แบบประเมินความรู้สึกต่อภารกิจในคาบเรียนที่ครูมีความเคร่งครัด ในเรื่องการจัดการเรียนการสอนตามโครงสร้างเวลา ซ่ึงก�ำหนดให้ การเรียนรู้แต่ละครั้งมีภารกิจหลัก ๒ ภารกิจ ท�ำให้ง่ายต่อการ ย่อยความรู้ของนักเรียน และง่ายต่อการจัดการเวลาของครู ในคาบเรยี นนพ้ี บวา่ ผเู้ รยี นทกุ คนเลอื กความรสู้ กึ ทเี่ ปน็ หนา้ ยมิ้ (ระดบั ๓ และ ๔) และไม่มผี ู้เรยี นคนใดเลือกใบหนา้ ท่ีเป็นหนา้ บึง้ (ระดับ ๑ และ ๒) เลย ตา่ งไปจากคาบทผ่ี ู้สอนเคยเผลอไม่รักษาเวลาให้เปน็ ไปตามแผน ซึ่งปรากฏผล สะท้อนให้เห็นในแบบสะทอ้ นการเรยี นรทู้ ้ายคาบทันทีเช่นกนั • 201 •
แบบสะท้อนการเรียนรู้ของเด็กหญิงญาณิศา เสถียรภาพอยุทธ์ ในคาบเรียนท่ีครูขาดความเคร่งครัดในเรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามโครงสร้างเวลา เน่ืองจากยึดเน้ือหาและใช้การสอนโดยเน้น การถามตอบระหว่างครูกับผู้เรียนเป็นส่วนใหญ่ จะเหน็ ไดว้ า่ ผเู้ รยี นสะทอ้ นความรสู้ กึ “เบอื่ ” เนอื่ งจากมกี ารใชเ้ วลายาวนานเกนิ ไป ออกมาอย่างชัดเจน เน่ืองจากในคาบนี้ครูไม่สามารถจัดการให้กิจกรรมการรับฟัง และการแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ เสรจ็ สนิ้ ตามเวลาทก่ี ำ� หนดไวไ้ ด้ นอกจากนผ้ี เู้ รยี น ยังตั้งเป้าหมายในครั้งหน้าว่าจะพัฒนา “การฟัง” อย่าง “อดทน” ให้ดีขึ้นอีกด้วย ซึ่งการสะท้อนลักษณะเช่นน้ีไม่พบว่าเกิดข้ึนในแผนการสอนท่ีครูสามารถจัดการ เวลาตามโครงสร้างการเรียนรู้ทอ่ี อกแบบเอาไว้ได้ดี การจัดการเวลาส�ำหรับครูน้ันเป็นเรื่องที่ต้องฝึกฝนอย่างสม่�ำเสมอ โดยการ จัดการเวลาที่ดี มไิ ด้หมายถงึ การแสดงความสามารถในการควบคมุ การทำ� สิง่ ต่างๆ ในช้ันเรียน แต่ต้องริเร่ิมจากการออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้องส่งเสริมกับเวลา โดยทำ� ใหผ้ เู้ รยี นบรรลผุ ลลพั ธก์ ารเรยี นรสู้ ำ� คญั เปน็ สง่ิ ทผี่ สู้ อนยงั ตอ้ งฝกึ ฝนใหด้ ขี น้ึ และท�ำส่ิงท่ีท�ำได้ดอี ยู่แลว้ ใหเ้ กดิ ข้ึนอย่างสม�่ำเสมอจนเป็นนสิ ัยต่อไป • 202 •
๑๗ สร้างทกั ษะการคดิ บันทึกน้ีเป็นบันทึกท่ี ๓ ใน ๔ บันทึก ภายใต้ชุดความคิดว่าด้วยการหนุน ศักยภาพของนักเรยี น (enrichment mindset) ตีความจาก Chapter 14 : Strengthen Thinking Skills สาระหลักในบันทึกน้ีคือ ครูต้องฝึกทักษะการคิดให้แก่ศิษย์ที่ขาดแคลนโดยใช้ เครอื่ งมอื ทห่ี ลากหลาย แตผ่ มมคี วามเหน็ วา่ ศษิ ยท์ กุ คนตอ้ งการฝกึ ทกั ษะการคดิ ทง้ั สน้ิ และทักษะการคิดมีหลายระดับ ดังนั้นคนเราทุกคนจึงต้องฝึกฝนตนเอง ในเร่ืองนี้ น่นั คือเราทุกคนตอ้ งมที ักษะในการฝกึ การคิดของตนเอง และตอ้ งฝึกไปตลอดชีวติ นกั เรยี นยากจนขาดแคลนมกั มาโรงเรยี นพรอ้ มกบั ความบกพรอ่ งดา้ นการเรยี นรู้ อนั ไดแ้ ก่ ความบกพรอ่ งดา้ นการมสี มาธจิ ดจอ่ ความสนใจ ดา้ นความเรว็ ในการประมวล ขอ้ มลู และดา้ นความจำ� ซงึ่ ขอ้ บกพรอ่ งเหลา่ นเ้ี ปน็ อปุ สรรคตอ่ การพฒั นาทกั ษะการคดิ แตค่ รทู ีเ่ อาใจใสส่ ามารถช่วยเหลือศษิ ย์ได้ ทักษะการคิดเป็นทักษะที่ครอบคลุมกว้างขวาง นักเรียนที่มีทักษะการคิดดีน้ัน จะแสดงออกดังต่อไปนี้ มีทักษะในการเอาใจใส่ สามารถบังคับตนเองให้จดจ่ออยู่ กับส่ิงที่ก�ำลังท�ำ จัดการสาระความรู้โดยการประเมิน จัดกระบวนการ จัดล�ำดับ ความส�ำคัญ เรียงล�ำดับสาระ จ�ำสาระไว้ในความจ�ำใช้งาน เปรียบเทียบและ ท�ำความเข้าใจความต่าง ขยายความและใช้ความจ�ำใช้งานในขณะเดียวกันกับ การจัดการสาระ และท้ายท่ีสุดรอคอยผล จนถึงคราวที่ต้องการค�ำตอบ จะเห็นว่า ทกั ษะการคดิ มที กั ษะยอ่ ยจำ� นวนมาก เปน็ เหตผุ ลทท่ี ำ� ใหก้ ารสอนทกั ษะการเรยี นรู้ เปน็ ส่งิ ทา้ ทายมาก • 203 •
หนา้ ทข่ี องครคู อื เออ้ื อำ� นาจใหน้ กั เรยี นไดฝ้ กึ วธิ คี ดิ ทถ่ี กู ตอ้ งตอ่ สถานการณน์ น้ั ๆ การคิดที่ดีที่สุดคือ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ (critical thinking) ซ่ึงหมายถงึ การคดิ ท่ีมีประสิทธิผล มีความใหม่ ไม่เลียนแบบใคร และมีแนวทางของตนเอง การคิด อย่างมีวิจารณญาณเกิดขึ้นเม่ือนักเรียนเอาชนะอคติที่พบบ่อยได้ (มองด้านเดียว ละเลยขอ้ มลู หลกั ฐานทไี่ มส่ อดคลอ้ งกบั ความเชอื่ ของตน คดิ เปน็ เหตเุ ปน็ ผลไมเ่ ปน็ และลืมหาข้อมูลหลกั ฐาน) นักเรียนต้องฝึกคิดเอง ไม่ลอกเลียนมาจากสถานการณ์ที่คล้ายคลึง ไม่รอพ่ึง การบอกใบจ้ ากครู หรือผอู้ นื่ ย�ำ้ วา่ ทักษะการคิดเปน็ สงิ่ ทฝี่ กึ ได้ กลยุทธการสอนทกั ษะการคิด ครตู อ้ งฝกึ การคดิ แบบใชเ้ หตผุ ลใหแ้ กศ่ ษิ ย์ โดยคำ� นงึ ถงึ ขอ้ จำ� กดั ของการใชเ้ หตผุ ล ๒ ข้อ (๑) ตัวครูเองต้องฝึกตนเอง (๒) การใช้เหตุผลอย่างถูกต้องเป็นเรื่องท่ีมี บริบท หากน�ำไปใช้ต่างบริบท (ภาษาวิชาการเรียกว่า transfer) มักได้ผลลดลง หรอื อาจไม่ได้ผลเลย เครอื่ งมือสำ� หรับฝึกการใชเ้ หตผุ ล มีดงั ต่อไปน้ี คน้ หา (อ่าน ฟงั และผา่ นประสบการณ์) ประยุกต์มาตรฐาน ตคี วามและระบุปัญหาทแ่ี ทจ้ รงิ วิเคราะห์ เปรียบเทยี บ และระบคุ วามแตกต่าง ตรวจสอบขอ้ เสนอ หลกั ฐาน และอคติ ใชก้ ารคิดเหตผุ ลแบบนิรนัย (deduction) และอปุ นัย (induction) ท�ำนาย และสรปุ จากหลกั ฐาน แปลความ อธบิ าย และดำ� เนนิ การ หวั ใจคอื นกั เรยี นตอ้ งไดร้ บั การฝกึ ทกั ษะการคดิ ในทกุ กจิ กรรม และทกุ สว่ นของ หลักสตู ร โดยมวี ธิ ีการทีห่ ลากหลายมาก ดงั ตัวอย่าง • 204 •
สอนภาษาของการคดิ พ้ืนฐานส�ำคัญของการคิดคือ ภาษา นักเรียนพึงได้รับการส่งเสริมให้ใช้ภาษา วชิ าการท่โี รงเรียน ทง้ั ภาษาพูดและภาษากายสำ� หรบั ส่ือสารความคิด ตวั อยา่ งเช่น ใหน้ ักเรียนอธิบายค�ำตอ่ ไปน้ี แลว้ ครูตรวจสอบความเขา้ ใจ “ขอ้ โตแ้ ย้งน้ีมีความหมายต่อไปน้ี” “มีคำ� อื่นๆ อะไรบ้าง ท่ีเหมือนหรอื คลา้ ยกบั คำ� วา่ ความหมาย” “ถา้ ครตู ดั ขนมออกเปน็ ชนิ้ เลก็ ๆ ครกู ำ� ลงั ทำ� อะไร” เมอื่ นกั เรยี นตอบ ครถู ามตอ่ เพอ่ื ทำ� ความเขา้ ใจคำ� ของเดก็ เชน่ “ตดั หมายถงึ แบง่ ใชไ่ หม” “แบง่ หมายถงึ แยกออก เปน็ ช้นิ เล็กๆ ใช่ไหม” ค้นหาสารสนเทศส�ำหรบั ใชแ้ ก้ปญั หา ครสู ง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นเปน็ นกั สงสยั และแกป้ ญั หา โดย ๑ ขนั้ ตอนคอื (๑) สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นเปน็ คนขส้ี งสยั และคน้ หาขอ้ มลู หลกั ฐานสคู่ ำ� ตอบโดยครทู ำ� เปน็ ตวั อยา่ ง ซง่ึ อาจทำ� ไดโ้ ดยในทกุ ๆ สปั ดาห์ ครเู อาสง่ิ ของทสี่ รา้ งความพศิ วงแกค่ รมู าใหน้ กั เรยี นดู (๒) ฝกึ ใหน้ กั เรยี นรจู้ กั แยกแยะขอ้ มลู / สารสนเทศ ชใ้ี หน้ กั เรยี นรจู้ กั ประเมนิ ความ น่าเช่ือถือ โดยดูที่แหล่งที่มา (๓) ฝึกให้นักเรียนรู้จักเลือกปัญหาที่เหมาะสมที่จะ น�ำมาแกห้ รือโตแ้ ย้ง โดยมหี ลกั ๗ ประการต่อไปน้ี ๑. ระบุปัญหาท่ีถูกตอ้ ง ๒. ทำ� รายการอคตสิ ่วนตวั และวิธเี อาชนะอคตเิ หล่านนั้ ๓. สรา้ งเส้นทาง สู่เป้าหมายทน่ี ่าจะเป็นไปได้ ๒ - ๕ เสน้ ทาง ๔. ประเมนิ และเลือก ๑ เส้นทาง สำ� หรับเรม่ิ ๕. ดำ� เนนิ การส่เู ปา้ หมาย ๖. วิเคราะห์ผล หากไมบ่ รรลเุ ป้า ลองเส้นทางใหม่ ๗. สรปุ ขอ้ เรียนรู้ • 205 •
ต้ังค�ำถามทถ่ี กู ตอ้ ง นกั เรยี นทผี่ ลการเรยี นดี มกั ตงั้ คำ� ถามทแี่ สดงการคดิ อยา่ งใครค่ รวญ ครพู งึ สอน นกั เรยี นใหเ้ ลอื กตง้ั คำ� ถามทถี่ กู ตอ้ ง ซงึ่ จะชว่ ยใหน้ กั เรยี นใชเ้ วลาใหเ้ กดิ ผลการเรยี นรู้ อยา่ งคมุ้ คา่ โดยใหข้ อ้ เขยี น ๑ ยอ่ หนา้ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนระบคุ ำ� ถามทค่ี ดิ วา่ สำ� คญั ที่สุดส�ำหรับฝึกแก้ปัญหา แล้วให้นักเรียนจับคู่แลกเปล่ียนและปรึกษากันว่าปัญหา ที่แท้จริงส�ำหรับฝึกแก้คืออะไร ให้นักเรียนเสนอปัญหาท่ีเลือกทีละคู่และให้บอก หลักฐานสนับสนุนการตัดสนิ ใจ จดั ใหม้ ีการโต้แยง้ เพ่อื การเรียนรู้ สอนนักเรียนว่า การคิดอย่างมีเหตุผลมักต้องมองประเด็นจากหลายมุม หรือ คิดหลายแบบ ทีละแบบ หรือท่ี Edward de Bono บอกว่าต้องสวมหมวกทีละสี เพ่ือคิดทีละแบบ รวม ๖ แบบ ตามหนังสือ The Six Thinking Hats (http:// www.brandage.com/article/5205/Six-Thinking-Hats) หรอื บอกวา่ คราวนจี้ ะขอคดิ แบบนักวิทยาศาสตร์ คราวน้ีขอคิดแบบนักนิเวศวิทยา คราวนี้ขอคิดแบบนักธุรกิจ ฯลฯ ใหน้ กั เรียนไดต้ ระหนกั ว่า มวี ธิ ีคิดในแบบต่างๆ ไดอ้ ย่างไมส่ น้ิ สุด เขาแนะน�ำให้ครูจัดให้นักเรียนด�ำเนินการคิด ๕ ขั้นตอนต่อไปน้ี ในฉาก สถานการณท์ น่ี า่ สนใจสำ� หรบั นกั เรยี น จนเมอื่ เหน็ วา่ นกั เรยี นทำ� ไดค้ ลอ่ ง จงึ ใหจ้ บั คู่ แลว้ ช่วยกันหาวิธคี ิดทีต่ รงกนั ขา้ ม ๑. ท�ำนายแนวทางหลักของการโต้เถยี ง (สนบั สนุนหรือแย้ง) และแนวทางอน่ื ๒. สรุปหลักฐานสนับสนนุ แตล่ ะแนวทาง ๓. วิเคราะห์แนวทางโต้แยง้ และขอ้ ดขี องแนวทางอน่ื ๔. อธิบายวา่ มหี ลกั ฐานอะไรที่บอกวา่ แนวทางหน่งึ ดีกว่าอกี แนวทางหนง่ึ ๕. สร้างข้อสรุปช่วั คราว และระบวุ ่าจะมขี ้อมลู ใดที่สามารถท�ำใหเ้ ปลีย่ นใจได้ • 206 •
แจกแจงนามธรรมทม่ี นุษย์สรา้ งขึน้ มนุษย์เราร่วมกันสร้างและร่วมกันเช่ือสิ่งที่เป็นนามธรรมมากมาย เช่น ความ ยตุ ธิ รรม ครใู หน้ กั เรยี นจบั คู่ แลว้ ชว่ ยกนั ทำ� รายการคำ� ทม่ี คี วามหมายใกลเ้ คยี ง หรอื สมั พันธ์กนั (ขน้ึ กับระดบั ชัน้ ของนกั เรียน) เช่น ความเป็นธรรม กฎหมาย ตำ� รวจ ศาล สิทธิมนุษยชน ฯลฯ อาจให้นักเรียนจัดกลุ่มความยุติธรรม เช่น ในสังคม ในชมุ ชน ในครอบครัว ใหน้ กั เรยี นเลา่ หรอื เขยี นประสบการณส์ ว่ นตวั เกยี่ วกบั เรอ่ื งทเ่ี ปน็ นามธรรมนนั้ ๆ แลว้ บอกวา่ ตนคดิ อย่างไร มขี อ้ สรุปในเรื่องนัน้ อยา่ งไร ใชแ้ ผนท่ขี ้อโตแ้ ยง้ แผนที่ข้อโต้แย้ง (argument mapping) เป็นเคร่ืองมือฝึกการคิดโดยใช้จักษุ สัมผัสชว่ ย (visual thinking tool) เขาแนะนำ� เวบ็ ไซต์ www.rationaleonline.com ส�ำหรับตัวอย่าง argument map โดยแนะน�ำว่าครูควรยกตัวอย่างประเด็นโต้แย้ง ทส่ี อดคลอ้ งกบั ความสนใจของนกั เรยี น นำ� มาทำ� argument map บนกระดานหนา้ ชน้ั รว่ มกบั นกั เรียน ทำ� เพยี งสองสามครง้ั นกั เรยี นก็จะทำ� argument map ด้วยตนเอง ไดค้ ลอ่ ง ตัวอยา่ งของ argument map ดังข้างลา่ ง ขอเสนอ ขอ มูลหลักฐาน ขอมูลหลกั ฐาน เห็นดวย ไมเ ห็นดว ย ขอโตแ ยง ขอโตแ ยง สนบั สนุนหรอื คา น สนบั สนุนหรอื คาน • 207 •
ใหน้ กั เรยี นแสดงความคดิ ออกมาเป็นค�ำพดู ในระหว่างที่นักเรียนด�ำเนินการแก้ปัญหา ให้พูดวิธีการตามข้ันตอนไปด้วย เท่ากับนักเรียนท�ำไปใคร่ครวญสะท้อนคิดเพ่ือเป็นข้อมูลป้อนกลับแก่ตนเองไป พร้อมๆ กัน วิธีการน้ีมี effect size ต่อผลการเรียนรู้เท่ากับ ๐.๖๔ และมีวิธีฝึก ดังนี้ ๑. ใหน้ กั เรยี นเลอื กปญั หาและจบั คกู่ บั เพอ่ื น ผลดั กนั พดู วธิ กี ารแกป้ ญั หากอ่ นทำ� และระหว่างทำ� ๒. นกั เรยี นยนื ขนึ้ แชรค์ วามคดิ ของตนตอ่ เพอ่ื นในชน้ั ครชู ว่ ยชแี้ นะใหค้ ดิ ลกึ ขน้ึ และเขา้ ใจประเดน็ ชัดเจนยง่ิ ข้นึ ใชค้ �ำถามทีม่ พี ลัง ครทู ี่มีประสบการณ์จะมีวธิ ตี ง้ั คำ� ถามเพื่อช่วยการคดิ ของนักเรียน โดยอาจถาม เปน็ ชุด ดงั ตัวอย่าง “บอกครอู ีกทีว่าเธอมขี อ้ เสนออะไร” “เธอมีหลักฐานสนบั สนุนข้อเสนอน้ีอย่างไร” “เธอเชอ่ื มโยงขอ้ เสนอของสมชาย ทีเ่ พิง่ เสนอไปเมือ่ สกั ครู กับข้อเสนอของ เธออยา่ งไร เป็นขอ้ เสนอเดยี วกนั หรอื ต่างกนั เธอเหน็ ด้วยหรือไม่เหน็ ด้วย” “สาเหตุทน่ี ่าจะเป็นไปได้ของสง่ิ นัน้ คอื อะไร” “ท�ำไมเขาจึงท�ำเช่นนัน้ เธอมวี ธิ ที ำ� ทแ่ี ตกต่างออกไปหรอื ไม”่ ผู้เขียน (Eric Jensen) บอกว่าวธิ ีการตง้ั ค�ำถามทตี่ นยึดถือมดี ังตอ่ ไปน้ี ให้เวลาคิดอย่างเพียงพอ (๕ - ๑๐ นาที) มีประโยคคำ� ตอบใหใ้ ช้ (สงิ่ นเี้ ป็นความจริงเพราะ...) อยา่ ยอมรบั คำ� ตอบแบบขอไปที (ใช่ ไมใ่ ช่ ไมท่ ราบ) บอกใหต้ อบใหม่ หรอื ให้ฟงั คำ� ตอบของเพอ่ื นคนถัดไปอีก ๒ คน แลว้ ตอบใหม่ เขยี นตวั อยา่ ง “ตน้ ไมค้ ำ� ถาม” ทแ่ี สดงคำ� ถามในระดบั ตำ�่ (หรอื งา่ ย) และคำ� ถาม ในระดับยากหรือซับซ้อน ติดไว้ในห้อง โดยครูอาจให้นักเรียนช่วยกันคิด และครู หม่ันชี้ให้นักเรียนดูและฝึกต้ังค�ำถามท่ีซับซ้อน เพ่ือให้นักเรียนได้ฝึกคิดซับซ้อน ทเ่ี รียกว่า higher-order thinking • 208 •
เม่ือนักเรียนเสนอความคิดท่ีเป็นตัวของตัวเอง ครูต้องกล่าวค�ำขอบคุณ และ บอกว่าเปน็ ความคดิ ท่นี ่าชน่ื ชม ส่งเสริมทักษะการคิดข้ันสงู ครพู งึ ตระหนกั อยเู่ สมอวา่ คำ� ถามทก่ี ระตนุ้ การคดิ ชว่ ยพฒั นาสมองของนกั เรยี น แตท่ ด่ี ยี ง่ิ กวา่ นน้ั คอื การฝกึ ใหน้ กั เรยี นรจู้ กั ตงั้ คำ� ถามทดี่ ี เขาอา้ งถงึ หนงั สอื Making Thinking Visible : How to Promote Engageent, Understanding, and Independence for All Learners เขยี นโดย Ron Ritchhart, Mark Church, and Karin Morrison (2011) ที่เสนอให้ครูใช้เครื่องมือ ๓ ชิ้นเป็นประจ�ำทุกวัน ได้แก่ (๑) เสนอความคดิ และตรวจสอบ (๒) สังเคราะห์และจัดระบบ และ (๓) ค้นหา มิติท่ีลึกและเช่ือมโยงยิ่งขึ้น โดยให้นักเรียนฝึกเขียนค�ำถาม ถามเพื่อน ให้เพ่ือน ฝกึ ตอบโดยใช้เครอ่ื งมอื ๓ ชนิ้ ดงั กล่าว เขาแนะน�ำเครอ่ื งมือชว่ ยการคิดและการตงั้ ค�ำถามตอ่ ไปน้ี สำ� รวจสงิ่ ทตี่ นรู้ และพงึ ต้ังค�ำถามเพ่มิ ขนึ้ ใหน้ กั เรยี นต้ังวงแสดงขอ้ คิดเหน็ และตงั้ คำ� ถาม ทแ่ี ตกตา่ ง ใชป้ ระโยคในแนว “ฉันเคยคิดวา่ ... แต่เด๋ยี วนี้ฉันคิดวา่ ...” เสนอความเห็นสองขั้วตรงกันข้าม และการต่อสู้กันด้วยถ้อยค�ำ พร้อมกับ ตงั้ คำ� ถาม ใหเ้ สนอความเหน็ เปน็ ประโยค เปน็ วลี เปน็ คำ� เพอ่ื สอ่ื สารความหมาย และ ส่อื สารคำ� ถามดว้ ยถ้อยค�ำที่สัน้ ลงทลี ะขั้น เขาแนะน�ำให้เร่ิมฝึกโดยใช้โมเดลง่ายๆ เช่น “โมเดลสามขั้น” (๑) เสนอ (๒) ข้อสนับสนนุ (๓) คำ� ถาม เชน่ มีขอ้ เสนออ่ืนที่ถูกต้องไหม หลังจากนักเรยี น ใช้โมเดลอ่ืน หรือคิดโมเดลข้นึ เอง ทกั ษะการใชเ้ หตผุ ล หรอื ทกั ษะการคดิ ทซี่ บั ซอ้ น ถอื เปน็ “ทกั ษะชวี ติ ” ทจี่ ะเปน็ ประโยชน์ไปตลอดชวี ติ • 209 •
๑๘ เพ่มิ ทกั ษะการเรียนรู้และคลังค�ำ บันทึกนี้เป็นบันทึกสุดท้าย ภายใต้ชุดความคิดหนุนศักยภาพของนักเรียน (enrichment mindset) ตีความจาก Chapter 15 : Enhance Study Skills and Vocabulary สาระหลักของบันทึกน้ีคือ หากครูสังเกตเห็นว่า นักเรียนบางคนเหม่อลอย ท้อถอย ขาดแรงจูงใจในการเรียน ครูต้องเอาใจใส่ช่วยเพ่ิมทักษะการเรียนรู้ของ นกั เรยี นคนนนั้ เปน็ พเิ ศษ ในกรณขี องโรงเรยี นในพน้ื ทยี่ ากจน หา่ งไกล การใชว้ ธิ กี าร ตามในบันทกึ นจ้ี ะช่วยยกระดับนกั เรยี นทง้ั ช้ัน ผลของความยากจนต่อสมองเด็กเร่ิมตั้งแต่เยาว์หากไม่แก้ไข ช่องว่างการ เรียนรู้ระหว่างเด็กขาดแคลนกับเด็กจากครอบครัวช้ันกลาง จะกว้างขึ้นเรื่อยๆ แต่ หากมีการแก้ไขอย่างถูกต้อง ตั้งแต่ระดับอนุบาลถึง ป.๒ เด็กจะมีผลการเรียนรู้ เหมอื นเดก็ ทวั่ ไป ตรงกนั ขา้ มหากไมไ่ ดร้ บั การแกไ้ ข หรอื แกไ้ ขไมไ่ ดผ้ ล เดก็ จะมผี ล การเรียนร้ตู ำ�่ กวา่ ชน้ั เรียน และค่อยๆ ล้าหลงั ขึ้นเรอ่ื ยๆ นำ� ไปสกู่ ารออกจากระบบ การศกึ ษาในที่สดุ การฝกึ ทกั ษะการเรยี นรมู้ เี ปา้ หมายพฒั นาทกั ษะการเรยี นรจู้ ากระดบั “มอื ใหม”่ (novice) สู่ระดับ “เชี่ยวชาญ” (expert) รวมท้ังมีเป้าหมายยกระดับศักยภาพใน การเรียนรู้ (cognitive capacity) โดยมี “เคร่อื งมอื พัฒนาสมอง” ๓ ชิ้นตอ่ ไปนี้ • 210 •
ทักษะการเรยี นรจู้ ำ� เพาะบริบท ผลการวิจัยดูผลของการฝึกทักษะการเรียนรู้ มีทั้งท่ี effect size ต่�ำ และที่ effect size สูง ท่ี effect size ต่�ำ (๐.๔๕) มักเป็นการฝึกทักษะท่ัวๆ ไป ไม่มี เปา้ หมายเฉพาะ สว่ นการฝกึ ทใี่ ห้ effect size สงู (๐.๗๗ หรอื สงู กวา่ ) ใชเ้ ครอ่ื งมอื ท่ีดี เช่น คู่มือเรียนรู้ (study guide) วิธีเรียน (study procedures) เคร่ืองมือ จัดระบบความรู้แบบก้าวหน้า (advanced organizers) และฝึกทักษะการเรียนรู้ ทจี่ ำ� เพาะตอ่ วิชา (subject-specific skills) การฝึกทกั ษะการเรียนรมู้ ีความซับซอ้ นเพราะปจั จยั ต่อไปนี้ งานวิจัยด�ำเนินการไม่ตรงกัน ในเรื่องข้ันตอนหลัก และกระบวนการ ของ แตล่ ะเทคนคิ ท�ำใหเ้ ปรียบเทยี บผลงานวิจัยยาก ในการใชเ้ ครอ่ื งมอื ชว่ ยการเรยี นรแู้ ตล่ ะชนดิ หากมกี ารประยกุ ตท์ กั ษะเรยี น รู้วิธีเรียน (metacognition) โดยให้ผู้เรียนหม่ันประเมินตนเอง จะช่วยให้ผลลัพธ์ การเรียนรู้ดีข้ึน หรือกล่าวใหม่ว่า ในการด�ำเนินการจริง มักใช้หลายเครื่องมือไป พร้อมๆ กนั การใชเ้ ครอ่ื งมอื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรวู้ ชิ าการและการคดิ (cognition) มกั มีผลต่อการเรียนรู้ด้านจิตใจ (affective) ด้วย คือช่วยเพ่ิมความเข้าใจตนเอง แรงจูงใจ และความมานะพยายาม การทดสอบผลด�ำเนินการต่างกัน เช่น ทดสอบหน่ึงชั่วโมงให้หลัง หรือ ๑ เดอื นให้หลงั มผี ลต่างกัน • 211 •
ตวั อย่างของเครอื่ งมอื ช่วยการเรยี นรูท้ ไี่ ด้ผลดี ดำ� เนินการดงั นี้ ๑. เชอื่ มโยงวธิ ีเรียนเข้ากบั เนื้อหา ๒. สอนใหน้ กั เรยี นมที กั ษะเรยี นรวู้ ธิ เี รยี นของตน โดยใหม้ คี วามสามารถประเมนิ ความลึก และความแม่นย�ำของการเรยี นรู้ที่เกิดข้นึ ๓. ฝกึ ใหเ้ รยี นรู้ thinking map ชนดิ ตา่ งๆ เชน่ ผงั งาน (flowchart) bubble map และ mind map ๔. เมอ่ื จบบทเรยี น ทบทวนการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นดว้ ยคำ� ถาม เธอทำ� ผลงานนน้ั อยา่ งไร เธอจะท�ำใหไ้ ด้ผลดกี วา่ นน้ั ไดอ้ ย่างไร ๕. เช่ือมโยงความสำ� เรจ็ เขา้ กบั ความพยายาม เจตคติ และกลยทุ ธ์การเรียน ๖. ให้ฝึกทบทวนสาระจากความจ�ำ (retrieval) ไม่ใช่เพียงทบทวนการเรียน (study review) ครฝู กึ แตล่ ะขนั้ ตอนใหแ้ กน่ กั เรยี นทงั้ ชนั้ แลว้ ใหน้ กั เรยี นฝกึ ปฏบิ ตั เิ องเปน็ คู่ เมอ่ื คลอ่ งดีแล้วกใ็ หฝ้ กึ แก้ปญั หาเอง เคร่ืองช่วยใหเ้ ข้าใจความเชื่อมโยง เครื่องมือที่คุ้นเคยกันดี เช่น การจดสาระส�ำคัญ การสรุปประเด็น ให้ผลต่อ effect size สูงถึง ๑.๐ เครื่องมือช่วยให้นักเรียนเข้าใจโครงสร้างของเร่ืองที่เรียน เช่น โครงเรอื่ ง (outline) ให้ effect size ๐.๕๘ เครอื่ งมอื ชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจความเชอื่ มโยง (relational study aids) เชน่ bubble map mind map และ Venn diagram เป็นต้น มปี ระโยชน์มากแตม่ กี ารใชน้ ้อย • 212 •
ตวั อยา่ งเครอื่ งมอื ชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจความเชอ่ื มโยงในการแกป้ ญั หาของวชิ าคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถม เจตคติเชิงบวก -> ท�ำความเข้าใจชนิดของปัญหา (บวก ลบ คูณ หาร) -> เลอื กวธิ ี -> ทดลองใช้ แล้วใช้ -> ตรวจสอบผลลัพธ์ ตัวอย่างเคร่ืองมือช่วยการเรียนคณิตศาสตรช์ น้ั มธั ยม ๑. เรมิ่ ด้วย เจตคตเิ ชงิ บวก “ฉันท�ำได้” ๒. ท�ำความรู้จักชนิดของปัญหา ทั้งท่ีเป็นปัญหาถ้อยค�ำ ปัญหาปลายเปิด ปัญหาปลายปดิ ปญั หาตรรกะ ฯลฯ ๓. วิเคราะห์ปัญหาด้วยค�ำถาม เช่น ส่ิงท่ีรู้แล้วคืออะไร สิ่งท่ีไม่รู้คืออะไร ข้อจำ� กัดเป็นอย่างไร มอี ะไรบา้ งที่ประมาณเอาได้ ๔. เลอื กวธิ ี เชน่ ใช้ algorithm หรอื ใชส้ ตู ร กราฟ การคำ� นวณทางคณติ ศาสตร์ หรือแปลงเปน็ เร่ืองราวทีม่ ีตวั ละคร ๕. ตรวจสอบผลงาน ด้วยการประเมินโดยทวนจากหลังไปหน้า ตรวจสอบกับ ผลประมาณการ ตรวจสอบประเดน็ ที่มักผิดบ่อย ๖. ตัดสินใจ เช่น หากผลลัพธ์ท่ีได้ไม่ถูกต้อง ท�ำข้ันตอนท่ี ๒, ๓, ๔ ใหม่ ดว้ ยวิธีการใหม่ ทดลองหลายวิธี และละจากวธิ ที ่ีไม่ไดผ้ ล อาจแบง่ โจทย์เป็นท่อนๆ แกโ้ จทยท์ ีละทอ่ น หรอื อาจถามเพื่อน ๗. เป็นเจ้าของค�ำตอบ หากค�ำตอบถูกต้องให้เฉลิมฉลองความส�ำเร็จ ทบทวน ท�ำความเข้าใจขัน้ ตอน จดจำ� ไว้ใช้ในโอกาสต่อไป ครพู งึ ฝกึ ทกั ษะการเรยี นรใู้ หแ้ กน่ กั เรยี นตามบรบิ ททจี่ ำ� เพาะ ใชเ้ ครอื่ งมอื เรยี นรู้ ทสี่ ะทอ้ นโครงสรา้ งเนือ้ หา และความสัมพนั ธร์ ะหว่างแต่ละส่วนของเน้อื หา • 213 •
ครูควรท�ำงานร่วมกันเป็นทีม เพ่ือพัฒนาคู่มือเรียนรู้ ๕ - ๗ ข้ันตอน ส�ำหรับ แต่ละสาระการเรียนรู้หลักของนักเรียนแต่ละระดับชั้น ส�ำหรับใช้บูรณาการอยู่ใน กระบวนการเรียนรู้ เพ่ือดึง (retrieving) ความรู้ออกมา ๑ วัน หรือ ๑ สัปดาห์ ให้หลัง หากท�ำโปสเตอร์ แสดงคู่มือดังกล่าวติดไว้ในห้อง จะช่วยได้มาก โดยครู ตอ้ งหมนั่ เอย่ ถงึ คูม่ ือนี้บ่อยๆ ทกั ษะการเรยี นรจู้ ำ� เพาะบรบิ ทน้ี ตอ้ งใชร้ ว่ มกบั เครอ่ื งมอื อกี ตวั หนงึ่ คอื การชว่ ย ใหน้ กั เรียนมคี ลังคำ� ทางวิชาการเพิม่ ข้นึ สร้างทกั ษะเชงิ ถอ้ ยคำ� นกั เรยี นทมี่ าจากครอบครวั ยากจนมกั มคี ลงั คำ� ในสมองนอ้ ยกวา่ เพอื่ นๆ ทม่ี าจาก ครอบครัวชั้นกลาง เป็นต้นเหตุของปัญหาการเรียน นอกจากนั้น นักเรียนยากจน เหลา่ นยี้ งั ไดร้ บั การกระตนุ้ สมองนอ้ ย มคี วามออ่ นแอดา้ นภาษากวา่ เพอ่ื นในชน้ั ทมี่ า จากครอบครวั ชน้ั กลาง โดยลา้ หลงั กวา่ หลายปี ทอี่ ายุ ๗ ขวบ นกั เรยี นทว่ั ไปมคี ลงั คำ� ๗,๑๐๐ คำ� แตน่ กั เรยี นยากจนมเี พยี ง ๓,๐๐๐ คำ� ชอ่ งวา่ งนแี้ กไ้ ขไดโ้ ดยใหน้ กั เรยี น ยากจนเรียนรคู้ ำ� ใหมว่ ันละ ๕ ค�ำ เพ่มิ จากการเรียนตามปกติ เป็นเวลา ๔ - ๕ ปี การเพมิ่ คลงั คำ� ใหแ้ กน่ กั เรยี นขาดแคลนจงึ มคี วามสำ� คญั มากตอ่ ความสำ� เรจ็ ในการเรยี น มผี ลการวจิ ยั บอกวา่ เมอื่ ครใู หน้ กั เรยี นขาดแคลนเรยี นรคู้ ำ� ใหม่ (ทสี่ อดคลอ้ งกบั บทเรยี น) ๑๐ - ๑๒ ค�ำต่อสัปดาห์ เป็นเวลา ๑ ปี มีผลเพ่ิม effect size ของผลการเรียน สูงถงึ ๐.๙๕ ตอ่ ไปน้เี ป็นเครอ่ื งมือเพิ่มคลงั ค�ำใหแ้ กน่ กั เรียน ๓ เครอื่ งมอื ให้ตวั อย่าง แล้วใหฝ้ ึกใช้คำ� ครูใช้ค�ำให้ดู (ฟัง) เป็นแบบอย่าง โดยยกตัวอย่างประโยค แล้วให้นักเรียน ทายความหมาย หากนักเรียนบอกไม่ได้ ครูให้ประโยคใหม่ แล้วให้คน้ ความหมาย ในพจนานุกรมร่วมกับเพ่ือน จนเมื่อนักเรียนเข้าใจความหมายของค�ำแล้วให้ แตง่ ประโยคดว้ ยคำ� นน้ั โดยทำ� รว่ มกนั กบั เพอ่ื น จนในทสี่ ดุ ใหน้ กั เรยี นแตง่ ประโยคท่ี ใช้ค�ำน้นั ดว้ ยตนเอง ลงทา้ ยดว้ ยการใหน้ ักเรียนวาดภาพความหมายของค�ำน้ัน • 214 •
ใช้คำ� ศพั ทย์ ากๆ มีผลงานวิจัยเปรียบเทียบครูสองแบบ แบบแรกสอนโดยใช้ศัพท์พ้ืนๆ ท่ัวๆ ไป แบบหลังใชศ้ พั ท์สูงหรือยาก พบวา่ หลังจากผา่ นไป ๑ ปี ผลการเรียนอ่านเอาเรอื่ ง ของนกั เรียนท่ีครสู อนแบบหลงั ดีกวา่ อยา่ งชัดเจน ตัวอย่างเช่น แทนท่จี ะพดู ว่า ดีมาก ใช้คำ� ว่า เลิศ แทน แทนท่จี ะพูดว่า รถ ใชค้ ำ� ว่า ยานพาหนะ แทนที่จะพูดวา่ น้องสาว ใชค้ ำ� ว่า กนษิ ฐา สอนค�ำโดยตรง เขาแนะนำ� วธิ ีสอนค�ำ ๖ ข้นั ตอน ดังตอ่ ไปน้ี ๑. ใชก้ ารสาธติ โดยยกคำ� ศพั ทใ์ หมข่ น้ึ มาอธบิ ายความหมาย และตวั อยา่ งการใช้ ๒. ใชก้ ารพดู ทวนคำ� โดยใหน้ กั เรยี นอธบิ ายความหมายของคำ� ตามความเขา้ ใจของ ตนเอง ๓. ใชอ้ วจั นะภาษา โดยใหน้ กั เรยี นอธบิ ายความหมายของคำ� หรอื พยางค์ ดว้ ยรปู ภาพวาด สญั ลกั ษณ์ กราฟ และติดไว้ทผ่ี นังหอ้ งสว่ นทแ่ี สดงค�ำ ๔. ใช้การเช่อื มโยง โดยใหน้ กั เรยี นทำ� กจิ กรรมทชี่ ่วยการจดจ�ำค�ำน้ัน ๕. ใหน้ กั เรยี นสอนกนั เอง โดยใหน้ กั เรยี นคยุ กนั เรอ่ื งคำ� และความหมายของคำ� เปน็ ครงั้ คราว ๖. ใหเ้ ล่นเกม โดยใหน้ ักเรียนเล่นเกมที่ช่วยการฝึกใชค้ ำ� มีผลการวิจัยบอกว่า การใช้ท่าทางหรืออวัจนภาษา ในการเรียนและฝึกใช้ค�ำ เพือ่ เพิ่มคลงั คำ� มี effect size สงู ถงึ ๒.๒๗ ในเวลา ๔ ปี วธิ ีการคอื ให้นกั เรียน จับคู่ กล่าวค�ำ แล้วแสดงท่าทางทีบ่ อกความหมายของคำ� น้นั ครูหากุศโลบายให้นักเรียนเรียนค�ำศัพท์อย่างสนุกสนาน เช่น อาจก�ำหนดให้ แตล่ ะสัปดาหม์ ี “ศัพท์แหง่ สปั ดาห”์ ๑๐ ค�ำ ในสปั ดาหน์ น้ั เมือ่ นักเรยี นคนใดใชค้ �ำ ทเ่ี ปน็ คำ� แหง่ สปั ดาหน์ น้ั ใหน้ กั เรยี นทกุ คนปรบมอื ในสปั ดาหถ์ ดั ๆ ไป จดั ทมี นกั เรยี น ใหท้ ำ� หนา้ ทท่ี บทวนค�ำศพั ท์จากรายการคำ� ศัพทท์ ี่ต้องเรียน • 215 •
เปลยี่ นวาทกรรม เปลย่ี นพฤตกิ รรม ครตู อ้ งเปลยี่ นวาทกรรมในสมองของตนเองจาก “เดก็ บางคนไดเ้ รยี นรู้ แตบ่ างคน กไ็ มไ่ ด้ ถา้ เดก็ พรอ้ ม เขาจะเรยี นรู้ เขาตอ้ งรวู้ ธิ เี รยี นรมู้ ฉิ ะนนั้ กจ็ ะเรยี นตามไมท่ นั ” ไปเปน็ “ฉนั เชอ่ื วา่ สมองมศี กั ยภาพในการเปลย่ี นแปลง ฉนั สามารถสรา้ งการเตบิ โต และเปลยี่ นแปลงใหแ้ กต่ นเอง แลว้ จงึ ชว่ ยสรา้ งทกั ษะการเรยี นรใู้ หแ้ กศ่ ษิ ย”์ เพอ่ื ใช้ พลงั ของ ชุดความคิดหนุนศักยภาพแก่ศิษย์ ใคร่ครวญสะทอ้ นคิด และตดั สนิ ใจ หากครูมีประโยคหลักว่า “มีอะไรอีกท่ีฉันจะช่วยเพิ่มพลังการเรียนให้แก่ศิษย์” อยู่ในใจ พฤติกรรมต่างๆ ตามท่ีระบุในบันทึกน้ีก็จะตามมา และจะส่ือสารไปยัง นักเรียนว่าครูเชื่อในศักยภาพของนักเรียน เป็นพลังใจให้นักเรียนมีความมานะ พยายาม • 216 •
๖ภาค ชุดความคิดว่าด้วยการสร้าง ความเอาใจใส่ของนักเรียน (engagement mindset) บทท่ี ๑๙ พลงั ของชดุ ความคดิ ว่าด้วยการสร้าง ความเอาใจใสข่ องนักเรยี น บทที่ ๒๐ สรา้ งสภาพกายและจติ ท่พี รอ้ มเรยี น บทที่ ๒๑ สร้างการเรียนอย่างเหน็ คณุ ค่า บทที่ ๒๒ สร้างความเปน็ พวกพอ้ ง
๑๙ พลังของชดุ ความคิดวา่ ด้วย การสร้างความเอาใจใส่ของนักเรยี น บันทึกนี้เป็นบันทึกแรก ใน ๔ บันทึก ภายใต้ชุดความคิดสร้างความเอาใจใส่ ของนกั เรยี น (engagement mindset) ตคี วามจาก Part Six : Why the Engagement Mindset? ค�ำหลักของบันทึกน้ีคือ engagement ซึ่งมีความหมายถึงความผูกพัน ความ เอาใจใส่ เน้นที่ความผูกพันหรือเอาใจใส่ต่อการเรียนของนักเรียน และยังน่าจะ รวมถึงความเอาใจใส่ของครูต่อนักเรียนด้วย แต่ในบันทึกนี้ท่านผู้อ่านจะพบว่า การสร้างความเอาใจใส่ของนักเรยี นมหี ลากหลายระดบั หลากหลายมติ ิ สาระหลักของบันทึกน้ีคือ ครูต้องท�ำหน้าท่ีสร้างความเอาใจใส่ต่อการเรียน ใหแ้ กศ่ ษิ ยโ์ ดยทศ่ี ษิ ยข์ าดแคลนตอ้ งการความชว่ ยเหลอื นมี้ ากเปน็ พเิ ศษ โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง การเตรียมสมองให้พร้อมต่อการเรียน และวิธีท�ำหน้าท่ีน้ีของครู เน้นที่ ปฏิสัมพันธ์เชิงแสดงการยอมรับอย่างไร้เง่ือนไข และช่วยแก้ไขความเข้าใจผิด อยา่ งเห็นอกเห็นใจ กล่าวด้วยค�ำง่ายๆ คือ ครูต้องหาวิธีให้นักเรียนเรียนสนุก ท�ำให้การเรียน น่าสนใจ ไมป่ ล่อยให้สภาพการเรียนมบี รรยากาศน่าเบ่อื เด็กๆ มีความอยากรู้อยากเห็นอยู่โดยธรรมชาติ การจัดการเรียนรู้พึงกระตุ้น ธรรมชาตนิ ี้ โดยครทู ำ� เปน็ ตวั อยา่ ง หาตวั อยา่ งบคุ คลทเ่ี ดก็ ๆ ถอื เปน็ ฮโี ร่ และสรา้ ง อารมณค์ กึ คกั วา่ ได้เรยี นรูส้ ิ่งทม่ี คี วามหมายต่อเดก็ • 220 •
เพ่ือการน้ีเด็กต้องได้ท�ำและสัมผัส “การเรียนรู้” ด้วยตนเองด้วยหลากหลาย กจิ กรรม ไดแ้ ก่ การสรา้ งหรอื เลอื กกระบวนการเรยี นรู้ พดู ถงึ หรอื อธบิ าย เขยี นถงึ ร่วมมือกับเพื่อน ถกเถียง ใคร่ครวญสะท้อนคิด และแสดงจุดยืนของตน ครูต้อง จดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ นี่ กั เรยี นรสู้ กึ วา่ คมุ้ คา่ ทจี่ ะทำ� เพอื่ การนคี้ รตู อ้ งมกี ระบวนทศั น์ หรอื เสยี งในสมอง วา่ “ฉนั จะเชอื่ มโยงผกู พนั เปา้ หมายทยี่ งิ่ ใหญก่ บั ศษิ ยท์ กุ คน ทกุ วนั และทุก ๙ นาที” ครทู ช่ี นั้ เรยี นมบี รรยากาศทนี่ กั เรยี นเรยี นรอู้ ยา่ งเอาใจใสจ่ รงิ จงั มคี วามคดิ ตอ่ งาน ของตนแตกต่างจากครูคนอ่ืนๆ ตัวอย่างวาทกรรมในใจหรือถ้อยค�ำที่กล่าวออกมา เชน่ “ศษิ ยข์ องฉนั อยากมาโรงเรยี นทกุ วนั เพราะมเี รอื่ งนา่ สนใจใหท้ ำ� และภาคภมู ใิ จ” ครูเหล่าน้ีให้ความส�ำคัญต่อการด�ำเนินการเพื่อสร้างความเอาใจใส่ของนักเรียน การเรยี นร้ใู นทกุ ขณะตอ้ งนา่ สนใจ การสร้างความผูกพนั เอาใจใสข่ องนกั เรยี น สง่ ผลดี ๓ ประการคือ (๑) ทำ� ให้ เกดิ กระบวนการเรยี นรรู้ ะดบั สงู (๒) สรา้ งอารมณบ์ วก และ (๓) สรา้ งบรรยากาศ การเรียนท่ีน่ารื่นรมย์ ในสภาพเช่นน้ีการเรียนรู้ช่วยท�ำให้จิตใจและร่างกายอยู่ใน สภาพพรอ้ มเรียนสูงสุด สภาพร่างกายและจิตใจของนักเรียนเปล่ียนแปลงนาทีต่อนาที มีเร่ืองราวหรือ อารมณต์ า่ งๆ แวบเขา้ มา ไดแ้ ก่ ความวติ กกงั วล ความหวงั ความกลวั ความคาดหวงั ความรสู้ กึ สบาย ความอยากรู้ ความหวิ และอน่ื ๆ สภาพเหลา่ นมี้ ขี น้ึ มลี งอยตู่ ลอดเวลา เป็นธรรมดา แต่ที่ครูต้องสนใจคือระดับค่าเฉลี่ยตามปกติของนักเรียนเกือบทุกคน ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ หากแต่ละวันนักเรียนท้ังชั้นมีเวลาคุณภาพสูงในสัดส่วนที่มาก ผลการเรียนรูจ้ ะเพ่มิ ข้นึ • 221 •
หลกั ฐานจากงานวจิ ัย แม้ว่าครูจะสร้างบรรยากาศในห้องเรียนให้น่าสนใจ แต่ก็ยังมีปัญหาท่ีนักเรียน บางคน (หรอื หลายคน หรอื เกอื บทง้ั ชน้ั ) เบอ่ื เรยี น นคี่ อื ความเปน็ จรงิ ผลงานวจิ ยั ในสหรัฐอเมริกาบอกว่า นักเรียนช้ันมัธยมใช้เวลาหนึ่งในสี่ของแต่ละวันปล่อยให้ จิตใจล่องลอยไปกับเรอื่ งอ่ืนๆ ทไ่ี มใ่ ชก่ ารเรยี น นักเรียนชั้นมัธยมส่วนใหญ่รายงานว่าตนรู้สึกเบ่ือในทุกคาบเรียน และมีผล การวิจัยบอกว่า นักเรียนชั้นประถมปลาย ใช้เวลาถึงร้อยละ ๙๑ น่ังอยู่กับตัวเอง โดยไมไ่ ดท้ �ำกจิ กรรมหรอื ปฏสิ ัมพนั ธ์กบั ผูอ้ ื่น และมีหลกั ฐานบอกวา่ การมีกิจกรรม ดึงดูดความสนใจของนักเรียนในช้ันเรียน (classroom engagement) เป็นปัจจัย สำ� คญั อนั ดบั ตน้ ๆ ตอ่ ผลสำ� เรจ็ ในการเรยี น และมผี ลงานวจิ ยั บอกวา่ การทหี่ อ้ งเรยี น ไมน่ ่าสนใจ เปน็ สาเหตสุ ำ� คญั ทสี่ ุดต่อการทน่ี ักเรยี นออกจากการเรียนกลางคนั ครูพึงหาวิธีท�ำให้นักเรียนท้ังชั้นอยู่ในสภาพสมองท่ีอยากรู้อยากเห็น สนใจ คาดหวงั สนกุ และมพี ลงั ผลการวจิ ยั บอกวา่ การดำ� เนนิ การดงั กลา่ วกอ่ ผล effect size ต่อผลการเรยี นสูงถงึ ๑.๕๑ ในหอ้ งเรยี นคณุ ภาพสงู จะสงั เกตเหน็ บรรยากาศของความหวงั เชอื่ มน่ั สะทอ้ น คิด อยากรู้อยากเห็น สับสน คาดหวัง ร่วมมือช่วยเหลือกัน และการฉลอง ความส�ำเร็จ ในขณะที่ในห้องเรียนคุณภาพต่�ำจะสังเกตเห็นบรรยากาศ เฉ่ือยชา ไม่สนใจ โกรธ อดึ อัดขดั ขอ้ ง และอาจมีบรรยากาศหวาดกลวั • 222•
สภาพพ้ืนฐานสมองของเด็ก ดังแสดงในภาพข้างล่าง สภาพที่พึงประสงค์อยู่ ทางขวาของภาพ และใช้ตัวอกั ษรสีม่วง คึกคกั กังวล ลน่ื ไหล เครยี ด ปกติ ขดั ใจ ผอ นคลาย เบอื่ สภาพพน้ื ฐาน (baseline state) ของสมองเดก็ แตล่ ะคนยามอยนู่ งิ่ ๆ ไมเ่ หมอื นกนั และสภาพดังกล่าวของนักเรียนบางคนเอ้ือต่อการเรียนรู้ ในขณะท่ีสภาพพ้ืนฐาน ของสมองเด็กอีกหลายคนโดยเฉพาะเด็กขาดแคลนไม่เอื้อ ครูเพื่อศิษย์ต้องศึกษา และฝึกวิธีการช่วยเปลี่ยนสมองศิษย์ให้มีสภาพพ้ืนฐานท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ซ่ึงเป็น งานที่ไม่ง่าย ต้องใช้เวลาและความพยายามแต่ก็ท�ำได้ โดยวิธีการท่ีจะกล่าวถึง ในบนั ทึกอีก ๓ ตอนข้างหน้า • 223 •
เร่อื งเล่าจากห้องเรียน การจัดการเรียนรู้เร่ืองการผันอักษร เป็นเร่ืองท่ีครูผู้สอนในหน่วยภูมิปัญญา ภาษาไทยทุกคนคิดหนักว่าจะท�ำอย่างไรให้นักเรียนรู้สึกอยากรู้ อยากเรียน และ อยากฝึกฝนด้วยความสนุก โดยไม่รู้สึกว่าเรื่องน้ีเป็นเร่ืองที่ยาก ค�ำถามน้ียังคง เปน็ คำ� ถามทค่ี ณุ ครปู กุ๊ - จนิ ตนา กฤตยากรนพุ งศ์ และคณุ ครนู ำ�้ ผงึ้ - ชญั ญา องอาจ คุณครคู ูว่ ชิ าตอ้ งน�ำมาคิดทบทวนอยหู่ ลายครัง้ หลังจากที่ได้น�ำแผนการเรียนรู้ของปีการศึกษาท่ีแล้วกลับมาอ่าน และนึกย้อน ทบทวนถงึ บรรยากาศในชน้ั เรยี นในวนั ทเี่ รยี นเรอ่ื งการผนั อกั ษร พรอ้ มทง้ั ไตรต่ รอง ว่าจะท�ำอย่างไรให้การจัดการเรียนรู้เกิดความสนุกเพื่อให้นักเรียนเกิดความสนใจ และเปน็ เจา้ ของการเรยี นรดู้ ว้ ยตวั เอง ครกู ย็ งิ่ รสู้ กึ วา่ แผนการเรยี นรเู้ ดมิ ทเ่ี คยใชส้ อน ในปีท่ีแล้วยังไม่มีพลังดึงดูด ไม่มีชีวิตชีวาพอท่ีจะให้นักเรียนเกิดความสนใจอยาก เรยี นรมู้ ากนกั รวมถงึ สอื่ ทใี่ ชใ้ นการเรยี นการสอนยงั ไมม่ พี ลงั มากเพยี งพอทจี่ ะทำ� ให้ นักเรียนอยากกระโจนเข้าไปหาความรไู้ ด้อย่างเตม็ ท่ี เมื่อครูรับรู้ได้เช่นนี้ครูจึงน�ำหัวใจของนักเรียนมาใส่ในหัวใจของครูท�ำให้ค้น พบว่าถ้าเราเป็นนักเรียนก็คงจะเกิดความไม่อยากเรียนเช่นเดียวกัน จึงได้ไปขอค�ำ ปรกึ ษาจากคณุ ครใู หม่ - วมิ ลศรี ศษุ ลิ วรณ์ เพอ่ื หาแนวทางและวธิ กี ารสอนใหมๆ่ ท่ี เพม่ิ พลงั การเรยี นรขู้ องนกั เรยี นใหม้ ากยง่ิ ขนึ้ คำ� ถามแรกทค่ี รใู หมถ่ าม คอื “อยากได้ แบบไหนละ่ ...” เราจงึ ตอบกลบั ในทนั ทวี า่ “อยากใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรใู้ นรปู แบบของ การเลน่ เกม แตย่ งั คดิ ไมอ่ อกวา่ จะเปน็ เกมแบบใด” ครใู หมต่ อบวา่ ขอพค่ี ดิ หนงึ่ คนื นะ ในชว่ งเชา้ ตรวู่ นั ถดั ไป เรากไ็ ดค้ ำ� ตอบจากครใู หมว่ า่ เกมทเี่ ราตอ้ งการนนั้ มชี อื่ วา่ “เกมจบั ค”ู่ ครใู หมอ่ ธบิ ายใหฟ้ งั ถงึ ขนั้ ตอนของการเลน่ เกมนวี้ า่ จะเลน่ อยา่ งไร ใชส้ อื่ อะไรบา้ ง เพอื่ ใหเ้ ราทำ� ความเขา้ ใจและเหน็ ภาพเดยี วกนั กบั ครใู หมไ่ ปทลี ะขน้ั ในเยน็ วันนั้นเราไม่รอช้า รีบช่วยกันท�ำแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวความคิดท่ีได้รับมา ในทนั ที โดยคอ่ ยๆ เรยี งลำ� ดบั ความคดิ ของตนเองในการเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ ให้มีล�ำดับขั้นตอนท่ีสอดคล้องร้อยเรียงกันอย่างต่อเน่ือง พร้อมทั้งจัดเตรียมส่ือ การเรยี นการสอน คือ ถงุ กระดาษ จำ� นวน ๔๒ ใบ แล้วนำ� บัตรพยัญชนะอกั ษรสงู อักษรต่�ำ ท่ีเป็นคู่กันใส่เอาไว้ในถุง จัดเป็นชุดอย่างละ ๖ ชุด เพ่ือให้เพียงพอกับ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี น โดยเราไดท้ ำ� การพบั ถงุ ทลี ะใบอยา่ งประณตี จนกระทงั่ เสรจ็ สน้ิ ในคืนวนั นน้ั • 224 •
กอ่ นทจี่ ะถงึ คาบเรยี นภมู ปิ ญั ญาภาษาไทยของนกั เรยี นชน้ั ๔ เลก็ นอ้ ย ครขู อให้ นกั เรยี นมาชว่ ยหยบิ สอ่ื จากหอ้ งพกั ครไู ปทห่ี อ้ งเรยี น เมอื่ นกั เรยี นในหอ้ งเหน็ เพอื่ นถอื สอื่ เขา้ มากร็ บี วงิ่ มาดวู า่ คอื อะไร เพราะสอ่ื ทเ่ี ปน็ ถงุ กระดาษจำ� นวนมากทจ่ี ดั เรยี งมา อย่างเป็นระเบียบ นักเรียนบางคนสังเกตเห็นว่ามีตัวเลขเขียนอยู่ที่ถุงด้วย ท�ำให้ พวกเขาย่ิงเกิดความฉงนสงสัยมากยิ่งข้ึนไปอีกว่าในถุงนั้นมีของอะไร สายตาของ นกั เรยี นท�ำให้ครรู ับร้ไู ดว้ ่านกั เรียนใหค้ วามสนใจกับสือ่ เปน็ อย่างมาก เมอ่ื นกั เรยี นนงั่ ทเี่ รยี บรอ้ ย ครจู งึ บอกกบั นกั เรยี นวา่ ในคาบนเี้ ราจะไดใ้ ชส้ อ่ื นก้ี นั และเราจะมาท�ำอะไรสนุกๆ ด้วยกัน จากน้ันครูก็ไม่รอช้าเริ่มข้ันน�ำด้วยการให้ นกั เรยี นทบทวนความรเู้ รอ่ื งการอกั ษรผนั สงู และอกั ษรตำ่� ดว้ ยคำ� ถามทวี่ า่ “มใี ครบอก คาถาการจ�ำพยัญชนะอักษรสูงและอักษรต�่ำได้บ้าง” เด็กๆ หลายคนในห้องเรียน ตา่ งกย็ กมอื พรอ้ มกบั ตอบวา่ “คาถาอกั ษรสงู ของหนู คอื ผฝี ากถงุ ขา้ วสารใหฉ้ นั ศกึ ษา ฐานขวด” นกั เรยี นในหอ้ งเรยี นสว่ นใหญจ่ ดจำ� คาถานไ้ี ด้ แตม่ บี างคนบอกวา่ “หนมู ี อีกหนึ่งคาถาที่ไม่เหมือนเพื่อน คือ ฃวดของฉันใส่ถุงผ้าฝากให้เศรษฐี” พอมาถึง อกั ษรตำ่� คู่ นกั เรยี นสว่ นใหญใ่ ชค้ าถาทอ่ งจำ� เดยี วกนั คอื “พอ่ คา้ ฟนั ทองซอื้ ชา้ งฮอ้ ” และคาถาอักษรต�่ำเดี่ยว คือ “งใู หญ่นอนอยู่ ณ ริมวัดโมฬีโลก” ครถู ามต่อว่าแล้ว อกั ษรสงู และอกั ษรตำ่� ผนั ไดก้ เ่ี สยี ง นกั เรยี นยกมอื ตอบวา่ ผนั ได้ ๓ เสยี ง คอื อกั ษรตำ�่ ผันได้เสยี ง สามัญ โท และตรี อักษรสงู ผันได้เสยี งเอก โท และจตั วา • 225 •
จากน้ันครูจึงชวนนักเรียนท�ำกิจกรรม “แน่จริง...ผันฉันให้ได้สิ” เพื่อเป็นการ ประเมนิ ความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี น โดยใหต้ วั แทนออกมาผนั เสยี งอกั ษรสงู เมอื่ ตวั แทน ผันเสียงแล้ว เพื่อนๆ จะต้องบันทึกค�ำท่ีเพื่อนผันลงในสมุดให้ถูกต้อง ซึ่งตัวแทน มโี อกาสพูดได้เพยี ง ๒ ครงั้ เทา่ น้นั ซึ่งนกั เรียนเคยท�ำกจิ กรรมนี้มาแล้วตอนเรยี นรู้ การผันเสียงอักษรกลาง ท�ำให้นักเรียนต้ังใจฟังเพ่ือนพูดเป็นอย่างมาก เพราะหาก ฟงั พลาดในครง้ั แรก จะตอ้ งแกต้ วั โดยตง้ั ใจฟงั ในครงั้ ทส่ี องเปน็ ครงั้ สดุ ทา้ ย เชน่ คำ� วา่ ฝา ฝ่า ฝ้า และ ขาว ข่าว ข้าว อักษรต�่ำก็ท�ำเช่นเดียวกัน เช่น ค�ำว่า ราย ร่าย ร้าย และ ชาง ชา่ ง ชา้ ง เป็นต้น ในขั้นต่อไปครูชวนให้นักเรียนท�ำกิจกรรม “หาคู่ให้เจอ” ...เพียงแค่ได้ยินช่ือ กจิ กรรมนกั เรยี นกเ็ กดิ ความรสู้ กึ สงสยั และกระตอื รอื รน้ ทจี่ ะหาคำ� ตอบ เชน่ สงสยั วา่ จะตอ้ งหาคอู่ ะไร ตน่ื เตน้ วา่ กจิ กรรมจะเปน็ อยา่ งไร ครจู งึ อธบิ ายตอ่ วา่ กจิ กรรมนเ้ี รา จะไดใ้ ชถ้ งุ กระดาษทน่ี กั เรยี นสงสยั ในตอนตน้ คาบวา่ เปน็ ถงุ อะไร มนี กั เรยี นคนหนงึ่ พดู ขึน้ มาวา่ “เหมือนถงุ ใสเ่ บอร์เกอรเ์ ลย” ครูบอกว่า “ไม่แนน่ ะ ดา้ นในอาจจะเปน็ เบอรเ์ กอร์ก็ได้!” บางคนมีสีหนา้ ดีใจเพราะคิดวา่ ครูจะใหก้ นิ เบอร์เกอร์จริงๆ ท�ำให้ ย่ิงอยากรู้มากขึ้นไปอีกว่าด้านในถุงจะเป็นอะไร ครูจึงบอกกับนักเรียนว่าก่อนอ่ืน นกั เรยี นจะต้องผ่านด่านตา่ งๆ ในเกมของครกู ่อนนะ เมื่อนกั เรยี นทราบวา่ ครูจะให้ เล่นเกมกต็ ื่นตวั และต่นื เต้น รีบน่งั ลงเพื่อแสดงความพรอ้ มไดอ้ ยา่ งพร้อมเพรยี ง ดา่ นท่ี ๑ คอื เลอื กถงุ คนละ ๑ ใบ ครแู จง้ กอ่ นวา่ แตล่ ะหมายเลขจะมอี ยเู่ พยี ง ๖ ใบเท่านั้น ให้นักเรียนทุกคนคิดไว้ว่าในใจว่าเราหมายตาอยากได้ถุงหมายเลขใด ท�ำใหน้ ักเรียนย่งิ นงิ่ และแสดงความพร้อมมากข้นึ ไปอกี หลายคนนั่งหลงั ตรงเอามือ กอดอกไว้แนบสนิทกับล�ำตัว ครูเร่ิมขานหมายเลขถุงทีละล�ำดับ นักเรียนที่เลือก หมายเลขนน้ั ไวใ้ นใจกย็ กมอื ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นเดนิ ออกมาหยบิ ถงุ ใบที่มีเบอร์ท่ีตนเองต้องการ แล้วกลับไปน่ังท่ี บางคนเมื่อได้รับถุงแล้วก็รีบเขย่า พยายามคาดเดาว่าด้านในถุงเป็นอะไร บางคนพูดขึ้นมาว่า“มันเบามากๆ เลยนะ” แตท่ กุ คนตา่ งกเ็ คารพกตกิ า คอื ยงั ไมเ่ ปดิ ถงุ จนกวา่ ทกุ คนจะไดค้ รบแลว้ ครจู งึ กลา่ ว ชืน่ ชมในทันที • 226 •
เม่ือครูขานหมายเลข ๒ น้ันมีนักเรียนที่ยกมือเลือกถึง ๘ คน แต่ถุงมีเพียง ๖ ใบเทา่ นน้ั นกั เรยี นทย่ี กมอื ตา่ งมองหนา้ กนั สกั ครหู่ นง่ึ มนี กั เรยี นลดมอื ลง ๒ คน ครจู งึ กลา่ วชน่ื ชมและขอบคณุ สำ� หรบั นำ�้ ใจทน่ี กั เรยี นไดเ้ สยี สละ ใบหนา้ ของนกั เรยี น ทงั้ ๒ คนนนั้ เตม็ เปี่ยมไปดว้ ยรอยย้มิ ภายในใจของครใู นตอนน้นั ก็ยมิ้ เช่นเดียวกนั จากน้ันครูจึงขานหมายเลขที่มีอยู่จนครบ จากน้ันครูให้สัญญาณในการเปิดถุงเพ่ือ ไปตอ่ ดา่ นที่ ๒ คอื ใสส่ ระอะไรกไ็ ด้ แลว้ ผนั เสยี งใหถ้ กู ตอ้ ง นกั เรยี นตา่ งรบี เปดิ ถงุ อยา่ งรวดเรว็ ใจจดใจจอ่ อยากจะรู้ว่าขา้ งในเปน็ อะไร มีนกั เรยี นบางคนงงว่าตอ้ งทำ� อย่างไรต่อ แต่บางคนก็สามารถใส่สระแล้วผันได้ในทันที เพราะจ�ำได้ว่าพยัญชนะ สองตัวที่อยู่ในถุงคืออักษรสูงและอักษรต�่ำที่มีเสียงคู่กัน ครูจึงบอกต่อว่าหากใคร ผันเสียงได้แล้วให้ยกมือขึ้น เพื่อเป็นสัญญาณให้ครูเดินไปตรวจสอบความถูกต้อง นักเรียนบางคนเลือกน�ำสระอามาใส่แล้วผันเป็นค�ำว่า ขา ข่า ข้า กับ คา ค่า ค้า เวลาผา่ นไปไมก่ น่ี าทกี เ็ รม่ิ มนี กั เรยี นทยอยกนั ยกมอื ขนึ้ เรอ่ื ยๆ ซงึ่ เมอื่ ครตู รวจสอบวา่ “ผ่านแล้ว!” นักเรียนจะส่งเสียงร้องว่า “เย้! ไปด่านต่อไปได้แล้ว” เป็นอันรู้กันว่า นักเรียนคนน้ันสามารถไปต่อด่านที่ ๓ ได้ ซึ่งเม่ือเพื่อนคนใดส่งเสียงร้องแบบนี้ กม็ กั จะมเี พอ่ื นคนทยี่ งั ผนั ไมไ่ ดเ้ งยหนา้ ขน้ึ มามองอยเู่ สมอๆ มนี กั เรยี นบางคนบอกวา่ “เพอ่ื นเกง่ จงั เลย ทำ� ไมถงึ ทำ� ไดน้ ะ” แลว้ กก็ ม้ หนา้ คน้ หาคำ� ตอบของตนเองตอ่ สงิ่ หนง่ึ ทค่ี รสู งั เกตเห็น คอื มนี ักเรยี นท่ใี สส่ ระคนละสระกัน เชน่ ผา ผ่า ผา้ กับ พี พ่ี พ้ี ซ่งึ สามารถผนั เสียงไดถ้ ูกตอ้ งเหมือนกัน แต่จะเปน็ ปญั หาในดา่ นต่อไป ดา่ นที่ ๓ คอื เรยี งชดุ คำ� ทต่ี นเองผนั ใหค้ รบ ๕ เสยี ง โดยใชส้ ฟี า้ แทน อกั ษรสงู สนี �ำ้ ตาล แทน อักษรตำ�่ ด่านที่ ๔ ถ้าผันอักษรแล้วเรียงล�ำดับได้ถูกต้องจะได้พบคู่ แต่ถ้ายังไม่เจอคู่ ทมี่ ีเสียงเหมอื นกัน ใหเ้ ขยี นไปเรอ่ื ยๆ ไม่ตอ้ งลบ จนกวา่ จะหาคู่เสียงพบ • 227 •
นกั เรียนทีผ่ ่านดา่ นที่สองเริ่มลงมือทำ� งานในทันที พยายามอยา่ งยงิ่ ยวดท่จี ะผนั ใหค้ รบ ๕ เสยี ง บางคนเขยี นแลว้ เขยี นอกี กย็ งั ไมพ่ บคเู่ สยี ง จนกระทงั่ มเี พอื่ นคนหนงึ่ ยกมอื เพอื่ ใหค้ รเู ดนิ ไปตรวจวา่ ตนเองผนั ไดถ้ กู ตอ้ งหรอื ไม่ ปรากฏวา่ นกั เรยี นคนนนั้ สามารถผนั ได้อย่างถูกต้อง เป็นอนั วา่ ผา่ นด่านท่ี ๕ จนสำ� เร็จ นักเรียนคนน้นั ดใี จ เปน็ อยา่ งมาก สหี นา้ ยม้ิ แยม้ และมคี วามสขุ อยา่ งทส่ี ดุ ทผ่ี า่ นดา่ นนไ้ี ปไดเ้ ปน็ คนแรก ดังเชน่ ดา่ นที่ ๒ ดา่ นที่ ๓ - ๔ ด่านที่ ๒ ดา่ นท่ี ๓ - ๔ คา คา่ คา้ คา ข่า คข้า่า ค้า ขา พอ พอ่ พอ้ พอ ผอ่ พผอ้่อ พอ้ ผอ ขา ข่า ข้า ผอ ผ่อ ผ้อ จากนั้นก็เร่ิมมีนักเรียนพบคู่เสียงเพิ่มมากข้ึนเร่ือยๆ บางคนเรียงแล้วแต่ไม่พบ คเู่ สยี ง สาเหตกุ ม็ าจากการใชส้ ระคนละตวั หรอื บางคนผนั ไมถ่ กู กม็ ี บางคนนำ� ไมต้ รี และไมจ้ ตั วาเขา้ มาใชด้ ว้ ย ทำ� ใหผ้ นั อยา่ งไรกไ็ มถ่ กู ตอ้ งเสยี ที เรยี งอยา่ งไรกไ็ มพ่ บคู่ เสียที แต่ก็มขี อ้ ดคี ือขอ้ ผิดพลาดเหลา่ นี้ ชว่ ยใหค้ รพู บเห็นตน้ ตอของปญั หาท่กี ่อให้ เกิดความไมเ่ ข้าใจของนกั เรียนแตล่ ะคนท่อี ยู่ในกลุ่มนไ้ี ด้โดยงา่ ย นกั เรยี นหลายคนยงั คงมงุ่ มนั่ ไมท่ อ้ ถอยลองผนั และเรยี งใหมไ่ ปเรอ่ื ยๆ เรยี งแลว้ เรยี งอกี ถา้ ยงั ไมใ่ ชก่ ล็ องเรยี งดใู หม่ ทำ� ไปเรอื่ ยๆ จนกวา่ จะไดพ้ บคู่ แตก่ ม็ นี กั เรยี น บางคนที่เรียงอยู่หลายรอบแต่ไม่พบคู่เสียที เมื่อเริ่มเกิดความท้อใจก็หันไปปรึกษา กับเพื่อนข้างๆ มีนักเรียนบางคนที่ท้อใจอย่างท่ีสุดถึงกับพูดขึ้นมาด้วยน้�ำเสียงอัน เศร้าสร้อยว่า “เกมโอเวอร์แล้ว...ท�ำไม่ได้สักที!” ครูจึงเดินเข้าไปให้ก�ำลังใจเพ่ือให้ นักเรียนส้ตู อ่ และไมย่ อมแพ้ ดา่ นที่ ๕ แต่งตำ� ราหาคู่ ดว้ ยการเขียนล�ำดบั ขน้ั ตอนการผันวรรณยกุ ต์วา่ มีวธิ ี การผันอย่างไรถงึ หาคูพ่ บ นกั เรียนคนท่ีผา่ นดา่ นที่ ๔ มาแลว้ แลว้ เรง่ รีบลงมอื แตง่ ต�ำราหาคใู่ นทนั ที เพอื่ อธบิ ายวธิ ีการผนั วรรณยกุ ตข์ องตนเองในดา่ นทผ่ี ่านมา • 228 •
ด่านที่ ๖ ลองวิชาหาคู่ เพ่ือทดสอบต�ำราท่ีตนเองแต่ง ใครท่ีได้ลองวิชามาก ก็จะแม่นย�ำมาก โดยมีกติกา คือ ให้เลือกหมายเลขถุงที่ต่างไปจากครั้งแรก แล้วเริ่มท�ำต้ังแต่ด่านที่ ๒ ผันจนกว่าจะพบคู่เสียง ห้องเรียนในตอนนั้นมีชีวิตชีวา มากยง่ิ ขนึ้ เพราะนกั เรยี นตา่ งกระตอื รอื รน้ ทไี่ ดจ้ ะลองวชิ า สำ� หรบั คนทยี่ งั ไมผ่ า่ นดา่ น ก่อนหน้าก็มุ่งมั่นท�ำต่ออย่างไม่ย่อท้อ เพื่อให้ตนเองได้ไปด่านลองวิชาหาคู่เหมือน เพอ่ื นๆ บรรยากาศหอ้ งเรยี นเตม็ ไปดว้ ยความสนกุ สนานและทา้ ทาย ครไู ดใ้ หก้ ำ� ลงั ใจ นักเรยี นทกุ คนแลว้ บอกวา่ “ถ้าใครได้กนิ เบอรเ์ กอร์ครบทุกถงุ ถือว่าสุดยอดไปเลย” ครสู งั เกตวา่ นกั เรยี นทอ่ี ยใู่ นดา่ น “ลองวชิ าหาค”ู่ สามารถอยกู่ บั งานของตนเอง ดมี ากโดยทค่ี รไู มต่ อ้ งเขา้ ไปชว่ ยเหลอื แตอ่ ยา่ งใด เพราะนกั เรยี นเพยี รพยายามทจี่ ะ ท�ำด้วยตนเองอยา่ งสุดความสามารถเพ่อื ให้ไดม้ ากท่สี ุดจนกวา่ จะครบทกุ ถงุ ในขณะที่นักเรียนบางคนอยู่ในด่านลองวิชาหาคู่ ก็ยังมีนักเรียนอีกหลายคนท่ี ยงั อยใู่ นด่านที่ ๒ และ ๓ บางคนยงั มงุ่ มนั่ ทีจ่ ะลองผดิ ลองถกู ไปเรื่อยๆ ในการผนั จนกว่าจะพบคเู่ สยี ง แตบ่ างคนกเ็ ร่ิมถอดใจแล้ว นักเรียนท่ีลองวิชาหาคู่จนครบทุกถุงเดินมาถามครูว่า “ผ่านด่านนี้แล้วมีด่าน ต่อไปไหม” ในตอนน้ันครูได้ประเมินสถานการณ์ว่าหากให้นักเรียนคนนั้นไปด่าน ต่อไป พวกเขาก็จะสามารถต่อยอดความรู้ไปได้อย่างแน่นอน แต่เพื่อนในห้องที่ยัง ไม่ผ่านดา่ น ๒ ครกู ไ็ ม่อาจทอดทิ้งเขาได้เช่นกนั ดา่ นท่ี ๗ สอนเพอื่ นทย่ี งั ตดิ อยใู่ นดา่ นแรกๆ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจใหไ้ ด้ ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ ดา่ นทส่ี ดุ ยอดมากทส่ี ดุ ถอื เปน็ ขน้ั สงู สดุ ในปริ ามดิ การเรยี นรู้ นนั่ คอื การสามารถ อธบิ ายให้เพือ่ นเกิดความเขา้ ใจได้ เมื่อนักเรียนกลุ่มนั้นได้ยินเช่นน้ีก็ยินดีเป็นอย่างย่ิงที่จะเข้าไปช่วยเหลือเพ่ือน โดยอธบิ ายใหเ้ พอ่ื นเกดิ ความเขา้ ใจ ทำ� ใหเ้ พอื่ นทย่ี งั อยใู่ นดา่ นที่ ๒ และทำ� ไมไ่ ด้ รสู้ กึ ดใี จและอนุ่ ใจขนึ้ มาในทนั ที จากทตี่ อนแรกกำ� ลงั จะถอดใจกม็ กี ำ� ลงั ใจมากขน้ึ เมอื่ มี เพอื่ นมาอธบิ ายจนสามารถผา่ นไปในดา่ นทสี่ งู ขน้ึ ได้ สงั เกตไดจ้ ากสหี นา้ ทมี่ รี อยยม้ิ อย่างเต็มภาคภูมิ นักเรียนทุกคนพยายามท่ีจะไปให้ถึงด่าน “ลองวิชาหาคู่” เพื่อ ทดสอบต�ำราของตนเองว่ามีความแม่นย�ำเพียงใด นักเรียนรู้สึกสนุกสนานมาก โดยเฉพาะตอนท่ีได้เดินไปเลือกถุงด้วยตนเอง และได้ลองทดสอบความเข้าใจของ ตนเองไปพร้อมๆ กัน สิ่งที่ครูสังเกตได้อีกอย่างหนึ่ง คือ นักเรียนใช้เวลาในการ ค้นหาคู่ไดร้ วดเรว็ ขนึ้ เรอื่ ยๆ • 229 •
เมื่อครูให้สัญญาณว่าหมดเวลาในการท�ำกิจกรรมแล้ว ก็มีเสียงจากนักเรียน บางคนบอกว่า “ยังท�ำไม่ครบทุกถุงเลย” บางคนบอกว่า “ขอต่อเวลาได้ไหมคะ... เหลอื ถุงสดุ ท้าย อยากจะท�ำให้ครบทกุ ถงุ ” คำ� พูดของนักเรยี นในตอนน้นั ทำ� ให้ครู รู้ในทันทีว่าแผนการเรียนการสอนที่เตรียมมาน้ันประสบความส�ำเร็จแล้ว เพราะ นกั เรียนเปน็ เจ้าของการเรยี นรูด้ ้วยตนเองอยา่ งแทจ้ รงิ ... • 230 •
ก่อนจบคาบเรียนในวันน้ันครูให้นักเรียนเขียน “สะท้อน...ย้อนมองตน” ด้วย คำ� ถามวา่ รสู้ กึ อยา่ งไรกบั การเรียนรู้ในวันน้ี สง่ิ ท่ีได้เรียนรูค้ ืออะไร สงิ่ ทภ่ี าคภมู ใิ จ คืออะไร และสิ่งที่อยากพัฒนาคืออะไร นักเรียนเขียนสะท้อนความรู้สึกได้อย่าง หลากหลาย เชน่ “หนรู สู้ กึ สนกุ ทไี่ ดเ้ ขยี นและทา้ ทายตวั เอง” “ผมรสู้ กึ สนกุ และภมู ใิ จ ทไ่ี ดท้ ำ� โจทยท์ า้ ทายจนส�ำเรจ็ ” “ผมร้สู ึกสนกุ เพราะได้ช่วยเพ่อื นและได้ทำ� กจิ กรรม ที่สนุก” “หนูรู้สึกดีใจท่ีสามารถท�ำได้ครบทุกด่านภายในเวลา” ไปจนกระท่ัง “หนู รสู้ กึ ทอ้ ตอนทเ่ี ขยี นตำ� ราหาคู่ เพราะคดิ ไมอ่ อกวา่ จะเขยี นอยา่ งไร” “หนรู สู้ กึ ทอ้ เพราะ ทำ� ไมไ่ ดใ้ นตอนแรก พอเขา้ ใจแลว้ กง็ า่ ยและสนกุ ” สง่ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ คอื “การจบั คแู่ ละ การผันอักษรสูงและต�่ำ โดยครูอธิบายน้อย” “การค้นพบความรู้ด้วยตนเอง ท�ำให้ รู้ว่าอักษรสูงและต่�ำก็มี ๓ เสียงเหมือนกัน” “การคิดหาวิธีด้วยตนเอง คุณครูช่วย นอ้ ยทส่ี ดุ ” “การสอนเพอื่ นและสอนตวั เอง ตอ้ งกลา้ ทจี่ ะลองผดิ ลองถกู ” และ “การ สอนเพื่อนยากกว่าท�ำเองเสียอีก” เป็นต้น สิ่งที่ภาคภูมิใจ คือ “ท�ำโจทย์ท้าทายได้ ส�ำเรจ็ ” “สามารถผนั เสียงไดค้ รบทุกถงุ ” ตลอดจน “เพือ่ นเขา้ ใจในส่งิ ท่ีสอน” ส่ิงท่ี อยากพฒั นา คอื “การสอนเพือ่ นทนี่ งั่ อยขู่ ้างๆ ” เปน็ ตน้ เรอื่ งราวนา่ รกั ๆ และความสขุ จากชน้ั เรยี นในคาบนย้ี งั ไมห่ มดเพยี งเทา่ นน้ั เพราะ ตอนที่หัวหน้าห้องบอกท�ำความเคารพเสร็จ ก็มีเสียงเล็กๆ จากนักเรียนคนหน่ึง พูดขนึ้ มาว่า “วนั นวี้ ิชาภมู ปิ ัญญาภาษาไทยสนุกจังเลย... อยากให้มกี จิ กรรมแบบนี้ บ่อยๆ...” หัวใจของครูพองโตและมีความสุขอย่างท่ีสุด ท�ำให้รู้สึกมีก�ำลังใจที่จะไป สรา้ งสรรคแ์ ละตอ่ ยอดแผนการเรยี นการสอนทส่ี นกุ สนานเพอื่ นกั เรยี นทกุ คนตอ่ ไป เสยี เดยี๋ วนี.้ .. • 231 •
• 232 •
• 233 •
• 234 •
หลังจากด�ำเนินแผนการเรียนการสอนนี้เสร็จสิ้นก็ได้มีโอกาสเล่าบรรยากาศใน ชนั้ เรยี นใหค้ ณุ ครใู หมฟ่ งั คณุ ครใู หมไ่ ดใ้ หค้ ำ� แนะนำ� กลบั มาในทนั ทวี า่ แผนการเรยี น การสอนครั้งต่อไปท่ีจะเรียนรู้เรื่องการผันอักษรต�่ำเด่ียวน้ัน นักเรียนจะต้องเน้นท่ี การเขียนต�ำราให้ชัดเจน โดยมีเง่ือนไขว่าผู้ท่ีมาอ่านจะต้องเกิดความเข้าใจได้โดย ไมต่ อ้ งใหเ้ จ้าของตำ� ราพดู อธิบาย และน่าทำ� การประกวดต�ำรายอดเยีย่ มเพม่ิ ขึน้ อกี ขนั้ หนง่ึ ดว้ ย นอกจากนนั้ ยงั นา่ จะตอ้ งปรบั เปลยี่ นแผนการเรยี นการสอนในครง้ั ใหมน่ ้ี โดยดา่ นแรกนกั เรยี นตอ้ งทำ� ใหค้ รบทงั้ หมด ๔ ถงุ กอ่ น จากนนั้ จงึ จะไดไ้ ปดา่ นตอ่ ไป เพอื่ ใหน้ กั เรียนเกดิ ความแมน่ ย�ำมากข้นึ ก่อนท่ีจะลงมอื เขียนตำ� ราหาคนู่ ่นั เอง • 235 •
เมอ่ื ถงึ คาบเรยี นภมู ปิ ญั ญาภาษาไทยในคาบถดั ไป ครขู อใหน้ กั เรยี นมาชว่ ยหยบิ ส่ือไปท่ีห้องเรียนเหมือนเช่นเคย เม่ือเพื่อนถือสื่อที่เป็นถุงกระดาษท่ีถูกจัดเรียงมา อยา่ งเปน็ ระเบยี บเขา้ มาในหอ้ ง ครงั้ นน้ี กั เรยี นไมเ่ กดิ ความสงสยั แลว้ แตก่ ลบั พดู ขนึ้ มาวา่ “วนั นคี้ รจู ะใหเ้ ลน่ เกมเหมอื นครง้ั กอ่ นอกี ใชไ่ หม” ครตู อบวา่ “ใชค่ ะ่ ...แตค่ รง้ั นี้ จะมคี วามทา้ ทายมากกวา่ ครง้ั ทแี่ ลว้ นะ” สน้ิ เสยี งคำ� พดู ของครู นกั เรยี นเรมิ่ อยากรแู้ ลว้ วา่ จะทา้ ทายอยา่ งไร ทกุ คนรบี นง่ั ทอี่ ยา่ งพรอ้ มเพรยี งกนั ครเู รม่ิ ขน้ั นำ� โดยสรา้ งสมาธิ กอ่ นเรยี นดว้ ยการทำ� กจิ กรรม “ทา้ ทาย...เขยี นคำ� ใหถ้ กู ” คอื ใหน้ กั เรยี นเขยี นเสยี งที่ ตนเองไดย้ นิ ใหถ้ กู ตอ้ ง คำ� ทคี่ รบู อกจะเปน็ คำ� ทเ่ี ปน็ พยญั ชนะอกั ษรตำ่� คแู่ ละอกั ษรสงู ท่ีคู่กันเป็นการอุ่นเครื่อง เช่น ทุ่มเท ถดถอย ถอดถอน ถ่ายท�ำ ถุงทอง จากนั้น ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดค�ำให้เพ่ือนเขียนเองบ้าง นักเรียนได้น�ำเสนอค�ำที่ น่าสนใจหลากหลายค�ำ เชน่ ถุงเท้า ทกุ ขท์ น ทอดทงิ้ เทา่ เทยี ม ช่วงแรกนักเรยี น บางคนยงั นกึ คำ� ไมอ่ อก แตพ่ อเหน็ ตวั อยา่ งคำ� ของเพอ่ื นกเ็ รม่ิ นกึ คำ� ออกมาได้ บางคน ยกมอื หลายรอบ เพราะคดิ ไดห้ ลายคำ� ตอ่ มาครจู งึ ชวนนกั เรยี นทบทวนความแมน่ ยำ� กนั ตอ่ ดว้ ยคำ� ถามทวี่ า่ “อกั ษรตำ�่ ผนั ไดก้ เ่ี สยี ง อะไรบา้ ง” นกั เรยี นตา่ งยกมอื เตรยี มตวั ตอบกนั เกอื บทกุ คน ครจู งึ ใหต้ อบพรอ้ มกนั นกั เรยี นตอบดว้ ยเสยี งอนั ดงั ในทนั ทวี า่ “อักษรต่�ำผันได้ ๓ เสียง คือ เสียงสามัญ โท และตรี” และมีนักเรียนบางคน พูดต่อว่า “เสียงโท รูปเอก เสียงตรี รูปโท” “จดจ�ำได้แม่นย�ำ ยอดเย่ียมมากๆ” ครกู ลา่ วชื่นชมอยา่ งภูมใิ จ ลำ� ดบั ขน้ั ตอ่ ไปครชู วนใหน้ กั เรยี นทำ� กจิ กรรม “หาคใู่ หเ้ จอ” อกี ครง้ั ตา่ งกนั ตรงท่ี ในครง้ั นจ้ี ะเปน็ การหาคใู่ หก้ บั อกั ษรตำ่� เดยี่ ว แลว้ ครกู ไ็ ดอ้ ธบิ ายกตกิ าตง้ั แตด่ า่ นแรก ไปจนถึงด่านสุดท้ายว่า การจะผ่านด่านแต่ละด่านต้องท�ำอย่างไร ซ่ึงในด่านแรกๆ นกั เรยี นเคยทำ� มาแลว้ ในครงั้ กอ่ นจงึ สามารถทำ� ความเขา้ ใจไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ อนั ไดแ้ ก่ • 236 •
ด่านที่ ๑ เลอื กถุงคนละ ๑ ใบ ดา่ นท่ี ๒ ใส่สระอะไรก็ได้แลว้ ผันเสยี งให้ถกู ตอ้ ง ด่านที่ ๓ เรียงชุดคำ� ทต่ี นเองผันใหค้ รบ ๕ เสียง โดยใชส้ ฟี ้า แทน อกั ษรสูง สนี ำ้� ตาล แทน อกั ษรต่ำ� ดา่ นท่ี ๔ ถา้ เรยี งถกู จะหาคเู่ จอ แตถ่ า้ เรยี งแลว้ ไมเ่ จอคเู่ สยี ง ใหเ้ ขยี นไปเรอ่ื ยๆ ไมต่ อ้ งลบ จนกวา่ จะหาคเู่ สยี งพบ เม่อื พบแลว้ ต้องท�ำใหค้ รบ ๔ ถงุ ด่านที่ ๕ แต่งต�ำราหาคู่ เขียนล�ำดับขั้นตอนการผันวรรณยุกต์ว่ามีวิธีการผัน อยา่ งไรถงึ หาคพู่ บ หากใครทย่ี งั ตดิ ขดั ในการแตง่ ตำ� รา อนญุ าตใหค้ น้ หาคใู่ นถงุ ตอ่ ไป แลว้ ยอ้ นกลับมาเขียนตำ� ราให้สมบูรณ์ได้ ดา่ นที่ ๖ ลองวชิ า...ตำ� ราหาคู่ โดยใหเ้ พอื่ นในหอ้ งทย่ี งั ตดิ ขดั มาอา่ น หากเพอื่ น พูดว่าเขา้ ใจและสามารถทำ� ไดถ้ งึ ๔ คน แสดงว่าตำ� ราน้นั ... “ผา่ น” ครแู จง้ วา่ ในครงั้ นเ้ี ราจะมกี ารประกวดตำ� ราหาคกู่ นั โดยมรี างวลั เปน็ สตก๊ิ เกอรด์ าว ทใ่ี นหนว่ ยวชิ าภมู ปิ ญั ญาภาษาไทยเปน็ รางวลั สำ� หรบั ผทู้ ต่ี งั้ ใจในการเรยี นรแู้ ละการ ทำ� งานอยเู่ สมอ และครง้ั นจ้ี ะพเิ ศษกวา่ ทกุ ครง้ั เพอื่ เปน็ การเฉลมิ ฉลองความสำ� เรจ็ เพราะ แต่ละรางวัลจะได้เป็นดาวดวงใหญ่ คือ ดาว ๑ ดวงใหญ่ เท่ากับดาว ๕ ดวงเล็ก ซงึ่ ผทู้ ช่ี นะเลศิ การประกวดจะได้ ๓ ดาวใหญ่ รองชนะเลศิ อนั ดบั ๑ ได้ ๒ ดาวใหญ่ และรองชนะเลิศอันดบั ๒ ได้ ๑ ดาวใหญ่ เม่ือครูอธิบายมาถึงด่านสุดท้ายนี้ นักเรียนต่างส่งเสียงอ้ืออึงออกมาว่า “ด่านนี้ ท้าทายจริงๆ!” หลายคนรู้สึกอยากส่งต�ำราของตนเองเข้าประกวด เพราะอยากได้ รางวลั ทพี่ เิ ศษกวา่ ครงั้ ไหนๆ เมอื่ นกั เรยี นทกุ คนพรอ้ มครจู งึ เรม่ิ ดา่ นที่ ๑ คอื เลอื กถงุ คนละ ๑ ใบ เม่ือนักเรียนได้รับถุงก็ลองเขย่าเหมือนคร้ังท่ีผ่านมา มีนักเรียนบาง คนคาดเดาวา่ “ขา้ งในจะตอ้ งเปน็ พยญั ชนะเหมอื นเดมิ แตย่ งั ไมร่ วู้ า่ จะเปน็ พยญั ชนะ อะไร” และมนี กั เรยี นบางคนพูดวา่ “อยากใหข้ ้างในกินได้จริงๆ” • 237 •
ครูไม่รอช้าให้สัญญาณเปิดถุงทันทีเมื่อทุกคนได้รับถุงจนครบ เพ่ือท�ำกิจกรรม ตอ่ ใน ด่านท่ี ๒ คอื ใส่สระอะไรก็ไดแ้ ล้วผนั เสียงให้ถูกต้อง นกั เรียนลงมอื เขียน โดยใสส่ ระในทันที เชน่ สระอา แลว้ ผันตามหลกั การในครงั้ กอ่ น เช่น หา ห่า หา้ กบั รา รา่ รา้ บางคนใสส่ ระไอ เปน็ ไห ไห่ ไห้ กับ ไล ไล่ ไล้ พรอ้ มกับยกมอื รอ ให้ครูไปตรวจสอบความถกู ตอ้ ง เมื่อครบู อกวา่ “ผา่ น !” กจ็ ะส่งเสียงดีใจอยา่ งใน ครงั้ กอ่ นวา่ “เย้ ! ผา่ นแลว้ จะได้ ไปตอ่ ดา่ นตอ่ ไปแลว้ ” ซง่ึ ในดา่ นนน้ี กั เรยี นหลายคน สามารถผนั เสยี งไดร้ วดเรว็ ขน้ึ แตก่ ม็ นี กั เรยี นบางคนทย่ี งั ผนั ไมไ่ ด้ เพราะยงั สงสยั วา่ อยู่พยัญชนะท่ีตนเองได้รับมานั้นผันอย่างไร นักเรียนคนน้ันครุ่นคิดและพยายาม หาวธิ ผี นั ดว้ ยตนเอง ครไู ดเ้ ฝา้ สงั เกตและใหก้ ำ� ลงั ใจอยหู่ า่ งๆ ชนื่ ชมทเ่ี ขาไมย่ อมแพ้ ดา่ นท่ี ๓ เรยี งชดุ คำ� ทตี่ นเองผนั ให้ครบ ๕ เสยี ง โดยใชส้ ีฟ้า แทน อกั ษรสงู สีน้�ำตาล แทน อักษรต�่ำ ถ้าหากใครท่ีผันได้ครบ ๕ เสียงแล้วจะได้ไป ด่านที่ ๔ ถ้าเรียงถูกจะหาคู่เจอ ถ้าเจอให้ท�ำสัญลักษณ์รูปหัวใจให้คู่ของมัน แต่ถ้าเรียงแล้ว ไมเ่ จอคเู่ สยี ง ใหเ้ ขยี นไปเรอ่ื ยๆ ไมต่ อ้ งลบ จนกวา่ จะหาคเู่ สยี งพบ เมอ่ื พบแลว้ ตอ้ ง ทำ� ให้ครบ ๔ ถุง จึงจะไปด่านที่ ๕ ได้ นักเรียนที่ผ่านด่านที่ ๒ เริ่มลงมือท�ำกิจกรรมด่านท่ี ๓ ในทันที แต่ครั้งน้ีแม้ จะพยายามน�ำค�ำมาเรียงอย่างไรก็ไม่ได้ ๕ เสียง และนอกจากนี้ก็ยังไม่พบคู่เสียง ทเ่ี หมอื นกนั อกี ดว้ ย จนนกั เรยี นบางคนเรมิ่ จะถอดใจไมผ่ นั ตอ่ แลว้ เพราะผนั อยา่ งไร ก็ไม่ครบ ๕ เสียงเสียที จนกระท่ังมีนักเรียนคนหน่ึงเหลือบไปเห็นพยัญชนะของ เพ่ือนและพูดขึ้นมาว่า “ในถุงมี ห เหมือนเราเลย” เพื่อนในห้องคนอื่นก็บอกว่า “ใช่ เรากม็ ี ห เหมอื นกนั ” ครจู งึ แจง้ เพม่ิ เตมิ วา่ “ห เปน็ พยญั ชนะพเิ ศษทจี่ ะชว่ ยให้ เราสามารถผันได้ครบ ๕ เสียง ลองค้นหาดูนะว่าพิเศษอย่างไร” ส้ินเสียงของครู เพยี งไมก่ ่ีอึดใจกม็ นี ักเรียนคนหนึ่งร้อง “อ๋อ ! รู้แล้วว่าทำ� อยา่ งไร” แลว้ ก็เร่มิ ลงมอื ผันต่อ ไม่นานก็ยกมือรอให้ครูเดินไปตรวจสอบความถูกต้องอย่างใจจดใจจ่อ เมอ่ื ครูเขียนเครื่องหมายถูกลงในสมดุ นกั เรยี นคนนนั้ ก็ส่งเสียงร้องดีใจอย่างสดุ ขีด พรอ้ มบอกเพอ่ื นวา่ “ห ชว่ ยไดจ้ รงิ ๆ นะ ลองคดิ ดดู ๆี ส”ิ จากนน้ั กร็ บี นำ� เบอรเ์ กอร์ ถุงเดมิ ไปวางแล้วหยิบถุงใหม่มาผันตอ่ ให้เกิดความแมน่ ย�ำมากขน้ึ จนครบ ๔ ถงุ • 238 •
นักเรียนคนอ่ืนๆ ต่างก้มหน้าก้มตาอยู่กับงานของตนเอง พยายามคิดทบทวน แล้วทบทวนอีกอยู่เช่นน้ัน จนกระท่ังเวลาผ่านไปไม่นานก็เร่ิมมีคนยกมืออยากให้ ครูเดินเข้าไปตรวจสอบความถูกต้องให้อีกครั้ง ทั้งนักเรียนและครูต่างก็ลุ้นไป พร้อมกันว่าจะผ่านด่านนี้ไปได้หรือไม่ เมื่อครูได้เขียนเคร่ืองหมายถูกให้ นักเรียน กย็ ิม้ ออกมาในทนั ที แลว้ พดู ว่า “ผ่านแลว้ เย้ เย้ เย้ !” ดังตวั อย่างที่แสดงในภาพ ในขณะท่ีนักเรียนบางคนเริ่มไม่อยากท�ำแล้วก็มี เพราะเรียงเท่าไหร่ก็ไม่พบคู่เสียง เสยี ที ดา่ นท่ี ๒ ดา่ นที่ ๓ - ๔ ด่านที่ ๒ ด่านท่ี ๓ - ๔ รา รา่ รา้ รา หรา่ ร่า ร้า หรา ลม ลม่ ล้ม ลม หลม่ หล ลม่ ม้ ลม้ หลม หา หา่ หา้ หรา้ หม ห่ม หม้ ดา่ นท่ี ๕ แต่งต�ำราหาคู่ ดว้ ยการเขียนลำ� ดับขัน้ ตอนการผันวรรณยุกต์วา่ มวี ธิ ี การผนั อยา่ งไรถงึ หาคพู่ บ และหากใครทยี่ งั ตดิ ขดั ในการแตง่ ตำ� รา อนญุ าตใหค้ น้ หา คู่ในถุงตอ่ ไป แลว้ ย้อนกลบั มาเขยี นตำ� ราให้สมบูรณไ์ ด้ นักเรียนท่ีมาถึงในด่านน้ีต่างก็ต้ังอกต้ังใจในการแต่งต�ำราหาคู่ของตนเองเป็น อย่างมาก เพราะอยากส่งต�ำราเข้าประกวด ซ่ึงแตกต่างจากการเขียนต�ำราหาคู่ ในครั้งแรกอย่างเห็นได้ชัดคือ นักเรียนพยายามเขียนอธิบายให้ละเอียดชัดเจน และเป็นล�ำดับมากข้ึนว่าแต่ละข้ันต้องท�ำอย่างไร เพื่อให้ผู้ที่มาอ่านเกิดความเข้าใจ ในตำ� ราไดโ้ ดยไมต่ อ้ งพดู อธบิ าย บางคนเขยี นแลว้ ตดิ ขดั กเ็ ดนิ ไปหยบิ มาลองผนั ใหม่ อีกคร้ัง แล้วจึงย้อนกลับมาเขียนต�ำราเพิ่มเติมให้ชัดเจน นักเรียนท่ีอยู่ในด่านน้ีมี ความใจเย็นในการเขียนต�ำรามากข้ึน ไม่รีบร้อนเหมือนครั้งก่อน เพราะเป้าหมาย ของคาบเรยี นในวนั นี้ คือ การคน้ หาสุดยอดตำ� ราทจ่ี ะสรา้ งประโยชนแ์ ละให้ความรู้ แกผ่ ู้อน่ื จงึ ท�ำใหน้ กั เรียนใสใ่ จในการเขียนเป็นอย่างมาก • 239 •
• 240 •
นกั เรยี นคนทเ่ี ขยี นตำ� ราเสรจ็ แลว้ ตอ้ งผา่ นดา่ นท่ี ๖ คอื การลองวชิ า...ตำ� ราหาคู่ โดยให้เพ่ือนในห้องท่ียังติดขัดมาอ่าน หากเพ่ือนพูดว่าเข้าใจและสามารถท�ำได้ถึง ๔ คน แสดงวา่ ต�ำรานน้ั ... “ผ่าน” บรรยากาศหอ้ งตอนนีม้ ีเสียงถามเพ่อื นดงั ขึ้นให้ ได้ยินอยู่บ่อยคร้ังว่า “เหลือใครท่ียังติดขัดอยู่บ้าง เราอยากลองวิชา” ซึ่งก่อนเร่ิม ลองวชิ า ครไู ดช้ วนนกั เรยี นคดิ วา่ “จะทำ� อยา่ งไรกนั ดเี พอ่ื ใหห้ อ้ งเรยี นเกดิ การเรยี นรู้ ท่ีดีร่วมกัน” นักเรียนแลกเปลี่ยนว่า “ถ้าเพื่อนอ่านต�ำราของคนอ่ืนอยู่เราต้องรู้จัก รอคอยโดยการตอ่ ควิ ” ครกู ลา่ วชนื่ ชมในทนั ทเี พราะวา่ เปน็ คำ� ตอบทด่ี มี ากๆ จากนน้ั ครูจึงเริ่มถอยตัวเองออกมายืนมองนักเรียนในห้องที่น�ำต�ำราไปให้เพื่อนที่ยังติดขัด ลองอ่าน นักเรียนท่ีน�ำต�ำราไปให้เพื่อนอ่านก็คอยลุ้นว่าเพ่ือนจะเข้าใจต�ำราของ ตนเองหรือไม่ มีนักเรียนบางคนท่ีได้อ่านต�ำราของเพื่อนแล้วบอกว่า “ไม่เข้าใจ...” ครูได้ยินเช่นนั้นจึงบอกว่า “ใครที่ไม่เข้าใจต�ำราของเพ่ือนให้บอกเพื่อนด้วยนะว่า ไมเ่ ขา้ ใจตรงไหน เพอ่ื นจะไดก้ ลบั ไปเพม่ิ เตมิ ได”้ แลว้ ครกู ไ็ ดเ้ นน้ ยำ�้ อกี ครง้ั วา่ “ตอ้ ง ใหเ้ พ่ือนอา่ นตำ� ราของเราเท่าน้ันจะไม่มีการอธบิ ายใดๆ ท้งั สนิ้ เพราะหากเราเขียน ต�ำราได้ชัดเจนจริงเพื่อนจะเข้าใจจากการท่ีอ่าน ไม่ใช่เข้าใจจากการที่เราอธิบาย” ทำ� ใหบ้ รรยากาศของหอ้ งเรยี นในตอนนน้ั มคี ณุ ภาพมากขนึ้ ไปอกี เพราะตำ� ราของใคร ท่ีเพื่อนอ่านแล้วไม่เข้าใจ นักเรียนจะต้องกลับไปเขียนเพิ่มเติมใหม่เพื่อให้เพ่ือน เกิดความเข้าใจให้ได้ ในขณะที่ยืนต่อแถวรอให้เพ่ือนอ่านต�ำราของตนเองอยู่น้ัน ก็มีนักเรียนบางคนที่อ่านต�ำราของตนเองไปด้วย แล้วเกิดอยากเพิ่มเติมต�ำราให้ ชัดเจน จึงบอกเพื่อนว่า “เดี๋ยวเราไปเขียนเพิ่มเติมก่อนนะ แล้วจะกลับมาให้อ่าน อีกรอบ” นับเป็นการตรวจสอบต�ำราความรู้ด้วยตนเองอย่างแท้จริง เพียงไม่นานก็ เร่ิมมีเพ่ือนที่อ่านต�ำราแล้วส่งเสียงร้องว่า “อ๋อ! เข้าใจแล้ว” ครูจึงแจ้งว่าให้เจ้าของ ต�ำรายืนสังเกตว่าเพ่ือนผันได้ถูกไหม หากเพื่อนผันได้ถูกต้องด้วยตนเองแสดงว่า ต�ำราของเราผ่านแล้ว!! จากนั้นให้น�ำต�ำราไปให้เพ่ือนคนอื่นๆ อ่านต่อได้เลย รอยย้มิ คอ่ ยๆ ปรากฏบนใบหน้านกั เรยี นคนท่เี ขียนต�ำราแลว้ เพื่อนเขา้ ใจและผนั ได้ ในทนั ที แสดงใหเ้ หน็ วา่ ดใี จอยา่ งทสี่ ดุ นกั เรยี นบางคนคอยเดนิ มารายงานครวู า่ เพอื่ น เขา้ ใจตำ� ราของตนเองแลว้ กค่ี นอยา่ งภาคภมู ใิ จ ชว่ งเวลานน้ั ครเู พยี งยนื มองดนู กั เรยี น ที่เรยี นรกู้ นั เองอยา่ งอ่มิ เอมใจ • 241 •
ตัวอยา่ งตำ� ราหาคู่ของนักเรียน ต�ำราชุดท่ี ๑ อักษรต�่ำเดี่ยว ไม่เหมือนอักษรต�่ำคู่ เพราะไม่มีเสียงที่คล้ายกับ อกั ษรสงู จงึ มี ห ผมู้ นี ำ้� ใจมาชว่ ย เมอื่ ผนั เสยี งใดไมไ่ ด้ สามารถนำ� ห มาไวข้ า้ งหนา้ เชน่ ยาม หย่าม ยา่ ม หย้าม ยา้ ม หยาม โดยเสียงโทสามารถผนั ไดเ้ หมอื นกนั โดยใช้ ห กไ็ ด้ ไมใ่ ช้ ห กไ็ ด้ จะออกเสยี งเหมือนกัน ต�ำราชดุ ท่ี ๒ ๑. ทุกถงุ จะมี ห กบั อักษรต่�ำเด่ียว ๒. ถา้ ใช้ ม และใชส้ ระอา เป็น มา ผนั ได้ ๓ เสียง เปน็ มา มา่ มา้ และ ห มาผนั เสยี งเปน็ หมา่ มาใสร่ ะหวา่ ง มา และ มา่ นำ� คำ� วา่ หมา มาใสห่ ลงั คำ� วา่ มา้ จะเหลือคำ� ว่า หมา้ เป็นเสยี งโท เหมือนกับค�ำว่า ม่า จงึ เป็นคู่ มา หม่า ม่า ม้า หมา หมา้ • 242 •
ตำ� ราชดุ ที่ ๓ ๑. ทุกถงุ จะมี ห และอักษรตำ่� เดย่ี ว ๒. วิธีการผัน คือ จะต้องผันด้วยสระเดียวกัน เช่น ฬา ฬ่า ฬ้า และ หา ห่า ห้า ๓. ต้องใช้ ห เปน็ ตัวน�ำ เชน่ ฬา หฬ่ํา ฬาั่ ฬ้�ำ หฬา หฬ้า ๔. คู่จะเหมือนกับตำ่� คู่ คือ อยู่ท่เี สยี งโท ๕. ค�ำจะใช้ต�่ำเดย่ี ว โดยมี ห น�ำหน้า เมอื่ สญั ญาณระฆงั ดงั ขนึ้ เปน็ อนั วา่ หมดเวลาทำ� กจิ กรรม ในตอนนนั้ ยงั มนี กั เรยี น อกี ๒ - ๓ คนทยี่ งั ผนั ไมไ่ ด้ ครจู งึ ใหเ้ จา้ ของตำ� ราทเ่ี พอ่ื นอา่ นแลว้ บอกวา่ เขา้ ใจครบ ๔ คน ออกมาอธิบายตำ� ราของตนเองที่หนา้ ชัน้ โดยครไู ด้บอกกบั นกั เรียนคนที่ยงั ผันไม่ได้ว่า “ตั้งใจฟังเพ่ือนอธิบายนะ จะได้เกิดความเข้าใจแล้วผันได้ด้วยตนเอง” ซงึ่ มนี กั เรยี นหลายคนทอ่ี าสาออกมาอธบิ ายและอยากจะสง่ ตำ� ราเขา้ ประกวด ครจู งึ ให้นักเรียนคนที่เพ่ือนบอกว่าเข้าใจต�ำราของเขามากท่ีสุดออกมาอธิบายก่อน เมื่อ อธบิ ายจบ ครถู ามนกั เรยี นคนทผี่ นั ไมไ่ ดว้ า่ “เขา้ ใจไหม” นกั เรยี นตอบวา่ “เรม่ิ จะเขา้ ใจ แต่ยังไม่มั่นใจ” ครูจึงให้นักเรียนที่พร้อมจะส่งต�ำราเข้าประกวดคนต่อไปออกมา อธิบาย แลว้ ถามต่อวา่ “เกิดความเขา้ ใจมากข้นึ ไหม” นักเรยี นตอบว่า “เข้าใจแล้ว สามารถผันได้แล้ว” ตอนนั้นท้ังนักเรียนและครูต่างก็มีความสุขที่ทุกคนในห้อง สามารถเขา้ ใจการเรียนรู้ได้โดยไม่ทอดทิ้งใครไวข้ า้ งหลงั • 243 •
ก่อนจบคาบเรียนครูให้นักเรียนเขียน “สะท้อน...ย้อนมองตน” เหมือนทุก คร้ังที่ผ่านมา ด้วยค�ำถามว่า รู้สึกอย่างไรกับการเรียนรู้ในวันนี้ ค�ำตอบที่นักเรียน สะท้อนมีหลากหลายความรู้สึกที่แตกต่างกันออกไป เช่น “รู้สึกสนุกที่ได้ท�ำ กจิ กรรมหาค”ู่ “รสู้ กึ สนกุ และดใี จทเี่ พอื่ นบอกวา่ ตำ� ราของเราเขา้ ใจงา่ ย” “รสู้ กึ สนกุ เพราะไดฝ้ กึ ฝนการเขยี นตำ� ราใหเ้ พอ่ื นเขา้ ใจ” สง่ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้ เชน่ “การเขยี นใหค้ นอนื่ เข้าใจให้ได้ ไม่เช่นน้ันแสดงว่าเราก็ไม่ได้เข้าใจจริง” สิ่งที่ภาคภูมิใจคือ “การเขียน ตำ� ราใหเ้ พอื่ นอา่ น” “เพอ่ื นเขา้ ใจตำ� ราของฉนั ” “เพอื่ นอา่ นตำ� ราครง้ั เดยี วกเ็ ขา้ ใจเลย” และสง่ิ ทอี่ ยากพฒั นา คอื “การแต่งตำ� ราใหเ้ ข้าใจมากขนึ้ ” เป็นตน้ การไดท้ ำ� กจิ กรรมการเรยี นรเู้ รอ่ื งการผนั อกั ษรทสี่ รา้ งสรรคข์ น้ึ มาใหมน่ ี้ ทำ� ใหค้ รู คน้ พบวา่ การเรยี นหลกั ภาษาจะไมใ่ ชเ่ รอื่ งทยี่ ากและนา่ เบอื่ สำ� หรบั นกั เรยี นอกี ตอ่ ไป เพราะความมหศั จรรยใ์ นพลงั การเรยี นรทู้ น่ี กั เรยี นเปน็ คนกระโจนเขา้ หาความรดู้ ว้ ย ตนเอง และเปน็ เจา้ ของการเรียนรู้ดว้ ยตนเองอยา่ งแทจ้ ริงจะเกิดขึน้ ในทันทีท่คี รูคืน พ้ืนที่การเรียนรู้ให้กับนักเรียน เมื่อน้ันห้องเรียนก็จะเป็นห้องเรียนท่ีมีคุณภาพสูง เต็มไปด้วยบรรยากาศของความหวัง เชื่อม่ัน สะท้อนคิด อยากรู้อยากเห็น ความ คาดหวงั รว่ มมอื ชว่ ยเหลอื กนั และลงเอยทกี่ ารมโี อกาสไดฉ้ ลองความสำ� เรจ็ รว่ มกนั นน่ั เอง • 244 •
๒๐ สรา้ งสภาพกายและจิตที่พร้อมเรียน บันทึกน้ีเป็นบันทึกที่ ๒ ใน ๔ บันทึก ภายใต้ชุดความคิดสร้างความเอาใจใส่ ของนกั เรียน (engagement mindset) ตีความจาก Chapter 16 : Engage for Maintenance and Stress สาระหลักของบันทึกนี้คือ ครูต้องมีวิธีเปล่ียนสภาพจิตใจและร่างกายของ นกั เรยี นใหอ้ ยู่ในสภาพพรอ้ มเรยี น เพอ่ื ผลการเรยี นรู้ในระดบั สูง เป็นทงั้ ประโยชน์ ต่อนกั เรยี น และเป็นผลงานของครู การเชอื่ มสมั พนั ธ์กันระหวา่ งมนุษย์ ทำ� ใหส้ รรี วทิ ยา หรอื การทำ� งานของอวัยวะ ต่างๆ ในร่างกายเปล่ียนแปลงไปในทางบวกต่อการเรียนรู้ ได้แก่ หัวใจเต้นเร็วขึ้น สูบฉีดเลือดไปเล้ียงสมองมากข้ึน มีการหล่ังฮอร์โมน นอร์อีพิเนฟรีนออกมา มีผล ให้ความจ�ำระยะยาวดีขึ้น และช่วยการพุ่งความสนใจไปที่จุดใดจุดหนึ่ง มีการหลั่ง ฮอร์โมนโดปามีนออกมา มีผลเพ่ิมความจ�ำใช้งาน เพิ่มความมานะพยายาม และ เพ่มิ ความยดื หย่นุ ของสมองในการสรา้ งการเปลยี่ นแปลง การสร้างบรรยากาศในห้องเรียนให้เกิดการเช่ือมสัมพันธ์ในระดับสูง (higher order engagement) ตอ้ งใชเ้ วลา และตอ้ งมกี ารจดั การอยตู่ ลอดเวลา ความลบั คอื กิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหวร่างกายช่วยเพ่ิมการเช่ือมสัมพันธ์ และเพ่ิมการเรียนรู้ สาระในบันทึกน้ีจะช่วยไขความกระจ่างวิธีแก้ความเครียดในระดับท่ีท�ำลายความ เอาใจใสก่ ารเรยี นของนักเรียน • 245 •
หากครูไม่จัดการสภาพจิตใจของนักเรียน ตัวนักเรียนจะจัดการให้แก่ตนเอง เพอื่ ใหส้ ภาพจติ ใจของตนอยใู่ นสภาพเบาสบายหรอื มคี วามสขุ เชน่ โทรศพั ทค์ ยุ กบั เพื่อน ไปดูหนัง ไปปารต์ ี้ ดม่ื เหล้า มีแฟน กินเลี้ยง เล่นกีฬา มีเพศสัมพนั ธ์ ฯลฯ เนื่องจากเด็กยังไม่มีทักษะควบคุมตัวเอง และกิจกรรมเหล่านี้หลายอย่างเป็น อปุ สรรคต่อการเรยี นรู้ ครูต้องมีทักษะในการจัดการให้ศิษย์มีความสุขอยู่กับการเรียน หรือเรียนอย่าง มีความสุข หรือท�ำให้สมองหลั่งสารเคมีแห่งความสุข ความพึงพอใจ และความ พรอ้ มเรียน ในชว่ งเวลา ก่อน ระหวา่ ง และหลงั เรยี น เชือ่ มสัมพันธ์เพ่อื ด�ำรงสภาพพร้อมเรยี น นักเรียนจะเรียนได้ดีก็เมื่อนักเรียนต่ืนตัว ตั้งใจ และพร้อมเรียนรู้ ครูจึงต้อง มีทักษะในการจัดการให้เกิดสภาพเช่นน้ัน โดยเริ่มจากการกระตุ้นให้เกิดสภาพ บรรยากาศคกึ คัก (arousal) เขาแนะนำ� เครอ่ื งมอื จดั การสภาพจติ ใจ (state-management tools) อยา่ งงา่ ยๆ ทชี่ ว่ ยใหน้ กั เรยี นเอาจรงิ เอาจงั จดจอ่ ตอ่ การเรยี น และมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั เพอื่ นและครู เปน็ อยา่ งดี เครอ่ื งมอื เหลา่ นช้ี ว่ ยใหน้ กั เรยี นมพี ฤตกิ รรมทยี่ ดื หยนุ่ ดำ� รงความอยากรู้ อยากเห็น มีสมาธิอยู่กับเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง มีการไหลเวียนเลือดท่ีดี และมีสารเคมี ที่เหมาะสมในสมอง ได้แก่ ซีโรโทนิน เพื่อความใส่ใจ พฤติกรรมที่ยืดหยุ่น และ ความรู้สึกเบาสบาย นอร์อะดรีนาลนี เพ่อื การพงุ่ ความสนใจและความจ�ำ โดปามนี เพ่ืออารมณ์ ความพยายาม และความยืดหยุ่นของสมอง และคอร์ติซอล เพ่ือ ความจำ� และพลงั งาน นักเรียนขาดแคลนมักมีประสบการณ์ชีวิตที่บ้านท่ีท�ำให้เกิดความเครียดเรื้อรัง และความเครียดรุนแรงปัจจุบันทันด่วนที่มีผลร้ายต่อสมอง ท่ีท�ำให้นักเรียนรู้สึก หมดหวัง ซึมเศร้า และต้องการกระบวนการฟื้นฟูที่เรียกว่า allostasis เครื่องมือ จดั การสภาพจติ ใจท่ีจะกล่าวถงึ ต่อไปนีค้ ือเคร่ืองมอื สร้าง allostasis นั่นเอง • 246 •
พูดตามครู ใหน้ ักเรียนกล่าวตามที่ครูพดู “วันนเ้ี ราจะเรียนสองเร่ือง เราจะ เรยี นก่ีเร่อื ง” นักเรยี นตอบ “สอง” หนั ไปพดู กบั เพอื่ น เมอ่ื มนี กั เรยี นทำ� งานสำ� เรจ็ ใหเ้ พอ่ื นนกั เรยี นทนี่ งั่ ตดิ กนั หนั ไปพูดวา่ “เป็นผลของความพยายามทีเ่ ย่ยี มยอด” ปรบมอื -บมู -ปรบมอื บอกนกั เรยี นใหค้ อยฟงั เสยี งตบมอื ของครู ถา้ ครปู รบมอื ๑ ครั้ง ให้นักเรียบปรบมือตามหนึ่งครั้ง หากครูปรบมือสองครั้ง ให้นักเรียนร้อง ออกมาพร้อมกนั ว่า “บมู ” เปน็ การสง่ สญั ญาณวา่ นกั เรยี นได้มีผลงานท่นี า่ ช่นื ชม กิจกรรมทางกาย นักเรียนชอบเคล่ือนไหวเป็นธรรมชาติอยู่แล้ว “ขอให้ นกั เรยี นทกุ คนยนื ข้นึ ขยับเก้าอ้ไี ปขา้ งๆ เดินไปทางขวา ๓ ก้าวเพอื่ หาเพอ่ื นใหม”่ เรียกร้องความสนใจ ใช้เม่ือสังเกตว่านักเรียนเริ่มเบื่อหรือไม่สนใจ “หาก นักเรียนพร้อมจะลองท�ำอะไรใหม่ ให้ตบมือ ๒ คร้ัง และร้องว่า ‘ท�ำเลย’” หรือ “หากนกั เรยี นอยากทำ� การทดลอง ให้กระทืบเทา้ สองครั้งแล้วยืนขึน้ ” กลยุทธสร้างความเป็นเจ้าของ นักเรียนชอบท่ีได้แสดงความเป็นเจ้าของ ผลงาน “หากนักเรียนได้รับเอกสารท่ีแจกแล้วให้ชูขึ้นสูงๆ และร้องว่า ผม / หนู ไดร้ บั แลว้ และลงชอ่ื บนกระดาษ...ดมี าก...ตอ่ ไปใหด้ กู ระดาษของเพอ่ื นขา้ งๆ ถา้ เขา ยงั ไม่ไดล้ งชอ่ื ช่วยปลุกเขาดว้ ย” เรียกและตอบ เป็นวิธีช่วยให้นักเรียนเรียกสมาธิคืนมา ครูกล่าวว่า “ชนั้ เรยี นพรอ้ ม” นกั เรยี นตอบพรอ้ มกนั “พวกเราพรอ้ ม” หรอื ครพู ดู วา่ “เรยี กสมาธ”ิ นักเรยี นตอบพรอ้ มกนั ว่า “กลับมาแลว้ ครบั / คะ่ ” จะเห็นว่าเครื่องมือจัดการสภาพจิตใจเป็นกิจกรรมง่ายๆ ส้ันๆ ที่ครูต้องปรับ ให้เข้ากับอายุ หรือพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งสภาพแวดล้อมหรือบริบทของสังคม รอบตวั เดก็ เขาแนะนำ� ใหใ้ ชเ้ ครอ่ื งมอื เหลา่ นที้ กุ ๆ ๑๐ - ๑๕ นาที เพอ่ื ดงึ ความสนใจ ของนักเรยี นไว้ท่ีบทเรียน • 247 •
เช่อื มสัมพนั ธเ์ พ่อื จดั การความเครยี ด ความเครียดมี ๒ แบบ คือความเครียดท่ีเป็นคุณ กับความเครียดท่ีเป็นโทษ ความเครยี ดทเ่ี ปน็ คณุ ชว่ ยเพม่ิ การเรยี นรู้ เปน็ ความเครยี ดชวั่ คราว เกดิ ขนึ้ ๒ นาที ถงึ ๒ ชว่ั โมง เชน่ รถตดิ รอควิ และเปน็ ความเครยี ดระดบั ปานกลางทเ่ี รยี กวา่ เปน็ optimal learning zone ของความเครียด ความเครยี ดทเี่ ปน็ โทษ เปน็ ความเครยี ดเรอื้ รงั กอ่ บาดแผลหรอื การเปลยี่ นแปลง ถาวร ในลักษณะของการเปลี่ยนในระดับยีน ท่ีเรียกว่าปรากฏการณ์ epigenetic คือสภาพแวดล้อมมีผลต่อการท�ำงานของยีน ก่อผลให้ปิดสวิตช์การท�ำงานของยีน อยา่ งถาวร หรอื ทำ� ใหว้ งจรการเปดิ ปดิ สวติ ชย์ นี ทำ� งานนอ้ ยลง หรอื เปน็ ความเครยี ด ท่รี นุ แรง ก่อบาดแผลประทบั ไวใ้ นใจ และไม่ก่อการเรยี นรู้ หรือกอ่ การเรยี นรนู้ ้อย นักเรียนที่มคี วามเครียดเรอื้ รงั จะแสดงออกในลกั ษณะออ่ นเปล้ยี มึนซมึ กงั วล อารมณเ์ สยี ง่าย หรืออารมณ์เสียอยู่ตลอดเวลา และเปน็ คนไม่สู้สิ่งยาก ท่ีจริงคนเราทุกคนย่อมต้องเผชิญความเครียดมากบ้างน้อยบ้างเป็นธรรมดา และคนเรามักจะเรียนรู้ท่ีจะไม่ถือเป็นอารมณ์ ปล่อยให้มันผ่านไป ไม่กลายเป็น ความเครียดรุนแรง หรือความเครียดเรื้อรัง ความเครียดที่เป็นคุณคือความเครียด ระดับปานกลาง และด�ำรงอยไู่ ม่นานนกั มนุษย์เราจดั การความเครียดด้วย “เครื่องกรอง” ๒ ช้นิ คอื (๑) ความส�ำคัญ (relevance) และ (๒) ความรสู้ กึ วา่ “เอาอย”ู่ หรอื ควบคมุ ได้ (sense of control) ขา่ วดคี อื คนเราพฒั นาความสามารถในการควบคมุ “เครอื่ งกรอง” ทง้ั สองได้ เมอ่ื เรา เผชิญปัญหาเรื่องใดเรื่องหน่ึง หากใจเราบอกว่าเป็นเร่ืองไร้สาระ (irrelevant) สำ� หรบั ตน ความเครยี ดกไ็ มเ่ กดิ แตห่ ากใจเราบอกวา่ เรอื่ งนส้ี ำ� คญั สำ� หรบั ตนมาก แต่ไมม่ ีปญั หา สามารถจดั การได้ ความเครียดก็ไม่เกิดเชน่ กัน ความเครียดจะเกดิ เมอ่ื ปญั หาทเี่ ผชญิ เปน็ เรอื่ งสำ� คญั และเรารสู้ กึ วา่ ไมส่ ามารถจดั การ หรอื ควบคมุ ได้ • 248 •
หน้าที่ของครูคือ ช่วยฝึกให้นักเรียนมีทักษะในการจัดการความเครียดให้อยู่ ในระดับ optimal learning zone ไมใ่ ช่หลีกเลี่ยงความเครียด ยำ้� ว่าครูตอ้ งชว่ ยฝกึ ทักษะน้ีให้แก่นักเรียน โดยต้องฝึกให้ให้ความส�ำคัญต่อปัญหา (relevance) ใน ระดบั สงู และฝกึ ทกั ษะในการพฒั นาความรสู้ กึ วา่ สามารถควบคมุ สถานการณน์ นั้ ได้ โปรดดรู ายละเอียดของ relevance ในอีกแงม่ มุ หนง่ึ ในบันทึกตอนท่ี ๑๒ เม่ือนักเรียนเรียนไม่ค่อยรู้เร่ือง ครูอาจเลือกแก้ปัญหาได้ ๒ แนวทาง คือ (๑) ช้ีให้เห็นความส�ำคัญ (relevance) ของเร่ืองน้ัน หรือ (๒) ช่วยลดหรือเพิ่ม ความเครยี ดของนกั เรยี น โดยเลอื กชว่ ยลดความเครยี ด หากเหน็ วา่ นกั เรยี นเครยี ด หรอื วติ กกงั วลมากเกินไป และชว่ ยเพ่ิมความเครยี ด หากพลังในการเรียนนอ้ ยไป ต่อไปน้ีเป็นเครื่องมือลดความเครียดท่ีใช้ได้ตั้งแต่เด็กอนุบาล ไปจนถึง ม.๖ (เกรด ๑๒) เป็นเครื่องมือก�ำกับหรือลดความเครียดโดยใช้กาย เร่ิมโดยครูเป็น ผู้ด�ำเนินการ ตามด้วยการสะท้อนคิดว่าท�ำไมกระบวนการนั้นช่วยลดความเครียด และตวั กระบวนการเปน็ อยา่ งไร เมอื่ นกั เรยี นใชเ้ ครอื่ งมอื คลอ่ งแลว้ มอบใหน้ กั เรยี น ผลัดกันเป็นผู้ด�ำเนินการ เป็นเครื่องมือส�ำหรับใช้ประจ�ำวันแก่นักเรียน และต่อตัว ครเู องด้วย ยดื เหยยี ด พกั ใหน้ กั เรยี นยนื ขน้ึ และเคลอ่ื นไหวรา่ งกายเปน็ ชดุ ใหเ้ หยยี ด แขนขา เขย่งเท้า ก้าวเท้าข้างหน่ึงไปข้างหน้า แล้วก้าวอีกข้างตามไป ก้าวขา ข้างหนึ่งไปข้างหลัง แล้วก้าวอีกข้างตามไป เอามือสองข้างประกบกันและกด เขา้ หากนั แลว้ ปลอ่ ย ฯลฯ มผี ลการวจิ ยั บอกวา่ กจิ กรรมเคลอื่ นไหวทำ� นองนชี้ ว่ ยลด ความเครียด เคลื่อนไหวดั่งสายน้�ำ ยืนขางอเล็กน้อย เคลื่อนไหวแขนช้าๆ ในแบบชี่กง มผี ลการวจิ ัยบอกวา่ ช่วยลดความเครยี ด เพม่ิ สมาธแิ ละความสรา้ งสรรค์ อานาปานสติ ให้นักเรียนยืนข้ึน หายใจเข้าช้าๆ จนสุด นับหน่ึงสอง แล้ว หายใจออก ทำ� ซำ�้ สองสามนาที มผี ลการวจิ ยั บอกวา่ ในสหรฐั อเมรกิ ามกี ารทำ� ทา่ น้ี เพอื่ ช่วยลดความเครียดทงั้ ในนกั เรยี นประถม มธั ยมต้น และมธั ยมปลาย • 249 •
วิธีเพ่ิมความเครียดที่เป็นคุณ ใช้หลักการว่าความเครียดท่ีเป็นคุณนี้จะเพิ่มเมื่อ มคี วามรสู้ กึ ว่าควบคุมสถานการณ์ได้ พร้อมๆ กนั กบั รู้สกึ ตนื่ เต้น ตวั อยา่ งเช่น เคลือ่ นไหวรา่ งกาย เชน่ เดนิ สวนสนาม เตน้ หรอื ท�ำตามตวั อยา่ ง ดนตรี โดยฟงั หรอื เลน่ เองก็ได้ ร่วมมอื หรือแข่งขันกไ็ ด้ เส้นตาย เพ่อื สรา้ งความรสู้ ึกรบี ดว่ น ท�ำตามผ้นู �ำ ซ่งึ อาจเป็นครู นกั เรียน หรอื เสียงจากเครอ่ื งบนั ทึกเสียง มผี ลการวจิ ยั มากมาย ยนื ยนั วา่ กจิ กรรมเคลอื่ นไหวรา่ งกาย ชว่ ยเพมิ่ ความตงั้ ใจ เรียน พฤตกิ รรม ผลการเรยี น และ executive functions เขาแนะนำ� กิจกรรมง่ายๆ ๖ แบบต่อไปนี้ ท่มี ผี ลการวิจยั พิสจู น์แลว้ วา่ ชว่ ยการ เรยี นรู้ และพัฒนาพฤติกรรมของนักเรยี น คำ� สั่งของสมชาย เปน็ เกมฝกึ การบงั คบั ตวั เอง เรม่ิ ดว้ ยการบอกใหท้ ำ� กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวงา่ ยๆ เชน่ “ยนื ขนึ้ เขยง่ เทา้ ทง้ั สองขา้ ง นบั หนงึ่ สองสามแลว้ เอาลง” หลงั จากนน้ั บอกวา่ “ตอ่ ไปนี้ สมชายให้สองค�ำส่ัง ให้ท�ำเฉพาะค�ำสั่งท่ีสองเท่านั้น” หรือ “ต่อไปน้ีสมชายบอก สามค�ำสงั่ ให้ทำ� เฉพาะค�ำสัง่ อันกลางเทา่ นัน้ ” ขยับตามเพลง เลอื กเพลงมา ๕ - ๗ เพลง ที่มคี วามแตกต่างกันมากในด้านจังหวะ ความเรว็ สไตล์ เปดิ เพลงสลบั กนั เพลงละ ๑๕ - ๒๐ วินาที ให้นักเรยี นเต้นตามจังหวะเพลง เมอื่ ถงึ เพลงสดุ ทา้ ย บอกใหน้ กั เรยี นเตน้ กลบั โตะ๊ ของตน ครตู อ้ งเลอื กเพลงใหเ้ หมาะ กับชว่ งอายขุ องนกั เรียนดว้ ย • 250 •
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304