Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการปลูกผัก

คู่มือการปลูกผัก

Description: คู่มือการปลูกผัก

Search

Read the Text Version

การปลูก ผักบุง้ จีนอินทรีย์ 1

ผกั บุ้งจีน ผักบุ้งจีน เป็นผักที่คนไทยนิยมรับประทานเนื่องจากเป็นผักที่หาซ้ือได้ขายตาม ท้องตลาด และเกษตรกรนิยมปลูกผักบุ้งจีนเนื่องจากเป็นผักที่ปลูกได้ง่าย เจริญเติบโตไว ระยะเวลาการปลูกเพียง 25-30วัน ก็สามารถเก็บเก่ียวได้แล้ว และ เปน็ ผกั สามารถปลกู ได้ตลอดทงั้ ปี การเตรียมดิน และเตรยี มแปลง การเตรียมดินแปลงปลูกผักบุ้งจีน ควรขุด/ไถพรวนดินให้ลึกประมาณ 15-20 เซนตเิ มตร ให้ตากดินท้ึงไว้ประมาณ 5-7 วัน แล้วย่อยหน้าดิน ให้ละเอียด แล้วใส่ปุ๋ย คอกหรือปุ๋ยหมักท่ีสลายตัวดีแล้วให้มากและใส่ปูนขาว ต่อมาให้คลุกเคล้าให้เข้ากับ ดินหรือให้ทั่วพ้ืนที่ แล้วให้ไถยกร่องแปลงกว้าง 1.5-2 เมตร ยาวตามความเหมาะสม และเว้นทางเดนิ ไว้ชว่ ง 30-50 เซนติเมตร 2

วิธีปลกู ผักบุ้งจีน - ก่อนปลูกให้น้าเมล็ดไปแช่น้านาน 8 – 12 ชั่วโมง เพ่ือให้เมล็ดดูดน้า และช่วยให้ เมล็ดงอกเร็วข้ึน - หลงั การแช่นา้ 5-10 นาที ให้คัดเมล็ดท่ลี อยนา้ ออก เพราะเป็นเมลด็ ท่ไี ม่สมบรู ณ์ - การปลกู ด้วยการหวา่ น ให้หว่านเมลด็ ในอตั รา 12-15 กิโลกรมั แห้ง/ไร่ - หากปลูกด้วยการหยอดเมล็ด ให้ใช้ไม้กดลากดินให้เป็นร่องลึก 2-3 เซนติเมตร ระยะหา่ งแถว 20-25 เซนติเมตร และโรยเมลด็ ตามแนวยาว แลว้ เกลี่ยดนิ กลบ - ในพืน้ ท่ีปลูก 100 ตารางเมตร หว่านเมลด็ ประมาณ 3.5กิโลกรมั จะได้ผลผลิตเฉลี่ย ประมาณ 175 กิโลกรัม โดยในฤดูรอ้ นจะเหมาะกับการปลูกผักบงุ้ จีนมากทีส่ ุด และมี รอบระยะเวลาในการหว่านเมล็ดทกุ ๆ 7 วัน/คร้งั เพอ่ื ใหไ้ ด้ผลผลติ ที่ตอ่ เน่ืองทกุ วนั - หลังการหวา่ นเมลด็ ให้คลุมด้วยฟางข้าวท่วั แปลง และรดนา้ ใหช้ มุ่ แชเ่ มลด็ กอ่ นปลูกจะชว่ ยให้งอกเรว็ ขึน้ 3

การดแู ลรักษา อายุ 1-5 วัน - เร่ิมงอกและแตกใบจริง 2-4 ใบ ควรดูแลเร่ืองการให้น้าจึงต้องให้น้าสม่้าเสมอทุก วันๆละ 1 – 2 ครัง้ และควรจัดการกา้ จัดวัชพชื ร่วมดว้ ย อายุ 7-20 วัน - ตน้ เริ่มเจริญเติบโตสงู ประมาณ 10-15 ซม. ควรหมั่นรดน้าใหม้ ากข้ึนและฉีดพ่นเช้ือ ราไตรโคเดอร์มาป้องกันโรคราสนิมขาว เพราะส่วนใหญ่โรคจะเกิดในช่วงระยะน้ี แมลงศัตรูผักบุ้งหากพบว่ามีการระบาดสร้างความเสียหายให้แก่พืช ได้แก่ อาการใบ หงิกงอ สาเหตุจากเพล้ียเข้าท้าลาย หากพบให้ก้าจัดด้วยน้าหมักใบยาสูบ น้าไปฉีด พ่นให้ทั่วทุก 5-7 วัน จะช่วยก้าจัดเพล้ียสาเหตุของใบหงิกงอได้ และช่วงน้ีอาจจะใส่ ปยุ๋ คอกหรอื ปยุ๋ หมกั ท่มี ไี นโตรเจนสงู รว่ มดว้ ยเพื่อกระต้นุ การเจรญิ เตบิ โต อายุ 25-30 - ต้นจะเจริญเติบโตเต็มที่สูงประมาณ 25-30 ซม. เราสามารถเก็บเก่ียวผลผลิตได้ พยายามเก็บในช่วงน้ี ถ้าช้ากว่านี้ต้นจะแตกแขนงใบจะใหญ่จะไม่เป็นที่ต้องการของ ทอ้ งตลาด การให้นา้ ผักบุ้งจีนเป็นพืชท่ีชอบดินปลูกที่ชุ่มชื้น แต่ไม่แฉะจนมีน้าขัง ฉะน้ันควรรดน้า ผักบุ้งจีนอยู่เสมอทุกวัน ๆ ละ 1-2 ครงั้ ยกเวน้ ช่วงที่ฝนตกไม่ตอ้ งรดน้า อย่าใหแ้ ปลง ปลูกผักบุ้งจีนขาดน้า จะท้าให้ผักบุ้งจีนชะงักการเจริญเติบโต คุณภาพไม่ดี ต้นแข็ง กระดา้ ง เหนียว ไม่น่ารับประทาน และเก็บเกยี่ วไดช้ ้ากวา่ ปกติ การใสป่ ยุ๋ ผกั บงุ้ จนี เป็นพืชผักที่บริโภคใบและตน้ มีอายุการเก็บเกยี่ วสั้น การเตรียมดนิ ควรมี การท้าการใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักก่อนการปลกู เช่น มูลสุกร มูลไก่ เป็นต้น หลังปลูก ผักบุ้งจีนได้ประมาณ 7-14วัน ท้าการให้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักครั้งท่ี 2 โดยการหว่าน โรยใหท้ ัว่ แปลงปลูก ทัง้ น้ขี ึ้นอยูก่ ับความอุดมสมบูรณข์ องดนิ และปริมาณป๋ยุ คอกท่ีใช้ 4

โรคทสี่ ้าคัญของ ผกั บงุ้ จนี 5

โรคราสนิมขาว White Rust สาเหตุ เชือ้ ราอัลบูโก้ ไอโบโมเอ้ อควาติเค้(Albugo ipomoeae-aquaticae) ลักษณะอาการ พบจุดสีเหลืองซีดบนใบ ดา้ นล่างใบที่จุดเดยี วกัน กับจุดสีเหลืองด้านบนเป็นตุ่มนูน ขนาด 1-2 มิลลเิ มตร และอาจพบลา้ ต้น และกา้ นใบมปี ่มุ พองโต การปอ้ งกันก้าจัด: 1. ฉีดพ่นดว้ ยเชอ้ื ราไตรโครเดอร์มาทุกๆ 5-7 วัน เพือ่ ป้องกนั การระบาด 2. เก็บท้าลายต้นใบและเศษซากพืชที่เป็นโรคให้หมดจากแปลงปลูก รวมไปถึงพวก วชั พชื และผกั บงุ้ ปา่ ที่มอี ยู่ในบริเวณรอบๆ โรคใบไหม้ สาเหตุเชื้อแบคทีเรียแซนโทโมแนส คอมแพสติส (Xanthomonas compestris pv.) ลกั ษณะอาการ พบตุ่มใสเล็กๆใต้ใบ ต่อมากลายเป็นแผลสีน้าตาล ด้าขยายออก ท้าให้ใบเหลืองซดี แหง้ และรว่ งจากตน้ การป้องกนั ก้าจดั 1. ในชว่ งเตรียมดนิ ปลูก ควรมีการไถตากดนิ เพื่อท้าลายในดินอย่างน้อย 7 วัน 2. ฉดี พ่นเชือ้ แบคทีเรียบาซิลลสั ซับทีทลี สิ เพื่อป้องกันทกุ ๆ 5-7 วัน 3. หากพบต้นท่ีเป็นโรครีบถอนทา้ ลายทันที เพอื่ ป้องกนั การระบาด 6

แมลงศตั รทู ี่ สา้ คญั ของ ผักบ้งุ จีน 7

เพลีย้ ออ่ น ลกั ษณะการทา้ ลาย จะเกาะติดเป็นกลุ่มสีด้าตามต้น, ใบ โดยดูดกินน้าเล้ียง ท้าให้ชะงักการ เจริญเติบโต มีมดเป็นตัวน้าพามา จึง ควรหาทางก้าจัดมดไม่ให้เข้าไปใน แปลงปลูก การปลูกบนร่องที่มีน้า ล้อมรอบ ไม่ควรให้ไม้ทอดสะพานติด กับร่อง เพราะมดจะใช้เป็นทางเดินน้า เพล้ยี ออ่ นเข้ามายังตน้ ผกั บุ้ง การปอ้ งกันและกา้ จัด 1. หมน่ั ส้ารวจว่ามีการระบาดของเพลยี้ อ่อนหรือไม่ หากพบ ใหเ้ กบ็ ทา้ ลาย และฉีด พ่น เช้ือราบวิ เวอร์เรีย หรอื สารสกดั ยาสบู ผสมกับนา้ ยาล้างจานหรือสารจับใบ เล็กนอ้ ย ทุกๆ 3-7 วัน ควรฉดี พน่ ในช่วงเย็น 2. อนุรกั ษ์ศัตรธู รรมชาตขิ องเพล้ียอ่อน คือด้วงเตา่ จะช่วยควบคมุ ปริมาณของเพล้ยี อ่อนไมใ่ ห้เกดิ การระบาดมากเกนิ ดว้ งเตา่ 8

หนอนผเี สอื้ หวั กระโหลก ด้วงเต่าจาน ลกั ษณะการท้าลาย เป็นระยะตัวหนอนของผีเส้ือ ล้าตัวมีสีเขียว มี แถบสีเหลืองเหลือบฟ้าข้างล้าตัว ขนาดล้าตัวยาว 10-12 เซนตเิ มตร ลกั ษณะการทา้ ลาย ตัวหนอนเขา้ กดั กินใบ การปอ้ งกนั และก้าจดั 1. ใช้ไสเ้ ดือนฝอยกา้ จัดแมลงฉดี พ่นอัตรา 1 ภาชนะ บรรจุ/น้า 10 ลิตร ช่วงเย็น 2. ฉีดพ่นสารสกัดจากธรรมชาติ หรือสมุนไพร เช่น นา้ หมักใบยาสูบ 3. ใชแ้ บคทีเรียบีทีฉีดพน่ 60-80 กรมั /น้า 20 ลิตร ดว้ งเตา่ จาน ลักษณะท่วั ไป หัวเล็ก ล้าตัวอ้วนป้อม สีเหลืองทอง แบนโค้งนูน เล็กน้อย ผิวเรียบเป็นมัน หนวด ขา หลัง อก และ ปีกมลี กั ษณะใสเหมือนแก้ว ปีกมีจดุ สีด้ากระจายทั่ว ลักษณะการท้าลาย ตัวออ่ นและตัวเต็มไวกัดกินใบ การป้องกันและกา้ จัด 1. ใช้กบั ดักแมลงกาวเหนียว 2. ใชส้ ารสกดั สมนุ ไพร เชน่ น้าหมกั ใบยาสูบ นา้ หมักสะเดา เป็นต้น 9

การเก็บเกย่ี ว ผักบุ้งจีนจะสามารถเก็บล้าต้นได้หลังการปลูก 20-30 วัน ซ่ึงจะมีความสูง ประมาณ 25-30 เซนติเมตร ถ้าช้ากว่านี้ต้นจะแตกแขนงใบจะใหญ่จะไม่เป็นท่ี ต้องการของทอ้ งตลาดด้วย วธิ ีการเก็บแบบถอนทั้งต้น ท้ังนี้ให้รดน้าก่อนการถอน และการถอนไม่ควรให้ราก ขาดมาก หลังจากน้ันน้ามาล้างรากให้สะอาด วางกองให้สะเด็ดน้า ก่อนบรรจุถุงส่ง ตลาด การเกบ็ เกย่ี วผกั บุ้งจนี 10

การปลกู ผักกวางตุ้งอินทรยี ์ 11

การปลกู กวางตงุ้ ผักกวางตุ้ง เป็นพืชล้มลุก มีก้านใบ ยาวและหนา สีขาวอมเขียว ใบค่อนข้าง หนา ผิวใบเรียบ ดอกออกเป็นช่อ ดอก ย่อยสีเหลืองสด ผักกวางตุ้งมีหลายพันธุ์ แต่ที่คนไทยกินกันมากก็คือ ผักกวางตุ้ง ใบ โด ย ใช้ ส่ ว น ใบ แ ล ะ ก้ าน ใบ ม า ประกอบอาหาร การเตรยี มดนิ การเตรียมดินแปลงปลูกผักกวางตุ้ง ควรขุด/ไถพรวนดินให้ลึกประมาณ 15-20 เซนตเิ มตร ให้ ตากดินทึ้งไวป้ ระมาณ 5-7 วนั แลว้ ย่อยหนา้ ดิน ใหล้ ะเอยี ด แล้วใส่ปุ๋ย คอกหรือปุ๋ยหมักที่สลายตัวดีแล้วให้มากและใส่ปูนขาวต่อมาให้ คลุกเคล้าให้เข้ากับ ดินหรือให้ท่ัวพ้ืนที่ การเตรยี มดินแปลงปลูก การใช้ไส้เดอื นฝอยก้าจัดแมลง 12

การหว่านเมลด็ 1. หว่านเมล็ดให้กระจายทว่ั ทง้ั ผิวแปลงโดยให้กะระยะหรือน้าหนกั ในการหว่านเมล็ด ใหห้ ่างกันประมาณ 2-3 เซนติเมตร 2. ใช้ดินหรือปุ๋ยคอกที่สลายตัวดีแล้วหว่านกลบเมล็ดหลังหว่านเสร็จแล้ว ให้มีความ หนาประมาณ 1 เซนตเิ มตร 3. คลมุ ดว้ ยฟางหรอื หญา้ แห้งบางๆ เพอื่ รักษาความชนื้ ในดนิ 4. รดนา้ ให้ท่วั ถงึ และสม้่าเสมอเช้า-เย็น ต้นกลา้ จะงอกประมาณ 7 วนั 5. การถอนแยกและจัดให้มีระยะระหว่างต้น 20-25 เซนติเมตร ควรท้าการก้าจัด วัชพชื ร่วมดว้ ย 6. ในพื้นท่ีปลูก 100 ตารางเมตร หว่านเมล็ดประมาณ 0.2 กิโลกรัม จะได้ผลผลิต เฉล่ียประมาณ 160 กิโลกรัม โดยในฤดูหนาวจะเหมาะกับการปลูกผักกวางตุ้งมาก ท่ีสุด และมีรอบระยะเวลาในการหว่านเมล็ดทุกๆ 15-20 สัปดาห์/ครั้ง เพ่ือให้ได้ ผลผลิตที่ตอ่ เน่ือง ก่อนแยก หลังแยก วิธกี ารดแู ลรกั ษา การให้น้า กวางตงุ้ เปน็ พชื ท่ีชอบน้ามาก จึงจะสามารถเจริญเติบโตได้ดี ควรรดน้าวันละ 1-2 คร้ัง (เช้าและเย็น) โดยใช้ลักษณะการฉีดท้าเป็นฝอยในการรดน้า ต้องไม่ขาดน้า เพราะจะท้าให้หยุดชะงักการเตบิ โต 13

วธิ ีการดแู ลรักษา(ต่อ) การใส่ปุย๋ กวางตุ้งต้องการปุ๋ยท่ีมีธาตุไนโตรเจนสูง อาจใส่คอก ปุ๋ยหมัก อัตรา 500 กิโลกรัม/ไร่ หรือปุ๋ยน้าหมักชีวภาพท่ีท้าจากปลา พืชสดหรือพืชสีเขียว ในอัตรา ประมาณ 100 ซีซี. ต่อน้า 20 ลิตร ท่ังน้ีขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของดินและ ปริมาณปุ๋ยคอกทใ่ี ช้ ควรพน่ ปุ๋ยน้าชวี ภาพผสมสารสมุนไพรไล่แมลงทางใบ อาทิตยล์ ะ ครง้ั พร้อมการราดน้าหมักจุลนิ ทรยิ ์บนพ้ืนแปลงปลกู กวางต้งุ การป้องกันและก้าจดั ศตั รพู ชื - ฉีดพ่นป้องกันแมลงศัตรูพืชด้วยน้าหมักสมุนไพรสกัดจากสะเดา สาบเสือ หางไหล และหนอนตายหยาก น้าไปฉีดในชว่ งเวลาค้่าหรอื เชา้ ตรู่ เพื่อป้องกนั หนอนใยผัก ด้วง หมัดผัก - ไส้เดือนฝอยก้าจัดแมลง ฉีดพ่นทุก 7 วันครัง้ หากพบการระบาดหนักควรพน่ ทุก 3- 5 วันครั้ง เพ่ือก้าจัดหนอนใยผัก หนอนกระทู้ผัก หนอนกระทู้หอม หนอนคืบ และ ดว้ งหมัดผัก การใช้ไส้เดือนฝอยกา้ จัดแมลง 14

วิธกี ารดูแลรักษา(ตอ่ ) - ใช้กับดักกาวเหนียว เป็นหนึ่งวิธีท่ีช่วยลดจา้ นวนประชากรแมลงในแปลงผักของเรา สามารถช่วยลดความรุนแรงของการระบาดของแมลงได้ การใช้กับดัดการเหนียวจะ ช่วยดักจับแมลงที่โตเต็มวัย โดยเฉพาะตัวที่มีปีก เช่น เพล้ียไฟ เพลี้ยอ่อน ด้วง หมัด ผัก แมลงหว่ีขาว และผีเส้ือบางชนิด ส้าหรับสีที่แมลงชอบนั้นจะมีอยู่ 2 สี ได้แก่สีฟ้า และสีเหลอื ง การใช้กบั ดักกาวเหนียว การป้องกนั และก้าจดั โรคพชื - ควรฉีดพ่นหรือรดเชื้อราไตรโคเดอร์มา ก่อนปลูกและพบการระบาดของเชื้อราก่อ โรค เพือ่ ปอ้ งกนั โรคเนา่ คอดิน โรคใบจดุ โรครานา้ ค้าง - เช้ือจุลินทรีย์ปฏิปกั ษ์ Bacillus subtilis (Bs) ใชใ้ นการป้องกนั และควบคุมโรคพืชท่ี เกิดจากเช้อื รา และแบคทีเรียหลายชนิดเชน่ โรคเนา่ คอดนิ โรคใบจุด 15

โรคทส่ี ้าคัญของ ผักกวางต้งุ 16

โรคเนา่ คอดิน สาเหตุ เกดิ จากเชื้อรา พเิ ท่ยี ม อะฟานเิ ดอร์มาตัม (Pythium aphanidermatum) วิธีป้องกันกา้ จดั 1. ในชว่ งเตรียมดินปลูก ควรมกี ารไถตากดินเพื่อทา้ ลายเชื้อราในดนิ อย่างน้อย 7 วัน และ ผสมเชอื้ ราไตโคเดอร์มาลงไปร่วมกับป๋ยุ คอกเพ่ือป้องกันเช้ือราด้วย 2. ฉีดพ่นเชื้อราไตรโคเดอร์มา หรอื แบคทเี รยี บีเอส เพื่อป้องกนั ทุกๆ 5-7 วัน โรคใบจุด สาเหตุ เกดิ เกิดจากเชือ้ ราออ เทอรน์ าเรยี (Alternariasp.) ลกั ษณะอาการ อาการท่ัวๆ ไป จะเกิดข้ึน บนใบโดยจะเกิดแผลจุดสีด้า หรือเทา บางคร้ังอาจพบว่าท่ี ข อ บ แ ผ ล มี สี น้ า ต า ล แ ด ง ล้อมรอบอยู่ สีด้า หรือเทาเข้มที่เห็นบนแผล การระบาดจะถูกพัดพาไปโดยลม น้า และสิ่งที่เคลือ่ นไหวไดท้ ุกชนดิ ท่ีไปสมั ผสั ถูกต้องเข้า การป้องกนั กา้ จดั 1. ปลูกพชื หมนุ เวยี น โดยใช้พชื อื่นทไ่ี ม่ใช่ถั่วปลกู สลับหรอื เลอื กใช้เมลด็ พันธุ์ทสี่ ะอาด ปราศจากโรค 2. ในช่วงการเตรยี มดินปลูกควรฉีดพน่ เชือ้ ราไตรโคเดอร์มาลงในดิน 3. หากพบการระบาดใหฉ้ ีดพ่นเชื้อราไตรโคเดอรม์ าทกุ ๆ 5-7 วนั 17

โรคขอบใบทอง สาเหตุ เกดิ เชอ้ื แบคทีเรยี แซนโทดโมแนส คัมเพสทสิ (Xanthomonas campestris pv.) ลักษณะอาการ โ ด ย อ า ก า ร จ ะ เริ่ ม เห ลื อ ง แ ล ะ แ ห้ ง ต า ย บริเวณขอบใบข้ึนก่อน แล้วค่อยลามลึกเข้ามา ในเน้ือใบตามแนวเส้นใบท่อี ยู่ระดับเดยี วกัน จน จรดแกนกลางของใบ ท้าให้เกิดอาการเหลือง หรือแห้งเปน็ สนี ้าตาลรูปตวั วีขน้ึ ซงึ่ เป็นลักษณะ อาการพิเศษเฉพาะของโรคนี้ ในรายที่เป็น รุนแรงเช้ือจะเข้าไปเจริญเติบโตอยู่ที่ก้านใบ เมื่อน้าเอาใบเหล่าน้ีมาตัดหรือผ่าออกตามขวาง จะเห็นสว่ นท่เี ปน็ ท่อน้าเนา่ เป็นสดี า้ การป้องกันก้าจดั 1. ปลกู พชื หมนุ เวียน โดยหลีกเลีย่ งพืชตระกูลกระหล่้า 2. เลอื กใชเ้ มล็ดพันธ์ทุ ่สี ะอาดปราศจากโรค 3. ในชว่ งการเตรียมดินปลูกควรฉดี พ่นเชื้อราไตรโคเดอร์มาลงในดนิ หรือคลกุ เมล็ด ก่อนปลกู 4. หากพบการระบาดให้ฉีดพ่นเชื้อราไตรโคเดอร์มาทุกๆ 5-7 วนั 5. ฉีดพน่ เชอื้ จลุ ินทรยี ์ปฏิปักษ์บาซิลลสั ซับทิรสิ (Bs) ทุก 3-5 วนั 18

โรครานา้ ค้าง ( Downy Mildew) สาเหตุ เกิดจากเชอื้ รา เพอโรโนสปอร่า พาลาสติ กิ า (Peronospora parasitica) ลกั ษณะอาการ อาการเริ่มแรกจะพบที่ใบล่าง โดยเกดิ เป็นจุดสีเหลอื งหรือสีนา้ ตาลขนาดเลก็ แล้ว ขยายขนาดใหญ่ขึ้นเป็นรูปเหลี่ยมอยู่ระหว่างเส้นใบ นอกจากนี้สามารถตรวจสอบ บรเิ วณใต้ใบโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในตอนเช้ามืด จะปรากฏเสน้ ใยเชอื้ ราสขี าว หรือสีเทา ใบพืชจะแหง้ ตายแตก่ า้ นใบจะชขู ้ึน ขอบใบม้วน ใบจะรว่ ง การปอ้ งกันกา้ จดั 1. ฉีดพ่นเชื้อราไตรโคเดอร์มาเป็นระยะๆ เพื่อปอ้ งกันการระบาด ทุกๆ 5-7 วนั 2. ราน้าคา้ งจะพบมาในชว่ งที่อากาศชนื้ และเย็น ดงั นัน้ ในช่วงอากาศดงั กลา่ ว ให้ฉีด พน่ เช้ือแบคทีเรียบาซิลลสั ซับทิรสิ (Bs) ทุกๆ 3-5 วนั 3. เมือ่ เกบ็ เกย่ี วผลผลิต ควรเกบ็ ซากพืชออกจากแปลงเพราะจะเปน็ แหล่งสะสมโรค 4. ควรสลบั หมุนเวียนพืชปลกู บา้ งเพื่อหลกี เลย่ี งการสะสมของโรค 19

แมลงทีส่ ้าคญั ของ ผกั กวางต้งุ 20

เพลี้ยอ่อน ลักษณะการท้าลาย จะเกาะติดเป็นกลุ่มสีด้าตามต้น, ใบ โดยดูดกินน้าเลี้ยง ท้าให้ชะงักการ เจริญเติบโต มีมดเป็นตัวน้าพามา จึง ควรหาทางก้าจัดมดไม่ให้เข้าไปใน แปลงปลูก การปลูกบนร่องที่มีน้า ล้อมรอบ ไม่ควรให้ไม้ทอดสะพานติด กบั ร่อง เพราะมดจะใช้เป็นทางเดินน้า เพล้ยี ออ่ นเข้ามายงั ตน้ ผักบงุ้ การป้องกันและก้าจัด 1. หมั่นสา้ รวจวา่ มีการระบาดของเพล้ียอ่อนหรอื ไม่ หากพบ ใหเ้ ก็บท้าลาย และฉีด พน่ เชอ้ื ราบวิ เวอร์เรยี หรือสารสกัดยาสูบ ผสมกับน้ายาลา้ งจานหรอื สารจับใบ เลก็ นอ้ ย ทุกๆ 3-7 วนั ควรฉดี พ่นในช่วงเยน็ 2. อนุรักษ์ศัตรธู รรมชาติของเพลี้ยอ่อน คอื ด้วงเต่า จะชว่ ยควบคมุ ปรมิ าณของเพล้ยี ออ่ นไมใ่ หเ้ กดิ การระบาดมากเกิน ดว้ งเตา่ 21

เพลี้ยไฟ ลกั ษณะการท้าลาย ตวั ออ่ นและตัวเต็มวัยท้าลายสว่ นต่างๆของ พืช โดยการดูดน้าเลี้ยงจากเซลล์พืชท้าให้ บริเวณที่ถูกดูดมีลักษณะอาการแตกต่างกัน เช่ น ก า ร แ ต ก ย อ ด จ ะ ท้ า ให้ ช ะ งั ก ก า ร เจรญิ เติบโตยอดอ่อนแคระแกร็น เติบโตช้า พืช อ่อนแอ และท้าให้ใบ ล้าต้น แห้งตายได้ การ ระบาดมักพบเสมอในช่วงฤดูร้อนหรือช่วงท่ีมี อากาศแห้งแลง้ ฝนทง้ิ ชว่ งเปน็ เวลานาน การป้องกนั กา้ จัด 1. ฉดี พน่ เช้ือราบวิ เวอร์เรยี 60-80 กรมั /น้า 20 ลติ ร ทกุ ๆ 5-7 วัน สลบั กับฉดี พ่น สารสกดั ใบยาสูบ อัตรา 50-100 ซซี /ี น้า 20 ลติ ร ชว่ งเยน็ 2. เพิม่ การให้น้าให้ผักกวางตุ้ง ในชว่ งอากาศร้อนในตอนกลางวันจะชว่ ยลดการ ระบาดได้ 3. ใชก้ ับดักกาวเหนียว เป็นหนง่ึ วิธีทช่ี ่วยลดจา้ นวนประชากรแมลงในแปลงผัก และ สามารถชว่ ยลดความรุนแรงของการระบาดของแมลงได้ ตวั อยา่ ง สารสกดั ยาสูบ 22

ด้วงหมัดผัก หรือกระเจ๊า ลกั ษณะการทา้ ลาย ด้วงหมัดผักเป็นแมลงปีกแข็งชนิดเดียวท่ี เป็นศัตรูส้าคัญของผักกวางตุ้ง ตัวแก่กัดกินใบ จนพรุนท้าความเสียหายให้ได้ในระยะก้าลัง เจรญิ เติบโต ตัวออ่ นท่ีเป็นตวั หนอนชอบกดั กิน รากพืช บางคร้ังเกิดระบาดในแปลงกล้าก็ท้า ความเสียหายให้ได้ ด้วงหมัดชอบท้าลายโดย ตวั แก่กดั กินใบและตัวหนอนกดั กินรากและหวั การป้องกนั กา้ จดั 1. การไถตากดินในฤดูแลง้ จะชว่ ยท้าลายตัวออ่ นหรอื ดักแด้ที่อยู่ในดนิ 2. ระยะใข่ ฉีดพ่นด้วย บิววาเรีย + เมธาไรเซียม อัตรา 50-100 กรัม ต่อน้า 20 ลติ ร ทุก 3 วัน ช่วงเช้าหรือเย็น และฉีดลงดินด้วย 3. ระยะหนอน บที ี จะชว่ ยก้าจดั หนอนของดว้ งหมัดกระโดดไดย้ 4. ฉีดพ่นไส้เดือนฝอยก้าจัดแมลง สัปดาห์ละครั้ง หรือมีการระบาดหนักทุกๆ 3-5 วัน/ครั้ง 5. ใชก้ ับดักกาวเหนยี ว เปน็ หน่งึ วธิ ีท่ีช่วยลดจ้านวนประชากรแมลงในแปลงผกั และ สามารถช่วยลดความรุนแรงของการระบาดของแมลงได้ การใช้กับดักกาวเหนยี ว 23

หนอนคืบกนิ ใบ ลกั ษณะท้าลาย ห น อ น คื บ กิ น ใ บ เป็ น แ ม ล ง ศั ต รู ที่ ท้ า ค ว า ม เสียหายต่อผักตระกูลกะหล้่าได้หลายชนิด เป็น หนอนขนาดกลางกินจุ ในระยะแรกตัวหนอนจะกัด กินท่ีผิวใบ เม่ือตัวหนอนโตข้ึนจะกัดกินใบท้าให้เป็น รอยแหว่งเหลือแต่ก้านใบ แมลงชนิดนี้จะท้าลาย โดยกัดกินใบเป็นส่วนใหญ่และการท้าลายเป็นไป อยา่ งรวดเร็ว การป้องกนั ก้าจัด 1. ฉีดพน่ เชอื้ ราบวิ เวอร์เรีย อัตรา 60-80 กรัม/น้า 20 ลิตร 2. ใช้เช้ือราแบคทเี รยี บีที (BT)อตั รา 60-80 กรัม ต่อน้า 20 ลติ ร ผสมสารจับใบฉีด พน่ เวลาเยน็ สลบั กับฉีดพน่ สารสกัด สะเดา ยาสูบ หนอนตายอยาก โดยฉีดพ่นในช่วง เยน็ 3. ฉดี พน่ ไสเ้ ดือนฝอยก้าจัดแมลงอตั รา 1 ภาชนะบรรจ/ุ น้า 10 ลติ รฉีดพ่นช่วงเย็น 4. ควบคุมปริมาณของตวั แมผ่ ีเสอื้ โดยฉดี พน่ สารสกดั ขม้ินชนั บอระเพ็ด สาบเสือ ในชว่ งเยน็ เพ่อื ขับไล่ ปอ้ งกันการวางไข่ 24

หนอนกระทู้ผัก ลักษณะ ลกั ษณะหนอนจะมีล้าตวั อว้ นผวิ หนังเรยี บ ลายสดี า้ จะสงั เกตเหน็ แถบด้าท่ี คอชดั เจน ตวั โตเตม็ ท่ปี ระมาณ 3-4 ซม. เคล่อื นไหวชา้ การปอ้ งกนั กา้ จดั 1. หนอนกระทผู้ ักสามารถปอ้ งกนั จ้ากัดได้ไมย่ าก เม่ือพบกลุ่มไขห่ รือหนอนท่ีฟักออก จากไข่ควรเกบ็ ท้าลาย หากปลอ่ ยให้หนอนโตจนหนอนจะแยกยา้ ยหลบซ่อนตัว กดั กินเจาะเปน็ รสู ึก ในใบ ดอก และฝกั 2. ฉีดพ่นเช้อื แบคทเี รีย บที ี ทุกๆ 5-7 วนั สลบั กบั ฉีดพ่น สารสกดั สะเดา ยาสบู หนอนตายอยาก โดยฉีดพน่ ในช่วงเยน็ 3. ควบคุมปรมิ าณของตัวแมผ่ ีเส้ือ โดยฉดี พ่น สารสกดั ขมิน้ ชนั บอระเพ็ด สาบเสือ ในชว่ งเยน็ เพ่อื ขบั ไล่ ปอ้ งกนั การวางไข่ 4. ใช้ไส้เดือนฝอยก้าจดั แมลง อัตรา 1 ภาชนะบรรจุ/น้า 10 ลติ รฉดี พ่นทกุ ๆ 7 วนั คร้ัง 25

หนอนใยผัก ลักษณะการทา้ ลาย หนอนใยผกั เม่ือฟักออกมาจากไข่ใหม่ๆ ตัวหนอนจะแทะกินผิวใบด้านล่างเป็นวง กว้างและมักทิ้งผิวใบด้านบนซ่ึงมีลักษณะโปร่งแสงเอาไว้หากมีการระบาดรุนแรง หนอนใยผักจะกัดกินใบจนเป็นรูพรุนเหลือแต่ก้านใบ หรือถ้าเกิดกับผักในระยะต้น ออ่ น หนอนจะกดั ท้าลายสว่ นยอดจนชะงักการเจริญเติบโต ส้าหรับผักในระยะท่ีออก ดอก ติดฝัก ดอกและฝกั อาจถูกทา้ ลายหมดไปได้ การปอ้ งกนั ก้าจัด 1. การปลูกพืชหมุนเวียน จะช่วยตัดวงจรชีวิตของหนอนใยผัก ไม่ควรปลูกพืชซ้าๆ ชนดิ เดิมๆ ตลอดปี 2. ใชเ้ ชือ้ ราเมธาไรเซียมกา้ จัดตัวหนอนแมลง อตั รา 50กรัม/น้า20ลติ ร 3. ใช้เชื้อราแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis (BT) อัตรา 60-80 ซีซี. ต่อน้า 20 ลิตร ผสมสารจบั ใบฉีดพน่ เวลาเยน็ 4. ใช้สารสกดั จากสมุนไพรกา้ จัดแมลง เช่น น้าหมักยาสบู น้าหมกั จากบอระเพด็ 5. ใชไ้ ส้เดอื นฝอยกา้ จัดแมลง อัตรา 1 ภาชนะบรรจุ/น้า 10 ลิตร ฉีดพน่ ในชว่ งเยน็ 6. ใช้กับดกั กาวเหนียวหรือกบั ดกั แสงไฟ กา้ จดั ผีเส้อื ตวั แม่ เพอื่ ลดจ้านวนตวั ลูก 26

หนอนกระทหู้ อม (หนอนหลอดหอม หนอนหอม หนอนหนงั เหนยี ว) ลกั ษณะ เป็นแมลงจ้าพวกผีเส้ือ กลางคืนขนาดเล็ก แม่ผีเสื้อ วางไข่เป็นกลุ่มสีขาว หนอน โตเต็มท่มี ีขนาด 3 เซนติเมตร สีของหนอนมีแตกต่างกันได้ เช่น สีเขียวอ่อนเทา น้าตาล น้าตาลด้า เป็นต้น ลักษณะท่ี สังเกตได้ง่ายคือ หนอนมี ล้าตัวอ้วนผนังล้าตัวเรียบ มี แนวสขี าวพาดไปตามความยาวด้านข้างของล้าตัวเม่ือโตเต็มท่จี ะเคล่ือนยา้ ยมาบรเิ วณ โคนตน้ เพ่ือเข้าดกั แด้ในดนิ การป้องกนั กา้ จัด 1. ฉีดพน่ เช้ือแบคทีเรีย บที ี ทุกๆ 5-7 วนั สลบั กับฉดี พน่ สารสกดั สะเดา ยาสบู หนอนตายอยาก โดยฉดี พน่ ในช่วงเยน็ 2. ควบคมุ ปริมาณของตัวแม่ผีเสอื้ โดยฉดี พ่น สารสกดั ขมนิ้ ชนั บอระเพ็ด สาบเสือ ในช่วงเยน็ เพอื่ ขับไล่ ปอ้ งกันการวางไข่ 3. ใช้ไสเ้ ดอื นฝอยกา้ จดั แมลง อตั รา 1 ภาชนะบรรจ/ุ น้า 10 ลิตร ฉีดพ่นทุกๆ 7 วนั ครงั้ 4. ใช้เช้ือราเมธาไรเซยี มฉีดพ่นก้าจัดตวั หนอนแมลง 27

การเกบ็ เก่ยี ว อายุการเก็บเกี่ยวของผักกวางตุ้งค่อนข้างเร็ว คือ ประมาณ 35-45 วัน การเก็บ เก่ียวโดยเลือกต้นที่มีขนาดใหญ่ตามต้องการ แล้วใช้มีดคมๆ ตัดท่ีโคนต้นแล้วท้าการ ตัดแต่งใบนอกท่ีแก่หรือใบที่ถูกโรคหรือแมลงท้าลายออก หลังจากตัดแต่งแล้วจึง บรรจุภาชนะเพอ่ื สง่ จ้าหนา่ ยตลาดต่อไป 28

การปลกู คะนา้ อนิ ทรยี ์ 29

ผกั คะน้า คะน้า เป็นพืชผักใบเขียวที่นิยมทั้งรับประทานและปลูกกันมาก อายุเก็บเก่ียว ประมาณ 45-55 วัน ผักคะน้าสามารถปลูกได้ตลอดปี แต่เวลาที่ปลูกได้ผลดีที่สุด ในชว่ งเดอื นตุลาคม-เมษายน การเตรียมดนิ การเตรียมดินแปลงปลูกผักคะน้า ควรขุด/ไถพรวนดินให้ลึกประมาณ 15-20 เซนติเมตร ให้ ตากดินท้ึงไวป้ ระมาณ 5-7 วัน แลว้ ย่อยหนา้ ดิน ใหล้ ะเอยี ด แล้วใสป่ ุ๋ย คอกหรือปุ๋ยหมักที่สลายตัวดีแล้วให้มากและใส่ปูนขาวต่อมาให้ คลุกเคล้าให้เข้ากับ ดนิ หรอื ให้ท่วั พื้นที่ การเตรยี มดินแปลงปลูก 30

การหว่านเมล็ด 1. หว่านเมล็ดให้กระจายท่ัวทงั้ ผิวแปลงโดยให้กะระยะหรือน้าหนักในการหว่านเมล็ด ให้หา่ งกันประมาณ 2-3 เซนตเิ มตร 2. ใช้ดินหรือปุ๋ยคอกที่สลายตัวดีแล้วหว่านกลบเมล็ดหลังหว่านเสร็จแล้ว ให้มีความ หนาประมาณ 1 เซนติเมตร 3. คลมุ ดว้ ยฟางหรอื หญา้ แห้งบางๆ เพอื่ รกั ษาความชืน้ ในดนิ 4. รดน้าใหท้ ่วั ถงึ และสม้า่ เสมอเชา้ -เยน็ ตน้ กลา้ จะงอกประมาณ 7 วนั 5. หลังจากต้นคะน้างอกแลว้ ประมาณ 20 วัน หรือต้นสูงประมาณ 10 เซนติเมตร ให้ เร่ิมถอนแยกโดยเลือกต้นที่ไม่สมบูรณ์ออก ท้ิงระยะห่างระหว่างต้นประมาณ 10 เซนติเมตร ต้นอ่อนของคะน้าที่ถอนแยกออกมาในวัยนี้เมื่อเด็ดรากออกแล้วส่งขาย ตลาดเป็นยอดผกั ได้ 6. เมื่อคะน้ามีอายุประมาณ 30 วัน ให้ถอนแยกคร้ังที่ 2 ให้เหลือระยะห่างระหว่าง ต้น 20 เซนติเมตร ต้นอ่อนของคะน้าท่ีถอนแยกออกมาในวัยน้ีเม่ือเด็ดรากออกแล้ว สง่ ขายตลาดเปน็ ยอดผักไต้ 7. ในการถอนแยกคะนา้ แตล่ ะครัง้ ควรกา้ จดั วัชพืชไปดว้ ย 8. ในพ้ืนที่ปลูก 100 ตารางเมตร หว่านเมล็ดประมาณ 0.2 กิโลกรัม จะได้ผลผลิต เฉล่ียประมาณ 160 กิโลกรัม โดยในฤดหู นาวจะเหมาะกับการปลูกผักคะนา้ มากท่ีสุด และมีรอบระยะเวลาในการหว่านเมล็ดทุกๆ 15-20 สัปดาห์/ครั้ง เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ ตอ่ เนื่อง คลุมดว้ ยฟางหรอื หญา้ แหง้ บางๆ เพอ่ื รักษาความชน้ื ในดนิ 31

การดูแลรักษา การให้น้า 1. คะน้าต้องการน้าอย่างเพียงพอและสม้่าเสมอ เน่ืองจากมีการเจริญเติบโตอย่าง รวดเรว็ ดังน้นั ควรปลกู ในแหลง่ ทมี่ ีน้าอย่างเพียงพอ 2. การให้น้าควรรดใหท้ ั่วและให้ชมุ่ ในเวลาเชา้ และเยน็ การใส่ปุ๋ย คะน้าต้องการปุ๋ยท่ีมีธาตุไนโตรเจนสูง อาจใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก อัตรา 500 กิโลกรมั /ไร่ หรอื ใสป่ ๋ยุ น้าหมกั ชีวภาพที่ทา้ จากพืชสดหรอื พืชสเี ขยี ว ในอัตราประมาณ 100 ซซี ี. ต่อน้า 20 ลติ ร ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของดินและปริมาณปุ๋ยคอก ท่ใี ช้ ควรพ่นปุ๋ยน้าชวี ภาพผสมสารสมุนไพรไล่แมลงทางใบ อาทิตย์ละคร้งั พร้อมการ ราดนา้ หมักจลุ นิ ทริยบ์ นพ้นื แปลงปลกู คะน้า 32

โรคที่ส้าคัญ ของผักคะน้า 33

โรคขอบใบทอง สาเหตุ เกิดเชือ้ แบคทเี รยี แซนโทโมแนส แคมแพสตสิ (Xanthomonas campestris pv.) ลกั ษณะอาการ โ ด ย อ า ก า ร จ ะ เร่ิ ม เห ลื อ ง แ ล ะ แ ห้ ง ต า ย บริเวณขอบใบข้ึนก่อน แล้วค่อยลามลึกเข้ามา ในเนื้อใบตามแนวเส้นใบที่อยู่ระดับเดียวกัน จนจรดแกนกลางของใบ ท้าให้เกิดอาการ เหลืองหรือแห้งเป็นสีน้าตาลรูปตัววีข้ึน ซ่ึงเป็น ลักษณะอาการพิเศษเฉพาะของโรคน้ี ในรายที่ เป็นรุนแรงเชื้อจะเข้าไปเจริญเติบโตอยู่ท่ีก้าน ใบ เม่ือน้าเอาใบเหล่านี้มาตัดหรือผ่าออกตาม ขวางจะเหน็ สว่ นทเี่ ปน็ ท่อน้าเน่าเป็นสดี า้ การปอ้ งกันกา้ จัด 1. ปลกู พชื หมนุ เวียน โดยหลีกเล่ียงพืชตระกลู กระหล่า้ 2. เลือกใช้เมลด็ พันธุท์ สี่ ะอาดปราศจากโรค 3. ในช่วงการเตรียมดนิ ปลกู ควรฉดี พน่ เชอ้ื ราไตรโครเดอร์มาลงในดนิ หรือคลุกเมลด็ ก่อนปลกู 4.หากพบการระบาดใหฉ้ ีดพน่ เช้ือราไตรโครเดอรม์ าทกุ ๆ 5-7 วัน 5. ฉีดพ่นเชือ้ จลุ ินทรีย์ปฏิปักษ์บเี อส (Bacillus subtilis (Bs)) 34

โรคเน่าคอดิน สาเหตุ เกิดจากเชอ้ื รา พิ เท่ี ย ม อ ะ ฟ า นิ เด อ ร์ ม า ตั ม (Pythium aphanidermatum) วิธีปอ้ งกันก้าจดั 1. ในช่วงเตรียมดินปลูก ควรมีการไถตากดินเพื่อท้าลายเชื้อราในดินอย่างน้อย 7 วัน และ ผสมเชื้อราไตโครเดอร์มาลงไปรว่ มกบั ป๋ยุ คอกเพ่อื ป้องกันเชอ้ื ราด้วย 2. ฉดี พ่นเช้อื ราไตรโครเดอร์มา หรือ แบคทีเรยี บีเอส เพ่ือป้องกันทุกๆ 5-7 วนั โรคใบจุด สาเหตุเกิดจากเชอ้ื ราออเทอร์นาเรยี (Alternariasp.) ลักษณะอาการ อาการทั่วๆ ไป จะเกิดขึ้นบนใบ โด ย จ ะเกิ ด แ ผ ล จุ ด สี ด้ าห รือ เท า บ า ง ค ร้ั ง อ า จ พ บ ว่ า ท่ี ข อ บ แ ผ ล มี สี น้าตาลแดงล้อมรอบอยู่ สีด้า หรือเทา เข้มที่เหน็ บนแผล การระบาดจะถูกพัด พาไปโดยลม น้า และสิ่งท่ีเคล่ือนไหว ได้ทกุ ชนิดทไ่ี ปสัมผัสถูกตอ้ งเขา้ การป้องกันกา้ จัด 1. ปลูกพืชหมนุ เวียน โดยใช้พืชอน่ื ที่ไม่ใช่ถ่ัวปลูกสลบั หรอื เลอื กใช้เมล็ดพันธ์ุท่ีสะอาด ปราศจากโรค 2. ในช่วงการเตรยี มดินปลกู ควรฉีดพ่นเชอื้ ราไตรโครเดอรม์ าลงในดนิ 3.หากพบการระบาดใหฉ้ ีดพ่นเชื้อราไตรโครเดอร์มาทุกๆ 5-7 วนั 35

โรครานา้ ค้าง ( Downy Mildew) สาเหตุ เกิดจากเชื้อรา พีโรโนสปอรร์ า พาลาสติ ิกา (Peronospora parasitica) ลักษณะอาการ อาการเร่มิ แรกจะพบทีใ่ บล่าง โดยเกิดเป็นจุดสีเหลอื งหรอื สีน้าตาลขนาดเล็ก แล้ว ขยายขนาดใหญ่ข้ึนเป็นรูปเหล่ียมอยู่ระหว่างเส้นใบ นอกจากน้ีสามารถตรวจสอบ บรเิ วณใต้ใบโดยเฉพาะอย่างย่งิ ในตอนเช้ามืด จะปรากฏเส้นใยเชอื้ ราสขี าว หรือสีเทา ใบพืชจะแหง้ ตายแตก่ ้านใบจะชขู น้ึ ขอบใบม้วน ใบจะร่วง การป้องกนั กา้ จดั 1. ฉดี พ่นเชื้อราไตรโครเดอรม์ าเป็นระยะๆ เพ่ือป้องกันการระบาด ทกุ ๆ 5-7 วนั 2. ราน้าค้างจะพบมาในช่วงท่ีอากาศชื้นและเย็น ดังน้ันในช่วงอากาศดังกล่าว ให้ฉีด พน่ เช้อื แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทริ ิสทกุ ๆ 3-5 วัน 3. เม่ือเกบ็ เกยี่ วผลผลิต ควรเกบ็ ซากพชื ออกจากแปลงเพราะจะเปน็ แหล่งสะสมโรค 4. ควรสลับหมุนเวียนพืชปลกู บ้างเพื่อหลีกเลย่ี งการสะสมของโรค 36

แมลงทีส่ ้าคัญ ของผกั คะน้า 37

เพลี้ยอ่อน ลักษณะการทา้ ลาย จะเกาะติดเป็นกลุ่มสีด้าตามต้น ใบ โดยดูดกินน้าเลี้ยง ท้าให้ชะงักการ เจริญเติบโต มีมดเป็นตัวน้าพามา จึง ควรหาทางก้าจัดมดไม่ใหเ้ ข้าไปในแปลง ปลูก การปลูกบนร่องที่มีน้าล้อมรอบ ไม่ ค ว ร ให้ ไ ม้ ท อ ด ส ะ พ า น ติ ด กั บ ร่ อ ง เพราะมดจะใช้เป็นทางเดินน้าเพล้ีย อ่อนเข้ามายังตน้ ผกั บุ้ง การป้องกนั และกา้ จดั 1. หมั่นส้ารวจว่ามีการระบาดของเพลี้ยอ่อนหรือไม่ หากพบ ให้เก็บท้าลาย และฉีด พ่น เชื้อราบิวเวอร์เรีย หรือสารสกัดยาสูบ ผสมกับน้ายาล้างจานหรือสารจับใบ เลก็ นอ้ ย ทุกๆ 3-7 วนั ควรฉดี พน่ ในชว่ งเยน็ 2. อนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยอ่อน คือด้วงเต่า จะช่วยควบคุมปริมาณของเพลี้ย อ่อนไม่ใหเ้ กิดการระบาดมากเกนิ ดว้ งเต่า 38

เพลี้ยไฟ ลักษณะการท้าลาย ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยท้าลายส่วนต่างๆของ พืช โดยการดูดน้าเล้ียงจากเซลล์พืชท้าให้บริเวณ ท่ีถูกดูดมีลักษณะอาการแตกต่างกัน เช่น การ แตกยอดจะท้าให้ชะงักการเจริญเติบโตยอดอ่อน แคระแกร็น เติบโตช้า พืชอ่อนแอ และท้าให้ใบ ล้าต้น แห้งตายได้ การระบาดมักพบเสมอในช่วง ฤดูร้อนหรือช่วงที่มีอากาศแห้งแล้งฝนท้ิงช่วงเป็น เวลานาน การป้องกันก้าจัด 1. ฉีดพ่นเชื้อราบิวเวอร์เรีย 60-80 กรัม/น้า 20 ลิตร ทุกๆ 5-7 วัน สลับกับฉีดพ่น สารสกดั ใบยาสบู อัตรา 50-100 ซซี /ี นา้ 20 ลิตร ชว่ งเยน็ 2. เพ่ิมการใหน้ า้ ให้ผกั คะน้า ในชว่ งอากาศรอ้ นในตอนกลางวันช่วยลดการระบาดได้ 3. ใช้กับดกั กาวเหนยี ว เปน็ หนึง่ วิธีท่ีช่วยลดจ้านวนประชากรแมลงในแปลงผกั และ สามารถชว่ ยลดความรนุ แรงของการระบาดของแมลงได้ ตัวอยา่ ง สารสกัดใบยาสูบ ตวั อยา่ ง เชอื้ ราบิวเวอรเ์ รีย 39

ด้วงหมัดผัก หรอื กระเจา๊ ลักษณะการท้าลาย ด้วงหมัดผักเป็นแมลงปีกแข็งชนิดเดียวที่เป็น ศัตรูส้าคัญของผักกวางตุ้ง ตัวแก่กัดกินใบจนพรุน ท้าความเสียหายให้ได้ในระยะก้าลังเจริญเติบโต ตัวอ่อน ที่ เป็ น ตัวห น อนช อบ กัดกิน รากพื ช บางคร้ังเกิดระบาดในแปลงกล้าก็ท้าความเสยี หาย ให้ได้ ด้วงหมดั ชอบท้าลายโดยตัวแก่กดั กินใบและ ตวั หนอนกดั กนิ รากและหัว การปอ้ งกันกา้ จดั 1. การไถตากดนิ ในฤดูแลง้ จะช่วยทา้ ลายตวั อ่อนหรอื ดกั แดท้ ีอ่ ยู่ในดนิ 2. ระยะใข่ ฉีดพ่นด้วย\"บิววาเรีย+เมธาไรเซียม \" อัตรา 50-100 กรัม ต่อน้า 20 ลิตร ทุก 3 วัน ชว่ งเช้าหรอื เย็น และฉีดลงดินด้วย 3. ระยะหนอน : บีที จะช่วยก้าจัดหนอนของด้วงหมัดกระโดดได้และบีที สามารถ ก้าจัดหนอนได้ทกุ ชนิด หมดั กระโดดได้ดว้ ย 4. ฉีดพ่นไส้เดือนฝอยก้าจัดแมลง สัปดาห์ละคร้ัง หรือมีการระบาดหนักทุกๆ 3-5 วนั /คร้งั 5. ใช้กับดักกาวเหนียว เป็นหนึ่งวิธีท่ีช่วยลดจ้านวนประชากรแมลงในแปลงผัก และ สามารถชว่ ยลดความรนุ แรงของการระบาดของแมลงได้ ตัวอยา่ ง ไสเ้ ดอื ยฝอยกา้ จัด การใช้กับดกั กาวเหนียว แมลง 40

หนอนคืบกนิ ใบ ลักษณะทา้ ลาย หนอนคืบกินใบเป็นแมลง ศัตรูท่ีท้าความเสียหายต่อผัก ตระกูลกะหล้่าได้หลายชนดิ เป็น ห น อ น ข น าด ก ล างกิ น จุ ใน ระยะแรกตวั หนอนจะกดั กินที่ผิว ใบ เมือ่ ตวั หนอนโตขนึ้ จะกัดกินใบทา้ ให้เป็นรอยแหวง่ เหลอื แต่ก้านใบ แมลงชนดิ นี้จะ ทา้ ลาย โดยกัดกนิ ใบเปน็ สว่ นใหญ่และการทา้ ลายเปน็ ไปอยา่ งรวดเร็ว การปอ้ งกนั ก้าจัด 1. ฉีดพ่นเชือ้ ราบิวเวอรเ์ รีย อัตรา 60-80 กรมั /นา้ 20 ลติ ร 2. ใช้เช้ือราแบคทเี รยี บีที (BT)อัตรา 60-80 กรัมต่อน้า 20 ลติ ร ผสมสารจบั ใบฉดี พ่น เวลาเย็น สลับกับฉีดพ่น สารสกัด สะเดา ยาสูบ หนอนตายอยาก โดยฉีดพ่นในช่วง เย็น 3. ฉีดพ่นไสเ้ ดอื นฝอยก้าจัดแมลงอัตรา 1 ภาชนะบรรจุ/ น้า 10 ลิตรฉีดพ่นชว่ งเย็น 4. ควบคุมปริมาณของตัวแม่ผีเสื้อ โดยฉีดพ่นสารสกัดขม้ินชัน บอระเพ็ด สาบเสือ ในชว่ งเยน็ เพื่อขับไล่ ป้องกนั การวางไข่ ตวั อยา่ ง แบคทีเรยี บที ี ตวั อยา่ ง เช้ือราบิวเวอรเ์ รีย 41

หนอนกระท้หู อม (หนอนหลอดหอม หนอนหอม หนอนหนงั เหนียว) ลักษณะการท้าลาย ตัวเต็มวัยเป็นแมลงจ้าพวก ผีเส้ือกลางคืนขนาดเล็ก แม่ผีเสื้อ วางไข่เป็นกลุ่มสีขาว เม่ือหนอน ฟักจากไข่ใหม่ๆ จะรวมกลุ่มกัน แทะกินผิวใบพืช ในระยะต่อมาจะ เริ่ ม ท้ า ล า ย ย อ ด รุ น แ ร งม า ก สามารถกัดกินใบ ก้าน ดอก หัวได้ทุกส่วนท้าความเสียหายให้กับพืชมาก มักระบาด ทวั่ ไปตลอดปไี มจ่ า้ กัดฤดกู าลปลูก การป้องกันก้าจัด 1. ฉีดพ่นเช้ือแบคทีเรีย บีที ทุกๆ 5-7 วัน สลับกับฉีดพ่น สารสกัด สะเดา ยาสูบ หนอนตายอยาก โดยฉดี พน่ ในช่วงเยน็ 2. ควบคุมปริมาณของตัวแม่ผีเสื้อ โดยฉีดพ่น สารสกัดขมิ้นชัน บอระเพ็ด สาบเสือ ในชว่ งเย็นเพื่อขับไล่ ป้องกันการวางไข่ 3. ฉีดพ่นไสเ้ ดือนฝอยก้าจัดแมลง อัตรา 1 ภาชนะบรรจ/ุ น้า10 ลิตรฉดี พ่นทุกๆ 7 วัน ครัง้ 4. ใชเ้ ช้อื ราเมธาไรเซยี มฉดี พน่ ก้าจัดตัวหนอนแมลง http://southwestmoths.org/Spodoptera_exigua.html http://southwestmoths.org/Spodoptera_exigua.html 42

หนอนกระทูผ้ ัก ลกั ษณะการท้าลาย ผีเสื้อตัวเมียจะวางไข่เป็นกลุ่ม คลุมด้วยขนสีน้าตาลอ่อน 3-4 วัน ฟักออกเป็นตัวหนอน เมื่อฟักออก จากไข่ใหม่ ๆ จะรวมกลุ่มกัดกิน ผิวใบพืช เมื่อโตข้ึนจะกระจายตัว ออกไป กัดกนิ ใบ กลีบเล้ียง และดอก เป็นรู เวา้ แหวง่ ซึ่งระบาดในพืชหลายชนิด การปอ้ งกันก้าจัด 1. หนอนกระทูผ้ ักสามารถปอ้ งกันจ้ากดั ได้ไมย่ าก เมือ่ พบกลมุ่ ไขห่ รือหนอนที่ฟักออก จากไข่ควรเก็บท้าลาย หากปล่อยให้หนอนโตจนหนอนจะแยกย้ายหลบซอ่ นตัว กดั กินเจาะเป็นรูสึก ในใบ ดอก และฝกั 2. ฉีดพ่นเชอ้ื แบคทเี รยี บีที ทุกๆ 5-7 วนั สลับกบั ฉีดพน่ สารสกัด สะเดา ยาสบู หนอนตายอยาก โดยฉีดพ่นในช่วงเยน็ 3.ควบคมุ ปริมาณของตวั แม่ผีเส้ือ โดยฉีดพน่ สารสกดั ขมิ้นชนั บอระเพด็ สาบเสือ ในชว่ งเยน็ เพอ่ื ขบั ไล่ ป้องกันการวางไข่ 4. ฉีดพ่นไส้เดือนฝอยก้าจดั แมลง อัตรา 1 ภาชนะบรรจุ/น้า 10 ลติ รฉีดพน่ ทกุ ๆ 7 วันคร้ัง 43

หนอนใยผัก ลักษณะการทา้ ลาย หนอนใยผกั เม่ือฟักออกมาจากไข่ใหม่ๆ ตัวหนอนจะแทะกินผิวใบดา้ นล่างเป็นวง กว้างและมักทิ้งผิวใบด้านบนซ่ึงมีลักษณะโปร่งแสงเอาไว้หากมีการระบาดรุนแรง หนอนใยผักจะกัดกินใบจนเป็นรูพรุนเหลือแต่ก้านใบ หรือถ้าเกิดกับผักในระยะต้น ออ่ น หนอนจะกดั ท้าลายสว่ นยอดจนชะงักการเจริญเติบโต ส้าหรับผักในระยะท่ีออก ดอก ติดฝัก ดอกและฝกั อาจถูกทา้ ลายหมดไปได้ การปอ้ งกนั ก้าจัด 1. การปลูกพืชหมุนเวียน จะช่วยตัดวงจรชีวิตของหนอนใยผัก ไม่ควรปลูกพืชซ้าๆ ชนดิ เดิมๆ ตลอดปี 2. ใชเ้ ชือ้ ราเมธาไรเซียมกา้ จัดตัวหนอนแมลง อัตรา 50กรัม/นา้ 20ลิตร 3. ใช้เชื้อราแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis (BT) อัตรา 60-80 ซีซี. ต่อน้า 20 ลิตร ผสมสารจบั ใบฉีดพน่ เวลาเยน็ 4. ใช้สารสกดั จากสมุนไพรกา้ จัดแมลง เช่น นา้ หมักยาสบู นา้ หมกั จากบอระเพด็ 5. ใชไ้ ส้เดอื นฝอยกา้ จัดแมลง อัตรา 1 ภาชนะบรรจุ/น้า 10 ลติ ร ฉีดพ่นในชว่ งเยน็ 6. ใช้กับดกั กาวเหนียวหรือกบั ดกั แสงไฟ กา้ จดั ผีเส้อื ตวั แม่ เพ่อื ลดจา้ นวนตัวลูก 44

การเกบ็ เกี่ยวผลผลติ อายุการเก็บเกี่ยวของคะน้าอยู่ท่ีประมาณ 45 - 55 วันหลังปลูก คะน้าที่ตลาด ต้องการมากที่สุดคือคะน้าท่ีมีอายุ 45 วันและคะน้าท่ีมีอายุ 45–55 วัน เป็นระยะที่ เก็บเก่ยี วได้นา้ หมกั มากกวา่ วิธกี ารเก็บเกี่ยวคะนา้ ใหท้ ้าไดด้ งั นี้ 1. ใชม้ ีดคมๆ ตดั ต้นคะน้าให้ชดิ โคนตน้ 2. ตัดคะน้าให้เป็นหนา้ กระดานไปตลอดท่งั แปลง 3. หลงั ตดั คะน้าแล้วบางแห่งมัดด้วยเชอื กกลว้ ยมัดละ 5 กิโลกรัม บางแห่งก็บรรจุเข่ง หรือถงุ แล้วแตค่ วามสะดวกในการขนส่ง การเก็บเก่ียวคะน้าให้ไดค้ ุณภาพดี รสชาติดี และสะอาด ควรปฏิบตั ิดงั นี้ 1. เก็บในเวลาเช้าดีกว่าเวลาบ่าย 2. ใชม้ ดี เลก็ ๆตดั อย่าเก็บหรอื เด็ดด้วยมอื 3. อย่าปล่อยใหผ้ กั มีอายุมากหรอื แกเ่ กนิ ไป 4. หลงั เก็บเกยี่ วเสร็จควรน้าผกั เขา้ ทร่ี ม่ วางในท่โี ปร่งและอากาศเย็น 5. ภาชนะทีบ่ รรจผุ ักควรสะอาด 45

การปลูก ผักชีอนิ ทรีย์ 46

การเตรียมดิน แปลงปลูกอาจเตรียมแบบ ยกร่องจีน มีคูน้าล้อมรอบแบบ ยกร่องธรรมดา หรือปลูกใน แปลง โดยการไถพรวนแล้วโรย เป็นแถว ผักชีเป็นผักที่มีระบบ รากตื้น การเตรียมดินปลูกผักชี ก็ปฏิบัติเช่นเดียวกับการปลูกผัก อื่นๆ ทั่วไป โดยขุดหรือไถพลิก ดิ น ลึ ก ป ร ะ ม า ณ 15-20 เซนติเมตร ตากดินไว้ 5-7 วัน เพ่ือฆ่าเชื้อโรคและวัชพืชต่างๆ แล้วพรวนย่อยดินให้แตกเป็นกอ้ นเลก็ ใส่ปุ๋ยคอกหรอื ปุ๋ยหมกั ให้มาก คลุกเคล้าให้เข้า กับดนิ และปรับหน้าดนิ ให้เสมอ การเตรยี มเมลด็ พันธุ์ ผกั ชีเปน็ พืชทขี่ ยายพันธด์ุ ้วยการใชเ้ มลด็ ดังนนั้ ก่อนท่ีจะปลกู ต้องเตรียมเมลด็ พันธ์ใุ หพ้ ร้อม โดยการนา้ ผลมาบดใหแ้ ตกเปน็ สองซีก แลว้ น้าไปแช่น้าประมาณ 2-3 ชวั่ โมง แล้วเอาขนึ้ มาผง่ึ ลมให้แห้ง 47

วธิ ีการปลกู ก่อนปลูกต้องรดน้าให้ทั่วแปลงน้าเมล็ดที่เตรียมไว้มาหว่านลงบนแปลงปลูกท่ีได้ เตรียมไว้ กลบด้วยดินละเอียดบางๆ แล้วคลุกด้วยฟางหรือหญ้าแห้งอีกชั้นหน่ึง เพื่อ ป้องกันต้นอ่อนจากแสงแดดและรักษาความชื้นของผิวดิน หรือจะปลูกโดยใช้วิธีโรย เป็นแถวบนแปลง ให้แต่ละแถวห่างกัน 20-30 เซนติเมตร แล้วท้าการถอนแยกให้ เหลือระยะระหว่างต้นประมาณ 10-20 เซนตเิ มตร หลังจากหว่านเสร็จแลว้ ต้องรดน้า ใหช้ ่มุ อตั ราการใช้เมลด็ พันธ์ุประมาณ20 ลิตร ต่อไร่ อัตราการใช้เมล็ดพันธ์ุจะมากขึ้นหรือ น้อยลงกว่านี้ข้ึนอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ ของดิน ฤดูกาล และเปอร์เซ็นต์ความงอก ของเมล็ด หากดินมีความอุดมสมบูรณ์ดีจะ ใช้เมล็ดพันธุ์น้อยลง เพราะผักชีสามารถ เจริญเติบโตได้ดีและรอดตายได้มาก ควรใส่ ป๋ยุ คอก ปุ๋ยหมัก ทุกๆ 15 วัน 48

การดแู ลรักษา การรดน้าและการก้าจัดวัชพืช ผกั ชีเป็นผักท่ีต้องการน้ามาก ดังนั้นควรรดน้าอย่างสม้่าเสมอวันละ2คร้ัง แต่อย่า รถนา้ มากเกนิ ไป เพราะผกั ชีไมช่ อบนา้ ทีข่ ัง จะท้าให้ผกั ชีเนา่ งา่ ย ส่วนการก้าจดั วชั พืช ควรก้าจัดอย่างทันที โดยใช้มือถอนได้เลย เพราะวัชพืชจะเป็นตัวแย่งน้าจากผักชีท้า ให้ผกั ไปไมเ่ จริบเติบโต การใสป่ ยุ๋ ให้ ผักชีหลังจากแตกใบแล้วแนะน้าให้ใส่ปุ๋ยหมัก และจากน้ันให้ใส่ทุกๆ 10-15 คร้ัง ทัง้ นีข้ ึน้ อยู่กับความอดุ มสมบรู ณข์ องดนิ และพชื ปลูก 49

โรคทส่ี ้าคัญ ของผักชี 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook