Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผน-merged-compressed

แผน-merged-compressed

Published by ทัศนีย์ วงทองดี, 2018-10-12 00:28:13

Description: แผน-merged-compressed

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื งระบบร่างกายมนษุ ยแ์ ละสัตว์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 22101 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 เวลา 12 ชว่ั โมง ครผู ู้สอน นางสาวทัศนยี ์ วงทองดี โรงเรียน หันคาราษฎรร์ ังสฤษด์ิ1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั ว 1.1 ม.2/1 อธบิ ายโครงสร้างและการทางานของระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวยี นเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถา่ ย ระบบสืบพนั ธุข์ องมนษุ ย์และสัตว์ รวมท้ังระบบประสาทของมนุษย์ ว 8.1 ม.1-3/1 ต้งั คาถามท่ีกาหนดประเด็นหรือตวั แปรท่สี าคัญในการสารวจ ตรวจสอบ หรอื ศกึ ษาคน้ ควา้ เร่อื งทส่ี นใจได้อย่างครอบคลมุ และเชือ่ ถอื ได้ ม.1-3/2 สร้างสมมติฐานท่ีสามารถตรวจสอบได้ และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลายๆ วิธี ม.1-3/3 เลือกเทคนิควิธกี ารสารวจตรวจสอบทง้ั เชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพท่ีไดผ้ ลเทีย่ งตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดแุ ละเครื่องมือที่เหมาะสม ม.1-3/4 รวบรวมขอ้ มูล จดั กระทาข้อมูลเชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ ม.1-3/5 วเิ คราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจกั ษ์พยานกับขอ้ สรปุ ทง้ั ท่ีสนบั สนุนหรือขัดแย้งกับสมมติฐานและความผดิ ปกติของข้อมูลจากการสารวจตรวจสอบ ม.1-3/6 สร้างแบบจาลอง หรือรปู แบบทอ่ี ธิบายผลหรอื แสดงผลของการสารวจตรวจสอบ ม.1-3/9 จัดแสดงผลงาน เขยี นรายงาน และ/หรืออธิบายเกยี่ วกบั แนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือช้นิ งานใหผ้ ้อู ื่นเข้าใจ2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด รา่ งกายมนุษยแ์ ละสตั ว์ ประกอบด้วย ระบบย่อยอาหาร ระบบไหลเวียนเลอื ด ระบบหายใจ ระบบขับถา่ ย ของมนุษย์และสัตว์จะมกี ารทางานทีป่ ระสานสมั พันธ์กนั อยา่ งเป็นระบบ ทาให้มนษุ ยแ์ ละสัตว์ดารงชีวิตอยูไ่ ด้อย่างปกติ3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

1) ระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลอื ด ระบบหายใจ ระบบขบั ถ่ายของมนุษย์ในแต่ละระบบ ประกอบด้วย อวยั วะหลายชนดิ ที่ทางานอย่างเปน็ ระบบ 2) ระบบย่อยอาหาร ระบบหมนุ เวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขบั ถ่ายของสัตว์ประกอบด้วย อวัยวะหลายชนดิ ท่ีทางานอย่างเปน็ ระบบ 3.2 ทกั ษะกระบวนการ (P) อธบิ าย สบื ค้น ทดลอง เขียน 3.3 คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) มวี นิ ยั ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มนั่ ในการทางาน 3.4 สมรรถนะสาคัญผเู้ รยี น (C) 3.4.1 ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการเช่อื มโยง 2) ทกั ษะการสร้างความรู้ 3) ทักษะการนาความรู้ไปใช้ 3.4.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต4. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1. สมดุ ภาพ เรอ่ื ง ระบบรา่ งกายสตั ว์ (ระบบย่อยอาหาร ระบบไหลเวยี นเลอื ด ระบบหายใจ และระบบขบั ถา่ ย) (ชิ้นงานที่ 1) 2. สมุดภาพ เรอื่ ง ระบบร่างกายมนษุ ย์ (ระบบย่อยอาหาร ระบบไหลเวียนเลือด ระบบหายใจ และระบบขบั ถ่าย) (ชน้ิ งานที่ 2)แบบประเมนิ สมุดภาพ เรอื่ ง ระบบรา่ งกายสัตว์ (ระบบย่อยอาหาร ระบบไหลเวยี นเลือด ระบบหายใจ และระบบขับถา่ ย)รายการประเมนิ ดีมาก (4) คาอธิบายระดับคณุ ภาพ / ระดบั คะแนน ปรบั ปรงุ (1) ดี (3) พอใช้ (2)1. การอธิบาย อธิบายโครงสร้างและ อธิบายโครงสร้างและ อธิบายโครงสร้างและ อธบิ ายโครงสร้างโครงสรา้ งและการ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวัยวะ การทางานของอวยั วะ และการทางานของทางานของอวัยวะ ในระบบย่อยอาหาร ในระบบย่อยอาหาร ในระบบยอ่ ยอาหาร อวัยวะในระบบย่อยในระบบย่อยอาหาร ได้ถูกตอ้ ง ชัดเจน ได้ถูกตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ ได้ถูกต้องเปน็ สว่ นใหญ่ อาหารไดถ้ กู ตอ้ งเปน็ ครบทกุ อวัยวะ ครบทุกอวัยวะ ไมค่ รบทกุ อวยั วะ สว่ นน้อย ไมค่ รบทุก อวัยวะ2. การอธิบาย อธิบายโครงสรา้ งและ อธิบายโครงสร้างและ อธบิ ายโครงสร้างและ อธบิ ายโครงสร้างโครงสร้างและการ การทางานของอวัยวะ การทางานของอวัยวะ การทางานของอวยั วะ และการทางานของ

ทางานของอวัยวะ ในระบบไหลเวียน ในระบบไหลเวยี นเลอื ด ในระบบไหลเวียนเลือด อวัยวะในระบบ ในระบบไหลเวยี น เลือด เลอื ด ไดถ้ ูกต้องเปน็ ส่วนใหญ่ ได้ถูกตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ ไหลเวียนเลอื ด3. การอธบิ าย ได้ถูกตอ้ ง ชดั เจน ครบทกุ อวยั วะ ไมค่ รบทกุ อวัยวะ ได้ถูกตอ้ งเปน็ ส่วน โครงสรา้ งและการ ทางานของอวยั วะ ครบทุกอวยั วะ น้อย ไม่ครบทุก ในระบบหายใจ อวยั วะ4. การอธบิ าย โครงสร้างและการ อธิบายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสร้างและ อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสร้าง ทางานของอวยั วะ ในระบบขับถา่ ย การทางานของอวยั วะ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวยั วะ และการทางานของ ในระบบหายใจ ในระบบหายใจ ในระบบหายใจ อวยั วะในระบบ ไดถ้ ูกตอ้ ง ชัดเจน ไดถ้ กู ตอ้ งเปน็ ส่วนใหญ่ ไดถ้ กู ต้องเป็นสว่ นใหญ่ หายใจไดถ้ กู ต้องเปน็ ครบทุกอวัยวะ ครบทุกอวยั วะ ไมค่ รบทุกอวยั วะ สว่ นนอ้ ย ไม่ครบทุก อวยั วะ อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธิบายโครงสรา้ งและ อธิบายโครงสร้างและ อธบิ ายโครงสรา้ ง การทางานของอวยั วะ การทางานของอวัยวะ การทางานของอวัยวะ และการทางานของ ในระบบขบั ถา่ ย ในระบบขับถ่าย ในระบบขับถ่าย อวยั วะในระบบ ได้ถกู ตอ้ ง ชัดเจน ไดถ้ ูกตอ้ งเปน็ ส่วนใหญ่ ได้ถูกต้องเปน็ ส่วนใหญ่ ขบั ถา่ ยได้ถูกต้องเปน็ ครบทุกอวยั วะ ครบทุกอวัยวะ ไมค่ รบทกุ อวยั วะ ส่วนนอ้ ย ไมค่ รบทุก อวยั วะเกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพช่วงคะแนน 14 - 16 11 - 13 8 - 10 ตา่ กวา่ 8ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุแบบประเมินสมดุ ภาพ เรือ่ ง ระบบรา่ งกายมนษุ ย์ (ระบบย่อยอาหาร ระบบไหลเวียนเลอื ด ระบบหายใจ และระบบขบั ถา่ ย)รายการประเมนิ ดมี าก (4) คาอธิบายระดับคณุ ภาพ / ระดับคะแนน ปรับปรงุ (1) ดี (3) พอใช้ (2)1. การอธิบาย อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธิบายโครงสรา้ งและ อธิบายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสรา้ งโครงสร้างและ การทางานของอวัยวะ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวัยวะ และการทางานของการทางานของ ในระบบย่อยอาหาร ในระบบยอ่ ยอาหาร ในระบบยอ่ ยอาหาร อวัยวะในระบบยอ่ ยอวัยวะในระบบย่อย ได้ถูกตอ้ ง ชัดเจน ได้ถกู ต้องเป็นสว่ นใหญ่ ไดถ้ ูกต้องเปน็ สว่ นใหญ่ อาหารได้ถูกตอ้ งเปน็อาหาร ครบทกุ อวยั วะ ครบทุกอวัยวะ ไม่ครบทกุ อวยั วะ สว่ นน้อย ไมค่ รบทุก

อวยั วะ2. การอธิบาย อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธิบายโครงสร้างและ อธบิ ายโครงสร้างและ อธบิ ายโครงสร้าง โครงสร้างและ การทางานของ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวัยวะ การทางานของอวยั วะ และการทางานของ อวัยวะในระบบ ไหลเวยี นเลือด ในระบบไหลเวยี น ในระบบไหลเวยี นเลอื ด ในระบบไหลเวียนเลอื ด อวัยวะในระบบ3. การอธิบาย เลอื ด ได้ถกู ต้องเป็นส่วนใหญ่ ได้ถกู ตอ้ งเปน็ ส่วนใหญ่ ไหลเวียนเลอื ด โครงสร้างและ การทางานของ ไดถ้ กู ต้อง ชดั เจน ครบทกุ อวยั วะ ไม่ครบทุกอวัยวะ ได้ถูกต้องเป็นสว่ น อวัยวะในระบบ หายใจ ครบทุกอวัยวะ นอ้ ย ไมค่ รบทุก4. การอธบิ าย อวยั วะ โครงสร้างและ การทางานของ อธบิ ายโครงสร้างและ อธิบายโครงสรา้ งและ อธิบายโครงสร้างและ อธบิ ายโครงสร้าง อวัยวะในระบบ ขับถา่ ย การทางานของอวยั วะ การทางานของอวัยวะ การทางานของอวัยวะ และการทางานของ ในระบบหายใจ ในระบบหายใจ ในระบบหายใจ อวัยวะในระบบ ไดถ้ กู ต้อง ชดั เจน ไดถ้ ูกตอ้ งเปน็ ส่วนใหญ่ ได้ถกู ต้องเปน็ ส่วนใหญ่ หายใจได้ถูกต้องเป็น ครบทุกอวยั วะ ครบทกุ อวัยวะ ไมค่ รบทกุ อวยั วะ สว่ นน้อย ไมค่ รบทกุ อวัยวะ อธิบายโครงสรา้ งและ อธิบายโครงสร้างและ อธบิ ายโครงสร้างและ อธิบายโครงสร้าง การทางานของอวัยวะ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวัยวะ และการทางานของ ในระบบขับถา่ ย ในระบบขบั ถ่าย ในระบบขับถ่าย อวยั วะในระบบ ไดถ้ กู ต้อง ชดั เจน ได้ถกู ต้องเป็นสว่ นใหญ่ ได้ถูกต้องเป็นสว่ นใหญ่ ขบั ถ่ายไดถ้ กู ต้องเป็น ครบทุกอวยั วะ ครบทกุ อวยั วะ ไมค่ รบทุกอวัยวะ สว่ นน้อย ไม่ครบทุก อวยั วะเกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพช่วงคะแนน 14 - 16 11 - 13 8 - 10 ตา่ กว่า 8ระดบั คุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง5. การวัดและการประเมนิ ผล 5.1 การประเมนิ ก่อนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง ระบบร่างกายมนษุ ย์และสตั ว์(ตอนท่ี 1) 5.2 การประเมินระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1) ตรวจใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง การจัดระบบในรา่ งกาย 2) ตรวจใบงานที่ 1.2 เรื่อง ระบบยอ่ ยอาหารของสตั ว์ 3) ตรวจใบงานท่ี 1.3 เรือ่ ง การย่อยสารอาหาร

4) ตรวจใบงานที่ 1.4 เร่อื ง ระบบย่อยอาหารของมนุษย์ 5) ตรวจใบงานท่ี 1.5 เรื่อง ระบบไหลเวียนเลือดของสัตว์ 6) ตรวจใบงานที่ 1.6 เรอ่ื ง โครงสร้างและการทางานของหัวใจ 7) ตรวจใบงานท่ี 1.7 เร่ือง ระบบหายใจของสตั ว์ 8) ตรวจใบงานท่ี 1.8 เรือ่ ง ระบบหายใจของมนุษย์ 9) ตรวจแบบบันทึกการอา่ น 10) ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 11) สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล 12) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ 13) สังเกตคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 5.3 การประเมนิ หลงั เรียน - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เรอื่ ง ระบบร่างกายมนุษยแ์ ละสตั ว์(ตอนที่ 1) 5.4 การประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1) ตรวจสมดุ ภาพ เรื่อง ระบบรา่ งกายสตั ว์ (ระบบย่อยอาหาร ระบบไหลเวยี นเลือด ระบบหายใจ และระบบขบั ถา่ ย) 2) ตรวจสมุดภาพ เรอ่ื ง ระบบรา่ งกายมนุษย์ (ระบบย่อยอาหาร ระบบไหลเวยี นเลือด ระบบหายใจ และระบบขับถา่ ย)6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 6.1 ชว่ั โมงที่ 1-2 เรอื่ งท่ี 1 การจดั ระบบในร่างกาย จดั วิธกี ารสอนโดยกระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขัน้ ที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) ครใู หน้ ักเรยี นดูแผนภาพแสดงการจัดระบบในรา่ งกาย แล้วสนทนากับนกั เรยี นว่ารา่ งกายของมนุษย์และสตั วป์ ระกอบขนึ้ จากหน่วยทม่ี ขี นาดเล็กทส่ี ดุ คือ เซลล์ ขั้นที่ 2 สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูถามนักเรยี นวา่ รา่ งกายของเรานั้นประกอบด้วยระบบใดบ้าง จากน้ันครูอธิบายเกยี่ วกับระบบต่างๆ ในร่างกายของมนุษย์และสัตว์ ให้นกั เรียนฟัง 2. ครูแบง่ นักเรยี นเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ แลว้ ใหส้ มาชิกในกลมุ่ เลือกหมายเลขประจาตวั ต้งั แต่หมายเลข 1-4 สมาชกิ แตล่ ะหมายเลขศึกษาความร้เู รอ่ื ง การจัดระบบในรา่ งกาย จากหนงั สือเรยี น หอ้ งสมุด และแหล่งข้อมลู สารสนเทศ ดงั นี้- หมายเลข 1 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง ระดับเซลล์ - หมายเลข 2 ศกึ ษาความรูเ้ ร่ือง ระดบั เน้ือเยื่อ- หมายเลข 3 ศึกษาความรู้เร่อื ง ระดับอวัยวะ - หมายเลข 4 ศกึ ษาความร้เู รือ่ ง ระดบั ระบบร่างกาย

ข้นั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain) 1. สมาชกิ แตล่ ะหมายเลขผลดั กันอธิบายความรทู้ ี่ไดจ้ ากการศึกษาให้สมาชิกหมายเลขอื่นๆ ภายในกล่มุ ฟงั และช่วยกันทาใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง การจดั ระบบในรา่ งกาย 2. ครสู ่มุ นกั เรยี น 3-4 กลุ่ม นาเสนอใบงานที่ 1.1 หนา้ ชัน้ เรียน ครแู ละเพื่อนกลุม่ อน่ืชว่ ยกันตรวจสอบความถกู ต้อง ขน้ั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครูจับสลากเลือกตัวแทนกลุ่ม นาภาพอวยั วะที่ครแู จกใหม้ าตดิ บนภาพโครงร่างของมนษุ ยท์ ่ีอยู่บนกระดานให้ถูกตอ้ งตามตาแหน่ง 2. ครูนาภาพแสดงอวยั วะตา่ งๆ ของร่างกาย มาติดบนกระดาน เพอ่ื เปรียบเทยี บคาตอบกบั นกั เรยี น จากน้นั ครูสมุ่ นกั เรียนทลี ะคนบอกชอื่ อวยั วะและหน้าทตี่ ามหมายเลขบนบัตรภาพ ข้ันท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) ครูตรวจสอบนักเรียนจากการทาใบงานท่ี 1.1 และจากการอธบิ ายตาแหนง่ และหน้าท่ีของอวยั วะตา่ งๆในร่างกาย 6.2 ชว่ั โมงท่ี 3 เรื่องที่ 2 ระบบย่อยอาหารของสัตว์ จัดวธิ กี ารสอนโดยกระบวนการ เรยี นรูแ้ บบรว่ มมือ : เทคนิคคคู่ ดิ สี่สหาย ขน้ั นาเข้าสูบ่ ทเรียน 1. ครอู ธิบายเก่ียวกับลักษณะรูปรา่ ง แหลง่ ท่ีอยู่อาศยั และการดารงชวี ิตของฟองน้าและไฮดรา ประกอบภาพ ให้นักเรียนฟงั 2. ครูถามนักเรียนวา่ ระบบย่อยอาหารของฟองน้าและไฮดรามีความเหมือนหรือแตกตา่ งจากสัตว์ทว่ั ไปอย่างไร ขัน้ สอน 1. ครูให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันศกึ ษาความรู้เร่ือง ระบบย่อยอาหารของสัตว์ จากหนงั สอื เรยี น ห้องสมดุ และแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ โดยแบง่ หนา้ ท่ีในการศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู ให้สมาชิกในกลุ่มตามประเด็นท่กี าหนด ดังนี้ 1) การยอ่ ยอาหารของสตั ว์ที่ไม่มีทางเดนิ อาหาร 2) การยอ่ ยอาหารของสตั วท์ ี่มที างเดนิ อาหารไม่สมบรู ณ์ 3) การยอ่ ยอาหารของสัตว์ท่ีมที างเดินอาหารสมบรู ณ์ 2. สมาชิกแต่ละคนผลดั กันอธิบายความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการศึกษาตามประเดน็ ที่ได้รับมอบหมายใหส้ มาชกิ ในกลุม่ ฟัง จนมคี วามเขา้ ใจทตี่ รงกนั 3. ครสู ่มุ นกั เรียน 2 คน อธบิ ายการทางานของระบบยอ่ ยอาหารของปลาและแมลงประกอบภาพหน้าช้ันเรียนครูตรวจสอบความถูกต้อง

4. สมาชกิ ในกลมุ่ จับคู่กนั เป็น 2 คู่ ให้แต่ละคู่ช่วยกนั ทาใบงานที่ 1.2 เรอ่ื ง ระบบย่อยอาหารของสตั ว์ 5. สมาชกิ แตล่ ะคู่กลับกลุ่มเดิม (4 คน) แลว้ ผลดั กันอธบิ ายคาตอบในใบงานท่ี 1.2 ให้สมาชิกอีกคหู่ นงึ่ ที่อย่ใู นกลุ่มเดยี วกันฟัง 6. ครูคดั เลอื กใบงานท่ี 1.2 ของนกั เรยี น 5-6 กลุ่ม แล้วให้กลมุ่ เจ้าของใบงานนาเสนอและใหเ้ พือ่ นกลุม่ อืน่ ชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ข้ันสรปุ ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ความรเู้ รื่อง ระบบยอ่ ยอาหารของสตั ว์ระบบยอ่ ยอาหารของสตั ว์ 6.3 ชัว่ โมงที่ 4-5 เรอื่ ง ระบบย่อยอาหารของมนุษย์ จดั วธิ กี ารสอนโดยกระบวนการกลุม่ สัมพันธ์ ขน้ั ท่ี 1 นาเข้าสูบ่ ทเรยี น ครูให้นกั เรียนดูวีซดี เี ก่ยี วกบั ระบบยอ่ ยอาหารของมนุษย์ แล้วถามนักเรียนว่า ระบบย่อยอาหารมคี วามสาคญั อยา่ งไรต่อการดารงชวี ิตของสิง่ มีชีวิต ข้นั ท่ี 2 จดั การเรยี นรู้ 1. ครูนาภาพโครงสรา้ งระบบยอ่ ยอาหารของมนุษย์ มาใหน้ ักเรียนดู แล้วใหน้ ักเรียนช่วยกันบอกว่า ระบบย่อยอาหารของมนษุ ย์ ประกอบด้วยอวยั วะใดบา้ ง จากน้ันครถู ามนักเรียนวา่ อวยั วะแต่ละชนิดในระบบย่อยอาหารของมนุษยม์ ีหน้าที่อย่างไร 2. สมาชกิ แต่ละกลุ่มร่วมกนั ศึกษาความรู้เรอ่ื ง ระบบย่อยอาหารของมนุษย์ จากหนังสือเรียน 3. ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุม่ ทาการทดลองเกยี่ วกับการย่อยสารอาหาร ตามขั้นตอนท่ีกาหนดในใบงานท่ี 1.3 เร่อื ง การยอ่ ยสารอาหาร ขั้นที่ 3 สรุปและนาหลักการไปประยกุ ต์ใช้ 1. ครูสมุ่ นักเรียน 5-6 กลุ่ม นาเสนอใบงานท่ี 1.3 2. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรปุ ความรเู้ กย่ี วกับการย่อยสารอาหาร 3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มนาผลการสรปุ เกยี่ วกบั การย่อยสารอาหารมาเป็นพื้นฐานในการทาใบงานที่ 1.4 เรือ่ ง ระบบย่อยอาหารของมนุษย์ เสร็จแล้วเกบ็ รวบรวมใบงานสง่ ครู ขั้นที่ 4 วดั และประเมินผล ครูวดั และประเมนิ ผลนักเรียนจากการทาใบงานที่ 1.3-1.4 6.4 ชั่วโมงท่ี 6 เรอ่ื ง ระบบไหลเวียนเลือดของสตั ว์ จดั วธิ ีการสอนโดยกระบวนการเรยี นรู้แบบร่วมมอื : เทคนิคค่คู ดิ

ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรียน 1. ครถู ามนักเรยี นว่า อาหารทผ่ี ่านการย่อยแลว้ น้ัน จะถกู ส่งผ่านไปยังสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายไดอ้ ยา่ งไร 2. ครูเฉลยคาตอบและอธิบายเกี่ยวกบั ระบบไหลเวยี นเลอื ด ใหน้ กั เรยี นฟงั ขน้ั สอน 1. ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละคนศึกษาความรู้เร่ือง ระบบไหลเวยี นเลอื ดของสตั ว์ จากหนงั สือเรยี น จากนน้ั ครนู าแผนภมู ิแสดงระบบไหลเวยี นเลือดแบบเปิดและแบบปิด มาใหน้ กั เรยี นดู พรอ้ มอธบิ ายประกอบ และรว่ มกนั สรุปว่า สตั วไ์ ม่มีกระดูกสนั หลังและสัตว์มีกระดูกสนั หลังมรี ะบบไหลเวยี นเลือดแบบใด 2. ครูจบั สลากเลือกนักเรียน 2-3 คน แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสาคญั ของระบบไหลเวยี นเลอื ดที่มีต่อรา่ งกาย 3. นักเรียนแต่ละคนทาใบงานที่ 1.5 เร่ือง ระบบไหลเวยี นเลือดของสตั ว์ 4. นกั เรยี นแตล่ ะคนแลกเปล่ยี นใบงานท่ี 1.5 กับเพื่อนที่นง่ั ขา้ งๆ ช่วยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง และนาใบงานสง่ ครู ขน้ั สรปุ นกั เรียนรว่ มกันสรปุ ความร้เู กี่ยวกับโครงสรา้ งและการทางานของอวัยวะในระบบไหลเวียนเลือดของสัตว์ ครูตรวจสอบความถกู ต้อง 6.5 ชั่วโมงที่ 7-8 เรอื่ ง ระบบไหลเวียนเลอื ดของมนุษย์ จดั วิธีการสอนโดยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขั้นที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครสู นทนากบั นักเรียนเกี่ยวกับระบบไหลเวียนเลอื ดแบบเปิดและแบบปดิ แลว้ ถามนกั เรยี นวา่ คนเรามีระบบไหลเวยี นเลือดแบบใด 2. ครูให้นกั เรยี นช่วยกนั เรียงลาดบั เหตกุ ารณเ์ ก่ยี วกับการไหลเวียนเลือด จากบตั รคาที่ครนู ามาใหด้ ู ขนั้ ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกนั ศึกษาความรู้เร่อื ง ระบบไหลเวยี นเลือดของมนษุ ย์ จากหนงั สือเรียน ขั้นที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explain) สมาชกิ แตล่ ะคนนาความรู้ที่ได้จากการศึกษามาอธิบายรว่ มกนั ภายในกลมุ่ และช่วยกนัตรวจสอบผลการเรียงลาดับเหตุการณก์ ารไหลเวยี นเลือดในข้ันท่ี 1 แล้วนาเสนอหนา้ ช้นั เรยี น เพ่ือนกลมุ่ อ่นืชว่ ยเสนอแนะเพ่ิมเติม ข้ันท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Expand)

1. ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ นาความร้เู ก่ียวกับระบบไหลเวียนเลือดท่ีไดจ้ ากการศึกษามาตอบคาถามในเอกสารประกอบการสอน แล้วสง่ ตวั แทนกล่มุ นาเสนอคาตอบหน้าช้นั เรียน สมาชกิ กล่มุ อน่ืช่วยแสดงความคดิ เห็นเพมิ่ เติมในส่วนทแ่ี ตกต่าง 2. สมาชกิ แต่ละกล่มุ ชว่ ยกนั ทาใบงานท่ี 1.6 เร่อื ง โครงสร้างและการทางานของหวั ใจ ขัน้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) ครตู รวจสอบผลนักเรียนจากการทาใบงานที่ 1.6 และจากการอธิบายระบบไหลเวียนเลอื ดของมนุษย์ 6.6 ชัว่ โมงที่ 9 เร่อื ง ระบบหายใจของสตั ว์ วธิ สี อนโดยการจัดการเรยี นรู้แบบรว่ มมอื : เทคนิคกลุ่มสืบคน้ ขน้ั นาเข้าสู่บทเรยี น 1. ครูให้นกั เรยี นดภู าพสัตวช์ นดิ ต่างๆ แลว้ วเิ คราะห์วา่ สัตวแ์ ตล่ ะชนดิ ใช้อวัยวะใดในการหายใจ 2. ครอู ธิบายให้นักเรียนฟงั เกยี่ วกับระบบหายใจของสัตว์ เพื่อให้เห็นความสาคัญของระบบหายใจที่มตี ่อสง่ิ มชี วี ติ ขั้นสอน 1. นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันศึกษาความรเู้ รื่อง ระบบหายใจของสตั ว์ จากหนังสอื เรยี น 2. ครูสมุ่ ตัวแทนนักเรยี น 3 กลมุ่ แสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับโครงสร้างและการทางานของระบบหายใจของไฮดรา แมลง และปลา ประกอบภาพ ครแู ละเพอ่ื นกล่มุ อ่ืนชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกต้อง 3. สมาชกิ แต่ละกลุ่มช่วยกนั สืบค้นขอ้ มูลเก่ยี วกับระบบหายใจของสัตว์ 1 ชนดิ แล้วบันทกึ ผลลงในใบงานท่ี 1.7 เรอ่ื ง ระบบหายใจของสัตว์ 4. สมาชิกแต่ละกลมุ่ นาเสนอใบงานท่ี 1.7 หน้าชั้นเรียน จนครบทกุ กลมุ่ ขั้นสรปุ นกั เรยี นทั้งห้องร่วมกันสรปุ ความร้เู รือ่ ง ระบบหายใจของสัตว์ ครูตรวจสอบความถูกตอ้ ง 6.7 ช่ัวโมงที่ 10-11 เรือ่ ง ระบบหายใจของมนษุ ย์ วิธสี อนโดยการจัดการเรยี นรู้แบบทดลอง ข้นั ท่ี 1 เตรียมการทดลอง 1. ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ะคนหายใจเข้าและหายใจออกอยา่ งชา้ ๆ แล้วสังเกตลักษณะของทอ้ ง ว่ามีการพองหรือยุบอย่างไร จากนัน้ ให้จบั คู่กับเพ่อื น แล้วผลัดกันหายใจเขา้ และหายใจออก ให้สังเกตลักษณะท้องและอวยั วะสว่ นอื่นๆ วา่ มกี ารเคลื่อนที่อกี หรอื ไม่ 2. ครใู หน้ ักเรียนช่วยกันบอกวา่ ลกั ษณะของท้องขณะท่ีหายใจเขา้ และหายใจออกอวัยวะทมี่ ีการเคล่ือนท่ีขณะหายใจมีอะไรบ้าง 3. นกั เรียนกลุ่มเดิมร่วมกนั ศึกษาความรู้เรอื่ ง ระบบหายใจของมนษุ ย์ จากหนงั สือเรยี น

4. ครูแจง้ ให้นักเรียนทราบวา่ ครูจะให้นกั เรียนสร้างแบบจาลองการทางานของปอดเพ่อื นามาเปรียบเทยี บกบั การทางานของปอดในร่างกายมนุษย์ ขน้ั ที่ 2 ดาเนินการทดลอง สมาชิกแตล่ ะกล่มุ ชว่ ยกันสร้างแบบจาลองการทางานของปอด และทากิจกรรมตามขั้นตอนที่กาหนด แล้วบันทึกผลลงในใบงานท่ี 1.8 เร่ือง ระบบหายใจของมนุษย์ ขั้นที่ 3 นาเสนอผลการทดลอง ตวั แทนกลุ่มนาเสนอใบงานท่ี 1.8 หนา้ ชั้นเรยี น พร้อมแบบจาลอง ขั้นที่ 4 สรุปผลการทดลอง ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปผลการทดลอง โดยครูต้ังประเด็นคาถาม แล้วใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มชว่ ยกันตอบเพื่อใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ ทีต่ รงกนั ขน้ั ที่ 5 ประเมินผลการทดลอง ครปู ระเมินผลนกั เรียนจากการทาการทดลองและสรุปผลการทดลองในใบงานท่ี 1.8 6.8 ชั่วโมงที่ 12 เร่อื ง ระบบขบั ถ่ายของสัตว์ วธิ ีสอนโดยการจัดการเรยี นรู้แบบกระบวนการสร้างความตระหนัก ขั้นท่ี 1 สงั เกต ครสู นทนากบั นักเรยี นเกีย่ วกับระบบตา่ งๆ ของร่างกาย แล้วถามนักเรยี นว่า เม่ือกล่าวถึงระบบขบั ถา่ ย นกั เรยี นนกึ ถงึ สิ่งใด และนักเรียนคดิ วา่ สตั วม์ ีการกาจดั ของเสยี ในรา่ งกายรูปแบบใด ขั้นที่ 2 วเิ คราะหว์ ิจารณ์ 1. นกั เรียนกล่มุ เดิมร่วมกันศึกษาความรเู้ รื่อง ระบบขับถ่ายของสัตว์ จากหนังสือเรียน 2. ครูใหน้ ักเรียนดูภาพระบบขบั ถา่ ยของไส้เดือนดิน พลานาเรีย แมลง และปลา แลว้สมุ่ ตวั แทนนกั เรยี น 4 กลุม่ วเิ คราะห์โครงสรา้ งและการทางานของอวยั วะในระบบขับถ่ายของสตั วใ์ นภาพ 3. เพ่อื นกลุม่ อ่ืนช่วยกนั วจิ ารณผ์ ลการวเิ คราะหข์ องเพื่อนกล่มุ ทีน่ าเสนอ ครูตรวจสอบความถกู ต้อง 4. สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกนั แสดงความคดิ เหน็ วา่ เพราะเหตุใด สัตว์ทุกชนดิ จงึ ตอ้ งมีระบบขับถา่ ย หรือมีการกาจัดของเสียออกจากรา่ งกาย ข้ันท่ี 3 สรุป นักเรียนและครูร่วมกนั สรุปความรูเ้ กี่ยวกบั โครงสร้างและการทางานของอวัยวะในระบบขบั ถ่ายของสตั ว์ 6.9 ชั่วโมงท่ี 13-14 เร่ือง ระบบขบั ถา่ ยของมนุษย์ จดั วธิ ีการสอนโดยกระบวนการเรยี นความรู้ความเข้าใจ ขน้ั ท่ี 1 สงั เกต ตระหนกั

1. ครใู หน้ ักเรียนชว่ ยกันบอกกิจวตั รประจาวนั ของนักเรียนหลังจากตืน่ นอนตอนเชา้ วา่มีอะไรบา้ ง จากน้นั ครูอธบิ ายเพิม่ เติม โดยเชอ่ื มโยงเป็นการขบั ถา่ ยปัสสาวะและอจุ จาระ 2. ครถู ามนักเรียนว่า อวยั วะใดในร่างกายท่ีมสี ่วนช่วยในการขับของเสียออกจากร่างกาย และมีหน้าที่อย่างไร ข้ันที่ 2 วางแผนปฏิบตั ิ สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเลือกหมายเลขประจาตัว ต้งั แต่หมายเลข 1-4 แล้วให้แต่ละหมายเลขวางแผนในการศึกษาความรู้เร่ือง ระบบขบั ถา่ ยของมนษุ ย์ ตามหวั ขอ้ ที่ไดร้ บั มอบหมาย ดังน้ี - หมายเลข 1 ศกึ ษาความรู้เรื่อง ไต - หมายเลข 2 ศกึ ษาความร้เู รื่อง ผิวหนัง - หมายเลข 3 ศึกษาความรู้เรื่อง ปอด - หมายเลข 4 ศกึ ษาความรู้เรื่อง ลาไสใ้ หญ่ ขัน้ ที่ 3 ลงมอื ปฏบิ ตั ิ สมาชกิ แตล่ ะหมายเลขลงมือศกึ ษาความรู้เก่ยี วกบั ระบบขับถ่ายของมนุษย์ ในหัวข้อทไี่ ด้รบัมอบหมาย จากหนังสือเรียน หอ้ งสมุด และแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ ตามขัน้ ตอนท่ีได้วางแผนไว้ ขัน้ ท่ี 4 พัฒนาความรู้ ความเข้าใจ 1. สมาชกิ แต่ละหมายเลขนาความรู้ที่ไดจ้ ากการศึกษามาสรปุ แลว้ เขียนเปน็ แผนผงัความคดิ และนามาอธิบายให้สมาชกิ หมายเลขอื่นๆ ในกลุ่มฟงั เพ่ือใหเ้ กดิ ความเข้าใจที่ตรงกัน 2. ครูจับสลากเลือกนกั เรียน 3-4 คน อธบิ ายเกย่ี วกับอวยั วะในระบบขับถ่ายของมนุษย์วธิ กี ารกาจดั ของเสยี และรูปแบบการกาจัดของเสีย ข้ันท่ี 5 สรุป นักเรียนทัง้ ห้องร่วมกันสรปุ ความรู้เกีย่ วกบั โครงสร้างและการทางานของอวัยวะในระบบขบั ถ่ายของมนษุ ย์7. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้ 7.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียน วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 2) แบบวดั และบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ม.2 3) บทเรยี นคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite วทิ ยาศาสตร์ ม.2 บรษิ ทั เพลย์เอเบลิจากัด 4) เอกสารประกอบการสอน 5) บตั รคา 6) บตั รภาพ 7) วีซดี ีเก่ียวกบั ระบบยอ่ ยอาหารของมนษุ ย์ 8) อุปกรณ์ทใี่ ช้ในการสร้างแบบจาลอง 9) ใบงานท่ี 1.1 เร่ือง การจัดระบบในร่างกาย

10) ใบงานที่ 1.2 เรอ่ื ง ระบบยอ่ ยอาหารของสตั ว์ 11) ใบงานท่ี 1.3 เร่อื ง การย่อยสารอาหาร 12) ใบงานท่ี 1.4 เรื่อง ระบบย่อยอาหารของมนุษย์ 13) ใบงานที่ 1.5 เรื่อง ระบบไหลเวยี นเลือดของสัตว์ 14) ใบงานที่ 1.6 เร่อื ง โครงสร้างและการทางานของหวั ใจ 15) ใบงานท่ี 1.7 เรอ่ื ง ระบบหายใจของสตั ว์ 16) ใบงานท่ี 1.8 เรอื่ ง ระบบหายใจของมนษุ ย์ 7.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องสมุด 2) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ - http://www.surin.js.ac.h/1ระบบในร่างกาย/index.htm - http://www.cedarville.edu/personal/jwf/bio100/lecturequiz21b.swf - http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewgroup/151 ระบบขับถ่าย - http://www.youtube.com8. บนั ทึกหลังการสอน. 8.1 ดา้ นความร(ู้ K) ........................................................................................................................................... .................... 8.2ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) .................................................................................... ........................................................................... 8.3 ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์(A) ............................................................................................................................. ........................... 8.4 ดา้ นสมรรถนะสาคญั ผ้เู รียน(C) ........................................................................................................................................................ปญั หาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอื่น ๆ............................................................................................................................. ............................................. ลงชอ่ื ................................................ครผู สู้ อน (...........................................) วันที่ ........................................ความคิดเห็นหัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้.......................................................................................................................................... ................................ ลงชอื่ ................................................หวั หนา้ กลุ่มสาระ

(...........................................) วันที่ ........................................ความคิดเหน็ หัวหน้ากลุม่ งานบริหารวชิ าการ............................................................................................................................. ............................................. ลงชอ่ื ..................................... หวั หนา้ กล่มุ งานบริหารวิชาการ (...........................................) วันท่ี ........................................ความคิดเหน็ ผู้บริหารสถานศึกษา............................................................................................................................. ............................................. ลงชอื่ .............................................................. (...........................................) วนั ที่ ........................................ ตาแหน่ง .............................................................

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เร่ืองระบบร่างกายของมนุษย์และสัตว์ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 22101 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 15 ช่วั โมง ครผู ู้สอน นางสาวทศั นีย์ วงทองดี โรงเรียน หันคาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ดั ว 1.1 ม.2/1 อธบิ ายโครงสร้างและการทางานของระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ ระบบขับถา่ ย ระบบสืบพนั ธขุ์ องมนุษย์และสัตว์ รวมทัง้ ระบบประสาทของมนุษย์ ม.2/2 อธิบายความสัมพันธ์ของระบบตา่ งๆ ของมนษุ ย์ และนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ม.2/3 สังเกตและอธิบายพฤติกรรมของมนุษยแ์ ละสัตวท์ ตี่ อบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกและภายใน ม.2/4 อธิบายหลักการและผลของการใช้เทคโนโลยชี วี ภาพในการขยายพันธุ์ ปรบั ปรุงพันธุ์และเพ่ิมผลผลติ ของสตั ว์ และนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ ว 8.1 ม.1-3/1 ตัง้ คาถามท่ีกาหนดประเดน็ หรือตวั แปรที่สาคัญในการสารวจ ตรวจสอบ หรอื ศกึ ษาค้นควา้ เรื่องท่ีสนใจได้อยา่ งครอบคลมุ และเช่ือถอื ได้ ม.1-3/2 สร้างสมมตฐิ านทส่ี ามารถตรวจสอบได้ และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลายๆ วิธี ม.1-3/3 เลือกเทคนิควิธกี ารสารวจตรวจสอบทง้ั เชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพที่ไดผ้ ลเท่ยี งตรงและปลอดภยั โดยใช้วสั ดุและเคร่ืองมือท่เี หมาะสม ม.1-3/4 รวบรวมข้อมลู จดั กระทาข้อมูลเชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ ม.1-3/5 วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ความสอดคล้องของประจกั ษ์พยานกับข้อสรุป ท้ังที่สนบั สนนุหรอื ขดั แย้งกบั สมมตฐิ านและความผดิ ปกติของขอ้ มลู จากการสารวจตรวจสอบ ม.1-3/6 สรา้ งแบบจาลอง หรอื รูปแบบทีอ่ ธิบายผลหรอื แสดงผลของการสารวจตรวจสอบ ม.1-3/7 สร้างคาถามท่ีนาไปสู่การสารวจตรวจสอบในเรอื่ งทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง และนาความรู้ทไี่ ด้ไปใชใ้ นสถานการณใ์ หม่ หรืออธิบายเกี่ยวกบั แนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผ้ อู้ น่ื เข้าใจ

ม.1-3/8 บนั ทกึ และอธบิ ายผลการสังเกต การสารวจตรวจสอบคน้ คว้าเพม่ิ เติมจากแหลง่ความรตู้ า่ งๆ ให้ได้ข้อมูลท่ีเชื่อถอื ได้ และยอมรบั การเปลย่ี นแปลงความรทู้ ่ีคน้ พบ เม่ือมีข้อมลู และประจักษ์พยานใหม่เพ่ิมขึน้ หรือโต้แย้งจากเดมิ ม.1-3/9 จดั แสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรอื อธิบายเกย่ี วกับแนวคดิ กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชน้ิ งานให้ผูอ้ ืน่ เขา้ ใจ2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ระบบสบื พนั ธแุ์ ละระบบประสาทของมนุษย์และสัตว์ ประกอบดว้ ย อวยั วะต่างๆ ทีท่ างานประสานกนัอย่างเปน็ ระบบ ทาให้มนษุ ยส์ ามารถดารงชีวติ อยู่ได้อย่างปกติ มนุษย์และสัตวจ์ ะมีการแสดงพฤติกรรมต่างๆออกมาเพอื่ ตอบสนองต่อส่งิ เร้าทง้ั ภายนอกและภายใน ซ่ึงในปัจจบุ นั มนษุ ยไ์ ด้มกี ารนาเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ในการขยายพนั ธุ์ ปรับปรงุ พันธุ์ และเพ่มิ ผลผลิตของสัตว์ให้มีคุณภาพและสมบัตติ ามความต้องการ3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) ระบบสืบพันธ์ุ และระบบประสาทของมนุษยใ์ นแต่ละระบบ ประกอบด้วย อวยั วะหลายชนิดท่ที างานอยา่ งเปน็ ระบบ 2) ระบบสืบพันธุ์ของสัตว์ ประกอบด้วย อวยั วะหลายชนิดท่ที างานอย่างเป็นระบบ 3) ระบบย่อยอาหาร ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสืบพนั ธ์ุของมนุษย์ ในแต่ละระบบมีการทางานท่สี มั พนั ธ์กนั ทาให้มนษุ ย์ดารงชีวติ อยู่ได้อยา่ งปกติ ถ้าระบบใดระบบหนึง่ ทางานผิดปกติ ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบอนื่ ๆ ดงั นัน้ จงึ ต้องมกี ารดูแลรักษาสุขภาพ 4) แสง อณุ หภมู ิ และการสมั ผสั จดั เปน็ ส่งิ เรา้ ภายนอก สว่ นการเปล่ียนแปลงระดับสารในร่างกาย เชน่ ฮอร์โมน จดั เป็นสิ่งเรา้ ภายใน ซึง่ ทั้งสงิ่ เร้าภายนอกและสิ่งเรา้ ภายในมีผลต่อมนุษยแ์ ละสัตว์ ทาให้แสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมา 5) เทคโนโลยชี วี ภาพเป็นการใช้เทคโนโลยี เพอื่ ทาใหส้ งิ่ มชี ีวติ หรอื องค์ประกอบของสิ่งมีชีวติมีสมบตั ติ ามต้องการ 6) การผสมเทยี ม การถ่ายฝากตวั ออ่ น การโคลน เป็นการใช้เทคโนโลยชี ีวภาพในการขยายพันธ์ุ ปรับปรงุ พันธ์ุ และเพ่ิมผลผลติ ของสตั ว์ 3.2 ทักษะกระบวนการ (P) อธิบาย สืบคน้ จดั ป้าย ทดลอง เขียน 3.3 คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) มวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ มุง่ มั่นในการทางาน มีความรบั ผิดชอบ มีจติ สาธารณะ 3.4 สมรรถนะสาคัญผเู้ รียน (C)

3.4.1 ความสามารถในการคิด 2) ทักษะการสังเกต 1) ทกั ษะการสารวจคน้ หา 4) ทักษะการสรา้ งความรู้ 3) ทกั ษะการเชือ่ มโยง 6) ทักษะการนาความรู้ไปใช้ 5) ทกั ษะการสรุปอ้างองิ3.4.2 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต 3.4.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี4. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1. สมดุ ภาพ เรอื่ ง ระบบรา่ งกายสตั ว์ (ระบบสบื พนั ธแุ์ ละระบบประสาท) (ช้ินงานท่ี 1) 2. สมุดภาพ เรื่อง ระบบรา่ งกายมนุษย์ (ระบบสืบพันธุแ์ ละระบบประสาท) (ชน้ิ งานที่ 2) 3. รายงาน เรื่อง การแสดงพฤติกรรมเพ่อื ตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ของส่ิงมีชีวิต (ช้ินงานที่ 3) 4. ป้ายนิเทศ เรือ่ ง การใชเ้ ทคโนโลยชี ีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรบั ปรุงพันธุ์ และเพ่ิมผลผลิตของสตั ว์(ชิ้นงานท่ี 4) แบบประเมนิ สมุดภาพ เรื่อง ระบบร่างกายสัตว์ (ระบบย่อยอาหาร ระบบไหลเวียนเลือด ระบบหายใจ และระบบขับถ่าย)รายการประเมิน ดมี าก (4) คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดบั คะแนน ปรบั ปรงุ (1) ดี (3) พอใช้ (2)1. การอธิบาย อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสรา้ งและโครงสรา้ งและ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวยั วะการทางานของ ในระบบสบื พนั ธุ์ ในระบบสบื พนั ธุ์ ในระบบสบื พนั ธุ์ ในระบบสบื พนั ธุ์อวยั วะในระบบ ไดถ้ ูกตอ้ ง ชดั เจน ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นสว่ น ไดถ้ กู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ไดถ้ กู ตอ้ งเป็นสว่ นสืบพนั ธุ์ ครบทุกอวยั วะ ใหญ่ ครบทกุ อวยั วะ ไม่ครบทุกอวยั วะ น้อย ไมค่ รบทกุ อวยั วะ2. การอธิบาย อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสรา้ งและโครงสรา้ งและ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวยั วะการทางานของ ในระบบประสาท ในระบบประสาท ในระบบประสาท ในระบบประสาทอวยั วะในระบบ ไดถ้ กู ตอ้ ง ชดั เจน ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นสว่ น ไดถ้ กู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ไดถ้ กู ตอ้ งเป็นสว่ นประสาท ครบทุกอวยั วะ ใหญ่ ครบทกุ อวยั วะ ไมค่ รบทุกอวยั วะ น้อย ไม่ครบทุก อวยั วะเกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพช่วงคะแนน 8 6 - 7 4 - 5 ต่ากว่า 4

ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ แบบประเมินสมุดภาพ เร่อื ง ระบบร่างกายมนษุ ย์ (ระบบสืบพันธ์ุและระบบประสาท)รายการประเมิน ดมี าก (4) คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดบั คะแนน ปรบั ปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2)1. การอธิบาย อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสรา้ งและ โครงสรา้ งและ การทางานของอวยั วะ การทางานของ ในระบบสบื พนั ธุ์ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวยั วะ อวยั วะในระบบ ไดถ้ ูกตอ้ ง ชดั เจน สืบพนั ธ์ุ ครบทกุ อวยั วะ ในระบบสบื พนั ธุ์ ในระบบสบื พนั ธุ์ ในระบบสบื พนั ธุ์ ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นสว่ น ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ไดถ้ กู ตอ้ งเป็นสว่ นน้อย ใหญ่ ครบทกุ อวยั วะ ไม่ครบทกุ อวยั วะ ไม่ครบทกุ อวยั วะ2. การอธิบาย อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสรา้ งและ อธบิ ายโครงสรา้ งและ โครงสรา้ งและ การทางานของอวยั วะ การทางานของ ในระบบประสาท การทางานของอวยั วะ การทางานของอวยั วะ การทางานของอวยั วะ อวยั วะในระบบ ไดถ้ ูกตอ้ ง ชดั เจน ประสาท ครบทุกอวยั วะ ในระบบประสาท ในระบบประสาท ในระบบประสาท ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นสว่ น ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ไดถ้ ูกตอ้ งเป็นสว่ นน้อย ใหญ่ ครบทกุ อวยั วะ ไมค่ รบทกุ อวยั วะ ไม่ครบทุกอวยั วะ3. การอธิบาย อธบิ ายความสมั พนั ธ์ อธบิ ายความสมั พนั ธ์ อธบิ ายความสมั พนั ธ์ อธบิ ายความสมั พนั ธ์ ของระบบต่างๆ ใน ของระบบต่างๆ ใน ของระบบต่างๆ ในความสมั พนั ธแ์ ละ ของระบบต่างๆ ใน รา่ งกายมนุษยไ์ ด้ รา่ งกายมนุษยไ์ ด้ ร่างกายมนุษยไ์ ด้ ถกู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ถกู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ถูกตอ้ งเป็นสว่ นน้อยวิธีการดแู ลรกั ษา ร่างกายมนุษยไ์ ด้ ครอบคลุมทุกระบบ ไมค่ รอบคลมุ ทุกระบบ ไมค่ รอบคลุมทุกระบบ และยกตวั อยา่ ง และยกตวั อย่างวธิ กี าร และยกตวั อย่างวธิ กี ารระบบต่างๆ ใน ถกู ตอ้ ง ชดั เจน วธิ กี ารดแู ลรกั ษา ดแู ลรกั ษาระบบต่างๆ ดแู ลรกั ษาระบบต่างๆ ระบบต่างๆ ได้ ไดเ้ หมาะสม 3-4 ขอ้ ไดเ้ หมาะสม 1-2 ขอ้รา่ งกายมนุษย์ ครอบคลุมทุกระบบ เหมาะสม 5 ขอ้ ขน้ึ ไป และยกตวั อยา่ งวธิ กี าร ดแู ลรกั ษาระบบต่างๆ ไดเ้ หมาะสม 5 ขอ้ ขน้ึ ไปเกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพช่วงคะแนน 11 - 12 9 - 10 6 - 8 ต่ากวา่ 6 พอใช้ ปรบั ปรงุระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ดีรประเมินช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

แบบประเมนิ รายงาน เรอ่ื ง การแสดงพฤตกิ รรม เพ่ือตอบสนองต่อสิง่ เรา้ ของสิง่ มีชวี ติรายการประเมิน ดมี าก (4) คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดบั คะแนน ปรบั ปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2)1. การอธิบาย อธบิ ายพฤตกิ รรมของ อธบิ ายพฤตกิ รรมของ อธบิ ายพฤตกิ รรมของ อธบิ ายพฤตกิ รรมของ มนุษยท์ ต่ี อบสนองต่อ มนุษยท์ ต่ี อบสนองต่อ มนุษยท์ ต่ี อบสนองต่อพฤติกรรมของ มนุษยท์ ต่ี อบสนองต่อ สงิ่ เรา้ ภายนอกได้ สง่ิ เรา้ ภายนอกได้ สงิ่ เรา้ ภายนอก ถูกตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ถกู ตอ้ งเป็นสว่ นน้อย ไม่ถกู ตอ้ งมนุษยท์ ี่ตอบสนอง สง่ิ เรา้ ภายนอกได้ต่อสิ่งเรา้ ภายนอก ถกู ตอ้ ง ชดั เจน2. การอธิบาย อธบิ ายพฤตกิ รรมของ อธบิ ายพฤตกิ รรมของ อธบิ ายพฤตกิ รรมของ อธบิ ายพฤตกิ รรมของ พฤติกรรมของ มนุษยท์ ต่ี อบสนองต่อ มนุษยท์ ต่ี อบสนองต่อ มนุษยท์ ต่ี อบสนองต่อ มนุษยท์ ต่ี อบสนองต่อ มนุษยท์ ี่ตอบสนอง สงิ่ เรา้ ภายในไดถ้ ูกตอ้ ง สง่ิ เรา้ ภายในไดถ้ กู ตอ้ ง สง่ิ เรา้ ภายในไดถ้ กู ตอ้ ง สงิ่ เรา้ ภายในไม่ ต่อส่ิงเรา้ ภายใน ชดั เจน เป็นสว่ นใหญ่ เป็นสว่ นน้อย ถกู ตอ้ ง3. การอธิบาย อธบิ ายพฤตกิ รรมของ อธบิ ายพฤตกิ รรมของ อธบิ ายพฤตกิ รรมของ อธบิ ายพฤตกิ รรมของ สตั วท์ ต่ี อบสนองต่อ สตั วท์ ต่ี อบสนองต่อ สตั วท์ ต่ี อบสนองต่อพฤติกรรมของสตั ว์ สตั วท์ ต่ี อบสนองต่อ สงิ่ เรา้ ภายนอกได้ สงิ่ เรา้ ภายนอกได้ สง่ิ เรา้ ภายนอก ถกู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ถูกตอ้ งเป็นสว่ นน้อย ไมถ่ ูกตอ้ งท่ีตอบสนองต่อส่ิง สงิ่ เรา้ ภายนอกได้เรา้ ภายนอก ถกู ตอ้ ง ชดั เจน4. การอธิบาย อธบิ ายพฤตกิ รรมของ อธบิ ายพฤตกิ รรมของ อธบิ ายพฤตกิ รรมของ อธบิ ายพฤตกิ รรมของ สตั วท์ ต่ี อบสนองต่อ สตั วท์ ต่ี อบสนองต่อ สตั วท์ ต่ี อบสนองต่อพฤติกรรมของสตั ว์ สตั วท์ ต่ี อบสนองต่อ สง่ิ เรา้ ภายในไดถ้ ูกตอ้ ง สงิ่ เรา้ ภายในไดถ้ ูกตอ้ ง สง่ิ เรา้ ภายในไม่ เป็นสว่ นใหญ่ เป็นสว่ นน้อย ถกู ตอ้ งท่ีตอบสนองต่อส่ิง สงิ่ เรา้ ภายในไดถ้ กู ตอ้ งเรา้ ภายใน ชดั เจนเกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพช่วงคะแนน 14 - 16 11 - 13 8 - 10 ต่ากวา่ 8ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ แบบประเมนิ ป้ายนเิ ทศ เรอ่ื ง การใช้เทคโนโลยีชวี ภาพ ในการขยายพนั ธ์ุ ปรับปรุงพันธุ์ และเพิ่มผลผลติ ของสัตว์รายการประเมิน ดมี าก (4) คาอธิบายระดบั คณุ ภาพ / ระดบั คะแนน ปรบั ปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2)1. การอธิบายหลกั การ อธบิ ายหลกั การของ อธบิ ายหลกั การของ อธบิ ายหลกั การของ อธบิ ายหลกั การของ การใช้ของการใช้ การใช้ การใช้ การใช้

เทคโนโลยชี ีวภาพ เทคโนโลยชี วี ภาพ เทคโนโลยชี วี ภาพ เทคโนโลยชี วี ภาพ เทคโนโลยชี วี ภาพในการขยายพนั ธ์ุ ในการขยายพนั ธุ์ ในการขยายพนั ธุ์ ในการขยายพนั ธุ์ ในการขยายพนั ธุ์ปรบั ปรงุ พนั ธ์ุ ปรบั ปรุงพนั ธุ์ และเพม่ิ ปรบั ปรงุ พนั ธุ์ และเพม่ิ ปรบั ปรงุ พนั ธุ์ และเพมิ่ ปรบั ปรงุ พนั ธุ์ และเพมิ่และเพ่ิมผลผลิต ผลผลติ ของสตั วไ์ ด้ ผลผลติ ของสตั วไ์ ด้ ผลผลติ ของสตั วไ์ ด้ ผลผลติ ของสตั ว์ของสตั ว์ ถูกตอ้ ง ชดั เจน ถกู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ถกู ตอ้ งเป็นสว่ นน้อย ไม่ถกู ตอ้ ง2. การอธิบายผลของ อธบิ ายผลของการใช้ อธบิ ายผลของการใช้ อธบิ ายผลของการใช้ อธบิ ายผลของการใช้ การใช้เทคโนโลยี เทคโนโลยชี วี ภาพ เทคโนโลยชี วี ภาพ เทคโนโลยชี วี ภาพ เทคโนโลยชี วี ภาพ ชีวภาพในการ ในการขยายพนั ธุ์ ในการขยายพนั ธุ์ ในการขยายพนั ธุ์ ในการขยายพนั ธุ์ ขยายพนั ธุ์ ปรบั ปรงุ ปรบั ปรุงพนั ธุ์ และเพมิ่ ปรบั ปรุงพนั ธุ์ และเพม่ิ ปรบั ปรุงพนั ธุ์ และเพมิ่ ปรบั ปรงุ พนั ธุ์ และเพมิ่ พนั ธ์ุ และเพ่ิม ผลผลติ ของสตั วไ์ ด้ ผลผลติ ของสตั วไ์ ด้ ผลผลติ ของสตั วไ์ ด้ ผลผลติ ของสตั วไ์ ด้ ผลผลิตของสตั ว์ ถกู ตอ้ ง 5 ขอ้ ขน้ึ ไป ถูกตอ้ ง 4 ขอ้ ถูกตอ้ ง 3 ขอ้ ถกู ตอ้ ง 2 ขอ้3. การอธิบาย อธบิ ายแนวทางการ อธบิ ายแนวทางการ อธบิ ายแนวทางการ อธบิ ายแนวทางการ แนวทางการ เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี เลอื กใชเ้ ทคโนโลยี เลือกใช้เทคโนโลยี ชวี ภาพในการ ชวี ภาพในการ ชวี ภาพในการ ชวี ภาพในการ ชีวภาพในการ ขยายพนั ธุ์ ปรบั ปรงุ ขยายพนั ธุ์ ปรบั ปรงุ ขยายพนั ธุ์ ปรบั ปรงุ ขยายพนั ธุ์ ปรบั ปรงุ ขยายพนั ธุ์ พนั ธุ์ และเพม่ิ ผลผลติ พนั ธุ์ และเพมิ่ ผลผลติ พนั ธุ์ และเพมิ่ ผลผลติ พนั ธุ์ และเพมิ่ ผลผลติ ปรบั ปรงุ พนั ธุ์ ของสตั วไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง ของสตั วไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง ของสตั วไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง ของสตั วไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง และเพ่ิมผลผลิต เหมาะสมกบั สตั ว์ เหมาะสมกบั สตั ว์ เหมาะสมกบั สตั ว์ เหมาะสมกบั สตั ว์ ของสตั ว์ 5 ขอ้ ขน้ึ ไป 4 ขอ้ 3 ขอ้ 2 ขอ้เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ 11 - 12 9 - 10 6 - 8 ต่ากว่า 6 ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ5. การวดั และการประเมินผล 5.1 การประเมินกอ่ นเรียน การประเมนิ ก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 เร่อื ง ระบบร่างกายมนษุ ย์และสัตว์(ตอนท่ี 2) 5.2 การประเมินระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1) ตรวจใบงานท่ี 2.1 เรื่อง วัฏจักรชวี ิตเต่าทะเล 2) ตรวจใบงานที่ 2.2 เรือ่ ง อวัยวะสบื พันธ์ุของมนษุ ย์

3) ตรวจใบงานท่ี 2.3 เร่ือง ระบบประสาทของสัตว์ 4) ตรวจใบงานที่ 2.4 เร่ือง ระบบประสาทของมนษุ ย์ 5) ตรวจใบงานที่ 2.5 เร่อื ง ความสัมพนั ธข์ องระบบหายใจและระบบไหลเวียนเลือด 6) ตรวจใบงานที่ 2.6 เร่ือง ความสัมพันธข์ องระบบตา่ งๆ ในร่างกายมนุษย์ 7) ตรวจใบงานท่ี 2.7 เรอ่ื ง การแสดงพฤตกิ รรมเพ่ือตอบสนองตอ่ สง่ิ เร้า 8) ตรวจใบงานท่ี 2.8 เรอ่ื ง การตอบสนองตอ่ สภาพอากาศของอูฐ 9) ตรวจใบงานท่ี 2.9 เร่อื ง พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ 10) ตรวจใบงานที่ 2.10 เรือ่ ง การปรบั ปรงุ พนั ธุส์ ตั ว์ 11) ตรวจแบบบันทึกการอ่าน 12) ประเมินการนาเสนอผลงาน 13) สังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล 14) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 15) สังเกตคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 5.3 การประเมินหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง ระบบร่างกายมนุษย์และสตั ว์ (ตอนท่ี 2) 5.4 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1) ตรวจสมดุ ภาพ เรือ่ ง ระบบร่างกายสัตว์ (ระบบสืบพันธแุ์ ละระบบประสาท) 2) ตรวจสมุดภาพ เรื่อง ระบบร่างกายมนุษย์ (ระบบสืบพันธแ์ุ ละระบบประสาท) 3) ตรวจรายงาน เรือ่ ง การแสดงพฤติกรรมเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ของสิ่งมีชีวติ 4) ตรวจปา้ ยนิเทศ เรอ่ื ง การใชเ้ ทคโนโลยชี วี ภาพในการขยายพันธุ์ ปรบั ปรุงพนั ธ์ุ และเพิ่มผลผลิตของสตั ว์6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 6.1 ชัว่ โมงที่ 1 เร่อื งที่ 1 ระบบสืบพนั ธ์ขุ องสัตว์ วิธีการจัดกระบวนการเรยี นการสอนแบบ กระบวนการกลุ่มสมั พันธ์ ข้ันที่ 1 นาเข้าสู่บทเรยี น ครูใหน้ กั เรยี นดูสารคดีเกยี่ วกับการผสมพันธุข์ องสตั ว์ แล้วใหน้ กั เรียนชว่ ยกันบอกวา่ สตั ว์ในสารคดีนั้นมวี ิธกี ารผสมพนั ธอ์ุ ยา่ งไร ข้ันท่ี 2 จัดการเรียนรู้ 1. ครแู บ่งนกั เรยี นเป็นกล่มุ กลุ่มละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่รว่ มกนั ศึกษาความรู้เรื่อง ระบบสืบพนั ธข์ุ องสตั ว์ จากหนังสือเรียน ตามหวั ขอ้ ท่ีกาหนด

2. ครูอธบิ ายเพิ่มเติมใหน้ กั เรยี นฟงั เกยี่ วกับระบบสบื พนั ธข์ุ องสัตว์โดยการแบ่งเป็นสองสว่ น และการแตกหน่อ 3. ครสู ุม่ นักเรยี น 5-6 กล่มุ วิเคราะหเ์ กีย่ วกับความแตกตา่ งของการสบื พันธแุ์ บบไม่อาศัยเพศ และการสืบพันธแุ์ บบอาศัยเพศของสัตว์หน้าชั้นเรียน ครแู ละเพื่อนกลุม่ อืน่ ชว่ ยกนั แสดงความคดิ เห็นเพ่มิ เติม ขนั้ ที่ 3 สรปุ และนาหลกั การไปประยกุ ต์ใช้ 1. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรปุ ความรู้เก่ยี วกบั ลักษณะการสืบพันธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศและการสบื พันธ์แุ บบอาศัยเพศของสตั ว์ 2. สมาชกิ แต่ละกลุ่มช่วยกันทาใบงานท่ี 2.1 เรอ่ื ง วฏั จักรชวี ิตเต่าทะเล ขนั้ ที่ 4 วัดและประเมนิ ผล สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ นาใบงานท่ี 2.1 ส่งครูเพื่อวัดและประเมินผล 6.2 ช่ัวโมงที่ 2-3 เร่ืองที่ 2 ระบบสบื พนั ธุข์ องมนุษย์ จดั วิธกี ารสอนโดยวิธีสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขัน้ ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูใหน้ กั เรยี นดภู าพหรือแบบจาลองโครงสร้างอวัยวะในระบบสบื พนั ธ์ุของมนษุ ย์แล้วช่วยกันบอกช่อื อวัยวะต่างๆ ในระบบสืบพันธ์ุท้งั เพศชายและเพศหญงิ 2. ครูถามนักเรียนว่า เซลลส์ ืบพันธเุ์ พศผแู้ ละเซลลส์ ืบพนั ธุ์เพศเมยี มคี วามสาคญั ต่อการดารงพันธ์ขุ องมนุษย์อยา่ งไร ขนั้ ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) สมาชกิ ในกลมุ่ จบั คกู่ นั เปน็ 2 คู่ ให้แต่ละคู่ร่วมกนั ศึกษาความรู้เรื่อง ระบบสบื พนั ธุ์ของมนุษย์ จากหนังสือเรยี น ห้องสมุด และแหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ ดงั น้ี - คทู่ ่ี 1 ศกึ ษาความรเู้ ร่ือง ระบบสบื พันธเุ์ พศชาย - คู่ท่ี 2 ศึกษาความรเู้ ร่ือง ระบบสบื พนั ธเุ์ พศหญิง ข้ันท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. สมาชิกแตล่ ะคูน่ าความรู้ทไ่ี ด้จากการศึกษามาอธบิ ายให้สมาชิกอกี คู่หนึ่งภายในกลุ่มฟงั จนเกิดความเขา้ ใจท่ีตรงกัน 2. สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกันทาใบงานท่ี 2.2 เรอ่ื ง อวัยวะสืบพันธุข์ องมนุษย์ ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครคู ัดเลือกนักเรียน 3-4 กลุ่ม นาเสนอใบงานท่ี 2.2 หนา้ ชน้ั เรียน ครูและเพอื่ นกลมุ่อนื่ ชว่ ยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง

2. ครูถามนักเรยี นว่า เมือ่ เซลล์อสุจิผสมกับเซลล์ไข่ เกิดการปฏิสนธกิ นั จะเกิดภาวะการเจริญเติบโตอยา่ งไร แลว้ ใหส้ มาชกิ แต่ละกลุม่ รว่ มกนั ศึกษาความรู้เร่ือง การต้งั ครรภ์ การคลอด การเกดิ แฝดและการคุมกาเนิด จากหนังสือเรียน 3. ครูตัง้ ประเดน็ คาถามเกยี่ วกับการสืบพนั ธ์ุของมนุษย์ ให้นกั เรยี นตอบเพ่ือขยายความเขา้ ใจ ข้ันท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) ครูตรวจสอบผลนักเรียนจากการทาใบงานท่ี 2.2 และจากการตอบคาถามเกี่ยวกับการสืบพันธขุ์ องมนษุ ย์ 6.3 ชว่ั โมงท่ี 4 เร่ือง ระบบประสาทของสัตว์ จัดวธิ กี ารสอนโดยกระบวนการเรยี นรู้แบบร่วมมือ : เทคนิคกลุม่ สบื ค้น ขน้ั นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูใหน้ กั เรียนดวู ีซดี ีการแสดงโชว์ของสุนัขแสนรู้ แลว้ ถามนักเรียนว่า สุนขั สามารถปฏบิ ัติกิจกรรมต่างๆ ตามที่คนฝึกสั่งได้อยา่ งไร 2. ครูเฉลยคาตอบโดยเช่อื มโยงเป็นการตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ โดยรับคาส่งั มาจากระบบประสาท ขนั้ สอน 1. นักเรยี นกล่มุ เดิมรว่ มกันศึกษาความรู้เรอื่ ง ระบบประสาทของสัตว์ จากหนังสือเรยี น 2. ครูสุ่มนกั เรยี น 2-3 กลมุ่ ยกตัวอยา่ งสิ่งเร้า แล้วอธิบายการทางานของระบบประสาทของสตั วเ์ พื่อตอบสนองต่อส่ิงเรา้ นัน้ 3. สมาชกิ แต่ละกลุ่มช่วยกนั สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับระบบประสาทของสัตว์ แล้วบนั ทึกขอ้ มลู ลงในใบงานที่ 2.3 เรื่อง ระบบประสาทของสตั ว์ 4. ตวั แทนแต่ละกลุ่มนาเสนอใบงานท่ี 2.3 หนา้ ช้ันเรยี น เสรจ็ แลว้ เก็บรวบรวมใบงานสง่ ครู ขั้นสรุป นักเรยี นและครูร่วมกนั สรุปความรูเ้ รือ่ ง ระบบประสาทของสัตว์ 6.4 ชว่ั โมงท่ี 5-6 เรือ่ ง ระบบประสาทของมนุษย์ จัดวธิ ีการสอนโดยกระบวนการวธิ สี อนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ข้ันท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) ครใู หน้ กั เรยี นดภู าพหรอื แบบจาลองสมองของมนุษย์ แล้วร่วมกันอภิปรายว่า สมองของมนษุ ยแ์ บ่งออกเปน็ กส่ี ่วน แตล่ ะส่วนควบคมุ พฤติกรรมอะไรบา้ ง ขน้ั ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore)

นกั เรียนกลุ่มเดิมรว่ มกันศึกษาความรู้เรื่อง ระบบประสาทของมนุษย์ จากหนังสือเรยี น ตามประเด็นท่ีกาหนด ข้นั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain) 1. สมาชิกแต่ละคนร่วมกันอธบิ ายความรู้ทไ่ี ด้จากการศึกษาภายในกลมุ่ 2. ครวู าดภาพสมองขนาดใหญ่บนกระดาน แล้วให้สมาชิกแต่ละกล่มุ นาบัตรคาท่ีครูแจกใหม้ าวเิ คราะหว์ ่าถูกควบคมุ ด้วยสมองสว่ นใด แล้วให้ตัวแทนนาบัตรคามาติดบนภาพสมองใหถ้ ูกตอ้ ง ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. นกั เรียนร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั การทางานที่ประสานสัมพันธก์ นั ของสมอง ไขสนั หลัง และเซลล์ประสาท 2. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ศึกษาความรู้เร่ือง การทางานของระบบประสาท และอวยั วะรับสัมผสั จากหนงั สือเรยี น 3. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 1-2 กลุ่ม อธบิ ายการทางานของระบบประสาท เมื่อปลายน้วิ สมั ผัสกับหนามกหุ ลาบประกอบภาพท่ีครนู ามาใหด้ ูหนา้ ชัน้ เรียน ครแู ละเพ่ือนกลมุ่ อนื่ ช่วยกันเสนอแนะเพ่ิมเติมในสว่ นที่บกพร่อง 4. สมาชกิ แตล่ ะกล่มุ ช่วยกนั ทาใบงานที่ 2.4 เรอ่ื ง ระบบประสาทของมนุษย์ ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) ตัวแทนกลุ่มนาเสนอใบงานท่ี 2.4 หน้าช้นั เรียน ครูตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 6.5 ช่ัวโมงท่ี 7-8 เร่ือง การทางานของระบบต่างๆ ในร่างกายมนษุ ย์ จดั วธิ กี ารสอนโดยกระบวนการตามรปู แบบ โมเดลซปิ ปา (CIPPA Model) ขั้นที่ 1 ทบทวนความร้เู ดมิ 1. ครสู ุม่ นักเรียน 6 คน อธิบายโครงสรา้ งและการทางานของระบบตา่ งๆ ในร่างกายมนุษย์ คนละ 1 ระบบ 2. ครูถามนักเรียนว่า ระบบตา่ งๆ ในรา่ งกายมนุษย์มีการทางานท่ีประสานสัมพันธ์กนัหรอื ไม่ เพราะอะไร ขน้ั ที่ 2 แสวงหาความร้ใู หม่ สมาชกิ แต่ละกลุ่มรว่ มกนั ศึกษาความรู้เรอ่ื ง ความสัมพนั ธข์ องระบบตา่ งๆ ในร่างกาย จากหนังสอื เรยี น ขั้นที่ 3 ศกึ ษาทาความเข้าใจข้อมูล/ความร้ใู หม่ และเชื่อมโยงความรใู้ หม่กับความรู้เดิม ครใู ห้สมาชกิ แตล่ ะกล่มุ ทากจิ กรรม เพื่ออธบิ ายความสัมพนั ธข์ องการทางานของระบบหายใจกับระบบ ไหลเวยี นเลือด แลว้ บนั ทกึ ผลลงในใบงานท่ี 2.5 เรื่อง ความสัมพันธข์ องระบบหายใจและระบบไหลเวยี นเลือด

ขน้ั ท่ี 4 แลกเปล่ยี นความรู้ความเขา้ ใจกบั กล่มุ 1. ครูถามนักเรียนวา่ นอกจากระบบหายใจและระบบไหลเวยี นเลือดแล้ว ยังมีระบบใดอกี บา้ งที่มีการทางานท่ีประสานสัมพนั ธก์ นั 2. สมาชิกแตล่ ะคนในกลุ่มผลดั กันยกตัวอย่างระบบในร่างกายทีม่ ีการทางานประสานสัมพันธก์ นั อย่างนอ้ ย 2 ระบบ ใหส้ มาชกิ คนอ่ืนๆ ในกลมุ่ ฟงั เพ่ือแลกเปลย่ี นความรูค้ วามเข้าใจ ขั้นที่ 5 สรปุ และจัดระเบียบความรู้ สมาชิกแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั สรปุ ความรเู้ รอ่ื ง ความสัมพนั ธข์ องระบบต่างๆ ในร่างกายมนุษย์แลว้ บนั ทกึ ลงในใบงานที่ 2.6 เรอ่ื ง ความสมั พันธข์ องระบบตา่ งๆ ในรา่ งกายมนุษย์ ข้ันท่ี 6 ปฏิบัติและ/หรอื แสดงผลงาน ตวั แทนกล่มุ นาเสนอใบงานท่ี 2.6 ครตู รวจสอบความถูกต้องและเสนอแนะเพ่มิ เติมในส่วนท่ีบกพร่อง ขั้นท่ี 7 ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ สมาชกิ แต่ละกล่มุ รว่ มกันแสดงความคดิ เห็นวา่ จะนาความรู้ท่ีไดจ้ ากการศึกษาไปประยกุ ต์ใช้ในการปฏิบัติตนเพ่ือดูแลรกั ษาระบบตา่ งๆ ในรา่ งกายให้ทางานเปน็ ปกติไดอ้ ย่างไร 6.6 ชว่ั โมงท่ี 9 เรือ่ ง ระบบหายใจของสัตว์ วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมอื : เทคนิคคู่คดิ ส่ีสหาย ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรยี น 1. ครนู าภาพเกยี่ วกบั พฤตกิ รรมของสัตว์ มาใหน้ ักเรยี นดู แลว้ ถามนกั เรียนว่า เพราะเหตุใด สัตว์ในภาพจงึ มีการแสดงพฤติกรรมเช่นนนั้ 2. ครูเฉลยคาตอบและอธิบายเพิ่มเตมิ เก่ยี วกับการแสดงพฤตกิ รรมเพ่ือตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ของส่งิ มีชีวิตใหน้ กั เรยี นฟัง ข้นั สอน 1. สมาชิกในกลมุ่ จับค่กู นั เปน็ 2 คู่ ให้แตล่ ะครู่ ่วมกนั ศึกษาความรเู้ รื่อง การแสดงพฤติกรรมเพื่อตอบสนองตอ่ สิ่งเรา้ จากหนงั สอื เรียน โดยให้แต่ละคแู่ บง่ หนา้ ที่กันปฏิบตั ิ ดงั น้ี - คนที่ 1 ศึกษาความร้เู รื่อง ประเภทของพฤตกิ รรม - คนท่ี 2 ศึกษาความร้เู รอ่ื ง สิ่งเรา้ ท่ีมผี ลต่อพฤติกรรม(สมาชกิ อีกคู่ซ่ึงอยู่ในกล่มุ เดยี วกันกป็ ฏบิ ัตเิ ชน่ เดียวกนั ) 2. สมาชิกแตล่ ะคนผลัดกันเล่าความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการศึกษาใหส้ มาชิกท่ีเปน็ คู่ฟงั เพ่ือให้เกิดความเข้าใจทต่ี รงกัน แล้วใหแ้ ตล่ ะคูช่ ่วยกันทาใบงานที่ 2.7 เร่ือง การแสดงพฤตกิ รรมเพือ่ ตอบสนองต่อสง่ิ เรา้ 3. สมาชิกแต่ละคกู่ ลับกลุ่มเดมิ (4 คน) แลว้ ผลัดกนั อธบิ ายความรทู้ ่ีได้จากการศกึ ษาและคาตอบในใบงานท่ี 2.7 ใหส้ มาชิกอีกคูห่ นง่ึ ท่ีอยูใ่ นกล่มุ เดยี วกันฟงั และชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกต้อง

4. ครูใหน้ ักเรียน 3-4 กลุ่ม นาเสนอใบงานที่ 2.7 หน้าช้ันเรียน เพอื่ นกลมุ่ อื่นท่มี ีคาตอบแตกตา่ งนาเสนอเพมิ่ เติม ขั้นสรปุ ครูและนักเรยี นร่วมกันสรุปความรเู้ กี่ยวกบั การแสดงพฤติกรรมของสงิ่ มีชวี ิตเพื่อตอบสนองต่อสงิ่ เรา้ ทั้งภายนอกและภายใน 6.7 ช่ัวโมงท่ี 10 เรอ่ื ง พฤติกรรมการตอบสนองของสัตว์ วิธสี อนโดยการจัดการเรียนรู้แบบ : กระบวนการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ ขน้ั ที่ 1 สังเกต ครนู าภาพเก่ียวกบั พฤตกิ รรมการตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ของสัตว์ มาใหน้ กั เรียนดู แลว้ ให้นกั เรียนช่วยกันสงั เกตและอธิบายภาพตามประเดน็ ท่ีกาหนด ขน้ั ท่ี 2 อธบิ าย 1. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มเลือกหมายเลขประจาตวั ตง้ั แตห่ มายเลข 1-4 แลว้ ให้แตล่ ะหมายเลขศึกษาความรู้ เรื่อง พฤติกรรมการตอบสนองของสัตว์ จากหนงั สอื เรยี น ดงั นี้ - หมายเลข 1 ศึกษาความรเู้ ร่ือง การตอบสนองตอ่ การสมั ผัส - หมายเลข 2 ศึกษาความรเู้ รื่อง การตอบสนองต่อแสงสว่าง - หมายเลข 3 ศึกษาความรเู้ ร่ือง การตอบสนองตอ่ อณุ หภมู ิ - หมายเลข 4 ศึกษาความรเู้ ร่ือง การตอบสนองตอ่ น้า 2. สมาชิกแตล่ ะหมายเลขผลัดกันอธิบายความร้ทู ่ีได้จากการศึกษาให้สมาชิกหมายเลขอน่ื ๆ ในกลมุ่ ฟัง ขั้นท่ี 3 รับฟงั สมาชิกในกลุม่ รบั ฟังการยกตัวอย่างและอธบิ ายพฤติกรรมการตอบสนองของสัตว์ตามหัวข้อที่สมาชกิ แตล่ ะหมายเลขไดศ้ กึ ษามา และแสดงความคิดเหน็ เพ่มิ เติมในสว่ นที่แตกตา่ ง ขั้นที่ 4 เชอ่ื มโยงความสัมพนั ธ์ 1. ครูให้นกั เรียนดูภาพอูฐ แล้วนาความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการศึกษามาวิเคราะหว์ ่า อูฐมีการปรบั ตัวเพอ่ื ตอบสนองต่อการดารงชีวิตใหเ้ หมาะสมกบั สภาพอากาศและส่งิ แวดล้อมในทะเลทรายไดอ้ ยา่ งไร 2. สมาชกิ แต่ละกลุ่มชว่ ยกันทาใบงานท่ี 2.8 เรอื่ ง การตอบสนองต่อสภาพอากาศของอูฐ ข้นั ท่ี 5 วจิ ารณ์ ตัวแทนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอใบงานท่ี 2.8 หน้าชนั้ เรยี น เพ่ือนกลมุ่ อ่ืนช่วยกันวิจารณผ์ ลการวิเคราะหเ์ กย่ี วกับการตอบสนองต่อสภาพอากาศของอฐู ของเพ่ือนกลมุ่ ทน่ี าเสนอ ขน้ั ที่ 6 สรุป ครูและนักเรยี นร่วมกันสรปุ ความรู้เร่ือง พฤตกิ รรมการตอบสนองของสตั ว์

6.8 ชว่ั โมงที่ 11-12 เรือ่ ง ระบบขบั ถ่ายของสัตว์ วิธีสอนโดยการจัดการเรยี นรู้วธิ ีสอนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการเรียนความรู้ความเข้าใจ ขั้นที่ 1 สังเกต ตระหนกั 1. ครูให้นักเรียนดูภาพและสงั เกตว่า สิ่งเรา้ ในภาพคืออะไร และคนในภาพมกี ารแสดงพฤติกรรมเพ่ือตอบสนองตอ่ ส่ิงเร้าอย่างไร 2. ครถู ามนักเรยี นวา่ มนษุ ย์มีการแสดงพฤติกรรมเพ่ือตอบสนองต่อส่ิงเรา้ ต่างๆอยา่ งไรบ้าง ข้ันท่ี 2 วางแผนปฏิบตั ิ สมาชิกแต่ละกล่มุ รว่ มกนั วางแผนเพ่อื ศึกษาความรู้เร่ือง พฤติกรรมการตอบสนองของมนษุ ย์จากหนงั สอื เรียน ตามประเด็นที่กาหนด ข้ันที่ 3 ลงมอื ปฏบิ ัติ สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มลงมือศึกษาความรูเ้ ร่อื ง พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ จากหนังสือเรียน ตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ ขนั้ ท่ี 4 พฒั นาความรู้ ความเขา้ ใจ 1. สมาชิกแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั อภปิ รายความรทู้ ี่ได้จากการศึกษาเกี่ยวกบั พฤติกรรมการตอบสนองของมนษุ ย์แลว้ ช่วยกันทาใบงานท่ี 2.9 เร่ือง พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ 2. ครขู ออาสาสมัครนกั เรียน 5-6 กลุม่ นาเสนอใบงานที่ 2.9 หน้าชน้ั เรยี น เพ่ือนกลุ่มอ่นื ช่วยกันตรวจสอบความถกู ต้อง ขั้นที่ 5 สรปุ นักเรยี นร่วมกนั สรุปความรเู้ กี่ยวกับการแสดงพฤติกรรมเพื่อตอบสนองตอ่ ส่งิ เรา้ ของมนษุ ย์ 6.9 ชั่วโมงที่ 13 เรอ่ื ง หลกั การและความสาคัญของเทคโนโลยีชีวภาพ จัดวิธกี ารสอนโดยวธิ สี อนโดยเนน้ กระบวนการ : กระบวนการสรา้ งความตระหนัก ขน้ั ท่ี 1 สังเกต ครูให้นักเรียนแตล่ ะคนอา่ นบทความเก่ยี วกับเทคโนโลยีชีวภาพทีค่ รูแจกให้ แลว้ ช่วยกนัสังเกตและอธบิ ายวา่ จากบทความ ประเทศไทยไดร้ บั อะไรบ้างจากการใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพ ขั้นท่ี 2 วิเคราะหว์ ิจารณ์ 1. สมาชิกกลุม่ เดิมรว่ มกนั ศึกษาความร้เู รอ่ื ง หลักการและความสาคัญของเทคโนโลยีชีวภาพ จากหนงั สอื เรียน 2. ครสู นทนากับนักเรียนเกยี่ วกับหลักการของการใชเ้ ทคโนโลยีชวี ภาพ แลว้ ให้สมาชกิแต่ละกลุม่ ช่วยกันวิเคราะห์ว่า ในปจั จุบนั เทคโนโลยชี วี ภาพไดเ้ ขา้ มามบี ทบาทและความสาคัญในดา้ นเกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรม และด้านการแพทยอ์ ย่างไร

3. ตัวแทนแต่ละกลมุ่ นาเสนอผลการวเิ คราะหเ์ ก่ียวกบั บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยีชวี ภาพในดา้ นเกษตรกรรม ดา้ นอุตสาหกรรม และด้านการแพทยห์ น้าช้นั เรียน เพอ่ื นกลมุ่ อนื่ รว่ มกนัวจิ ารณ์และแสดงความคิดเห็นเพมิ่ เติม ขั้นที่ 3 สรุป ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปความรเู้ กีย่ วกบั หลกั การและความสาคญั ของเทคโนโลยชี ีวภาพ 6.10 ช่วั โมงที่ 14-15 เรื่องเทคโนโลยชี วี ภาพในการขยายพนั ธ์ุปรับปรงุ พันธ์ุและเพิ่มผลผลิตของสัตว์ กระบวนการจดั การเรียนจดั การสอนโดยวิธสี อนโดยเน้นกระบวนการ วิธสี อนแบบ สืบเสาะหาความรู้(Inquiry Method : 5E) ขน้ั ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) ครสู นทนากับนักเรยี นเก่ียวกับหลกั การและความสาคัญของเทคโนโลยชี วี ภาพ แลว้ ถามนักเรยี นว่า ประเทศไทยไดม้ ีการนาเทคโนโลยชี วี ภาพมาใชใ้ นการขยายพนั ธุ์ ปรบั ปรงุ พนั ธ์ุ หรอื เพิ่มผลผลติของสัตวด์ ้วยวธิ ีการใดบา้ ง ขนั้ ที่ 2 สารวจค้นหา (Explore) สมาชิกกล่มุ เดิมร่วมกันศึกษาความรูเ้ รอ่ื ง เทคโนโลยีชวี ภาพในการขยายพันธุ์ ปรบั ปรงุ พันธุ์และเพิ่มผลผลิตของสัตว์ จากหนังสอื เรียน ห้องสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตามประเดน็ ที่กาหนด ข้ันที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain) 1. สมาชิกแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั อธบิ ายความรูท้ ไี่ ดจ้ ากการศึกษาภายในกลุ่มเกย่ี วกับหลกั การ วิธีการ และผลกระทบจากการใช้เทคโนโลยชี วี ภาพในการขยายพันธ์ุ ปรับปรุงพันธุ์ และเพ่ิมผลผลติของสตั ว์ 2. ครูสุ่มนกั เรียน 3 กลุ่ม อธบิ ายหลักการ วธิ กี าร และผลกระทบจากการเทคโนโลยชี ีวภาพในการขยายพันธุ์ ปรบั ปรุงพนั ธ์ุ และเพิ่มผลผลิตของสตั ว์ หนา้ ชนั้ เรยี น ครแู ละเพื่อนกลมุ่ อน่ืช่วยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครใู หน้ ักเรยี นเล่นเกมปริศนาอกั ษรไขว้ โดยครูอ่านข้อความใหน้ กั เรียนฟัง แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มเขยี นคาตอบลงในชอ่ งว่างให้ถูกต้อง กลมุ่ ใดตอบได้ถูกต้องมากท่สี ดุ เป็นกล่มุ ชนะ 2. ครขู ออาสาสมัครนักเรียน อธิบายรายละเอยี ดเก่ียวกับการโคลนแกะดอลลี จากแผนภมู ิที่ครนู ามาใหด้ ู 3. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มช่วยกันทาใบงานท่ี 2.10 เรอ่ื ง การปรับปรงุ พันธสุ์ ตั ว์ 4. ครจู บั สลากเลอื กนักเรยี น 3-4 กลุ่ม นาเสนอใบงานท่ี 2.10 หนา้ ช้นั เรียน แลว้ ให้สมาชิกกลุม่ อน่ื ท่มี ีคาตอบแตกตา่ งนาเสนอเพิ่มเตมิ ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)

ครูตรวจสอบผลนักเรยี นจากการทาใบงานที่ 2.10 และจากการอธิบายเก่ียวกับหลักการวธิ ีการ และผลกระทบจากการใชเ้ ทคโนโลยชี วี ภาพในการขยายพันธุ์ ปรบั ปรงุ พันธุ์ และเพิ่มผลผลิตของสตั ว์7. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1) หนงั สือเรยี น วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 2) แบบวัดและบนั ทึกผลการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ม.2 3) บทเรียนคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite วิทยาศาสตร์ ม.2 บรษิ ัท เพลย์เอเบิลจากดั 4) บทความ 5) เกมปริศนาอักษรไขว้ 6) แผนภูมิแสดงการโคลนแกะดอลลี 7) บัตรคา 8) บตั รภาพ 9) แบบจาลองโครงสรา้ งอวัยวะในระบบสืบพนั ธุข์ องมนษุ ย์ สมองของมนุษย์ 10) วซี ีดีสารคดกี ารผสมพันธ์ุสัตว์ และสตั วแ์ สนรู้ 11) ใบงานท่ี 2.1 เรื่อง วฏั จักรชวี ติ เตา่ ทะเล 12) ใบงานท่ี 2.2 เรอ่ื ง อวัยวะสืบพนั ธ์ขุ องมนุษย์ 13) ใบงานท่ี 2.3 เรื่อง ระบบประสาทของสัตว์ 14) ใบงานท่ี 2.4 เร่ือง ระบบประสาทของมนุษย์ 15) ใบงานท่ี 2.5 เรือ่ ง ความสมั พนั ธข์ องระบบหายใจและระบบไหลเวียนเลือด 16) ใบงานที่ 2.6 เร่อื ง ความสัมพันธ์ของระบบต่างๆ ในรา่ งกายมนุษย์ 17) ใบงานท่ี 2.7 เรื่อง การแสดงพฤติกรรมเพื่อตอบสนองต่อส่ิงเรา้ 18) ใบงานท่ี 2.8 เรือ่ ง การตอบสนองต่อสภาพอากาศของอูฐ 19) ใบงานที่ 2.9 เร่อื ง พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ 20) ใบงานท่ี 2.10 เรื่อง การปรบั ปรุงพันธ์ุสตั ว์7.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องสมดุ 2) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ - http://www.surin.js.ac.h/1ระบบในร่างกาย/index.htm - http://www.cedarville.edu/personal/jwf/bio100/lecturequiz21b.swf

- http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewgroup/151 ระบบขบั ถา่ ย - http://www.youtube.com8. บนั ทกึ หลงั การสอน. 8.1 ดา้ นความรู้(K) ............................................................................................................................. .................................. 8.2ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ............................................................................................................................................................... 8.3 ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์(A) ............................................................................................................................. ........................... 8.4 ด้านสมรรถนะสาคัญผู้เรียน(C) ............................................................................................................................. ...........................ปญั หาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ................................................................................................................................................ .......................... ลงชอ่ื ................................................ครูผสู้ อน (...........................................) วันที่ ........................................ความคดิ เห็นหัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..................................................................................................................... ..................................................... ลงชือ่ ................................................หวั หน้ากลมุ่ สาระ (...........................................) วันที่ ........................................ความคดิ เห็นหัวหนา้ กล่มุ งานบริหารวชิ าการ............................................................................................................................. ............................................. ลงช่ือ ..................................... หัวหนา้ กลมุ่ งานบริหารวิชาการ (...........................................) วนั ที่ ........................................ความคดิ เหน็ ผู้บริหารสถานศึกษา............................................................................................................................. ............................................. ลงช่อื .............................................................. (...........................................)

วันที่ ........................................ ตาแหน่ง ............................................................. แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 เร่อื ง อาหารและสารเสพตดิ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 22101 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 15 ชั่วโมง ครูผสู้ อน นางสาวทัศนยี ์ วงทองดี โรงเรียน หันคาราษฎร์รงั สฤษดิ์1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวดั ว 1.1 ม.2/5 ทดลอง วเิ คราะห์ และอธิบายสารอาหารในอาหารมปี รมิ าณพลังงานและสดั สว่ นท่ีเหมาะสมกับเพศและวัย ม.2/6 อภปิ รายผลของสารเสพตดิ ต่อระบบต่างๆ ของรา่ งกายและแนวทางในการป้องกันตนเองจากสารเสพติด ว 8.1 ม.1-3/1 ตงั้ คาถามท่ีกาหนดประเด็นหรือตัวแปรท่ีสาคัญในการสารวจ ตรวจสอบ หรือศึกษาคน้ ควา้ เรือ่ งทสี่ นใจได้อย่างครอบคลุมและเชอ่ื ถอื ได้ ม.1-3/2 สร้างสมมติฐานท่สี ามารถตรวจสอบได้ และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลายๆ วธิ ี ม.1-3/3 เลอื กเทคนิควธิ ีการสารวจตรวจสอบท้ังเชิงปริมาณและเชงิ คุณภาพที่ได้ผลเทยี่ งตรงและปลอดภยั โดยใช้วสั ดแุ ละเคร่ืองมือท่ีเหมาะสม ม.1-3/4 รวบรวมข้อมลู จดั กระทาข้อมูลเชงิ ปริมาณและคุณภาพ ม.1-3/5 วเิ คราะห์และประเมนิ ความสอดคล้องของประจกั ษ์พยานกับข้อสรุป ท้งั ท่สี นับสนนุหรอื ขดั แย้งกับสมมตฐิ านและความผดิ ปกติของข้อมูลจากการสารวจตรวจสอบ ม.1-3/6 สรา้ งแบบจาลอง หรือรปู แบบที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสารวจตรวจสอบ ม.1-3/7 สรา้ งคาถามท่นี าไปสูก่ ารสารวจตรวจสอบในเร่ืองทเี่ กยี่ วข้อง และนาความรู้ท่ีได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ หรืออธิบายเก่ยี วกับแนวคดิ กระบวนการ และผลของโครงงานหรือช้นิ งานใหผ้ ้อู ื่นเขา้ ใจ ม.1-3/8 บนั ทกึ และอธบิ ายผลการสังเกต การสารวจตรวจสอบคน้ คว้าเพิ่มเติมจากแหลง่ความรตู้ ่างๆ ให้ไดข้ ้อมลู ท่เี ช่ือถอื ได้ และยอมรับการเปลยี่ นแปลงความรูท้ ี่คน้ พบ เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิม่ ขึน้ หรอื โต้แยง้ จากเดิม

ม.1-3/9 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกยี่ วกบั แนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชนิ้ งานใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจ2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด แปง้ นา้ ตาล ไขมัน โปรตนี และวติ ามนิ เปน็ สารอาหารท่เี ราสามารถตรวจสอบได้ การเลือกบรโิ ภคจาเปน็ ตอ้ งให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสดั ส่วนทีเ่ หมาะสมกับเพศและวัย และได้รบั ปริมาณพลงั งานเพยี งพอตอ่ความตอ้ งการของรา่ งกาย และการท่ีร่างกายไดร้ ับสารเสพติดจะมีผลต่อการทางานของระบบต่างๆ ของรา่ งกาย จงึ ควรหลกี เล่ียง3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 1) แป้ง น้าตาล ไขมัน โปรตีน วิตามนิ ซี เปน็ สารอาหารและสามารถทดสอบได้ 2) การบรโิ ภคอาหารจาเป็นตอ้ งให้ไดส้ ารอาหารทคี่ รบถว้ นในสดั ส่วนท่เี หมาะสมกบั เพศและวยั และได้รบั ปริมาณพลังงานทเ่ี พียงพอกบั ความต้องการของร่างกาย 3) สารเสพตดิ แตล่ ะประเภทมีผลต่อระบบต่างๆ ของร่างกาย ทาให้ระบบเหลา่ น้ันทาหน้าที่ผดิ ปกติ ดงั น้ันจึงต้องหลกี เลย่ี งการใช้สารเสพตดิ และหาแนวทางในการป้องกันตนเองจากสารเสพติด 3.2 ทักษะกระบวนการ (P) อธบิ าย สบื คน้ ทดลอง เขียน ทดสอบ 3.3 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) มีวนิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ มุง่ ม่นั ในการทางาน 3.4 สมรรถนะสาคัญผู้เรียน (C) 3.4.1 ความสามารถในการคิด 1) ทักษะการสารวจคน้ หา 2) ทกั ษะการวิเคราะห์ 3) ทกั ษะการเช่อื มโยง 4) ทกั ษะการสร้างความรู้ 5) ทกั ษะการให้เหตผุ ล 3.4.2 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 3.4.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี4. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1. รายงาน เรื่อง อาหารกบั สุขภาพ (ชน้ิ งานท่ี 1) 2. แผน่ พบั เร่ือง สารเสพติด (ชน้ิ งานท่ี 2)

แบบประเมินรายงาน เรื่อง อาหารกบั สขุ ภาพรายการประเมิน ดมี าก (4) คาอธิบายระดับคุณภาพ / ระดบั คะแนน ปรบั ปรงุ (1) ดี (3) พอใช้ (2)1. การทดลองหา ทดลองหาสารอาหาร ทดลองหาสารอาหาร ทดลองหาสารอาหาร ทดลองหาสารอาหาร สารอาหารในอาหาร ในอาหารไดถ้ กู ต้องครบ ในอาหารไดถ้ กู ตอ้ ง ในอาหารไดถ้ ูกต้อง ในอาหารไดถ้ กู ต้อง ทง้ั 5 ชนดิ คือ 4 ชนดิ และสร้างตาราง 3 ชนดิ และสรา้ งตาราง 2 ชนิด และสรา้ งตาราง 1) โปรตีน แสดงสารอาหารทพี่ บใน แสดงสารอาหารทีพ่ บใน แสดงสารอาหารที่พบใน 2) คารโ์ บไฮเดรต อาหารไดถ้ กู ตอ้ ง ชดั เจน อาหารได้ค่อนข้าง อาหารไดค้ ่อนข้าง 3) น้าตาล ชดั เจน ชัดเจน 4) ไขมนั 5) วิตามนิ ซี และสรา้ งตารางแสดง สารอาหารท่ีพบใน อาหารไดถ้ ูกต้อง ชดั เจน2. การวเิ คราะห์ วเิ คราะหส์ ารอาหาร วเิ คราะหส์ ารอาหาร วิเคราะหส์ ารอาหาร วิเคราะหส์ ารอาหาร สารอาหารในอาหาร ในอาหารได้ถกู ตอ้ ง ในอาหารได้ถูกตอ้ ง ในอาหารไดถ้ กู ตอ้ ง ในอาหารได้ถกู ตอ้ ง ทง้ั 5 ชนดิ 4 ชนิด 3 ชนดิ 2 ชนิด3. การอธิบายปริมาณ อธบิ ายปริมาณพลงั งาน อธิบายปรมิ าณพลงั งาน อธิบายปริมาณพลงั งาน อธิบายปรมิ าณพลงั งาน ในสดั สว่ นท่ีรา่ งกาย ในสดั สว่ นท่รี า่ งกาย ในสัดส่วนทร่ี า่ งกายพลงั งานในสัดสว่ นที่ ในสัดสว่ นทรี่ า่ งกาย ควรไดร้ บั ไดถ้ ูกตอ้ งเป็น ควรไดร้ ับไดถ้ ูกตอ้ งเปน็ ควรไดร้ ับไมถ่ กู ต้อง ส่วนใหญ่ เหมาะสมกบั ส่วนน้อย ไม่ค่อยเหมาะสมกบั ควรไดร้ ับไดถ้ ูกต้อง เพศและวัย เหมาะสมกบั เพศและวยัเพศและวัย เหมาะสมกบั เพศและวยัเกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพช่วงคะแนน 11 - 12 9 - 10 6 - 8 ตา่ กว่า 6ระดับคณุ ภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุแบบประเมินแผ่นพบั เรอื่ ง สารเสพติดรายการประเมิน ดีมาก (4) คาอธิบายระดบั คุณภาพ / ระดับคะแนน ปรับปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) อธบิ ายผลของสาร1. การอธิบายผลของ อธบิ ายผลของสาร อธิบายผลของสาร อธบิ ายผลของสาร

สารเสพติด เสพติดทมี่ ตี อ่ ระบบตา่ งๆ เสพตดิ ทม่ี ีต่อระบบตา่ งๆ เสพตดิ ทม่ี ตี อ่ ระบบตา่ งๆ เสพตดิ ทมี่ ตี ่อระบบต่างๆที่มตี ่อระบบตา่ งๆของร่างกาย ของร่างกายได้ถกู ต้อง ของรา่ งกายไดถ้ กู ตอ้ ง ของร่างกายไดถ้ กู ตอ้ ง ของรา่ งกาย ชดั เจน เป็นส่วนใหญ่ เปน็ ส่วนน้อย ไม่ถูกต้อง2. การอธิบายแนวทาง อธบิ ายแนวทางในการ อธิบายแนวทางในการ อธิบายแนวทางในการ อธิบายแนวทางในการ ในการปอ้ งกัน ป้องกันตนเองจากสาร ปอ้ งกันตนเองจากสาร ปอ้ งกันตนเองจากสาร ปอ้ งกนั ตนเองจากสาร ตนเองจากสารเสพ เสพติดได้ถกู ต้อง เสพตดิ ได้ถูกต้อง เสพติดไดถ้ กู ต้อง เสพติดไดถ้ ูกตอ้ ง ตดิ 10 ขอ้ ขนึ้ ไป 8-9 ข้อ 5-7 ข้อ น้อยกว่า 5 ขอ้เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพช่วงคะแนน 8 6 - 7 4 - 5 ต่ากว่า 4ระดบั คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ5. การวัดและการประเมนิ ผล 5.1 การประเมนิ ก่อนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 เรอ่ื ง อาหารและสารเสพตดิ 5.2 การประเมินระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1) ตรวจใบงานที่ 3.1 เรอ่ื ง อาหารท่สี มดุล 2) ตรวจใบงานท่ี 3.2 เรอ่ื ง สารอาหารที่ให้พลงั งาน 3) ตรวจใบงานที่ 3.3 เรื่อง การทดสอบสารอาหาร 4) ตรวจใบงานท่ี 3.4 เร่ือง อาหารกบั สขุ ภาพ 5) ตรวจใบงานท่ี 3.5 เรือ่ ง สารเสพตดิ 6) ตรวจใบงานที่ 3.6 เรอ่ื ง การป้องกนั ตนเองจากสารเสพตดิ 7) ตรวจแบบบนั ทกึ การอา่ น 8) ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 9) สงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล 10) สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ 11) สังเกตคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 5.3 การประเมินหลงั เรยี น - ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เร่ือง อาหารและสารเสพตดิ 5.4 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1) ตรวจรายงาน เรอ่ื ง อาหารกับสุขภาพ

2) ตรวจแผน่ พบั เร่อื ง สารเสพตดิ6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 6.1 ช่วั โมงที่ 1-2 เรอื่ งท่ี 1 อาหาร จดั กระบวนการเรยี นการสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการเรียนความร้คู วามเข้าใจ ขั้นที่ 1 สงั เกต ตระหนัก 1. ครนู าภาพอาหาร มาใหน้ ักเรียนดู แลว้ ถามนกั เรียนว่า อาหารมคี วามสาคัญตอ่ การดารงชวี ติของมนษุ ย์อย่างไร จากนนั้ ครูอธบิ ายเพมิ่ เตมิ เก่ยี วกับสารอาหารให้นักเรยี นฟัง 2. ครถู ามนักเรยี นว่า สารอาหารชนิดใดบ้างท่ีให้พลังงานแกร่ ่างกาย และในวัยของนักเรยี นตอ้ งการปริมาณพลงั งานจากสารอาหารตอ่ วนั เท่าไร ข้ันที่ 2 วางแผนปฏิบตั ิ ครใู ห้นกั เรยี นแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 4 คน ตามความสมคั รใจ แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกล่มุ ร่วมกันวางแผนในการศกึ ษาความรูเ้ ร่ือง อาหาร จากหนงั สอื เรียน ห้องสมดุ และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตามประเดน็ ที่กาหนด ขัน้ ท่ี 3 ลงมอื ปฏบิ ัติ สมาชกิ แตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันศกึ ษาความรู้เรื่อง อาหาร จากหนังสอื เรยี น ห้องสมดุ และแหล่งข้อมลู สารสนเทศ ตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ ขนั้ ท่ี 4 พฒั นาความรู้ ความเขา้ ใจ 1. ครูสนทนากับนักเรยี นวา่ ในวยั ของนักเรยี นต้องการอาหารที่มีพลงั งานและโปรตีนเป็นจานวนมาก ซ่ึงความต้องการพลงั งานจะมากหรือน้อยขนึ้ อยกู่ ับปจั จัยหลายประการ เชน่ อายุ เพศ ขนาดของ รา่ งกาย และกิจกรรมที่ทา เป็นต้น 2. ครนู าภาพเคร่ืองมือที่ใช้วดั คา่ พลงั งานจากอาหาร มาให้นักเรียนดู แลว้ รว่ มกันอธิบายรายละเอยี ด 3. นักเรียนแตล่ ะคนทาใบงานที่ 3.1 เรอ่ื ง อาหารทสี่ มดลุ 4. ครสู มุ่ นกั เรียน 5-6 คน นาเสนอใบงานท่ี 3.1 หนา้ ชั้นเรียน ครูตรวจสอบความถูกตอ้ งและอธิบายเพ่ิมเตมิ ขน้ั ที่ 5 สรปุ ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปความรเู้ ก่ียวกับพลงั งานที่ไดจ้ ากอาหารและปริมาณพลังงานจากอาหารทีเ่ หมาะสมกบั เพศและวยั 6.2 ชั่วโมงที่ 3-4 เรอื่ งที่ 2 สารอาหารท่ีให้พลงั งาน จัดกระบวนการเรียนการสอนโดยเน้นกระบวนการ กลุ่มสัมพนั ธ์ ข้ันที่ 1 นาเข้าสบู่ ทเรียน

ครูให้นกั เรยี นชว่ ยกันยกตวั อย่างอาหารที่นกั เรยี นรับประทาน ครูจดคาตอบบนกระดานแล้วใหน้ กั เรยี นช่วยกันบอกว่า อาหารแต่ละชนดิ ใหส้ ารอาหารประเภทใด ขั้นที่ 2 จดั การเรยี นรู้ 1. ครูให้นักเรียนเลน่ เกม ฉนั มีประโยชน์อยา่ งไร โดยให้นักเรยี นแต่ละคนจบั สลากเลอื กอาหาร คนละ 1 ชื่อแลว้ ทาป้ายช่อื ไวส้ าหรบั คล้องคอเพ่ือเล่นเกม 2. ครูช้แี จงกตกิ าการเล่นเกมให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรยี นเลน่ เกมตามระยะเวลาที่กาหนด 3. สมาชิกแต่ละกลุ่มรว่ มกันศกึ ษาความร้เู รื่อง สารอาหารท่ใี ห้พลงั งาน จากหนังสือเรยี น ห้องสมดุ และแหล่งข้อมลู สารสนเทศ 4. สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ นาความรูท้ ี่ไดจ้ ากการศึกษามาวิเคราะหว์ ่า สารอาหารชนดิ ท่ีนักเรียนศึกษาน้นั มีประโยชนต์ อ่ ร่างกายอยา่ งไร 5. ครูสุ่มนักเรยี น 3 กล่มุ นาเสนอผลการวเิ คราะหเ์ กี่ยวกบั ประโยชน์ทีร่ ่างกายไดร้ บัจากการสารอาหาร ขัน้ ท่ี 3 สรุปและนาหลักการไปประยุกตใ์ ช้ 1. นกั เรยี นท้ังห้องร่วมกนั สรปุ ความรเู้ ก่ยี วกบั สารอาหารทใ่ี ห้พลงั งานแก่รา่ งกาย 2. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั ทาใบงานท่ี 3.2 เรือ่ ง สารอาหารทใี่ หพ้ ลงั งาน ขั้นท่ี 4 วดั และประเมนิ ผล สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มแลกเปลย่ี นใบงานท่ี 3.2 กบั เพื่อนกลมุ่ อื่น แลว้ ผลดั กันตรวจสอบความถูกตอ้ ง เสรจ็ แลว้ นาสง่ ครูเพ่ือประเมนิ ผล 6.3 ช่วั โมงท่ี 5-6 เรอ่ื ง สารอาหารที่ไม่ใหพ้ ลงั งาน จดั กระบวนการเรยี นการสอนโดยเนน้ กระบวนการ สร้างความตระหนัก ขน้ั ที่ 1 สังเกต 1. ครสู นทนากับนักเรยี นเกยี่ วกับอาหารท่ีใหส้ ารอาหารประเภทโปรตนี คาร์โบไฮเดรตและไขมัน 2. ครูถามนักเรยี นวา่ อาหารประเภทผักและผลไม้ให้สารอาหารประเภทใด แล้วสารอาหารที่ไดใ้ ห้พลังงานแก่ร่างกายหรอื ไม่ ขน้ั ที่ 2 วิเคราะห์วจิ ารณ์ 1. สมาชกิ แต่ละคนในกล่มุ เลอื กหมายเลขประจาตัว ตั้งแตห่ มายเลข 1-4 แลว้ ใหแ้ ตล่ ะหมายเลขศึกษาความรเู้ ร่อื ง สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน จากหนงั สือเรียน ดังนี้ - หมายเลข 1 ศึกษาความรู้เรอ่ื ง วติ ามิน - หมายเลข 2 ศกึ ษาความร้เู รอ่ื ง แร่ธาตุ - หมายเลข 3 ศกึ ษาความรู้เร่อื ง น้า

- หมายเลข 4 ศกึ ษาความรเู้ รื่อง เสน้ ใยอาหาร 2. สมาชิกแต่ละหมายเลขผลดั กันอธบิ ายความรทู้ ่ีได้จากการศึกษาให้สมาชิกหมายเลขอื่นๆ ในกลมุ่ ฟงั 3. สมาชกิ แต่ละกลมุ่ ร่วมกันวเิ คราะห์วา่ วิตามิน แร่ธาตุ นา้ และเสน้ ใยอาหาร มีความสาคญั ต่อร่างกายอยา่ งไร และถา้ ขาดสารอาหารเหล่านี้จะส่งผลต่อร่างกายอย่างไร 4. ตวั แทนกลุม่ นาเสนอผลการวิเคราะห์หน้าช้นั เรยี น แล้วให้เพอื่ นกลุม่ อืน่ ช่วยกันวจิ ารณ์ผลการวิเคราะห์และแสดงความคดิ เห็นเพม่ิ เติมในส่วนทีแ่ ตกต่าง ครูตรวจสอบความถกู ต้อง 5. ครนู าตารางแสดงประเภทของวิตามินและแรธ่ าตุ มาให้นกั เรยี นช่วยกนั วเิ คราะห์ข้อมูล เพอื่ สนับสนนุ ความรู้ความเข้าใจของนักเรียน ขน้ั ที่ 3 สรปุ นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปความรู้เรอ่ื ง สารอาหารท่ีไม่ใหพ้ ลงั งาน 6.4 ชั่วโมงท่ี 7-8 เรอื่ ง การทดสอบสารอาหาร จัดกระบวนการเรียนการสอนโดยเนน้ กระบวนการ ทดลอง ขั้นท่ี 1 เตรียมการทดลอง 1. ครูให้นกั เรียนดูภาพอาหารหลัก 5 หมู่ แลว้ ช่วยกนั บอกว่า อาหารในแต่ละหม่ใู ห้สารอาหารประเภทใดแล้วสนทนากบั นักเรยี นเก่ยี วกับเหตุผลสาคญั ในการเลือกรบั ประทานอาหารของคนเรา 2. ครนู าน้าตาล ไข่ขาว นา้ มนั พืช และผลไม้ มาให้นักเรยี นดู แลว้ ถามนกั เรยี นว่าอาหารเหลา่ นใ้ี หส้ ารอาหารประเภทใด ทดสอบได้ด้วยวิธใี ด 3. ครูแจ้งใหน้ กั เรยี นทราบวา่ ครูจะใหน้ กั เรียนทาการทดลองเพ่ือทดสอบหาสารอาหารจากนั้นครอู ธิบายอุปกรณแ์ ละขน้ั ตอนการทดลองใหน้ ักเรียนฟงั ข้นั ที่ 2 ดาเนนิ การทดลอง สมาชิกแต่ละกลุ่มทาการทดลองตามขั้นตอนที่กาหนด และบนั ทึกผลการทดลองลงในใบงานที่ 3.3 เรอ่ื ง การทดสอบสารอาหาร ขั้นที่ 3 นาเสนอผลการทดลอง ตัวแทนแต่ละกลมุ่ นาเสนอผลการทดลองในใบงานที่ 3.3 หนา้ ช้ันเรยี น แล้วใหส้ มาชกิกลมุ่ อ่ืนชว่ ยแสดงความคดิ เห็นเพ่ิมเติมในสว่ นที่แตกตา่ ง ข้ันท่ี 4 สรปุ ผลการทดลอง ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรปุ วิธีการทดลองและผลการทดลองที่ได้จากการทดสอบสารอาหารในอาหารแต่ละชนิดในใบงานท่ี 3.3 ขน้ั ที่ 5 ประเมนิ ผลการทดลอง ครปู ระเมินผลนักเรยี นจากการทาการทดลองและสรุปผลการทดลองในใบงานท่ี 3.3

6.5 ชวั่ โมงท่ี 9-10 เร่อื ง อาหารกบั สขุ ภาพ จัดกระบวนการเรยี นการสอนโดยเน้นกระบวนการแบบ โมเดลซิปปา (CIPPA Model) ขน้ั ที่ 1 ทบทวนความร้เู ดิม ครนู าภาพเด็ก 2 ภาพ มาให้นักเรียนดู แล้วใหน้ กั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นวา่ เพราะเหตใุ ด เดก็ ในภาพจึงมีความแตกตา่ งกนั จากนัน้ ครูเฉลยคาตอบและอธบิ ายเพ่มิ เติมให้นักเรยี นเหน็ ความสาคัญของอาหารท่ีมตี ่อสุขภาพ ขน้ั ที่ 2 แสวงหาความรู้ใหม่ สมาชิกในกลมุ่ จบั คกู่ นั เปน็ 2 คู่ ให้แตล่ ะคู่ศึกษาความรู้เรื่อง อาหารกบั สขุ ภาพ จากหนังสือเรยี น ห้องสมดุ และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตามประเด็นท่ีกาหนดขนั้ ที่ 3 ศกึ ษาทาความเข้าใจขอ้ มลู /ความรู้ใหม่ และเชอื่ มโยงความรใู้ หมก่ บั ความรู้เดิม สมาชกิ แตล่ ะคู่รว่ มกนั อภปิ รายความรทู้ ไ่ี ด้จากการศึกษาเก่ียวกบั ความสาคัญของอาหารต่อสุขภาพและแนวทางการบรโิ ภคอาหารเพอื่ สุขภาพ ข้ันท่ี 4 แลกเปลย่ี นความรู้ความเขา้ ใจกบั กลมุ่ สมาชกิ แต่ละคกู่ ลบั กลุ่มเดมิ (4 คน) แลว้ นาผลการอภิปรายมาเปรียบเทียบกับสมาชกิ อีกคู่หนง่ึ ท่อี ยใู่ นกลุ่มเดยี วกนั และช่วยกันวเิ คราะหค์ วามถูกต้อง ขนั้ ท่ี 5 สรุปและจัดระเบยี บความรู้ สมาชกิ แต่ละกลุ่มรว่ มกนั สรุปความรู้เกย่ี วกบั ความสาคัญของอาหาร และแนวทางการบรโิ ภคอาหารเพื่อสขุ ภาพ ขน้ั ท่ี 6 ปฏบิ ตั แิ ละ/หรือแสดงผลงาน 1. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั ทาใบงานที่ 3.4 เรอื่ ง อาหารกบั สุขภาพ 2. ครูใหน้ กั เรยี น 3-4 กลมุ่ นาเสนอใบงานที่ 3.4 หน้าช้ันเรียน แล้วให้เพอ่ื นกลุ่มอน่ืนาเสนอเพิ่มเตมิ ขัน้ ท่ี 7 ประยุกต์ใช้ความรู้ สมาชกิ แต่ละกลมุ่ ร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ วา่ นกั เรียนสามารถนาความรูเ้ กีย่ วกับแนวทางการบริโภคอาหารเพื่อสขุ ภาพไปประยุกตใ์ ช้ในการเลอื กรับประทานอาหารในชวี ติ ประจาวันได้อย่างไร 6.6 ชว่ั โมงที่ 11-12 เร่ือง โภชนาการของเดก็ วัยเรียน จดั กระบวนการเรยี นการสอนโดยเนน้ กระบวนการแบบ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ ขน้ั ท่ี 1 สงั เกต 1. ครขู ออาสาสมัครนักเรียน 1 คน เขียนรายการอาหารทีร่ ับประทานใน 1 วัน จากนนั้ครูและเพ่อื นคนอน่ื ๆ ช่วยกันวิเคราะหว์ า่ นกั เรียนอาสาสมัครไดร้ บั สารอาหารอะไรบ้าง และขาดสารอาหารอะไรบา้ ง 2. ครูใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั บอกสาเหตทุ ีท่ าใหเ้ ด็กวยั เรียนรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่

ข้นั ที่ 2 อธิบาย 1. สมาชิกแตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั ศกึ ษาความรู้เร่ือง โภชนาการของเดก็ วัยเรียน จากหนังสอื เรยี น ห้องสมดุ และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ 2. สมาชิกแต่ละกล่มุ นาความร้ทู ่ีไดจ้ ากการศึกษามาอธบิ ายเก่ียวกับ สาเหตุและผลกระทบของการขาดสารอาหาร รวมถงึ แนวทางการป้องกนั ไม่ให้ขาดสารอาหารหรือไดร้ บั สารอาหารเกนิความตอ้ งการของรา่ งกาย ขน้ั ที่ 3 รบั ฟงั สมาชิกแตล่ ะคนรบั ฟงั การแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับสาเหตุและผลกระทบของการขาดสารอาหาร รวมถึงแนวทางการป้องกนั ไมใ่ ห้ขาดสารอาหารหรือไดร้ บั สารอาหารเกนิ ความตอ้ งการของรา่ งกาย ของสมาชิกในกล่มุ และเสนอแนะเพ่ิมเติม ข้นั ท่ี 4 เชอ่ื มโยงความสมั พนั ธ์ ครสู ุ่มนักเรียน 3-4 กลมุ่ นาเสนอผลการอธิบายหน้าชั้นเรียน สมาชิกกลมุ่ อืน่ นาผลการอธบิ ายของเพ่ือนกลุ่มทน่ี าเสนอมาเปรยี บเทียบกบั กลุ่มตนเอง เพ่ือให้ไดผ้ ลการอธิบายท่ีตรงกัน ขน้ั ที่ 5 วิจารณ์ สมาชกิ แต่ละคนคิดรายการอาหารที่จะบรโิ ภคใน 1 วัน แลว้ นาขอ้ มูลมาร่วมกนั วิจารณ์ภายในกลุ่มวา่ รายการอาหารของสมาชิกแต่ละคนเหมาะสมกบั ความตอ้ งการของรา่ งกายหรอื ไม่ ขั้นที่ 6 สรปุ ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรุปความรู้เกย่ี วกับสาเหตุและผลกระทบของการขาดสารอาหาร รวมถึงแนวทางการปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ ดก็ ในวัยเรียนขาดสารอาหารหรือไดร้ บั สารอาหารเกินความตอ้ งการของรา่ งกาย ****ครูมอบหมายให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ จดั ทารายงาน เร่ือง อาหารกบั สุขภาพ โดยใหค้ รอบคลุมประเด็นตามทีก่ าหนด 6.7 ช่วั โมงท่ี 13 เร่ือง ความหมายและประเภทของสารเสพตดิ จัดกระบวนการเรยี นการสอนโดยเน้นกระบวนการแบบรว่ มมือ : เทคนิคคคู่ ดิ ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรยี น 1. ครใู หน้ ักเรยี นอ่านขา่ วเกย่ี วกับผตู้ ิดสารเสพตดิ จบั คนเป็นตัวประกนั แลว้ ชว่ ยกนับอกลกั ษณะอาการของผู้เสพสารเสพตดิ 2. ครูให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ยกตวั อย่างสารเสพติดที่แพร่ระบาดในสงั คมไทย จากนั้นครูอธบิ ายเกีย่ วกบั สารเสพติด ให้นกั เรียนฟัง เพอื่ ใหน้ ักเรยี นตระหนักถึงโทษของสารเสพตดิ ข้ันสอน 1. นกั เรียนแต่ละคนศึกษาความร้เู รอื่ ง ความหมายของสารเสพติด และประเภทของสารเสพตดิ จากหนงั สือเรยี น

2. นกั เรยี นจับคกู่ ับเพ่ือนที่นงั่ ข้างกัน แลว้ ผลดั กันอธิบายความรูท้ ี่ไดจ้ ากการศึกษาให้สมาชิกที่เปน็ คู่ฟงั 3. นกั เรียนแตล่ ะคนทาใบงานที่ 3.5 เรื่อง สารเสพตดิ เสร็จแล้วจบั ค่กู บั เพ่ือนชว่ ยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง แลว้ นาสง่ ครูตรวจ 4. ครใู หน้ กั เรียนช่วยกันยกตัวอย่างสารเสพตดิ ทรี่ จู้ ักให้ไดม้ ากท่ีสุด จากนั้นครใู ห้นักเรียนจาแนกสารเสพติดท่ยี กตัวอย่างตามประเภทของสารเสพตดิ ทีเ่ รยี นมาทลี ะคน ครูตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นสรุป ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปความหมายของสารเสพติด และประเภทของสารเสพตดิ 6.8 ชัว่ โมงที่ 14-15 เรื่อง ผลของสารเสพติดตอ่ ร่างการ จดั กระบวนการเรยี นการสอนโดยเนน้ กระบวนการแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ข้ันท่ี 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกีย่ วกับมหนั ตภัยของสารเสพตดิ แล้วให้นกั เรยี นชว่ ยกันบอกสาเหตุทีท่ าให้กลมุ่ วยั รุ่นตดิ สารเสพติด 2. ครอู ธบิ ายเช่อื มโยงเพ่ือใหน้ ักเรยี นตระหนกั ถึงผลเสยี ของสารเสพตดิ ทมี่ ตี ่อร่างกายขนั้ ที่ 2 สารวจค้นหา (Explore) สมาชิกกลมุ่ เดมิ ร่วมกนั ศึกษาความรเู้ รือ่ ง สาเหตุท่ีทาใหต้ ิดสารเสพติด และผลของสารเสพติดต่อรา่ งกายจากหนังสือเรยี น หอ้ งสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ขน้ั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain) สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มร่วมกันอภิปรายประเด็นสาคัญของเรือ่ งที่ศึกษา และผลัดกันซักถามขอ้ สงสัย ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครูสนทนากับนักเรยี นเกยี่ วกับแนวทางการป้องกนั ตนเองจากสารเสพติด 2. สมาชิกแตล่ ะกลุม่ ชว่ ยกันทาใบงานท่ี 3.6 เร่อื ง การป้องกันตนเองจากสารเสพติด 3. สมาชกิ แต่ละกลมุ่ นาเสนอใบงานที่ 3.6 หนา้ ช้นั เรียน แล้วให้เพ่ือนกลมุ่ อื่นท่ีมผี ลงานแตกตา่ งนาเสนอเพมิ่ เติม ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจสอบผลนักเรียนจากการทาใบงานที่ 3.6 2. นักเรยี นและครูร่วมกันสรุปสาเหตุของการตดิ สารเสพตดิ ผลของสารเสพติดตอ่ร่างกาย และแนวทางการปอ้ งกันตนเองจากสารเสพตดิ

****ครมู อบหมายให้นกั เรยี นแต่ละกล่มุ จัดทาแผ่นพับ เร่ือง สารเสพตดิ โดยให้ครอบคลมุ ประเด็นตามท่ีกาหนด7. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้ 7.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียน วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.2 3) บทเรียนคอมพิวเตอร์ Smart L.O. LMS Lite วิทยาศาสตร์ ม.2 บรษิ ทั เพลย์เอเบลิจากัด 4) ตารางแสดงประเภทของวิตามนิ และแร่ธาตุ 5) บทความ อาหารกบั สุขภาพของเดก็ 6) เกมฉันมีประโยชน์อย่างไร 7) ตัวอย่างข่าว 8) บัตรภาพ 9) อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการทดลอง 10) ใบงานท่ี 3.1 เรื่อง อาหารท่ีสมดลุ 11) ใบงานท่ี 3.2 เร่อื ง สารอาหารท่ใี หพ้ ลงั งาน 12) ใบงานที่ 3.3 เรอ่ื ง การทดสอบสารอาหาร 13) ใบงานที่ 3.4 เร่อื ง อาหารกับสขุ ภาพ 14) ใบงานที่ 3.5 เรื่อง สารเสพติด 15) ใบงานท่ี 3.6 เรอ่ื ง การป้องกันตนเองจากสารเสพตดิ 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องสมดุ 2) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ - http://www.obeclms.com - http://www.kr.ac.th/tech/det48m2/f002.html - http://student.nu.ac.th/com51/new1.htm http://www.thaigoodview.com/library/contestt2552/type1/health03/05 /contents/food10.html - http://www.oncb.go.th/PortalWeb/ager/Portal/Internet

8. บันทกึ หลงั การสอน. 8.1 ด้านความร้(ู K) ............................................................................................................................. .................................. 8.2ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) ............................................................................................................................................................... 8.3 ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์(A) ............................................................................................................................. ........................... 8.4 ดา้ นสมรรถนะสาคัญผเู้ รียน(C) ............................................................................................................................. ...........................ปัญหาอุปสรรค/ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ............................................................................................................................. ............................................. ลงชื่อ ................................................ครูผสู้ อน (...........................................) วันที่ ........................................ความคดิ เห็นหวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้............................................................................................................................. ............................................. ลงชื่อ ................................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระ (...........................................) วนั ที่ ........................................ความคิดเห็นหวั หนา้ กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ............................................................................................................................. ............................................. ลงช่อื ..................................... หัวหน้ากลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ (...........................................) วนั ที่ ........................................ความคิดเหน็ ผบู้ ริหารสถานศึกษา...................................................................................... .................................................................................... ลงชอ่ื .............................................................. (...........................................) วันที่ ........................................ ตาแหน่ง .............................................................



แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เร่ืองการจดั ระบบในร่างกาย รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว 22101 ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 2 กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ชวั่ โมง ครผู สู้ อน นางสาวทศั นีย์ วงทองดี โรงเรียน หนั คาราษฎรร์ งั สฤษด์ิ1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชี้วดั ว 1.1 ม.2/1 อธบิ ายโครงสรา้ งและการทางานของระบบยอ่ ยอาหาร ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ระบบหายใจระบบขบั ถ่าย ระบบสบื พนั ธุข์ องมนุษยแ์ ละสตั ว์ รวมทงั้ ระบบประสาทของมนุษย์ ว 8.1 ม.1-3/1, ม.1-3/2, ม.1-3/3, ม.1-3/4, ม.1-3/5, ม.1-3/6, ม.1-3/92. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด มนุษยแ์ ละสตั วม์ กี ารจดั ระบบอวยั วะในแต่ละสว่ นของรา่ งกายใหท้ างานประสานกนั เพ่อื ใหส้ ามารถดารงชวี ติ อยา่ งเป็นปกติ3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง — สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ - การจดั ระบบในร่างกาย 3.2 ทกั ษะกระบวนการ (P) อธบิ าย สบื คน้ ทดลอง เขยี น 3.3 คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) มวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มนั่ ในการทางาน 3.4 สมรรถนะสาคญั ผเู้ รยี น (C) 3.4.1 ความสามารถในการคดิ 1) ทกั ษะการเชอ่ื มโยง 2) ทกั ษะการสรา้ งความรู้ 3) ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้ 3.4.2 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ4. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1. สมดุ ภาพ เรอ่ื ง ระบบร่างกายสตั ว์ (ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบไหลเวยี นเลอื ด ระบบหายใจ และระบบขบั ถ่าย) (ชน้ิ งานท่ี 1)

2. สมดุ ภาพ เรอ่ื ง ระบบร่างกายมนุษย์ (ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบไหลเวยี นเลอื ด ระบบหายใจ และระบบขบั ถ่าย) (ชน้ิ งานท่ี 2)5. กิจกรรมการเรยี รู้ วธิ สี อนแบบ สบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ขนั้ ท่ี 1 กระต้นุ ความสนใจ 1. ครนู าแผนภาพแสดงการจดั ระบบในร่างกาย มาใหน้ กั เรยี นดแู ลว้ สนทนากบั นกั เรยี นวา่ รา่ งกาย ของมนุษยแ์ ละสตั วป์ ระกอบขน้ึ จากหน่วยทม่ี ขี นาดเลก็ ทส่ี ุด คอื เซลล์ 2. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุน้ ความคดิ  อวยั วะต่างๆ ในรา่ งกาย ประกอบขน้ึ จากสงิ่ ใด (อวยั วะต่างๆ ในรา่ งกายนนั้ ประกอบข้นึ จากเน้อื เยอื่ ซงึ่ เป็นกลมุ่ ของเซลลท์ มี่ รี ปู รา่ งเหมอื นกนั มาอยรู่ วมกนั เพอื่ ทาหน้าที่อย่างใดอยา่ งหนงึ่ โดยเฉพาะ) ขนั้ ท่ี 2 สารวจค้นหา 1. ครถู ามนกั เรยี นวา่ รา่ งกายของเรานนั้ ประกอบดว้ ยระบบใดบา้ ง 2. ครอู ธบิ ายเกย่ี วกบั ระบบต่างๆ ในรา่ งกายของมนุษยแ์ ละสตั วใ์ หน้ กั เรยี นฟงั เพอ่ื เชอ่ื มโยงเขา้ สกู่ าร จดั ระบบในร่างกาย 3. ครแู บ่งนกั เรยี นเป็นกลุ่ม กลุม่ ละ 4 คน คละกนั ตามความสามารถ คอื เก่ง ปานกลางคอ่ นขา้ งเก่ง ปานกลางค่อนขา้ งอ่อน และอ่อน 4. สมาชกิ แต่ละคนในกลมุ่ เลอื กหมายเลขประจาตวั ตงั้ แต่หมายเลข 1-4 แลว้ ใหแ้ ต่ละหมายเลข ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง การหนังสือจดั ระบบในรา่ งกาย จากหนงั สอื เรยี นหรอื บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite หอ้ งสมดุ และแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ ดงั น้ี - หมายเลข 1 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง ระดบั เซลล์ - หมายเลข 2 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง ระดบั เน้อื เยอ่ื - หมายเลข 3 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง ระดบั อวยั วะ - หมายเลข 4 ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื ง ระดบั ระบบร่างกาย ขนั้ ท่ี 3 อธิบายความร้เู รียน ส่อื การเรยี นรู้ : ใบงานท่ี 1.1วทิ ยาศาสตร์ 1. สมาชกิ แต่ละหมายเลขนาความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษามาอธบิ ายใหส้ มาชกิ หมายเลขอ่นื ๆ ภายใน กลุ่มฟงั แลว้ รว่ มกนั สรปุ ออกมาในรปู แบบแผนผงั ความคดิ และบนั ทกึ ลงใน ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง การจดั ระบบ ในรา่ งกาย 2. ครสู ุ่มนกั เรยี น 3-4 กลุ่ม นาเสนอใบงานท่ี 1.1 หน้าชนั้ เรยี น ครแู ละเพอ่ื นกลมุ่ อ่นื ชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ขนั้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ 1. ครนู าภาพโครงรา่ งของมนุษย์ ตดิ บนกระดานหน้าชนั้ เรยี น และแจกภาพอวยั วะต่างๆ ใหน้ กั เรยี น แต่ละกลุม่ กลุ่มละ 1 ภาพ 2. ครจู บั สลากเลอื กตวั แทนแต่ละกลมุ่ นาภาพอวยั วะทไ่ี ดร้ บั มาตดิ บนโครงร่างของมนุษยใ์ หถ้ กู ตอ้ ง ตามตาแหน่ง

3. ครนู าภาพแสดงอวยั วะต่างๆ ของรา่ งกาย มาตดิ บนกระดานเพ่อื เปรยี บเทยี บคาตอบกบั นกั เรยี น จากนนั้ ครสู มุ่ นกั เรยี นออกมาทลี ะคนบอกช่อื อวยั วะและหน้าทต่ี ามหมายเลข บนบตั รภาพ 4. นกั เรยี นตอบคาถามกระตุน้ ความคดิ นกั เรยี นมวี ธิ ปี ฏบิ ตั ติ นอย่างไร เพอ่ื ใหร้ ะบบต่างๆในร่างกายทางานประสานสมั พนั ธก์ นั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ (เชน่ รกั ษาสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ใหด้ ี รบั ประทานอาหารทมี่ ปี ระโยชน์ ออกกาลงั กายสมา่ เสมอ ตรวจสขุ ภาพเป็นประจา เป็นตน้ ) ขนั้ ที่ 5 ตรวจสอบผล ครตู รวจสอบนกั เรยี นจากการทาใบงานท่ี 1.1 และจากการอธบิ ายตาแหน่งและหน้าทข่ี องอวยั วะต่างๆในรา่ งกาย6. การวดั และประเมินผลวิธีการ เครอื่ งมอื เกณฑ์ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการ แบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยการเรยี นรทู้ ่ี (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ )เรยี นรทู้ ่ี 1 1ตรวจใบงานท่ี 1.1 ใบงานท่ี 1.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ประเมนิ การนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบคุ คล แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน ระดบั คุณภาพ 2 ผ่าน รายบุคคล เกณฑ์สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์สงั เกตความมวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ และมงุ่ มนั่ ใน แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์การทางาน ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่าน เกณฑ์7. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี น วทิ ยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1 2) บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ Smart L.O. LMS Lite วทิ ยาศาสตร์ ม.2 บรษิ ทั เพลยเ์ อเบลิ จากดั 3) เอกสารประกอบการสอน 4) บตั รภาพ 5) ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง การจดั ระบบในรา่ งกาย 7.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ - http://www.surin.js.ac.h/1ระบบในรา่ งกาย/index.htm66.6.6.6

ภาพโครงรา่ งของมนุษย์ภาพโครงร่างมนุษย์

ภาพปอด ภาพไตภาพตบั ภาพกระเพาะภาพลาไส้ ภาพหวั ใจภาพสมอง ภาพอวยั วะสบื พนั ธ์ุที่มา : ยพุ า วรยศ และคณะ. 2554. หนังสือเรียน รายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น์.

บตั รภาพเซลล์ เน้อื เยอื่ อวยั วะ ระบบร่างกาย  ภาพแสดงการจดั ระบบในรา่ งกาย 1 5 2 6 3 7 4 ภาพแสดงอวยั วะต่างๆ ของรา่ งกาย

1. สมอง : เป็นสว่ นหน่งึ ของระบบประสาท ทาหน้าทค่ี วบคมุ การเคล่อื นไหว ศนู ยก์ ลางของความคดิ ความจา และอารมณ์ต่างๆ 2. ปอด : เป็นอวยั วะหนง่ึ ของระบบหายใจ ทาหน้าทแ่ี ลกเปลย่ี นแก๊สออกซเิ จนและคารบ์ อนไดออกไซดใ์ หก้ บั รา่ งกาย 3. ไต : เป็นอวยั วะหน่งึ ของระบบขบั ถ่าย ทาหน้าทก่ี รองของเสยี ออกจากเลอื ด 4. กระดกู : เป็นสว่ นหน่ึงของระบบค้าจุน ทาหน้าทช่ี ว่ ยพยุงและป้องกนั อนั ตราย ชว่ ยในการเคล่อื นไหว 5. หวั ใจ : เป็นสว่ นหน่งึ ของระบบหมนุ เวยี นของร่างกาย ทาหน้าทส่ี บู ฉีดเลอื ดใหห้ มนุ เวยี นไปทวั่ รา่ งกาย 6. กระเพาะอาหาร : เป็นสว่ นหน่งึ ของระบบย่อยอาหาร ทาหน้าทค่ี ลกุ เคลา้ และยอ่ ยอาหาร 7. อวยั วะเพศ : เป็นสว่ นหน่งึ ของระบบสบื พนั ธุ์ ทาหน้าทส่ี รา้ งเซลลส์ บื พนั ธุ์ ที่มา : ยพุ า วรยศ และคณะ. 2554. หนังสือเรียน รายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ม.2 เลม่ 1. พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2. กรุงเทพมหานคร : อกั ษรเจรญิ ทศั น์.ใบงานที่ 1.1 การจดั ระบบในร่างกายคาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเขยี นแผนผงั ความคดิ แสดงการจดั ระบบในร่างกายของมนุษยแ์ ละสตั ว์ ระดบั เซลล์ การจดั ระบบในร่างกาย ระดบั เน้อื เยอ่ืระดบั อวยั วะ ระดบั ระบบร่างกาย

ใบงานที่ 1.1 การจัดระบบในร่างกายคาชแี้ จง ให้นกั เรียนเขียนแผนผังความคิด แสดงการจดั ระบบในร่างกายของมนุษย์และสัตว์ (ตวั อยา่ ง)เซลลก์ ลา้ มเน้อื เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงเซลลป์ ระสาท ระดบั เซลล์ ระดบั เน้อื เยอ่ื ระดบั ระบบร่างกายเซลลส์ บื พนั ธุ์ เซลลบ์ ุผวิ การจดั ระบบในร่างกายระดบั อวยั วะ (พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของครผู สู้ อน)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook