Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมแผน ม1 เทอม 1

รวมแผน ม1 เทอม 1

Published by fang_.15, 2022-08-18 10:40:05

Description: รวมแผน ม1 เทอม 1

Search

Read the Text Version

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ คาชแ้ี จง : ใหผ้ ูส้ อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดบั คะแนน คุณลักษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพึงประสงค์ด้าน 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้ กษัตริย์ 1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมท่สี ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อ โรงเรียน 1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏบิ ตั ิตามหลักศาสนา 1.4 เขา้ รว่ มกิจกรรมทเ่ี กย่ี วกับสถาบันพระมหากษตั ริยต์ ามท่ีโรงเรียนจดั ขนึ้ 2. ซ่ือสตั ย์ สจุ รติ 2.1 ให้ข้อมูลท่ีถูกต้อง และเป็นจรงิ 2.2 ปฏบิ ัติในสิง่ ทถี่ ูกต้อง 3. มวี นิ ัย รับผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คบั ของครอบครัว มี ความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวิตประจาวัน 4. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 ร้จู กั ใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ และนาไปปฏบิ ัติได้ 4.2 รู้จกั จดั สรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชอ่ื ฟังคาส่งั สอนของบิดา - มารดา โดยไม่โตแ้ ยง้ 4.4 ตงั้ ใจเรียน 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สนิ และสงิ่ ของของโรงเรยี นอย่างประหยดั 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรยี นอยา่ งประหยัดและรู้คณุ ค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมกี ารเก็บออมเงนิ 6. มุง่ มน่ั ในการ 6.1 มีความต้งั ใจและพยายามในการทางานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย ทางาน 6.2 มีความอดทนและไม่ทอ้ แท้ตอ่ อปุ สรรคเพื่อให้งานสาเร็จ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มจี ิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย 7.2 เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 8.1 รู้จักชว่ ยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครทู างาน 8.2 รู้จักการดูแลรกั ษาทรัพย์สมบัติและสงิ่ แวดล้อมของห้องเรียนและ โรงเรียน ลงช่อื ...................................................ผปู้ ระเมนิ (นางสาวกรรณิกา ลกิ ัลตา) ............../.................../................ เกณฑก์ ารให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏบิ ัตชิ ดั เจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบตั บิ างครง้ั ให้ 1 คะแนน 10. บนั ทึกผลการจดั การเรยี นรู้

ผลการจดั การเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญั หา/อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ……………………………………………. (นางสาวกรรณกิ า ลิกัลตา) ตาแหนง่ ครู ความคดิ เห็นหวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...………………………………………………………………………………………………………………………………........... ลงชอ่ื ……………………………………………. (นายคมสนั มณศี ร)ี หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ความคดิ เหน็ รองผู้อานวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...……………………………………………………………………………………………………………………….................... ลงชอ่ื ……………………………………………. (นายไพฑรู ย์ มณจี นั ทร์) รองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ความคิดเหน็ ผ้อู านวยการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...……………………………………………………………………………………………………………………….................... ลงช่ือ……………………………………………. (นางสาวพรณภทั ร์ พงษว์ รชั ญ์พร) ผ้อู านวยการโรงเรยี นเทพสถติ วิทยา วนั ท่.ี ...........เดือน........................พ.ศ................

ใบงานท่ี 2.15 เรื่อง ความสัมพันธ์ของเศษส่วนกบั ทศนยิ ม คาชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคาถามแต่ละข้อต่อไปนี้ 1. จงเขยี นเศษส่วนตอ่ ไปน้ีใหอ้ ยู่ในรูปทศนิยม 1) - 5 = ............................................... 4 2) -1 2 = ............................................... 25 3) 3 7 = ............................................... 50 4) -152 = ............................................... 5) -2 1 = ............................................... 30 2. จงเขยี นทศนยิ มต่อไปนี้ในรปู เศษสว่ น (ตอบเป็นเศษส่วนอย่างต่า) 1) -0.69 = ............................................... 2) -5.48 = ............................................... 3) 31.5 = ............................................... 4) 1.5427 = ............................................... 5) -36.458 = ...............................................

เฉลยใบงานที่ 2.15 เร่ือง ความสัมพนั ธข์ องเศษส่วนกับทศนยิ ม คาชี้แจง : ให้นักเรยี นตอบคาถามแตล่ ะข้อตอ่ ไปน้ี 1. จงเขยี นเศษสว่ นต่อไปน้ใี หอ้ ยใู่ นรูปทศนยิ ม 1) - 5 = ......-.1....2..5................................... 4 2) -1 2 = .......-.1....0..8.................................. 25 3) 3 7 = ......3...1..4.................................... 50 4) -152 = .......-.0....4..1..6.6..6..…....ห...ร.ือ................... 5) -2 1 = ......-.2....0..3..3..3..…....ห..ร..ือ..................... 30 2. จงเขียนทศนยิ มต่อไปน้ใี นรปู เศษสว่ น (ตอบเปน็ เศษส่วนอย่างต่า) 1) -0.69 = ............................................... 2) -5.48 = ............................................... 3) 31.5 = ............................................... 4) 1.5427 = ............................................... 5) -36.458 = ...............................................

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 16 รายวชิ าคณติ ศาสตร์พื้นฐาน รหัสวชิ า ค21101 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 1 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 ช่ือหน่วย จานวนตรรกยะ เวลารวม 20 ชว่ั โมง เรอื่ ง การนาความรเู้ ก่ียวกบั ทศนิยมไปใชใ้ นชีวิตจรงิ เวลา 1 ชว่ั โมง ครูผ้สู อน นางสาวกรรณิกา ลิกลั ตา 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้วี ัด ค 1.1 ม.1/1 เข้าใจจานวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจานวนตรรกยะ และใช้สมบัติของจานวนตรรกยะใน การแก้ปัญหาคณติ ศาสตรแ์ ละปญั หาในชีวติ จริง 2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด ในชีวติ ประจาวันมสี ถานการณ์ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องกบั ทศนิยมอยมู่ ากมาย เชน่ การซ้ือ-ขายสินค้าอุปโภคบริโภค ต่างๆ น้าหนักของสิ่งของ และราคาน้ามัน เป็นต้น เราสามารถใช้ความรู้ของทศนิยมมาช่วยในการดาเนินการทาง คณติ ศาสตรใ์ หเ้ หมาะสมกบั สถานการณน์ น้ั ๆ ได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 เขา้ ใจการนาความรเู้ กย่ี วกับทศนยิ มไปใชแ้ กป้ ัญหาคณิตศาสตร์และปัญหาในชวี ิตจริง (K) 3.1 เขยี นอธิบายขนั้ ตอนวิธกี ารแกป้ ัญหาทางคณิตศาสตรเ์ ก่ียวกับทศนิยมได้ (P) 3.1 รับผดิ ชอบตอ่ หน้าท่ีท่ไี ดร้ ับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรยี นรู้ ทศนยิ มและเศษส่วน 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 5.1. ความสามารถในการส่ือสาร 5.2. ความสามารถในการคิด - การให้เหตผุ ล การสรุปความรู้ การปฏิบัติ 5.3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 5.4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 6.1. มีวินัย 6.2. ใฝเ่ รียนรู้ 6.3. มงุ่ มั่นในการทางาน 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชว่ั โมงท่ี 1 7.1 ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน 1. ครูทบทวนความร้เู รื่องการบวก การลบ การคูณ และการหารทศนิยม ดังน้ี - การบวกทศนยิ ม ใช้หลกั การเดียวกับการบวกจานวนเต็ม คือนาจานวนที่อยู่ในหลกั เดยี วกันมาบวกกนั - การบวกทศนยิ มทีเ่ ป็นบวกสองจานวน จะได้ผลบวกเป็นจานวนบวก และการบวกทศนยิ มทเ่ี ป็นลบ สองจานวน จะได้ผลบวกเปน็ จานวนลบ

- การบวกทศนยิ มท่ีเป็นบวกด้วยทศนยิ มทเ่ี ป็นลบ หรือการบวกทศนยิ มท่ีเปน็ ลบด้วยทศนิยมทีเ่ ป็นบวก ให้นาทศนยิ มทม่ี ีคา่ สมั บรู ณ์มากกวา่ ลบดว้ ยทศนิยมทีม่ ีค่าสัมบรู ณ์นอ้ ยกวา่ แลว้ เขยี นผลลัพธต์ าม ทศนิยมท่ีมีคา่ สมั บรู ณ์มากกว่า - การการลบทศนยิ ม ใช้หลกั การบวกดว้ ยจานวนตรงข้ามของตวั ลบ - การคูณทศนยิ ม ใชห้ ลกั การเดียวกับการคูณจานวนเต็ม (โดยทย่ี ังไม่ใส่จดุ ทศนยิ ม) แล้วพิจารณา ตาแหนง่ ทศนิยมของผลคูณ โดยเท่ากับผลบวกของจานวนตาแหน่งทศนยิ มของตัวตง้ั กบั ตวั คูณ - การคูณทศนิยมที่มเี คร่ืองหมายเหมอื นกนั จะไดผ้ ลคูณเปน็ จานวนบวก และการคูณทศนิยมทม่ี ี เคร่อื งหมายต่างกัน จะไดผ้ ลคูณเปน็ จานวนลบ - การหารทศนิยมด้วยทศนยิ ม ใหท้ าตัวส่วนใหเ้ ปน็ จานวนนับกอ่ น โดยคณู ด้วย 10, 100, 1000, … ท้ังตวั เศษและตัวส่วน แลว้ จงึ ดาเนนิ การหารเหมือนกบั การหารทศนิยมดว้ ยจานวนนับ - การหารทศนยิ มท่มี ีเคร่ืองหมายเหมอื นกนั จะได้ผลหารเป็นจานวนบวก และการหารทศนยิ มทมี่ ี เคร่อื งหมายตา่ งกนั จะได้ผลหารเปน็ จานวนลบ 2. ครกู ลา่ วนาว่า “ในชีวิตประจาวันมสี ถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วข้องกบั ทศนยิ ม เชน่ การซื้อสนิ คา้ อปุ โภค บริโภคตา่ ง ๆ น้าหนักสิ่งของ และราคาน้ามนั เปน็ ตน้ ซ่งึ นักเรียนต้องใชค้ วามรขู้ องทศนิยมท่ีได้ทบทวน ไปแลว้ ข้างต้นมาดาเนินการทางคณติ ศาสตรใ์ ห้เหมาะสมกับสถานการณ์” 7.2 ขัน้ สอน 1. ครูกล่าวทบทวนขน้ั ตอนการวเิ คราะห์โจทย์ปญั หา ดงั น้ี - อ่านโจทย์ให้เข้าใจ แลว้ พิจารณาว่าโจทยถ์ ามอะไร - สงิ่ ทโี่ จทย์กาหนดใหม้ ีอะไรบา้ ง - เลือกวิธีดาเนนิ การทจ่ี ะแก้โจทยป์ ัญหา แลว้ เขยี นประโยคสัญลักษณ์ - หาคาตอบ 2. ครยู กตัวอยา่ งที่ 46 ในหนงั สอื เรียน หน้า 90 บนกระดาน พรอ้ มกับถามคาถามเพื่อใหน้ ักเรียนวิเคราะห์ โจทย์ ดังน้ี  โจทย์ถามอะไร (แนวตอบ กิตติจะเหลือเงนิ ก่ีบาท)  สง่ิ ทโ่ี จทย์กาหนดให้มีอะไรบ้าง (แนวตอบ กิตตมิ ีเงนิ 120 บาท นาไปซ้ือไมบ้ รรทัดอลูมิเนียมราคา 16 บาท ปากกาลูกล่ืนราคา 3.75 บาท และกระดาษราคา A4 87.50 บาท)  ใชก้ ารดาเนินการใดในการแก้โจทยป์ ญั หา (แนวตอบ วิธีบวกและวธิ ลี บ)  เขยี นประโยคสญั ลักษณ์ได้อย่างไร (แนวตอบ 120 - (16+ 3.75 + 87.50) = )  ได้คาตอบเท่าไร (แนวตอบ กิตตจิ ะเหลือเงิน 12.75 บาท) จากนนั้ ใหน้ กั เรียนทา “ลองทาด”ู ในหนังสือเรียน หน้า 91 3. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยคาตอบ “ลองทาดู” 4. ครูยกตัวอย่างท่ี 47 ในหนังสอื เรยี น หนา้ 91 บนกระดาน พรอ้ มกบั ถามคาถามเพ่ือใหน้ ักเรียนวิเคราะห์ โจทย์ ดังนี้

 โจทยถ์ ามอะไร (แนวตอบ แม่ค้าต้องทอนเงินให้ลูกค้าก่ีบาท)  ส่งิ ท่ีโจทย์กาหนดให้มีอะไรบา้ ง (แนวตอบ แม่ค้าขายนา้ ผลไม้จานวน 15 ขวด ราคาขวดละ 11.25 บาท ให้กบั ลูกค้าคนหนงึ่ ลูกค้า จ่ายเงินมา 200 บาท)  ใชก้ ารดาเนินการใดในการแก้โจทย์ปัญหา (แนวตอบ วธิ คี ณู และวิธีลบ)  เขียนประโยคสัญลกั ษณ์ได้อย่างไร (แนวตอบ 200 - (15  11.25) = )  ไดค้ าตอบเท่าไร (แนวตอบ แม่คา้ ต้องทอนเงนิ ใหล้ ูกค้า 31.25 บาท) จากนัน้ ให้นักเรยี นทา “ลองทาด”ู 5. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยคาตอบ “ลองทาดู” 6. ครแู จกใบงานที่ 2.16 เร่อื ง การนาความรู้เก่ยี วกบั ทศนยิ มไปใช้ในชีวิตจรงิ ใหน้ ักเรียนทา จากน้นั ครแู ละ นกั เรยี นรว่ มกันเฉลยคาตอบใบงานท่ี 2.16 7. ให้นักเรียนจับคู่กนั แล้ววิเคราะห์ “H.O.T.S. คาถามท้าทายการคดิ ข้นั สูง” ในหนังสือเรียน หน้า 91 จากนนั้ เขียนคาตอบจากการวเิ คราะหล์ งในสมุดของตนเอง จากนน้ั ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบ “H.O.T.S. คาถามท้าทายการคดิ ขน้ั สงู ” 8. ครใู หน้ ักเรยี นจัดกลมุ่ กลุ่มละ 4 คน คละความสามารถทางคณิตศาสตร์ แล้วทากิจกรรม ดังนี้ - แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษากิจกรรมคณิตศาสตร์ “การแกโ้ จทย์ปัญหาโดยใช้บารโ์ มเดล (Bar model)” ในหนังสอื เรยี น หนา้ 92 - นักเรียนแตล่ ะคนวเิ คราะหว์ ่าปญั หาจากคาถามมวี ธิ ีการแก้อยา่ งไร จากน้ันแลกเปล่ยี นคาตอบกัน ภายในกลุ่ม สนทนาซกั ถามจนเป็นท่ีเขา้ ใจร่วมกนั - นกั เรยี นแตล่ ะคนเขยี นขั้นตอนแสดงวธิ ีคิดของกลมุ่ ตนเองอย่างละเอียดลงในสมุด - ให้ตวั แทนกลมุ่ มานาเสนอคาตอบหน้าชัน้ เรียน โดยเพ่อื นกลมุ่ ทเ่ี หลอื คอยตรวจสอบความถกู ต้อง 9. ครใู ห้นกั เรียนทาแบบฝึกทกั ษะ 2.2 ค ขอ้ 3-10 เปน็ การบ้าน โดยครูและนกั เรยี นวิเคราะห์แนวทางการ ดาเนินการแกโ้ จทยป์ ัญหาร่วมกนั ก่อน 7.3 ขัน้ สรปุ ครูถามคาถามเพ่ือสรุปความรู้รวบยอดของนักเรียน ดังน้ี  ขนั้ ตอนการวิเคราะห์โจทย์ปญั หา มีอะไรบ้าง (แนวตอบ 1) อา่ นโจทยใ์ หเ้ ขา้ ใจ แล้วพจิ ารณาว่าโจทยถ์ ามอะไร 2) สิ่งท่โี จทย์กาหนดให้มอี ะไรบ้าง 3) เลือกวิธีดาเนินการทจ่ี ะแก้โจทย์ปญั หา แล้วเขยี นประโยคสญั ลกั ษณ์ 4) หาคาตอบ)  กาดาเนนิ การในการแก้โจทย์ปญั หาเกยี่ วกบั ทศนยิ ม มีอะไรบ้าง (แนวตอบ การบวก การลบ การคณู และการหาร)

8. สือ่ และแหลง่ เรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรยี นรู้ 8.1.1. หนงั สือเรียนรายวิชาพน้ื ฐาน คณติ ศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 จานวนตรรกยะ 8.1.2 แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 จานวนตรรกยะ 8.1.3. ใบงานที่ 2.16 เรอ่ื ง การนาความรเู้ ก่ียวกบั ทศนิยมไปใชใ้ นชีวติ จรงิ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 8.2.1. หอ้ งเรยี น 8.2.2. หอ้ งสมดุ 8.2.3. อนิ เทอรเ์ น็ต 9. การวดั และประเมินผล วิธีการวดั เครอื่ งมอื ท่ีใช้วดั เกณฑก์ ารวดั ส่งิ ท่ตี ้องการวัด ตรวจใบงาน/แบบฝึกหดั แบบประเมนิ ผลงาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ผลงานกลมุ่ /รายบคุ คล ใบงาน/แบบฝกึ หดั ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 60 1.เข้าใจการนาความรู้เก่ยี วกบั ทศนยิ มไปใชแ้ ก้ปัญหาคณิตศาสตร์ สงั เกตพฤติกรรมกลุ่ม แบบประเมินผลงาน อย่ใู นระดับดขี ึ้นไป และปญั หาในชีวิตจรงิ (K) กลุ่ม/รายบคุ คล 2.เขียนอธิบายข้ันตอนวธิ ีการ แกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรเ์ กยี่ วกบั แบบสงั เกตพฤติกรรม ทศนิยมได้ (P) การทางานกล่มุ 3. รบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าทีท่ ี่ไดร้ บั มอบหมาย (A)

แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน คาช้แี จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดับคะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 เนื้อหาละเอยี ดชดั เจน   2 ความถกู ตอ้ งของเนอื้ หา   3 ภาษาทีใ่ ช้เขา้ ใจง่าย   4 ประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากการนาเสนอ   5 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน   รวม ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมิน ............/................./................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ เปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรงุ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล คาชแี้ จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด  ลงในช่องทีต่ รงกบั ระดบั คะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคดิ เห็น   2 การยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ืน่   3 การทางานตามหน้าที่ทีไ่ ด้รับมอบหมาย   4 ความมีนา้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน ............../.................../................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรบั ปรุง

แบบประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คาชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในช่องท่ี ตรงกับระดบั คะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พงึ ประสงค์ด้าน 321 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษตั รยิ ์ 1.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมทส่ี ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชนต์ ่อ โรงเรยี น 1.3 เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาทตี่ นนับถือ ปฏบิ ัติตามหลักศาสนา 1.4 เขา้ รว่ มกิจกรรมทเี่ กย่ี วกับสถาบนั พระมหากษัตรยิ ต์ ามทโี่ รงเรียนจัดขึ้น 2. ซือ่ สัตย์ สุจริต 2.1 ใหข้ อ้ มูลทีถ่ กู ตอ้ ง และเป็นจริง 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสิ่งทถ่ี ูกต้อง 3. มวี ินัย รบั ผิดชอบ 3.1 ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครวั มี ความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจาวัน 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รจู้ ักใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนาไปปฏิบัติได้ 4.2 รู้จกั จดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชอ่ื ฟงั คาสง่ั สอนของบิดา - มารดา โดยไมโ่ ต้แยง้ 4.4 ต้งั ใจเรียน 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รพั ยส์ นิ และสง่ิ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใชอ้ ุปกรณ์การเรียนอยา่ งประหยดั และรู้คุณคา่ 5.3 ใช้จา่ ยอยา่ งประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงิน 6. ม่งุ ม่นั ในการ 6.1 มีความตงั้ ใจและพยายามในการทางานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ทางาน 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มจี ติ สานึกในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย 7.2 เหน็ คุณค่าและปฏิบัติตนตามวฒั นธรรมไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รจู้ ักช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน 8.2 รู้จักการดูแลรักษาทรัพย์สมบตั แิ ละสิ่งแวดล้อมของห้องเรยี นและ โรงเรยี น ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน (นางสาวกรรณิกา ลกิ ัลตา) ............../.................../................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน พฤติกรรมท่ปี ฏิบัตชิ ัดเจนและสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ิชัดเจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ัติบางครงั้ ให้ 1 คะแนน

10. บันทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้ ผลการจัดการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญั หา/อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ……………………………………………. (นางสาวกรรณิกา ลกิ ัลตา) ตาแหน่ง ครู ความคิดเหน็ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...………………………………………………………………………………………………………………………………........... ลงชอ่ื ……………………………………………. (นายคมสนั มณศี รี) หวั หน้ากล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ความคดิ เห็นรองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...……………………………………………………………………………………………………………………….................... ลงชอื่ ……………………………………………. (นายไพฑูรย์ มณีจนั ทร์) รองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ความคดิ เหน็ ผู้อานวยการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...……………………………………………………………………………………………………………………….................... ลงชอ่ื ……………………………………………. (นางสาวพรณภทั ร์ พงษ์วรชั ญพ์ ร) ผู้อานวยการโรงเรียนเทพสถติ วทิ ยา วนั ท.ี่ ...........เดอื น........................พ.ศ................

ใบงานที่ 2.16 เรอื่ ง การนาความรเู้ กย่ี วกับทศนิยมไปใชใ้ นชีวติ จรงิ คาช้ีแจง : จงวเิ คราะหโ์ จทย์และแสดงวิธที า 1. น้าหวานมสี มนุ ไพรอบแห้ง 9.5 กิโลกรมั นามาบรรจใุ ส่ถุง ถงุ ละ 0.25 กิโลกรมั แลว้ ขายไปราคา ถงุ ละ 65.50 บาท อยากทราบวา่ ถ้าขายไดห้ มด นา้ หวานจะได้เงินกี่บาท วิเคราะหโ์ จทย์ - โจทยถ์ ามอะไร ……………………………………………………………………..………………………………………. - สง่ิ ทโ่ี จทย์กาหนดใหม้ ีอะไรบ้าง ……………………………………………………..….….………………….……… ……………………………………………………………………………………………….……………………………….…… - ใชก้ ารดาเนินการใดในการแก้โจทยป์ ญั หา….…………………………………………….……………………….. ……………………………………………………………………………………………….…………………………….……… วธิ ีทา …………………………………………………………………………………….…….…………………………………… ……………………………………………………………………. …………………………….…………………………………..... ………………………………………………………………………………………………….…………………………………..... ………………………………………………………………………………………………….…………………………………..... ………………………………………………………………………………………………….…………………………………..... ………………………………………………………………………………………………….…………………………………..... ………………………………………………………………………………………………….………………………………….....

2.ห้องน่ังเล่นรปู สเี่ หลี่ยมผืนผา้ มีด้านกว้างยาว 12 เมตร มดี ้านยาวยาวกวา่ ด้านกวา้ ง 6.5 เมตร ถา้ ตน้ กลา้ ต้องการปูกระเบอ้ื งรูปสเ่ี หล่ียมจตั รุ สั ทีม่ ดี า้ นยาวยาวดา้ นละ 50 เซนติเมตร ต้นกลา้ จะต้อง ใช้กระเบื้องท้ังหมดกี่แผ่น วิเคราะห์โจทย์ - โจทย์ถามอะไร ……………………………………………………………………..………………………………………. - สิ่งทโ่ี จทยก์ าหนดให้มีอะไรบา้ ง ……………………………………………………..….….………………….……… ……………………………………………………………………………………………….……………………………….…… - ใช้การดาเนินการใดในการแก้โจทย์ปญั หา….…………………………………………….……………………….. ……………………………………………………………………………………………….…………………………….……… วิธที า …………………………………………………………………………………….…….…………………………………… ……………………………………………………………………. …………………………….…………………………………..... ………………………………………………………………………………………………….……………………………..…...... ………………………………………………………………………………………………….……………………………...…..... ………………………………………………………………………………………………….…………………………………..... ……………………………………………………………………………………………….….…………………………….…….... ………………………………………………………………………………………………….……………………….……….......

เฉลยใบงานที่ 2.16 เรือ่ ง การนาความร้เู กี่ยวกับทศนิยมไปใชใ้ นชีวิตจริง คาช้ีแจง : จงวเิ คราะห์โจทย์และแสดงวธิ ีทา 1. นา้ หวานมีสมุนไพรอบแห้ง 9.5 กโิ ลกรมั นามาบรรจุใส่ถุง ถงุ ละ 0.25 กิโลกรมั แล้วขายไปราคา ถงุ ละ 65.50 บาท อยากทราบว่าถา้ ขายได้หมด นา้ หวานจะได้เงินกีบ่ าท วิเคราะหโ์ จทย์ - โจทย์ถามอะไร ………น…้ำ…ห…วำ…น…จะ…ได…้เง…ิน…กีบ่…ำ…ท………………………………..………………………………………. - ส่งิ ที่โจทย์กาหนดใหม้ ีอะไรบา้ ง ………น…้ำห…ว…ำน…ม…สี ม…นุ …ไพ…ร…อบ…แ…ห…ง้ …9.5……กโิ …ลก…ร.มั.…น.…ำ้ ม.…ำบ…รร…จ…ุใส…ถ่ …ุง ….……… …ถุง…ล…ะ …0.…25…ก…โิ ล…ก…รมั……แล…ว้ …ขำ…ย…ไป…รำ…ค…ำถ…ุงล…ะ…6…5….50……บำ…ท………………………….……………………………….…… - ใช้การดาเนินการใดในการแก้โจทย์ปญั หา….…ว…ธิ หี…ำ…รแ…ล…ะว…ธิ …คี ณู……………………….……………………….. ……………………………………………………………………………………………….…………………………….……… วิธีทา ………น…้ำห…วำ…น…ม…สี ม…นุ …ไพ…ร…อบ…แ…ห…ง้ 9….5…ก…โิ …ลก…ร…ัม…น…้ำม…ำบ…ร…รจ…ุใส…ถ่ …ุง…ถุง…ล…ะ.0….2…5.…กิโ…ล…กร…มั ………………………… ………………จ…ะ…บร…ร…จุไ…ด้…9….5………0.…25…=…3…8…ถ…ุง………….…………………………….……………………………………... ………………ข…ำ…ยไ…ป…รำ…คำ…ถ…งุ ล…ะ…6…5.…50…บ…ำ…ท…………………………………………….…………………………………...... ………………ด…ัง…นนั……นำ้ …ห…วำ…น…จะ…ได…เ้ ง…ิน…3…8……6…5….5…0…=…2…,4…89…บ…ำ…ท……………….…………………………………...... ………………………………………………………………………………………………….…………………………………...... ………………………………………………………………………………………………….…………………………………...... ………………………………………………………………………………………………….…………………………………......

2.ห้องน่ังเล่นรปู ส่ีเหล่ียมผืนผ้ามีดา้ นกวา้ งยาว 12 เมตร มีด้านยาวยาวกว่าด้านกวา้ ง 6.5 เมตร ถา้ ต้นกลา้ ต้องการปกู ระเบือ้ งรปู สเ่ี หลยี่ มจตั รุ สั ที่มีด้านยาวยาวดา้ นละ 50 เซนตเิ มตร ต้นกลา้ จะต้อง ใช้กระเบื้องทั้งหมดก่ีแผน่ วเิ คราะห์โจทย์ - โจทยถ์ ามอะไร ……ต…้น…กล…ำ้ …จะ…ต…อ้ ง…ใช…ก้ …ระ…เบ…อื …งก…ี่แ…ผ่น…………………………..………………………………………. - สิง่ ท่ีโจทยก์ าหนดใหม้ ีอะไรบ้าง …หอ้ …ง…น่ัง…เล…่น…รปู …ส…เี่ ห…ล…ย่ี ม…ผ…ืนผ…ำ้ …มดี…้ำ…น…กว…้ำง…ย…ำว..…12.…เม.…ตร…ม…ีด…้ำน…ย…ำว….……… …ยำ…ว…กว…ำ่ ด…ำ้ …น…กว…้ำง…6….5……เม…ต…ร …ต้อ…ง…กำ…รป…กู …ระ…เบ…อื …ง…รปู …ส…เ่ี ห…ลยี่…ม…จ…ตั รุ …ัส…ทม่ี…ีด…้ำน…ย…ำว.…ยำ…วด…้ำ…น…ละ…5…0…………….…… - ใช้การดาเนินการใดในการแก้โจทยป์ ญั หา…วิธ.…บี ว…ก…ว…ิธคี…ูณ……แล…ะ…วธิ …ีห…ำร……………….……………………….. ……………………………………………………………………………………………….…………………………….……… วธิ ีทา …ห…อ้ …งน…่ัง…เล…่นร…ูป…สเี่…ห…ลยี่ …ม…ผนื…ผ…ำ้ ม…ดี …ำ้ น…ก…ว…ำ้ ง…1…2…เม…ต…ร …มดี …ำ้ …นย…ำ…วย…ำว…ก…วำ่.…ด้ำ…น.ก…ว…้ำง…6….5…เ…มต…ร………………… ……………ห…้อง…น…ั่งเล…น่ …ม…ีด้ำ…น…ยำ…ว…ยำ…ว…1…2 …+…6.…5…=…1…8.…5 …เ.ม…ตร………………………….…………………………………..... ……………ห…้อง…น…ัง่ เล…่น…ม…พี …ืนท…ี่ 1…2……1…8.…5 …=…22…2…ต…ำร…ำ…งเ…มต…ร…ห…รอื…2…2…2……10…,0…0…0 .=…2…,2…2…0,…00…0…ต…ำร…ำ…ง …..…...... ……………ต…อ้ ง…กำ…ร…ปูก…ร…ะเ…บ…ือง…รปู…ส…เ่ี ห…ล…ยี่ ม…จ…ัตรุ…สั …ท…ี่มดี …ำ้ …นย…ำ…วด…้ำ…นล…ะ…5…0…เซ…น…ตเิ…มต…ร.……………………………...…..... ……………ก…ระ…เบ…อื …งแ…ต…ล่ ะ…แ…ผน่ …ม…ีพ…นื ท…ี่ …50……5…0…=…2…,5…00…ต…ำ…รำ…งเ…ซน…ต…เิ ม…ต…ร ……….…………………………………..... ……………ด…งั น…นั …จ…ะต…้อ…งใ…ช้ก…ร…ะเ…บ…ือง…2…,2…20…,0…0…0………2,…50…0…=…8…88…แ…ผ…น่ ……….….…………………………….…….... ………………………………………………………………………………………………….……………………….……….......

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 17 รายวชิ าคณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน รหัสวชิ า ค21101 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 ช่ือหน่วย จานวนตรรกยะ เวลารวม 20 ช่วั โมง เร่ือง จานวนตรรกยะและสมบตั ขิ องจานวนตรรกยะ เวลา 2 ช่วั โมง ครผู ู้สอน นางสาวกรรณกิ า ลิกัลตา 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชวี้ ัด ค 1.1 ม.1/1 เข้าใจจานวนตรรกยะและความสัมพันธ์ของจานวนตรรกยะ และใช้สมบัติของจานวนตรรกยะใน การแกป้ ัญหาคณิตศาสตรแ์ ละปัญหาในชวี ติ จรงิ 2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด จานวนตรรกยะ คอื จานวนท่สี ามารถเขยี นในรูปทศนิยมซาหรือเศษส่วน เม่ือ a และ b เป็นจานวนเต็ม โดยที่ b  0 และสมบัติของจานวนตรรกยะที่เกี่ยวกับการบวกและการคูณ ได้แก่ สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปล่ียนหมู่ และสมบัติการแจกแจง และเนื่องจาก 0 เป็นจานวนตรรกยะท่ีเม่ือดาเนินการบวกแล้วได้จานวนเดิม และ 1 เป็น จานวนตรรกยะที่เมือ่ ดาเนินการคูณแลว้ ไดจ้ านวนเดมิ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 เขา้ ใจและใช้สมบตั ิของจานวนตรรกยะในการบวก การลบ การคูณ และการหาร (K) 3.2 อธิบายขนั ตอนการดาเนินการของจานวนโดยใชส้ มบตั ิของจานวนตรรกยะได้ (P) 3.3 รบั ผิดชอบตอ่ หน้าท่ีที่ไดร้ ับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรียนรู้ ทศนยิ มและเศษสว่ น 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 5.1. ความสามารถในการสอื่ สาร 5.2. ความสามารถในการคิด - การใหเ้ หตุผล การสรุปความรู้ การปฏิบัติ 5.3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 5.4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 6.1. มีวินัย 6.2. ใฝเ่ รยี นรู้ 6.3. ม่งุ ม่ันในการทางาน 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชว่ั โมงที่ 1 7.1 ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูกลา่ วเชื่อมโยงวา่ “ในระดับชนั ประถมศึกษานักเรยี นได้เรยี นรู้จานวนนับ เศษส่วน และทศนยิ มทเ่ี ป็น บวกมาแล้ว ส่วนในระดบั ชันนนี กั เรียนก็ไดเ้ รียนรจู้ านวนเต็ม เศษสว่ น และทศนยิ มที่เปน็ ลบเพ่มิ อีกดว้ ย

นอกจากนีนักเรยี นยังรู้วา่ เศษส่วนและทศนิยมมคี วามสมั พันธก์ ัน ดงั นนั เศษสว่ นเขยี นในรูปทศนิยมได้ และเราก็สามารถเขียนทศนิยมรูปเศษส่วนไดเ้ ชน่ กนั ” 2. ครูกลา่ วเพม่ิ เติมวา่ นกั คณิตศาสตรไ์ ดเ้ รยี กจานวนเหลา่ นวี า่ “จานวนตรรกยะ” นน่ั คอื จานวนตรรกยะ a หมายถึง จานวนทสี่ ามารถเขียนในรูปทศนยิ มซาหรือเศษส่วน b เมอ่ื a และ b เปน็ จานวนเต็ม โดยท่ี b0 7.2 ขน้ั สอน 1. ใหน้ ักเรยี นศึกษาตัวอย่างสมบัติของศนู ย์ ข้อ 1. ในหนังสือเรียน หน้า 94 2. ครูอธิบายเพ่ิมเติม ดังนี “นกั เรียนจะสงั เกตเหน็ ว่า การบวกจานวนตรรกยะใด ๆ ดว้ ยศนู ย์ หรอื ศนู ยบ์ วก ด้วยจานวนตรรกยะใด ๆ จะได้ผลบวกเท่ากบั จานวนนนั ” แลว้ สรปุ เป็นกรณีทว่ั ไปเหมือนในหนังสือเรยี น หนา้ 94 สมบัติของศูนย์ ข้อ 1. 3. ใหน้ กั เรยี นศึกษาตัวอย่างสมบัติของศนู ย์ ข้อ 2. ในหนงั สือเรียน หนา้ 94 4. ครูอธบิ ายเพ่ิมเติม ดังนี “นกั เรยี นจะสังเกตเห็นว่า การคูณจานวนตรรกยะใด ๆ ดว้ ยศูนย์ หรือศูนยค์ ูณ ดว้ ยจานวนตรรกยะใด ๆ จะไดผ้ ลคณู เทา่ กบั ศูนย์” แล้วสรุปเปน็ กรณที วั่ ไปเหมือนในหนังสอื เรยี น หนา้ 94 สมบตั ิของศนู ย์ ข้อ 2. 5. ใหน้ ักเรียนศึกษาตวั อยา่ งสมบัติของศูนย์ ข้อ 3. ในหนงั สอื เรียน หน้า 95 6. ครอู ธบิ ายเพิม่ เติม ดังนี “นักเรียนจะสังเกตเห็นว่า ศูนย์หารด้วยจานวนตรรกยะใด ๆ ท่ีไม่ใช่ศูนย์ จะได้ ผลหารเทา่ กบั ศูนย”์ แลว้ สรปุ เป็นกรณีท่วั ไปเหมือนในหนงั สือเรียน หน้า 95 สมบัติของศูนย์ ข้อ 3. และ a ครกู ล่าวเนน้ ยาวา่ ตัวหารต้องไมเ่ ป็นศูนย์ เพราะ 0 ไม่มคี วามหมายทางคณิตศาสตร์ 7. ครูยกตวั อยา่ งโจทย์การหาผลคูณต่อไปนีบนกระดาน 2.46  ….. = 0 และ …..  (-8) = 0 จากนันถามคาถาม ดังนี  2.46 คูณกับจานวนใดแลว้ ได้ผลคณู เท่ากับ 0 (แนวตอบ 2.46  0 = 0)  จานวนใดคณู กับ -8 แลว้ ไดผ้ ลคูณเทา่ กบั 0 (แนวตอบ 0  (-8) = 0) แล้วให้นกั เรยี นสังเกตคาตอบทีไ่ ด้ของแต่ละตัวอย่าง จากนันครูอธบิ ายเพ่ิมเติมว่า “นกั เรียนจะเห็นวา่ การคณู จานวนตรรกยะสองจานวนใด ๆ ถ้าผลคูณของจานวนตรรกยะสองจานวนใด ๆ เท่ากับศูนย์ แล้ว จานวนใดจานวนหนง่ึ ต้องเท่ากับศนู ย์” แล้วสรุปเปน็ กรณที ั่วไปเหมือนในหนังสอื เรยี น หน้า 95 สมบัติ ของศนู ย์ ขอ้ 4. 8. ใหน้ กั เรยี นศึกษาตัวอยา่ งสมบัติของหนึ่ง ขอ้ 1. ในหนงั สือเรียน หนา้ 95 จากนันครูและนักเรียนร่วมกัน สรุปวา่ “การคูณจานวนตรรกยะใด ๆ ด้วยหน่งึ หรอื หน่ึงคูณด้วยจานวนตรรกยะใด ๆ จะได้ผลคูณ เทา่ กับจานวนนัน” 9. ให้นกั เรยี นศึกษาตวั อยา่ งสมบัติของหนึ่ง ข้อ 2. ในหนังสือเรียน หน้า 95 จากนันครูและนักเรียนร่วมกัน สรปุ วา่ “การหารจานวนตรรกยะใด ๆ ด้วยหนง่ึ จะได้ผลหารเทา่ กบั จานวนตรรกยะนนั ” 10. ใหน้ ักเรียนศกึ ษาตวั อยา่ งสมบัตกิ ารสลบั ที่ในหนังสือเรียน หน้า 96 จากนันครูสรุปว่า “จานวนตรรกยะมี สมบัตกิ ารสลบั ทีส่ าหรับการบวกและสมบตั กิ ารสลบั ท่สี าหรบั การคณู ”

11. ให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างสมบัติการเปล่ียนหมู่ในหนังสือเรียน หน้า 96-97 จากนันครูสรุปว่า “จานวน ตรรกยะมีสมบตั ิการเปลย่ี นหมู่สาหรบั การบวกและสมบัติการเปลย่ี นหม่สู าหรบั การคณู ” 12. ใหน้ ักเรยี นศึกษาตัวอยา่ งสมบัติการแจกแจงในหนงั สอื เรยี น หน้า 97 จากนันครูสรุปวา่ “จานวนตรรกยะ มสี มบัตกิ ารแจกแจงระหว่างการบวกและการคณู ” 13. ครแู จกใบงานท่ี 2.17 เรื่อง สมบัตขิ องจานวนตรรกยะ ใหน้ ักเรียนทา จากนันครูและนักเรยี นร่วมกัน เฉลยคาตอบใบงานที่ 2.17 14. ครใู หน้ ักเรียนทาแบบฝึกทักษะ 2.3 ขอ้ 1 และ Exercise 2.3 ขอ้ 1 ในแบบฝกึ หดั คณิตศาสตร์ เป็น การบ้าน ชว่ั โมงท่ี 2 15.ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันเฉลยคาตอบแบบฝึกทกั ษะ 2.3 ข้อ 1 และ Exercise 2.3 ข้อ 1 16.ให้นกั เรยี นจบั คศู่ ึกษาตวั อย่างที่ 48 ในหนังสือเรยี น หนา้ 97 แลว้ แลกเปลย่ี นความร้กู บั คู่ของตนเอง จากนันให้นักเรียนแต่ละคนทา “ลองทาดู” ในหนงั สือเรียน หน้า 98 17.ครูและนักเรยี นร่วมกันเฉลยคาตอบ “ลองทาดู” 18.ให้นักเรียนค่เู ดิมศึกษาตวั อย่างท่ี 49 ในหนงั สือเรยี น หน้า 98 แล้วแลกเปลยี่ นความรู้กับคูข่ องตนเอง จากนนั ให้นกั เรียนแตล่ ะคนทา “ลองทาดู” 19.ครูและนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยคาตอบ “ลองทาดู” 20.ใหน้ ักเรียนคเู่ ดิมศึกษาตวั อย่างที่ 50 ในหนังสอื เรยี น หน้า 98 แลว้ แลกเปลย่ี นความรู้กับคู่ของตนเอง จากนนั ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะคนทา “ลองทาดู” แลว้ ครูและนกั เรียนรว่ มกันเฉลยคาตอบ 21.ครใู ห้นกั เรียนทาแบบฝกึ ทกั ษะ 2.3 ข้อ 2-4 จากนนั ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยคาตอบแบบฝกึ ทกั ษะ 2.3 ข้อ 2-4 22.ครูให้นกั เรยี นจดั กล่มุ กลุ่มละ 4 คน คละความสามารถทางคณิตศาสตร์ แล้วทากิจกรรม ดงั นี - ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มศกึ ษาสถานการณ์จาก “คณิตศาสตรใ์ นชีวิตจริง” ในหนังสอื เรียน หน้า 100 - จากนันใหน้ ักเรียนแต่ละคนวเิ คราะหว์ ่ามวี ธิ ีการแกป้ ญั หาจาก “คณิตศาสตรใ์ นชวี ิตจรงิ ” อย่างไร แล้ว แลกเปลี่ยนคาตอบกันภายในกลมุ่ สนทนาซกั ถามจนเปน็ ที่เขา้ ใจร่วมกัน - นกั เรยี นแต่ละคนเขยี นขนั ตอนแสดงวิธคี ิดของกลมุ่ ตนเองอยา่ งละเอียดลงในสมุด - สง่ ตวั แทนกลุ่มมานาเสนอคาตอบหนา้ ชนั เรยี น โดยเพ่อื นกลมุ่ ที่เหลอื คอยตรวจสอบความถกู ต้อง 7.3 ข้ันสรปุ 1. ใหน้ กั เรียนอา่ นและศึกษา “สรปุ แนวคดิ หลกั ” ในหนังสอื เรียน หน้า 101-103 แลว้ เขยี นผงั มโนทัศน์ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 จานวนตรรกยะ ลงในกระดาษ A4 2. ครถู ามคาถามเพ่ือสรปุ ความรู้รวบยอดของนักเรียน ดังนี  การบวกเศษส่วนมีขันตอนอย่างไร (แนวตอบ เขียนตวั สว่ นของเศษสว่ นทเ่ี ปน็ ลบใหเ้ ป็นจานวนเต็มบวกก่อน จากนันทาตวั สว่ นของทกุ เศษสว่ นใหเ้ ท่ากนั แลว้ นาตวั เศษมาบวกกัน โดยที่ตัวสว่ นยงั คงเทา่ เดิม)  การบวกเศษส่วนทเี่ ป็นลบด้วยเศษส่วนท่ีเป็นลบ จะได้ผลบวกเป็นจานวนบวกหรอื ลบ (แนวตอบ ไดผ้ ลบวกเป็นจานวนลบ)

 ข้อตกลงของการลบเศษสว่ น โดยอาศัยการบวก เป็นอย่างไร (แนวตอบ ตัวตงั - ตัวลบ = ตวั ตัง + จานวนตรงข้ามของตัวลบ)  ทศนิยมเขียนในรูปกระจายได้อย่างไร (แนวตอบ เขียนในรูปการบวกของเลขโดดในหลักต่าง ๆ คูณกับคา่ ประจาหลกั )  การเปรียบเทียบทศนยิ มทเี่ ป็นบวก มหี ลักการอยา่ งไร (แนวตอบ 1. เขียนจานวนทังสองไวบ้ รรทัดละ 1 จานวน โดยให้จดุ ทศนยิ มของแต่ละจานวนตรงกนั 2. เปรยี บเทียบเลขโดดในตาแหนง่ เดยี วกันจากซ้ายไปขวา เลขโดดคู่แรกท่ีไมเ่ ทา่ กัน เลขโดดใดมีคา่ มากกว่า ทศนิยมนันจะมีคา่ มากกวา่ )  การเปรยี บเทยี บทศนยิ มทเี่ ป็นลบ มหี ลักการอย่างไร (แนวตอบ 1. ทศนยิ มใดท่มี ีค่าสัมบรู ณ์มากกว่า ทศนยิ มนันจะมีค่าน้อยกวา่ 2. ถ้าค่าสัมบรู ณ์ของทศนยิ มทงั สองมีค่าเท่ากนั แสดงวา่ ทศนิยมทงั สองมคี ่าเทา่ กัน)  การบวกและการลบทศนยิ ม มหี ลกั การสาคัญอยา่ งไร (แนวตอบ ต้องตงั จุดทศนิยมของตัวตงั และตัวบวกหรอื ตัวลบให้ตรงกนั จากนนั นาทศนยิ มที่อยู่ ตาแหน่งเดียวกนั มาบวกหรอื ลบกนั )  การบวกทศนยิ มที่เป็นจานวนลบ จะได้ผลบวกเปน็ จานวนบวกหรอื ลบ (แนวตอบ จะไดผ้ ลบวกเปน็ จานวนลบ)  การบวกทศนยิ มทเ่ี ปน็ บวกดว้ ยทศนิยมที่เปน็ ลบ หรอื การบวกทศนยิ มทเี่ ป็นลบดว้ ยทศนิยมทเี่ ป็นบวก จะได้ผลลพั ธเ์ ปน็ จานวนบวกหรอื ลบ (แนวตอบ จะไดผ้ ลลัพธ์ตามทศนยิ มทม่ี ีคา่ สมั บูรณม์ ากกว่า)  การคณู ทศนยิ มทีเ่ ปน็ บวกด้วยทศนยิ มทเ่ี ปน็ ลบ หรอื การคูณทศนยิ มทีเ่ ป็นลบดว้ ยทศนิยมท่ีเป็นบวก จะได้ผลคูณเปน็ จานวนบวกหรอื ลบ (แนวตอบ ได้ผลคูณเปน็ จานวนลบ)  การคูณทศนิยมท่ีเป็นลบด้วยทศนยิ มที่เปน็ ลบ จะไดผ้ ลคูณเปน็ จานวนบวกหรือลบ (แนวตอบ ได้ผลคูณเปน็ จานวนบวก)  การหารทศนยิ มท่ีเป็นบวกด้วยทศนยิ มทีเ่ ป็นลบ หรือการหารทศนิยมที่เปน็ ลบดว้ ยทศนิยมท่เี ปน็ บวก จะไดผ้ ลหารเปน็ จานวนบวกหรอื ลบ (แนวตอบ ได้ผลหารเปน็ จานวนลบ)  การหารทศนยิ มท่เี ป็นลบด้วยทศนิยมท่เี ป็นลบ จะไดผ้ ลหารเป็นจานวนบวกหรือลบ (แนวตอบ ไดผ้ ลหารเปน็ จานวนบวก)  จานวนตรรกยะใด ๆ บวกดว้ ยศูนย์ หรือศนู ยบ์ วกดว้ ยจานวนตรรกยะใด ๆ จะไดผ้ ลบวกเทา่ กบั (แนวตอบ ผลบวกเทา่ กับจานวนนัน ๆ)  จานวนตรรกยะใด ๆ คูณดว้ ยศนู ย์ หรือศนู ย์คูณด้วยจานวนตรรกยะใด ๆ จะได้ผลคณู เทา่ กบั (แนวตอบ ผลคณู เท่ากบั ศนู ย)์  ศูนย์หารด้วยจานวนตรรกยะใด ๆ ที่ไม่ใชศ่ นู ย์ จะไดผ้ ลหารเทา่ กับ (แนวตอบ ผลหารเท่ากบั ศนู ย์)  จานวนตรรกยะใด ๆ คูณด้วยหน่ึง หรอื หนง่ึ คูณดว้ ยจานวนตรรกยะใด ๆ จะไดผ้ ลคณู เท่ากับ (แนวตอบ ผลคูณเทา่ กับจานวนนัน ๆ)  จานวนตรรกยะใด ๆ หารดว้ ยหนึ่ง จะได้ผลหารเทา่ กับ

(แนวตอบ ผลหารเท่ากบั จานวนนัน ๆ)  สมบัตเิ กย่ี วกับการบวกและการคูณจานวนตรรกยะทนี่ ักเรียนไดเ้ รียนรู้ ได้แกอ่ ะไรบา้ ง (แนวตอบ สมบัติการสลับที่ สมบัติการเปลย่ี นหมู่ และสมบัติการแจกแจง) 3. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เป็นการบ้าน 4. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 จานวนตรรกยะ 8. สอื่ และแหล่งเรยี นรู้ 8.1 สือ่ การเรียนรู้ 8.1.1. หนังสือเรียนรายวิชาพืนฐาน คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 จานวนตรรกยะ 8.1.2 แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 จานวนตรรกยะ 8.1.3. ใบงานท่ี 2.17 เร่อื ง สมบตั ิของจานวนตรรกยะ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 8.2.1. ห้องเรียน 8.2.2. หอ้ งสมดุ 8.2.3. อินเทอร์เน็ต 9. การวัดและประเมินผล สง่ิ ทต่ี ้องการวัด วิธกี ารวัด เคร่อื งมือที่ใช้วดั เกณฑ์การวดั 1.เขา้ ใจและใชส้ มบัติของจานวน ตรวจใบงาน/แบบฝึกหัด แบบประเมนิ ผลงาน ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 60 ตรรกยะในการบวก การลบ การคณู ใบงาน/แบบฝึกหัด ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60 และการหาร (K) 2.อธิบายขนั ตอนการดาเนนิ การของ ผลงานกลุ่ม/รายบคุ คล แบบประเมินผลงาน กลมุ่ /รายบุคคล จานวนโดยใช้สมบตั ิของจานวน ตรรกยะได้ (P) 3. รบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ทที่ ่ีไดร้ บั สงั เกตพฤตกิ รรมกลุม่ แบบสงั เกตพฤติกรรม อยู่ในระดบั ดีขึนไป มอบหมาย (A) การทางานกลุ่ม

แบบประเมินการนาเสนอผลงาน คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 เนอื หาละเอยี ดชัดเจน   2 ความถกู ตอ้ งของเนอื หา   3 ภาษาทีใ่ ชเ้ ขา้ ใจงา่ ย   4 ประโยชนท์ ่ไี ดจ้ ากการนาเสนอ   5 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน   รวม ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมิน ............/................./................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ตา่ กวา่ 8 ปรบั ปรงุ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล คาช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี  ลงในช่องทต่ี รงกับระดบั คะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเหน็   2 การยอมรับฟังความคิดเหน็ ของผูอ้ นื่   3 การทางานตามหน้าที่ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย   4 ความมนี าใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมิน ............../.................../................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครงั เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ตา่ กวา่ 8 ปรบั ปรุง

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คาชแี้ จง : ให้ผ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพงึ ประสงคด์ ้าน 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษตั รยิ ์ 1.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมท่ีสร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทางศาสนาท่ตี นนับถือ ปฏบิ ัติตามหลักศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมทเ่ี กยี่ วกับสถาบันพระมหากษัตริยต์ ามทโี่ รงเรยี นจดั ขนึ 2. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต 2.1 ใหข้ อ้ มูลทถ่ี ูกตอ้ ง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัตใิ นสิง่ ทีถ่ กู ต้อง 3. มีวนิ ยั รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครวั มี ความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจาวัน 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รู้จักใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนาไปปฏบิ ัติได้ 4.2 รู้จกั จัดสรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชอ่ื ฟงั คาสั่งสอนของบิดา - มารดา โดยไม่โตแ้ ย้ง 4.4 ตงั ใจเรียน 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพย์สนิ และส่ิงของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใชอ้ ปุ กรณ์การเรยี นอยา่ งประหยัดและรู้คณุ ค่า 5.3 ใช้จ่ายอยา่ งประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงนิ 6. มุ่งมน่ั ในการ 6.1 มีความตงั ใจและพยายามในการทางานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ทางาน 6.2 มคี วามอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออปุ สรรคเพื่อให้งานสาเร็จ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มจี ิตสานึกในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมและภมู ิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณคา่ และปฏบิ ตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รู้จกั ชว่ ยพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง และครทู างาน 8.2 ร้จู กั การดแู ลรกั ษาทรัพย์สมบัติและส่งิ แวดล้อมของห้องเรียนและ โรงเรยี น ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมิน (นางสาวกรรณิกา ลกิ ัลตา) ............../.................../................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบตั ชิ ดั เจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ตั ิชัดเจนและบ่อยครงั ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั บิ างครงั ให้ 1 คะแนน

10. บันทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้ ผลการจัดการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญั หา/อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ……………………………………………. (นางสาวกรรณิกา ลกิ ัลตา) ตาแหน่ง ครู ความคิดเหน็ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...………………………………………………………………………………………………………………………………........... ลงชอ่ื ……………………………………………. (นายคมสนั มณศี รี) หวั หน้ากล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ความคดิ เห็นรองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...……………………………………………………………………………………………………………………….................... ลงชอื่ ……………………………………………. (นายไพฑูรย์ มณีจนั ทร์) รองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ความคดิ เหน็ ผู้อานวยการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...……………………………………………………………………………………………………………………….................... ลงชอ่ื ……………………………………………. (นางสาวพรณภทั ร์ พงษ์วรชั ญพ์ ร) ผู้อานวยการโรงเรียนเทพสถติ วทิ ยา วนั ท.ี่ ...........เดอื น........................พ.ศ................

ใบงานที่ 2.17 เรือ่ ง สมบตั ิของจานวนตรรกยะ คาชี้แจง : จงเติมสมบตั ขิ องจานวนตรรกยะในแตล่ ะข้อต่อไปนใี หถ้ กู ต้อง 1) 1 + (-1.2) = (-1.2) + 1 8 8 สมบัติ .................................................................................................. 2) 0.126  -1  -1 2  = [0.126  (-1)]  -1 2  7  7  สมบตั ิ .................................................................................................. 3) 9.65  0.8  -3 151  = (9.65  0.8) + 9.65  -3151    สมบัติ .................................................................................................. 4) (-14.87)  (-79.4) = (-79.4)  (-14.87) สมบตั ิ .................................................................................................. 5) 1  -2  -1 4  = 1  -2  -1 4   3 9  3 9  สมบัติ .................................................................................................. 6) -1230  - -1.25  -2181  = -1230   -1218 --1.25  - 11     28  สมบัติ ..................................................................................................

เฉลยใบงานท่ี 2.17 เรอ่ื ง สมบัติของจานวนตรรกยะ คาชี้แจง : จงเติมสมบัตขิ องจานวนตรรกยะในแต่ละข้อต่อไปนีใหถ้ ูกต้อง 1) 1 + (-1.2) = (-1.2) + 1 8 8 สมบัติ .........ก..า..ร..ส..ล..บั ..ท..ส่ี..า..ห..ร..ับ...ก..า.ร..บ..ว..ก....................................................... 2) 0.126  -1  -1 2  = [0.126  (-1)]  -1 2  7  7  สมบัติ .........ก..า..ร..เ.ป..ล..ย่ี..น..ห...ม..สู่ ..า..ห..ร..ับ..ก..า..ร..ค..ณู ................................................... 3) 9.65  0.8  -3 5  = (9.65  0.8) + 9.65  -3 5  11  11  สมบัติ .........ก..า..ร..แ..จ..ก..แ..จ..ง......................................................................... 4) (-14.87)  (-79.4) = (-79.4)  (-14.87) สมบัติ .........ก..า..ร..ส..ล..ับ..ท..่สี..า..ห..ร..บั...ก..า.ร..ค..ูณ......................................................... 5) 1  -2  -1 4  = 1  -2  -1 4   3 9  3 9  สมบัติ .........ก..า..ร..เ.ป..ล..ยี่..น..ห...ม..สู่ ..า..ห..ร..บั ..ก..า..ร..บ..ว..ก................................................. 6) -1230  - -1.25  -2181  = -1230   -1218 --1.25  - 11     28  สมบัติ .........ก..า..ร..แ..จ..ก..แ..จ..ง.........................................................................

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 18 รายวชิ าคณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน รหัสวิชา ค21101 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 ช่ือหน่วย เลขยกกาลัง เวลารวม 10 ชั่วโมง เร่อื ง ความหมายของเลขยกกาลัง เวลา 1 ช่วั โมง ครผู ู้สอน นางสาวกรรณิกา ลิกัลตา 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชว้ี ดั ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกาลังท่ีมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวกในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และปญั หาในชวี ิตจรงิ 2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เลขยกกาลงั เปน็ สัญลักษณแ์ ทนจานวนชุดหนง่ึ ซ่งึ เกิดจากการคูณจานวนจานวนหน่ึงซ้ากันหลาย ๆ ครั้ง เขียน ได้ในรปู an เรียก a วา่ ฐาน และเรยี ก n วา่ เลขชกี้ าลงั หมายความวา่ มี a คณู กันเปน็ จานวน n ตวั 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 เข้าใจความหมายของเลขยกกาลงั ท่มี เี ลขช้ีกาลงั เปน็ จานวนเตม็ บวก (K) 3.2 หาคา่ ของเลขยกกาลงั ท่ีมีเลขช้กี าลังเป็นจานวนเตม็ บวกได้ (K) 3.3 ใชค้ วามรู้ ทกั ษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม (P) 3.4 รับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ีทไ่ี ด้รับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรยี นรู้ เลขยกกาลงั ท่มี เี ลขชี้กาลังเป็นจานวนเตม็ บวก 4. สาระการเรยี นรู้ จานวนเต็ม 5. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น 5.1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 5.2. ความสามารถในการคดิ - การใหเ้ หตผุ ล การสรุปความรู้ การปฏบิ ตั ิ 5.3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 5.4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 6.1. มวี ินัย 6.2. ใฝ่เรียนรู้ 6.3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 7. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 เลขยกกาลัง เวลา 1 ชัว่ โมง 7.1 ขนั้ จงู ใจเพอื่ เตรยี มความพร้อม (Motivation) : M 1. ครแู จ้งจดุ ประสงค์การเรียนร้เู รื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง และให้นักเรียนอ่านคาชแี้ จงการใชแ้ บบ ฝกึ ทักษะคณติ ศาสตรส์ าหรบั นักเรียนของเล่มที่ 1 เร่อื ง ความหมายของเลขยกกาลัง จนเข้าใจ

2. ครูทบทวนความรู้ ดังนี้ - ตวั ประกอบของจานวนนับใด ๆ คอื จานวนนับท่หี ารจานวนนับนน้ั ไดล้ งตวั - จานวนเฉพาะ เปน็ จานวนนับทีม่ ีตัวประกอบเพียงสองตวั เท่าน้นั คอื 1 กับจานวนนบั นั้น - ตวั ประกอบทีเ่ ป็นจานวนเฉพาะ เรยี กว่า ตัวประกอบเฉพาะ - การแยกตัวประกอบของจานวนนบั ใด ๆ เป็นการเขียนจานวนนบั ในรปู การคณู ของตวั ประกอบเฉพาะ 3. ครูถามคาถาม ดังนี้  วธิ ีแยกตัวประกอบทาได้อย่างไรบา้ ง (แนวตอบ นักเรยี นอาจตอบว่าทาได้โดยตงั้ หารสนั้ หรือโดยใชแ้ ผนภาพตน้ ไม้) 4. ครเู ขียนจานวนนบั บนกระดาน แลว้ ใหน้ กั เรียนแยกตัวประกอบ จำนวนนับ 2) 28 3) 100 1) 16 5) 150 6) 300 4) 144 2) 227 แยกตัวประกอบ 4) 222233 1) 2222 6) 32255 3) 2255 5) 2355 7.2 ข้ันปฏบิ ตั ิ (Action) : A 5. ให้นักเรียนอ่านเรื่องการพับกระดาษรปู สเ่ี หลีย่ มผืนผา้ ในเลม่ แบบฝึกทักษะเล่มท่ี 1 เมือ่ นักเรยี นอา่ นจบ แล้วครถู ามคาถาม ดังนี้  ถา้ พบั กระดาษ 6 ครัง้ จะไดจ้ านวนเสน้ แบ่งของกระดาษกเ่ี สน้ (แนวตอบ 64 เสน้ )  ถ้าพับกระดาษ 7 ครง้ั จะได้จานวนเส้นแบ่งของกระดาษกเ่ี สน้ (แนวตอบ 128 เส้น)  นักเรียนหาจานวนเหลา่ น้นั ได้อย่างไร (แนวตอบ 64 ได้มาจาก 322 และ 128 ได้มาจาก 642) จากนน้ั ครกู ล่าววา่ “จานวนเสน้ แบ่งของกระดาษเพ่มิ ขน้ึ เป็นพหคุ ูณของ 2 หรอื เกิดจากการนา 2 คูณกนั หลาย ๆ ตวั ซึ่งขนึ้ อยูก่ บั จานวนคร้งั ในการพับกระดาษ” 6. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ วา่ “นกั คณิตศาสตรจ์ งึ ได้มกี ารกาหนดสัญลักษณ์ เพอ่ื แทนจานวนทีเ่ กิดจากการคูณ จานวนซ้า ๆ กัน” จากนนั้ ครกู ล่าวถงึ บทนิยามของเลขยกกาลัง ในเล่มแบบฝึกทักษะ 7. ให้นกั เรียนศึกษาตวั อยา่ งเลขยกกาลงั ในเล่มแบบฝกึ ทักษะ จากน้นั ครูถามคาถาม ดังนี้  เลขยกกาลัง (-2)4 มีผลคูณเปน็ จานวนบวกหรอื จานวนลบ (แนวตอบ จานวนบวก)  เลขยกกาลัง (-3)3 มีผลคณู เป็นจานวนบวกหรือจานวนลบ (แนวตอบ จานวนลบ)  เลขยกกาลงั ที่มฐี านเป็นจานวนลบ ผลคูณทไี่ ด้จะมคี วามสมั พันธ์กับเลขชีก้ าลงั อยา่ งไร

(แนวตอบ เลขยกกาลังท่มี ีฐานเป็นจานวนลบ ถา้ เลขชีก้ าลังเปน็ จานวนคู่ ผลคณู ท่ีได้จะเป็นบวก แต่ ถา้ เลขช้กี าลงั เปน็ จานวนคี่ ผลคูณทีไ่ ดจ้ ะเป็นลบ) 8. ให้นกั เรยี นศึกษาขอ้ ควรระวัง ในแบบฝกึ ทักษะ เร่อื ง ความหมายของเลขยกกาลัง จากนั้นครถู ามคาถาม ดงั น้ี  นกั เรยี นคิดวา่ เลขยกกาลัง -24 มฐี านเป็นเท่าไร (แนวตอบ 2)  เลขยกกาลัง -24 มีเลขช้ีกาลงั เป็นเทา่ ไร (แนวตอบ 4)  เขียนในรปู ผลคณู ของฐานได้อยา่ งไร (แนวตอบ -(2222))  มีผลคณู เท่ากบั เท่าไร (แนวตอบ -16) จากน้นั ครสู รุปว่า -24 = -(2222) = -16 แลว้ ครูกล่าวถงึ ขอ้ ควรระวงั วา่ เลขยกกาลงั -24 ไม่ได้มีฐานเปน็ -2 (ถ้าเลขยกกาลงั ชุดน้ีมีฐานเป็น -2 จะเขียนได้ในรปู (-2)4 ซ่ึงมผี ลคูณเทา่ กับ (-2)(-2)(-2)(-2) = 16 ซึง่ มคี ่าไม่ เทา่ กบั -24 ) 9. ครแู นะนาให้นักเรียนรจู้ กั การเรียกตวั เลขแตล่ ะตัวในเลขยกกาลัง เช่น จาก 36 เรียก 3 ว่า “ฐาน” และเรียก 6 ว่า “เลขชกี้ าลงั ” จากนน้ั ให้นักเรยี นชว่ ยกนั ตอบข้อทเี่ หลอื อยู่ 10. ครเู ขียนบทนยิ ามของเลขยกกาลังบนกระดาน พรอ้ มกบั ยกตัวอยา่ งเอง 2-3 ตวั อยา่ ง บทนยิ ามของเลขยกกาลงั ถา้ a เปน็ จานวนใดๆ n เปน็ จานวนเต็มบวก an อ่านว่า เอยกกาลังเอน็ หรือเอกาลงั เอ็น มีความหมายว่า an = a  a  a  …  a n ตวั เลขยกกาลงั an เรยี ก a ว่า “ฐาน” และเรยี ก n วา่ “เลขชกี้ าลงั ” 11.ครูให้นกั เรียนจดั กลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน คละความสามารถทางคณิตศาสตร์ แล้วทากจิ กรรม ดงั นี้ - ให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันทาแบบฝึกทักษะ โดยเขียนลงในสมดุ ของตนเอง - จากน้ันใหน้ กั เรยี นแลกเปลีย่ นความรภู้ ายในกล่มุ ของตนเอง และสนทนาซักถามเกย่ี วกับวิธกี ารคดิ หา คาตอบ จนเปน็ ทเี่ ขา้ ใจร่วมกัน 7.3 ขน้ั สะทอ้ นความรู้ (Reflection of knowledge) : R 1. ใหต้ ัวแทนกลุม่ มานาเสนอคาตอบหนา้ ชนั้ เรยี น โดยเพอ่ื นกล่มุ ที่เหลือคอยตรวจสอบความถกู ต้อง 2. นักเรียนทกุ คนร่วมกนั วเิ คราะห์ เปรยี บเทียบคาตอบจากทุกกล่มุ แล้วสรุปเปน็ คาตอบของตัวเองโดย ครใู ห้ความชว่ ยเหลือแนะนาและอธิบายเพม่ิ เตมิ เพ่ือความสมบรู ณ์ของเน้ือหา 7.4 ขั้นสร้างความรู้ (Ceration of Knowledge) : C 1. ใหน้ กั เรียนทง้ั ช้นั ช่วยกันสรุปความรู้เรอ่ื ง ความหมายของเลขยกกาลังจากแบบฝกึ ทักษะ

บทนิยามของเลขยกกาลงั ถ้า a เปน็ จานวนใดๆ n เป็นจานวนเต็มบวก an อ่านว่า เอยกกาลงั เอน็ หรอื เอกาลงั เอน็ มีความหมายวา่ an = a  a  a  …  a n ตวั เลขยกกาลัง an เรยี ก a ว่า “ฐาน” และเรียก n วา่ “เลขชก้ี าลงั ” 2. ครูชว่ ยเสริมองค์ความรู้ให้กบั นักเรียนทง้ั ชั้น โดยครูและนักเรียนชว่ ยกันยกตัวอย่างสถานการณ์ เกี่ยวมกับเร่ืองความหมายของเลขยกกาลงั กบั ชีวติ ประจาวันของนักเรยี นเพ่ือใหเ้ กดิ ความรใู้ หม่ทส่ี อดคล้องกับ บทเรียนและเกิดความสมบูรณข์ องเนอื้ หา 7.5 ขัน้ ประเมนิ ผล (Evaluation) : E 1. ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบยอ่ ยหลังเรียน เร่ือง ความหมายของเลขยกกาลัง 2. ให้นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ แลกเปล่ยี นกนั ตรวจ โดยดเู ฉลยในภาคผนวก 3. เมอื่ ตรวจเสร็จแลว้ รวบรวมคะแนนแลว้ สง่ คืนเจา้ ของ 4. ครูบนั ทึกคะแนนแบบฝึกหัดเปน็ รายกล่มุ สว่ นแบบทดสอบย่อยเป็นรายบุคคล 8. สือ่ และแหลง่ เรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรียนรู้ 8.1.1. หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน คณติ ศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 3 เลขยกกาลัง 8.1.2. แบบฝึกหดั คณติ ศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลัง 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 8.2.1. ห้องเรียน 8.2.2. หอ้ งสมดุ 8.2.3. อินเทอร์เนต็ 9. การวดั และประเมนิ ผล สิ่งทตี่ ้องการวดั วธิ ีการวัด เครือ่ งมือท่ีใช้วดั เกณฑ์การวัด 1.เข้าใจความหมายของเลขยกกาลงั ตรวจใบงาน/แบบฝกึ หดั แบบประเมินผลงาน ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60 ท่มี เี ลขชก้ี าลงั เป็นจานวนเต็มบวก ตรวจใบงาน/แบบฝกึ หัด ใบงาน/แบบฝึกหดั ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 (K) ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60 แบบประเมินผลงาน 2.หาค่าของเลขยกกาลังท่ีมีเลขชี้ ใบงาน/แบบฝกึ หัด อยใู่ นระดบั ดขี ึน้ ไป กาลงั เปน็ จานวนเต็มบวกได้ (K) แบบประเมนิ ผลงาน กลุม่ /รายบคุ คล 3.ใชค้ วามรู้ ทกั ษะ และกระบวนการ ผลงานกลุ่ม/รายบคุ คล ทางคณิตศาสตร์ในการแกป้ ัญหาได้ แบบสังเกตพฤติกรรม อยา่ งเหมาะสม (P) การทางานกลมุ่ 4. รบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ที ่ีไดร้ บั สังเกตพฤติกรรมกลุ่ม มอบหมาย (A)

แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน คาช้แี จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดับคะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 เนื้อหาละเอยี ดชดั เจน   2 ความถกู ตอ้ งของเนอื้ หา   3 ภาษาทีใ่ ช้เขา้ ใจง่าย   4 ประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากการนาเสนอ   5 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน   รวม ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมิน ............/................./................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ เปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรงุ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล คาชแี้ จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด  ลงในช่องทีต่ รงกบั ระดบั คะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคดิ เห็น   2 การยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ืน่   3 การทางานตามหน้าที่ทีไ่ ด้รับมอบหมาย   4 ความมีนา้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน ............../.................../................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรบั ปรุง

แบบประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คาชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในช่องท่ี ตรงกับระดบั คะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พงึ ประสงค์ด้าน 321 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษตั รยิ ์ 1.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมทส่ี ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชนต์ ่อ โรงเรยี น 1.3 เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาทตี่ นนับถือ ปฏบิ ัติตามหลักศาสนา 1.4 เขา้ รว่ มกิจกรรมทเี่ กย่ี วกับสถาบนั พระมหากษัตรยิ ต์ ามทโี่ รงเรียนจัดขึ้น 2. ซือ่ สัตย์ สุจริต 2.1 ใหข้ อ้ มูลทีถ่ กู ตอ้ ง และเป็นจริง 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสิ่งทถ่ี ูกต้อง 3. มวี ินัย รบั ผิดชอบ 3.1 ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครวั มี ความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจาวัน 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รจู้ ักใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนาไปปฏิบัติได้ 4.2 รู้จกั จดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชอ่ื ฟงั คาสง่ั สอนของบิดา - มารดา โดยไมโ่ ต้แยง้ 4.4 ต้งั ใจเรียน 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รพั ยส์ นิ และสง่ิ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใชอ้ ุปกรณ์การเรียนอยา่ งประหยดั และรู้คุณคา่ 5.3 ใช้จา่ ยอยา่ งประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงิน 6. ม่งุ ม่นั ในการ 6.1 มีความตงั้ ใจและพยายามในการทางานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ทางาน 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มจี ติ สานึกในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย 7.2 เหน็ คุณค่าและปฏิบัติตนตามวฒั นธรรมไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รจู้ ักช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน 8.2 รู้จักการดูแลรักษาทรัพย์สมบตั แิ ละสิ่งแวดล้อมของห้องเรยี นและ โรงเรยี น ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน (นางสาวกรรณิกา ลกิ ัลตา) ............../.................../................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน พฤติกรรมท่ปี ฏิบัตชิ ัดเจนและสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ิชัดเจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ัติบางครงั้ ให้ 1 คะแนน

10. บันทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้ ผลการจัดการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญั หา/อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ……………………………………………. (นางสาวกรรณิกา ลกิ ัลตา) ตาแหน่ง ครู ความคิดเหน็ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...………………………………………………………………………………………………………………………………........... ลงชอ่ื ……………………………………………. (นายคมสนั มณศี รี) หวั หน้ากล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ความคดิ เห็นรองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...……………………………………………………………………………………………………………………….................... ลงชอื่ ……………………………………………. (นายไพฑูรย์ มณีจนั ทร์) รองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ความคดิ เหน็ ผู้อานวยการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...……………………………………………………………………………………………………………………….................... ลงชอ่ื ……………………………………………. (นางสาวพรณภทั ร์ พงษ์วรชั ญพ์ ร) ผู้อานวยการโรงเรียนเทพสถติ วทิ ยา วนั ท.ี่ ...........เดอื น........................พ.ศ................

แบบฝึกหัดที่ 3.1 เรื่อง ความหมายของเลขยกกาลงั คาช้แี จง : ใหน้ ักเรียนตอบคาถามแต่ละข้อต่อไปนี้ 1. จงเขียนจานวนที่กาหนดใหต้ อ่ ไปน้ีในรูปเลขยกกาลงั 1) 7×7×7×7×7×7×7 =............................................... 2) (-6) (-6) (-6) (-6) (-6) =............................................... 3) (-0.5) (-0.5) (-0.5) =............................................... 4) -(0.4 × 0.4) =............................................... 5) (35) (53) (53) (53)=............................................... 2. จงเขียนจานวนทีก่ าหนดให้ตอ่ ไปน้ีในรูปเลขยกกาลงั 1) 243 = ............................................... 2) 512 = ............................................... 3) 625 = ............................................... 4) 1,331 = ............................................... 5) 2,401 = ............................................... 3. จงเขยี นจานวนต่อไปนใี้ ห้อยู่ในรูปเลขยกกาลังทมี่ ีฐานเป็นจานวนเฉพาะ 1) 27  64 = ............................................... 2) 125  49 = ............................................... 3) 121  169 = ............................................... งา่ ยมากเลยใช่ไหมค๊ ะ ......สู้ๆ นะคะ

แบบฝกึ หดั ที่ 3.1 เรือ่ ง ความหมายของเลขยกกาลงั คาชีแ้ จง : ให้นักเรียนตอบคาถามแต่ละข้อต่อไปน้ี 1. จงเขยี นจานวนที่กาหนดให้ต่อไปนี้ในรูปเลขยกกาลงั 1) 7×7×7×7×7×7×7 =..............7..7............................... 2) (-6) (-6) (-6) (-6) (-6) =..............(.-.6...).5........................... 3) (-0.5) (-0.5) (-0.5) =...............(.-.0....5...).3....................... 4) -(0.4 × 0.4) =...............-.(.0.....4..).2....................... 5) (53) (35) (35) (35)=..................35.....4........................ 2. จงเขียนจานวนที่กาหนดใหต้ อ่ ไปนีใ้ นรูปเลขยกกาลงั = ...........3..5.................................. 1) 243 2) 512 = ...........2..9.................................. 3) 625 = ...........5..4.................................. 4) 1,331 = ...........1..1...3............................... 5) 2,401 = ............7..4................................. 3. จงเขียนจานวนต่อไปนี้ให้อย่ใู นรูปเลขยกกาลงั ที่มฐี านเปน็ จานวนเฉพาะ 1) 27  64 = .........3...3.......2...6......................... 2) 125  49 = ..........5..3........7..2......................... 3) 121  169 = ..........1..1..2........1..3..2..................... ง่ายมากเลยใช่ไหมค๊ ะ ......ส้ๆู นะคะ

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 19 รายวิชาคณิตศาสตร์พนื้ ฐาน รหัสวชิ า ค21101 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 ชอ่ื หน่วย เลขยกกาลัง เวลารวม 10 ชั่วโมง เรอ่ื ง การคูณเลขยกกาลัง เม่อื เลขชีก้ าลงั เปน็ จานวนเต็มบวก เวลา 2 ชั่วโมง ครผู สู้ อน นางสาวกรรณกิ า ลิกัลตา 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้ีวดั ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกาลังท่ีมีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวกในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และปญั หาในชีวิตจริง 2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การคูณเลขยกกาลังทีม่ ฐี านเดยี วกนั ผลคณู จะเปน็ เลขยกกาลงั ทีม่ ฐี านเท่าเดิม และมีเลขช้ีกาลังเท่ากับผลบวก ของเลขชก้ี าลังของเลขยกกาลังท่ีนามาคณู กัน 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 หาผลคูณของเลขยกกาลัง เม่ือเลขช้ีกาลังเป็นจานวนเตม็ บวกได้ (K) 3.2 เขยี นอธบิ ายขัน้ ตอนวธิ ีการหาผลคูณของเลขยกกาลัง เม่อื เลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มบวกได้ (P) 3.3 รับผิดชอบตอ่ หน้าท่ีท่ีได้รบั มอบหมาย (A) 4. สาระการเรยี นรู้ เลขยกกาลังทมี่ ีเลขชกี้ าลังเป็นจานวนเตม็ บวก 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 5.1. ความสามารถในการส่ือสาร 5.2. ความสามารถในการคดิ - การให้เหตผุ ล การสรปุ ความรู้ การปฏบิ ตั ิ 5.3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 5.4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 6.1. มวี ินยั 6.2. ใฝเ่ รยี นรู้ 6.3. มุง่ มัน่ ในการทางาน 7. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ชวั่ โมงที่ 1 7.1 ขน้ั จูงใจเพือ่ เตรยี มความพร้อม (Motivation) : M 1. ครทู บทวนความหมายของเลขยกกาลงั วา่ an = a  a  a  …  a จากนนั้ ครูยกตวั อยา่ งเลขยกกาลัง แล้วให้นักเรยี นเขียนในรูปการคูณของฐานเป็นจานวนซา้ ๆ กนั

ตวั อยา่ งเลขยกกาลงั 2) (-6)2 3) (1.8)3 1) 46 4) (-3.1)5 5)  2 4 6)  - 5 2  3   6  เขยี นในรปู การคณู ของฐานเป็นจานวนซา ๆ กัน 1) 4  4  4  4  4  4 2) (-6)  (-6) 3) (1.8)  (1.8)  (1.8) 4) (-3.1)  (-3.1)  (-3.1)  (-3.1)  (-3.1) 5)  2    2    2    2  6)  - 5    - 5   3   3   3   3   6   6  2. ครยู กตัวอย่างการหาผลคูณของเลขยกกาลัง 34  33 ในหนังสอื เรยี น หนา้ 112 บนกระดาน พร้อมกบั ถามคาถาม ดังนี้  34 เขยี นในรูปการคูณของฐานเป็นจานวนซ้า ๆ กันได้อย่างไร (แนวตอบ 3  3  3  3)  33 เขียนในรปู การคูณของฐานเปน็ จานวนซ้า ๆ กันได้อยา่ งไร (แนวตอบ 3  3  3)  34  33 เขียนในรูปการคณู ของฐานเปน็ จานวนซา้ ๆ กันได้อย่างไร (แนวตอบ 3  3  3  3  3  3 3)  34  33 เขยี นในรปู เลขยกกาลังไดอ้ ยา่ งไร (แนวตอบ 37 ) จากนน้ั ครสู รปุ ว่า 34  33 = 37 มาจาก 34+3 7.2 ขนั้ ปฏบิ ตั ิ (Action) : A 1. ครูใหน้ ักเรยี นศึกษาตวั อย่างการหาผลคณู ของเลขยกกาลังเล่มแบบฝกึ ทักษะ แล้วถามคาถาม ดงั นี้  เลขช้ีกาลงั ของผลคูณและเลขช้กี าลังของตวั ตงั้ และตัวคณู มีความสมั พันธ์กันอย่างไร (แนวตอบ เลขชกี้ าลังของผลคูณ เท่ากับ ผลบวกของเลขช้กี าลงั ของตัวต้งั และตวั คณู ) จากน้ันครสู รุปดงั ในกรอบ “สมบัติ 1” ในเล่มแบบฝกึ ทักษะ กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ และ m, n แทนจำนวนเต็มบวก am  an = am+n 3. ครูยกตวั อยา่ งท่ี 3 ในเลม่ แบบฝกึ ทกั ษะ บนกระดาน แสดงการหาผลคูณของจานวนในรปู เลขยกกาลงั แลว้ ให้นกั เรยี นทาแบบฝึกทกั ษะท่ี 1 จากนัน้ ครูและนกั เรียนรว่ มกันเฉลยคาตอบแบบฝึกทักษะที่ 1 4. ใหน้ กั เรียนจบั คู่กนั แล้วทา “Thinking Time” ในแบบฝึกทักษะท่ี 1 พรอ้ มทง้ั ยกตัวอย่างประกอบ โดย ทาลงในสมุดของตนเอง จากนั้นครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยคาตอบ “Thinking Time” 5. ครูยกตวั อยา่ งการหาผลคูณของเลขยกกาลัง (36)2 ในแบบฝกึ ทกั ษะที่ 1 บนกระดาน แล้วอธิบายว่าใช้ สมบตั ิ 1 ช่วยในการหาผลคูณได้ ดังน้ี (36)2 = 36  36 = 36+6 = 36×2 6. ครูให้นักเรยี นศึกษาตวั อยา่ งการหาผลคูณของเลขยกกาลงั ในเลม่ แบบฝึกทักษะ แลว้ ถามคาถาม ดังนี้

 เลขชก้ี าลงั ของผลคณู และเลขชกี้ าลังของตวั ต้ังและตวั คูณมีความสัมพันธ์กนั อยา่ งไร (แนวตอบ เลขชี้กาลงั ของผลคณู เท่ากบั ผลคณู ของเลขช้ีกาลงั ของตวั ตัง้ และตวั คูณ) จากนน้ั ครสู รุปดงั ในกรอบ “สมบัติ 2” ในหนงั สือเรียน หนา้ 114 กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ และ m, n แทนจำนวนเตม็ บวก (am)n = am × n ชวั่ โมงที่ 2 1. ครทู บทวนสมบัติ 1 และสมบัติ 2 โดยการถาม - ตอบ 3. ครูยกตวั อย่างการหาผลคูณของเลขยกกาลัง (-3)3  53 ในเลม่ แบบฝึกทักษะบนกระดาน พรอ้ มกบั ถาม คาถาม ดังนี้  (-3)3 เขยี นในรูปการคณู ของฐานเปน็ จานวนซา้ ๆ กนั ได้อยา่ งไร (แนวตอบ (-3)  (-3)  (-3) )  53 เขียนในรูปการคูณของฐานเปน็ จานวนซ้า ๆ กันได้อยา่ งไร (แนวตอบ 5  5  5)  (-3)3  53 เขียนในรูปการคูณของฐานเปน็ จานวนซ้า ๆ กนั ได้อย่างไร (แนวตอบ (-3)  (-3)  (-3)  5  5  5) จากนัน้ ครูอธิบายวา่ ถ้าจับกลุ่มการคูณใหม่เปน็ [(-3)  5] จะได้ 3 กล่มุ ดังนี้ (-3)3  53 = [(-3)  5]  [(-3)  5]  [(-3)  5]  [(-3)  5]  [(-3)  5]  [(-3)  5] เขยี นในรูปเลขยกกาลงั ไดอ้ ย่างไร (แนวตอบ [(-3)  5]3 ) 4. ครูใหน้ ักเรยี นศึกษาตวั อยา่ งการหาผลคณู ของเลขยกกาลงั ในเลม่ แบบฝึกทักษะ จากน้ันครสู รปุ ดังในกรอบ “สมบัติ 3” ในเลม่ แบบฝกึ ทักษะ กำหนดให้ a, b แทนจำนวนใด ๆ และ m แทนจำนวนเต็มบวก am  bm = (a  b)m 5. ครูยกตัวอย่างท่ี 5 ในเลม่ แบบฝกึ ทกั ษะบนกระดาน แสดงการหาผลคูณของจานวนในรูปเลขยกกาลัง แล้วใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกทกั ษะที่ 2 ในเลม่ แบบฝกึ ทักษะ จากนัน้ ครูและนักเรยี นร่วมกันเฉลยคาตอบ แบบฝกึ ทกั ษะที่ 2 6. ครูยกตัวอย่างการหาผลคูณของเลขยกกาลัง (910  75)3 ในเลม่ แบบฝึกทักษะบนกระดาน แลว้ อธิบาย ว่า เราจะนาสมบตั ิ 2 และสมบตั ิ 3 มาชว่ ยในการหาผลคณู จากนน้ั ครเู ขยี นแสดงวิธีทาอย่างละเอยี ดบน กระดาน และเนน้ ย้านักเรียนวา่ ขั้นตอนใดใช้สมบัตใิ ด 7. ครใู หน้ กั เรยี นศึกษาตวั อย่างการหาผลคูณของเลขยกกาลัง ในเล่มแบบฝึกทักษะ จากนน้ั ครสู รปุ ดังในกรอบ “สมบัติ 4” ในเลม่ แบบฝึกทักษะ กำหนดให้ a, b แทนจำนวนใด ๆ และ m, n, k แทนจำนวนเต็มบวก (am bn)k = am × k  bn × k

8. ครูให้นกั เรยี นจดั กลุม่ กลมุ่ ละ 4 คน คละความสามารถทางคณิตศาสตร์ แลว้ ทากจิ กรรม ดังน้ี - รว่ มกนั วิเคราะห์ “H.O.T.S. คาถามท้าทายการคดิ ข้นั สงู ” ในเล่มแบบฝกึ ทักษะ แล้วเขยี นคาตอบจากการ วิเคราะห์ลงในสมดุ ตนเอง 7.3 ขน้ั สะทอ้ นความรู้ (Reflection of knowledge) : R 1. ให้ตัวแทนกลุ่มมานาเสนอคาตอบหน้าช้นั เรยี น โดยเพ่อื นกลุ่มทเ่ี หลือคอยตรวจสอบความถกู ต้อง 2. นักเรยี นทุกคนร่วมกันวิเคราะห์ เปรยี บเทยี บคาตอบจากทุกกลมุ่ แล้วสรุปเป็นคาตอบของตวั เองโดย ครูให้ความช่วยเหลอื แนะนาและอธิบายเพม่ิ เตมิ เพ่ือความสมบรู ณข์ องเนื้อหา 7.4 ข้ันสร้างความรู้ (Ceration of Knowledge) : C 1. ใหน้ ักเรียนทงั้ ชน้ั ช่วยกันสรุปความร้เู ร่อื ง การคูณเลขยกกาลงั เม่ือเลขชี้กาลังเปน็ จานวนเตม็ บวก จากแบบฝึกทกั ษะ โดยครถู ามคาถามเพ่ือสรุปความรู้รวบยอดของนักเรียน ดังนี้ ถา้ กาหนดให้ a, b แทนจานวนใด ๆ และ m, n, k แทนจานวนเตม็ บวก แล้ว  am  an มคี า่ เทา่ กบั เท่าไร (แนวตอบ เท่ากับ am+n )  (am)n มคี า่ เท่ากบั เท่าไร (แนวตอบ เทา่ กับ am × n )  am  bm มีคา่ เท่ากับเท่าไร (แนวตอบ เท่ากบั (a  b)m )  (am bn)k มคี ่าเท่ากับเทา่ ไร (แนวตอบ เทา่ กบั am × k  bn × k ) 7.5 ขนั้ ประเมินผล (Evaluation) : E 1. ใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบย่อยหลงั เรยี น เร่ือง การคณู เลขยกกาลงั เม่ือเลขชกี้ าลงั เปน็ จานวนเตม็ บวก 2. ให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มแลกเปลี่ยนกันตรวจ โดยดูเฉลยในภาคผนวก 3. เมอื่ ตรวจเสร็จแล้วรวบรวมคะแนนแล้วส่งคนื เจา้ ของ 4. ครูบนั ทึกคะแนนแบบฝึกหดั เปน็ รายกลุ่ม ส่วนแบบทดสอบยอ่ ยเปน็ รายบุคคล 8. สือ่ และแหลง่ เรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 8.1.1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพื้นฐาน คณติ ศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 เลขยกกาลงั 8.1.2. แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 เรอื่ ง การคูณเลขยกกาลงั เมื่อเลขชี้กาลงั เปน็ จานวนเต็มบวก 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 8.2.1. ห้องเรยี น 8.2.2. หอ้ งสมดุ 8.2.3. อนิ เทอรเ์ นต็

9. การวดั และประเมนิ ผล วิธกี ารวัด เครอ่ื งมือทใ่ี ช้วดั เกณฑก์ ารวัด สงิ่ ท่ีต้องการวัด ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 แบบประเมนิ ผลงาน ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60 1.หาผลคณู ของเลขยกกาลงั เมื่อเลข ตรวจใบงาน/แบบฝกึ หดั ใบงาน/แบบฝึกหดั ชี้กาลงั เปน็ จานวนเต็มบวกได้ (K) แบบประเมนิ ผลงาน อยใู่ นระดบั ดขี ึ้นไป กลุ่ม/รายบุคคล 2.เขยี นอธิบายขั้นตอนวิธีการหาผล ผลงานกล่มุ /รายบคุ คล คูณของเลขยกกาลัง เมอ่ื เลขช้ีกาลัง สังเกตพฤตกิ รรมกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรม เปน็ จานวนเต็มบวกได้ (P) การทางานกลุม่ 3. รบั ผดิ ชอบต่อหน้าทท่ี ่ีได้รับ มอบหมาย (A)

แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน คาช้แี จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดับคะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 เนื้อหาละเอยี ดชดั เจน   2 ความถกู ตอ้ งของเนอื้ หา   3 ภาษาทีใ่ ช้เขา้ ใจง่าย   4 ประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากการนาเสนอ   5 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน   รวม ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมิน ............/................./................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ เปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรงุ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล คาชแี้ จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี  ลงในช่องทีต่ รงกบั ระดบั คะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคดิ เห็น   2 การยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ืน่   3 การทางานตามหน้าที่ทีไ่ ด้รับมอบหมาย   4 ความมีนา้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน ............../.................../................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรบั ปรุง

แบบประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คาชแ้ี จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องท่ี ตรงกับระดบั คะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงคด์ ้าน 321 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้ กษัตริย์ 1.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมทส่ี ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชนต์ ่อ โรงเรยี น 1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาทตี่ นนับถือ ปฏิบตั ติ ามหลักศาสนา 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมทเี่ กย่ี วกับสถาบนั พระมหากษัตริยต์ ามท่โี รงเรียนจัดขึ้น 2. ซื่อสัตย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ อ้ มูลทีถ่ กู ตอ้ ง และเป็นจริง 2.2 ปฏบิ ัตใิ นสิ่งทถ่ี ูกต้อง 3. มีวนิ ยั รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคบั ของครอบครัว มี ความตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจาวัน 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 ร้จู กั ใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนาไปปฏบิ ัติได้ 4.2 รจู้ ักจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชอ่ื ฟงั คาสง่ั สอนของบิดา - มารดา โดยไมโ่ ตแ้ ยง้ 4.4 ตั้งใจเรียน 5. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง 5.1 ใช้ทรัพยส์ นิ และสง่ิ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใชอ้ ปุ กรณ์การเรยี นอยา่ งประหยดั และรู้คณุ คา่ 5.3 ใช้จ่ายอยา่ งประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงนิ 6. ม่งุ ม่นั ในการ 6.1 มีความตงั้ ใจและพยายามในการทางานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ทางาน 6.2 มีความอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออปุ สรรคเพ่ือให้งานสาเร็จ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มีจิตสานึกในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย 7.2 เหน็ คณุ ค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจติ สาธารณะ 8.1 รจู้ ักช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน 8.2 รจู้ ักการดูแลรักษาทรัพย์สมบตั แิ ละสิ่งแวดล้อมของห้องเรียนและ โรงเรยี น ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมนิ (นางสาวกรรณิกา ลิกัลตา) ............../.................../................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน พฤติกรรมท่ปี ฏิบัตชิ ัดเจนและสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ิชัดเจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ัติบางครงั้ ให้ 1 คะแนน

10. บันทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้ ผลการจัดการเรยี นรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญั หา/อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ……………………………………………. (นางสาวกรรณิกา ลกิ ัลตา) ตาแหน่ง ครู ความคิดเหน็ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...………………………………………………………………………………………………………………………………........... ลงชอ่ื ……………………………………………. (นายคมสนั มณศี รี) หวั หน้ากล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ความคดิ เห็นรองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...……………………………………………………………………………………………………………………….................... ลงชอื่ ……………………………………………. (นายไพฑูรย์ มณีจนั ทร์) รองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ความคดิ เหน็ ผู้อานวยการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……...……………………………………………………………………………………………………………………….................... ลงชอ่ื ……………………………………………. (นางสาวพรณภทั ร์ พงษ์วรชั ญพ์ ร) ผู้อานวยการโรงเรียนเทพสถติ วทิ ยา วนั ท.ี่ ...........เดอื น........................พ.ศ................

แบบฝึกหดั ที่ 3.2 เร่ือง การคูณเลขยกกาลัง เมอ่ื เลขช้กี าลังเปน็ จานวนเตม็ บวก คาชแ้ี จง : จงเขยี นผลคูณของจานวนต่อไปน้ใี นรปู เลขยกกาลัง 1) (-3)2  (-3)8 = ............................................... = ............................................... 2)  1 4   1 5 = ...............................................  10   10  = ............................................... = ............................................... 3) ((-7)3)6 = ............................................... = ............................................... 4)   5 7 4 = ...............................................   11     5) 62  (-10)2 6)  6 6   36 3  7   49  7) (79  (-6)3)2 8)   1 6  (-12)2 3   2    

เฉลยแบบฝกึ หัดท่ี 3.2 เรื่อง การคณู เลขยกกาลงั เม่ือเลขช้ีกาลงั เปน็ จานวนเตม็ บวก คาชี้แจง : จงเขยี นผลคณู ของจานวนต่อไปน้ีในรูปเลขยกกาลัง 1) (-3)2  (-3)8 = ................(.-.3..).1.0......................... = ............................................... 2)  1 4   1 5 = ................(.-.7..).1.8.........................  10   10  = ............................................... = ................(.-.6..0..).2........................ 3) ((-7)3)6 = ............................................... = ................7..1.8........(.-.6..).6............... 4)   5 7 4 = ...............................................   11     5) 62  (-10)2 6)  6 6   36 3  7   49  7) (79  (-6)3)2 8)   1 6  (-12)2 3   2    

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 20 รายวชิ าคณิตศาสตร์พน้ื ฐาน รหสั วิชา ค21101 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 ช่อื หน่วย เลขยกกาลัง เวลารวม 10 ชว่ั โมง เรอื่ ง การหารเลขยกกาลงั เมื่อเลขชกี้ าลังเป็นจานวนเต็มบวก เวลา 2 ชว่ั โมง ครูผสู้ อน นางสาวกรรณิกา ลกิ ลั ตา 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชี้วัด ค 1.1 ม.1/2 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกาลังท่ีมีเลขช้ีกาลังเป็นจานวนเต็มบวกในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ และปญั หาในชีวติ จริง 2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด การหารเลขยกกาลังทม่ี ีฐานเปน็ จานวนเดียวกันและฐานไม่เทา่ กับศูนย์ ผลหารท่ีได้จะเป็นเลขยกกาลังที่มีฐาน เทา่ เดมิ และมเี ลขช้ีกาลงั เทา่ กบั เลขช้ีกาลังของตวั ตง้ั ลบด้วยเลขช้ีกาลังของตวั หาร 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 หาผลหารของเลขยกกาลงั เมอื่ เลขช้ีกาลังเป็นจานวนเตม็ บวกได้ (K) 3.2 เขยี นอธบิ ายขน้ั ตอนวิธีการหาผลหารของเลขยกกาลงั เมื่อเลขชีก้ าลงั เป็นจานวนเตม็ บวกได้ (P) 3.3 รับผิดชอบตอ่ หน้าที่ทไี่ ด้รับมอบหมาย (A) 4. สาระการเรยี นรู้ เลขยกกาลังทมี่ เี ลขชก้ี าลงั เป็นจานวนเต็มบวก 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 5.1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 5.2. ความสามารถในการคดิ - การใหเ้ หตผุ ล การสรุปความรู้ การปฏบิ ัติ 5.3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 5.4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 6.1. มวี นิ ยั 6.2. ใฝเ่ รยี นรู้ 6.3. ม่งุ ม่ันในการทางาน 7. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชวั่ โมงท่ี 1 7.1 ข้ันจงู ใจเพือ่ เตรียมความพรอ้ ม (Motivation) : M 1. ครูทบทวนการหารเศษส่วน ดังนี้ “การหาผลหารของเศษส่วนทาได้โดยนาเศษส่วนท่ีเป็นตัวต้ังคูณด้วย ส่วนกลับของเศษส่วนท่ีเป็นตัวหาร” จากน้ันครูเขียนโจทย์บนกระดาน แล้วให้นักเรียนหาผลหารของ เศษส่วน เพอื่ เปน็ การทบทวนความรู้

ตัวอยา่ งโจทยก์ ารหารเศษส่วน 1) 11 2) - 56   1 3) -13   - 43  24  3   คาตอบโจทยก์ ารหารเศษสว่ น 1) 2 2) - 5 = -2 1 3) 4 6 2 9 2. ครูสนทนากับนักเรียนเพ่ือทบทวนสมบัตขิ องการคณู เลขยกกาลงั เมอ่ื เลขชี้กาลังเปน็ จานวนเต็มบวก ดงั นี้ - สมบตั ิ 1 กาหนดให้ a แทนจานวนใด ๆ และ m, n แทนจานวนเตม็ บวก am  an = am+n - สมบตั ิ 2 กาหนดให้ a แทนจานวนใด ๆ และ m, n แทนจานวนเต็มบวก (am)n = am × n - สมบตั ิ 3 กาหนดให้ a, b แทนจานวนใด ๆ และ m แทนจานวนเตม็ บวก am  bm = (a  b)m - สมบตั ิ 4 กาหนดให้ a, b แทนจานวนใด ๆ และ m, n, k แทนจานวนเตม็ บวก (am bn)k = am × k  bn × k 3. ครยู กตวั อยา่ งการหาผลหารของเลขยกกาลงั 57 ในหนงั สือเรียน หนา้ 118 บนกระดาน พรอ้ มกับถาม 54 คาถาม ดังน้ี  57 เขียนในรปู การคูณของฐานเปน็ จานวนซา้ ๆ กันได้อยา่ งไร (แนวตอบ 5  5  5  5  5  5  5)  54 เขียนในรูปการคูณของฐานเปน็ จานวนซ้า ๆ กันได้อยา่ งไร (แนวตอบ 5  5  5  5) 57  54 เขียนในรปู การคูณของฐานเปน็ จานวนซ้า ๆ กนั ได้อยา่ งไร (แนวตอบ 5555555 ) 5555  57 เขียนในรปู เลขยกกาลงั ได้อย่างไร 54 (แนวตอบ 53 ) 7.2 ขั้นปฏบิ ตั ิ (Action) : A 1. ครใู ห้นกั เรียนศึกษาตัวอย่างการหาผลหารของเลขยกกาลัง ในเล่มแบบฝกึ ทักษะเลม่ ที่ 3 จากนน้ั ครกู ลา่ ว ว่า “จากตัวอย่างข้อ 1) และ 2) นักเรยี นจะเห็นวา่ มผี ลหารอยู่ในรปู เลขยกกาลงั แต่ขอ้ 3) และ 4) ผลหารทไ่ี ดย้ งั ไม่อยู่ในรูปเลขยกกาลงั และในระดบั ช้ันนี้นกั เรียนจะไดเ้ รยี นรู้เฉพาะผลหารของเลขยก กาลงั ทม่ี ฐี านเป็นจานวนเดยี วกัน” 2. ครกู ล่าวถึงการหาผลหารของ am  an เมอ่ื a แทนจานวนใด ๆ ท่ีไมเ่ ท่ากับศนู ย์ และ m, n แทน จานวนเตม็ บวก ซ่ึงแบง่ การพิจารณาเป็น 3 กรณี ดงั น้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook