Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สอนเข้ม เพื่อศิษย์ขาดแคลน

สอนเข้ม เพื่อศิษย์ขาดแคลน

Published by ห้องสมุดประชาชน, 2020-06-09 01:14:35

Description: สอนเข้ม เพื่อศิษย์ขาดแคลน

Search

Read the Text Version

๔ แสดงใหศ้ ิษย์ร้วู ่า ครเู ขา้ ใจความรสู้ กึ ของเขา บันทึกท่ี ๔ น้ีเป็นบันทึกท่ีสามใน ๓ บันทึก ภายใต้ชุดความคิดว่าด้วย ความสมั พันธก์ ับศษิ ย์ (relational mindset) ตคี วามจาก Chapter 3 Show Empathy จดุ ส�ำคัญคือต้องแยกระหว่าง ความเห็นอกเหน็ ใจ (sympathy) กับความเข้าใจ ความรสู้ กึ (empathy) ครตู ้องมวี ธิ ที ำ� ใหน้ กั เรยี นรวู้ า่ ครูเอาใจใส่ หรอื หว่ งใยตัวเขา และพยายามเข้าใจความรู้สึกนึกคิดของเขาจริงๆ โดยครูพึงตระหนักว่านักเรียน ท่ีขาดแคลนมีความขาดแคลนด้านทักษะการเรียนรู้ การควบคุมอารมณ์ และ การรับมือต่อความยากล�ำบาก ผมขอเพ่ิมเติมว่าการท่ีครูเอาใจใส่ท�ำความเข้าใจความรู้สึกนึกคิดของศิษย์น้ี เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีวิเศษสุดอย่างหน่ึงของตัวครูเองด้วย ช่วยให้ครูได้เติบโต ท้ังในด้านความเปน็ มนษุ ย์ และด้านความเป็นครู ตระหนกั วา่ เดก็ ตอ้ งการใหค้ นอืน่ เขา้ ใจความรสู้ ึกของตน นักเรียนต้องการผู้ใหญ่ท่ีเขารู้สึกอบอุ่นปลอดภัยเม่ืออยู่ใกล้ ซึ่งจะช่วยให้เขามี ความมน่ั คงทางอารมณอ์ นั เปน็ พนื้ ฐานชว่ ยใหเ้ รยี นรไู้ ดด้ ี และนกั เรยี นจากครอบครวั ท่ีมีความขาดแคลนจะมีความต้องการดังกล่าวมากเป็นพิเศษ เพราะเขาต้องเผชิญ ความเครียดมากกวา่ โดยขาดทกั ษะเพอ่ื ใชเ้ ผชญิ ความเครียดนน้ั • 51 •

ผลงานวิจัยด้านประสาทวิทยาศาสตร์ (neuroscience) บอกว่า ความยากจน ขาดแคลนกอ่ ผลตอ่ สมองใน ๓ ดา้ น คอื ดา้ นความคดิ ดา้ นอารมณ์ และดา้ นกายภาพ ของสมอง เดก็ จากครอบครัวยากจนขาดแคลน มสี มองส่วนสีขาว (white matter) และสว่ นสเี ทา (gray matter) รวมทง้ั สมองสว่ นสำ� คญั ตอ่ การเรยี นรู้ ความจำ� และ อารมณ์ (hippocampus) เล็กกว่าเด็กปกติ นอกจากนั้น ผลงานวิจัยยังบอกอีกว่า การถูกท�ำร้ายด้วยถ้อยค�ำในครอบครัว หรือถูกรังแกด้วยการเยาะเย้ยถากถางจาก เพื่อนท่ีโรงเรียน มีผลต่อการเจริญเติบโตของสมองและการเช่ือมต่อใยประสาท นน่ั คือขา่ วรา้ ย ขา่ วดคี อื สมองมคี วามยดื หยนุ่ ปรบั ตวั ได้ (brain plasticity) ประสบการณด์ า้ นบวก ในเร่ืองปฏิสัมพันธ์ สามารถเปลี่ยนแปลงสมองให้กลับสู่เส้นทางปกติได้ เม่ือได้รับ ความเขา้ ใจ เหน็ อกเหน็ ใจ สมองจะรบั รแู้ ละสง่ ผลไปลดฮอรโ์ มนเครยี ด (คอรต์ ซิ อล) เพ่ิมฮอรโ์ มนสขุ คือ ซโี รโทนนิ และสมองสว่ นฮิปโปแคมปัสโตข้ึน ใชเ้ ครอื่ งมอื แสดงว่าเข้าใจความรู้สกึ ของนักเรียน ในการมาโรงเรียน นักเรียนต้องการผู้ใหญ่คอยท�ำหน้าที่ปกป้องไม่ใช่ผู้ตัดสิน หรือผู้ลงทัณฑ์ เม่ือนักเรียนแจ้งว่ามีเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น อย่าเอะอะ โวยวาย หรือด่วนตัดสิน ให้เร่ิมจากการท�ำความเข้าใจความรู้สึกของเขา จงท�ำให้ ความใสใ่ จของตนแสดงออกมาอยา่ งชดั เจน ไมใ่ ชแ่ คแ่ สดงออกทางภาษากายเทา่ นนั้ เขาแนะนำ� การตอบสนองทแี่ สดงความเอาใจใสต่ อ่ ความรสู้ กึ ของเดก็ ดว้ ยเครอื่ งมอื ๕ ชิน้ ตอ่ ไปน้ี ๑. “ครูเสียใจมากที่ได้ยินเร่ืองน้ี” (พูดด้วยน้�ำเสียงและสีหน้าเศร้า เพ่ือแสดง ความเหน็ อกเห็นใจ) ๒. “เรอื่ งนท้ี �ำใหค้ รไู ม่สบายใจ” (แสดงความรสู้ ึกเศรา้ และหว่ งใย) ๓. “เราเปน็ หว่ งเธอ” ครเู อย่ ชอ่ื นกั เรยี น (บอกวา่ มคี นจำ� นวนมากเปน็ หว่ งเปน็ ใย ตอ่ นกั เรียนคนนน้ั ) ๔. “เธอเรียบร้อยดไี หม” (ถามพรอ้ มกับตรวจสอบความปลอดภยั และสุขภาวะ ของนกั เรยี น) ๕. “เย่ียมมาก หากครูต้องเผชิญปัญหานี้ ครูไม่แน่ใจว่าจะแก้ไขได้ดีเท่าเธอ” (บอกเดก็ วา่ สง่ิ ทเ่ี ขาเผชญิ มามคี วามยาก ครแู สดงความชนื่ ชม และเขา้ ใจความรสู้ กึ ของเขา) • 52 •

ในข้ันนี้อย่าเพ่ิงให้ค�ำแนะน�ำวิธีแก้ปัญหา ให้เน้นลดความรู้สึกโดดเด่ียวหรือ ต่นื ตระหนกของเด็ก โดยใหเ้ ขารสู้ กึ วา่ มีผู้ใหญ่ทห่ี วังดอี ย่เู คยี งข้างพรอ้ มช่วยเหลือ ในกรณีท่ีนักเรียนเพ่ิงเผชิญปัญหาครอบครัว เช่น พ่อแม่หย่าร้างกัน มีคน ในครอบครวั ถกู ยงิ ตาย ฯลฯ ครคู วรพดู วา่ “ครเู สยี ใจดว้ ย หากตอ้ งการความชว่ ยเหลอื อะไรขอใหบ้ อกครู เราพรอ้ มชว่ ยเสมอ” แลว้ ควรแจง้ ครแู นะแนว (counselor) เพอ่ื ให้ ความชว่ ยเหลอื เดก็ คนนน้ั ในสหรฐั อเมรกิ ามผี ลการวจิ ยั บอกวา่ การเพม่ิ ครแู นะแนว ๑ คนในโรงเรยี น (และครแู นะแนวทำ� งานด)ี มผี ลใหล้ ดจำ� นวนเดก็ ออกจากโรงเรยี น กลางคันได้ รอ้ ยละ ๑๐ ไมว่ า่ เดก็ จะแสดงพฤตกิ รรมไมถ่ กู ตอ้ งอยา่ งรนุ แรงหรอื ไมร่ นุ แรงนกั หนา้ ทแ่ี รก (และส�ำคัญท่ีสุด) ของครู คือ ท�ำความเข้าใจ หาทางท�ำความเข้าใจและแสดงให้ เด็กเหน็ วา่ ครูพรอ้ มที่จะทำ� ความเขา้ ใจและเหน็ ใจ ตวั อย่างเชน่ เมือ่ นักเรียนไมท่ �ำ การบา้ นมาสง่ ครตู อ้ งไมด่ ุ ไมล่ งโทษแตพ่ ดู กบั เดก็ (ใหท้ งั้ ชน้ั ไดย้ นิ ) วา่ “ครเู สยี ใจ ที่เธอไม่ได้ท�ำการบ้าน บอกครูได้ไหมว่าเกิดอะไรขึ้น” หากเด็กมาโรงเรียนสาย ครทู กั เดก็ วา่ “สมชาย ครดู ใี จทเ่ี ธอมาโรงเรยี น เขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ ไดเ้ ลย เพอื่ นๆ จะช่วยให้เธอตามบทเรียนได้ทัน” เอาไว้เมื่อมีโอกาสจึงค่อยคุยกันสองคน “เธอไม่ เคยมาโรงเรียนสายเลย วันนีเ้ กดิ อะไรขน้ึ เธอสบายดีหรือเปล่า” การพร่�ำสอนเร่ืองความตรงต่อเวลาไม่มีความจ�ำเป็น สู้แสดงให้เด็กเห็นว่า ครูคิดถึงเขา และต้องการให้เขาเข้าร่วมกิจกรรมที่สนุกสนานและทรงคุณค่า ในห้องเรียนไม่ได้ ซ่ึงจะมีผลต่อพฤติกรรมของเด็กมากกว่า โดยแสดงผลผ่าน ความสมั พันธด์ า้ นรู้สึกผกู พนั ไว้เน้ือเช่ือใจกัน ใชเ้ ครอ่ื งมอื เชื่อมสัมพันธ์อย่างเรว็ ในวันแรกของปีการศึกษาหรือของภาคการศึกษา เด็กจะอยากรู้ว่าครูเป็น อยา่ งไร หว่ งใยและใหเ้ กยี รตเิ ดก็ หรอื ไม่ ครตู อ้ งแสดงออกในเรอ่ื งเอาใจใสแ่ ละเขา้ ใจ ความรู้สึกของนักเรียนตง้ั แต่วันแรก เขาแนะน�ำเครื่องมืองา่ ยๆ ๓ ช้ินดงั ต่อไปน้ี • 53 •

คร้ังเดียวจบ ในช่วง ๓๐ วันแรกของช้ันเรียน ท�ำส่ิงที่สะท้อนความเอาใจใส่ต่อศิษย์ ท่ีท�ำ คร้ังเดียวนักเรียนจดจ�ำได้ไม่ลืม เช่น ให้นักเรียนแต่ละคนแชร์ความสนใจส่วนตัว ของตน สมมุติว่านักเรียนคนหน่ึงชอบนก ชอบดูนก และศึกษาเรื่องราวเก่ียวกับ นก ครกู ลับไปคน้ เร่ืองราวของนกในละแวกโรงเรยี นและละแวกบ้าน แล้วน�ำมาเลา่ ในช้นั เรียน ซ่ึงอาจนำ� ไปสู่การจัดต้ังชมรมดนู ก สองคนในสบิ วัน เมอ่ื เรมิ่ ช้นั เรียน ครกู ำ� หนดนักเรยี น ๑ - ๒ คน ท่ีน่าจะต้องการความเอาใจใส่ เป็นพิเศษ อาจจะเน่ืองจากขี้อายมาก ซุกซนมาก น่ังน่ิงไม่ได้ ชอบมาป้วนเปี้ยน กบั ครู หรอื ขาดความสามารถในการควบคมุ ตนเอง แลว้ จดั เวลาวนั ละ ๒ นาทที กุ วนั เป็นเวลา ๑๐ วัน คุยกับเด็กสองคนน้ีทีละคน คุยเรื่องอะไรก็ได้ เป้าหมายคือ เพ่อื สรา้ งความคนุ้ เคยซึ่งจะชว่ ยใหเ้ ดก็ ๒ คนนมี้ ีสัมพันธภาพทีด่ ีต่อครูไปตลอดปี สามอยา่ งในสามสิบวัน ครูใชช้ ว่ งเวลา ๓๐ วันแรกของช้ันเรยี น ต้ังคำ� ถาม ๓ คำ� ถามเกีย่ วกบั นกั เรียน แตล่ ะคน และหาคำ� ตอบใหค้ รบ ตวั อยา่ งคำ� ถามเชน่ มใี ครบา้ งอยใู่ นครอบครวั ของเดก็ เด็กสนใจเรื่องอะไรเมื่ออยู่นอกโรงเรียน เม่ือโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่นักเรียนต้องการ เป็นอะไร เครื่องมือทั้งสามข้างบน ใช้ตอนเร่ิมต้น แล้วต่อด้วยเคร่ืองมืออีก ๓ ช้ิน ต่อไปน้ี • 54 •

เชื่อมสมั พันธ์ช่วงเริม่ ตน้ ครใู ชเ้ วลา ๓ - ๗ นาทแี รกของชนั้ เรยี น (หรอื กอ่ นชนั้ เรยี น) ครเู ดนิ ไปรอบๆ หอ้ ง ทักทายและคุยกับนักเรียน และส�ำรวจอารมณ์ของนักเรียนทั้งช้ัน และส�ำรวจว่ามี นักเรียนคนไหนต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ เร่ืองท่ีคุยเป็นเร่ืองที่เด็กสนใจ เชน่ ผลการแข่งฟุตบอล ทรงผมใหม่ หรือรองเทา้ ค่ใู หม่ของนกั เรียน เชอื่ มสัมพันธช์ ่วงปลาย เมอื่ นกั เรยี นจะออกจากหอ้ งเรยี นในตอนโรงเรยี นเลกิ หรอื ทา้ ยคาบเรยี น สงั เกต ภาษากายทส่ี ะทอ้ นอารมณข์ องเดก็ แลว้ ขอคยุ กบั เดก็ ทสี่ อ่ ความกงั วลใจสองตอ่ สอง “เธอ (เอย่ ชอื่ นกั เรยี น) มอี ะไรกงั วลใจไหม” “มอี ะไรใหค้ รชู ว่ ยเหลอื ไหม” ไมว่ า่ นกั เรยี น จะเปดิ ใจกับครหู รือไม่ ครไู ด้ท�ำหนา้ ท่ีหยบิ ยื่นความสมั พนั ธท์ ีด่ ใี ห้แก่ศษิ ยแ์ ล้ว เชอ่ื มสัมพนั ธ์กบั ชวี ิตทีบ่ ้านของนกั เรยี น ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับศิษย์ต้องไม่จ�ำกัดอยู่แค่ในช้ันเรียนหรือในโรงเรียน ต้องขยายไปสู่ชีวิตที่บ้าน และในชุมชนด้วย เขาแนะน�ำให้ท�ำความรู้จักชีวิต ในครอบครวั ของเดก็ โดยไมต่ ดั สนิ ครอู าจไปรว่ มกจิ กรรมทเ่ี ดก็ นยิ มไป เชน่ ดกู ฬี า เดินเท่ียวศูนย์การค้า ชมภาพยนตร์ ดูคอนเสิร์ต ร่วมกิจกรรมในสวนสาธารณะ เป็นต้น เพื่อท�ำความรู้จักและแสดงความเอาใจใส่ต่อนักเรียน เป็นการลงทุน ไม่ก่ีชั่วโมงในตอนต้นปีการศึกษา ซึ่งจะส่งผลต่อความสัมพันธ์กับนักเรียนไป ตลอดปแี ละตลอดชีวิตของนกั เรียน ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างศิษย์กับครู เป็นตัวเร่ง (catalyst) ให้เด็กเอาใจใส่ การเรียน ซ่งึ นำ� ไปสผู่ ลลพั ธ์การเรียนรูท้ ม่ี คี ณุ ภาพและรอบดา้ น • 55 •

เปลย่ี นวาทกรรม เปลี่ยนการสอน วาทกรรมท่ีเป็นชุดความคิดในเบ้ืองลึกของหัวใจจะเป็นท้ังตัวก�ำหนดพฤติกรรม ของครู และก�ำหนดพฤติกรรมของศิษย์ เพราะครูเป็นแบบอย่าง (role model) ของศิษย์ ซึ่งจะวนกลับมาเปลยี่ นครูอีกรอบหน่งึ ครูจะมีพฤติกรรมที่ก�ำหนดโดย “ชุดความคิดว่าด้วยความสัมพันธ์กับศิษย์” (relational mindset) วาทกรรมที่เปลี่ยนคือ “เขาจ้างฉันมาเป็นครูเพราะฉันมี ความรู้วิชาการ ฉันไม่มีเวลาพอที่จะเอาใจใส่ทักษะด้านสังคม น่ันมันเรื่องของ พอ่ แม”่ จะตอ้ งเปลยี่ นไปเปน็ “นกั เรยี นและครตู า่ งกม็ ชี วี ติ ทเ่ี ชอ่ื มโยงกนั เปา้ หมายแรก ของการเชื่อมโยงระหว่างฉันกับศิษย์คือ ความสัมพันธ์ในฐานะเป็นเพื่อนมนุษย์ ความสมั พนั ธใ์ นฐานะครกู บั ศษิ ยเ์ ปน็ เปา้ หมายรอง” เขาแนะนำ� ใหค้ รเู ขยี นคำ� แถลง อุดมการณ์น้ีไว้ในกระดาษ เอามาทบทวนทุกวัน เพื่อให้พฤติกรรมต่อศิษย์ของตน ดำ� เนนิ ไปตามน้อี ยา่ งเป็นอัตโนมตั ิ ใครค่ รวญสะท้อนคดิ และตดั สินใจ การเปลี่ยนแปลงเร่ิมขึ้นที่ “กระจก” กระจกสะท้อนพฤติกรรมครู คือ “การใคร่ครวญสะท้อนคิด” (reflection) ด้วยการต้ังค�ำถาม “สิ่งท่ีฉันท�ำสะท้อน ความเช่ือว่า ‘นักเรียนและครูต่างก็มีชีวิตที่เช่ือมโยงกัน เป้าหมายแรกของ การเชื่อมโยงระหว่างฉันกับศิษย์คือความสัมพันธ์ในฐานะเป็นเพื่อนมนุษย์ ความสัมพันธ์ในฐานะครูกับศิษย์เป็นเป้าหมายรอง’ หรือไม่” ตามด้วยค�ำถาม “ฉันจะเปลี่ยนแปลงเป้าหมายการเป็นครูสู่การเอ้ือให้ศิษย์เรียนจบออกไปพร้อม ทีจ่ ะท�ำงาน หรอื พร้อมท่จี ะเข้าเรยี นมหาวิทยาลยั หรอื ไม่” • 56 •

เร่อื งเล่าจากหอ้ งเรยี น ณ วันจันทร์ท่ี ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ฉัน นางสาวภัคณิจ ชาครบัณฑิต ได้เริ่มเข้าท�ำงานในฐานะครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษท่ีโรงเรียนเพลินพัฒนา หรือที่ เรยี กกนั ทนี่ ว่ี า่ ESL teacher โรงเรยี นแหง่ นม้ี เี รอ่ื งทท่ี ำ� ใหฉ้ นั ประหลาดใจมากมาย ต้ังแต่วธิ ีการคดั เลอื กครเู ขา้ ทำ� งาน ครทู ่านอื่นๆ ชื่อแผนกตา่ งๆ นักเรียน รูปแบบ การทำ� งาน การเรยี นการสอน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ...ความใสใ่ จของครทู มี่ ตี อ่ นกั เรยี น วิธีการคัดเลือกครูเข้าท�ำงานของที่น่ี ไม่ใช่เพียงแค่การสอบสัมภาษณ์กับ ฝา่ ยบคุ คล หรอื ผบู้ รหิ ารเทา่ นน้ั แตเ่ รม่ิ จากการคดั กรองคณุ ภาพของครดู ว้ ยขอ้ สอบ ภาษาอังกฤษซ่ึงยากกว่าข้อสอบ TOEIC หลายเท่าตัว ข้อสอบวัดความเป็นครู สมั ภาษณก์ บั หวั หนา้ ฝา่ ยประถมปลายซง่ึ ทโ่ี รงเรยี นเพลนิ พฒั นาเรยี กกนั วา่ หวั หนา้ ชว่ งชน้ั ท่ี ๒ จากนนั้ ยงั มกี ารสมั ภาษณอ์ กี หนง่ึ รอบกบั หวั หนา้ ฝา่ ย ESL และแมว้ า่ จะ ผา่ นการสอบขอ้ เขยี น ผา่ นการสมั ภาษณไ์ ปแลว้ ฉนั ยงั จะตอ้ งเขา้ มาเรยี นรวู้ ฒั นธรรม ระบบระเบยี บเบอ้ื งตน้ สมั ผสั ประสบการณจ์ รงิ ของการทำ� งานกอ่ นเปน็ เวลา ๓ วนั โดยช่วงเวลานี้จะเป็นช่วงเวลาท่ีทางโรงเรยี นใช้ในการประเมนิ ครูเบ้ืองต้น และเป็น การเปิดโอกาสให้ครูได้มีโอกาสไตร่ตรองก่อนจะตัดสินใจว่าตัวเองเหมาะกับงานนี้ หรือไม่ ยินดีรบั วัฒนธรรมการเรยี นรู้ในแบบของโรงเรยี นน้ไี ด้หรือไม่ หลังจากผ่านไป ๓ วัน ครูท่ีมาสมัครก็จะได้เข้ารับการทดสอบขั้นสุดท้าย ซึ่งก็คือการทดลองสอนกับนักเรียนจริงๆ นั่นเอง จากวิธีการคัดเลือกครูน้ี ท�ำให้ ฉันรับรู้ได้ถึงความใส่ใจของโรงเรียนท่ีมีต่อเด็กนักเรียน ในการเฟ้นหาครูท่ีมี คณุ ภาพ ไมใ่ ชแ่ คค่ วามสามารถในดา้ นความรหู้ รอื การสอนเทา่ นน้ั หากยงั รวมไปถงึ ความสามารถในการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อ่ืน และความเป็นครูของผู้ท่ีมาสมัครด้วย ความใส่ใจที่โรงเรียนมีน้ันยังรวมไปถึงความใส่ใจต่อบุคลากรด้วยการให้ครูได้มี โอกาสในการทำ� ความเขา้ ใจวฒั นธรรมทแ่ี ตกตา่ งออกไป ดว้ ยการทดลองมาใชช้ วี ติ อยู่ที่โรงเรียนก่อน และได้มีโอกาสเตรียมตัว หรือประเมินตัวเองได้ว่า เหมาะกับ แนวทางของโรงเรยี นหรือไม่ และจะมีความสุขกบั การได้ท�ำงานเปน็ ครูท่ีนห่ี รอื ไม่ • 57 •

ฉันได้พบว่าครูท่านอ่ืนๆ แผนกต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายบุคคล ฝ่ายวิชาการ ตลอดจนแม่บ้าน หรอื พ่ียามท่ปี ระตทู างเข้า ทุกคนมคี วามเปน็ มิตรต่อกัน ยม้ิ แย้ม แก่กัน เป็นสังคมที่อยู่ร่วมกัน เพื่อช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างแท้จริง ฉันรู้สึกได้ถึงความปรารถนาดี และความเป็นมิตรจากคนรอบข้างได้อย่างชัดเจน คำ� แนะนำ� ตา่ งๆ ชว่ ยใหฉ้ นั พฒั นาตนเอง สรา้ งความคนุ้ เคย และปรบั ตวั เขา้ กบั ทแ่ี หง่ นี้ ได้อย่างรวดเร็ว กัลยาณมิตรท่ีได้พบถือเป็นความสุขที่ส�ำคัญอย่างหนึ่งในการได้มี โอกาสมาใช้ชวี ติ ท่ีโรงเรียนแหง่ น้ี “ขออนุญาตเข้าห้องพักครูค่ะ” เสียงนี้ดึงความสนใจของฉันจากการท�ำงาน ในห้องพักครู ฉันหันไปดูด้วยความสนใจ เสียงนี้มาจากเด็กนักเรียนท่ีจ�ำเป็นจะ ต้องเดินเข้ามาในห้องพักครู ฉันรู้สึกประหลาดใจมาก เพราะโดยท่ัวไปแล้ว เด็กๆ มักจะแค่ยกมือไหว้และกล่าวจุดประสงค์ของตนเองเท่าน้ัน โดยเฉพาะอย่างย่ิง เดก็ นกั เรยี นทม่ี คี วามสนทิ สนมกบั ครมู ากดงั เชน่ ทนี่ ี่ จากนน้ั ฉนั กไ็ ดส้ งั เกตเหน็ วา่ เดก็ นกั เรยี นทกุ คน ไมใ่ ชแ่ คเ่ พยี งเดก็ คนนน้ั กลา่ วเชน่ เดยี วกนั ทกุ ครงั้ ทพ่ี วกเขาตอ้ งการ หรือมีความจ�ำเป็นต้องเข้ามาในห้องพักครู ฉันรู้สึกชื่นชมเด็กเหล่าน้ีเป็นอย่างยิ่ง และช่ืนชมครูท่านอ่ืนที่เป็นผู้อบรมเด็กๆ มากยิ่งกว่า... ท่ีสามารถท�ำให้เด็กมี ความเปน็ ระเบยี บ มคี วามเกรงใจในฐานะศษิ ยก์ บั ครู โดยทย่ี งั มคี วามสขุ ความสบายใจ เหมือนโรงเรียนเป็นบ้านหลังที่สอง สนิทกับครูราวกับว่าครูเป็นคนในครอบครัว เหน็ ได้จากการทเี่ ดก็ ยม้ิ แย้มอยา่ งมคี วามสุข และพดู คยุ กับครอู ยา่ งเปิดใจ ฉันรู้สึก มีความสุขมาก ความสัมพันธ์เช่นนี้ระหว่างครูกับนักเรียน เป็นความสัมพันธ์ใน อดุ มคติของฉนั ฉันดีใจที่จะไดเ้ ปน็ ส่วนหน่งึ ในครอบครัวนี้ รูปแบบการท�ำงานของโรงเรียนแห่งนี้เป็นสิ่งท่ีท�ำให้ฉันประหลาดใจมากที่สุด ฉนั ไมเ่ คยรบั รวู้ า่ มวี ธิ กี ารทำ� งานเชน่ นใี้ นโรงเรยี นอนื่ มากอ่ น ชนั้ ทฉี่ นั สอน คอื ชน้ั ป.๖ หรอื ทเี่ รยี กกนั ทนี่ ว่ี า่ ชนั้ ๖ นนั้ มที ง้ั หมด ๔ หอ้ ง นกั เรยี นแตล่ ะหอ้ งมจี ำ� นวน ๒๔ คน มคี รู ESL ๒ คน โดยท่แี ตล่ ะคนสอนเพยี ง ๒ หอ้ งเท่าน้ัน เพราะโรงเรียนมุ่งเน้น ไปทคี่ ณุ ภาพ ทค่ี รสู ามารถมอบใหแ้ กเ่ ดก็ ไดเ้ ตม็ ที่ อยา่ งเขม้ ขน้ ในแตล่ ะคาบเรยี น ครู ทเ่ี ปน็ ควู่ ชิ ากนั ในชน้ั ๖ นนั้ จะตอ้ งใชเ้ วลาทเี่ หลอื อยทู่ ง้ั หมด ชว่ ยกนั คดิ แผนการสอน ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดให้แก่นักเรียน และผ่านการตรวจสอบ ปรับปรุงหลายคร้ัง จากทางคุณครูวิชาการที่ดูแลเฉพาะหน่วยวิชา ESL เพื่อให้ได้แผนการสอนท่ีให้ ประโยชนส์ งู สดุ แกน่ กั เรยี นในแตล่ ะคาบ นอกจากนคี้ รยู งั จะตอ้ งเขา้ สงั เกตการสอน • 58 •

ของกนั และกนั เพอื่ ประเมนิ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข และชว่ ยกนั พฒั นาใหแ้ ผนการสอนเหมาะสม แกน่ กั เรยี นทกุ คนมากทส่ี ดุ อกี ทงั้ ยงั ตอ้ งคอยดเู ดก็ แตล่ ะคนอยา่ งใกลช้ ดิ เพอื่ ใหเ้ ดก็ แต่ละคนบรรลุศักยภาพของเขาซ่ึงมีความแตกต่างกันให้ได้มากท่ีสุดด้วย ในการ ทำ� งานจงึ มที งั้ การประชมุ เพอื่ แลกเปลย่ี นในระดบั ชนั้ และการประชมุ ในทมี ESL เพอื่ แกไ้ ขปญั หา หรอื พฒั นา ปรบั เปลย่ี น ปรบั ปรงุ สง่ิ ตา่ งๆ อยา่ งสมำ่� เสมอ วฒั นธรรม เหล่านี้เป็นเคร่ืองสะท้อนอย่างชัดเจนแก่ฉันว่า โรงเรียนนี้ให้ความส�ำคัญต่อการ พฒั นาคุณภาพครแู ละนกั เรียนอยา่ งย่งิ ยวด การเรียนการสอน ESL** ท่ีโรงเรียนแห่งนี้ ใช้แนวทางท่ีเรียกกันว่า HFOA ซ่ึงย่อมาจาก High Function Open Approach โดยมีเป้าหมายหลักคือ การลด บทบาทของครลู ง เพม่ิ บทบาทของนกั เรยี นใหม้ ากขน้ึ เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรถู้ งึ การ เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ไมใ่ ชแ่ คเ่ พยี งรอรบั ขอ้ มลู ไปเรอ่ื ยๆ เทา่ นนั้ การเรยี นรใู้ นแตล่ ะครงั้ ใช้เวลา ๙๐ นาที โดยครูจะใชเ้ วลาพูดทบทวนหรอื เกร่นิ เข้าเนื้อหา และอธิบายถงึ เป้าหมายในแต่ละคร้ังด้วยเวลาประมาณ ๒๕ นาทีเท่าน้ัน จากนั้นนักเรียนจะได้ ลงมอื คดิ ลงมือทำ� หรือปรึกษาหารือกนั เพื่อบรรลเุ ปา้ หมาย ในเวลาอีก ๒๕ นาที สว่ นเวลาทเ่ี หลอื อกี ๔๐ นาที จะเปน็ เวลาทค่ี รแู ละนกั เรยี นจะมาแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ เพ่ือการปรับปรุงผลงานที่ท�ำกันในคาบน้ัน รวมถึงการใช้เวลาในช่วงนี้เพ่ือนักเรียน ได้สรุปส่ิงทีต่ นเองไดเ้ รียนรไู้ ปในคาบนั้นๆ ด้วย ฉันรู้สึกประทับใจต่อรูปแบบการเรียนการสอนน้ีเป็นอย่างมาก เพราะฉันรู้ดี มาตลอดวา่ เปน็ เรอ่ื งทย่ี ากสำ� หรบั เดก็ ไทยทจ่ี ะมคี วามสามารถในการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง เพราะเคยชินกับการถูกป้อนข้อมูลให้ตลอดเวลา จากทั้งทางโรงเรียน และท่ีบ้าน โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ โรงเรยี นกวดวชิ าตา่ งๆ ทม่ี งุ่ เนน้ แคเ่ พอ่ื ใหเ้ ดก็ สอบไดค้ ะแนนดๆี เทา่ นนั้ แตโ่ รงเรยี นแหง่ นก้ี ำ� ลงั สอนใหเ้ ดก็ คดิ เปน็ ทำ� เปน็ วเิ คราะหเ์ ปน็ และตอ่ ยอด ความรเู้ องได้ ฉนั รสู้ กึ ยนิ ดกี บั เดก็ ทมี่ โี อกาสไดเ้ รยี นทน่ี ่ี และรสู้ กึ ยนิ ดที ตี่ วั เองจะได้ มสี ่วนรว่ มในกระบวนการสรา้ งเด็กที่มีคุณภาพออกสสู่ ังคม ** โรงเรียนเพลินพัฒนาวางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ให้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง (ESL- English as a Second Language) ที่ใช้ทกั ษะการอา่ นเปน็ เครื่องมือหลกั ในการเรียนรู้ และมกี ารจดั การเรยี นการสอนในช้นั เรียน ในรูปแบบท่ีเรียกว่า High Function Open Approach ท่ีเน้นในเรื่อง task-based learning เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ผา่ นการลงมอื ปฏิบัติ และการสื่อสารความคดิ ความเขา้ ใจระหว่างกันเป็นส�ำคัญ • 59 •

ความใสใ่ จของครทู ม่ี ตี อ่ นกั เรยี นของโรงเรยี นแหง่ น้ี เรยี กไดว้ า่ เปน็ สง่ิ ทท่ี ำ� ใหฉ้ นั รู้สึกดีมากท่ีสุด ฉันเลือกที่จะเป็นครู เพราะฉันรักและเป็นห่วงเด็กๆ ฉันจึงอยาก เป็นครูที่ไม่ได้สนใจเพียงแค่ว่าเด็กต้องเก่งทุกวิชา ต้องท�ำคะแนนให้ดีให้ได้ทุกวิชา โดยท่ีไมส่ นวา่ เดก็ จะเปน็ อยา่ งไร ฉนั อยากเปน็ ครทู ร่ี แู้ ละใสใ่ จวา่ ตอนนเ้ี ดก็ รสู้ กึ อยา่ งไร มีความสุขดีไหม มีความชอบ สนใจหรอื ถนัดเร่ืองอะไร ซ่งึ โรงเรียนแหง่ น้มี ีแนวคดิ ไม่ต่างไปจากฉนั เลย วนั หนงึ่ คณุ ครใู หม่ – วมิ ลศรี ศษุ ลิ วรณ์ ไดย้ น่ื กระดาษจำ� นวน ๔ แผน่ ใหแ้ กฉ่ นั ในกระดาษเหลา่ นนั้ ไมม่ เี นอื้ หาเกย่ี วกบั เรอื่ งทฉ่ี นั ตอ้ งสอนเลย มเี พยี งเนอ้ื หาเกยี่ วกบั การเชอ่ื มสมั พนั ธ์ และการเขา้ ถงึ จติ ใจของเดก็ เทา่ นนั้ ภายในใจของฉนั รสู้ กึ ปตี ยิ นิ ดี เปน็ อยา่ งยง่ิ ในทส่ี ดุ ฉนั กพ็ บกบั คนทใี่ หค้ วามสำ� คญั ในสงิ่ เดยี วกนั กบั ฉนั แลว้ ฉนั ได้ ลองน�ำเอาเนื้อหาของบทความไปทดลองปรับใช้กับนักเรียน เพิ่มเติมขึ้นไปจาก แผนการสอนทฉี่ นั ทำ� อยเู่ ปน็ ปกติ ฉนั ถามพวกเขาถงึ สงิ่ ทพี่ วกเขาสนใจ โดยสอดแทรก เข้ากับเนื้อหาท่ีฉันสอน ฉันน�ำมันมาปรับใช้ในการให้งานแก่พวกเขา ผลลัพธ์ที่ได้ มาเปน็ เรอื่ งนา่ ยนิ ดอี ยา่ งยงิ่ เพราะโจทยน์ ท้ี ำ� ใหพ้ วกเขาเกดิ พลงั ในการอา่ นและแปล ข่าวภาษาอังกฤษ มีความตื่นเต้น สนุกสนาน เม่ือได้เห็นว่าข่าวเหล่านั้นเกี่ยวข้อง กบั สงิ่ ทพี่ วกเขาสนใจ เชน่ ขา่ วเกย่ี วกบั สตั ว์ หรอื นกั รอ้ ง นกั กฬี าทพ่ี วกเขาชนื่ ชอบ นอกจากนฉี้ นั ยงั ไดพ้ ดู คยุ เพม่ิ เตมิ นอกเวลาเรยี นอยา่ งสบายๆ กบั เดก็ ๆ โดยเฉพาะ เด็กท่ีมักจะไม่สนใจเรียน พูดคุยกับเพื่อน หรือวาดรูปเล่นตลอดเวลา โดยถามไถ่ ความรู้สึกของพวกเขาในแต่ละวัน ถามถึงปัญหาที่รบกวนจิตใจพวกเขา ถามถึง ครอบครัว สัตว์ท่ีชอบ หรือเรื่องรอบตัวธรรมดาๆ ต่างๆ มีการพูดคุย ให้ก�ำลังใจ แนะนำ� สง่ิ ทจี่ ะชว่ ยใหพ้ วกเขาพฒั นาขนึ้ ไดอ้ กี ดว้ ยความหวงั ดอี ยา่ งจรงิ ใจ สง่ิ เหลา่ น้ี แมจ้ ะดไู มเ่ กยี่ วขอ้ งอะไรเลยกบั การสอนของฉนั แตม่ นั ไดผ้ ลอยา่ งไมน่ า่ เชอื่ ... เดก็ ๆ ต้ังใจฟังสิ่งท่ีฉันสอนมากขึ้น ให้ความร่วมมือในการตอบค�ำถามอย่างกระตือรือร้น มากย่ิงขึ้น ฟังค�ำแนะน�ำ ตักเตือนของฉันอย่างเปิดใจมากขึ้น มีเด็กคนหนึ่งที่ปกติ แลว้ ไม่ชอบภาษาอังกฤษเอามากๆ เพราะรูส้ ึกว่าไมเ่ ข้าใจเน้ือหาเอาเสียเลย เธอจึง มักจะเอาแต่วาดรูปในคาบวิชา ESL อยู่เสมอ เธอค่อยๆ เปล่ียนไป ยกมือ ตอบคำ� ถามมากขน้ึ ฟงั ฉนั สอนมากขนึ้ ยม้ิ แยม้ มากขนึ้ วนั หนง่ึ เธอเดนิ เขา้ มาพดู กบั ฉนั “สุดยอดเลย Teacher หนูไม่เคยเข้าใจภาษาอังกฤษมากขนาดน้ีเลยในรอบสามปี ทผี่ า่ นมา !!! ” เธอพดู อยา่ งยม้ิ แยม้ มคี วามสขุ ฉนั กม็ คี วามสขุ ความเหนด็ เหนอื่ ย ทง้ั หมดสลายหายไปราวกบั ไมเ่ คยมีมาก่อน • 60 •

เจ้าของผลงาน : เด็กหญิงปุณณภา ดวงฤดี • 61 •

เจ้าของผลงาน : เด็กหญิงญาณิดา ศิริมหาชัย • 62 •

เจ้าของผลงาน : เด็กหญิงณิชมน พิทยะ • 63 •



๒ภาค ชุดความคิดว่าด้วยความส�ำเร็จของศิษย์ (achievement mindset) บทที่ ๕ ตั้งเป้าหมายสูงล่ิว บทที่ ๖ ให้ค�ำแนะน�ำป้อนกลับท่ีทรงพลัง บทท่ี ๗ ธ�ำรงอิทธิบาท ๔

๕ ตั้งเป้าหมายสงู ลว่ิ บันทึกนี้เป็นบันทึกที่ ๑ ใน ๓ บันทึก ภายใต้ชุดความคิดว่าด้วยความส�ำเร็จ ของศษิ ย์ (achievement mindset) ตีความจากตอนต้นของ Part Two : Why the Achievement Mindset ? และ Chapter 4 : Set Gutsy Goals ชดุ ความคดิ วา่ ดว้ ยความสำ� เรจ็ (achievement mindset) อยใู่ นตระกลู เดยี วกนั กบั ชดุ ความคดิ เจรญิ งอกงาม (growth mindset) ชดุ ความคดิ แรงขบั ดนั (drive mindset) ชุดความคิดอิทธิบาท ๔ (grit mindset) ส�ำหรับครูวาทกรรมของชุดความคิดน้ี คือ “ฉนั สามารถสร้างเจตคติ แรงบันดาลใจ และความมานะพยายามของนักเรยี น สู่ความสำ� เร็จได้ ทักษะเหล่าน้ีฝึกได”้ ยำ้� ว่าชุดความคิดน้ี ใชไ้ ด้ตอ่ นักเรียนทกุ คน ครูต้องไม่โยนความรับผิดชอบต่อความส�ำเร็จของนักเรียนไปให้ตัวนักเรียนเอง หรือผู้อ่ืน ครูต้องยืดอกเข้าไปรับผิดชอบ มีค�ำแนะน�ำว่าเมื่อนักเรียนประสบ ความลม้ เหลว อยา่ ปลอบโยนดว้ ยถอ้ ยคำ� ทผี่ ดิ “เธอไดท้ ำ� ดที สี่ ดุ แลว้ ” “เธอมจี ดุ แขง็ อย่างอ่ืน” เพราะเป็นวาทกรรมท่ีน�ำไปสู่ความคาดหวังที่ต�่ำต่อตนเองของนักเรียน ซ่ึงจะลดแรงจูงใจ และผลการเรียนตกต�่ำ มีผลการวิจัยบอกว่าเมื่อนักเรียน มแี รงจงู ใจ effect size ต่อความสำ� เร็จเท่ากบั ๐.๔๘ • 66 •

ขอ้ มลู หลักฐาน มีผลงานวิจัยบอกว่า ชุดความคิดของครูมีผลต่อความส�ำเร็จของศิษย์มากกว่า ไอควิ สถานภาพทางเศรษฐกจิ และสงั คม และความสามารถในการอา่ นของนกั เรยี น ครูสามารถสร้างผลกระทบสูงต่อศิษย์ โดยเปล่ียนวิธีการจากการให้การตอบสนอง อย่างอ่อน เช่น การให้รางวัล การให้ค�ำสรรเสริญตื้นๆ หรือการลงโทษ ไปเป็นวิธี การท่ีสรา้ งแรงจูงใจแบบมองไมเ่ ห็น สรา้ งชดุ ความคดิ เจริญงอกงาม และเลิกตีตรา แรงจงู ใจแบบมองไมเ่ หน็ แรงจูงใจแบบมองไมเ่ ห็น (the invisible motivators) ชว่ ยสรา้ งพลงั แรงจูงใจ และความมานะพยายามให้แก่นักเรียน มีปัจจัย ๕ ประการท่ีเป็นปัจจัยสร้าง แรงจงู ใจทม่ี องไมเ่ หน็ ไดแ้ ก่ (๑) กำ� หนดความหมาย กรอบงาน และวธิ ที ำ� งานอยา่ ง ถกู ตอ้ งเหมาะสม (๒) จดั การ “พดู กบั ตนเอง” (self-talk) ของครู และของนกั เรยี น (๓) ชว่ ยฝกึ ทกั ษะยอ่ ยทต่ี อ้ งการใชใ้ นการทำ� งาน (๔) กำ� จดั ความคดิ แบบแผน่ เสยี ง ตกรอ่ ง (๕) ตกี รอบความลม้ เหลวใหน้ กั เรยี นไดเ้ รยี นรจู้ ากความลม้ เหลวนน้ั ในบนั ทกึ ตอนตอ่ ๆ ไป จะมีรายละเอียดของเรอ่ื งเหลา่ น้ี สรา้ งชดุ ความคิดเจรญิ งอกงาม หวั ใจคอื ชดุ ความคดิ วา่ ดว้ ยความสำ� เรจ็ (achievement mindset) เรยี นรฝู้ กึ ฝนได้ ทงั้ ฝกึ ครู และฝกึ ศษิ ยม์ ผี ลงานวจิ ยั ทดลองบอกนกั เรยี นสองกลมุ่ ดว้ ยถอ้ ยคำ� สองแบบ กลมุ่ แรกพรำ�่ บอกวา่ ความฉลาดเปน็ สง่ิ ทต่ี ดิ ตวั มาแตก่ ำ� เนดิ (สรา้ ง fixed mindset) กลุ่มหลังพร�่ำบอกว่า ความฉลาดเป็นสิ่งท่ีฝึกได้ (สร้าง growth mindset) พบว่า ผลการเรยี นของนกั เรยี นกลมุ่ หลงั สงู กวา่ อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ และสองปใี หห้ ลงั เด็กกลมุ่ หลังก็ยังมีคะแนนผลการเรียนสูงกว่า เลิกตตี รา การตตี ราวา่ ดอ้ ย มผี ลลบตอ่ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี น เขาแนะนำ� ใหเ้ ลกิ การตตี รา (drop the labels) วา่ เปน็ นกั เรยี นจากชนกลมุ่ นอ้ ย วา่ เปน็ นกั เรยี นทผี่ ลการเรยี นออ่ น ว่าเป็นนักเรียนเด็กด้อยโอกาสหรอื พิการ • 67 •

ผลของการตง้ั ความคาดหวังสงู มีผลการวิจัยบอกว่า การประเมินตนเองของนักเรียน การให้นักเรียนต้ัง ความคาดหวังเกรดของตนเอง ให้ effect size ต่อผลการเรียน เท่ากับ ๑.๔๔ เกอื บจะสูงท่สี ุดในปจั จยั ท่มี อี ิทธพิ ลต่อผลลัพธ์การเรยี นรขู้ องนักเรยี น หลกั การสำ� คญั ของครทู ม่ี ผี ลงานเดน่ คอื ไมอ่ นญุ าตใหน้ กั เรยี นตง้ั ความคาดหวงั ต่าํ ตอ่ การเรยี นของตน แม้วา่ นกั เรยี นคนนนั้ จะมปี ระวัติเรยี นอ่อนกต็ าม การบรรลุผลการเรียนในระดับสูง นักเรียนต้องท�ำงานหนัก มีผลการวิจัย บอกว่า มีปัจจยั สำ� คญั ๔ ประการทก่ี ระตุ้นใหน้ กั เรยี นขยัน ได้แก่ ๑. นักเรียนมคี วามเช่อื วา่ ตนสามารถบรรลุเปา้ นั้นได้ ๒. นกั เรียนมคี วามเช่ือว่าครูช่วยหนุนให้ตนบรรลเุ ป้าได้ ๓. การประเมินตนเองของนกั เรยี น ๔. แนวความคดิ เก่ียวกบั ตนเองในภาพรวมของนกั เรยี น ครูสามารถมีอิทธิพลต่อปัจจัยท้ัง ๔ ประการนี้ ซ่ึงหมายความว่า ครูมีลู่ทาง ช่วยใหน้ กั เรยี นท�ำงานหนักได้ สรา้ งเปา้ หมายท่ที ้าทายเพอื่ บรรลุผลการเรยี นรรู้ ะดับเชยี่ วชาญ การต้ังเป้าหมายที่ท้าทายในระดับที่ไม่น่าจะบรรลุได้ เพื่อท้าทายความมานะ พยายามของตนเอง โดยมคี รู (และคนในครอบครวั ) ชว่ ยหนนุ การดำ� เนนิ การฟนั ฝา่ จนบรรลุความส�ำเร็จได้ เป็นสุดยอดของการเรียนรู้ในชีวิต เป็นการฝึกทักษะชีวิต (life skills) ทสี่ ดุ ยอด คนทไี่ มเ่ คยมปี ระสบการณน์ ้ี เทา่ กบั พลาดโอกาสในการเรยี นรู้ ทักษะที่ส�ำคัญท่ีสุดต่อตนเองโดยไม่รู้ตัว คือทักษะท�ำส่ิงที่เป็นไปไม่ได้ให้เป็นไปได้ (make the impossible possible) โดยนัยน้ีคนไทยส่วนใหญ่พลาดโอกาสนี้ โดยตน้ เหตคุ ือระบบการศกึ ษาที่เดินผดิ ทาง • 68 •

มผี ลการวจิ ยั บอกวา่ การตงั้ เปา้ หมายการเรยี นรรู้ ะดบั mastery ให้ effect size ตอ่ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรเู้ ทา่ กบั ๐.๙๖ โดยตอ้ งตระหนกั วา่ เปา้ หมายนต้ี อ้ งการเวลาเรยี น ในห้องเรียนเพิม่ ขึ้นร้อยละ ๑๐ - ๕๐ ซง่ึ ถือวา่ คุ้ม เมอ่ื เทยี บกับผลลพั ธ์การเรยี นรู้ ที่นกั เรียนไดร้ ับ การสร้างเป้าหมายการเรียนรู้มีสองส่วนท่ีส�ำคัญเท่าๆ กัน คือ (๑) เป้าหมาย ภาพใหญ่ (big picture goal) (๒) เป้าหมายปลายทาง (destination) ลักษณะ ของเป้าหมายท่ดี คี อื revised SMART goal ซึง่ ประกอบดว้ ย มีความชดั เจนและเป็นยทุ ธศาสตร์ วดั ได้ นา่ พศิ วง (แทนการบรรลไุ ด)้ สอดคลอ้ งกับตวั นักเรียน (แทนการมงุ่ ผลลัพธ์) มเี งือ่ นเวลา ขอยำ�้ วา่ เปา้ หมายระดบั mastery ไมไ่ ดจ้ ำ� กดั อยทู่ เ่ี รยี นวชิ า สว่ นทสี่ ำ� คญั ยงิ่ กวา่ คอื การชว่ ยใหน้ กั เรยี นพฒั นาสมรรถนะทจ่ี ะมคี ณุ ไปตลอดชวี ติ เชน่ อทิ ธบิ าท ๔ (grit) ชดุ ความคดิ เจรญิ งอกงาม (growth mindset) ทกั ษะทางสงั คม และการมพี ฤตกิ รรม ทเ่ี หมาะสมในช้นั เรียน กำ� หนดเปา้ ทท่ี ้าทาย การเรียนรใู้ นระบบการศึกษาในปจั จบุ นั มกั บรรลเุ ปา้ หมายในระดับการเรียนร้ทู ่ี ผวิ เผนิ คอื ตอบขอ้ สอบได้ สอบผา่ น แตไ่ ปไมถ่ งึ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรรู้ ะดบั คลอ่ งแคลว่ (proficiency) และยง่ิ ไมถ่ งึ ระดบั รจู้ รงิ (mastery) ซงึ่ นกั เรยี นตอ้ งเรยี นโดยเจาะลกึ เข้าไปในสาระ ซ่ึงต้องการความมานะพยายามอย่างต่อเนื่อง ใคร่ครวญสะท้อนคิด เกี่ยวกับเรื่องน้ัน ท�ำความชัดเจน วิเคราะห์ พัฒนาเป็นความเข้าใจท่ีชัดเจนและ ซบั ซ้อน เพ่ือบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ดังกล่าว การก�ำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ต้องมี อยา่ งนอ้ ย ๔ มติ ติ อ่ ไปนี้ (๑) สรา้ งสง่ิ ทม่ี คี ณุ คา่ สงู กวา่ ผลตอ่ ตนเอง (๒) เปน็ เปา้ ที่ กอ่ ผลกระทบสงู (๓) นกั เรยี นเชอื่ วา่ ครจู ะหนนุ ใหบ้ รรลไุ ด้ (๔) มเี ปา้ หมายรายทาง (micro goals) • 69 •

เขายกตวั อยา่ งครคู นหนงึ่ มผี ลการสอนในปที แี่ ลว้ ทคี่ รงึ่ หนงึ่ ของนกั เรยี นบรรลุ ความคล่องแคล่ว (proficiency) ในวิชาคณิตศาสตร์ ในปีการศึกษาใหม่น้ีเขาจึง ก�ำหนดเป้าหมายที่ท้าทายข้ึนมากว่า “อย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของนักเรียนบรรลุ ความคลอ่ งแคลว่ ในวชิ าคณติ ศาสตร์ และรอ้ ยละ ๒๐ หรอื กวา่ บรรลผุ ลการเรยี นรู้ ระดับรจู้ ริง” ผเู้ ขียนบอกวา่ นีไ่ ม่ใชเ่ ปา้ หมายท่ที ้าทาย เป้าหมายท่ีท้าทาย ท่ีผู้เขียนยกมาเป็นตัวอย่างคือ “นักเรียนช้ัน ป.๑ ของฉัน จะอ่าน เขียน คิดเลข และมีพฤติกรรมท่ีแสดงว่าพร้อมขึ้นไปเรียนช้ัน ป.๓ ไม่ใช่ ป.๒” ซง่ึ เปน็ การวางเปา้ ใหน้ กั เรยี นมผี ลลพั ธก์ ารเรยี นรเู้ พมิ่ เทา่ กบั ๒ ปกี ารศกึ ษา ไม่ใช่ปีการศึกษาเดียว มีผลการวิจัยบอกว่า มีตัวอย่างครูช้ันยอดเย่ียมที่จัดการ เรียนรู้ให้นักเรียนยกระดับข้ึนเท่ากับ ๓ ปีการศึกษาในการเรียนเพียงปีเดียว และการยกระดับการเรียนรู้ของนักเรียนที่ขาดแคลนใน ๑ ปี ให้เกิดการเรียนรู้ เทา่ กบั ๑.๕ - ๓ ปี เปน็ เรอื่ งปกติ เพราะนกั เรยี นเหลา่ นม้ี จี ดุ เรมิ่ ตน้ ทตี่ ำ�่ เมอ่ื ไดร้ บั กระบวนการเรียนรทู้ ี่ถกู ตอ้ งจงึ เรยี นรไู้ ด้เพ่มิ ข้นึ อย่างมหศั จรรย์ เขายกตวั อย่างเปา้ หมายทีท่ า้ ทายในตา่ งระดับช้ันเรียน ระดับประถมศึกษา “นักเรียนชั้น ป.๒ ของฉัน จะอ่าน เขียน คิดเลข และมีพฤตกิ รรม ท่ีบอกวา่ พรอ้ มขน้ึ ไปเรยี นช้นั ป.๔ ไมใ่ ช่ ป.๓” ระดับมัธยมศึกษา เป้าหมายเชิงกระบวนการของครูวิทยาศาสตร์ “ฉันจะ สอนนกั เรยี นใหร้ วู้ ธิ กี ารสรา้ งเมอื งขนึ้ ใหมห่ ลงั จากประสบภยั พบิ ตั ”ิ ครวู ชิ าภาษาไทย ชนั้ ม. ตน้ อาจมอบงานใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั เขยี นเรยี งความเรอื่ งเปลย่ี นโลก นำ� ผลงาน ที่ปรับปรุงแล้วไปอ่านให้ผู้น�ำชุมชนฟัง ค�ำแนะน�ำป้อนกลับท่ีได้รับจะมีผลในระดับ เปลี่ยนชีวิตของนักเรียน ครูวิชาคณิตศาสตร์อาจก�ำหนดเป้าหมายว่า “ในช่วง ปลายปกี ารศกึ ษา นกั เรยี นจะชว่ ยกนั เขยี นหนงั สอื ‘วธิ กี ารเรยี นทจ่ี ะชว่ ยใหป้ ระสบ ความส�ำเรจ็ ในวิชาคณติ ศาสตร์’ เป็นหนงั สอื คู่มือการเรยี น” เป้าหมายความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน “ฉันจะรู้จักช่ือเล่นของ นักเรยี นทุกคนในชน้ั ” • 70 •

ใหเ้ หตผุ ลเพ่ือให้เช่อื วา่ บรรลุได้ หนังสือบอกว่าครูใช้เวลาเพียง ๒๐ วินาทีเท่านั้น ยืนยันให้ศิษย์เชื่อว่าพวกเขา บรรลเุ ปา้ หมายทท่ี า้ ทายรว่ มกนั ได้ โดยครจู ะคอยชว่ ยเหลอื โดยใชค้ ำ� พดู ในทำ� นองนี้ “เป้าหมายท่ีเราช่วยกันก�ำหนดน้ีส�ำคัญมากต่อชีวิตของพวกเธอ ครูเชื่อว่าพวกเธอ ท�ำได้ หากพยายามอย่างฉลาด ครูแคร์พวกเธอ แคร์ผลการเรียนของพวกเธอ ครูจะไม่ท้อถอย จะสอนพวกเธอคนใดคนหนึ่งซ้�ำอีกก่ีคร้ังก็ได้ จนทุกคนบรรลุ เปา้ หมาย เราตอ้ งบรรลเุ ปา้ หมายทกุ คน หากใครคนใดคนหนงึ่ ลม้ เหลว หมายความวา่ พวกเราทกุ คนลม้ เหลว รวมทงั้ ครดู ว้ ย” หรอื “ครแู ครพ์ วกเธอ ครชู ำ� นาญหนา้ ทคี่ รู ครูจะท�ำงานหนัก ต่อเนื่อง และเรียนจากการท�ำผิดพลาด ขอให้พวกเธอท�ำหน้าที่ ส่วนของพวกเธอ ครูจะท�ำหน้าที่ส่วนของครู ครูจะไม่ให้พวกเธอล้มเหลวแม้แต่ คนเดยี ว เราเร่มิ ต้นท�ำงานกันได้แล้ว” ส่วนที่ส�ำคัญที่สุดต่อการบรรลุเป้าหมายที่ท้าทายคือ การสอนให้นักเรียนรู้วิธี จัดการความผิดพลาดล้มเหลว บอกนักเรียนว่า ความผิดพลาดหรือล้มเหลวเป็น สง่ิ ทจ่ี ะพบเสมอในชวี ติ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของชวี ติ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของความเจรญิ กา้ วหนา้ ความล้มเหลวเป็นบทเรียน ความล้มเหลวช่วยสอนเรา คนเราเป็นอย่างไรให้ดูท่ี การตอบสนองตอ่ ความล้มเหลว อยา่ งไรกต็ ามการดำ� เนนิ การเพอื่ บรรลเุ ปา้ หมายทท่ี า้ ทายตอ้ งการแรงเสรมิ หรอื ก�ำลังใจ เปน็ ระยะๆ และนัน่ คือความส�ำคญั ของการกำ� หนดเป้าหมายรายทาง ใชเ้ ป้าหมายรายทางเพื่อเชอื่ มรอยตอ่ การก�ำหนดเป้าหมายสูงลิ่วสร้างความต่ืนเต้นแก่นักเรียนแทบทุกคน แต่เป็น การยากที่จะท�ำให้นักเรียนด�ำรงความตื่นเต้นเอาจริงเอาจังกับเป้าหมายดังกล่าวได้ ในระยะยาว จึงต้องใช้กลยุทธก�ำหนดเป้าหมายรายทางที่สามารถบรรลุได้ภายใน หนง่ึ สัปดาหห์ รอื สั้นกว่าน้นั ซงึ่ จะชว่ ยใหน้ ักเรียน • 71 •

มคี วามมัน่ ใจในขดี ความสามารถจำ� เพาะเร่ืองของพวกตน ประจักษ์ดว้ ยตนเองวา่ มคี วามคืบหนา้ สู่เป้าหมาย วัดไดช้ ดั เจน สรา้ งอารมณร์ ว่ ม และกำ� ลงั ใจ จากการบรรลคุ วามสำ� เรจ็ และการเฉลมิ ฉลอง การใชเ้ ปา้ หมายรายทางเปน็ เครอื่ งมอื สรา้ งความสำ� เรจ็ ในการเรยี นรนู้ ี้ มี effect size สงู ถึง ๐.๙๗ เม่ือนักเรียนต้ังค�ำถามท่ีถูกต้อง หรือบรรลุเป้าหมายรายทาง ครูพึงจัดการ เฉลมิ ฉลอง และจัดการพูดคุยเพื่อบรรลุเปา้ หมายการเรยี นรใู้ นระดบั ท่ีสูงย่งิ ขึ้น • 72 •

๖ ใหค้ �ำแนะน�ำ ป้อนกลับทที่ รงพลัง บันทึกน้ีเป็นบันทึกที่ ๒ ใน ๓ บันทึก ภายใต้ชุดความคิดว่าด้วยความส�ำเร็จ ของศษิ ย์ (achievement mindset) ตคี วามจาก Chapter 5 : Give Fabulous Feedback การทน่ี กั เรยี นจะธำ� รงความมานะพยายามไวเ้ ปน็ เวลานาน เพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมายท่ี ทา้ ทายไดใ้ นทสี่ ดุ ตอ้ งการแรงเสรมิ เปน็ ระยะๆ การไดร้ บั รคู้ วามกา้ วหนา้ ตามเปา้ หมาย รายทางในท้ายบันทึกที่แล้วก่อให้เกิดแรงบันดาลใจ ในบันทึกน้ีจะกล่าวถึงการใช้ คำ� แนะนำ� ปอ้ นกลบั ชว่ ยใหเ้ หน็ วา่ เปา้ หมายเคลอ่ื นใกลเ้ ขา้ มา สรา้ งความหวงั เพมิ่ ขนึ้ การประเมนิ เพ่อื พัฒนาในระหวา่ งการทำ� งาน การประเมินเพื่อพัฒนา (formative assessment) ตามด้วยการให้ค�ำแนะน�ำ ป้อนกลับอย่างสร้างสรรค์ (constructive feedback) มีพลังต่อการเรียนรู้สูงยิ่ง มีผลการวิจัยบอกว่า การประเมินเพื่อพัฒนาให้ effect size ต่อผลลัพธ์การเรียน รู้เท่ากับ ๐.๙๐ การประเมินเพ่ือพัฒนาจะช่วยให้ข้อมูลป้อนกลับ เพ่ือปรับปรุง วธิ กี าร หรอื เพอ่ื ยนื ยนั วา่ มาตรการทใ่ี ชก้ อ่ ผลตามทต่ี อ้ งการ มหี ลกั การ ๕ ประการ ที่จะชว่ ยใหก้ ารประเมนิ เพอ่ื พฒั นามีพลงั • 73 •

๑. มเี ปา้ หมายทช่ี ดั เจนรว่ มกนั ครตู อ้ งทำ� ใหน้ กั เรยี นมคี วามชดั เจนตอ่ เปา้ หมาย การเรียนรู้ และตอ่ เกณฑบ์ อกความสำ� เรจ็ ๒. ท�ำให้เห็นความก้าวหน้า เพื่อให้นักเรียนรู้ว่างานส่วนไหนส�ำเร็จ ส่วนไหน ต้องการการเปลย่ี นแปลงวธิ กี าร ๓. ให้ค�ำแนะน�ำป้อนกลับท่ีน�ำสู่การกระท�ำ และช่วยความก้าวหน้าของ การเรียนรู้ เพื่อช่วยใหน้ ักเรียนทำ� งานได้ดยี ิง่ ขึน้ ๔. ส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนเป็นเจ้าของการเรียนรู้ หลักการคือ เรียน เปน็ เจา้ ของ และแชร์ ๕. ติดตามแนวโน้ม ให้นักเรียนฝึกมองแนวโน้มภาพใหญ่ และรายละเอียด ท่ีทรงคุณค่าตอ่ การเรยี นรู้ ใช้ SEA ใหค้ ำ� แนะน�ำป้อนกลับเชิงคณุ ภาพ SEA เปน็ คำ� ยอ่ ยอ่ มาจาก strategy effort และ attitude ผเู้ ขยี นหนงั สอื เลม่ นี้ บอกวา่ นกั เรยี นควรไดร้ บั คำ� แนะนำ� ปอ้ นกลบั (feedback) อยา่ งนอ้ ยทกุ ๆ ๓๐ นาที จากแหลง่ ใดแหลง่ หนงึ่ ใน ๔ แหลง่ คอื จากเพอื่ นนกั เรยี นดว้ ยกนั จากกจิ กรรมทท่ี ำ� จากการใคร่ครวญสะท้อนคิด และจากครู โดยที่ค�ำแนะน�ำป้อนกลับน้ัน เป็นการ ช่ืนชมให้ก�ำลังใจ หรือให้ค�ำแนะน�ำต่อประเด็นใดประเด็นหน่ึงของ SEA จะเป็น การเสริมพลังในการฟนั ฝ่าความยากลำ� บาก ตัวอย่างของค�ำแนะนำ� ป้อนกลบั ในตระกลู น้ี “ครูพอใจมากท่ีเธอทดลองใช้หลายกลยุทธ (strategy) จนในท่ีสุดค้นพบ กลยุทธทีใ่ ช้การได้” “ครูยินดีท่ีเห็นเธอไม่ท้อถอย ความมานะพยายาม (effort) จะช่วยให้เธอ ประสบความสำ� เร็จ และเดินสู่เป้าหมายได้” • 74 •

“กอ่ นเรม่ิ งาน และระหวา่ งฟนั ฝา่ เธอพกเอาทา่ ที (attitude) เชงิ บวกมาเตม็ ปรี่ ท่าทีเช่นนี้จะชว่ ยให้เธอบรรลเุ ป้าหมายได”้ เมื่อมกี ารใหค้ ำ� แนะนำ� ปอ้ นกลับอยา่ งเปน็ ธรรมชาติ ตามหลักการ SEA โดยมี ความหลากหลายของผู้ใหค้ �ำแนะนำ� ปอ้ นกลบั (who) จังหวะ (when) ของการให้ ค�ำแนะน�ำปอ้ นกลับ และวธิ ีให้ (how) จะช่วยสร้าง effect size ถงึ ๐.๗๔ ใช้ 3M ให้คำ� แนะนำ� ป้อนกลบั เชงิ ปรมิ าณ 3M ยอ่ มาจาก milestone mission และ method เปน็ เครอ่ื งมอื ใหน้ กั เรยี นตระหนกั ว่า ขณะนั้นตนอยู่ตรงไหนในเส้นทางสู่ความส�ำเร็จ (milestone) ตนมีเป้าหมาย อะไร (mission) และตนใชว้ ิธกี ารใดในการเดนิ ทางสเู่ ป้าหมาย (method) การใช้ เคร่ืองมือ 3M มี ๓ ขนั้ ตอนดังตอ่ ไปนี้ สอนกระบวนการ 3M แก่นักเรยี น เปน็ การแนะนำ� ใหน้ กั เรยี นรู้จักเครอ่ื งมอื แต่ละตัวของ 3M เป้าหมายรายทางสู่ความส�ำเร็จ ช่วยบอกว่าเวลานี้นักเรียนอยู่ตรงไหน บนเส้นทางสู่ความส�ำเร็จ เช่น เวลาน้ีนักเรียนเขียนตามค�ำบอกได้ถูกต้อง ๘ ค�ำ จาก ๑๕ คำ� เปา้ หมายปลายทาง เชน่ สามารถตอบขอ้ สอบซอ้ มปลายเดอื นไดถ้ กู ทงั้ หมด วิธีการ เชน่ วธิ ีกำ� หนดเปา้ หมายรายทางใน ๑ สปั ดาห์ มอบหมายให้นักเรยี นติดตามความกา้ วหน้าของตน ความก้าวหน้าอาจเป็นผลการทดสอบตนเอง ผลการทดสอบของครู เป็นการ ตดิ ตามความกา้ วหนา้ เทยี บกบั เปา้ หมาย (mission) ซงึ่ ชดั เจนมากวา่ คอื ๑๐๐ (เตม็ ) แต่ส�ำหรับนักเรียนที่เรียนอ่อนมาก เป้าหมาย ๑๐๐ หมายถึงผลการทดสอบ ท่ดี ขี ้นึ กวา่ เดมิ ๑๐๐% • 75 •

ชี้แนะแนวทางสกู่ ารปรับปรงุ เป้าหมายของเคร่ืองมือ 3M คือการส่งเสริมให้นักเรียนสามารถก�ำกับการ เรียนรู้ของตนเองได้ (ดูรายละเอียดเพ่ิมเติมได้ท่ี https://www.gotoknow.org/ posts/571127) คือ รู้เป้าหมายปลายทาง เป้าหมายรายทาง และรู้วิธีบรรลุ เป้าหมายนัน้ รวมทั้งร้วู ธิ ีประเมนิ วา่ บรรลุแคไ่ หน รูจ้ กั ปรับปรุงวิธกี าร ครูช้ีแนะแนวทางสู่การปรับปรุงโดยเขียนโปสเตอร์แปะท่ีฝาผนังห้องเรียน แนะน�ำวธิ ปี รบั ปรงุ วธิ เี รยี น เช่น ฉนั จะเรียนดีขนึ้ กว่าเดิมได้โดย ถามค�ำถามในช้ันเรยี นบอ่ ยยง่ิ ข้นึ ทบทวนผลงาน และนำ� ไปนำ� เสนอให้เพ่ือนตชิ ม สรปุ การเรียนทกุ วนั อ่านเรอ่ื งทจ่ี ะเรยี นก่อนไปเขา้ ชัน้ เรยี น ทำ� งานร่วมกนั เกลอคเู่ รียนให้ใกล้ชดิ ยิง่ ขึน้ น�ำเน้ือหาท่เี รยี นมาท�ำผังมโนทศั น์ หรอื อินโฟกราฟกิ ขอความช่วยเหลือจากครใู นบางเร่ือง คน้ ควา้ เรอื่ งราวของหลกั ประการทเี่ ขา้ ใจยากเพมิ่ ขึน้ จะเหน็ ว่าผ้ใู ชเ้ ครื่องมอื นี้คือนกั เรียนและครู ใช้คำ� แนะน�ำปอ้ นกลับ MIC MIC ย่อมาจาก micro index card เป็นเทคนิคที่ครูได้รับ feedback จาก นักเรียนด้วยวิธีการง่ายๆ คือให้เขียนชื่อของตนลงบนกระดาษ index card ดา้ นหน่ึง อีกด้านหนึง่ เขยี นเกี่ยวกับประเด็นต่อไปนเี้ พยี งครงั้ ละหนงึ่ ประเด็น • 76 •

สองสง่ิ ที่ครูควรรู้เก่ยี วกับตัวเขา แตผ่ ู้คนมักไม่รู้ ประสบการณ์ในอดีตเก่ยี วกับวชิ านน้ั (ไม่เกนิ ๕ บรรทัด) การเรยี นรู้ในสปั ดาห์ที่ผ่านมาเปน็ อย่างไรบา้ ง มกี ารเปลย่ี นแปลงอย่างไร เปา้ หมายการเรียน ส่ิงท่ีอยากบอกครูเก่ียวกับงานท่ีได้รับมอบหมาย (เขียนบทความ) ในส่วน คำ� นำ� ประเดน็ หลกั ขอ้ เสนอ หลกั ฐานสนบั สนนุ ขอ้ โตแ้ ยง้ ขอ้ สรปุ บทลงทา้ ย เพือ่ นสนทิ ๓ คนในชนั้ (เพอ่ื ให้ครูรวู้ ่านกั เรียนมีสงั คมกบั เพอ่ื นอยา่ งไร) โครงรา่ งของงานทก่ี �ำลังทำ� โดยใช้คำ� ๕ - ๑๐ ค�ำ คำ� แนะนำ� ตอ่ นักเรยี นชั้นเด็กกวา่ วา่ ควรมวี ธิ ีท�ำโจทย์คณิตศาสตร์อยา่ งไร ให้นักเรียนกรอก MIC ทุกๆ วันเว้นวัน ในช่วง ๒ สัปดาห์แรกจะช่วยให้ครู รู้จักนักเรียนมากข้ึน และปรับปรุงการจัดการชั้นเรียนให้เหมาะสมแก่เด็กได้ดีข้ึน รวมท้งั จัดทมี ท�ำงานไดเ้ หมาะสมย่ิงขนึ้ จะเหน็ วา่ คำ� แนะนำ� ปอ้ นกลบั MIC เปน็ คำ� แนะนำ� ปอ้ นกลบั ทน่ี กั เรยี นใหแ้ กค่ รู เพอ่ื ประโยชน์ของตนเอง (และเพ่อื นนักเรียน) ค�ำแนะน�ำปอ้ นกลับของนกั เรียน ครทู ด่ี ตี อ้ งหาวธิ ไี ดค้ ำ� แนะนำ� ปอ้ นกลบั ของนกั เรยี นสำ� หรบั นำ� มาปรบั ปรงุ ตนเอง เขาแนะน�ำ ๔ วิธีการ ดังต่อไปน้ี ๑. ขอ้ มลู ทไี่ มใ่ ชถ่ อ้ ยคำ� ครสู งั เกตกริ ยิ าทา่ ทาง สหี นา้ ของนกั เรยี น เปน็ ระยะๆ เพื่อหาทางท�ำให้นักเรียนทุกคนบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้อย่างดี มีผลการวิจัยว่า เคร่ืองมือง่ายๆ น้ีให้ effect size ถงึ ๑.๔๒ ๒. สิ่งท่ีเรียนเมื่อวานน้ี แจกกระดาษเปล่า ๑ แผ่น ให้เวลา ๑๒ นาที ให้ นักเรียนทุกคนเขียนเร่ืองท่ีเรียน (วิชานี้) เมื่อวานเท่าท่ีจ�ำได้ ครูเก็บกระดาษ มาอ่านเพ่ือหานักเรียนท่ีจับประเด็นส�ำคัญไม่ได้ รวมท้ังหาส่วนท่ีครูสอนไม่ชัดเจน ส�ำหรบั แก้ไขต่อไป นกั เรียนที่จบั ประเด็นไม่ได้ครเู รยี กมาสอนเพม่ิ • 77 •

๓. สรุป ๑ นาที ก่อนจบเวลาเรียนของคาบ แจกกระดาษที่มี ๒ ค�ำถาม ให้ นักเรียนตอบ โดยไมต่ ้องลงช่ือนกั เรยี น ใชเ้ วลา ๑ - ๒ นาที สิ่งส�ำคัญท่สี ุดที่ได้จากการเรยี นวันนีค้ อื ... ส่วนท่ยี ังเขา้ ใจไม่ชดั เจนในวันน้ีคอื ... ๔. กล่องรับข้อเสนอแนะ เป็นการรับข้อเสนอแนะต่อครูแนวรุก ไม่ใช่แนว ต้ังรับแบบกล่องรับข้อเสนอแนะท่ีเราคุ้นเคย ท�ำโดยก่อนเริ่มชั้นเรียนครูถามว่า ในบทเรียนที่แล้วมีตรงไหนยังเข้าใจไม่ชัดบ้าง ในช่วงระหว่างเวลาเรียน ให้เวลา ๑ นาที ให้นักเรยี นเขียนขอ้ เสนอแนะ โดยอาจใหเ้ ขียนกอ่ นจบคาบเรยี น หลังจาก เก็บข้อเสนอแนะมาอ่านและจัดหมวดหมู่ได้ ๑ สัปดาห์ บอกนักเรียนว่าครูได้รับ ข้อเสนอแนะอะไรบ้างท่ีมีประโยชน์ต่อการปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และกล่าว ค�ำขอบคุณนกั เรยี น จะเหน็ วา่ คำ� แนะนำ� ปอ้ นกลบั เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการเรยี นรู้ คนทต่ี อ้ งการปรบั ปรงุ งานของตนเอง ปรบั ปรุงตนเอง ตอ้ งการคำ� แนะนำ� ปอ้ นกลบั เชิงสร้างสรรค์ ที่เรียก ว่า constructive feedback • 78 •

๗ ธ�ำรงอิทธิบาท ๔ บนั ทกึ นเี้ ปน็ บนั ทกึ สดุ ทา้ ยใน ๓ บนั ทกึ ภายใตช้ ดุ ความคดิ วา่ ดว้ ยความสำ� เรจ็ ของศิษย์ (achievement mindset) ตคี วามจาก Chapter 6 : Persist with Grit ชวี ิตนักเรียนไม่ใชก่ ารว่ิง ๑๐๐ เมตร แต่เปน็ การว่งิ มาราธอน นกั เรยี นต้องฝึก ความมงุ่ มน่ั สองแบบคอื แบบระยะสนั้ กบั แบบระยะยาว ความมงุ่ มนั่ ระยะสนั้ เรยี กวา่ การก�ำกับตัวเอง (self-control) ให้มีใจจดจ่ออยู่กับเรื่องใดเร่ืองหนึ่ง ไม่วอกแวก อยู่กับเป้าหมายท่ีบรรลุได้ในระยะสั้น เช่น จดจ่ออยู่กับบทเรียน ๕๐ นาที ส่วน อิทธิบาท ๔ (grit) เป็นความมุ่งม่ันระยะยาว เพ่ือเป้าหมายระยะยาว เช่น เรียน ใหจ้ บ ม. ๖ เพ่อื ไปเรียนต่อในระดบั มหาวทิ ยาลยั ข่าวดีคือนักเรียนส่วนใหญ่มีคุณสมบัติน้ีอยู่แล้ว แต่นักเรียนอีกจ�ำนวนหนึ่ง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ นกั เรยี นทขี่ าดแคลนไมม่ ี ทำ� ใหไ้ มท่ นตอ่ อปุ สรรคขวากหนามของ การเรียน และออกจากการเรยี นกลางคันไปเสยี ก่อนเรยี นจบ มผี ลงานวิจยั บอกว่า grit มีผลตอ่ ความสำ� เรจ็ ในการเรียนยิง่ กว่าไอคิว เดก็ นกั เรยี นบางคนอาจมคี วามสามารถในการกำ� กบั ตวั เอง มคี วามมงุ่ มนั่ ระยะสน้ั ทีด่ ี แตข่ าดอทิ ธิบาท ๔ หากแต่โดยทัว่ ไปแลว้ ทักษะสองอยา่ งนมี้ กั ไปดว้ ยกนั และ ข่าวดีคอื ท้งั สองทกั ษะน้ีฝกึ ได้ • 79 •

ผมเคยเขยี นบนั ทกึ เรอื่ ง grit ไว้ ที่ https://www.gotoknow.org/posts/613528 และมานึกได้ภายหลังว่า องค์ประกอบแรกของ grit คือ passion (ความชอบ ในระดับคล่ังไคล้ใหลหลง) นั้น ตรงกับฉันทะในอิทธิบาท ๔ และองค์ประกอบ ที่สองของ grit คือ perseverance (ความมุมานะต่อเนื่องเพื่อบรรลุเป้าหมาย ที่ยิ่งใหญ่ในระยะยาว) นั้น ตรงกับ วิริยะ + จิตตะ + วิมังสา ในอิทธิบาท ๔ ดังนนั้ ผมตคี วามว่า grit คือ อทิ ธบิ าท ๔ น่ันเอง หา้ วิธีพัฒนา grit ๑. ช่วยให้นักเรียนตระหนักถึงคุณค่าของเป้าหมายที่ท้าทายอยู่เสมอ หาวิธี เตือนใจนักเรียนให้ผูกพันอยู่กับเป้าหมายระยะยาว เช่น เขียนติดเป็นโปสเตอร์ ในห้องเรียน มีการเฉลิมฉลองเม่ือบรรลุเป้าหมายรายทางไปสู่เป้าหมายปลายทาง ท่ีก�ำหนด และอาศัยการเฉลิมฉลองตอกย�้ำถึงเป้าหมายปลายทาง มีการเล่าเร่ือง ของความมงุ่ ม่นั สู่เปา้ หมาย ฯลฯ ๒. ใหน้ กั เรยี นไดร้ จู้ กั grit เชน่ ใหด้ ภู าพยนตรท์ ส่ี ะทอ้ น grit เชน่ เรอ่ื ง Forrest Gump, Bend It Like Beckham, Remember the Titans (ผมไม่ใช่นักดูหนัง จึงไม่มีความสามารถแนะน�ำหนังไทยหรือละครไทย) หลังจากฉายหนังให้นักเรียน ดดู ว้ ยกนั แลว้ รว่ มกนั สะทอ้ นคดิ วา่ หนงั สอนใจเรอ่ื ง grit อยา่ งไรบา้ ง หรอื ในบรบิ ท ไทยรว่ มกนั แลว้ รว่ มกนั สะทอ้ นคดิ วา่ ไดข้ อ้ สอนใจในเรอื่ งอทิ ธบิ าท ๔ อยา่ งไรบา้ ง ๓. สร้างเงื่อนไขให้เกิด grit เงื่อนไขหลักคือบรรยากาศเชิงบวกซ่ึงสร้างได้ ผ่านการเฉลิมฉลอง บทกวี นทิ าน เรื่องเล่า ประวตั ศิ าสตร์ เพลงทีเ่ ร้าใจ มีผลงาน วิจัยบอกว่า การสร้าง grit ให้ผลสูงสุดเมื่อสัดส่วนระหว่าง บรรยากาศเชิงบวก : บรรยากาศเชิงลบ เท่ากับ ๓ : ๑ ครูพึงหาทางให้นักเรียนได้รับความสะเทือนใจ เชิงบวก มากกว่าความสะเทือนใจเชิงลบก่อนกลับบ้านในแต่ละวัน และมีช่วงเวลา ให้นกั เรยี นไดเ้ ล่าเรือ่ งราวของตนที่สะท้อนการพฒั นา grit ของตน • 80 •

๔. ท�ำให้ grit เป็นสิ่งท่ีจับต้องได้ ในหลายแง่มุม โดยใช้ค�ำเปรียบเทียบ (อุปมา) ค�ำคม (quotes) ค�ำคล้ายคลึง บอกนักเรียนว่า เวลาเราล้มเราไม่เป็น ผรู้ บั ผดิ ชอบตอ่ การลม้ แตเ่ ราตอ้ งรบั ผดิ ชอบตอ่ การลกุ ขน้ึ คนเราลม้ เพอ่ื จะไดฝ้ กึ ลกุ ซ่ึงจะช่วยให้เราแข็งแรงขึ้น เก่งขึ้น มีครูในสหรัฐอเมริกา คิดวิธีเป็นรูปธรรม ให้นักเรียนเข้าใจ โดยเอาของรูปร่างกลมๆ มาสองอย่าง คือไข่ กับ super ball (ลูกบอลท่ีเด้งดีมาก) เอามาให้นักเรียนดู แล้วถามว่าพวกเธอจะเป็นไข่ หรือเป็น super ball วา่ แลว้ กป็ ล่อยทั้งสองอยา่ งลงพนื้ ซึ่งแน่นอนวา่ ไข่แตก แต่ super ball เดง้ ดง๋ึ ครถู ามซ้ำ� “เธอจะเปน็ อะไร” นกั เรยี นมักจะตอบไม่เต็มเสียง “super ball” ครูยำ้� พดู ดังๆ “เราจะเปน็ ... super ball” ๕. ใช้ grit ให้เห็นผล และเพ่ิมความตระหนักในคุณค่าของ grit ใน สถานการณ์จริง เมื่อใดท่ีครูเห็นนักเรียนก�ำลังใช้ความพยายามท�ำงานอยู่ ครกู ลา่ วชม “ครดู ใี จมาก ทเี่ หน็ เธอกำ� ลงั ฝกึ grit (อทิ ธบิ าท ๔) อย”ู่ ยามนกั เรยี น ก�ำลังอึดอัดขัดข้องในการท�ำงาน ครูพูดว่า“ไม่มีใครหรอก ที่ประสบความส�ำเร็จ โดยไม่ต้องท�ำงานหนัก ไม่ต้องฟันฝ่า” อย่าพูดว่า “ไม่ทุกคนหรอกที่ประสบ ความส�ำเร็จ” หรือ “เรื่องน้ีอาจไม่ใช่เร่ืองที่เธอถนัด” จะเห็นว่าค�ำพูดของครูใน สถานการณ์จริง มคี วามหมายมากในการบ่มเพาะหรอื ทำ� ลาย grit ครูพงึ ตระหนกั วา่ การบม่ เพาะ grit เปน็ กจิ กรรมระยะยาวใหท้ ำ� ตอ่ เนื่อง อย่า ใจร้อน โดยต้องท�ำต้ังแต่เป็นเด็กเล็ก หน้าท่ีหลักของครู ในการบ่มเพาะ grit ใหแ้ กศ่ ษิ ย์ คือการร้องขอ ไม่ใชก่ ารบอก หรอื ใหค้ ำ� ตอบ ครตู อ้ งร้องขอสงิ่ ทยี่ งิ่ ใหญ่ ที่บรรลุยากจากศษิ ย์ เปน็ โจทย์ให้ศษิ ย์ฝึก grit โดยครูคอยให้ก�ำลังใจ เรมิ่ จากกจิ กรรมทท่ี ำ� เสรจ็ ในเวลาสน้ั ๆ เชน่ ๒๐ นาที แลว้ คอ่ ยๆ ยาวขน้ึ เปน็ วนั หลายวนั จนกระทงั่ ยาวเป็นปี เมือ่ ไรกต็ ามท่นี กั เรียนท้อ ถือเป็นโอกาสทองของครู ทจี่ ะได้ฝึกทักษะการฟืน้ ความมุง่ มน่ั ซึ่งจะกลา่ วในตอนต่อไป • 81 •

ผมขอตีความจากประสบการณ์ของตนเองว่าการฝึกพัฒนา grit ให้แก่ศิษย์น้ัน ไมม่ ที างทำ� ไดห้ ากใชก้ ารเรยี นแบบครบู อกใหน้ กั เรยี นจดจำ� ตอ้ งใชร้ ปู แบบการเรยี นรู้ แบบ active learning / activity-based learning / inquiry-based learning เทา่ นนั้ จึงจะมีโจทย์ให้นักเรียนฝึกพัฒนา grit ได้ และครูก็จะได้ฝึกพัฒนา grit ไปด้วย ในตัว เคร่อื งมอื ชว่ ย เมอื่ grit ตกตำ่� นักวิจัยได้ทดลองและแนะน�ำวิธีฟื้นการฝึก grit หลังจาก grit ตกต�่ำ โดยการ เชื่อมโยงคุณค่าและอัตลักษณ์ของ grit เข้ากับงาน เพ่ือใส่พลังและความพยายาม เพ่มิ เข้าไป โดยวธิ กี ารดงั ต่อไปนี้ บอกนกั เรยี นใหพ้ กั ๕ นาที ใช้ ๒ นาทแี รกใหน้ กั เรียนยดื เสน้ หายใจลกึ ๆ และท�ำกายบริหารเพื่อเปลี่ยนบรรยากาศและผ่อนคลาย และใช้เวลา ๓ นาทีหลัง ให้นักเรียนเขียนรายการคุณลักษณะส่วนตัวของตน ซึ่งอาจมีเป็นโหล การเขียนนี้ จะช่วยเตอื นสตินกั เรียนวา่ ตนคอื ใคร ซง่ึ จะเรียกความมงุ่ ม่ันกลบั คนื มา เปลยี่ นเอกลกั ษณข์ องนกั เรยี นไปเปน็ “ผเู้ ชย่ี วชาญระหวา่ งการฝกึ ” (expert-in- training) หรอื เรียกว่าเป็น “ปราชญน์ ้อย” (scholar) ซ่ึงเป็นคำ� ยกย่อง และชกั จงู ให้นกั เรียนอดทน เม่ือประกอบกบั คำ� พดู เชยี ร์ให้เดนิ หน้าต่อ นักเรียนจะลกุ ขนึ้ สู้ ใชโ้ ปสเตอรป์ ลกุ ใจ เชน่ “ท�ำงานหนกั เพื่อความสำ� เร็จขา้ งหน้า” (Working Harder Gets You Smarter) ใช้เครือ่ งมอื ๓ ขั้น • 82 •

เครือ่ งมอื 3 ข้ัน ขน้ั ที่ ๑ : ฟงั บอกนักเรียนว่าเมื่อจะท�ำงานส�ำคัญ ให้เร่ิมจากฟังเสียงจากภายในตนก่อน ตรวจสอบหาชุดความคดิ หยุดนิ่ง (fixed mindset) และเปลยี่ นไปเป็นชุดความคดิ เจริญงอกงาม (growth mindset) เสยี บอกตวั เองว่าจะไม่หมกมนุ่ อยู่กับอดตี หรอื ความผิดพลาด จะเรยี นรู้และแก้ปญั หานใ้ี ห้จงได้ ข้นั ท่ี ๒ : ฟ้นื พลัง ใหน้ กั เรยี นบอกตนเองวา่ ตนมเี ปา้ หมายอะไร เปา้ หมายนน้ั มคี วามสำ� คญั อยา่ งไร ต่อตัวเอง ที่จะต้องบรรลุให้ได้ จินตนาการถึงสภาพความส�ำเร็จ ความรู้สึกของ ตนเองเมอื่ บรรลุความสำ� เร็จน้นั และแชรค์ วามรู้สกึ นน้ั ตอ่ เพอื่ นๆ ในช้ัน ขั้นท่ี ๓ : เลือกอกี เลอื กขา้ งระหวา่ งเสยี งในหวั วา่ “ฉนั ไมค่ ดิ วา่ จะสามารถทำ� สงิ่ นไ้ี ด”้ กบั “ฉนั เคยทำ� สง่ิ ทย่ี ากและไมค่ ดิ วา่ จะทำ� ไดใ้ หบ้ รรลคุ วามสำ� เรจ็ มาแลว้ มากมาย ฉนั จะพยายามตอ่ ฉันเชื่อว่าสามารถขอความช่วยเหลือได้ ในระหว่างทางหากประสบความล้มเหลว ฉันก็จะได้เรียนรู้ และหาทางแก้ไขจนบรรลเุ ป้าหมายใหจ้ งได”้ ในภาคปฏบิ ตั ิ การดำ� เนนิ การเพอื่ บรรลเุ ปา้ หมายระยะยาวยอ่ มมขี นึ้ มลี งในเรอ่ื ง ความมุ่งมั่นเป็นธรรมดา ครูต้องมีเคร่ืองมือฟื้นพลังของนักเรียน และหม่ันใช้ อย่เู สมอ เชน่ (๑) บอกนกั เรยี นให้คน้ หาคลิปในยทู ปู ท่ีส่ือสารคุณคา่ ของเปา้ หมาย ทกี่ ำ� ลงั ดำ� เนนิ การ นำ� มาดใู นชน้ั และรว่ มกนั สะทอ้ นคดิ เชงิ คณุ คา่ (๒) ขอใหน้ กั เรยี น เตรียมใช้เวลา ๓๐ วินาที เสนอเป้าหมายท่ีท้าทายของตน และเพราะอะไรตนจึง ตอ้ งการบรรลเุ ปา้ หมายนน้ั (๓) ใหน้ กั เรยี นทำ� ผงั เสน้ ทางสเู่ ปา้ หมายวา่ เรมิ่ ตรงไหน เวลานี้อยู่ตรงไหน ข้ันตอนต่อไปคืออะไร เพื่อการบรรลุเป้าหมายสุดท้าย (๔) ให้ นักเรียนยืนขึ้น เดินไป ๑๐ วินาที ไปหาคู่ เพื่อแชร์เป้าหมาย อุปสรรคและวิธี เอาชนะอุปสรรคนัน้ • 83 •

กระบวนการเหล่านี้จะช่วยให้นักเรียนรู้สึกว่าเป้าหมายของตนเป็นส่ิงจับต้องได้ แชรไ์ ด้ และเป็นส่วนหน่งึ ของชีวิตของตน เปลีย่ นวาทกรรม เปลย่ี นพฤติกรรม เพอ่ื ใหต้ นเองมคี วามมงุ่ มน่ั ในการหนนุ ใหศ้ ษิ ยป์ ระสบความสำ� เรจ็ ในระดบั “รจู้ รงิ ” (mastery) ครูต้องเปลี่ยนวาทกรรมในหัวของตนจาก “เป็นหน้าท่ีของพ่อแม่ที่จะ สร้างแรงบันดาลใจให้ลูก ไม่ใช่หน้าท่ีของครู” ไปสู่ “ฉันจะกระตุ้นความพยายาม แรงจูงใจ และเจตคติส่คู วามสำ� เร็จของศษิ ย์ ทกั ษะเหลา่ น้ีฝึกได้” ใครค่ รวญสะทอ้ นคดิ และตดั สินใจ จะเห็นว่าการเปลี่ยนแปลงท่ีมีความหมายและย่ังยืนเร่ิมที่ “กระจก” คือครู ต้องประเมินตนเองเป็นปฐม ผ่านการใคร่ครวญสะท้อนคิดว่า มีความท้าทายเรื่อง ความส�ำเร็จและความมานะพยายามของนักเรียนในชั้นหรือไม่ แล้วจึงตัดสินใจ เลอื กเสน้ ทางวา่ จะทำ� หนา้ ที่ “ครเู พอ่ื ศษิ ย”์ ทเ่ี นน้ การสรา้ งชดุ ความคดิ และทกั ษะ เพ่อื บรรลุความสำ� เร็จระดบั mastery ใหแ้ กศ่ ิษย์หรอื ไม่ • 84 •

เรื่องเล่าจากห้องเรียน • 85 •

นทิ านเรอ่ื งกระตา่ ยกบั เตา่ และขอ้ คดิ จากนทิ านเรอ่ื งนี้ คอื บทเรยี นในสปั ดาหแ์ รกทน่ี กั เรยี น ช้ัน ๒ ได้พบตง้ั แต่ตน้ ปีการศึกษา เพ่อื การสรา้ งความเพยี รพยายามในการเรยี นร้ใู ห้แกพ่ วกเขา นอกจากนิทานเรื่องน้ีแล้ว คุณครูต้อง - นฤตยา ถาวรพรหม ครูผู้สอนหน่วยภูมิปัญญา ภาษาไทย ยังได้น�ำเอาคุณค่าของความพยายามนี้ไปใส่ไว้ในดวงใจเล็กๆ ทุกดวง ด้วยการเปิด คลิปวีดิทัศน์เรื่องลูกหมีตัวหน่ึงท่ีพยายามปีนข้ึนไปบนภูเขาน�้ำแข็งคร้ังแล้วคร้ังเล่าอย่างไม่ลดละ จนกระทง่ั ความพยายามของมนั ส�ำเรจ็ ลูกหมพี ยายามไต่เขา ครัง้ แลว้ ครัง้ เลา่ แต่ถึงกระนั้นครูก็ยังต้องพบกับโจทย์ยาก... เมื่อการเรียนรู้ด�ำเนินมาถึงช่วงเวลาท่ีนักเรียน ต้องท�ำโครงงาน ครูตอ้ งบนั ทึกการเรยี นร้ใู นชว่ งน้ีเอาไวว้ า่ ห้องเรียนวิชาโครงงานถือเป็นโจทย์ยากส�ำหรับเด็กและตัวฉัน ผลจากการส�ำรวจเจตคติของ นักเรียนพบว่านักเรียนร้อยละ ๑๔ มีความรู้สึกไม่อยากเรียน นักเรียนให้เหตุผลว่า เขารู้สึกว่า มนั ยาก ไมส่ นกุ การบา้ นเยอะเกนิ ไป ไมอ่ ยากเขยี นเยอะ และไมอ่ ยากทำ� งาน เมอื่ ฉนั อา่ นผลงาน ของนกั เรยี นกพ็ บวา่ ผลงานของพวกเขาสอดคลอ้ งกบั เหตผุ ลและความรสู้ กึ ทน่ี กั เรยี นแสดงออก นน่ั คือ นักเรยี นเขียนงานส้นั ๆ ดว้ ยลายมอื ทไี่ ม่มีระเบยี บ ขอ้ มูลท่มี ีอย่กู ็ไม่ครบถว้ น มกี ารเขียน สะกดคำ� ทผ่ี ดิ พลาดและตกหลน่ อยเู่ ตม็ ไปหมด เมอ่ื ครใู หน้ ำ� งานกลบั มาแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาด สหี นา้ ของนักเรียนก็จะแสดงออกถึงความไม่อยากท�ำให้เห็นอย่างชัดเจน หรือรีบท�ำให้เสร็จโดยไม่ได้ คำ� นงึ ว่าจะพฒั นาใหง้ านของตนเองดขี น้ึ แตอ่ ยา่ งใด จากทา่ ทที แี่ สดงออก ประกอบกบั เหตผุ ลทนี่ กั เรยี นสะทอ้ นกลบั มา และผลงานทค่ี รตู รวจพบนนั้ ทำ� ใหฉ้ นั กบั คณุ ครกู ฟิ๊ - จติ ตนิ นั ท์ มากผล ซง่ึ เปน็ ครคู วู่ ชิ าทส่ี อนในระดบั ชน้ั เดยี วกนั และคณุ ครู ที่สอนในหน่วยวิชามานุษกับโลก ที่ท�ำโครงการบูรณาการด้วยกัน ต้องกลับมาน่ังจับเข่าคุยกัน เพอื่ ปรบั เปลย่ี นวธิ กี ารจดั การเรยี นการสอน รว่ มกนั หากลวธิ พี ชิ ติ ใจนกั เรยี น สรา้ งโจทยท์ ท่ี า้ ทาย ความสามารถ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้นักเรียนอยากท�ำมากขึ้น และโจทย์ที่ส�ำคัญคือ ครูจะท�ำ อยา่ งไรใหน้ กั เรยี นอยากทำ� และเพยี รพยายามทจ่ี ะทำ� อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาตนเอง จนประสบความสำ� เรจ็ ได้ • 86 •

กอ่ นการเรมิ่ ตน้ ทำ� โครงงานสงั เคราะหต์ อ่ ยอดของนกั เรยี นชน้ั ๒ เพยี งไมก่ ว่ี นั ฉนั ไดร้ บั บนั ทกึ ชดุ สอนเข้มเพ่ือศิษย์ขาดแคลน ที่กล่าวถึงการให้ค�ำแนะน�ำป้อนกลับท่ีทรงพลังแก่ผู้เรียน มาจาก คณุ ครูใหม่ - วมิ ลศรี ศุษิลวรณ์ ในบันทึกพูดถงึ วิธกี ารที่ครูจะใหค้ ำ� แนะน�ำป้อนกลับกบั นกั เรยี น วิธีการท่ีครูจะประเมินเพื่อพัฒนาการท�ำงานของนักเรียน ควบคู่ไปกับการประเมินตนเองของ นักเรียน และการตั้งเป้าหมายเพ่ือไปสู่การสร้างผลงานท่ีเป็นเลิศ ฉันลองน�ำวิธีการที่น่าสนใจ ไปพุดคุยแลกเปล่ียนกับครูผู้สอนเพื่อทดลองใช้ในห้องเรียน โดยให้ความส�ำคัญกับจุดเร่ิมต้นคือ การสร้างเป้าหมายร่วมกันของครูและเด็ก เพ่ือให้นักเรียนเห็นว่าช้ินงานท่ีมีคุณภาพเป็นเลิศ มีลักษณะอย่างไร ให้ผู้เรียนตั้งความคาดหวังว่าเขามีความสามารถจะไปถึงเส้นชัยได้ และหา วิธีการท่ีจะไปถึงเส้นชัยด้วยวิธีการท่ีเหมาะสม หน้าท่ีส�ำคัญของครูคือการสร้างความเชื่อม่ันว่า นักเรยี นทกุ คนมีศักยภาพและสามารถทำ� ได้ เปา้ หมายในการทำ� งานครงั้ นค้ี อื ฉนั ตอ้ งการใหน้ กั เรยี นรสู้ กึ ทา้ ทาย สนใจและเกดิ แรงบนั ดาลใจ อยากที่จะท�ำโครงงานด้วยแรงขับเคล่ือนตัวของตัวเอง ฉันจึงเร่ิมสร้างแรงบันดาลใจด้วยการ ชักชวนให้เขามาท�ำหนังสือเล่มเล็ก ชวนคุยถึงรายละเอียดของหนังสือเล่มเล็กนั้นว่า ในหนังสือ จะมเี พยี งสี่หนา้ คอื หน้าที่หนงึ่ หน้านเ้ี ป็นรปู ต้นไมท้ เ่ี ขาวาดขนึ้ เอง ซงึ่ จะต้องวาดให้เหมือนจรงิ มากทส่ี ดุ โดยทท่ี กุ คนจะตอ้ งดงึ เอาทกั ษะทไ่ี ดเ้ รยี นรไู้ ปจากหนว่ ยวชิ ามานษุ กบั โลกมาใชอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี หน้าท่ีสองคือ การเล่าเร่ืองต้นไม้ด้วยบทกลอน ที่นักเรียนจะแต่งค�ำคล้องจองสนุกๆ เก่ียวกับ ต้นไม้ของตนเอง ตามความสามารถของเขา ไม่ว่าจะคิดได้มากหรือน้อยก็ตาม แต่มีข้อแม้ว่า นักเรียนจะต้องเขียนด้วยลายมือที่บรรจงมากท่ีสุด หน้าที่สาม คือ การเล่าเร่ืองต้นไม้ท่ีช่ืนชอบ ดว้ ยการเขยี นบรรยายเลา่ เรอ่ื ง ซง่ึ เปน็ ทกั ษะทน่ี กั เรยี นฝกึ ฝนจนเชยี่ วชาญในคาบเรยี นภมู ปิ ญั ญา ภาษาไทยอยูแ่ ลว้ หนา้ ท่ีสีเ่ ปน็ หน้าสุดทา้ ย ใหช้ อ่ื วา่ ตามใจฉนั คอื นักเรยี นสามารถออกแบบวา่ อยากนำ� เสนอเรือ่ งตน้ ไม้ของตนเองอยา่ งไรก็ได้ เชน่ เกม ลายไทย แตง่ นิทาน เป็นต้น จากขอ้ มูลเดมิ ท่คี รพู บคือ มีนักเรยี นจ�ำนวนหนึง่ ทมี่ ีความรูส้ ึกไม่อยากเขียน ไมอ่ ยากทำ� งาน รู้สึกว่ายาก ท้อแท้ใจและคิดว่าตนเองท�ำไม่ได้ ครูจึงคาดการณ์ว่าหากครูเดินเข้าไปในห้องเรียน แล้วบอกว่าจะให้นักเรียนเขียน ให้แต่งกลอนโดยท่ีนักเรียนยังไม่เกิดแรงบันดาลใจ นักเรียนคง รสู้ กึ ไมอ่ ยากทำ� แนๆ่ ดงั นนั้ ครจู งึ เปลยี่ นวธิ เี พอ่ื สรา้ งแรงบนั ดาลใจใหม่ ดว้ ยการบอกกบั นกั เรยี นวา่ “ครูอยากชวนเด็กๆ มาเป็นนักเขียน เขียนหนังสือท่ีมีอยู่เพียงเล่มเดียวและไม่เหมือนใคร อยากให้เด็กๆ เล่าเรื่องต้นไม้ท่ีตนเองปลูกให้คนที่อ่านหนังสือเร่ืองนี้มีความสุขที่ได้หยิบหนังสือ เลม่ นขี้ น้ึ มาอา่ น เดก็ ๆ คดิ วา่ คนอา่ นนา่ จะอยากรอู้ ะไร หรอื อยากอา่ นอะไรเกยี่ วกบั ตน้ ไมข้ องเรา บ้างคะ” สีหน้าของพวกเขาดูตื่นเต้นมากที่ตนเองก�ำลังจะได้กลายเป็นนักเขียน ทุกคนพยายาม นึกว่าคนอ่านน่าจะอยากอ่านอะไรในหนังสือ ค�ำตอบจากเด็กๆ เช่น “ความสวยงามของต้นไม้” “จดุ เดน่ และความพเิ ศษทไ่ี มเ่ หมอื นใคร” “ประโยชนข์ องตน้ ไม”้ ฯลฯ ความคดิ สรา้ งสรรคม์ ากมาย • 87 •

ก่อเกิดข้ึน แต่ละคนเร่ิมวางแผนว่าตนเองอยากเล่าอะไรให้คนอ่านฟัง แล้วลงมือเขียนเล่าเร่ือง จากไอเดียความคิดที่เขามีอยู่ ฉันมองเห็นความสนุกจากเด็กๆ ท่ีมักจะคอยถามว่า “ถ้าเขียน เรอ่ื งนค้ี นอา่ นจะชอบไหมนะ” “ผมใสม่ กุ ตลกลงไปดว้ ยนะครบั ” นกั เรยี นในหอ้ งนำ� พลงั มาจากไหน กไ็ มร่ เู้ พอ่ื ทจ่ี ะเขยี น เขาเขยี นดว้ ยความรสู้ กึ วา่ คนอา่ นตอ้ งชอบเรอ่ื งทเี่ ขาเขยี นแนๆ่ ไมม่ นี กั เรยี น คนใดถามวา่ “ตอ้ งเขยี นกบี่ รรทดั ” แตค่ ำ� ถามนน้ั เปลย่ี นเปน็ “คดิ วา่ สนกุ พอหรอื ยงั ครบั ” ฉนั บอก เด็กๆ ไปว่า “ครูไม่แน่ใจเหมือนกันว่าเด็กๆ จะเขียนสนุกพอหรือยัง แต่ครูมีวิธีการท่ีจะรู้ว่า งานของเด็กๆ ดีพอหรือยัง” วิธีท่ีว่าก็คือ “ลองอ่านให้เพ่ือนทุกคนฟังแล้วช่วยกันบอกดีไหมว่า งานของเราสนุกหรือยัง” นักเรียนออกมาอ่านให้เพ่ือนฟัง เพ่ือนๆ ต้ังใจฟังและแสดงความรู้สึก อย่างต้ังใจว่างานท่ีฟังรู้สึกสนุกหรือยัง พร้อมทั้งให้ค�ำแนะน�ำเพิ่มเติม บางคนเขียนได้ดีมาก จนเพ่ือนขอน�ำวิธีการเล่าเรื่องไปใช้ในงานเขียนของตนเองบ้าง ฉันท่ียืนสังเกตช้ันเรียนอยู่ ชวน นักเรียนคอยสังเกตจุดเด่นในงานของเพ่ือนๆ ท่ีออกมาน�ำเสนอเรื่องเล่าของแต่ละคน นักเรียน เร่ิมมีสายตาท่ีมองได้อย่างละเอียด เขาบอกได้ว่างานของเพื่อนแต่ละคนน้ันต่างกันอย่างไร เช่น “เพอ่ื นคนนเี้ ขยี นเหมอื นกบั วา่ กำ� ลงั คยุ เรอ่ื งตน้ ไมใ้ หเ้ ราฟงั อยเู่ พราะภาษาทใี่ ชเ้ หมอื นคยุ กบั เพอ่ื น สว่ นเพอ่ื นอกี คนจะแตกตา่ งกนั คอื มวี ธิ เี ขยี นทเ่ี หมอื นเราอา่ นในหนงั สอื เลย เพอ่ื นคนทสี่ ามเขยี น เรอื่ งเลา่ มาสน้ั ๆ แตเ่ ลอื กเขยี นเรอื่ งเดน่ ๆ ทำ� ใหน้ า่ สนใจ” เสยี งนกั เรยี นคนหนง่ึ ถามวา่ “แลว้ ควร เขยี นแบบไหนถึงจะดี” นักเรยี นหญงิ คนหนึง่ แสดงความเห็นวา่ “หนคู ดิ ว่าทุกอันดีหมด แลว้ แต่ เราชอบหรือถนัดเขียนแบบไหน” การน�ำเสนอผลงานเป็นที่ช่ืนชอบและสนใจของนกั เรียนทุกคน ในหอ้ ง คนเขยี นอยากอา่ นใหเ้ พอ่ื นฟงั สว่ นคนฟงั กอ็ ยากรวู้ า่ เพอ่ื นแตล่ ะคนเขยี นอะไรมานำ� เสนอ นักเรียนรู้สึกสนุกที่ได้ถกเถียงกัน ครูอย่างฉันก็ต่ืนเต้นมากท่ีเห็นว่านักเรียนก�ำลังท�ำสิ่งที่ฉัน ไมเ่ คยเหน็ ไดช้ ดั เจนเทา่ นมี้ ากอ่ นคอื การทเี่ ขารว่ มเรยี นไปดว้ ยกนั ทงั้ ชนั้ จนเวลาหมดลง นกั เรยี น ลงความเหน็ วา่ อยากฟงั งานของเพอื่ นใหค้ รบทกุ คนเลย คนทเี่ ขยี นไมเ่ สรจ็ กจ็ ะตง้ั ใจเขยี นจนเสรจ็ และจะออกมาอา่ นใหเ้ พอื่ นฟงั กอ่ นจะเขียนลงไปในหนงั สอื ใหไ้ ด้ ช่วงพักกลางวัน เด็กๆ นง่ั เขยี น เล่าเรื่องต้นไม้ของตนเองกันต่อ เมื่อถึงเวลาที่ได้เจอกันในคาบโครงงานอีกคร้ัง นักเรียนยังคง ยนื ยนั วา่ อยากทจ่ี ะฟงั งานของเพอ่ื นใหค้ รบทกุ คน ครจู งึ เปดิ พนื้ ทใี่ หน้ กั เรยี นไดน้ ำ� เสนองานเขยี น ของตนเอง โดยมีเพ่ือนๆ รอฟังกนั อยา่ งใจจดใจจอ่ อีกครั้ง จากวันท่ีน�ำพานักเรียนให้เห็นเป้าหมายการสร้างผลงานของตนเอง จนถึงการเร่ิมต้น การทำ� งานของเขา ฉนั ไดน้ ำ� วธิ กี ารสงั เกตชน้ั เรยี นประเมนิ เพอ่ื พฒั นาการทำ� ชนิ้ งานของนกั เรยี น ด้วยการใช้หลัก SEA (strategy, effort และ attitude) และพยายามจัดจังหวะให้นักเรียน ไดร้ ับคำ� แนะน�ำจากแหลง่ ใดแหล่งหน่งึ ใน ๔ แหลง่ คอื จากเพ่อื นนกั เรยี นด้วยกนั จากกจิ กรรม ทท่ี ำ� จากการใครค่ รวญสะทอ้ นคดิ และจากครู ตลอดชว่ งเวลาทลี่ งมอื ทำ� งาน เพอ่ื เปน็ การชนื่ ชม ใหก้ ำ� ลงั ใจ หรอื ใหค้ ำ� แนะนำ� ตอ่ ประเดน็ ใดประเดน็ หนง่ึ ของ SEA ทเ่ี ปน็ การเสรมิ พลงั ในการฟนั ฝา่ ความยากลำ� บาก • 88 •

ในการให้ค�ำแนะน�ำป้อนกลับเชิงคุณภาพ ที่มาจากค�ำแนะน�ำของครูเป็นผู้สะท้อนการสร้าง ผลงาน คำ� แนะนำ� จากเพอ่ื นนกั เรยี นดว้ ยกนั และจากการสะทอ้ นการเรยี นรขู้ องตวั นกั เรยี นเองนนั้ ฉนั สงั เกตวา่ นกั เรยี นสนใจทจี่ ะฟงั วา่ ครแู ละเพอ่ื นมมี มุ มองอยา่ งไรตอ่ งานของเขา เขาชอบทจ่ี ะฟงั ว่าเพ่ือนคิดอย่างไร หรือครูจะบอกว่างานของเขามีจุดเด่นอย่างไร ต่างจากเพื่อนคนอ่ืนตรงไหน เขายินดีที่จะกลับไปพัฒนางานของตนเองเม่ือได้รับค�ำแนะน�ำจากเพื่อน ซึ่งค�ำพูดจากเพ่ือน ส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่เป็นค�ำพูดแนะน�ำเชิงการให้ก�ำลังใจ และน�ำเสนอวิธีการปรับปรุงผลงาน จากการสังเกตงานเพื่อนท่ีออกมาน�ำเสนอจริงๆ ยกตัวอย่าง เช่น “หนูคิดว่าเร่ืองน้ีถ้าเพ่ือน ตัดค�ำว่า “และ” ท่ีมีจ�ำนวนมากออกไป จะท�ำให้คนฟังเข้าใจง่ายข้ึน แต่ก็ขอชมว่าเพ่ือนเขียน ได้ดีขึ้นมากจากคร้ังก่อนค่ะ” “หนูคิดว่าเพื่อนพยายามมากๆ จากปีที่แล้ว ท่ีเขียนได้น้อยมาก แตต่ อนนเ้ี พอื่ นเขยี นไดต้ วั เลก็ ลงและเขยี นสวยขนึ้ ดว้ ย” วธิ กี ารทน่ี กั เรยี นจะมองเหน็ จดุ เดน่ ในงาน ของเพ่ือนได้ดีและสะท้อนได้อย่างตรงประเด็นน้ัน จุดส�ำคัญคือการท่ีครูต้องฝึกการสังเกตข้อดี ในงานของเด็กๆ ทุกคนแล้วหม่ันสะท้อนข้อดีและจุดเด่นของนักเรียนแต่ละคนอย่างสม�่ำเสมอ ชวนนักเรียนสังเกตและตั้งค�ำถามในผลงานของตนเองและเพื่อน ชวนนักเรียนให้มองเห็น ความส�ำคัญของความเพียรพยายามของนักเรียนแต่ละคน ว่าเพ่ือนทุกคนรวมท้ังตัวเราสามารถ พัฒนาตนเองไดโ้ ดยทีเ่ ราทกุ คนในหอ้ งต้องชว่ ยกันมองหา นอกจากน้ีวิธีการให้ค�ำแนะน�ำป้อนกลับกับนักเรียนแบบ 3M (milestone, mission และ method) ก็เป็นวิธีการแนะน�ำป้อนกลับท่ีฉันเห็นว่าใช้ได้ผลกับนักเรียน ที่จะท�ำให้เขาค่อยๆ เดนิ ไปสคู่ วามสำ� เรจ็ ไดด้ ว้ ยตวั เขาเอง โดยการฝกึ ใหน้ กั เรยี นเปน็ ผตู้ รวจสอบเปา้ หมายของตนเอง เปน็ ระยะๆ มองหาความสำ� เรจ็ ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการทำ� งานของตนเอง และหาวธิ ที จ่ี ะปรบั ปรงุ ผลงาน ของตนเองให้ดีย่งิ ขนึ้ ตอ่ ไป ในขั้นตอนการท�ำหนังสือของนักเรียน ครูน�ำพาเด็กๆ ให้ร่วมกันมองและต้ังเป้าหมาย ก่อนการท�ำชิ้นงานว่า นักเรียนอยากเห็นหนังสือต้นไม้ของตนเองเป็นอย่างไรบ้าง ครูได้ค�ำตอบ จากนักเรียนว่า “ภาพสวยงาม” “ตัวหนังสือสวย เขียนตรงๆ ไม่โย้เย้” “งั้นก็เอาไม้บรรทัดมา ขีดเส้นก่อนเขียนดีไหม” “ใช้ไม้บรรทัดตีเส้นแต่ขีดบางๆ นะ คนอ่านจะได้มองไม่เห็นเส้น” “หนังสือของเราต้องสะอาดไม่เลอะเทอะ” “ต้องตกแต่งระบายสีให้สวยๆ” ครูเขียนเป้าหมาย ทที่ กุ คนรว่ มกนั คดิ ไวท้ ก่ี ระดานเพอื่ ใหน้ กั เรยี นเหน็ ภาพปลายทางทจี่ ะเกดิ ขนึ้ หลงั จากนน้ั นกั เรยี น ก็เริ่มท�ำงานของตนเอง ภาพของช้ันเรียนขณะที่นักเรียนท�ำงาน เป็นภาพท่ีดูจริงจัง พวกเขา ขะมักเขม้นกับการคัดตัวหนังสือให้สวยที่สุดเท่าท่ีจะท�ำได้ ขณะเดียวกันก็ต้องตรวจสอบว่าเขา เขียนถูกต้องหรือยัง บางคนอ่านสิ่งท่ีตัวเองเขียนแล้วไม่ถูกใจ จะขอเขียนเพิ่มเติม ในขณะที่ บางกลุ่มเริ่มต้นด้วยการวาดภาพ อยากจะวาดภาพให้เหมือนจริงที่สุด เขาพยายามหาแบบท่ี • 89 •

ถกู ใจ โดยการคน้ หาขอ้ มลู ทม่ี จี ากการบา้ นเชงิ โครงงาน จากภาพทเ่ี ตรยี มมาจากทบี่ า้ น และจาก สมุดวิชามานุษกับโลก เขาน�ำรายละเอียดจากแหล่งข้อมูลต่างๆ มารวมกันแล้วค่อยๆ วาดภาพ ของตัวเองออกมา จนเกดิ เปน็ ภาพที่มรี ายละเอียดสวยงาม หลงั การทำ� งานทกุ ๆ ครง้ั นกั เรยี นและครจู ะนำ� ผลงานมารวมกนั แลว้ นง่ั ลอ้ มวง เพอื่ ใหน้ งั่ เรยี น ไดใ้ ครค่ รวญประเมนิ ตนเอง สะทอ้ นความรูส้ ึกและส่งิ ทีไ่ ดเ้ รยี นรู้ระหวา่ งการทำ� งาน นกั เรียนจะ พจิ ารณาผลงานของตนเองและผลงานของเพอื่ นๆ ทกุ คนไปพรอ้ มกนั ทำ� ใหท้ กุ คนไดเ้ หน็ ภาพรวม ของผลงานในห้องเรียน และมองเห็นผลงานของตนเองที่รวมอยู่กับเพ่ือน ในวงสนทนานักเรียน จะสะท้อนความรู้สึกของตนเอง ข้อค้นพบของตนเองท่ีอยากบอกเพื่อน หรืออาจเป็นปัญหาที่ พบเจอแล้วอยากเลา่ ใหเ้ พ่ือนๆ ฟงั นักเรียนจะเดนิ ดูงานของเพ่อื นแตล่ ะคน รว่ มกนั สะทอ้ นและ ชื่นชมถึงผลงานท่ีชื่นชอบประทับใจ ผลงานที่เพื่อนๆ สนใจจะได้แชร์การท�ำงานของตนเองให้ เพอ่ื นๆ ไดร้ เู้ ทคนคิ วธิ กี ารทำ� งานอยา่ งมคี ณุ ภาพ ขอ้ คน้ พบระหวา่ งการทำ� งาน ความรสู้ กึ ทเี่ กดิ ขน้ึ ขณะท�ำงาน เป็นต้น ฉันสังเกตว่านอกจากนักเรียนจะเลือกผลงานท่ีโดดเด่นสวยงามในแต่ละ ครง้ั แลว้ นกั เรยี นมกั จะเลอื กผลงานทพี่ ฒั นาจากงานครง้ั กอ่ นขนึ้ มาชนื่ ชม เชน่ ผลงานของเพอื่ น คนหนง่ึ ทแี่ ตเ่ ดมิ นน้ั เขยี นดว้ ยลายมอื โยเ้ ย้ ตวั หนงั สอื ขนาดเลก็ - ใหญไ่ มส่ มำ่� เสมอ แตเ่ มอ่ื เพอื่ น สะท้อนให้ฟังในคร้ังก่อนเขาจึงน�ำไปปรับปรุงมาใหม่เขียนด้วยลายมือบรรจงเป็นระเบียบ อีกท้ัง เพื่อนในชั้นเรียนยังคงเกาะติดพัฒนาการเขียนของเขาอยู่ คอยมองและชื่นชมเขา ย่ิงท�ำให้เขา อยากฝกึ ฝนการเขยี นของตนเองใหด้ ขี น้ึ หลงั จากแลกเปลยี่ นแสดงความคดิ เหน็ กนั แลว้ ครจู ะชวน นกั เรยี นขบคดิ เพอ่ื ตงั้ เปา้ หมายวา่ ในครงั้ ตอ่ ไปนกั เรยี นอยากจะฝกึ ฝนตนเองในเรอื่ งใดเพอ่ื พฒั นา ผลงานของตนเองให้มคี ณุ ภาพมากย่งิ ข้นึ นักเรียนช่ืนชอบและสนใจการสะท้อนวิธีท�ำงานและการมองผลงานของเพ่ือนๆ มาก เขาสะท้อนว่า การดูผลงานท�ำให้เขาได้เห็นตัวเอง ได้เห็นเพ่ือน และได้พัฒนาฝีมือตัวเองจาก ค�ำแนะน�ำของเพื่อนๆ การชื่นชมและแนะน�ำของเพ่ือนกับครูท�ำให้เขาเกิดความม่ันใจว่าเขา สามารถท�ำได้ ถ้าเป็นไปได้เขาอยากไปดูผลงานของเพ่ือนห้องอื่นๆ อีก จากวงสะท้อนวงเล็กๆ จงึ กลายเปน็ วงสะทอ้ นวงใหญข่ องทง้ั ระดบั ชนั้ ทสี่ รา้ งพลงั การเรยี นรทู้ เี่ กดิ จากการมองและสะทอ้ น คิดจากการได้ชมผลงานของเพ่ือนต่างห้อง ในวันสุดท้ายที่ผลงานของนักเรียนเสร็จสมบูรณ์ นักเรียนน่ังล้อมวงกันแล้วมองผลงานของเพื่อนทุกๆ คน ฉันถามนักเรียนว่า “เมื่อเห็นผลงาน ของเพ่ือนทุกคนแล้วเดก็ ๆ อยากบอกอะไร” คำ� ตอบของนักเรยี นคือ “ภมู ใิ จมาก” “ไม่อยากเช่ือ ว่าตัวเองจะท�ำได้” “เพื่อนทุกคนเก่งมาก” “ประทับใจ” “มันสวยมากๆ” “ยอดเย่ียม” “มันว้าว จรงิ ๆ” ฯลฯ • 90 •

ภาพหอ้ งเรยี นทเ่ี กดิ ขน้ึ ตรงหนา้ ทำ� ใหฉ้ นั ไดเ้ รยี นรวู้ า่ เมอ่ื ครนู ำ� พาใหน้ กั เรยี นเหน็ เปา้ หมายของ การเรยี นรทู้ ช่ี ดั เจน นกั เรยี นจะเกดิ แรงบนั ดาลใจอยากจะลงมอื ทำ� มคี วามมนั่ ใจวา่ ตนเองสามารถ ทำ� ได้ เขาจะมองขา้ มปญั หาอปุ สรรคเรอ่ื งความไมอ่ ยากเขยี น ไปสเู่ ปา้ หมายของความสนกุ สนาน ในโลกของการใช้ภาษาเล่าเรื่องราวตา่ งๆ ซง่ึ เปน็ เป้าหมายท่สี �ำคัญทจี่ ะนำ� พาใหน้ กั เรยี น พฒั นา ศักยภาพภายในของเขา ไม่ว่าเขาจะเป็นคนท่ีเขียนเก่งหรือไม่ก็ตาม เดิมในห้องเรียนน้ีมีเด็ก ทเ่ี ขยี นหนงั สอื ไมค่ ลอ่ งอยปู่ ระมาณ ๒ - ๓ คน ฉนั สงั เกตวา่ นกั เรยี นกลมุ่ นม้ี พี ฒั นาวธิ กี ารทำ� งาน ของตัวเองทีน่ ่าสนใจ โดยการเขียนเรือ่ งตน้ ไมจ้ ากความรู้จกั ของตนเองกอ่ น น่ันคอื การได้ขอ้ มลู ทจี่ ะเขยี นจากการไปสงั เกตของจรงิ จากนน้ั เขาจงึ เรยี บเรยี งโดยเลอื กใชภ้ าษางา่ ยๆ ทต่ี นเองรจู้ กั แลว้ คอยปรกึ ษาเพอื่ นขา้ งๆ เปน็ ระยะวา่ “ฉนั จะเขยี นเรยี บเรยี งแบบนดี้ ไี หม” และพยายามเขยี น สะกดค�ำด้วยตนเองท้งั หมด • 91 •

เมื่อนักเรียนกลุ่มนี้ออกมาน�ำเสนอหน้าช้ันเรียนแล้วได้รับเสียงช่ืนชมจากเพื่อนในห้องเรียน และครู ถึงความเพียรพยายามในการฝึกฝนตนเอง ส่งผลให้นักเรียนมีความรักและอยากที่จะ พัฒนาการเขียนของตนเองให้ดีย่ิงข้ึน ฉันพบว่าสิ่งส�ำคัญที่ท�ำให้ช้ันเรียนขับเคล่ือนไปด้วยกันได้ ก็คือ การแลกเปล่ียนและแบ่งปันความคิดเห็นที่สร้างให้นักเรียนทุกคนตั้งใจมองผลงานของ ตนเองอยา่ งใครค่ รวญ แลว้ นำ� เสนอสง่ิ ทตี่ นเองคน้ พบ หอ้ งเรยี นจงึ เปน็ หอ้ งทท่ี กุ คนตงั้ ใจฟงั เพอ่ื น ในขณะเดยี วกนั กม็ กี ารถกเถยี งเพอ่ื แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ กนั และมกี ารแสดงความชนื่ ชมยนิ ดี ในงานที่มีคณุ ภาพ ทที่ �ำให้นกั เรียนทุกคนเกดิ การเรยี นรแู้ ละพฒั นาไปด้วยกัน ตัวอย่างผลงานการสะทอ้ นตนเองของนกั เรยี น “ความสุขท่ีหนูได้พบระหว่างการท�ำงานคือช่วงที่หนูได้แลกเปลี่ยนกับเพ่ือนๆ ในห้องเรียน เพราะจะทำ� ให้เราได้ความรู้ น�ำไปปรบั ใชก้ ับตนเอง เพื่อใหง้ านของหนูดีย่งิ ขึน้ ตอ่ ไปเรื่อยๆ และ อกี เหตผุ ลหนง่ึ เพราะการแลกเปลย่ี นทำ� ใหห้ นไู ดเ้ รยี นรวู้ า่ เพอื่ นๆ กม็ คี วามสขุ ในการแลกเปลยี่ น เหมอื นกบั หนูเช่นกนั ” เพลินใจ เจ้าของผลงาน : เด็กหญิงเพลินใจ สุขห้ิน • 92 •

“ครง้ั แรกผมไดท้ ำ� หนา้ ปก ตอนแรกนน้ั ผมยงั ทำ� งานไม่เสรจ็ ในคร้งั ที่สองผมพยายาม และมคี วามสขุ ทไ่ี ดร้ ะบายสหี นา้ ปกอยา่ งเตม็ ท่ี ผมเพยี รพยายามทจ่ี ะเขยี นใหส้ วยทส่ี ดุ และ เอาสิ่งท่ีได้เรียนท้ังหมดมาใช้ ผมอยากพัฒนาเร่ืองการเขียนให้สวยขึ้น เพราะมีเพื่อนๆ หลายคนแนะน�ำผมในเรอื่ งนี้” ธีร์ เจ้าของผลงาน : เด็กชายธีรกานต์ วีระ • 93 •

“หนพู ยายามเขยี นคำ� คลอ้ งจองของตน้ ไมใ้ หม้ ากทส่ี ดุ มนั รสู้ กึ สนกุ เหมอื นกบั เรากำ� ลงั เล่นทายค�ำทมี่ สี ระและตวั สะกดเหมอื นกันอยเู่ ลยค่ะ” ไอวา่ เจ้าของผลงาน : เด็กหญิงพิชชานันท์ โกศลสัมพันธ์ • 94 •

“ความสุขของหนูเกิดขึ้นในตอนท่ีหนูได้เริ่มต้นท�ำงานอย่างสงบ หนูเพียรพยายามท่ี จะเขียนให้เยอะขึ้น เพราะเมื่อก่อนหนูเขียนไดน้ อ้ ยมาก หนรู ูส้ ึกว่าตวั เองขยนั มากขึ้น” ต้นตาล เจ้าของผลงาน : เด็กหญิงพิมพ์พิชชา บริบูรณ์ประเสริฐ • 95 •

“ผมมคี วามสขุ ทจี่ ะทำ� งานทกุ ๆ หนา้ เพราะเวลาทำ� งานผมรสู้ กึ เพลดิ เพลนิ การทำ� งาน คร้ังน้ีผมได้เรียนรู้เร่ืองการเขียนให้คนอ่านเกิดความเข้าใจ เราจะต้องพยายามเขียนงาน ทบี่ ่งบอกถึงความเปน็ ตัวเราใหม้ ากทส่ี ดุ ” คีน เจ้าของผลงาน : เด็กชายเปนรักษ์ หงส์รัตน์ • 96 •

“ตอนทคี่ ณุ ครใู หเ้ พอ่ื นๆ ดผู ลงานแลว้ สะทอ้ นวา่ ชนื่ ชอบงานของใคร มเี พอ่ื นในหอ้ งและ ตา่ งหอ้ งบอกวา่ งานของฉนั สวย ชว่ งเวลานนั้ เปน็ ชว่ งเวลาดๆี ทฉ่ี นั มคี วามสขุ มากเลยคะ่ ” ชณี เจ้าของผลงาน : เด็กหญิงอภิชญา กานตานนท์ • 97 •

“ผมรู้สึกมีความสุขที่ได้วาดรูปต้นกาหลงของผม ผมพยายามวาดส่วนดอกมากท่ีสุด เพราะผมรสู้ กึ วา่ มนั วาดยากมาก ผมวาดออกมาแลว้ มนั ไมเ่ หมอื นจรงิ เลย ผมจงึ พยายาม ทจ่ี ะคอ่ ยๆ มองดอกและลายเสน้ ทเี่ ปน็ ลวดลายอยใู่ นดอก จากนนั้ ผมจงึ คอ่ ยๆ วาดออกมา เมอ่ื วาดเสรจ็ ผมรสู้ ึกภมู ใิ จมาก เพราะดอกกาหลงทผี่ มวาดเหมือนจรงิ แล้ว” ภู เจ้าของผลงาน : เด็กชายภูวัน ชัยอดิศักด์ิโสภา • 98 •

เจ้าของผลงาน : นักเรียนช้ัน ๒ โรงเรียนเพลินพัฒนา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ • 99 •


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook