Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore travel Sweden

travel Sweden

Description: travel Sweden

Search

Read the Text Version

สาระน่ารู้ เกี่ยวกับสวีเดน ค มู่ อื การเร ยี นร ทู้ างสงั คมฉบบั ภาษาไทย

”สาระนา่ รเู้ กีย่ วกับสวีเดน” เปน็ คูม่ อื การเรยี นรู้ทางสังคมส�ำหรบั ผทู้ ี่เดิน ทางมาใหม่ วตั ถปุ ระสงค์คือ เพอื่ ให้การสนับสนุนกับทางมณฑลต่างๆ ของ ประเทศในการปฎิบัตงานเก่ียวกับการเรียนรทู้ างสงั คมและใหข้ อ้ มลู พนื้ ฐานให้กับทุกคนซึ่งเดนิ ทางมาประเทศสวีเดน นบั ต้ังแต่วันที่ 1 ธนั วาคม ค.ศ. 2010 เปน็ ตน้ มาได้มีกฤษฎกี าฉบับหนงึ่ ซ่ึงได้ ก�ำกับการปฎบิ ตั งานเกย่ี วกับการเรียนรูท้ างสงั คมสำ� หรับผ้เู ดินทางมาใหม่ (2010:1138) กฤษฎีกาฉบบั ดังกล่าวระบุว่าวตั ถุประสงคข์ องการเรยี นรทู้ าง สงั คมนน้ั เพอื่ ให้ผูเ้ ข้ารว่ มได้รับกาพัฒนาความรู้ในเรอื่ งตา่ งๆ เกย่ี วกบั : • สทิ ธิมนษุ ยชนและคา่ นยิ มพน้ื ฐานในระบอบประชาธปิ ไตย • สทิ ธิและหนา้ ทขี่ องบคุ คลโดยทั่วไป • รูปแบบการจัดการระบบของสังคม • การปฎบิ ตั ตนในฃวี ติ ประจำ� วนั กฤษฎกี าฉบับดังกล่าวยังระบุด้วยวา่ การเรยี นร้ทู างสงั คมน้ันควรจะมีองค์ ประกอบอะไรบ้าง หนงั สอื ”สาระน่ารู้เก่ียวกบั สวีเดน” ไดจ้ ัดทำ� โดยการน�ำ กฤษฎีกาดงั กล่าวมายดึ ถอื เป็นหลกั ”สาระน่ารูเ้ ก่ยี วกบั สวเี ดน” สามารถหาอา่ นได้ในสบิ ภาษา คำ� แปลท้งั หมด สามารถหาอา่ นได้ที่ เวบ็ ไซทข์ ้อมลู ส�ำหรับผู้เดินทางมาใหมข่ องคณะ- กรรมการปกครองมณฑล www.informationsverige.se อีกทง้ั น้ียังมี ข้อมูลอา้ งอิงเพิ่มเติมซ่งึ ม่งุ เน้นไปยงั เจ้าหนา้ ทสี่ อื่ สารทางดา้ นสังคมและ ผทู้ ีร่ บั ผดิ ชอบต่อการจัดการอบรมเกี่ยวกับการเรยี นรูท้ างสงั คม ฉบบั พิมพ์คร้ังแรกของ ”สาระนา่ รูเ้ ก่ียวกบั สวเี ดน” จัดท�ำโดยเมือง Göteborg เมือ่ ปี ค.ศ. 2010 คณะกรรมการปกครองมณฑล Västra Götaland และเมอื ง Göteborg ด�ำเนินการปรับเน้ือหาทีเ่ กิดข้ึนของหนงั สือดังกลา่ วร่วมกนั การปรับเนือ้ หา ของการพมิ พฉ์ บบั ประจำ� ปีน้ซี งึ่ เปน็ คร้ังท่หี ้านับตงั้ แตป่ ี ค.ศ. 2010 นัน้ ได้ จัดท�ำโดยคุณ Anneli Assmundson Bjerde และคณุ Maria Nobel จากคณะ กรรมการปกครองมณฑล Västra Götaland พรอ้ มทั้งคณุ Camilla Näslund คณุ Jakob Sandahl คณุ Maria Ottosson และคณุ Steve Mahoney จาก เมือง Göteborg เพื่อเป็นการประกนั คุณภาพเพิม่ เตมิ ของขอ้ มลู ดังกล่าว ไดม้ ีการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ โดยผ้ชู �ำนาญการจากมหาวิทยาลัย Göteborg และจาก Dialoga – kompetenscentrum ซึง่ รบั ผดิ ชอบต่อความรนุ แรงใน ครอบครวั และคณะกรรมการมณฑล Västra Götaland Michael Ivarson Talieh Ashjari ผู้อำ� นวยการฝ่ายบรหิ าร ผอู้ ำ� นวยการฝา่ ยความหลากหลาย ส�ำนกั งานบริหารทรพั ยากร ในสงั คม (Mångfaldsdirektör) สวัสดิการสงั คม แผนกกิจการสงั คม เมอื ง Göteborg คณะกรรมการปกครองมณฑล มนี าคม ค.ศ. 2015 Västra Götaland มนี าคม ค.ศ. 2015

ลขิ สทิ ธ์:ิ Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län ภาพ: Maria Nobel การออกแบบกราฟิก: Bianca Rösner, Mediakompetens & Maria Nobel, Länsstyrelsen Västra Götalands län ภาพปก: Johan Ljungberg ผพู้ ิมพ์: Majornas Grafiska, Göteborg 2015 ISBN 978-91-637-4745-8

สารบัญ 1. การเข้าสปู่ ระเทศสวเี ดน 7 การย้ายถน่ิ ฐานเขา้ ประเทศสวเี ดน 8 การบูรณาการในสวเี ดน 11 ประวตั ิศาสตรข์ องสวีเดน - 14 จากยุคน้�ำแข็งถงึ ยคุ ใหม่ สวีเดนในศตวรรษที่ 20 20 สวีเดนมีเอกลกั ษณ์เดน่ อะไรบา้ งไหม 24 ประเพณแี ละเทศกาลตา่ งๆ ของสวีเดน 28 คำ� ถามเพื่อการอภิปราย บทที่ 1 37 2. การอาศัยอยู่ที่ประเทศสวีเดน 39 ภมู ศิ าสตร์ เศรษฐกิจการค้าและ 40 โครงสรา้ งพนื้ ฐาน ประชากร 45 ท่ีอยูอ่ าศยั และบ้านพัก 47 สิง่ แวดลอ้ ม ธรรมชาตแิ ละความยัง่ ยนื ของระบบ นเิ วศน์ 56 วิธีการดำ� เนินงานของเทศบาล 64 การบริหารเงนิ ของคุณ 69 ความปลอดภยั 71 ค�ำถามเพ่อื การอภปิ ราย บทที่ 2 73 © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน | 3

3. การหาเลยี้ งชพี และการพัฒนาตนเอง ในสวเี ดน 75 ตลาดแรงงานในประเทศสวเี ดน 76 การเป็นลูกจ้าง 85 การหางาน 88 การเปิดบรษิ ัทของตนเอง 92 การประกนั การวา่ งงาน 93 การชำ� ระภาษ ี 95 การลงทะเบียนราษฎร์ 98 การประกันสงั คม 100 การศกึ ษาส�ำหรบั ผูใ้ หญ่ 103 ชวี ิตยามว่างและการสมาคม 111 ค�ำถามเพอื่ การอภิปราย บทที่ 3 117 4. สทิ ธิตา่ งๆ และภาระหนา้ ที่ ของบคุ คล 119 ความเสมอภาคและสิทธมิ นษุ ยชน 120 การป้องกนั ตอ่ การเลือกปฎิบัติ 121 ครอบครวั และตวั บคุ คล 127 สทิ ธิของเด็ก 128 ความรุนแรงของผู้ชายตอ่ ผหู้ ญงิ และความรนุ แรง จากคนใกล้ชดิ 130 ค�ำถามเพ่ือการอภปิ ราย บทท่ี 4 134 4 | สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

5. การสรา้ งครอบครวั และการใชช้ วี ติ กับเดก็ ในสวเี ดน 135 การใช้ชีวติ อย่รู ่วมกนั แบบตา่ งๆ 136 การดแู ลเดก็ และเยาวชน 140 การบรกิ ารดแู ลเดก็ 145 การศึกษาภาคบังคับ 147 การศกึ ษาระดบั มัธยมปลาย 149 โรงเรียนและประชาธปิ ไตย 151 ความช่วยเหลอื ทางดา้ นการเงนิ แกค่ รอบครวั 153 ค�ำถามเพอ่ื การอภิปราย บทที่ 5 156 6. การมอี ทิ ธพิ ลในสวเี ดน 157 ประชาธิปไตยคอื อะไร 158 พฒั นาการของประชาธปิ ไตย 160 พัฒนการของการปกครอง 162 ระบอบประชาธปิ ไตยในสวเี ดน ระบบประชาธิปไตยของสวีเดน 164 กฎหมายหลกั หรอื มูลฐานส่กี ฎของสวเี ดน 173 ความคิดทางการเมืองและพรรคการเมอื ง 174 ระบบการเลือกตัง้ ของสวเี ดน 176 ประชาธิปไตยระหว่างการเลือก 179 ตงั้ และในชีวิตประจำ� วัน ค�ำถามเพ่ือการอภปิ ราย บทท่ี 6 181 © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน | 5

7. การดแู ละรักษาสขุ ภาพของตนเองใน สวเี ดน 183 สขุ ภาพคอื อะไร 184 ยาเสพติดแอลกอฮอลแ์ ละยาสบู 189 การดูและสขุ ภาพและการดูแลรักษาในสวีเดน 191 การติดตอ่ กับสถานพยาบาล 192 คุณสามารถติดต่อทใ่ี ดไดบ้ ้าง 193 การใชช้ วี ติ กบั สภาพสมรรถภาพรา่ งกายเสอ่ื มถอย 200 ทนั ตกรรม 201 คำ� ถามเพอื่ การอภปิ ราย บทที่ 7 204 205 8. การเข้าสวู่ ัยสูงอายุ ในประเทศสวีเดน การเขา้ สวู่ ยั สูงอายุ 206 กิจกรรมและสทิ ธพิเศษ 209 ส�ำหรบั ผ้สู ูงอาย ุ เงนิ บ�ำนาญ 210 การบริการดแู ลผสู้ ูงอายุ 213 เมือ่ มผี ู้เสยี ชวี ิต 215 สทิ ธิในการรบั มรดก 218 ค�ำถามเพอ่ื การอภปิ ราย บทท่ี 8 220 ดัชนี 221 6 | สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

ภาพ: Colourbox 1. การเข้าสู่ประเทศ สวีเดน สารบัญ การย้ายถิ่นฐานเข้าประเทศสวีเดน การบูรณการในสวีเดน ประวัติศาสตร์ของประเทศสวีเดน จากยุคน้�ำแข็งจนถึงยุคใหม่ สวีเดนในศตวรรษท่ี 20 สวีเดนมีเอกลักษณ์เด่น บ้างไหม ประเพณีและเทศกาลต่างๆ ของประเทศสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน | 7

การย้ายถ่ินฐานเข้าประเทศสวีเดน ในปัจจบุ นั นี้มผี ้คู นอาศยั อยู่ในประเทศสวเี ดนประมาณ 9.5 ล้าน คน มผี ู้คนประมาณสองล้านคนอาศัยอยู่ตามหวั เมืองใหญส่ ดุ สามเมอื งคือ: สตอกโฮลม์ โกเธนเบอรก์ และมาลเมอ่ ประชากร สวีเดนประมาณ 15 เปอรเ์ ซน็ ตเ์ กิดตา่ งประเทศ ในช่วงศตวรรษท่ี 19 ไดม้ ผี ู้คนมากมายย้ายเขา้ มาอยู่ท่ีประเทศ สวเี ดน นบั ต้ังแตส่ งครามโลกครง้ั สองเป็นต้นมาสวีเดนได้รับ ผยู้ า้ ยถนิ่ ฐานและผู้ลภ้ี ัยเข้ามาอยู่ประมาณ1,450,000 คน ในชว่ งปี 1950 และ 60 ประเทสสวเี ดนมคี วามตอ้ งการแรงงาน ผคู้ นจากประเทศใกลเ้ คยี งสวเี ดนยา้ ยมาทน่ี เ่ี พอ่ื ทำ� งาน นอกจากน้ี ยงั มผี คู้ นมากมายมาจากอติ าล่ี ประเทศกรซี ยโู กสลาเวยี และตรุ กี ในยุคปี 1980 ผคู้ นจากประเทศอเมริกาใต้ อีหรา่ น อริ คั เลบานอน ซเี รีย ตรุ กแี ละเอริเทรยี ตา่ งขอลภ้ี ยั เข้ามาท่ีสวีเดน ต่อมาภายหลงั เริม่ มผี คู้ นมาจากโซมาเลียและยุโรปตะวันออก ในปี ค.ศ. 1999 สภายโุ รปไดก้ ำ� หนดให้สหภาพยุโรป (EU)จัด ตัง้ นโยบายกลางสำ� หรบั การล้ีภยั และการยพยพยา้ ยถ่ินฐาน ขนึ้ มา ซงึ่ เรียกว่า ขอ้ ตกลงเชงเกน้ (Schengensamarbetet) ในปี ค.ศ. 2001 สวเี ดนได้เขา้ รว่ มเปน็ ภาคีขอ้ ตกลงเชงเก้น (Schengensamarbetet) ทง้ั น้หี มายควาวมวา่ ผู้คนทง้ั หมดที่อาศยั อยภู่ ายในพื้นทข่ี องเชงเก้นอยา่ งถูกตอ้ งตามกฎหมายสามารถ เดินทางไดอ้ ยา่ งอสิ ระโดยไม่ตอ้ งแสดงหนงั สอื เดินทางเม่ือเข้า ผ่านเขตชายแดน ขอ้ ตกลงเชงเก้น (Schengensamarbetet) ได้ นำ� ไปสกู่ ารยื่นขอลีภ้ ัยมากขีน้ ในชว่ งตน้ ๆ ของศตวรรษท่ี 20 ในประเทศสวเี ดน การควบคมุ ผยู้ พยพยา้ ยถนิ่ จะอยบู่ นพน้ื ฐาน กฎหมายวา่ ดว้ ยคนตา่ งดา้ วซงึ่ ประกอบดว้ ยระเบยี บเกย่ี วกบั การลี้ ภยั ใบอนญุ ามถี นิ่ ทอี่ ยแู่ ละการกลบั มารวมตวั กนั ของครอบครวั 8 | สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน ภาพ: Colourbox © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

ปี ค.ศ. 2013 ประเทศสวีเดนรบั ผู้ลภี้ ยั และผู้อพยพย้ายถ่ินเขา้ มาเกอื บ 116,000 คนจากประเทศ ตา่ งๆ มากกวา่ 200 ประเทศ จากจำ� นวน 116,000 คนนัน้ 17 เปอรเ์ ซ็นต์เป็นชาวสวีเดนซึ่ง ยา้ ยกลบั มาสวีเดน นอกจากนยี้ งั มผี ้คู นมากมายมาจากซเิ รยี โซมาเลียและโปแลนด์ ตารางด้านลา่ งแสดงถึงสถิตจิ าก SCB ของการอพยพของผูถ้ ือ สญั ชาติประเทศตา่ งๆ ที่พบมากท่ีสุดในปี ค.ศ. 2013 ประเทศทีต่ นเป็นพลเมอื ง สตรี ชาย ทงั้ หมด ส่วนแบ่งต่างๆ ของการอพยพ ยา้ ยถ่ินฐาน ประเทศสวเี ดน 9,943 10,541 20,484 17.7 ซเี รยี 4,990 6,759 11,749 10.1 โซมาเลีย 5,757 5,209 10,966 9.5 โปแลนด์ 2,139 2,472 4,611 4.0 อฟั กานิสถาน 1,696 2,469 4,165 3.6 เอริเทรีย 1,539 1,799 3,338 2.9 เดนมารค์ 1,062 1,433 2,495 2.2 อินเดยี 962 1,414 2,376 2.1 ฟนิ แลนด์ 1,334 972 2,306 2.0 อริ คั 1,146 1,156 2,302 2.0 ประเทศอ่ืนๆ 24,851 26,202 51,053 44.1 ท้ังหมด 55,419 60,426 115,845 100 การย่ืนขอลี้ภัย ทม่ี า: SCB อนสุ ัญญาสหประชาชาติว่าด้วยผู้ลภี้ ัยเปน็ ระเบียบสากลทีก่ ลา่ ว ถงึ การปฎิบัตของประเทศสมาชกิ สหประชาชาตติ ่อผ้ลู ้ภี ยั ตาม อนสุ ญั ญาดงั กล่าว คนท่ีเป็นผูล้ ้ภี ยั คอื ผูซ้ ง่ึ มคี วามเสี่ยงต่อการ ตามลา่ กดขีด่ ้วยเหตผุ ลทางเชอื้ ชาติ สญั ชาติ รสนยิ มทางเพศ ศาสนาหรือความคิดเห็นทางการเมอื งหรือการเป็นสมาชกิ ของ กล่มุ ในสังคมทีถ่ กู ตามลา่ ในระเบยี บดังกลา่ วระบุว่า บคุ คลซง่ึ เปน็ ผลู้ ภ้ี ยั ควรทจี่ ะไดร้ บั อนมุ ตั กิ ารขอลภี้ ยั โดยไมค่ ำ� นงึ ถงึ ประเทศ ทไ่ี ดท้ ำ� การยน่ื ขอลภ้ี ยั ภายใตอ้ นุสญั ญาสหประชาชาติว่าด้วยผลู้ ี้ภยั แมแ้ ต่คนท่ไี ม่ได้ เปน็ ผลู้ ภ้ี ยั อาจมสี ิทธทิ ี่จะไดร้ ับใบอนุญาติมถี ิน่ ท่ีอยใู่ นฐานะ ผู้ตอ้ งการความคมุ้ ครอง ภายใต้กฎหมายวา่ ด้วยคนตา่ งดา้ ว ผตู้ อ้ งการความค้มุ ครองมอี ยู่สองประเภท: •• ผตู้ อ้ งการความคมุ้ ครองเปน็ การสำ� รอง (ภายใตก้ ฎระเบยี บ รว่ มสหภาพยโุ รป (EU) •• ผตู้ อ้ งการความคมุ้ ครองรปู แบบอนื่ ๆ (ภายใตก้ ฎหมายสวเี ดน) สหภาพยโุ รป EU มีระเบยี บทั่วไปซึ่งกำ� กับวธิ ีการปฎิบตั ของ ประเทศตา่ งๆ ในการก�ำหนดว่าใครคือผลู้ ้ีภัย ในขั้นตอนการ © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน | 9

ภาพ: Colourbox พจิ ารณาเพ่อื ขอลีภ้ ยั แต่ละประเทศต้องค�ำนึงถงึ ปัจจัยตา่ งๆ เกีย่ วกับภูมิหลังของบุคคลและสถาณการณข์ องชีวติ และส่ิงใด ถอื วา่ เป็นการกดข่ีขม่ เหงและคำ� นึงถึงสภาพสถานการณ์ของ ประเทศทพ่ี วกเขาเกิด ฯลฯ หากคณุ ตอ้ งการยนื่ ขอลภ้ี ยั ในประเทศสวเี ดน คณุ ควรตดิ ตอ่ กรม ตรวจคนเขา้ เมอื ง กรมตรวจคนเขา้ เมอื งเปน็ หนว่ ยงานของรฐั ซง่ึ มหี นา้ ทดี่ แู ลเรอ่ื งการพาิ รณาอนมุ ตั การมาเยยี่ มเยอื น การขอมถี น่ิ ทอ่ี ยหู่ รอื ขอความคมุ้ ครองทส่ี วเี ดนหรอื การเปน็ พลเมอื งสวเี ดน ตามอนุสญั ญาดับบลินต้องมีการสอบสวนเก่ยี วกบั การยืน่ ขอลภี้ ยั จากประเทศยโุ รปแรกทคี่ ณุ เดินทางมาถึง กรมตรวจคนเข้าเมือง จะท�ำการพมิ ล์ ายน้วิ มอื ของผู้ท่ขี อล้ีภยั ทุกคนทม่ี ีอายุ 14 ปีขน้ึ ไป เพ่อื ตรวจสอบวา่ ประเทศสวเี ดนนั้นเปน็ ประเทศแรกที่คุณเดนิ ทางเขา้ มาหรอื ไม่ ใบอนุญาตมีถื่นที่อยู่กรณีความเกี่ยวพันทาง ครอบครัว ผู้ยพยพย้ายถิ่นฐานโดยส่วนใหญจ่ ะไดใ้ บอนญุ าตมิ ถี ิน่ ท่ีอยใู่ น ประเทศสวเี ดนเพราะมคี รอบครวั อยทู่ ี่น่ี ถา้ หากคุณต้องการย้าย มาสวีเดนเพื่ออยูก่ ับสมาชิกผใู้ กล้ชิดในครอบครัว คุณจะต้องมใี บ อนญุ าติมถี ่ินที่อยู่ คณุ สามารถท่ีจะไดใ้ บอนญุ าตมถี ่นิ ทีอ่ ยถู่ าวร (PUT) ถ้าคณุ มีความเก่ียวพักกันทางครอบครวั ใบอนญุ าตมีถิ่นที่ อย่ถู าวรหมายความวา่ คณุ สามารถพำ� นักอาศยั อย่ใู นประเทศได้ เป็นเวลานานเทา่ ท่คี ุณต้องการ คุณมสี ทิ ธิทีจ่ ะได้รับใบอนญุ าตมถี ิ่นท่อี ยู่หากคุณสมรส และมีการ จดทะเบยี นกับคคู่ รอง หรือเป็นค่คู รอง (ซ่งึ อยดู่ ้วยกันฉันทค์ ู่ท่มี ี ความสมั พนั ธ์) กับบุคคลซึ่งอาศัยอยู่ประเทศสวเี ดน นอกจากน้คี ุณยังสามารถมใี บอนญุ าตมีถน่ิ ทีอ่ ยูไ่ ดห้ ากคณุ มี ความประสงค์ทจ่ี ะสมรสหรือเป็นคคู่ รองกับบคุ คลซงึ่ อาศยั อย่ใู น ประเทศสวเี ดน หากคณุ มีอายุนอ้ ยกว่า 18 ปี คณุ มสี ทิ ธิท่ีจะกลบั มารวมตวั กันกับผ้ปู กครองของคุณได้ เพอ่ื ยื่นขอใบอนญุ าตมถี ่นิ ทอี่ ยใู่ นประเทศสวีเดน คณุ ควรตดิ ต่อ กบั สถานทตู สวเี ดนหรือสถานกงศลุ ในประเทศท่คี ณุ เกดิ หรอื ใน ประเทศที่คุณอาศัยอยู่ ผู้ท่ีจะสมคั รขอรับใบอนุญาตมิ ถี ่ืนที่อยู่จะ ต้องเปน็ ผู้ย่นื ใบสมัครดว้ ยตนเอง พลเมืองประเทศสวีเดน หากคณุ ปราถนาท่จี ะเป็นพลเมอื งสวีเดนคณุ จะต้องยน่ื ใบสมคั ร ไปยงั กรมตรวจคนเขา้ เมอื ง คณุ ซึ่งปราถนาท่ีจะเปน็ พลเมือง สวีเดนจะต้องมอี ายคุ รบ 18 ปี มีใบอนุญาตมีถน่ิ ท่ีอยูถ่ าวรและ ไดอ้ าศยั อยทู่ ป่ี ระเทศสวีเดนเปน็ เวลานานประมาณห้าปี เด็กที่ 10 | สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

มอี ายุตำ�่ กว่า 18 ปี สามารถทจ่ี ะเปน็ พลเมืองสวีเดนพรอ้ มกันกบั บิดาหรอื มารดาท่เี ป็นชาวต่างชาติได้ เวลาในการรอค�ำตอบเกี่ยว กับคำ� รอ้ งท่ียนื่ ขอเปน็ พลเมืองน้นั จะแตกต่างกนั ไป กรณุ าเข้าไป ดใู นเวบ็ ไซทข์ อง กรมตรวจคนเข้าเมือง (Migrationsverket) เพอื่ รบั ขอ้ มูลท่ที นั เหตกุ ารณ์ พลเมือง-EU หากคุณเป็นพลเมืองของประเทศสวิสเซอรแ์ ลนด์หรอื สมาขิก ของประเทศในสหภาพยโุ รป-/เขตเศรฐกจิ ยุโรป (EU-/EES) คณุ สามารถเดินทางภายในสหภาพยโุ รปหรอื EU ได้อยา่ งอิสระ ใน ปัจจุบันมี 26 ประเทศจากสมาชกิ สหภาพยุโรป 28 ประเทศทลี่ ง นามในข้อตกลงซ่งึ เรยี กวา่ ขอ้ ตกลง เชงเกน้ ทง้ั นห้ี มายความวา่ พลเมืองของ-EU สามารถท่จี ะเดนิ ทางข้ามพรมแดนของประเทศ ตา่ งๆ เหลา่ น้ีไดอ้ ยา่ งอิสระ หากคุณเป็นพลเมืองประเทศอืน่ ภายนอก EU หรอื ท่เี รียกวา่ พลเมอื งประเทศทสี่ าม คุณสามารถ เดนิ ทางระหวา่ งประเทศซ่ึงอยภู ายใตข้ ้อตกลงเชงเก้นไดอ้ ย่าง อสิ ระ แต่คุณสามารถเดนิ ทางได้นานสุดเพียงสามเดือนเท่านัน้ ใบอนุญาตท�ำงาน ใบอนญุ าตท�ำงาน (arbetstillstånd) เปน็ การอนมุ ตั จากกรมตรวจ คนเข้าเมืองทใี่ หส้ ทิ ธ์ิพลเมืองชาวตา่ งชาติเข้ามาทำ� งานในสวีเดน กฎขอ้ สำ� คัญคือ คณุ จะต้องสมคั รเพ่ือขอรบั ใบอนุญาตทำ� งาน และควรไดร้ ับการอนมุ ตั กอ่ นเดนิ ทางเขา้ มาสวเี ดน พลเมืองของ กลมุ่ ประเทศนอรด์ ิก พลเมอื งของสหภาพยุโรป (EU) /เขตความ รว่ มมือเศรฐกิจยุโรป (EES)พลเมอื งของสวสิ เซอรแ์ ลนดแ์ ละ สมาชิกในครอบครัวไมต่ อ้ งขอใบอนุญาตท�ำงาน บคุ คลท่ไี ด้อาศัย อยูใ่ นประเทศอ่ืนๆ ของสหภาพยโุ รปมาแล้วเป็นเวลาห้าปี ก็ไม่ ต้องขอใบอนญุ าติทำ� งานด้วยเชน่ กนั ผูเ้ ป็นเจา้ ของกิจการไม่ต้องขอใบอนาุ ตท�ำงาน แตต่ ้องมีใบ อนุญาตมถี ิน่ ท่ีอยู่ การบูรณาการในสวีเดน การบรู ณาการเปน็ เรื่องเกี่ยวกบั ความรู้สึกรว่ มเป็นสว่ นหน่งึ ของ สังคม ซงึ่ หมายความว่า ทกุ คนควรรูส้ กึ ว่าตวั เองเปน็ ส่วนหนง่ึ ของสงั คมสวีเดน การบรู ณาการหมายถงึ การทก่ี ลมุ่ ตา่ งๆ ใน สังคมไดม้ โี อกาสได้พบปะกันและแลกเปล่ยี นต่อกนั และกัน ใน ประเทศสวเี ดนอาจหมายถงึ การท่ผี ู้อพยพย้ายถน่ิ ไดเ้ รียนภาษา สวดี ชิ ทำ� งานและใช้ชีวติ เช่นคนสวีเดนอื่นๆ และในขณะเดยี วกนั ยงั ดำ� รงรักษาภาษาแมข่ องตนและความสัมพันธ์กับวัฒนธรรม เดิมของตนไว้ได้ © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน | 11

มนษุ ยท์ กุ คนซง่ึ เปน็ สว่ น หนงึ่ ของสงั คมมสี ทิ ธใิ น การรกั ษาวฒั นธรรม ของ ตนและความเปน็ ตวั ของ เขา ในสงั คมของประเทศ สวเี ดนทกุ คนมสี ทิ ธทิ จ่ี ะมี ความแตกตา่ งจากกนั ภาพ: Colourbox ในประเทศสวีเดนรัฐบาลเป็นผ้มู ีความรับผดิ ชอบต่อการรา่ ง แนวนโยบายสำ� หรับการบูรณาการของสวีเดน รฐั บาลสวีเดนมี ความประสงคใ์ หท้ ุกๆ คนร่วมเป็นส่วนหนึง่ ของสังคมไม่วา่ จะเกิด ท่ไี หนและมีเชอ้ื ชาตใิ ด รฐั บาลจงึ ให้การสนับสนุนเป็นพิเศษแก่ ผู้อพยพยา้ ยถน่ิ ท่มี าใหม่ภายในปีแรกทอี่ าศัยอยปู่ ระเทศสวีเดน วัตถุประสงค์เพือ่ ผู้ทีม่ าประเทศสวเี ดนใหมจ่ ะไดร้ บั การเริม่ ต้น และมสี ภาพเป็นอยู่ท่ีดีเพื่อท่ีจะสามารถใชช้ วี ติ โดยไม่ต้องพ่งึ พา ใครได้ การต้ังถิ่นฐานของผู้ลี้ภัยที่เพิ่งเดินทางมาใหม่ มีสทิ ธิพิเศษบางประการสำ� หรับผทู้ ี่มอี ายุครบ 20 ปี (แตย่ ังไมถ่ งึ 65 ป)ี และที่มีใบอนญุ าตมถี ่ินทีอ่ ยูใ่ นฐานะผู้ล้ภี ยั โควตา้ ผ้ลู ้ภี ยั ผ้ตู ้องการความคุ้มครอง หรอื ถ้าเปน็ เครือญาติของบคุ คลเหลา่ นี้ ในกรณีนนั้ คุณมีสทิ ธไิ ด้รับ ตัวอยา่ งเชน่ แผนการต้งั ถน่ิ ฐาน และเงินช่วยเหลอื ในการต้งั ถ่นิ ฐาน หากคณุ มีอายุครบ 18 ปี (แต่ ยงั ไม่ถึง 20 ป)ี และบดิ ามารดาไม่ไดอ้ าศัยอยูส่ วีเดน คณุ มีสทิ ธทิ ี่ จะได้รับความชว่ ยเหลอื เช่นกนั บุคคลทีเ่ พิ่งเดนิ ทางมาใหม่คือ ผลู้ ้ีภยั หรอื ผ้อู พยพยา้ ยถนิ่ ฐานทเ่ี พิง่ มาอยู่ที่สวีเดน แผนการตั้งถ่ินฐาน สำ� นกั งานจัดหางานเปน็ หนึ่งในหน่วยงานของรฐั ที่ใหค้ วามช่วย เหลอื แก่ผอู้ พยพย้ายถ่นิ ฐานและผลู้ ้ีภยั ท่ีเพิง่ เดินทางมาถงึ ใหม่ ในการเข้าสู่สงั คม หากคณุ อยใู่ นกลมุ่ ทม่ี ีสิทธทิ ี่จะได้รับแผนการ ตัง้ ถิน่ ฐาน คุณจะได้พดู คุยกบั บคุ คลคนหน่งึ คอื เจ้าหนา้ ที่ดูแล การตัง้ ถน่ิ ฐานประจ�ำส�ำนักงานจัดหางาน ถงึ สง่ิ ที่จ�ำเปน็ สำ� หรับ คุณเพ่ือใหค้ ณุ สามารถเรม่ิ หางานทำ� ได้ คณุ และเจ้าหน้าทีด่ ูแล การตั้งถน่ิ ฐานจะไดร้ ่วมรา่ งแผนการตงั้ ถ่นิ ฐานดว้ ยกนั แผนการ ตงั้ ถิ่นฐานเปน็ เอกสารซ่งึ คุณเขียนความคิดและแผนการต่างๆ เก่ียวกับอนาคตของคุณในประเทศสวเี ดน ในแผนการตงั้ ถ่นิ ฐาน 12 | สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

ดงั กลา่ ว คุณสามารถเขยี นตัวอย่างเชน่ หลักสูตรภาษาสวดี ชิ ส�ำหรบั ผูอ้ พยพย้ายถ่นิ ฐาน (sfi) หลกั สตู รการเรยี นรู้ทางสงั คม การประเมินวฒุ ิการศึกษาและประสบการณท์ �ำงานและการ ฝกึ งาน รายการกิจกรรมตา่ งๆ ทีค่ ุณเขยี นลงในแผนการต้ัง ถ่ินฐานนั้น ควรเป็นกจิ กรรมที่ใช้เวลาเตม็ วนั (เต็มเวลา) และ ตามปกตเิ ปน็ ระยะเวลาสงู สดุ ปปี ี มคี วามเปน็ ไปไดท้ จ่ี ะต่อเวลา ของแผนการตงั้ ถิน่ ฐานออกไป ตัวอยา่ งเช่นในกรณที ี่คณุ ต้องลา เลย้ี งดูบุตร วตั ถปุ ระสงค์ของแผนการตง้ั ถนิ่ ฐานนัน้ เพื่อใหค้ ุณ สามารถเรยี นร้ภู าษาสวดี ิชและหางานทำ� เพ่ือเลี้ยงตัวเองให้เรว็ ทส่ี ุดเท่าทจ่ี ะเปน็ ไปได้ ทสี่ ำ� นกั งานจดั หางานนนั้ สามารถชว่ ยนำ� ทางให้ คณุ หางานเองได้ ภาพ: Colourbox เงินช่วยเหลือในการต้ังถ่ินฐาน เงินช่วยเหลือในการต้งั ถิน่ ฐานเป็นเงินซง่ึ คณุ จะได้รบั เม่ือคณุ ท�ำ ตามแผนการต้ังถน่ิ ฐานของคุณ ถา้ คุณมีบตุ รคณุ จะไดร้ บั เงินเพิ่ม เติมอีกดว้ ย เงนิ ชว่ ยเหลอื ในการตง้ั ถนิ่ ฐานจะใหเ้ ทา่ กันทกุ คนไม่ วา่ คุณจะอาศยั อย่ทู ่ีไหน เพ่ือท่ีจะไดร้ บั เงนิ ชว่ ยเหลอื เตม็ จ�ำนวน คุณจะตอ้ งกระทำ� กจิ กรรมตามรายการทร่ี ะบุไวใ้ นแผนเต็มเวลา ผู้ทีม่ ีสทิ ธไิ ด้รับเงนิ ชว่ ยเหลือในการตัง้ ถน่ิ ฐานนีย้ งั สามารถได้รับ เงนิ ช่วยเหลือคา่ ทอี่ ยอู่ าศยั (bostadsersättning) อีกด้วย หากคุณ อยคู่ นเดียวในทพี่ กั อาศัยของตวั เอง การตอ้ งจากประเทศของตนและยา้ ยไปยงั ประเทศใหม่ การตอ้ งจากประเทศบา้ นเกดิ และเดนิ ทางไปประเทศใหม่อาจ หมายถงึ ความยากลำ� บากและความทา้ ท้ายได้ คณุ อาจได้ประสบ กบั เหตกุ ารณ์สะเทอื นใจและตอ้ งสูญเสียบา้ น เงินทอง เพื่อน สนิทและญาตพิ นี่ อ้ งทป่ี ระเทศบ้านเกิดของคณุ มา มันเป็นความ ทา้ ทายทจ่ี ะตอ้ งเรยี นรู้ภาษาใหม่ ระบบใหมแ่ ละวฒั นธรรมใหม่ มนั เป็นเร่ืองปกติท่ีการโยกย้ายน้ันกอ่ ให้เกดิ วกิ ฤตส่วนต้วได้ บาง คนอาจเริ่มรูส้ กึ ไม่ดีเมอื่ พวกเขาได้รบั ใบอนญุ าตมถี ่นื ทอี่ ยู่แล้ว © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน | 13

คุณจะได้รับการช่วยเหลือจากมืออาชีพหากคณุ รู้สกึ ไม่ดี ติดต่อ ศูนยด์ ูแลสุขภาพเพ่อื ขอขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ หากคณุ มีแผนการตง้ั ถน่ิ ฐาน คุณสามารถที่จะพดู คุยกบั เจา้ หน้าท่ีดูแลเรื่องการตง้ั ถน่ิ ฐานของคุณประจ�ำส�ำนกั งานจัดหางานเพื่อที่จะไดร้ ับข้อมลู เพม่ิ เตมิ เกี่ยวกับการที่จะได้ความช่วยเหลือจากทีไ่ หน หนิ รนู เปน็ หนิ ขนาดใหญ่ ทม่ี กี ารสลกั รปู อกั ษรรนู ไว้ รปู อกั ษรรนู เปน็ ตวั อกั ษรทมี่ อี ายกุ วา่ 1,000 ปี ภาพ: Colourbox ประวัติศาสตร์ของสวีเดน - จากยุคน้�ำแข็งถึงยุคใหม่ ยุคโบราณ ยคุ โบราณเปน็ ชว่ งอดตี กาลนานมามากแลว้ หรอื บางทเี รยี กวา่ ยคุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ เมอื่ 15,000 ปที แ่ี ลว้ ทวั่ ทง้ั ประเทศสวเี ดน ปกคลมุ ไปดว้ ยนำ้� แขง็ ชว่ งนเ้ี รยี กวา่ ยคุ นำ้� แขง็ 3,000 ปตี อ่ มานำ�้ แขง็ กไ็ ดล้ ะลายหายไปหมดจากตอนใตข้ องประเทศสวเี ดนและเรม่ิ มพี ชื สตั วแ์ ละมนษุ ยย์ า้ ยเขา้ มา มนษุ ยใ์ นยคุ นด้ี ำ� รงชวี ติ อยดู่ ว้ ยการ ลา่ สตั ว์ ตกปลาและเกบ็ รวบรวมพชื ทรี่ ปั ประทานไดไ้ วเ้ ปน็ อาหาร เม่อื ประมาณ 6,000 ปีท่แี ล้วผคู้ นทป่ี ระเทศสวีเดนเริม่ เรียนรทู้ ี่ จะท�ำการเพาะปลกู พืชและการเล้ียงสตั ว์ พวกเขาได้เริ่มใชเ้ ครื่อง มือซงึ่ ท�ำด้วยหินและไม้ ดงั นนั้ ช่วงน้จี ึงเรียกวา่ ยุคหิน 14 | สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

เมอ่ื ประมาณ 1,500 ปกี อ่ นครสิ ตกาล ผคู้ นในประเทศสวเี ดนเรม่ิ ประดษิ ฐส์ ง่ิ ของจากโลหะและสำ� รดิ ดงั นน้ั ชว่ งนจ้ี งึ เรยี กวา่ ยคุ สำ� รดิ ในยคุ นผี้ คู้ นไดเ้ รมิ่ มกี ารซอื้ และจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ภายในทวปี ยโุ รป ประมาณ 500 ปีกอ่ นคริสตกาล ผู้คนในประเทศสวเี ดนเร่ิมใช้ ส่ิงของเคร่ืองใช้ต่างๆ ซ่งึ ท�ำด้วยเหล็ก ชว่ งน้เี รียกวา่ ยุคเหลก็ ยุคไวก้ิง ชว่ งเวลาจากศตวรรษที่ 9 ถึงกลางของศตวรรษที่ 11 เรียกช่วง น้ีว่ายุคไวกิ้ง ชาวไวกงิ้ เป็นชนเผา่ ที่ช�ำนาญในการตอ่ เรอื และคนุ้ เคยกบั การเดนิ เรอื ในทะเล พวกเขาสรู้ บและค้าขายกบั ประเทศ อื่นๆ มากมาย ชาวไวก้งิ เข้ายึดครองอ�ำนาจตามประเทศในตอน เหนือยุโรปหลายประเทศ ในภาพแสดงใหเ้ หน็ ถงึ เรอื ซงึ่ ถกู สรา้ งดว้ ยวธิ ี เดยี วกนั กบั เรอื ใน ยคุ ไวกง้ิ ยุคกลาง ภาพ: Colourbox ในประวัตศิ าสตร์สวเี ดนไดม้ กี ำ� หนดเวลายคุ กลางไวร้ ะหวา่ ง ประมาณปี 1000 ถงึ ปี 1520 กอ่ นหนา้ ทคี่ ริสตศาสนาจะเข้าสปู่ ระเทศสวีเดนผ้คู นเคยนบั ถือ เทพเจ้าหลายองค์ เทพเจา้ ที่รจู้ กั กันมากท่ีสดุ คอื เทพเจ้าโอเดน ธอร์และเฟรยา ความเช่ือถือนเ้ี รยี กว่าศาสนาอาซาทรู (Asatro) หลังจากทศี่ าสนาครสิ ตเ์ ขา้ มาสู่สวเี ดนทำ� ให้สังคมเปลย่ี นแปลง ไป สวเี ดนมกี ษตั รยิ ์พระองค์แรกท่นี ับถอื ศาสนาครสิ ตค์ อื พระเจา้ Olof Skötkonung ซ่ึงขนึ้ ครองราชย์ประมาณปคี ริสต์ ศักราช 1000 ในช่วงศตั วรรษท่ี 13 มเี หตกุ ารณเ์ กดิ ขนึ้ มากมาย การเกษตรและการคา้ มีระเบยี บแบบแผนมากขน้ึ มกี ารสรา้ ง เมืองใหม่ๆ ขึน้ สวเี ดนแบ่งการปกครองออกเปน็ หวั เมือง แตล่ ะ © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน | 15

บา้ นทมี่ คี ณุ คา่ ทาง ประวตั ศิ าสตร์ ภาพ: Colourbox หัวเมอื งมกี ฎหมายของตัวเอง ในตอนแรกมเี พียงกฎหมายท่ี วา่ ด้วยทางวาจาซง่ึ ยงั ไมไ่ ด้มีการบันทกึ ข้ึน กฎหมายท่ีเป็นลาย ลักษณอ์ ักษรฉบับแรกมกี ารจดั ทำ� ขนึ้ ในศตวรรษที่ 13 ในชว่ งยคุ กลางได้มีการพฒั นารฐั สภาของสวเี ดนขึ้น ซ่ึงมี อ�ำนาจตรากฎหมายของประเทศ รฐั สภาถกู แบง่ ออกเปน็ ส่ี ฐานันดร:ขนุ นาง นักบวช ชาวเมืองและชาวนา ขนุ นางเปน็ กล่มุ ชนซ่งึ สบื ทอดอำ� นาจและสิทธทิ างมรดกหรือสายเลอื ด นักบวชมอี �ำนาจเหนอื ประชาชนเปน็ อยา่ งมากและเปน็ เจ้าของ ทด่ี ิน 20 เปอร์เซ็นตข์ องท่ีดนิ ผืนดที ่สี ุดของสวีเดน ชาวเมอื ง ควบคุมดแู ลการคา้ ขายและงานชา่ งฝมี อื ในตวั เมอื ง ชาวนาผู้เปน็ เจา้ ของที่ดนิ ผืนใหญ่มีอำ� นาจควบคมุ ความเป็นอยูต่ ามชนบท ชาวนาที่อาศัยอย่ตู ามชนบทจะท�ำการเพาะปลูกและเล้ยี งสตั ว์ สหภาพนอร์ดิก ในช่วงปลายของยคุ กลาง ประเทศเดนมารค์ นอรเ์ วย์และสวีเดน แก่งแยง่ กันมีอ�ำนาจวา่ ใครจะเปน็ ผมู้ อี ำ� นาจปกครองกลมุ่ ประเทศ นอร์ดกิ เมอ่ื ปคี .ศ. 1397 ประเทศในกลุ่มนอรด์ กิ ไดล้ งนามใน สัญญาฉบับหน่งึ ซ่ึงมักจะเรยี กกนั ว่าสหภาพคาลมาร์ โดยสหภาพ คาลมารไ์ ด้รวมประเทศทัง้ หมดเขา้ เป็นประเทศเดยี วกัน ยุคมหาอ�ำนาจ ในชว่ งศัตวรรษท่ี 16 มเี หตกุ ารณ์ส�ำคญั ของโลกเกิดขึ้นมากมาย โคลัมบัสเดินทางถงึ อเมริกา กูเทนเบิร์ก (Gutenberg) ประดิษฐ์ ศิลปะเครอ่ื งพมิ พ์หนงั สือ สมเดจ็ พระสนั ตะปาปาผู้นำ� คริสตจกั ร คาทอลคิ กรงุ โรม สญู เสยี อำ� นาจการควบคมุ สว่ นใหญเ่ หนอื ครสิ ต- จกั รของพระองคไ์ ป 16 | สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

ประชาขนสวีเดนหลายคนไม่พอใจกับวธิ กี ารปกครองสหภาพภาย ใตก้ ษัตริย์ เดนมาร์ค เหตกุ าร์ณฆาตรกรรมหมู่กรงุ สตอกโฮล์ม เปน็ เหตุการ์ณทร่ี ู้จักกนั ดเี นื่องจากกษตั ริยเ์ ดนมาร์คได้ส่ังประหาร ชวี ิตโดยตัดหวั ขนุ นางในกรุงสตอกโฮล์มจำ� นวน 100 คน หลัง เหตุการณ์ ฆาตรกรรมดังกล่าว คนสวเี ดนจงึ ไดก้ อ่ กบฏขน้ึ โดย มีขนุ นางชอ่ื Gustav Vasa เป็นผู้รวบรวมก�ำลงั พลกองทัพสวีเดน และเข้ายึดอ�ำนาจจากกษตั รยิ เ์ ดนมาร์คมาได้ จากกนนั้ Gustav Vasa จงึ ขน้ึ ครองราชย์เป็นพระมหากษัตรย์ิ ใ์ นวนั ท่ี 6 มิถนุ ายน ค.ศ. 1523 สวเี ดนไดเ้ ข้าภาวะสันตแิ ละพระมหากษตั รยิ ์ทรง ประสบความส�ำเรจ็ ในการรวมประเทศเข้ากนั วนั ที่ 6 มถิ นุ ายน ยังถือวา่ เปน็ วนั ชาติของสวีเดนอีกด้วย ในรชั สมยั ของพระเจา้ Gustav Vasa เกดิ การเปล่ียนแปลงใน ศาสนจกั ร บาทหลวงมารต์ นิ ลเู ธอร์ ชาวเยอรม์ ันเปน็ ผมู้ อี ิทธพิ ล ตอ่ การเปล่ยี นแปลงของครสิ ตจักรแห่งสวเี ดนมาก บาทหลวง มารต์ นิ ลูเธอร์ มีความคิดใหม่ๆ มากมายเกีย่ วกับการด�ำเนินการ ของโบส์ถ ศาสนจักรซ่ึงท่เี คยเปน็ นิกายคาทอลกิ ก็เปลี่ยนเป็น นกิ ายโปเแตสแตนท์ ศาสนจักรต้องสละทดี่ ินจำ� นวนมากและตอ้ ง จา่ ยภาษใี ห้กบั รัฐทแ่ี ข็งแกร่งขน้ึ เรอ่ื ยๆ ในขณะเดียวกนั รัฐสภาก็ มอี ำ� นาจมากขนึ้ ตง้ั แต่กลางศตวรรษที่ 16 จนถึงตน้ ศตวรรษที่ 18 ประเทศสวเี ดน ไดท้ �ำสงครามหลายครั้งกบั ประเทศรอบทะเลบอลตกิ (Östersjön) ทะเลบอลตกิ (Östersjön) เป็นหนึง่ ในทะเลที่มีความสำ� คญั ท่สี ดุ ของโลกในดา้ นการคา้ สงครามดังกล่าวจงึ เกิดขึ้นเพื่อแยง่ ชิง อ�ำนาจควบคุมเหนือทะเลบอลตกิ (Östersjön) นอกจากนส้ี วีเดน ไดเ้ ข้าไปเกี่ยวข้องกบั สงครามศาสนาอนั ยาวนานถึงสามสิบปซี ึ่ง เกดิ ระหว่างปี ค.ศ. 1618-1648 สวีเดนทำ� สงครามกบั เดนมาร์ค หอ้ งครวั ใหญ่ ณ ปราสาท Läckö ครวั ใน ศตวรรษท่ี 17 ภาพ: Lennart Haglund © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน | 17

รสั เซยี โปแลนดแ์ ละเยอร์มันและไดม้ อี �ำนาจควบคุมสว่ นใหญ่ ของทะเลบอลติก (Östersjön) ช่วงกลางของศตวรรษท่ี 17 สวเี ดนไดเ้ ข้ายดึ ครองพ้นื ที่ใหญ่ตอนเหนือของเยอรม์ นั และ โปแลนด์ จึงท�ำใหส้ วเี ดนกลายเป็นประเทศมหาอ�ำนาจ นอกเหนอื จากอานาเขตพนื้ ทซ่ี ง่ึ สวเี ดมอี ยใู่ นปจั จบุ นั ในสมยั กอ่ น ฟนิ แลนด์ เอสโตเนยี ลตั เวยี และบางสว่ นของรสั เซยี และเยอรมนั เคยเปน็ ของสวเี ดนมากอ่ น ตอ่ มาพระมหากษตั รยิ ข์ องสวเี ดน พระ เจา้ คารล์ ท่ี 12 (Karl XII ) จำ� ตอ้ งสละพน้ื ทใี่ นสว่ นซงึ่ อยภู่ ายนอก อาณาเขตประเทศสวเี ดนในปจั จบุ นั เนอ่ื งจากแพส้ งครามหลายครง้ั ปี ค.ศ. 1721 สวเี ดนเขา้ สภู่ าวะสนั ตอิ กี ครง้ั และแลว้ ยคุ มหาอำ� นาจ เหนอื ทะเลบอลตกิ (Östersjön) กไ็ ดผ้ า่ นพน้ ไป ยุคเสรีภาพ ยุคเรืองปัญญาและการปฏิวัติ หลงั จากการลม่ สลายของจกั รวรรดมิ หาอำ� นาจและการ สนิ้ พระชนมข์ องพระมหากษตั รยิ ์ มกี ารแนะนำ� สถานะของรฐั บาล ในรปู แบบใหมใ่ นสวเี ดน มกี ารกระจายอำ� นาจในสงั คมและ เปน็ การเรมิ่ ตน้ ของชว่ งระยะเวลาของการมเี สรภี าพมากขนึ้ ซงึ่ ตอ่ มาเรยี กวา่ ยคุ เสรภี าพ อำ� นาจสงู สดุ บรหิ ารโดยสฐ่ี านนั ดรของ รฐั สภา:ขนุ นาง นกั บวช ชาวเมอื งและชาวนา แตล่ ะฐานนั ดรมี คะแนนเสยี งเกยี่ วกบั ประเดน็ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั กฎหมายใหมแ่ ละภาษี รฐั สภารปู แบบใหมข่ องสวเี ดนไมไ่ ดม้ าจากการเลอื กตงั้ ตามระบอบ ประชาธปิ ไตยแตก่ ถ็ อื วา่ มคี วามเปดิ กวา้ งเปน็ พเิ ศษในสมยั นนั้ ในชว่ งของยุคเสรภี าพ สวเี ดนลงทนุ ในการปรับปรงุ เศรษฐกิจ ของประเทศโดยการลงทุนในการวจิ ัยเกย่ี วกับวิทยาศาสตร์ ด้วยการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับทรพั ยกรธรรมชาติ สวเี ดนจะ สามารถเล้ยี งตัวเองไดแ้ ละหลกี เล่ียงการน�ำเขา้ ดงั นน้ั ในปี ค.ศ. 1740 จงึ ไดก้ อ่ ต้ังสถาบันการศึกษาดา้ นวิทยศาสตรข์ ึ้น ในศตวรรษที่ 18 ได้มียคุ ใหม่เกิดขึน้ เรยี กว่า ยุคเรืองปัญญา หลายประเทศในยโุ รปมีสภาพเศรษฐกจิ ดีข้ึน ในช่วงศตวรรษ ที่ 18 ไดเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงท่ีส�ำคญั มากมาย ประชาชนเร่ิม เรียนรู้มากขึน้ และมีการวพิ ากษว์ จิ าร์ณในอ�ำนาจจในสังคมของ ศาสนจักรและขุนนาง การยกระดบั ทางเศรษฐกจิ และสังคม พร้อมกบั ความคิดตา่ งๆ ในยคุ ผเู้ รอื งปญั ญาเปน็ เหตใุ ห้การปฎริ ปู และการปฏิวตั ิไดก้ ระจายไปยงั สงั คมเก่าแกใ่ นยุโรปและอเมริกา การปฏิวตั ิท่ีรู้จักกันมากทสี่ ดุ คอื ในยุคนน้ั คือ การปฏิวตั ฝิ รั่งเศสใน ปคี .ศ. 1789 ปี ค.ศ. 1771 พระเจ้ากุสตาฟที่ 3 (Gustav III) ไดข้ ้นึ ครองราชย์ เปน็ กษตั ริยข์ องสวเี ดน เมอื่ พรรคการเมืองตา่ งๆ เรม่ิ มีการ ตอ่ ส้กู นั พระองค์ท�ำการรัฐประหารขึ้นในปี ค.ศ. 1772 พระองค์ 18 | สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

พยายามท่จี ะยึดอ�ำนาจให้มากขนึ้ เพือ่ ท่จี ะไดป้ กครองประเทศ ดว้ ยตนเอง ยคุ แหง่ เสรภี าพจงึ ไดส้ ิน้ สุดลง เหกุ ารณน์ ไ้ี ด้รบั การ วพิ ากษ์วจิ ารณ์ อนั ใหญห่ ลวงและพระเจา้ กสุ ตาฟท่ี 3 ถูกปลง (ถกู ยงิ ) พระชนม์ในงานเลยี้ งสวมหน้ากากในปี ค.ศ. 1792 สวีเดนในศตรรษท่ี 19 พระเจ้ากสุ ตาฟท่ี 4 อดอลฟ์ (Gustav IV Adolf) เปน็ กษัตริย์ สวีเดนในระหวา่ งปี ค.ศ. 1796 และ 1809 ในระหวา่ งท่พี ระองค์ ครองราชย์สวีเดนทำ� สงครามกบั รสั เซีย พระเจา้ กุสตาฟที่ 4 อดอลฟ์แพส้ งครามทำ� ใหส้ วเี ดนต้องสละฟินแลนดใ์ หก้ บั รสั เซีย ต้งั แต่ปี ค.ศ. 1815 เปน็ ตน้ มาสวีเดนจึงอยู่ในภาวะสันติ ความไม่ พึงพอใจกับการบริหารประเทศของพระเจ้ากุสตาฟท่ี 4 อดอลฟ์ (Gustav IV Adolf) และความลม้ เหลวของนโยบายสงคราม ของพระองค์เปน็ เหตุใหใ้ นปี ค.ศ. 1809 พระองค์ทรงต้องสละ พระราชบัลลงั คใ์ หก้ บั พระเจ้า คารล์ ที่ 13 (Karl XII) พระปติ าุ ของพระองค์ ในขณะเดยี วกนั รฐั สภาไดส้ ถาปนารฐั ธรรมนญู ซึง่ ประกอบด้วยกฎหมายหลักหรอื มลู ฐานสีฉ่ บบั ขึน้ ซง่ึ รวมถึงรัฐ บัญญัตวิ า่ ด้วยการจดั ระเบียบการปกครองประเทศซงึ่ ลดอ�ำนาจ ของพระกษตั ริยล์ ง กฎหมายหลักหรือกฎหมายมูลฐานจากปี ค.ศ. 1809 คอื : •• รฐั บญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการจดั ระเบยี บการปกครองประเทศ (Regeringsformen) เปน็ บทบญั ญตั เิ กย่ี วกบั วธิ ที รี่ ฐั ของสวเี ดนจะมรี ะเบยี บการปกครองแบบใด •• รฐั บญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการบื ราชสนั ตตวิ งศ์ (Successionsordningen) เปน็ บทบญั ญตั เิ กยี่ วกบั วธิ กี าร สบื ทอดราชบลั ลงั ก์ •• รฐั บญั ญตั วิ า่ ดว้ ยเสรภี าพในการตพี มิ พ์ (Tryckfrihetsförordningen) เปน็ บญั ญตั เิ กย่ี วกบั ความ คมุ้ ครองเสรภี าพในการตพี มิ พ์ •• รฐั บญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการจดั ระเบยี บรฐั สภา เปน็ บทบญั ญตั เิ กยี่ ว กบั การกำ� หนดให้ รฐั สภาประกอบดว้ ยสฐ่ี านนั ดร ขนุ นาง นกั บวช ชาวเมอื งและชาวนา พระเจา้ คาร์ลท่ี 13 ไมม่ ีทายาทสบื ราชสมบัติ พระองค์จงึ ได้ ทรงรับเลีย้ งชาวฝร่ังเศษ ฌอ็ ง แบบติสต์ เบอรน์ าดอตต์ (Jean Baptiste Bernadotte)เป็นบุตรบุญธรรมเพ่ือท่จี ะไดค้ รองราชย์ เปน็ กษตั รยิ ข์ องสวเี ดน Jean Baptiste Bernadotte ไดผ้ นวกรวม สวเี ดนและนอรเ์ วยเ์ ข้าดว้ ยกันเป็นเวลานานเกอื บ 100 ปี ปี ค.ศ. 1865 ได้มกี ารยกเลิกระบบรฐั สภาส่ีฐานันดรทง้ั สีอ่ อกไป (ขนุ นาง นกั บวช ชาวบ้านและชาวนา) รัฐสภาได้ถกู แบ่งออกเป็น สองส่วนแทน ซึ่งเรยี กวา่ สภา © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน | 19

ในชว่ งศตวรรษท่ี 19 ประชากรในสวีเดนได้มจี �ำนวนเพิม่ มากขึน้ ตอนต้นศตวรรษที่ 19 ประเทศได้มีประชากร 2.4 ล้านคนและใน ปี ค.ศ. 1900 มผี ู้คนจำ� นวน 5.1 ลา้ นคนอาศยั อยู่สวเี ดน การเพ่มิ ของประชากรท�ำใหผ้ ูคนมากมายจ�ำเป็นต้องหางานทำ� ตามสถาน ทอ่ี ืน่ ๆ ซึง่ ไม่ใช่ถนิ่ ทอ่ี ยู่ของพวกเขา หลายคนได้อพยพจากชนบท ไปอยใู่ นเมอื งต่างๆ ของสวีเดนและหลายคนอพยพไปประเทศ อเมรกิ า ระหว่างปคี .ศ. 1865 ถึงปั ค.ศ. 1914 มชี าวสวีเดนเกอื บ หน่ึงล้านคนไดอ้ พยพไปอยอู่ เมรกิ า ยุคปฏิวัติอุตสหกรรม การอตุ สหกรรมเข้าสูก่ ลมุ่ ประเทศนอร์ดิกชา้ กวา่ ประเทศอืน่ ๆ ใน ยุโรปหลายประเทศ ในช่วงกลางศตวรรษท่ี 19 ชาวสวีเดนสว่ น ใหญย่ งั คงอาศัยการท�ำเกษตรกรรมอยู่ ในปี ค.ศ. 1860 สวีเดน เร่ิมสรา้ งทางรถไฟ เป็นเพราะว่าทางรถไฟนเี้ องจึงท�ำใหส้ วเี ดน สามารถขายไม้และเหลก็ ใหก้ บั ประเทศอืน่ ๆ มกี ารก่อตั้งอตุ สหใช้ กรรมหลกั ขึ้นมาและการท�ำงานสามารถท�ำได้เร็วข้ึนจากการใช้ เคร่ืองจกั รแบบใหม่ดังกลา่ ว เหมอื งทองแดงเมอื ง Falu มรดกโลกทาง วฒั นธรรม ภาพ: Colourbox สวีเดนในศตวรรษท่ี 20 การแนะน�ำระบอบประชาธิปไตย ตอนตน้ ศตวรรษท่ี 19 ผ้คู นยังคงอพยพจากชนบทเข้าเมอื งอย่าง ตอ่ เนอื่ ง จ�ำนวนชาวนาลดนอ้ ยลงและจ�ำนวนคนงานก็เพิม่ มาก ขึ้น ผคู้ นมากขึ้นตอ้ งการทจ่ี ะได้รับสทิ ธใิ นการออกเสียงในการ เลือกตั้ง ปี ค.ศ. 1907 ผชู้ ายทกุ คนทมี่ ีอายุ 24 ปขี ้ึนไป สทิ ธใิ น การลงคะแนนเสยี งเลอื กต้งั ได้ ช่วงปลายศตวรรษที่ 18 คนงาน ท้งั หลายเริ่มมกี ารกอ่ ตง้ั องค์กรสหภาพขนาดใหญ่ข้ึน อง์คกร เหล่านั้นตอ้ งการทีจ่ ะปรบั สถานภาพแรงงานใหด้ ขี น้ึ และขึ้น ค่าแรง บางครั้งพวกเขาจกป็ ระสพความสำ� เรจ็ เพ่อื เปน็ การ ประทว้ งต่อสภาพการท�ำงานทีไ่ ม่เป็นธรรม พวกคนงานนัดพากนั 20 | สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

หยุดท�ำงานเป็นครง้ั คราว การกระทำ� เชน่ น้ันเรียกกนั วา่ การนดั หยุดงาน ในปีค.ศ. 1909 เกดิ การนัดหุยดงานครั้งใหญโ่ ดยมีคน งานประมาณ 300,000 คนนดั หยดุ งาน เหตกุ ารณ์น้ีถอื วา่ ส�ำคัญ สำ� หรบั การพฒั นาฎหมายแรงงานและความเป็นประชาธปิ ไตย สงครามโลกครั้งท่ีหนึ่งและช่วงระหว่าง สงคราม เม่ือสงครามโลกครัง้ ท่หี น่งึ เร่มิ ตน้ ข้นึ ในปคี .ศ. 1914 กลมุ่ ประ เทศนอรด์ กิ ไดร้ ่วมท�ำขอ้ ตกลงเปน็ ประเทศท่ีวางตัวเป็นกลางและ ไมฝ่ กั ไฝฝ่ า่ ยใดในสงครามดังกลา่ ว ปคี .ศ. 1931 สวเี ดนประสพ กบั ความตกตำ่� ทางเศรษฐกจิ ความตกตำ�่ ดังกลา่ วเรมิ่ จากวิกฤต ตลาดหุน้ นวิ ยอรก์ ประเทศสหรัฐอเมรกิ าเมื่อปีค.ศ. 1929 และได้ หลงั จากน้นั ลุกลามไปทัว่ โลก วกิ ฤตดังกล่าวไดน้ ำ� ไปสู่การวา่ งงาน การนดั หยุดงานและการเดินขบวนประทว้ ง ในชว่ งน้สี วีเดนมีการ ประกันการวา่ งงานทดี่ ขี ้นึ และมีสิทธลิ าพักรอ้ น ผทู้ เี่ กษยี ณอายุ ไดร้ ับเงินบำ� นาญทสี่ ูงขึน้ ช่วงปที ศวรรษ 1930 สถานภาพชีวติ ของผูห้ ญงิ มีบตุ รดขี นึ้ ผู้ หญิงท่ีมบี ตุ รจะไดร้ ับ การบรกิ ารรักษาพยาบาลและได้รับเงนิ เพ่ิมข้ึน ทง้ั นีเ้ นือ่ งจากรัฐบาลสวเี ดนสง่ เสรมิ ให้มีการคลอดบุตร กนั มากขึ้นในประเทศ ผู้หญงิ ไม่ตอ้ งจ่ายเงนิ เม่อื มีการคลอดบุตร ทโ่ี รงพยาบาลอกี ตอ่ ไป นอกจากนร้ี ัฐบาลได้สร้างศนู ย์อนามัยเด็ก และทีอ่ ยอู่ าศยั ทด่ี ขี ้นึ สำ� หรบั ครอบครัวทมี่ ีบุตร ผวู้ า่ จา้ งไม่มีสทิ ธิ ปลดหญิงตั้งครรภอ์ อกจากงานอกี ตอ่ ไป ขอ้ ตกลงเอกฉนั ท์พิเศษระหวา่ งฝ่ายตา่ งๆ ในตลาดแรงงาน นอกจากนีม้ กี ารเปลยี่ นแปลงคร้งั ยิ่งใหญใ่ นตลอดแรงงาน อีกดว้ ย จากตน้ ชว่ งทศวรรษ 1900 จนถงึ ปคี .ศ. 1930 เป็น เร่ืองธรรมดาทผ่ี ู้ว่าจา้ งและลกู จ้างมขี ้อขดั แยง้ เกี่ยวกับคา่ จ้าง และชัว่ โมงการทำ� งานและสภาพของสถานทที่ �ำงานต่างๆ แตใ่ น ปี ค.ศ. 1938 ทาง LO (สหภาพแรงงานของคนงาน) และ SAF (สหภาพแรงงานของนายจา้ ง) ได้บรรลุขอตกลงถงึ ความร่วม มือและการบรรลขุ ้อตกลงกันในอานาคต พวกไดล้ งนามในขอ้ ตกลงทีเ่ รยี กวา่ ข้อตกลง Saltsjöbad (Saltsjöbadsavtalet) ความ ร่วมมอื ระหวา่ งนายจา้ งและลกู จ้างมคี วามส�ำคัญอยา่ งยิง่ ในการ พัฒนาเศรษฐกจิ ของสวีเดน สงครามโลกครั้งท่ีสอง สงครามโลกครั้งท่ีสองเริ่มขึ้นเมอ่ื ปี ค.ศ. 1939 ในช่วงระหว่าง สงครามน้ี ฮติ เล่อร์และพวกนาซีไดส้ ังหารชาวยิวไปมากกวา่ ห้า ลา้ นคนและชาวโรมานเี ปน็ 100,000 คนทีเ่ ป็นคอมมิวนิสต์ กล่มุ รกั รว่ มเพศและบุคคลที่มี ความพกิ ารอกี ดว้ ย เม่อื สงครามโลก © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน | 21

ครงั้ ทีส่ องเริม่ ตน้ ขึ้น สวเี ดนได้รว่ มท�ำข้อตกลงเป็นประเทศท่ี วางตัวเป็นกลางและไม่ฝักไฝ่ฝ่ายใดในสงครามดังกลา่ ว สวเี ดน ไดช้ ว่ ยผอู้ พยพยา้ ยถน่ิ มาจากเดนมาร์ก นอรเ์ วย์และกลมุ่ ประเทศ บอลติก สวีเดนได้ใหท้ ่ีพักพงิ แก่ชาวยวิ จากเดนมาร์ก 7,500 คน ซ่งึ ิฉะนน้ั จะถกู ส่งตวั ไปประเทศเยอร์มันแทน หลงั สงคราม นอกจากจะไดร้ ับการวิพากษว์ จิ ารณข์ องการวางตัว เปน็ กลางแลว้ สวีเดนยังยอมให้นาซใี ช้ประเทศเป็นทางผา่ นการ ขนส่งกองกำ� ลังทหารและอาวธุ หลงั สงครามโลกครง้ั ทส่ี อง หลายประเทศไดร้ ว่ มกนั กอ่ ตง้ั สหประชาชาตหิ รอื UN (FN) เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ สงครามโลก ขนึ้ มาใหม่ ยุโรปภายหลังสงครามโลกคร้ังท่ีสอง หลงั จากสงครามโลกคร้งั ทส่ี อง ยโุ รปถูกแบง่ เปน็ สองฝา่ ยคอื ยุโรปตะวันออกและยุโรปตะวนั ตก ยโุ รปตะวนั ออกตกอยภู่ าย ใตอ้ ทิ ธิพลของระบอบคอมมิวนิสต์โดยสหภาพโซเวยี ตมีอำ� นาจ ตัดสนิ มากทสี่ ุด กำ� แพงเมอื งเบอรล์ นิ ภาพ: Colourbox 22 | สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

สว่ นยโุ รปตะวันตกและสหรัฐอเมริการว่ มกันก่อตงั้ องคก์ ารนาโต้ (NATO) ซ่งึ เป็นองค์กรทางหทารในการปอ้ งกนั ยุโรปตะวนั ตกจาก คอมมวิ นสิ ต์ การขดั แยง้ และการคกุ คามต่างๆ ระหว่างฝ่ายตะวัน ออกและฝ่ายตะวนั ตกเรยี กวา่ สงครามเยน็ ปีค.ศ. 1961 มีการสร้างก�ำแพงเบอร์ลนิ ขน้ึ ในประเทศเยอรม์ นั เพื่อทีจ่ ะปอ้ งกนั ไมใ่ หผ้ คู้ นเดนิ ทางออกจากเยอรม์ ันตะวนั ออก ซ่งึ ในระหว่างสงครามเย็นมีเผด็จการคอมมวิ นสิ ต์ปกครองซ่ึงไม่ อนุญาตใหป้ ระชากรเดินทางออกนอกประเทศ กอ่ นหน้าทีจ่ ะมี การสรา้ งก�ำแพงนั้นมีผู้คนอพยพหนอี อกจากเบอรล์ นิ ตะวนั ออก ไปยงั เบอรล์ ินตะวันตก เพอื่ เปน็ การหยุดการอพยพดังกล่าว ทาง รฐั บาลเยอรม์ นั ตะวนั ออกจงึ ไดม้ ีคำ� สัง่ ใหส้ ร้างกำ� แพงขึ่นในเดือน สิงหาคม ค.ศ. 1961 กำ� แพงเบอรล์ ินเปน็ สัญญลกั ษข์ องการแบ่ง แยกของทวีปยุโรปในช่วงสงครามเยน็ การแบ่งแยกดงั กล่าวคง มีตอ่ ไปจนกระทั่งปี ค.ศ. 1989 เม่อื ก�ำแพงเบอรล์ ินถกู ทลายใน ทสี่ ดุ ซ่งึ เรยี กว่าการล่มสลายของกำ� แพงเบอร์ลนิ ประเทศสวเี ดนในชว่ งปีค.ศ. 1960 ถึงปี ค.ศ. 2000 ในชว่ งปี 1960 ประเทศสวเี ดนมเี ศรษฐกจิ ทเ่ี จรญิ รงุ่ เรอื งดี มกี าร ขยายงานดา้ นการบรกิ ารดแู ลเดก็ การรกั ษาพยาบาลและการดแู ล ผสู้ งู อายุ ลกู จา้ งไดร้ บั สทิ ธลิ าพกั รอ้ นไดส้ สี่ ปั ดาห์ สวเี ดนกลายเปน็ ประเทศทที่ นั สมยั และสามารถทำ� ใหป้ ระชาชนมชี วี ติ ทด่ี ี มคี วาม มนั่ คงปลอดภยั และโอกาสในการทจี่ ะไดร้ บั อาหาร ทอ่ี ยอู่ าศยั และ การงาน ซง่ึ ความมน่ั คงแบบนม้ัี กั จะเรยี กกนั วา่ สวสั ดกี ารแบบ สวเี ดน ปี ค.ศ. 1974 สวเี ดนมกี ฎหมายรฐั ธรรมนญู ฉบบั ใหมซ่ ง่ึ กำ� หนดใหอ้ ำ� นาจรฐั ทงั้ หมดตอ้ งมาจากประชาชน กษตั รยิ ย์ งั คง ดำ� รงตำ� แหนง่ เปน็ ผบู้ รหิ ารระดบั สงู ของประเทศ ประมขุ แหง่ รฐั แตง่ านดา้ นการเมอื งทง้ั หมดจะบรหิ ารโดยรฐั บาลและรฐั สภา สมเดจ็ พระราชาธิบดีคาลรท์ ี่ 16 กสุ ตาฟ (Carl XVI Gustav) เปน็ กษัตริยส์ วเี ดนพระองคแ์ รกหลังจากมีกฎหมายใหมน่ ้ี นอกจาก นน้ั ในปี ค.ศ. 1980 มีการเปลีย่ นแปลงกฎหมายเพื่อใหผ้ ู้หญิงมี สิทธิสามารถสบื ราชสมบัตไิ ด้ หมายความว่าเจ้าหญิงวิกตอเรีย กลายเป็นรชั ทายาทในราชบัลลลั กแ์ ทนเจา้ ชายคาร์ล ฟิลิลป พระอนุชาในพระองค์ ปี ค.ศ. 1979 มกี ารขึน้ ราคาน้ำ� มัน โดยประเทศในกลมุ่ Opec (องคก์ ารประเทศผู้สง่ นำ้� มนั เป็นสินค้าออก) เปน็ ผกู้ ำ� หนดราคา นำ้� มัน เม่อื น้�ำมันมรี าคาสงู ขึน้ จึงทำ� ให้ประเทศในภาคตะวันตก เกิดวิกฤตเศรษฐกจิ ปี ค.ศ. 1986 นายกรัฐมนตรีสวเี ดนโอลอฟ พาลเม่ (Olof Palme) ถูกลอบยงิ เสียชวี ิต จวบจนปัจจุบันนี้ยงั คงไม่ทราบตัวฆาตรกร © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน | 23

ต้นปี ค.ศ. 1990 เป็นชว่ งทีว่ ุ่นวายในยโุ รป สวีเดนตกอยใู่ นวิกฤต ธนาคารและการเงนิ หลายคนสญู เสยี หนา้ ทกี่ ารงาน บรษิ ทั หลายแหง่ ได้ปิดตวั ลง ทำ� ใหเ้ ศรษฐกจิ ของรฐั หรอื ประเทศถดถอย ปี ค.ศ. 1994 ประชาขนสวีเดนได้ลงประชามตติ ดั สินใหป้ ระเทศ สวเี ดนเขา้ รว่ มสหภาพยุโรป EU รัฐมนตรีตา่ งประเทศอนั นา ลนิ ดฮ์ (Anna Lindh) ถกู ลอบสงั หาร ในปี ค.ศ. 2003 ฆาตรกรถูกจำ� คุกไปแล้ว ในช่วงศตวรรษท่ี 2000 มีวิกฤตเศรษฐกจิ เกิดข้ึนหลายคร้ังซึง่ สง่ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจของโลกอย่างมาก ราวปี ค.ศ. 2000 ตลาดหุ้นไอทีถล่มลงส่งผลใหบ้ รษิ ทั หลายแหง่ ซ่ึงด�ำเนนิ ธุรกจิ เก่ยี วกบั เทคโนโลยีสารสนเทศลม้ ละลายเน่อื งจาก การเก็งกำ� ไรอยา่ งสงู ซึ่งเป็นเหตใุ หต้ ลาดหนุ้ พงั ทลาย ราวปี ค.ศ. 2008 ไดเ้ กดิ วกิ ฤต ทางเศรษฐกจิ สาเหตุจาก การค่าต้งั มลู ค่าสงู เกินและการกูย้ มื ที่ล้นหลามของตลาด อสังหารมิ ทรพั ย์ในสหรัฐอเมริกา วกิ ฤตเิ ศรษฐกิจดงั กลา่ วน้ี ไดเ้ ป็นสาเหตใุ หห้ ลายประเทศใกลป้ ระสบกบั การล้มละลาย (ไอซแลนด์ กรีก สเปน) และผลกระทบยงั คงปรากฎให้เหน็ อยูใ่ น ปจั จบุ นั (ปี ค.ศ. 2014) ปี ค.ศ. 2010 เปน็ ปที ่ยี โุ รปประสบกับวกิ ฤตหิ นส้ี ินซึ่งยงั ปรากฎให้ เหน็ อยู่จนถงึ ทกุ กวนั นี้ (ปี ค.ศ. 2014) เป็นสาเหตทุ �ำใหค้ ่าใชจ้ ่าย มากกวา่ รายได้ในประเทศสมาชิกอียหู ลายประเทศและวกิ ฤติได้ กระจายตัวออกไปจากประเทศกรกี สเปนและโปรตุเกสไปยงั ไซปรส้ อติ าล่ีและไอรแ์ ลนด์ สวเี ดนมเี อกลักษณเ์ ดน่ อะไรบา้ ง ไหม มันยากทจ่ี ะบอกไดว้ ่าอะไรเป็นตัวบ่งบอกลักษณะของวฒั นธรรม สวีเดน และอะไรคอื เอกลกั ษณ์เดน่ ของสวเี ดน ทกุ ๆ กลุ่มในโลก น้ี มคี ่านยิ ม ทางวัฒนธรรม ซง่ึ ทำ� ใหพ้ วกเขามีความสัมพันธ์ที่ ใกลเ้ คยี งกนั คณุ สมบัตบิ างอย่างอาจมีการแบง่ กนั โดยหลาย วฒั นธรรมและไม่จ�ำเป็นท่ีจะมีการแบง่ กนั ภายในกลมุ่ ดังกลา่ ว กไ็ ด้ ส่ิงใดทค่ี นหน่งึ ถือวา่ เปน็ เอกลักษณเ์ ด่นของสวีเดน อาจจะไม่ ได้รบั ความคดิ เห็นเดยี วกันจากคนอ่ืนๆ ในแงข่ องภมู ิหลังเช้อื ชาตแิ ลว้ ดง้ั เดิมชาวสวเี ดนจะมาจากกล่มุ ชนเจอร์แมนิก ในปจั จบุ นั ชาวสวีเดนมตี น้ กำ� เนิดทแ่ี ตกตา่ งกนั มากมาย สง่ิ ทชี่ าวสวเี ดนมเี หมอื นกนั เฉพาะอยา่ งยิ่งคอื ภาษา 24 | สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

สวีเดน เปน็ ภาษาอินโด-ยุโรเปยี นและเจอร์แมนิกและเปน็ ภาษา พดู กันโดยประมาณสิบลา้ นคน ส่วนใหญ่ในประเทศสวเี ดนและ ในฟนิ ด์แลนด์เป็นบางสว่ น ภาษาสวเี ดนมคี วามคล้ายคลงึ กบั ภาษานอรเ์ วย์และเดนมารค์ และคนสว่ นใหญข่ องสามประเทศนี้ สามารถเขา้ ใจภาษาของกันและกัน วฒั นธรรมตา่ งๆ มกี ารเปลย่ี นแปลงตลอดเวลาและไดร้ บั อทิ ธพิ ล จากปจั จยั ตา่ งๆ ในสงั คม วฒั นธรรมของสวเี ดนเคยไดร้ บั ผลกระ ทบและยงั คงไดร้ บั ผลกระทบจากปรากฎการณม์ ากมายในสงั คม ตวั อยา่ งของปจั จยั ตา่ งๆ ซง่ึ ไดม้ อี มิ ธพิ ลตอ่ วฒั นธรรมของสวเี ดน คอื การปฎวิ ตั ทิ างอตุ สหกรรม ววิ ฒั นการดา้ นสวสั ดกิ าร การ เปลย่ี นเปน็ โลกฆราวาสและความเปน็ ปจั เจกภาพ ปจั จยั เหลา่ นี้ และอนื่ ๆ ไดม้ อี ทิ ธพิ ลตอ่ วธิ กี ารสอื่ ความสมั พนั ธข์ องมนษุ ยเ์ รากบั โลก วธิ กี ารทผี่ คู้ นเขา้ สงั คมและสอ่ื ความหมายของสงั คม หลายคนคดิ วา่ กระทอ่ ม เลก็ ๆ ทท่ี าดว้ ยสแี ดงเปน็ เอกลกั ษณข์ องประเทศ สวเี ดน ภาพ: Colourbox มอี ย่ไู ม่กีส่ งิ่ ทีจ่ ะมีความซับซอ้ นและความแตกต่างกันเฉกเชน่ วฒั นธรรม เพื่ออธิบายถงึ สิ่งทห่ี ลายๆ คนเขา้ ใจวา่ เปน็ เอกลกั ษณ์ เดน่ ของสวเี ดนนั้นจ�ำเปน็ ตอ้ งท�ำใหเ้ ข้าใจงา่ ยขึน้ ตอ่ ไปน้นี ีค่ ือ ปัจจัยบางอย่างท่ีหลายคนเห็นเปน็ เอกลักษณเ์ ดน่ ของสวเี ดน และเปน็ ตัวบง่ บอกคณุ ลักษณ์ของวฒั นธรรมสวีเดน แตม่ ันไม่ได้ หมายความทกุ คนในสวีเดนจะเห็นดว้ ยกับเร่ืองดงั กลา่ วหรอื รับรู้ กับคำ� อธิบายเหล่านนั้ มมุ มองทมี่ ตี ่อรฐั บาลสวีเดนและความเช่อื ม่ัน ในหนว่ ยงานราชการ ในสวีเดนจะมีความเชอ่ื ม่ันค่อนข้างสูงตอ่ รฐั บาลและหนว่ ยงานที่ เกย่ี วขอ้ ง ในสังคมที่เปน็ ปัจเจกภาพตอ้ งมีผูแ้ ขง็ แกรง่ ทส่ี ามารถ ทำ� หนา้ ทีใ่ นการให้ความคมุ้ ครองปลอดภัย ตัวอย่าง เชน่ ท่ี ครอบครัวมกั กระทำ� ในสงั คมท่ีมีกรรมสิทธริ ่วมกนั มากขน้ึ © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน | 25

ในสวีเดนรัฐบาลเป็นผมู้ บี ทบาทดงั กลา่ ว ผู้คนในสวเี ดนจะ พ่ึงพาการตัดสินใจของหน่วยราชการเจ้าหนา้ ท่ีระบบตลุ าการ และขา้ ราชการคอ่ นขา้ งมาก เรือ่ งน้สี ามารถอธิบายไดส้ ว่ นหนง่ึ จากการทีร่ ัฐบาลสวีเดนไดถ้ กู ก่อตง้ั ขึน้ จากระบอบประชาธิปไตย กระบวนการดงั กล่าวอบุ ัติสว่ นใหญ่มาจากการเคลือ่ นไหวตา่ งๆ ของประชาชน เชน่ ขบวนการแรงงาน ขบวนการเรยี กรอ้ งสทิ ธิ สตรแี ละขบวนการต่อตา้ นการดืม่ สุรา ซง่ึ มผี ู้คนมารวมกันจากท่วั ประเทศ ผลกระทบของสภาพภูมิอากาศ ภมู ิอากาศไดส้ ง่ ผลกระทบต่อวฒั นธรรมของประเทศสวเี ดนใน หลายรปู แบบ ฤดหู นาวอันยาวนานและมดื ท�ำให้ผคู้ นไมไ่ ด้พบเจอ นอกบ้านมากนัก หลายคนจะพบเจอกันในบ้านแทน ตวั อย่างเชน่ การรบั ประทานอาหารม้อื เยน็ รว่ มกันหริอการฟิก้า (ด่มื กาแฟหรือ นำ้� ชาพร้อมกับขนมปังแซนด์วิชหรอื ขนมปังกลมๆ) แต่ส�ำหรับ ผู้คนหลายคน ในฤดหู นาวจะได้พบเจอกับเพื่อนๆ ในระยะทสี่ นั้ กว่าในช่วงฤดูรอ้ น เมอ่ื ฤดรู ้อนมาถึงจะเกดิ ความเปล่ียนแปลง ข้ึนมาก ในช่วงนั้นผู้คนจะเริม่ ออกไปข้างนอกกันมากขน้ึ และเริม่ พบปะกับเพอ่ื นๆ ในระยะที่ยาวกว่าในฤดหู นาว ธรรมชาติ สง่ิ ที่มีการนิยมแบ่งใช้กันระหว่างผูค้ นมากมายในสวเี ดนคือความ สนใจและความใกล้ชิดกับธรรมชาติ สิทธในการเข้าถงึ ธรรมชาติ หรอื สทิ ธขิ องทกุ คน (Allemansrätten) เปน็ กฎหมายซ่งึ ท�ำให้ทกุ ๆ คนสามารถเคลอ่ื นย้ายในธรรมชาตขิ องสวเี ดนได้อย่างอสิ ระ ไม่วา่ ใครจะเป็นเจ้าของท่ีดินก็ตาม ธรรมชาติและสทิ ธในการ เข้าถงึ ธรรมชาตหิ รือสทิ ธิของทุกคน เปน็ สญั ลกั ษณส์ �ำคญั ดา้ น เอกลกั ษณ์ของสวีเดนโดยเฉพาะ นอกจากนน้ั สวีเดนยังมีบทบาท ทสี่ �ำคญั และโดดเด่นในการปฏิบตั งิ านดา้ นสิง่ แวดลอ้ มในระดบั นานาชาติ การหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง มนั เป็นเรื่องธรรมดาส�ำหรับคนในสวีเดนทพี่ ยายามจะแสวงหา ฉนั ทามติ กล่าวคือพวกเขาต้องการทีจ่ ะแกป้ ้ญหาซงึ่ มีผลทำ� ให้ ทุกคนพอใจ เพอ่ื ทีจ่ ะหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง หลายคนจะรสู้ ึก อึดอดั ใจเมือ่ มีสถานการณข์ ดั แย้งเกิดขนึ้ และไมร่ ูถ้ ึงวธิ กี ารท่จี ะ จัดรบั มือกับมนั อยา่ งไร การหลีกเล่ียงความขัดแยง้ และรักษา ความสงบระหว่างการคบหาสมาคมกบั คนอ่ืนจะถูกมองโดยคน ส่วนใหญ่ว่าเป็นการแสดงออกของความเป็นผู้ใหญ่และการให้ ความเคารพนบั ถือ 26 | สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

ภาพ: Colourbox ศาสนาในประเทศสวีเดน คริสต์ศาสนาในสวเี ดนมีความแข็งแกร่งอยูเ่ ปน็ เวลานานและ สงั คมสวีเดนไดส้ ร้างข้ึนบนพ้ืนฐานคา่ นิยมทางครสิ เตียนและ นิกายลูเธอรัน คา่ นิยมคอื แนวความคิดเกี่ยวกับสิ่งทีถ่ กู ตอ้ งและ เหมาะสมในชีวิต สวเี ดนมพี ิธีกรรมและงานเฉลิมฉลองหลาย อยา่ งท่ีไดร้ บั มาจากทางศาสนา อาทเิ ชน่ พิธรี ับศลี ก�ำลัง พิธศี ลี จุม พิธีสมรสและงานศพ อย่างไรกต็ ามในปจั จบุ ัน สวเี ดนเป็นหนึ่งใน ประเทศทเ่ี ป็นรัฐโลกฆราวาสมากทีส่ ดุ ในโลก สังคมฆราวาสจะมี ความโดดเด่นโดยเฉพาะตรงที่รัฐไม่ไดร้ า่ งกฏหมายข้ึนบนพ้ืนฐาน ของศาสนาหรือความเช่อื ถือแต่จะเป็นกลางในเรือ่ งของความ ศรัทธา ฆราวาสนยิ มเก่ยี วกบั การทสี่ ังคมน้นั ควรถกู สรา้ งขนึ้ บน พ้นื ฐานของคณุ ค่าของมนษุ ยแ์ ละความเชอ่ื ถือทางศาสนาควรจะ เปน็ เรือ่ งสว่ นตัวของแต่ละคนเทา่ นั้น ประมาณรอ้ ยละ 70 ของประชาชนสวีเดนทัง้ หมดเป็นสมาชิก ของครสิ ตจกั รแห่งสวเี ดน แต่มีคนจำ� นวนนอ้ ยที่ไปเคารพ บูชาพระเจ้าท่โี บสถ์เป็นประจ�ำ เดก็ ที่เกดิ ในสวีเดนประมาณ © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน | 27

ร้อยละ 60 รับศลี จมุ่ ทีโ่ บสถ์ (คริสตจักรแหง่ สวีเดน) ชาวสวีเดน มากว่าครึ่งเลือกท่ีจะแตง่ งานนอกโบสถ์ (คริสตจักรแห่งสวีเดน) การประกอบพธิ ีศพประมาณ 80 เปอรเ์ ซ็นตจ์ ะจัดข้นึ ที่โบสถ์ (ครสิ ตจักรแหง่ สวีเดน) ทส่ี วเี ดนนอกเหนือจากศาสนาครสิ ต์นิการโปรเตสแตนท์แล้ว มี ความเชื่อถือทางศาสนาอ่ืน อาทิเช่น อิสลาม ฮินดู ยิว พทุ ธ บาไฮ อาซาทรู เชมัน รวมทัง้ นกิ ายคาทอลิกและออรโธดอกซ์ อเทวนยิ มเปน็ ความเช่ือถือตามทฤษฎีท่ีว่า ไม่มีอำ� นาจทีเ่ หนือ ธรรมชาติ ตวั อย่างเชน่ พระเจ้า อไญยนิยม เป็นความเช่อื ถือซง่ึ ต้ังสมมตฐานวา่ เราไมอ่ าจรูห้ รือพสิ จู นไ์ ดว้ า่ พระเจ้ามจี ริงหรือไม่ พวกทน่ี ิยมลักทธิอเทวนยิ มและอไญยนยิ มหลายคนจะมองฆารา วาสนยิ มในเชงิ บวก แอลกอฮอล์ ประเทศสวเี ดนมวี ฒั ธรรมเกย่ี วกบั การดมื่ ทยี่ าวนาน นบั ตง้ั แตย่ คุ หนิ คนในสวเี ดนไดผ้ ลติ เครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ สรุ า สภาพภมู อิ ากาศของประเทศสวเี ดนมอี ากาศหนาวเยน็ เกนิ ไปสำ� หรบั การปลกู องนุ่ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามมนั ดสี ำ� หรบั มนั ฝรงั่ และ การเพาะปลกู ธญั ญพชื ซง่ึ เปน็ สว่ นผสมทพ่ี บบอ่ ยในสรุ าและบรน่ั ดี กลางศตวรรษท่ี 19 ชาวสวเี ดนบรโิ ภคสรุ าโดยเฉลย่ี ประมาณ 50 ลติ รตอ่ คนตอ่ ปี เพอ่ื เปน็ ปฏกิ ริ ยิ าตอ่ การบรโิ ภคแอลกอฮอลท์ ส่ี งู ในชว่ งนไี้ ดม้ กี ารจดั ตง้ั ขบวนการตอ่ ตา้ นการดมื่ สรุ าขน้ึ มา หลายคน เหน็ วา่ แอลกอฮอลไ์ ดก้ อ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายใหญห่ ลวงจงึ ไดร้ ว่ ม กนั รณรงคเ์ พอ่ื ชว่ ยใหค้ นอน่ื ดม่ื แอลกอฮอลน์ อ้ ยลง ซงึ่ ในตอ่ มา เรยี กวา่ ขบวนการตอ่ ตา้ นการดมื่ สรุ า ตงั้ แตน่ นั้ มาแอลกอฮอลไ์ ด้ กลายเปน็ ประเดน็ ทางการเมอื งทสี่ ำ� คญั ของสวเี ดน ความสัมพันธ์กับเวลา ทป่ี ระเทศสวเี ดนการตรงเวาลสถือว่าเป็นเรอ่ื งส�ำคญั หากคณุ ได้ ตกลงนัดหมายจะพบกับบคุ คลใดเวลา 14.00 น เขาหรือเธอผนู้ ัน้ ถอื ว่าคณุ จะมาในเวลา 14.00. น ตรง หลายคนิดวา่ มันเป็นเรอ่ื ง ไมส่ ุภาพทม่ี าสาย ประเพณีและเทศกาลต่างๆของ สวีเดน ประเพณคี อื สงิ่ ทีค่ นมกั นยิ มปฏบิ ตั และเวยี นมาบรรจบเกิดขน้ึ เปน็ ประจำ� เทศกาลเป็นเหตกุ าร์พิเศษและส�ำคัญซง่ึ มกั นิยม ฉลองกัน เช่น เทศกาลอีสเตอร์ ประเพณแี ละเทศกาลต่างๆ ที่ ฉลองกนั ในสวเี ดนนนั้ มาจากศาสนา ประเพณบี างอยา่ งมีรากฐาน 28 | สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

มาจากศาสนาคริสต์ ประเพณบี างอย่างสืบทอดกนั มาจากยุคท่ี คนในประเทศสวีเดนเคยนับถือเทพเจา้ หลายองค์ ประเพณแี ละ เทศกาลทางศาสนาในปจั จบุ ันโดยมากจะเปน็ วันหยุดทีค่ รอบครัว และเพื่อนฝูงได้พบปะกนั ประเพณีต่างๆ ท่ีส�ำคัญ มกราคม วนั ขน้ึ ปใี หมต่ รงกบั วนั ท่ี 1 มกราคมเปน็ วันหยดุ ราชการ หมายความว่า คนสว่ นใหญ่จะได้หยุดงาน คืนก่อนวนั ปีใหม่เปน็ วนั ส่งท้ายปเี ก่า ซง่ึ เป็นเวลาที่หลายๆ คนในสวเี ดนจะเฉลิมฉลอง กนั เพื่อต้อนรบั ปใี หม่ กุมภาพันธ ์ ชว่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธ์โรงเรียนของสวีเดนจะมวี นั หยุดเดือน กมุ ภาพนั ธ์หรือวันหยุด sportlov ดังน้นั เด็กๆ จะไดห้ ยดุ เรียน หนึง่ สปั ดาห์ ในเดือนกุมภาพันธห์ รอื มีนาคมหลายนิยมรบั ประทานขนมเซมละ่ (Semla) เปน็ ขนมปงั กลมไสค้ รีมอลั มอนด์ และครมี สดปน่ั ถอื เปน็ ประเพณีอยา่ งหน่ึงในสมยั ก่อนทม่ี ีการ ถือศลี อดทส่ี วเี ดน ก่อนการอดอาหารจะเรม่ิ ต้นดว้ ยการทาน อาหารทอ่ี ุดมดว้ ยไขมัน ผ้ถู ือศีลอดจะไม่ทานอะไรเลยเป็นช่วง เวลาหน่งึ เพราะเหตุผลทางศาสนาเปน็ ต้น ในชว่ งเทศกาลอสี เตอร์ ผคู้ นหลายๆ คนจะนยิ ม ตกแตง่ ดว้ ยกง่ิ ไมป้ ระดบั ขนนกหลากสี (påskris) ภาพ: Colourbox มีนาคมและเมษายน เทศกาลอสี เตอร์ (Påsk) จะฉลองกนั ในช่วงใดชว่ งหนึง่ ของเดอื น มนี าคมหรือเมษายน เทศกาลอสี เตอร์เปน็ เทศกาลส�ำคัญท่สี ดุ ของชาวครสิ ต์ เพอ่ื เฉลิมฉลองวนั ร�ำลกึ ถงึ การส้นิ พระชนม์และ การฟืน้ คนื พระชนม์ชพี ของพระเยซู ในปัจจบุ นนเ้ี ทศกาลอีสเตอร์ เป็นเทศกาลท่คี นส่วนใหญใ่ นสวีเดนฉลองร่วมกบั เพ่ือนฝงู และ © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน | 29

ครอบครัว ในอดตี จะมีธรรมเนยี มถอื ศีลอด 40 วันกอ่ นถงึ วนั อีส- เตอร์ เมอื่ ถึงวันอีสเตอร์ผคู้ นจะเฉลิมฉลองเพราะว่าการถือศลี อดส้ินสุดลง ซงึ่ ส่วนมากจะรบั ประทานไข่เปน็ ต้น ดงั นัน้ จงึ ทำ� ให้ ชาวสวเี ดนยงั นยิ มรับประทานไข่กันมากในชว่ งเทศกาลอีสเตอร์ ในระหว่างเทศกาลอสี เตอร์เดก็ ๆ จะได้หยุดเรยี นหน่งึ สปั ดาห์ ซึ่ง เรยี กว่า påsklov (วนั หยดุ อีสเตอร)์ กอ่ นหนา้ วนั หยดุ อสี เตอร์ เดก็ ๆ จะแตง่ กายกนั เปน็ แม่มดอีสเตอร์ (påskkäringar) พวกเขา จะออกไปเคาะประตูตามบา้ นเรอื นผ้คู นและกล่าวคำ� อวยพรวา่ \"glad påsk\" ในชว่ งเทศกาลอสี เตอรช์ าวสวีเดนจะประดับประดาบ้านเรือน ดว้ ยของตกแตง่ จำ� พวกลูกไกส่ ีเหลือง ไข่ และ påskris Påskris เป็นกงิ่ ไมต้ ิดขนนกต่างๆ ซงึ่ มักจะใช้กงิ่ ไมจ้ ากต้นเบริ ช์ ส่วนตรง ปลายกง่ิ จะติดขนนกหลากสี วันท่ี 30 เมษายนเปน็ วนั นฉลองฤดู ใบไมผ้ ลิ (valborgsmässoafton) ผคู้ นจะใหก้ ารตอ้ นรบั ฤดใู บไมผ้ ลิ และตามสถานท่ีตา่ งๆ มากมายจะมกี ารก่อกองไฟขนาดใหญ่และ รว่ มกันขับร้องเพลงเกีย่ วกบั ฤดูใบไมผ้ ลิ โนรูซ Nouruz โนรซู (Nouruz) เปน็ เทศกาลเฉลิ มฉลองปใี หมข่ องชาวเปอรเ์ ซยี ชาวเคริ ด์ และชาวอฟั กนั เปน็ ตน้ ในสวเี ดนเราเรยี กวา่ โนรซู วา่ เปน็ วนั ปใี หมข่ องชาวเปอรเ์ ซยี หรอื ชาวเคริ ด์ ซง่ึ จะตอ้ นรบั ฤดใู บไมผ้ ลิ ดว้ ยเทศกาลโนรซู ปกตเิ ศกาลนจ้ี ะจดั ขนึ้ ในวนั วสนั ตวสิ วุ ตั (กลาง วนั และกลางคนื นานเทา่ กนั ) ซง่ึ ตรงกบั วนั ท่ี 20 21 หรอื 22 มนี าคม ซง่ึ ในวนั วสนั ตวษิ วุ ตั นนั้ กลางวนั และกลางคนื จะนานเทา่ กนั สว่ นมากจะเปน็ ปลายเดอื นมนี าคม โดยเทศกาลโนรซู จะจดั ขน้ึ เวลา 18 วนั ดว้ ยการเฉลมิ ฉลองพรอ้ มดว้ ยอาหารและความสขุ และยงั มกี ารจดุ กองไฟเลก็ ๆ เพอ่ื กระโดดขา้ มอกี ดว้ ย Valborgsmässoeld หรอื ทเ่ี รยี กอกี อยา่ งวา่ majbrasa (กองไฟขนาด ใหญท่ กี่ อ่ ขนึ้ ในวนั ฉลอง ฤดใู บไมผ้ ล)ิ 30 | สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน ภาพ: Colourbox © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

พฤษภาคม วนั ท่ี 1 พฤษภาคมเป็นเทศกาลส�ำหรับคนท�ำงาน ซ่งึ ไดม้ กี าร เฉลมิ ฉลองในหลายๆ ประเทศตั้งแตศ่ ตวรรษท่ี 19 เปน็ ตน้ มา วนั ท่ี 1 พฤษภาคมเปน็ วันหยดุ ราชการ คนส่วนใหญ่ไดห้ ยดุ งาน และโรงเรยี นปดิ หลายคนร่วมเดินขบวนในวนั ที่ 1 พฤาภาคม เพอื่ สิทธิของแรงงาน วนั พระเยซเู สด็จขึน้ สู่สวรค์ (Kristi himmelsfärdsdag) จะมีขึน้ หลงั จากวันอีสเตอร์ 39 วัน โดยวันนจี้ ะเป็นการระลกึ ถงึ วนั ท่ี พระเยซเู สดจ็ ขน้ึ สู่สวรค์หลังจากทส่ี ้ินพระชนม์ วันพระเยซูเสดจ็ ขน้ึ สู่สวรค์เป็นวันหยุดราชการ คนสว่ นมากจะไดห้ ยดุ งานและ ร้านค้าจะปิดเป็นส่วนใหญ่ สิบวนั หลงั จากวันพระเยซูเสด็จข้ึนสู่ สวรรคจ์ ะเปน็ วนั ระลกึ ถงึ การลงมาจตุ ิของพระวญิ ญาณศกั ด์สิ ิทธ์ิ (pingsten) มนั เปน็ เทศกาลเฉลมิ ฉลองของศาสนาคริสต์ มิถุนายน วันที่ 6 มถิ ุนายนเปน็ วันชาตขิ องประเทศสวเี ดนและเป็นวนั หยดุ ราชการ ในวันชาตจิ ะมีคนส่วนหนึ่งแตง่ กายดว้ ยชุดประจำ� ชาติ ซงึ่ แตกตา่ งกนั ไปขน้ึ อยกู่ ับว่าจะมาจากภาคใดของประเทศสวีเดน ตน้ เดือนมถิ นุ ายน การปิดภาคเรยี นฤดรู ้อนของเดก็ ๆ กเ็ ริ่มข้นึ เดก็ ๆ กจ็ ะมีพธิ ปี ิดภาคเรยี นทโ่ี รงเรยี น เพื่อเปน็ การเฉลิมฉลอง การส้ินสุดลงของปีการศกึ ษาในปนี นั้ และการเรมิ่ ตน้ ของวันหยดุ ฤดรู อ้ น ในชั้นเด็กเลก็ มักจะมีผูป้ กครองมาร่วมในพธิ ีปดิ ภาคเรยี น ท่ีโรงเรียนดว้ ย วนั มิดซมั เมอร์อฟี (Midsommarafton) เปน็ วันหยดุ ท่ีนยิ มชมชอบ กันมาก จะมกี ารเฉลมิ ฉลองวันมิดซัมเมอรอ์ ีฟในวนั ศุกร์ซ่งึ อยู่ มดิ ซมั เมอรอ์ ฟี ท่ี Nääs ภาพ: Bianca Rösner สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน | 31 © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

ในระหว่างวนั ที่ 19 มถิ ุนายนและ 25 มถิ นุ ายน ชาวสวีเดนฉลอง เทศกาลมิดซัมเมอร์ (Midsommar) มายาวนานก่อนทสี่ วเี ดน จะเปล่ียนมานับถอื ศาสนาคริสต์ ในวันมดิ ซมั เมอร์อีฟจะมีการ เตน้ รำ� ไปรอบๆ เสาพฤกษ์ (midsommarstång) เสาน้ีจะตกแตง่ หุ้มด้วยใบไมแ้ ละมาลัยชอ่ ดอกไม้ ท้งั เด็กและผ้ใู หญจ่ ะประดับ ศรี ษะด้วยมาลยั ดอกไม้ ในวนั มิดซมั เมอรน์ ้ันมกั จะรับประทาน ปลาเฮริ่ง ปลาแซลมอน มันฝรงั่ ทีเ่ ก็บมาสดๆ และสตรอเบอรร่ี กันเป็นธรรมเนียม กรกฎาคมและสิงหาคม ในประเทศสวีเดนมผี ้คู นหลายคนทีล่ าพกั รอ้ นกนั ในเดือน กรกฎาคมและสิงหาคม โรงเรียนจะเริ่มเปิดเทอมอกี คร้ังราวๆ วนั ที่ 20 สิงหาคม ปลายเดือนสงิ หาคมจะมีธรรมเนยี มงานเลยี้ ง กุ้งเครย์ฟิช (kräftskiva) ซ่งึ เป็นงานฉลองรบั ประทานกงุ้ เครยฟ์ ชิ ตม้ และมกั จะดื่มเหล้าแกว้ เล็กๆ หนง่ึ พรอ้ มกนั ด้วย ซึ่งเรียกวา่ nubbe หรอื snaps พร้อมกบั รอ้ งเพลงซึง่ เรยี กว่า nubbevisor หรอื snapsvisor กันยายนและตุลาคม ในเดือนกนั ยายนจะไม่มเี ทศกาลทีส่ ำ� คญั ใดๆ ฃ่วงปลายเดอื น ตุลาคมหรือต้นเดอื นพฤศจิกายนโรงเรียนจะปดิ และเด็กๆ จะได้ หยดุ เรยี นหน่งึ สปั ดาห์ เรยี กวา่ วนั หยุดฤดใู บไม้ร่วง (höstlov) วนั ที่ 31 ตุลาคมเปน็ วนั ฮาโลวีน ตามปกติเดก็ ๆ จะแตง่ ตวั แฟนซี และพากนั ไปเคาะตามประตูบ้านเพ่อื ขอขนมลกู กวาด หลายคน ซอื้ ฟกั ทองและและจุดเทยี นวางขา้ งใน ฮาโลวนี เป็นประเพณีที่ คอ่ นข้างใหม่ท่ีสวีเดน ประเพณนี ้เี ร่มิ แรกมาจากประเทศไอร์แลนดแ์ ละไดร้ บั การพฒั นา ในสหรฐั อเมรกิ าหลังจากทผี่ ้อู พยพชาวไอริช ได้นำ� ประเพณีดัง กล่าวเขา้ ไปที่เผยแพร่ท่นี ่นั พฤศจิกายน วันสมโภชนกั บญุ ทง้ั หลายจะมีการเฉลิมฉลองในวันเสาร์ระหว่าง วันท่ี 31 ตุลาคมและวนั ที่ 6 พฤศจกิ ายน วนั สมโภชนกั บุญท้งั หลายเปน็ การเฉลมิ ฉลองทางศาสนาครสิ ตเ์ พ่ือระลึกถงึ ผทู้ ีไ่ ด้ เสียชีวติ หลายคนที่สวเี ดนจะไปท่ีสสุ านเพอ่ื จดุ เทยี นบนหลมุ ฝัง ศพของญาตแิ ละเพอื่ นๆ ธันวาคม เดอื นธันวาคมเป็นเดือนแหง่ เทศกาลครสิ ตม์ าส ครสิ ตม์ าสเป็น เทศกาลหนงึ่ ของชาวตริสตซ์ งึ่ จัดฉลองเพ่อื ระลกึ ถงึ การประสตู ิ ของพระเยซู 32 | สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

วนั ที่ 13 ธันวาคมเป็นวันนักบญุ ลูเซยี (Luciadagen) ในสวีเดนจะ มกี ารเฉลมิ ฉลองวันนกั บุญลเู ซยี (Luciadagen) เพอื่ ใหแ้ สงสวา่ ง คืนกลบั มาหลังส้ินฤดหู นาว เดก็ ๆ ตามโรงเรียนอนุบาลและ โรงเรยี นท่วั ไปจะแตง่ กายด้วยชดุ ขาวและรอ้ งเพลงพิเศษเกย่ี ว กับนักบญุ ลูเซียและคริสตม์ าส การฉลองวนั นกั บญุ ลซู ยี า่ ในวนั ท่ี 13 ธนั วาคม ภาพ: Colourbox สองสามวนั กอ่ นหนา้ ครสิ ตม์ าสอีฟโรงเรียนจะเรม่ิ ปดิ เนือ่ งจาก เปน็ วันหยุดเทศกาลคริสตม์ าส และเดก็ ๆ ไดห้ ยุดเรียนจนถึงต้น เดือนมกราคม วนั ที่ 24 ธนั วาคมเปน็ วันครสิ ต์มาสอีฟ ส�ำหรบั คนส่วนใหญท่ ปี่ ระเทศสวีเดนนัน้ คริสต์มาสเป็นเทศกาลท่ไี ด้หยดุ งานและเฉลมิ ฉลองกับครอบครัว มีธรรมเนียมการรับประทาน อาหารคริสต์มาสเป็นพิเศษ อาทิเช่น ปลาเฮอรร์ ่งิ แซลมอนรม ควัน มนั ฝร่งั แฮม มีทบอล (ลูกชนิ้ เน้อื บด) ไสก้ รอกขนาดเล็ก และสนั้ และพุดด้ิงข้าว จะมกี ารแจกของขวญั กันเรยี กว่า ของ ขวญั คริสต์มาส (julklappar) หลายๆ ครอบครัวจะมตี น้ คริสตม์ าส โดยทต่ี น้ ครสิ ต์มาสจะมีการประดับด้วยไฟ ลูกบอลครสิ ตม์ าส © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน | 33

และไปตามก่ิง มกั จะนยิ มวางของขวัญคริสตม์ าสต่างๆ ใตต้ น้ ครสิ ต์มาส วันที่ 6 มกราคมเป็น วันสมโภชพระคริสต์แสดงองคซ์ ง่ึ เป็นวัน หยุดหยุดราชการ วันที่ 13 มกราคมถือเป็นวนั ส้นิ สุดเทศกาล ครสิ ต์มาส ดังนัน้ จงึ มักจะเก็บของตกแต่งคริสต์มาสออกและท้งิ ตน้ คริสต์มาส ซานตาคลอสและบา้ นขนมปงั ขงิ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของเทศกาลครสิ ตม์ าส ภาพ: Colourbox รอมฎอน รอมฎอนเป็นการถอื ศลี อดเปน็ เวลาหนึง่ เดือนของชาวมุสลิม มุสลิมผู้ใหญท่ ่ถี อื ศลี อด จะต้องงดรบั ประทานอาหร ดมื่ สูบ บุหรห่ี รอื มเี พศสมั พนี ธโ์ ดยเริ่มต้นตั้งแต่พระอาทิตยข์ ึน้ จนถงึ พระอาทติ ยต์ ก รอมฎอนจะปดิ ทา้ ยเทศกาลด้วยการดว้ ยงาน ฉลองอยา่ งย่งิ ใหญเ่ รียกว่า อดี ลุ ฟีฏริ (id al-fitr) หรือวนั อีดเล็ก สตรีทตี่ ั้งครรภห์ รอื ให้น้�ำนมบตุ รไมต่ อ้ งถอื ศลี อด เพราะไม่เปน็ ผลดตี อ่ แมแ่ ละเด็ก ผู้สงู อายุและผู้ป่วยควรหลีกเลีย่ งการถือศีล อดเช่นกัน รอมฎอนจะตกอยใู่ นเดือนที่เก้าของปฏิทนิ อสิ ลาม และจะไมต่ รงกนั ในแตล่ ะปีเพราะศาสนาอิสลามจะถอื ตามปที าง จันทรคติ 34 | สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

เทศกาลต่างๆ ท่ีมีการเฉลิมฉลองในช่วง ต่างๆ ของชีวิต พิธีศีลจุ ่ม ในสวีเดนมีเด็กรบั ศีลจุ่มที่ โบสถ์ของสวเี ดนประมาณ 60 เปอรเ์ วน็ ตข์ องจ�ำนวนเด็กท้ังหมด ทงั้ น้ยี ังเป็นเรื่องปกติที่ พอ่ แม่จะตง้ั ชื่อบุตรในงานฉลองน้ีดว้ ย ซ่งึ เรียกวา่ พธิ ีต้ังชอื่ (namngivningsceremoni) เม่ือมพี ิธตี ั้งชื่อแล้ว ส่วนใหญม่ ักจะ งานฉลองที่บา้ นกับญาติและเพือ่ นฝงู แขกทีม่ างานมกั จะมอบ ของขวัญให้เดก็ พิธีรับศีลก�ำลัง พธิ รี บั ศลี กำ� ลงั เปน็ ความศรทั ธาของ ชาวครสิ เตยี น ซง่ึ เปน็ พธิ กี รรมทจ่ี ดั ขทึ้ โ่ี บสถส์ ำ� หรบั คนหนมุ่ สาวเพอื่ การยนื ยนั ของการ รบั ศลี จมุ่ พวกเขาสว่ นใหญจ่ ะเขา้ รบั ศลี กำ� ลงั เมอื่ อายุ 14 ปี ใน สมยั กอ่ นจะมเี ดก็ เขา้ รบั ศลี กำ� ลงั มากกวา่ ปจั จบุ นั หลงั จากพธิ กี รรม ในโบสถค์ รอบครวั สว่ นใหญจ่ ะมงี านฉลองกบั ญาตแิ ละเพอ่ื นฝงู พวกทไี่ ดร้ บั ศลี มหาสนทิ มกั จะไดร้ บั ของขวญั เปน็ ธรรมเนยี ม งานสมรส ผทู้ ่สี มรสโดยส่วนใหญ่จะจัดงานเลีย้ งฉลองสมรสกบั บรรดา ญาติพ่นี อ้ งและเพ่ือนฝูง แขกท่ีมารว่ มงานมกั จะเปน็ พยานในพิธี สมรส หลงั จากเสร็จพิธีสมรสกจ็ ะตามด้วยการเล้ียงอาหารค�่ำ และงานเลี้ยงเต้นรำ� โดยมากคบู่ า่ วสาวมักจะได้รบั ของขวญั จาก แขกที่มาร่วมงาน งานเลย้ี งสมรส ภาพ: Colourbox สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน | 35 © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

วันเกิดต ่างๆ คนทส่ี วเี ดนหลายๆ คนมกั จะทำ� การฉลองเม่ือถงึ วันเกิดตวั เอง ใน วันครบรอบวันเกิดของเดก็ ๆ มักจะมกี ารจัดงานวนั เล้ียง (kalas) ใหก้ บั เด็กและเพอ่ื นๆ ในงานเล้ยี งน้นั เดก็ ๆ มักจะเลน่ กนั รับ- ประทานเค้กและเจา้ ของวนั เกดิ จะไดร้ บั ของขวญั ส�ำหรับวนั ครบ รองวนั เกิดของผู้ใหญก่ ็จะมีการฉลองดว้ ยเช่นกนั เพอื่ นสนิทและ ญาติพี่นอ้ งจะใหข้ องขวญั แก่เจ้าของวันเกดิ มีหลายคนทฉี่ ลองวนั เกดิ อยา่ งพเิ ศษสุดเมื่อครบรอบในแตล่ ะสบิ ปี เชน่ ครบ 50 ปี ครอบครวั ฉลองวนั เกดิ ภาพ: Colourbox งานศพ เมอื่ คนเสยี ชวี ติ จะจดั งานศพขนึ้ ทโี่ บสถห์ รอื วหิ าร วหิ ารเปน็ อาคาร เลก็ ๆ หรือเป็นห้องทใี่ ชแ้ ทนโบสถ์ เปน็ เรอ่ื งปกตทิ ีค่ รอบครวั และ เพอื่ นสนทิ จะไปรว่ มในงานศพ 36 | สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

ค�ำถามเพื่อการอภิปราย บทที่ 1 คณุ คดิ วา่ ใครควรเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบตอ่ การบรู ณาการใน ประเทศสวเี ดน ถา้ หากการบรู ณาการนนั้ ไมเ่ ปน็ ผลสำ� เรจ็ อะไรจะเปน็ ปญั หาทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ สำ� หรบั สงั คม ความทา้ ทายทย่ี ง่ิ ใหญท่ ส่ี ดุ เมอื่ เดนิ ทางมายงั ประเทศ ใหมค่ อื อะไร คณุ ตอ้ งการอะไรบา้ งเพอ่ื ทจี่ ะสามาาถดำ� เนนิ ชวี ติ ของ คณุ ตอ่ ไปในประเทศทใ่ี หมไ่ ด้ กอ่ นหนา้ นค้ี ณุ รเู้ รอื่ งอะไรบา้ งเกย่ี วกบั ประวตั ศิ าสตร์ ของประเทศสวเี ดน คณุ คดิ วา่ มเี หตกุ ารณใ์ ดบา้ งในประวตั ศิ าสตรซ์ งึ่ มี ความสำ� คญั ตอ่ รปู ลกั ษณข์ องประเทศสวเี ดนในวนั น้ี คณุ คดิ อยา่ งไรเกยี่ วกบั การทปี่ ระเทศสวเี ดนเปน็ รฐั โลก วสิ ยั หรอื รฐั ฆราวาส ความแตกตา่ งและความคลา้ ยคลงึ ระหวา่ งเทศกาล และประเพณตี า่ งๆ ของสวเี ดนและของประเทศอนื่ ๆ นนั้ มอี ะไรบา้ ง © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน | 37

38 | สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

บ้านพักหลายครอบครัว ภาพ: Colourbox 2. การอาศัยอยู ่ท่ีประเทศ สวีเดน สารบัญ ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจการค้าและโครงสร้างพื้นฐาน ประชากร ท่ีอยูอ่ าศยั และบา้ นพกั ส่งิ แวดล้อม ธรรมชาติและความย่งั ยืนของระบะนิเวศน์ วธิ กี ารดำ� เนนิ งานของเทศบาล การบริหารเงินของคุณ ความปลอดภยั © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน | 39

Kiruna Arvidsjaur Luleå Umeå Östersund Finland Sverige Helsingfors Ryssland Tallin Norge Falun Gävle Estland Oslo Karlstad Stockholm Göteborg Lettland Jönköping Riga Danmark Kalmar Litauen Malmö Köpenhamn Vilnius Ryssland Storbritannien Polen Warsawa London Amsterdam Berlin Bryssel Tyskland Belgien แผนที่ประเทศสวีเดนและประเทศเพ่ือนบ้านต่างๆ ภาพ: Colourbox ภูมิศาสตร ์ เศรษฐกิจการคา้ และ โครงสรา้ งพื้นฐาน สวีเดนเป็นประเทศที่ตั้งอยใู่ นยุโรปตอนเหนอื บนคาบสมุทร สแกนดิเนเวียทางทศิ ตะวนั ออก ภมู ิภาคทีป่ ระกอบดว้ ยสวเี ดน เดนมาร์ค นอรเ์ วย์ ไอซแ์ ลนด์และฟนิ แลนด์ เรียกว่ากลุ่มประ- เทศนอร์ดิก สวีเดนเปน็ ประเทศท่ีมขี นาดใหญ่และทอดตัวเปน็ แนวยาว โดยมีระยะทางจากเหนอื จรดใต้ 1,600 กโิ ลเมตร และจากตะวันตกจรดตะวนั ออก 500 กโิ ลเมตร มีพื้นท่ีทง้ั หมด 450,000 ตารางกโิ ลเมตร์ ประเทศสวีเดนแบง่ ออกเปน็ สามภาค Götaland ในตอนใต้ Svealand ตรงภาคกลางและ Norrland ทาง ตอนเหนอื ของประเทศ นอกจากนั้นสวีเดนยงั แบ่งออกเป็น 25 ภูมภิ าค 21 มณฑลและ 290 เทศบาล 40 | สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

เทศบาลต ่างๆ เทศบาลสามแหง่ ทใ่ี หญท่ ส่ี ดุ คอื เทศบาลสตอกโฮลม์ (Stockholm) เทศบาลกอเทนเบอรก์ (Göteborg) และเทศบาลมาลโม่ (Malmö) นอกจากนนั้ ยงั มเี ทศบาลอกี หลายแหง่ ซง่ึ มพี ลเมอื งมากกวา่ 100,000 คน เทศบาลตา่ งๆ เรยี กอกี อยา่ งวา่ จงั หวดั กไ็ ด้ ธรรมชาติและภูมิอากาศ ลกั ษณะธรรมชาตขิ องประเทศสวเี ดนระหวา่ งภาคเหนอื และภาค ใตม้ คี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งมาก ทางภาคเหนอื ของสวเี ดนจะ ปกคลมุ ไปดว้ ยภเู ขา ปา่ ไมแ้ ละทะเลสาป แมน่ ำ้� ของภาค Norrland หลายสายใชเ้ ปน็ แหลง่ ผลติ ไฟฟา้ พลงั นำ้� ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ทางตอนกลางของสวเี ดนสว่ นใหญจ่ ะเตม็ ดว้ ยปา่ ไม้ โดยทน่ี ม่ี ี ทะเลสาปขนาดใหญส่ ามแหง่ ไดแ้ ก่ ทะเลสาป Vänern ทะเลสาป Vättern และ ทะเลสาป Mälaren ทางภาคใตข้ องสวเี ดนลกั ษณะ ภมู ปิ ระเทศสว่ นใหญจ่ ะประกอบดว้ ยพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมและพนื้ ท่ี ราบ ชายฝง่ั ดา้ นตะวนั ตกและตะวนั ออกมหี มเู่ กาะและชายทะเล มากมาย เกาะใหญท่ สี่ ดุ สองเกาะมชี อื่ วา่ Öland และGotland ซง่ึ ตง้ั อยดู่ า้ นชายฝง่ั ตะวนั ออกทางทศิ ใตข้ องกรงุ สตอกโฮลม์ ภเู ขาทสี่ งู ทส่ี ดุ ของประเทศสวเี ดนตงี้ อยทู่ างภาคเหนอื ของสวเี ดน ซงึ่ มชี อื่ วา่ Kebnekaise และมคี วามสงู 2,102 เมตร สวเี ดนมีสฤ่ี ดูกาล ไดแ้ ก่ ฤดูใบไมผ้ ลิ ฤดรู อ้ น ฤดูใบไมร้ ่วงและฤดู หนาวและมีภมู อิ ากาศซ่ึงมีความแตกตา่ งของอณุ หภมู ิอย่างมาก ภมู อิ ากาศของสวเี ดนไดร้ ับอิทธิพลจากกระแสน้ำ� อุน่ กัลฟ์สตรมี ในมหาสมทุ รแอตแลนติก จึงท�ำใหส้ วีเดนอุ่นกว่าสถานทอี่ น่ื ๆ อกี มากทตี่ ั้งอย่ทู างตอนเหนือของเสน้ รงุ้ ท่ใี กล้เคยี งกัน ทิวทัศน์ภูเขา © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län ภาพ: Colourbox สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน | 41

เขตอนุรักษ ธ์ รรมชาติ เขตอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ คอื พน้ื ทขี่ นาดใหญท่ ท่ี างหนว่ ยงานราชการ ใหค้ วามคมุ้ ครอง เนอ่ื งจากมธี รรมชาติ พชื พรรณและสตั วต์ า่ งๆ ในบรเิ วณนนั้ ซง่ึ มคี วามละเอยี ดออ่ นหาไดย้ ากและสวยงามเปน็ พเิ ศษ ประเทศสวเี ดนมเี ขตอนรุ กั ษธ์ รรมชาตอิ ยปู่ ระมาณ 3,100 แหง่ ซงึ่ อาจเปน็ ในรปู ลกั ษณข์ องปา่ ไมเ้ กา่ แก่ เทอื กเขาสงู พนื้ ท่ี เกษตรกรรมหรอื เกาะตา่ งๆ ตามหมเู่ กาะ ในเขตอนรุ กั ษธ์ รรมชาติ จะมปี า้ ยตดิ ไวอ้ ยเู่ สมอ เพอ่ื อธบิ ายถงึ กฎระเบยี บของขอ้ ควร ปฏบิ ตั แิ ละขอ้ หา้ มในพนื้ ทบ่ี รเิ วณดงั กลา่ ว กฎระเบยี บตา่ งๆ ของ แตล่ ะเขตอนรุ กั ษธ์ รรมชาตอิ าจแตกตา่ งกนั ออกไป สิทธในการเขา้ ถึงธรรมชาติหรือสิทธิของทุกคน ในประเทศสวเี ดนมสี ทิ ธหิ นงึ่ เรยี กวา่ Allemansrätten (สทิ ธในการ เขา้ ถงึ ธรรมชาตหิ รอื สทิ ธขิ องทกุ คน) โดยสทิ ธนิ จ้ี ะทำ� ใหท้ กุ คนได้ รบั สทิ ธท์ิ จ่ี ะเขา้ ถงึ ธรรมชาตอิ ยา่ งเสรี รวมถงึ ทดี่ นิ ของผอู้ นื่ ทเี่ ปน็ เจา้ ของอกี ดว้ ย ในขณะเดยี วกนั Allemansrätten ยงั มคี วามหมายวา่ เราจะตอ้ งระมดั ระวงั และใหค้ วามเคารพธรรมชาติ Allemansrätten นมี้ บี ญั ญตั ไิ วใ้ นฎหมายมลู ฐานสฉ่ี บบั ของรฐั ธรรมนญู สวเี ดนและ ไดก้ ำ� หนดระเบยี บทอ่ี นญุ าตใหป้ ฏบิ ตั แิ ละขอ้ หา้ ม ทเ่ี วบ็ ไซทข์ อง สำ� นกั งานคมุ้ ครองธรรมชาติ www.naturvardsverket.se มี ขอ้ มลู เกยี่ วกบั allemansrätten ในภาษาตา่ งๆ ส่ิงตอ่ ไปนี้อนุญาติให ท้ �ำไดภ้ ายใต ้ Allemansrätten •• คณุ สามารถเดนิ ขจ่ี กั รยานและขม่ี า้ ในเขตพนื้ ทธ่ี รรมชาตไิ ด้ เกอื บทกุ แหง่ แตไ่ มค่ วรเขา้ ใกลต้ วั อาคารบา้ นจนเกนิ ไป หาก คณุ เปดิ ประตรู้ วั้ กต็ อ้ งปดิ มนั ดว้ ย •• คณุ สามารถเดนิ ขจี่ กั รยานและขม่ี า้ บนถนนสว่ นบคุ คลได้ •• คณุ สามารถกางเตน็ ทพ์ กั แรมไดห้ นงึ่ คนื หากคณุ ตอ้ งการ กางเตน็ ทน์ านกวา่ นน้ั คณุ จะตอ้ งขออนญุ าตเจา้ ของทดี่ นิ •• คณุ สามารถวา่ ยนำ�้ นงั่ เรอื และขน้ึ ฝง่ั ได้ แตไ่ มใ่ กลต้ วั อาคาร บา้ นมากจนเกนิ ไป •• คณุ สามารถเกบ็ ดอกไม้ ผลเบอรร์ แ่ี ละเหด็ ได้ •• คณุ สามารถตกปลาดว้ ยเบด็ ตกปลาตามชายฝง่ั และในทะเล สาปทง้ั หา้ ทใี่ หญท่ สี่ ดุ ของสวเี ดนได้ •• คณุ สามารถกอ่ กองไฟเลก็ ๆ ได้ แตค่ ณุ ตอ้ งระมดั ระวงั แตด่ ี ทสี่ ดุ ควรกอ่ กองไฟในสถานทๆ่ี จดั ไวใ้ หส้ ำ� หรบั กอ่ กองไฟโดย เฉพาะ ในฤดรู อ้ นมกั จะหา้ มมใิ หก้ อ่ กองไฟ ส่ิงตอ่ ไปนี้หา้ มไม่ใหค้ ุณท�ำภายใตก้ ฎ Allemansrätten •• คณุ ไมอ่ าจขา้ มทดี่ นิ สวนหรอื พน้ื ทเ่ี พาะปลกู รวมทงั้ พนื้ ที่ การเกษตรอยา่ งเชน่ ทงุ่ นา 42 | สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

•• คณุ ไมอ่ าจขบั รถยนตร์ มอเตอรไ์ ซดห์ รอื จกั รยานยนตข์ นาดเลก็ ใน ทธี่ รรมชาติ •• คณุ ไมอ่ าจขบั บนเสน้ ทางปา่ สวนสาธารณะและแทรค็ วง่ิ ออก กำ� ลงั กาย •• คณุ ไมอ่ าจกอ่ ไฟไดถ้ า้ สภาพอากาศแหง้ มากหรอื ลมแรง เพราะไฟ อาจลกุ ลามได้ •• คณุ ไมอ่ าจกอ่ ไฟตรงบนผาหนิ มนั สามารถทำ� ไหผ้ าแตกออกได้ ใน ฤดรู อ้ นมกั จะหา้ มมใิ หก้ อ่ กองไฟ •• คณุ ไมอ่ าจทำ� ความเสยี หายตอ่ ตน้ ไมแ้ ละพมุ่ ไมห้ รอื นำ� กลบั บา้ น •• คณุ ไมอ่ าจเกบ็ ผลไม้ ผกั หรอื สงิ่ อนื่ ใดทเ่ี ตบิ โตในสวน พนื้ ทเ่ี พาะ ปลกู หรอื ทงุ่ นา •• คณุ ไมอ่ าจโยนทง้ิ ขยะหรอื ปลอ่ ยขยะทง้ิ ไว้ •• คณุ ไมอ่ าจลา่ รบกวนหรอื ทำ� รา้ ยสตั ว์ คณุ ไมอ่ าจเกบ็ ไขน่ กหรอื สมั ผสั รงั หรอื ลกู นก •• คณุ ไมอ่ าจลา่ ปลาในทะเลสาบหรอื แมน่ ำ�้ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต •• คณุ ไมอ่ าจปลอ่ ยสนุ ขั ระหวา่ งวนั ท่ี 1 มนี าคมถงึ 20 สงิ หาคม เพราะสตั วใ์ นปา่ กำ� ลงั มลี กู ออ่ น สนุ ขั ทปี่ ลอ่ ยหรอื ไมไ่ ดจ้ งู ไว้ สามารถทำ� ใหส้ ตั วต์ กตน่ื หรอื เปน็ อนั ตรายได้ ทด่ี ที ส่ี ดุ คอื จงู สนุ ขั ดว้ ยเชอื กตลอดเวลา •• คณุ ไมอ่ าจเดด็ ดอกไมท้ ม่ี กี ารสงวน เขตสงวนธรรมชาติ ท่ี Herrestafjället ภาพ: Maria Nobel สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน | 43 © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

การคุ ม้ ครองสัตว ์ ในประเทศสวเี ดนมีกฎหมายเพ่ือคมุ้ ครองสัตว์ ซึงเปน็ ตัวกำ� หนด วิธีการเลี้ยงสัตวเ์ ลี้ยง สตั ว์เลยี้ งเปน็ สัตว์ทม่ี ีมนษุ ยเ์ ป็นเจ้าของ นอกจากนีย้ งั มกี ฎระเบยี บต่างๆ เก่ียวกบั การคุ้มครองสัตว์ ซ่ึงรฐั บาลไดก้ ำ� หนดกฎดังกล่าวใช้กบั สตั ว์เล้ียงและสัตว์ปา่ การ ค้มุ ครองสัตว์คอื การท่เี ราควรปฏิบัตติ ่อสัตวอ์ ยา่ งดีและเราควร ปกป้องพวกเขาจากความทารุณและโรค ทรัพยกรธรรมชาติ สวีเดนมที รพั ยากรมากมาย โดยเฉพาะในรูปแบบของปา่ ไม้ แร่ เหลก็ และพลังงานน�้ำ พ้นื ท่ีสวเี ดนมากกวา่ ครึ่งปกคลมุ ดว้ ยป่าไม้ ส่วนมากเป็นพวก ไมต้ ระกูลสน พลังงานไฟฟา้ และความร้อนมาจากพลังงานนำ้� พลงั งานนิวเคลียรแ์ ละการนำ� เขา้ น้ำ� มัน นอกากนย้ี ังใช้พลังงาน ลมอกี ส่วนหนึง่ ดว้ ย ประมาณ 7.5 เปอร์เซน็ ต์ของพน้ื ท่ีในสวีเดนใช้ในเกษตรกรรม ประชากรนอ้ ยกกว่าหา้ เปอรเ์ ซ็นตท์ ำ� งานในภาคเกษตรกรรม การ เพาะปลูกส่วนใหญใ่ นปัจจบุ นั จะเป็นธญั พืช พชื อาหารสตั ว์ มัน ฝรั่ง พชื น�ำ้ มนั และผักกาดน�ำ้ ตาล เกษตรกรรมทส่ี �ำคญั อย่างหนึ่ง ของสวเี ดน คือการผลติ นม 44 | สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน ภาพ: Colourbox © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

เศรษฐกิจการค า้ สำ� หรบั สวเี ดน การคา้ กบั ประเทศอน่ื ๆ ในยโุ รป มคี วามสำ� คญั ตอ่ สวเี ดนมาตลอด ตวั อยา่ ง เชน่ สวเี ดนเปน็ ผสู้ ง่ ออกแรเ่ หลก็ ราย ใหญร่ ายเดยี วในสหภาพยโุ รป เนอื่ งจากในตอนตน้ ของศตวรรษ ที่ 20 สวเี ดนเรม่ิ มอี ตุ สกรรมหนกั จงึ ขายสนิ คา้ ใหก้ ปั ระเทษอน่ื ๆ มากขน้ั สว่ นมากสวเี ดนจะขายสนิ คา้ ปน็ ไม้ กระดาษ เหลก็ กลา้ และเหลก็ ตอ่ มาในชว่ งปลายศตวรรษท่ี 20 สวเี ดนกไ็ ดเ้ รม่ิ ขาย สนิ คา้ ผลติ สสำ� เรจ็ รปู มากขน้ึ เชน่ รถยนตร์ โทรศพั ท์ รถบรรทกุ ตลบั ลกู ปนื เมด็ กลมและเครอื่ งตา่ งๆ ปจั จบุ นั สนิ คา้ หลายอยา่ ง ไมไ่ ดผ้ ลติ ในสวเี ดนเหมอื นเมอ่ื กอ่ น สนิ คา้ สว่ นมาก ตวั อยา่ งเชน่ เฟอรน์ เิ จอรแ์ ละเสอ้ื ผา้ จะทำ� การผลติ ในประเทศอน่ื แตจ่ ดั จำ� หนา่ ย โดยบรษิ ทั ของสวเี ดน นอกจากนส้ี วเี ดนยงั มบี รษิ ทั ในสาขาสำ� คญั ในกลมุ่ เชน่ การสอ่ื สารโทรคมนาคมและไอทอี หี ลายบรษิ ทั โครงสร า้ งพ้ืนฐาน สวเี ดนมีเครอ่ื ข่ายถนนสำ� หรบั การจราจรรถยนตรแ์ ละทางรถไฟ ส�ำหรับรถไฟมากหลายสาย โดยเฉพาะในเขตบริเวณที่มผี คู้ น อาศัยอยูอ่ ย่างหนาแนน่ ส่วนมากจะมที างรถไฟอยู่รอบกรงุ สตอกโฮลม์ โกเธนเบริ ์กและตอนใต้ของสวีเดน สว่ นทางภาค เหนือของสวีเดน โดยปกตคิ นจะเดนิ ทางดว้ ยรถโดยสารประจำ� ทางหรือรถส่วนตวั สำ� หรบั ผู้ทีเ่ ดนิ ทางไกลภายในประเทศอาจจะ เดินทางโดยเครอื่ งบนิ สนามบนิ สว่ นมากจะอยตู่ ามเมอื งใหญ่ ท่าอากาศยานอารล์ นั ดาตง้ั อย่นู อกกรงุ สตอกโฮลม์ เปน็ สนามบนิ ทีใ่ หญ่ท่ีสดุ ของประเทศ สนามบินท่ใี หญท่ ส่ี ุดของเมืองโกเธน- เบอร์กมีชอื่ วา่ Landvetter ผูค้ นทางตอนใต้ของสวีเดนสว่ นให่จะ ใช้สนามบิน ทโ่ี คเปนเฮเกนของประเทศเดนมาร์ค ประชากร ในประเทศสวเี ดน มปี ระชากรอาศยั อยปู่ ระมาณ 9.6 ล้านคน ในช่วงทศวรรษท่ผี ่านมาอัตราจ�ำนวนประชากรสวีเดนได้เพ่มิ ขึ้น อนั เป็นผลมาจากการอพยพยา้ ยถน่ิ มากขนึ้ และคนมีอายยุ ืนนาน ขน้ึ อายขุ ยั โดยเฉล่ยี ของผูห้ ญงิ อยู่ท่ี 84 ปี และผู้ชายอยู่ที่ 80 ปี ประชากรสวีเดนโดยสว่ นใหญอ่ าศยั อยใู่ นตัวเมอื ง ประชากร ประมาณ 3.5 ลา้ นคนอาศัยอยรู่ อบๆ สตอกโฮลม์ โกเนเบอร์ก และมาลเม่อ © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน | 45

การตดั ตอ่ ภาพ Maria Göransson ชนกลุ่มน อ้ ยของสวีเดนและ ภาษาของชนกลุ่มน อ้ ย ในประเทศสวเี ดนมกี ฎหมายฉบับหนึ่งซ่ึงปกปอ้ ง ชนกล่มุ นอ้ ย ของชาติ ในสวีเดนมชี นกล่มุ นอ้ ยห้าเช้ือชาตทิ ไี่ ดร้ ับการรบั รอง อย่างเปน็ ทาง ได้แก่ ชาวยิว (judar) ชาวโรมาหรอื ยิปซี (Romer) ชาวซอมิ (Samer) ชาวฟนิ แลนดใ์ นสวีเดน (Sverigefinnar) และ ชาวทรู ์เนดอลเลอร์ (Tornedalingar) ภาษาของชนกลุ่มนอ้ ยตาม ประวตั ิศาสตร์ไดแ้ ก่ ภาษายวิ (Jiddisch) ภาษโรมานีหรอื ยิปซี Sápmi - ดินแดนของ ชาวซอมิ ชาวซอมิอาศัยอยู่ใน ส่ีประเทศ คือ รัสเซีย ฟินแลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน พ้ืนที่ทาง ภูมิศาสตร์ที่มีช่ือว่า Sápmi ทอดตัวจาก Idre ใน Dalarna ทางตอนใต้ ไปยังมหาสมุทรอาร์กติก ในนอร์เวย์ในทางเหนือ และทางตะวันออกบน คาบสมุทร Kolahalvön ในรัสเซีย 46 | สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน ผวู้ าดภาพประกอบ: Anders Suneson - samer.se © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

(Romani chib) ภาษาซอมิ (Samiska) ภาษาฟนิ แลนด์ (Finska) และภาษาเมแอนเคียลิ (meänkieli) ทางรัฐบาลมีการปฏบิ ัตงาน ด้านการเสริมสร้างสทิ ธมิ นุษชนของชนกล่มุ นอ้ ยให้มีความเขม็ แขง็ ยิง่ ขึน้ ปจั จยั รว่ มของคนกลมุ่ นอ้ ย คอื เปน็ กลมุ่ ชนทไี่ ดต้ ง้ั รกรากอยใู่ น สวเี ดนมาเปน็ เวลานานแลว้ และเปน็ กลมุ่ ชนทมี่ เี อกลกั ษณเ์ ดน่ ชดั นอกจากนพ้ี วกเขามศี าสนา ภาษาหรอื เอกลกั ษท์ างวฒั นธรรม และปราถนาทจี่ ะดำ� รงรกั ษาเอกลกั ษณข์ องตนเองไว้ ชาวซอมิ เปน็ กลมุ่ นอ้ ยเพยี งกลมุ่ เดยี วทไี่ ดร้ บั การรบั รอง พวกเขาอาศยั อยู่ ทสี่ วเี ดน นอรเ์ วย์ ฟนิ แลนดแ์ ละรสั เซยี ประเทศสวเี ดนมชี าวซอมิ อาศยั อยปู่ ระมาณ 20,000 คน ชาวซอมมิ อี าชพี เกา่ แกด่ งั้ เดมิ ดว้ ย การเลย้ี งกวางเรนเดยี ร์ ลา่ สตั ว์ หาปลา หตั ถกรรมและผสมพนั ธ์ุ กวางเรนเดยี ร์ เรนเดยี รเ์ ปน็ กวางซง่ึ ชาวซอมเิ ลย้ี งเปน็ สตั วเ์ ชอื่ ง เปน็ เวลาประมาณ 600 ปี ทสี่ วเี ดนและฟนิ แลนดเ์ ปน็ ประเทศ เดยี วกนั และชาวฟนิ แลนดส์ วเี ดนกไ็ ดอ้ าศยั อยทู่ สี่ วเี ดนตงั้ แตย่ คุ กลางเปน็ ตน้ มา ปจั จบุ นั มชี าวฟนิ แลนดส์ วเี ดนระหวา่ ง 450,000 ถงึ 600,000 คน อาศยั อยทู่ ส่ี วเี ดน ที่ Tornedalen ซง่ึ พดู ภาษา meänkieli ถกู แบง่ ออกเปน็ สองสว่ นในปี ค.ศ. 1809 โดยทฝี่ ง่ั ซา้ ย กลายเปน็ ประเทศสวเี ดนและฝง่ั ขวากลายเปน็ ประเทศฟนิ แลนด์ ในฝง่ั สวเี ดนนนั้ จะมชี นกลมุ่ นอ้ ยซงึ่ เรยี กวา่ tornedalingar อาศยั อยู่ ชาวยิวได้อาศยั อยูท่ ส่ี วเี ดนมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 แล้ว มชี าวยวิ ประมาณ 20,000 คนอาศัยอยทู่ ส่ี วีเดน จากจำ� นวนนนั้ ประมาณ 3,000 คนพูดภาษา jiddisch (ภาษายิว) ชาวโรมาไดอ้ าศยั อยทู่ ส่ี วเี ดนมาตงั้ แตศ่ ตวรรษที่ 16 ปจั จบุ นั มชี าว โรมาอาศยั อยทู่ ส่ี วเี ดนระหวา่ ง 50,000 ถงึ 100,000 คน ชาวโรมา เปน็ กลมุ่ ชนทหี่ ลากหลายดว้ ยภาษา ศาสนาและวฒั นธรรมหลาย รปู แบบ Romani chib ภาษาโรมานหี รอื ยซิ ี เปน็ ภาษาของชาวโรมา ท่ีอยูอ่ าศัยและบา้ นพัก ตามเทศบาลบางแหง่ จะหาอพาร์ทเมนท์ไดค้ อ่ นขา้ งง่ายและใน บางแหง่ งกจ็ ะหาได้ยากกวา่ เทศบาลหลายแหง่ มีความตอ้ งการ ท่อี อูอ่ าศยั ประเภทอพารท์ เมนท์ใหเ้ ช่ามากกวา่ ประเภทอื่นๆ การหาท่ีอยู ่อาศัยในเขตเมืองใหญ ่ การหาทอ่ี ยอู่ าศัยในเขตเมอื งใหญ่ บางเขตของเมืองจะเปน็ ท่ี นิยมเป็นพเิ ศษ จึงทำ� ให้หาท่ีอยู่อาศยั ในเขตดงั กลา่ วได้ยากขึ้น เปน็ พเิ ศษ ผอู้ พยพย้ายถิน่ ฐานมาใหมห่ ลายคนเลือกทจี่ ะอยู่ตาม © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน | 47

เมอื งใหญ่ ซงึ่ ในเมอื งใหญ่ๆ เหล่าน้ี จะมีผู้คนอืน่ ๆ มากมายท่ี ตอ้ งการหาทอ่ี ยูอ่ าศยั เชน่ เดยี วกนั ซง่ึ ท�ำให้เกิดการแข่งขันสูง การเป็นผเู้ ชา่ พกั อาศยั หรือการเช่าชว่ งอพาร์ทเมนทจ์ ึงเปน็ เร่ือง ปกติธรรมดา ตามเขตเมืองรอบนอกอาจจะหาอพารท์ เมนท์ได้ งา่ ยกว่า โดยมากมักจะมรี ถโดยสารประจ�ำทางและรถไฟเช่ือม ตอ่ เป็นอย่างดีสำ� หรบั ผู้ท่ีตอ้ งการเดนิ ทางเข้าเมืองใหญๆ่ ท่ีอยู่อาศัยประเภทต่างๆ คณสามารถเช่าหอ้ งชุดจากเจา้ ของตึกได้ (ผ้ใู หเ้ ชา่ ) ซงึ่ เรียกว่า เป็น สัญญาเช่าห้องชุดมือหนงึ่ ของการมีสิทธใ์ิ นการเชา่ คณุ สามารถซ้ืออพาร์ทเมนทไ์ ด้ ซง่ึ เรยี กว่า กรรมสิทธิอ์ พารท์ เมนท์ หากคุณซอื้ บา้ น จะเรยี กว่าคณุ มสี ทิ ธิ์การเปน็ เจ้าของของบ้าน คุณสามารถอยู่อาศยั ในรปู แบบมอื สองกไ็ ด้ ซึง่ หมายความว่าคณุ เชา่ อพาร์ทเมนท์เปน็ เวลาระยะหน่ึงจากบคุ คลซงึ่ เชา่ หรอื เป็นเจ้า ของอพาร์ทเมนทห์ รือบ้าน นอกจากน้ันคุณยังสามารถทีจ่ ะเชา่ หอ้ งพกั ห้องหน่ึงจากบคุ คซ่ึงเชา่ หรือเป็นเจ้าของอพารท์ เมนท์ หรอื บา้ นกไ็ ด้ ซ่ึงเรียกว่า ผู้เช่าพกั อาศยั สิทธิในการเช ่า หากคณุ อาศยั อยใู่ นทีพ่ ักในรูปแบบครอบครองสทิ ธก์ ารเช่า หมายถงึ คุณเช่าทพี่ ักนน้ั จากผ้เู ป็นเจา้ ของ ผู้เป็นเจา้ ของซึ่งเป็น เจ้าของบา้ น (ทรพั ย์สนิ ) ส่วนมากจะเป็นบริษทั บริษทั ที่เป็น เจา้ ของอาจเป็นบคุ คลหรอื เทศบาลก็ได้ หากคณุ หรอื แขกของคณุ ท�ำขา้ วชองในอพาทร์เมนท์เสียหาย คุณจะตอ้ งจา่ ค่าซอ่ มแซม หากถา้ สาเหตทุ ข่ี า้ วของชำ� รุดเสยี หายน้ัน เป็นเพราะการสกึ หรอ อนั เนื่องมาจากการใช้งานตามปกติ ในกรณีนี้เจ้าของควร ซ่อมแซมหรอื เปล่ียนใหใ้ หม่ ตัวอยา่ งเช่น เตาที่ใช้ปรงุ อาหารอาจ เก่าเกนิ ไปจนใช้งานไมไ่ ด้อีก บ้านพักหลายครอบครัว บ้านท่ีเป็นกรรมสิทธิ์ให้ เช่าหรือกรรมสิทธิ์ห้อง พักเป็นชื่อสามัญของ บ้านพักหลายครอบครัว 48 | สาระน่ารู้เกี่ยวกับสวีเดน ภาพ: Colourbox © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län

หากคณุ ท�ำสญั ญาเช่าอพารท์ เมนทม์ อื หนงึ่ คณุ มสี ิทธอ์ าศัยอยู่ ในหอ้ งชุดนน้ั นานเทา่ ทีค่ ุณตอ้ งการและตราบใดทป่ี ระพฤติและ ดแู ลด้วยดี ท้ังน้หี มายความว่า เช่น คณุ ตอ้ งจา่ ยคา่ เช่าเป็นประจำ� ทกุ เดือนและไมร่ บกวนเพือ่ นบ้าน หากคุณต้องการย้ายออก มักจะตอ้ งจ่ายคา่ เชา่ ตอ่ ไปอกี สามเดือน เรียกว่า เวลาการบอก เลกิ สัญญา หากคุณมสี ัญญาเชา่ ห้องอพาร์ทเมนท์มอื หน่ึง คณุ สามารถแลกเปลยี่ นอพารท์ เมนทข์ องคุณกับหอ้ งเช่าอื่นได้ แต่ ตอ้ งได้รับอนญุ าตจากเจา้ ของกอ่ น เจ้าของเป็นผมู้ ีสทิ ธิต์ ดั สินใจ หากอพารท์ เมนทห์ รือบา้ น (ทรพั ย์สนิ ) สมควรท่ีจะมกี ารปรบั ปรุง หรือไม่ หากคณุ อยากปรบั ปรุงห้องชดุ ใหม่ คุณควรขออนุญาต จากเจา้ ของกอ่ น คณะกรรมการคุ ม้ ครองการเช ่า คณะกรรมการค้มุ ครองการเช่าเป็นเสมือนศาลประเภทหนึง่ ซง่ึ สามารถใหค้ วามชว่ ยเหลอื กรณีพพิ าทระหา่ งผ้เู ช่าและผูใ้ ห้ เชา่ (เจา้ ของ) คณะกรรมการคุ้มครองการเช่ามอี ยูแ่ ปดแหง่ ทว่ั ประเทศสวีเดน โดยตัง้ อย่ทู ่ี Västerås, Linköping, Jönköping, Malmö, Göteborg, Sundsvall และ Umeå. ศาลคมุ้ ครองการ เชา่ จะตดั สินขอ้ พิพาทที่ผเู้ ชา่ และเจ้าของไมส่ ามารถตกลงกนั ได้ ตัวอยา่ งเช่น หากผู้เชา่ ปลอ่ ยเช่าช่วง หากคณุ ต้องการความช่วย เหลอื คณะกรรมการคุ้มครองการเช่าจะช่วยตอบปญั หาทเ่ี ก่ยี ว กับข้อกฎหมายและกฏเกณฑ์ต่างๆ ท่ีบงั คบั ใช้ คณุ สามารถอ่าน ข้อมูลเพม่ิ เติมได้ทเี่ ว็บไซท์: www.hyresnamnden.se กรรมสิทธ์ิที่พัก การทจี่ ะอยูอ่ าศยั ในทีพ่ ักทีม่ กี รรมสิทธ์ิได้ จะต้องมีการลงทุน ทัง้ นหี้ มายความวา่ คุณต้องซอื้ กรรมสทิ ธ์กิ ารเป็นเเจ้าของรว่ ม สว่ นหนึ่งใน สมาคมซ่งึ เปน็ เจ้าของอาคาร (ทรัพย์สนิ ) สมาคมดงั © Göteborgs Stad och Länsstyrelsen Västra Götalands län ภาพ: Colourbox สาระน่ารู้เก่ียวกับสวีเดน | 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook