๋ กลอ่ งทิชชู พวงกุญแจ เพ่ือจําหน่าย ซ่ึงมีช่ือเสียงมากเนื่องจากมีฝีมือการทํา ท่ีประณตี งดงาม สามารถสรา้ งรายได้ให้แก่ประชาชนในตําบลได้ เป็นอย่างดี
[71] ศกั ยภาพของชมุ ชนและพืนท่ี (ศกั ยภาพท่โี ดดเดน่ ) ชุมชนตําบลคําพระเป็นชุมชนที่มีความสามัคคีกันเป็น อย่างดี อีกท้ังเป็นชุมชนท่ีมีฝีมือในการทอผ้าลายขิดสมัยโบราณ ซ่ึง มีโอกาสขยายตัวและเป็นอาชีพหลักในอนาคตหากมีการส่งเสริม อย่างตอ่ เน่อื งและจรงิ จัง นางดารา จันทป อายุ 48 ปี อยู่บ้านเลขท่ี 106 หมู่ 3 บ้านคําพระ ตําบลคําพระ ประธานกลุ่มทอผ้าฝ้ายลายขิด บอกว่า ชาวอีสานส่วนใหญ่จะมีฝีมือในการทอผ้าฝ้ายลายขิดมาต้ังแต่สมัย เด็กๆ แล้ว เน่ืองจากได้รับการสั่งสอนจากย่า ยาย หรือไม่ก็แม่ จนทุก
[72] คนทําเป็นและมีความชํานาญ ซ่ึงก่อนที่จะมีการรวมตัวกันเป็นกลุ่ม อย่างในปัจจุบันนี้ ได้มีการทอใช้กันภายในครอบครัวก่อน หรือ บางครั้งจะใช้เป็นของฝากเพ่ือนสนิทที่มาเย่ียมเยียน จนกระท่ังในปี พ.ศ.2535 ได้มีหน่วยงานราชการเข้ามาให้การส่งเสริมสนับสนุนใน ด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ จึงได้มีการรวบรวมเพื่อนๆ จัดต้ัง เป็นกลุ่มขึ้นมามีการจัดตั้งกลุ่มแม่บ้านที่มีฝีมือด้านการทอผ้าเกิดขึ้น เรียกว่า กลุ่มแม่บ้านคาพระ ตําบลคําพระ อําเภอ หัวตะพาน จังหวัด อํานาจเจริญ เป็นหนึ่งในวิสาหกิจชุมชนในท่ีประสบผลสําเร็จในการ ดําเนินงานในการนําเอกลักษณ์งานฝีมือที่มีอยู่ในท้องถ่ินของตนเอง ออกมานาํ เสนอและสร้างรายได้แก่ชุมชน โดยหลักการของวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจชุมชที่กลุ่ม นํามาใช้ ส่งเสริมและสนับสนุนเศรษฐกิจชุมชน ถือเป็นพ้ืนฐานของ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ รวมทั้ง ส่งเสริมให้กลุ่มธุรกิจชุมชนที่ยัง ไม่มีความพร้อมในการทําธุรกิจ ให้สามารถพัฒนาไปสู่เศรษฐกิจ ชุมชนท่ีมีความเข้มแข็งต่อไป เสรีพงศ์พิศ น าเสนอลักษณะสําคัญ ๗ ประการของวิสาหกจิ ชมุ ชน ซึ่งมดี ังต่อไปนี้ (เสรพี งศพ์ ิศ,๒๕๔๖) ๑. ชุมชนเป็นเจ้าของและดําเนินงาน เอง โดย อาจมีคน นอกมสี ่วนให้ความรว่ มมอื ช่วยเหลอื แต่ไม่ใช่หนุ้ ส่วนใหญ่ ๒. ผลผลิตเกิดจากการใช้ทรัพยากร และกระบวนการ จัดการการผลิตภายในชุมชน แต่อาจน าวัตถุดิบบางส่วนมาจาก ภายนอกได้ ๓. ชุมชนเป็นผู้ริเร่ิม สร้างสรรค์ธุรกิจ เพื่อพัฒนาศักยภาพ ของชุมชนในกระบวนการ เรียนรู้ท่ีเหมาะสม โดยไม่เลียนแบบหรือ ใช้สตู รการดําเนนิ งานสําเรจ็ รปู ๔. ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นพ้ืนฐาน ผสมผสานเข้ากับ ความรู้ภูมิปัญญาสากล
[73] ๕. ดําเนินงานแบบบูรณาการ เชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆ ใน ลกั ษณะผนกึ กําลังและชว่ ยเหลือเกอื้ กูลกนั ๖. กระบวนการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนเกิดจากกระบวนการ เรยี นรู้ทเี่ ป็นหัวใจหลัก ๗. เนน้ การพึง่ พาตนเองเปน็ ส่ิงสําคญั อันดบั แรก และสําคัญ ทส่ี ดุ โดยมีการดาํ เนินการจัดต้ังกลุ่มข้ึนเมื่อปี พ.ศ. 2535 เร่ิมแรกมี สมาชิก 5-7 คน จากการนําของคุณนายของท่านนายกองค์การบริหาร ส่วนตําบลในสมัยนั้นที่มีความช่ืนชอบและสนใจ ได้รวมกลุ่มกันทอผ้า ฝ้ายลายขิดออกมาจําหน่ายนานกว่า 10 ปีแล้ว จนทําให้มีช่ือเสียงโด่ง ดังไปทั่ว และได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 และอันดับ 2 จากการ ประกวดผ้าลายขิดในงานศิลปาชีพ คร้ังท่ี 10 ณ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เมื่อปี พ.ศ. 2537 โดยปัจจุบันฝีมือการทอ ของกลุ่มแม่บ้านคําพระยังคงฝีมือการทอไว้ได้อย่างสวยงามเช่นเดิม และนับว่าเป็นงานฝีมือที่ทรงคุณค่าแห่งภูมิปัญญาท้องถ่ินของ จังหวัด อํานาจเจริญ และจากคําบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ได้ระบุว่า ยายของ นางภา สุพล ได้ถ่ายทอดความรู้ด้านการทอผ้าขิดให้ นางทอง สุพล (เกิดเมื่อปี พ.ศ.2433) โดยเป็นการทอผ้าย้อมสีธรรมชาติจากเปลือกไม้
[74] ชนิดต่างๆ เพื่อทําเป็นหมอนไว้ใช้ในครัวเรือน ต่อมา การทอผ้าขิด ได้รับความสนใจและรู้จักกันแพร่หลายมากข้ึน เนื่องจากปี พ.ศ.2518 จ.อุบลราชธานี (เมื่อคร้ังอํานาจเจริญเป็นอําเภอหนึ่งในจังหวัด อุบลราชธานี)ได้จัดประกวดผ้าในงานกาชาดจังหวัดอุบลราชธานีและ นางทอง สุพล ได้ทอผ้าขิดและทําเป็นหมอนขิดส่งเข้าประกวด ปรากฏ ว่า ได้รับรางวัลที่ 1 ทําให้ชาวบ้านสนใจและได้มีการถ่ายทอดความรู้ ด้านการทอผ้าในหมู่บ้านเรื่อยมา และนําผลงานเข้าประกวดในงาน กาชาด จังหวัดอุบลราชธานี เม่ือปี พ.ศ.2523 โดยนางฮู้ ลาภาอุตม์ ได้รับรางวัลที่ 2 จึงถือว่า การทอผ้าขิด ของคําพระเป็นมรดกตกทอด ภูมิปัญญาที่ได้สืบสานต่อกันมา เมื่อชาวบ้านมองเห็นโอกาสท่ีผลงาน ของตนเองสามารถสร้างอาชีพเสริม มีการสร้างงาน สร้างรายได้ใน ชุมชนและยังสามารถขยายไปสู่หมู่บ้านใกล้เคียงได้ จากการท่ีผู้นํา หมบู่ ้าน หรือตัวแทนชุมชนอยา่ งเช่น นางสมจิตร หลักวัฒน์ ซึ่งเป็นรอง ประธานกลุ่มเม่ือปี 2540 ท่ีเป็นท้ังผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มดําเนินการจัดตั้ง กลุ่มมาต้ังแต่เร่ิมต้น กลุ่มแม่บ้านคําพระจะมีการดําเนินงานที่เป็น รูปแบบของวิสาหกิจชุมชน โดยผู้นําในยุคแรกเร่ิมการก่อตั้งกลุ่มมี ความเข้มแข็ง และเข้าถึงผู้นําท้องถ่ิน ผู้มีอํานาจในการขับเคล่ือน จึง สามารถผลักดันเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีโดดเด่นข้ึนได้ จากการท่ีชาวบ้านมี ความถนัดและเป็นศักยภาพท่ีโดดเด่นของชุมชนอยู่เป็นต้นทุนเดิม ทํา ให้หากได้รับการสนับสนุนและการผลักดันจากหน่วยงานท้องถิ่นก็ สามารถผลักดันให้สร้างรายได้ตามวัตถุประสงค์ท่ีชาวบ้านต้องการจึง เป็นการตอบโจทย์ในทุกมิติของชุมชนได้อย่างดี ด้วยเอกลักษณ์ความ โดดเด่นที่มีในชุมชนและการสนับสนุนได้รับการสนับสนุนจาผู้นํา ชุมชนในพื้นท่ีจึงได้มีการจัดต้ังกลุ่มแม่บ้านที่มีฝีมือด้านการทอผ้า เกิดขึ้น จนได้รับการยกย่องเป็นผ้าประจําจังหวัด โดยมีชื่อเรียกว่า “ผ้าขิดลายตะขอผสมเอื้อ” มีความหมายว่า การเอื้อเฟื้อ มีนํ้าใจ
[75] ช่วยเหลอื ซึง่ กนั และกัน เปน็ ผ้าประจําจังหวัดอํานาจเจริญ เป็นการนํา ลายตะขอและลายเอ้ือ มาผสมกันโดยวางลายทงั้ สองสลับแถวกนั ไป จากการสนับสนุนจากหลายหน่วยงานเห็นได้จากท่านผู้ว่า จังหวัดอํานาจเจริญปัจจุบันได้มีการสานต่อร่วมกับสภาวัฒนธรรม จังหวัดอํานาจเจริญ ในการรณรงค์ส่งเสริมการแต่งการด้วยผ้า ประจําถิ่นในทุกวันอังคาร โดยสํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด อํานาจเจริญ เป็นหน่วยงานหลักในการดําเนินโครงการสืบสาน อนรุ กั ษ์ศลิ ป์ผา้ ถน่ิ ไทย ดาํ รงไว้ในแผ่นดิน มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อสืบสาน พระราชปณิธานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระ บรมราชชนนีพนั ปหี ลวงในการอนุรักษ์ ส่งเสริม และเผยแพร่ผ้าไทย อนั เปน็ ศิลปะอนั ล้าํ ค่าของชาตใิ หด้ าํ รงคงอย่เู ป็นความภาคภูมิใจของ คนไทย และให้ชาวโลกได้ชื่นชม อีกทั้งเพ่ือเชิดชูอัตลักษณ์คุณค่าผ้า ท้องถ่ินให้เกิดกระแสความนิยมการแต่งกายผ้าไทย แก่ประชาชน ทั่วไป และยังสนับสนุน ส่งเสริม การสร้างงาน สร้างอาชีพ และเสริมสร้างรายได้ให้กับกลุ่มสตรีในท้องถ่ิน นอกจากน้ีจังหวัด อํานาจเจริญได้น้อมพระราชปณิธานของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้า ฟ้าสิริวัณณวรีนารีรัตนราชกัญญา ท่ีพระองค์ทรงทุ่มเทพระวรกาย ในการที่จะสืบสาน แนวพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงศึกษาเร่ืองผ้า
[76] คดิ ค้น รวมท้ังพระราชทานลายผ้า “ลายขอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรี” ผ่าน กรมการพัฒนาชมุ ชน สู่พ่นี ้องประชาชนคนไทยทุกคน นับเป็นความ ภาคภมู ิใจเป็นอย่างมาก ชาวอํานาจเจรญิ ทกุ อําเภอล้วนมีวัฒนธรรม การทอผ้า ท้ังผ้าไหม ผ้าฝ้าย และผ้าลายขิดที่มีเอกลักษณ์เป็นของ ตนเอง โดยการนําของผูว้ ่าและ หน่วยงานภาครัฐและ ภาคเอกชนในการ ร่วมกันส่งเสริมการใช้ ผ้าไทย ให้สมดังพระ ดําริของพระองค์ท่านฯ ที่ว่า “ผ้ าไ ทย ใส่ใ ห้ สนุก” คือ ความสุขท่ี ไ ด้ เ ลื อ ก ใ ช้ ศิ ล ป ะ หัตถกรรมไทย เพ่ือให้ รายได้กลับสู่ชุมช น ส่งเสริมกระตุ้น ผ้าไทย ให้ทันสมัยสู่สากลเป็น ที่นิยมในทุกเพศ ทุกวัยและทุกโอกาส ซ่ึงองค์การบริหารส่วนตําบล คําพระได้มีการสนับสนุนในด้านต่างให้กับทั้ง 12 หมู่บ้าน ซึ่งแต่ละ หมู่บ้านได้มีการรวมกลุ่มกันทอผ้าขิดแปรรูปสินค้าหลายชนิด ซึ่ง อบต.คําพระ ได้ให้การสนับสนุนทั้งงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ประชาสัมพันธ์ และมองหาแหล่งวางจําหน่ายสินค้าอย่างต่อเน่ือง เพื่อสร้างงาน สร้างรายได้ แก่ประชาชนชาวคําพระ โครงการที่ สําคัญทางองค์การบริหารส่วนตําบลคําพระได้มีโครงการกันพื้นที่
[77] ภายใน อบต.คําพระ เป็นก่อสร้างเป็นอาคารศูนย์วิสาหกิจชุมชนข้ึน เพื่อเป็นสถานที่จําหน่ายสินค้าประจําตําบล ซ่ึงมีผลิตภัณฑ์ดีเด่นท้ัง 12 หมู่บ้านเกือบ 100 ชนิด มาวางจําหน่าย แก่ผู้นิยมชมชอบงาน ฝีมือจากภูมิปัญญาชาวบ้าน เพื่อนําไปเป็นของใช้ ของที่ระลึก ของ ฝาก มอบให้แก่ญาติสนิทมิตรสหายหรอื ญาติผูใ้ หญใ่ นโอกาสสําคัญๆ อีกด้วย ปัจจุบันการก่อสร้างสําเร็จเรียบร้อยและในศูนย์ฯได้มีการ จัดแสดงผลิตภณั ฑต์ า่ งๆไว้อย่างมากมายส่ิงที่พลาดไม่ได้ต้องชมมาก ท่ีสุดก็คือ โครงการทอผ้าฝ้ายขิด คําพระ เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ทูลเกล้าฯถวายผ้าฝ้ายขิดยาว ที่สุดในโลก ความยาว 2,199.99 เมตร เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2543 ที่ผ่านมา ด้วยการทอมือลงลวดลายในเน้ือผ้าฝ้ายที่ลงตัว กลมกลืน กลายเป็นลายโบราณ 72 ลาย สวยงามมาก ก็ได้นํามา แสดงไว้ท่ีน่ี เพ่ือให้ผู้สนใจได้ศึกษาเรียนรู้และอนุรักษ์ไว้ให้คงอยู่ ทั้งหมดที่สนับสนุนเป็นการรบั ฟังการเรียกร้องฟังเสียงความต้องการ ของพืน้ ทโ่ี ดยให้ความสําคัญและเอาใจใส่ เป็นท่ีน่าช่ืนชมของพื้นท่ีที่ มคี วามเขม้ แข็งสามารถรว่ มกนั พัฒนาและสรา้ งรายได้ให้ตนเอง อาจ กล่าวได้ว่าหากรับฟังปัญหาของชุมชน ชาวบ้าน ประชาชนอย่าง แท้จริง ก็จะสามารนํามาแก่ปัญหาได้อย่างถูกต้องและบรรลุ เปา้ หมายตอบสนองความตอ้ งการของพ้นื ท่ีได้อย่างแท้จรงิ การวเิ คราะห์กลุม่ แม่บา้ นคาพระตามแนวคิดเชิงระบบ
[78] ตามกรอบแนวคิดทฤษฏีระบบในกรณีทีศ่ กึ ษาจะพบว่า INPUT PROCESS OUTPUT ปัจจยั ดา้ นบคุ คล - องค์การบริหารสว่ นตําบลคําพระ - เกิดการสร้างอาชีพและเกิด รายได้ของคนในชุมชน - ความยากจน/ความต้องการ - สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ/ ส ร้ า ง อ า ชี พ แ ล ะ ร า ย ไ ด้ ข อ ง หนว่ ยงานระดับอําเภอที่เกี่ยวขอ้ ง - คุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนจากการ ป ร ะ ช า ช น ใ น พื้ น ที่ เ พื่ อ ทาํ งานที่มรี องรบั ในชุมชน ยกระดับคณุ ภาพชีวิต - สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด อาํ นาจเจรญิ - การไดร้ บั การยอมรับและเป็น - ศักยภาพความสามารถที่มี ทรี่ จู้ ักในจงั หวดั อย่แู ล้วของคนในชุมชน - สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด อํานาจเจริญ - เกิดเป็นมรดกทางวัฒนธรรม - การสืบทอดภูมิปัญญาของ ของชมุ ชนถ่ายทอดกนั ร่นุ ต่อไป คนในชุมชน - สภาวัฒนธรรม - สรา้ งเอกลักษณ์ สร้างชือ่ เสียง - ศนู ยว์ จิ ยั ม.อบุ ล ให้ชุมชนได้เปน็ ท่ีรจู้ ัก - สํานักงานประชาสมั พันธจ์ ังหวดั ฯ - สร้างความนิยมให้กับกลุ่ม นกั การเมืองที่สนับสนนุ - สํานกั งานจงั หวดั - สํานกั งานอตุ สาหกรรมจงั หวัด - นักการเมืองได้ความนิยม -สภาอุตสาหกรรม ความนิยมและได้รับฐานเสียง - กลุ่มวสิ าหกจิ ชมุ ชนคําพระ จากประชาชนในพ้ืนที่ - ศูนย์ศิลปาชีพ - - หน่วยงานอื่นๆท่เี ก่ียวข้อง Environment - ผู้นาํ ชาวบา้ น ผูน้ าํ ชุมชน ผ้นู ําท้องถนิ่ /ผู้บรหิ ารท้องถิน่ ขา้ ราชการ นกั การเมืองในพื้นที่ - วสิ ัยทัศนข์ องผ้นู าํ ชมุ ชน - นกั การเมอื งท้องถ่ิน(การสรา้ งฐานเสยี ง) Feedback
[79] INPUT - ความยากจนและการตอ้ งการสรา้ งรายได้ ในอดีตในพื้นท่ตี าํ บลคําพระประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพเป็น เกษตรกร ซึ่งอาชีพเกษตรกรนั่นเป็นอาชีพที่หนักและมีข้อจํากัดอยู่ ค่อนข้างมาก เช่น การทําการเกษตรน้ัน ต้องอาศัยนํ้าจากแหล่งนํ้า ธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งในบางปีที่ปริมาณนํ้ามีความขาดแคลน หรอื มากจนเกนิ ไปจนเกิดน้ําท่วม จะส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตร ไม่ดีเท่าท่ีควร นี่จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่คนในชุมชนยังต้องเผชิญกับ ปัญหาความยากจน การท่ีต้องรอพ่ึงฟ้าฝนเพื่อการทําการเกษตร เกิดรายได้ท่ีไม่แน่นอน และน้อยต่อความต้องการของครอบครัว หลายครอบครัวจึงจําเป็นต้องเดินทางไปหางานทําในพ้ืนท่ีอื่น ที่มี ตาํ แหนง่ งานมากข้ึน เพื่อหารายได้มาจุนเจือครอบครัว แต่อย่างไรก็ ดีการที่วัยทํางานเดินทางออกนอกพ้ืนท่ีไปสร้างงานสร้างอาชีพใน ต่างจังหวัดกลับทําให้ในพ้ืนท่ีไม่ได้รับการพัฒนาเท่าท่ีควร ขาดกลุ่ม วัยทํางานที่มีศักยภาพในการพัฒนาชุมชน ในชุมชนมีเพียงเด็กและ ผู้สูงอายุเท่าน้ัน จึงเกิดเป็นความต้องการของชุมชนที่ต้องการสร้าง อาชีพและรายได้ เช่น กลุ่มผู้ท่ีมีฝีมือ /กลุ่มสตรีรวมตัวกัน เพอื่ ทอผา้ ลายขิดเพอื่ เป็นรายไดเ้ สริมให้กบั ครอบครัว เพื่อครอบครัว หลุดพ้นจากความยากจนปัญหาความยากจนเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นใน สังคมไทยที่ส่ังสมมานาน เป็นภาวะความขาดแคลนไม่มีความมันคง ทางเศรษฐกิจ ในระดับบุคคลส่งผลให้เกิดความทุกข์ยากในการ ดาํ เนินชีวิต รวมถึงการขาดโอกาสที่จะพัฒนาคุณภาพ ชีวิตในหลาย ๆด้าน และส่งผลต่อการพัฒนาในระดับประเทศตามมาในท่ีสุด จาก การวิเคราะห์ พบว่า ปัญหาและสาเหตุของความยากจนมาจาก สาเหตุสําคัญสองประการ คือ สาเหตุจากปัจจัยภายในตัวบุคคล และสาเหตุจากปัจจัยภายนอกตัวบุคคล ดังนั้นเม่ือวิเคราะห์เรื่อง
[80] ความตอ้ งการของชุมชนในเรื่องการสร้างรายได้ ก็จะพบว่าตําบลคํา พระ ด้วยอาชีพส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรและวิถีชีวิตที่เป็นมาช้านาน การไดร้ บั การส่งเสริมการสร้างรายได้ท่จี าํ เปน็ สาํ หรับการดําเนินชีวิต จงึ เป็นปัจจยั พืน้ ฐานทชี่ มุ ชนมีความต้องการ - ศกั ยภาพความสามารถทม่ี อี ยแู่ ล้วของคนในชุมชน ศั ก ย ภ า พ ข อ ง ชุ ม ช น คื อ ก า ร ท่ี ชุ ม ช น มี “คน ความรู้ ทรัพยากร” ไม่ได้ “โง่ จน เจ็บ” แต่ขาดโอกาส ในการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเอง ไม่มีความรู้ในการจัดการ ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนอย่างย่ังยืน ชาวบ้านสามารถ ค้นหาศักยภาพของชุมชนได้ การพัฒนาวันนี้มีฐานคิดใหม่ ไม่ได้อยู่ บนหลกั คดิ ท่ีว่าผู้คน “โง่ จน เจ็บ” อีกต่อไปแต่อยู่บนฐานของความ เ ข้ า ใ จ เ รื่ อ ง “ศั ก ย ภ า พ ” ท่ี ต้ อ ง เ ข้ า ใ จ ว่ า ชุ ม ช น มี คน ความรู้ ทรัพยากร และสามารถทําให้เกิด “คุณภาพ” ได้โดย การเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยทั้งสามของชุมชน คือ คนสัมพันธ์กับ ความรู้ มีการเรียนรู้ก็เกิดความรู้ มีกระบวนการเรียนรู้ต่อเนื่อง คน สัมพันธ์กับทรัพยากร มีการจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพโดย อาศัยความรู้ ความรู้สัมพันธ์กับทรัพยากร คือการพัฒนา เป็น ประสบการณ์ในการพัฒนา จากพื้นฐานท่ีชาวบ้านและชุมชนมีความรู้ ความสามทารถในการทอผ้า และการค้นพบว่าชุมชนตําบลคําพระเป็น ชุมชนที่มีฝีมือในการทอผ้าลายขิดสมัยโบราณ ซ่ึงมีโอกาสขยายตัวและ เป็นอาชีพหลักในอนาคตหากมีการส่งเสริมอย่างต่อเนื่องและจริงจัง จึง นํามาสู่การหาแนวทางพัฒนาเพื่อการนําไปเป็นอาชีพ ชาวบ้านและ ผู้นําชุมชนและหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้องไม่ว่าจะเป็นภาครัฐและภาคเอกชน เข้ามีส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพที่สามารถสร้างรายได้ จากอัตราลักษณ์ท่ีมี มาถ่ายทอดเป็นเรื่องราวจากวิถีชีวิตสู้การสร้าง รายได้ มีจุดขายหลายอย่างจากการสร้างความเป็นมาและเร่ืองราว
[81] ให้กับผลงานของตนเอง จากผ้าท่ีไม่มีใครรู้จัก ด้วยการนําของผู้นําที่มี ความเข้มแข็ง การได้รับการส่งเสริมท่ีจริงจังและเป็นไปตามคํา เรียกร้องจากชาวบ้าน ยิ่งได้รู้จักมาขึ้นจากการประกวดผ้าฝ้ายลายขิด ในงานศิลปาชีพบางไทร คร้ังท่ี 10 ณ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร จ. พระนครศรีอยุธยา และได้รับรางวัลกลับมา ยิ่งเป็นเรื่องราวท่ีได้รับการ ประชาสัมพันธ์ อีกทั้งยังได้รับความสนใจนักการเมืองท่ีมีชื่อเสียง ใน สมัยนั้น คือ นายสุทัศน์ เงินหม่ืน ที่ได้รับผ้านี้เป็นของฝากและได้ฟัง เรื่องราวท่ีถาดทอดมาจึงเกิดความสนใจ และประทับใจกับเรื่องราวที่ เกิดข้ึน จนนํามาสู้การเข้าไปสนับสนุน โดยอาจจะมองว่าเป็นการสร้าง ความนิยมแฝงอยู่ก็เป็นได้ แต่น้ันก็ไม่ใช่เร่ืองสําคัญ หากชาวบ้านท่ีอยู่ ในพื้นที่ได้รับประโยชน์เพราะ การท่ีมีนักการเมืองท่ีมีชื่อเสียงในสื่อ ตา่ งๆ ให้ความสาํ คญั ก็จะได้รับการประชาสัมพันธ์และได้รับความสนใจ จากหน่วยงานต่างไปพร้อมๆกันกับการได้รับการสนับสนุนท่ีจะเข้ามา ส่งเสริม ถือเป็นวิธีท่ีชาญฉลาดของผู้นําชุมชน ผู้นําท้องถ่ินที่ช่วย ยกระดบั ให้กับชมุ ชนมาเป็นท่ีรู้จักได้ จึงหลีกเล่ียงไม่ได้ว่าการมีอิทธิพล ทางการเมืองมาสนับสนุนการส่งเสริมจะสามรถทําให้การดําเนินการ ต่างๆง่ายข้ึน ภายใต้พ้ืนฐานความต้องการของชุมชนท่ีได้นับการ สนับสนุนด้วยการเรียกร้องผ่านผู้นําชุมชนและโดยองค์การบริหาร ท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทที่สําคัญในการสนับสนุนแนะนําการดําเนินการ ต่างๆ เห็นได้จากการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดําเนินการจัดทําแผน แม่บทชุมชน คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนที่ชุมชน ร่วมกันพัฒนาขึ้นโดยกระบวนการเรียนรู้ท่ีทําให้เข้าใจศักยภาพที่ เป็น “ทุน” ที่แท้จริงของตนเอง และพบแนวทางในการพัฒนาทุน ดังกล่าว ไปสู่การปฏิบัติ ทําให้เกิดผลต่อชีวิตของชุมชน ทําให้ชุมชน พัฒนาไปสู่การพ่ึงตนเอง อันเป็นกระบวนการเรียนรู้หรือการทําแผน แมบ่ ท ในตําบลคําพระเองก็มีการทําประชาคมหมู่บ้าน รับฟังข้อเสนอ
[82] ของชุมชน การเรียกร้องของชุม ความต้องการของชุม หน่ึงในข้อ เรียกร้องท่ีได้รับการสนับสนุน นั้นคือการพัฒนาผ้าทอในชุมชน ให้เกิด การสร้างรายได้ จนได้รับการบรรจุเป็นแผนการพัฒนาท้องถ่ินต้ังแต่ปี 2540 เป็นต้นมา ตลอดจนการเข้าไปของ ผู้มีอํานาจทางการเมืองที่มี ความสัมพันธ์กันกับท้องถ่ิน จึงไม่ยากเลยท่ีการสร้างช่ือเสียงให้โด่งดัง จนเป็นที่ยอมรับ อีกท้ังการพัฒนาท่ีไม่เคยลดลง ยังคงมีได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเน่ืองทาํ ให้เป็นอัตรลกั ษณท์ ี่โดเด่นอย่างแท้จริง - การสืบทอดภมู ิปัญญาของคนในชุมชน จากความต้องการของชุมชนท่ีจะสืบทอดเอกลักษณ์ทาง วัฒนธรรมของตนเองนําไปสู่การสร้างอาชีพ การสร้างรายได้จากสินค้า ชุมชน การให้คุณค่าผ้าทอลายขิด เป็นผ้าพื้นเมืองข้ึนชื่อของภาคอีสาน นับว่าเป็นศิลปะพื้นฐานท่ีสะท้อนให้เห็นภาพ ลักษณะ ลวดลาย และ วิวัฒนาการของทอ้ งถิ่นเดิมของไทยท่ีมีมาแต่โบราณ ชาวอีสานถือว่าใน กระบวนการทอผ้าด้วยกันแล้ว การทอผ้าขิดต้องอาศัยความชํานาญ และความมีชั้นเชิงทางฝีมือสูงกว่าการทอผ้าอย่างอ่ืน ๆ เพราะทอยาก มาก มีเทคนิคการทอท่ีซับซ้อนมากกว่าการทอผ้าธรรมดา เพราะต้องใช้ เวลา ความอดทน และความละเอียดลออ มีกรรมวิธีท่ียุ่งยากทอได้ช้า และผู้ทอต้องมีประสบการณ์และพรสวรรค์ในการทอการทอผ้าลายขิด โดยผ้าลายตะขอสลับเอื้อ(ขอเอื้อ) คือผ้าท่ีเกิดข้ึนจากการทอด้วยมือ ด้วยความประณีต มีลวดลายเป็นเป็นเอกลักษณ์คือลายตะขอสลับเอ้ือ เป็นผ้าประจําจังหวัดของอํานาจเจริญ อาจเรียกได้ว่าเป็นมรดกทาง วัฒนธรรม ที่ตอ้ งการสืบทอดและรักษาไวร้ ่วมกัน
[83] PROCESS จ า ก ก า ร ผ ลั ก ดั น แ ล ะ ก า ร ร่ ว ม มื อ ข อ ง ห ล า ย ๆ หน่วยงานในการขับเคล่ือนการพัฒนา อาทิ เช่น องค์การ บริหารส่วนตําบลคําพระ หน่วยงานระดับตําบลที่มีความใกล้ชิดกับ ชุมชน การให้ประชาชนเข้ามามีส่วนรวมในการพัฒนาท้องถิ่น โดย องค์การบริหารท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทที่สําคัญในการสนับสนุน แนะนําการดําเนินการต่างๆ เห็นได้จากการมีส่วนร่วมของชุมชนใน การดําเนินการจัดทําแผนแม่บทชุมชน คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของชุมชนที่ชุมชนร่วมกันพัฒนาข้ึนโดยกระบวนการ เรียนรู้ท่ีทําให้เข้าใจศักยภาพที่เป็น “ทุน” ท่ีแท้จริงของ ตนเอง และพบแนวทางในการพัฒนาทุนดังกล่าว ไปสู่การ ปฏิบัติ ทําให้เกิดผลต่อชีวิตของชุมชน ทําให้ชุมชนพัฒนาไปสู่การ พึ่งตนเอง อันเป็นกระบวนการเรียนรู้หรือการทําแผนแม่บท ใน ตําบลคําพระเองก็มีการทําประชาคมหมู่บ้าน รับฟังข้อเสนอของ ชุมชน การเรียกร้องของชุม ความต้องการของชุม หน่ึงในข้อ เรียกร้องที่ได้รับการสนับสนุน นั้นคือการพัฒนาผ้าทอในชุมชน ให้ เกิดการสร้างรายได้ จนได้รับการบรรจุเป็นแผนการพัฒนาท้องถ่ิน ต้ังแตป่ ี 2540 เป็นต้นมา ในการพัฒนาชุมชนตามความต้องการของ ชุมชนและศักยภาพที่ชุมชนชนด้านต่างๆ รวมถึงสนับสนุนด้าน งบประมาณในการกอ่ สรา้ งสถานทีจ่ าํ หน่ายสินค้าและการจัดตั้งกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนคําพระ ผลักดันให้เป็นสินค้า OTOPและนําไปสู่การ จัดตั้งศูนย์ OTOP ในพื้นที่ เพ่ือการส่งเสริมการค้าและเศรษฐกิจ ชุมชน และยังมีอีหลายหน่ยงานท่ีเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาไม่ ว่าจะเปน็
[84] -สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ/หน่วยงานระดับอําเภอที่ เกี่ยวข้อง ในการให้การสนับสนุนและการเข้ามาแนะนําส่งเสริมการ ต่อยอดด้านต่าง เพื่อเสนอรับการสนับสนันจากระดับจังหวัดต่อไป และ สาํ นกั งานพัฒนาชุมชนจังหวัดอํานาจเจริญ ในการเข้ามาเป็แม่ งานในการลงพื้นทใ่ี นชมุ ชนในการคน้ หาศักยภาพของชุมชนที่มีอย่าง แท้จริง และการสนับสนุงบประมาณและการพัฒนาด้านทักษะใน การทอผ้า และการหาหน่วยงานร่วมเพ่ือส่งเสริมการพัฒนา เนือ่ งจากการได้รบั ความสนใจจากผวู้ ่าฯและนักการเมืองในพื้นที่ - สํานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดอํานาจเจรญิ เขา้ มาศึกษา เร่อื งราวทางการศึกษารูปแบบการศกึ ษาท่ีเกิดขน้ึ ในชุมชน - สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัด สภาวัฒนธรรมจังหวัด ท่ีเข้า มาช่วยสนับสนุนการสร้างคุณค่าและการสร้างอัตรลักษณ์ท่ี ทรงคุณค่า การสร้างราคาผ่านเร่ืองราวที่ถ่ายทอดจากวัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชุมชน ให้เกิดการสร้างค่านิยมท่ีและหน่วยงานใน การขับเคลื่อนเพ่ือสร้างอัตรลักษณ์ให้แก่ ผ้าทอขิดลายขอสลับ เออื้ ให้มจี ดุ ขายและโดดเด่น ทั้งยังสร้างคุณค่าโดยการปลูกฝังว่าเป็น มรดกทางวัฒนธรรมท่ีสืบทอดกันมา จนสามารข้ึนมาเป็นผ้าทอ ประจาํ จังหวัดได้ - ศูนย์วจิ ัย ม.อบุ ล เข้สมาสนบั สนุนการพฒั นาลายผา้ และก หารถา่ ยทอดเทคนิดการทอ และรวมคดิ ค้นการสร้าเอกลกั ษณใ์ ห้กบั ผ้าทอ และสนับสนนั ุการสร้างแรงผลกั ดันและการใหช้ มุ ชนเห็น คุณคา่ ในวฒั นธรรมท่ตี นเองมี ผลสาํ เรจ็ ของการจดั ต้ังกลุมแม่บ้านคาํ พระจะไม่เกิดขึน้ เลย หากชุมชนไม่ได้รับการสนบั สนนุ อย่างจรงิ จังและต่อเน่ือง ยังมอี ีก หลายหนย่ งานในการผลักดัน เช่น- สํานักงานประชาสมั พันธ์จงั หวัด
[85] ฯในการรว่ มสนบั สนุการเผยแพร่ต่างให้ สํานักงานจงั หวัดในการทํา โครงการและแผนสนบั สนุนต่างๆ สํานกั งานอุตสาหกรรมจังหวัดในการสง่ เสริมการหาตลาดและการ พัฒนาส่กู ารค้าทางเศษฐกจิ ที่ยกระดับมากขึน้ สภาอุตสาหกรรม ศูนยศ์ ลิ ปาชพี และหน่วยงานอืน่ ๆ อีกมากมาย OUTPUT เกดิ การสร้างอาชพี และรายได้ ยกระดับคุณภาพชวี ติ ของ คนในชมุ ชน เช่น ดา้ นเศรษฐกจิ เพิ่มสภาพคลอ่ งและระบบเงนิ หมนุ เวยี นในระบบเศ ราฐกิจของชมุ ชน เพ่มิ กําลงั การซอื้ ของคนในชมุ ชน ดา้ นสังคม ประชาชนสามารถสรา้ งรายได้ให้กับครอบครัว ได้ ไม่ต้องเดนิ ทางไปทาํ งานในตา่ งจังหวัด หรอื นอกพน้ื ที่ สง่ ผลให้ สภาพสังคมอบอ่นุ ครอบครัวอยูก่ ับพรอ้ มหน้าพร้อมตา ไมเ่ ป็น สังคมที่มเี พียงแตผ่ ้สู งู อายุและเด็กอยู่ในพ้ืนที่ เพมิ่ กลุม่ วยั ทํางานที่มี ศักยภาพในการดูแลครอบครัวในพน้ื ท่มี ากข้นึ และยงั เปน็ การสืบ สานภมู ิปญั ญาการทอผา้ ลายขิดต่อไป - ด้วยความสวยงามและมีเอกลกั ษณ์ของผ้า ความโดดเด่น ของลายผา้ น้นั เกิดการสืบสาน สบื ทอดกับร่นุ สูร่ นุ่ เกดิ เปน็ มรดกทาง วัฒนธรรมทคี่ งอยใู่ นชมุ ชนสบื ไป - จากการเขา้ ร่วมการประกวดการทอผา้ ลายขดิ ณ ศูนย์ ศิลปาชพี น้ัน ทําใหช้ มุ ชนสามารถสร้างชือ่ เสียงใหร้ ู้จกั กนั อย่าง แพรห่ ลาย ตั้งแต่ระดับจงั หวดั ไปจนถงึ ระดับประเทศ จนได้รบั เลอื ก ให้เปน็ ผลตภัณฑ์ OTOP ของตะบลคาํ พระ - จากการผลกั ดนั ของนักการเมืองในพนื้ ที่ ท่ีช่วยผลกั ดนั การจัดต้ังกลุ่มแมบ่ า้ นคาํ พระ กลมุ่ ทอผา้ ลายขิดในชมุ ชน ให้นาํ สู่ การจัดตง้ั วิสาหกิจชมุ ชนที่สามารถสรา้ งอาชีพและรายได้ท่ียัง่ ยืนของ
[86] คนในชุมชนนั้น ส่งผลใหน้ ักการเมอื งผผู้ ลักดนั ให้เกดิ ความสําเร็จนี้ ได้รับความไว้วางใจ สร้างความนิยมและเกิดฐานเสียงท่ีมากขน้ึ จาก คนในชมุ ชน อกี ท้ังยงั เปน็ การสร้างผลงานด้านการพฒั นาท้องถิน่ ซ่ึง สามารถแสดงออกเชิงประจักษ์ของนกั การเมือง บทสรปุ บนพ้ืนฐานความต้องการของชุมชนและการพัฒนาของ ท้องที่ การพัฒนาศักยภาพของชุมชน คือ การช่วยให้ชุมชนพัฒนา ศักยภาพของตนเอง (community empowerment) โดยการ เชื่อมโยงระหวา่ ง “คน ความรู้ ทรัพยากร” จนเกิดความสัมพันธ์ ซึ่งเรียกว่า “กระบวนทัศน์พัฒนาใหม่” ท่ีประกอบไปด้วย “การ เรียนรู้ การจัดการ และการพัฒนา” ซ่ึงก็คือว่า ชุมชนมีการ จัดการตนเอง มีการจัดองค์กรชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ หากพ้ืนที่ มีความเข้มแข็งสามารถนําเอาภูมิปัญญาและเอกลักษณ์ท่ีมีร่วมกัน พัฒนาและสร้างรายได้ให้ตนเอง อาจกล่าวได้ว่าหากรับฟังปัญหา ของชุมชน ชาวบ้าน ประชาชนอย่างแท้จริง ก็จะสามารนํามาแก่ ปัญหาได้อย่างถูกต้องและบรรลุเป้าหมายตอบสนองความต้องการ ของพ้ืนท่ีได้อย่างแท้จริง เพ่ือดําเนินการผลิตสินค้าหรือบริการ โดยมีเป้าหมายในการสร้างรายได้ละการพึ่งพาตนเอง ปัจจัยการ ผลติ ไดแก่ ทนุ แรงงาน การบริหารจัดการเป็นของชุมชน ผลิตภัณฑ์ ท่ีได้เกิดข้ึนจากวัตถุดิบภายในชุมชนผ่านกระบวนการเรียนรู้ ประกอบภูมิปัญญาท้องถิ่นและผสมผสานกับภูมิปัญญา สากล ก่อใหเ้ กิดองคค์ วามรสู้ กู่ ารฝึกฝนและพัฒนาเอกลักษณ์ของชุมชนจน สามารถนําออกไปสู่ตลาดภายนอกได้ จะเห็นได้เมื่อเรานําแนวคิด เชิงระบบ (System approach) เป็นกรอบแนวคดิ มาชว่ ยวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างระบบการเมืองกับสิ่งแวดล้อมตามทฤษฏี ระบบทาํ ใหม้ องเห็นวา่ ระบบ การเมืองมลี ักษณะเป็นวงจรซึ่งทํางาน
[87] และมีการเคล่ือนไหวตลอดเวลา จากการมีปัจจัยนําเข้าในรูป ของ ขอ้ เรียกรอ้ งและการสนับสนนุ จึงมปี จั จยั นําออกหรือผลผลิตออกมา เป็นแนวนโยบายหรือ กฎหมาย ซ่ึงมีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม หรือระบบสังคม ทําให้เกิดปฏิกิริยาย้อนกลับท้ังใน ทางบวกและลบ กลับเป็นปัจจัยนําเข้าอีกครั้งหนึ่ง ทําให้เกิดการเปล่ียนแปลง ปรับ นโยบายและกฎ ต่อไปเป็นวัฏจักรไม่ส้ินสุด ก็จะเป็นกรอบแนวคิดท่ี มี ฐ า น ค ว า ม เ ชื่ อ ใ น ลั ก ษ ณ ะ เ ดี ย ว กั บ แ น ว คิ ด เ ชิ ง ป ฏิ ฐ า น นิ ย ม (Positivism) ซึ่งเช่ือว่าองค์การหรือความสัมพันธ์ต่างๆภายใน องค์การเป็นสิ่งท่ีมองเห็นได้ในเชิงประจักษ์ (Empiricism) และมี ลกั ษณะเปน็ วตั ถวุ สิ ัย (Objectivism)ดังนัน้ การอธิบายปรากฏการณ์ ต่างๆขององค์การจึงสามารถอธิบายได้โดยทั่วไป และนําแนวคิดเชิง ร ะ บ บ ไ ป ใ ช้ อ ธิ บ า ย อ ง ค์ ก า ร ไ ด้ ทุ ก อ ง ค์ ก า ร ( Universal generalization) รวมท้ังยังใช้ในการทํานาย (Predict) ปรากฏการณ์ทอี่ าจเกิดข้ึนสืบเนื่องต่อไปได้ ท้ังหมดที่สนับสนุนเป็นการรับฟังการเรียกร้องฟังเสียง ความตอ้ งการของประชาชนในพ้ืนที่โดยให้ความสําคัญและเอาใจใส่ เป็นทนี่ า่ ชนื่ ชมของพ้นื ทีท่ ่ีมคี วามเข้มแข็งสามารถร่วมกันพัฒนาและ สร้างรายได้ให้ตนเอง อาจกล่าวได้ว่าหากรับฟังปัญหาของชุมชน ชาวบ้าน ประชาชนอย่างแท้จริง ก็จะสามารนํามาแก่ปัญหาได้อย่าง ถูกต้องและบรรลุเป้าหมายตอบสนองความต้องการของพื้นท่ีได้ อย่างแท้จริงอย่างเช่นการพัฒนาของชุมชนตําบลคําพระท่ีต้องใช้ ระยะเวลาถึง 10 ปี ในการสร้างฐานอาชีพจากภูมิปัญญาและความ ต้องการของชุมชนภายใต้การร่วมกันทํางานและสนับสนุน แอบแฝง อย่ขู องระบบการเมือง จึงหลีกเล่ียงไม่ได้ว่าอํานาจของผู้นําในระบบ การเมอื งมีผลต่อการการส่งเสริมและการพฒั นาตา่ งๆ ไมน่ ้อยเลย
[88] เอกสารอา้ งองิ - สถาบันวจิ ัยวฒั นธรรมเพือ่ การพัฒนาชนบท มหาวทิ ยาลัย มหิดล.การศกึ ษาวฒั นธรรม, 2559 - สภาวัฒนธรรมจังหวดอํานาจเจรญิ ,ผ้าฝ้าย ผา้ ขิต และอตั ร ลกั ษณท์ ้องถิ่น ,2555 - สุจติ ต์ วงษ์เทศ ความโดดเดน่ เอกลกั ษณ์วฒั นธรรมส่สู ากล สํานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดอํานาจเจริญ กรงุ เทพมหานคร เรอื นแก้วการพิมพ์ 2548 - สํานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวดั อํานาจเจรญิ ,สุดยอดผลติ ภัณฑท์ ีท่ ระนงคุณค่าจังหวัดอํานาจเจริญ, อาํ นาจเจรญิ เพรทกราฟิก 2549 - ข้อมูลท่ัวไป และสภาพพ้ืนที่ องค์การบริหารส่วนตําบลคํา พ ร ะ วั น ที่ สื บ ค้ น จ า ก 1 2 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 6 5 http://www.khumpra.go.th/index.php/9 - uncategorised/24-joomla - เชษฐา พวงหัตถ์ (2548) Structure-Agency โครงสร้าง- ผู้กระทําการ. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการ - สภ าวิจัยแห่งช า ติ สาขาสังคมวิ ทยา ส านักงา น คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.พฤทธิสาณ ชุมพล (2552) ระบบการเมือง : ความรู้เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . - สมบัติ ธํารงธัญวงศ์ (2547) การเมือง : แนวความคิดและ การพัฒนา. กรงุ เทพฯ : คณะรฐั ประศาสตร์
[89] แนวการศึกษาเศรษฐกิจการเมอื ง (Political Economy Approach); บทวเิ คราะห์วา่ ดว้ ยโครงการรับจานาและประกนั ราคาข้าว โฉมงาม สทิ ธิธรรม, กสิณพจน์ สรุ ะภา , สิทธิกร วันทนยี กุล และธัญญารตั น์ เหลา่ บุตรศรี บทนา แนวทางการศึกษาทางเศรษฐกิจการเมือง (Political Economic Approach) มุ่งทําความเข้าใจและวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองกับเศรษฐกิจว่าไม่อาจแยกออกจาก กันได้ โดยท่ีนโยบายเศรษฐกิจเป็นส่วนหน่ึงในกิจกรรมสาธารณะท่ี สําคัญของรัฐบาล กล่าวได้ว่า นโยบายสําคัญของรัฐบาล เช่น นโยบายการคลัง (fiscal policy) นโยบายอุตสาหกรรม (industrial policy) นโยบายการเกษตร (agricultural policy) ล้วนเป็น ส่วนหนึ่งที่เก่ียวข้องกับประเด็นทางเศรษฐกิจ ซ่ึงนักการเมือง ทั้งคณะรัฐมนตรีหรือฝ่ายบริหารใช้ในการตัดสินใจในการดําเนิน นโยบายของรัฐบาล ทั้งนี้ จะพบว่ารัฐบาลโดยนายกรัฐมนตรีมี ที่ปรึกษาจํานวนมากในด้านเศรษฐกิจ เหตุผลก็คือรัฐบาลต้องมี ความรอบคอบและมีข้อมูลครบถ้วนสําหรับการพิจารณาว่าจะ ตัดสินใจในเชิงนโยบายหรือเลือกนโยบายใดท่ีดีและเหมาะสมกับ สถานการณ์ที่สดุ บ ท วิ เ ค ร า ะ ห์ นี้ จึ ง มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พ่ื อ วิ เ ค ร า ะ ห์ ร ะ ห ว่ า ง การเมืองกับเศรษฐกิจว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร โดยใช้กรณี โครงการรับจํานําข้าวและประกันราคาข้าว ซ่ึงเป็นนโยบายทาง เศรษฐกิจท่ีเกิดจากรัฐบาลหรือนักการเมืองต้องการช่วยเหลือและ แก้ไขปัญหาให้เกษตรกร ท่ีเป็นโครงสร้างหลักของสังคมไทย
[90] มีอิทธิพลที่จะผลักดันทางด้านการเมืองและสภาวะเศรษฐกิจของ ประเทศ กรอบการวเิ คราะห์ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจกับการเมืองว่า มีความเกี่ยวข้องส่งผลสัมพันธ์กันอย่างไร การเมืองนําไปสู่การ เปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ เช่นเดียวกันสภาวะเศรษฐกิจที่ เปล่ียนแปลงจะส่งผลต่อการเมือง การศึกษาการเมืองภายใต้กรอบ วิเคราะห์แนวกลุ่มผลประโยชน์ (the interest group approach) ซึ่ ง ใ ช้ ใ น ก า ร ศึ ก ษ า ก ร ณี ป ร ะ เ ท ศ เ ส รี นิ ย ม ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย มี ความสัมพันธ์กับการศึกษาแนวเศรษฐกิจการเมือง โดยที่ท้ังกลุ่ม ผลประโยชน์ (Interest groups) และกลุ่มกดดัน (pressure groups) ต่างใช้วิธีการกดดันรัฐบาลในการกําหนดหรือดําเนิน นโยบายท่ีกลุ่มตนเองต้องการในขณะเดียวกันรัฐบาลเองก็ต้องการ ดําเนินนโยบายและม่งุ เนน้ การบริหารจัดการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ทางเศรษฐกิจ ซ่ึงการจะบรรลุเป้าหมายดังกล่าวก็จําเป็นต้องพึ่งพา และรว่ มมือกับกลุ่มผลประโยชน์และกลุ่มกดดันต่างๆ สําหรับแนวคิดหรือทฤษฎีที่สามารถนํามาใช้ในการอธิบาย ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการเมืองกับประชาชนท่ีสําคัญคือ แนวคิดหรือ ทฤษฎีการตัดสนิ ใจเลอื กของส่วนรวมหรือทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ (public choice theory) ซึ่งแนวคิดดังกล่าวอธิบายว่า ในความสัมพันธ์ระหว่างพรรคการเมือง นักการเมืองหรือรัฐบาลกับ ประชาชน น้ัน เปรียบได้กับความสัมพันธ์ระหว่างพ่อค้ากับ ผบู้ รโิ ภค ท้งั นี้ นักการเมือง พรรคการเมือง รัฐบาล ทําหน้าท่ีในการ ผลิตสินค้า ท่ีเรียกว่า “สินค้าสาธารณะ” ภายใต้รูปแบบ “นโยบายสาธารณะ” (public policy) ในขณะท่ีประชาชนเป็น
[91] “ผู้บริโภค” (customer) เป็น “ผู้ซ้ือสินค้าและบริการ” หรือซ้ือ/ เลือก “นโยบายสาธารณะ” จากพรรคการเมือง นักการเมืองหรือ รัฐบาลซ่ึงทําการเสนอขายนโยบายในช่วงเวลาการหาเสียงเลือกตั้ง หลักการพื้นฐานของทฤษฎีการตัดสินใจเลือกของส่วนรวม คือท้ัง นักการเมือง พรรคการเมือง รัฐบาลและประชาชนต่างต้องการ ผ ล ป ร ะ โ ย ช น์ ห รื อ ท่ี เ รี ย ก ว่ า “ อ ร ร ถ ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สู ด ” (maximization of utility) กล่าวคือ นักการเมืองและพรรค การเมอื งต้องการชนะการเลอื กต้ังเพ่ือเข้าสู่อํานาจในการเป็นรัฐบาล ในขณะท่ีประชาชนต้องการนโยบายท่ีตอบสนองและมีประโยชน์ต่อ ตนเองมากทสี่ ดุ ความตอ้ งการของประชาชนย่อมมีความหลากหลาย ภายใต้พื้นฐานอาชีพวิถีชีวิตและชุมชนความแตกต่างดังกล่าวทําให้ ประชาชนท่ีมีหลากหลายมีความต้องการผลประโยชน์ ซึ่งในที่นี้คือ น โ ย บ า ย ท่ี ไ ม่ เ ห มื อ น กั น ก ลุ่ ม ค น ท่ี ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ด้ า น ธุ ร กิ จ อสังหารมิ ทรพั ย์ กลมุ่ ผปู้ ระกอบการอุตสาหกรรมรถยนต์ กลุ่มพ่อค้า ส่งออกข้าว คนกล่มุ เหล่านี้ย่อมตอ้ งการนโยบายสาธารณะที่เกิดจาก การตัดสินใจของรัฐบาลที่ไม่เหมือนกันเช่นเดียวกับประชาชนท่ี ประกอบอาชีพแตกต่างกันระหว่างเกษตรกรรมกับอาชีพรับจ้าง พนักงานบริษัท ขา้ ราชการ หรืออน่ื ๆ กรอบในการวิเคราะห์น้ีจึงศึกษาโครงการรับจํานํา/ประกัน ราคาข้าวท่ีเป็นนโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาลว่า มีข้อดี/ข้อเสีย และส่งผลต่อกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ อย่างไร เพื่อวิเคราะห์ ความสมั พนั ธ์ระหว่างการเมืองกบั เศรษฐกจิ
[92] การเมอื งกับการกาหนดนโยบายเศรษฐกิจและการนาไปปฏิบัติ โครงการรับจํานําข้าว เป็นแนวคิดของอาจารยจําเนียร สาระนาค ผู้ดํารงตําแหน่งผู้จัดการธนาคารเพ่ือการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร (ธกส.) คนแรก เริ่มดําเนินการตั้งแต่ พ.ศ. 2513-2514 เพ่ือแก้ปัญหาภาวะที่ข้าวถูกผลิตออกมาในปริมาณ มากจนทาํ ใหร้ าคาข้าวตกต่ํา โดยเม่ือเวลาผ่านไป 3 - 4 เดือน ราคา ข้าวจะข้ึนตามกลไกตลาด เมื่อน้ันชาวนาสามารถมาไถ่ข้าวไปขาย และนําเงินมาชําระคืนแก่ ธกส. โดยนายเอ็นนู ซื่อสุวรรณ ประธาน กรรมการมูลนธิ อิ าจารยจาํ เนยี ร สาระนาค (มสจ.) อดีตรองผู้จัดการ ธกส. ไดกลาวถึง การจํานําข้าววา “การจํานํา” คือจะมีการไถคืน เม่ือราคาดีข้ึน เพ่ือให้ชาวนามีทางเลือกจึงไมควรกําหนดราคาไวสูง เกินและควรกําหนดขอบเขตของเกษตรกรที่ประสบปัญหาต้องการ ความชว่ ยเหลอื จรงิ ๆ เพอื่ ไมให้เป็นการสิ้นเปลืองเปลืองเงินภาษีของ ประชาชน แต่หากนับเป็นยุคของรัฐบาลแรกท่ีกําหนด “โครงการรับ จานาข้าว” คือรัฐบาลของ พล.อ.เปรม ติณสูลานนท เมื่อปี 2524 และรัฐบาลต่อๆมาก็ใช้นโยบายรับจํานําข้าวมาเร่ือยๆ จนกระท่ังปี 2552 รัฐบาลอดีตนายกฯอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ไดเปลี่ยนจาก โครงการรับจํานําข้าวมาเป็น “โครงการประกันราคาข้าว” เป็น นโยบายของรัฐบาล จนกระทั่งในสมัยรัฐบาลนางสาวย่ิงลักษณ์ ชินวัตร ได้มีนโยบายรับจํานําข้าวเปลือกใหม่ โดยรัฐบาลให้ ธ.ก.ส. เป็ นผู้ รับ จํา นํา ข้า ว แ ละเก็บ รั กษาข้าว ไว ท่ี ยุ้ง ฉา งของ ชา วน าห รื อ สถาบันเกษตรกรและอีกบางสว่ นเก็บไว้ภายใต้โรงสีขององค์การคลัง สนิ คา กระทรวงพาณิชย์
[93] ซึ่งสาเหตุที่รัฐบาลนําโครงการรับจํานําข้าวมาบรรจุเป็น นโยบายรัฐบาลเพราะไดหาเสียงกับประชาชนและไดแถลงนโยบาย กบั สภาเอาไวแลว จงึ ตอ้ งมีการปฏบิ ตั ิตามนโยบายท่ีแถลงต่อสภาจะ มายกเลิกไมได้ โดยวเิ คราะหต์ ามทฤษฎที างเลือกสาธารณะ (public choice theory) พรรคการเมือง นักการเมืองหรือรัฐบาล (พ่อค้า) ไดท้ าํ การเสนอขายนโยบาย (สนิ ค้า) ในชว่ งเวลาการหาเสียงเลือกตั้ง ให้กับประชาชน (ผู้บริโภค) ผู้มีสิทธิเลือกต้ัง เพื่อให้ตนเองชนะการ เลือกตั้ง ในขณะที่อีกฝ่ายก็ต้องการนโยบายท่ีตอบสนองและมี ประโยชนต์ อ่ ตนเองมากทส่ี ุด
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348