Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2019-05-01 12:08:48

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 90 หลักปรัชญา ครู ผู้เรยี น ของเศรษฐกิจพอเพียง 2. ความมีเหตผุ ล - ยดึ ถือการประกอบอาชีพดว้ ยความ ไม่หยุดน่ิงท่หี าหนทางในชีวิต หลุดพน้ 3. มภี ูมคิ มุ กันในตวั ทีด่ ี ถกู ต้อง สจุ ริต จากความทุกขย์ าก (การคน้ หาคาตอบ 4. เง่อื นไขความรู้ เพ่ือใหห้ ลดุ พน้ จากความไมร่ )ู้ ภมู ปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั รบั ผดิ ชอบ ระมัดระวัง สร้างสรรค์ ความรอบรู้ เร่ือง ธาตุกมั มันตรงั สี ความรอบรู้ เรื่อง ธาตกุ ัมมนั ตรังสี ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งรอบด้าน นาความร้มู า สามารถนาความร้เู หลา่ นัน้ มาพจิ ารณา เชอื่ มโยงประกอบการวางแผน การ ให้เกิดความเชือ่ มโยง สามารถ ดาเนินการจัดกจิ กรรมการเรียนรใู้ หก้ ับ ประยกุ ต์ ผูเ้ รียน ใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้ 5. เง่อื นไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มี มีความตระหนักใน คุณธรรม มคี วาม ความซื่อสตั ย์สุจรติ และมีความอดทน ซ่อื สตั ย์สจุ รติ และมีความอดทน มี มคี วามเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการ ความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนิน ดาเนนิ ชีวติ ชวี ติ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ครู ผูเ้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดที่ได้รับมอบหมาย) - ความหลากหลายทางชวี ภาพ - สารวจความหลากหลายทาง ผ้เู รยี น ชีวภาพในโรงเรียน (กาหนดจดุ ให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นข้อมลู การอนุรักษค์ วาม ผู้เรยี นสารวจ) หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหวั ข้อที่ ได้มอบหมาย) สง่ิ แวดล้อม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรกั ษค์ วามหลากหลาย - การอนุรักษค์ วามหลากหลายทาง ทางชวี ภาพ ชีวภาพ (กาหนดหวั ข้อให้ผ้เู รียน สบื ค้น) โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 91 10. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผ้บู ริหารสถานศึกษาหรอื ผู้ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางสาวณัฐธนญั า บุญถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผอู้ านวยการฝ่ายบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 92 11. บันทกึ ผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์  ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรอื พฤตกิ รรมท่ีมีปัญหาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี))  ปญั หา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชอื่ .........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา) ตาแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 93 ใบงานท่ี 1.4 เรือ่ ง ธาตุกัมมันตรงั สี ตอนท่ี 1 คาชี้แจง ให้นกั เรียนแต่ละกลุม่ ศกึ ษาเกี่ยวกบั เรือ่ ง ธาตุกมั มันตรังสี แล้วตอบคาถามเกย่ี วกับแบบจาลองนวิ เคลียส ของธาตุกมั มันตรังสที ่ีครูนาเสนอ นวิ เคลยี สของ กัมมันตภาพรงั สี ประจุ/การเบ่ยี งเบนของ เหตผุ ล (ที่สนับสนนุ ว่า ธาตุกัมมันตรังสี ทแ่ี ผ่ออกมา กัมมนั ตภาพรงั สใี นสนามไฟฟ้า นวิ เคลียสแผร่ ังสีชนดิ น้นั ๆ ) 1. อนภุ าคแอลฟา ประจุบวก/เบย่ี งเบนเขา้ หาขั้ว นิวเคลยี สมขี นาดใหญ่มาก ลบ และปล่อยอนุภาคโปรตอน และนวิ ตรอนออกมาอย่างละ 2 อนภุ าค 2. อนุภาคเบตาบวก ประจุบวก/เบย่ี งเบนเขา้ หาขว้ั นิวเคลียสมอี นุภาคโปรตอน หรอื โพสติ รอน ลบ มาานวิ ตรอน 3. อนุภาคเบตาลบ ประจุลบ/เบีย่ งเบนเขา้ หา นิวเคลียสมอี นภุ าคนิวตรอน หรอื อเิ ล็กตรอน ขั้วบวก มากกวา่ โปรตอน 4. รงั สแี กรมมา ไม่มปี ระจุ/ไมเ่ บย่ี งเบน นวิ เคลียสได้รับพลังงานจึงทา ใหไ้ มเ่ สถยี ร คาถามหลังกิจกรรม 1. ธาตกุ ัมมันตรังสี คืออะไร .............................................................................................................................................................................. 2. แบบจาลองนวิ เคลียสที่ 2 และ 3 จะมีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งไรเมื่อแผ่รงั สแี ล้ว .............................................................................................................................................................................. 3. แบบจาลองนิวเคลยี สที่ 4 จะมกี ารเปล่ยี นแปลงเลขมวลและเลขอะตอมหรอื ไมห่ ลงั จากมีการแผ่รงั สีแลว้ .............................................................................................................................................................................. 4. กมั มันตภาพรงั สแี ตล่ ะประเภทมคี วามสามารถในการทะลทุ ะลวงเปน็ อย่างไร .............................................................................................................................................................................. โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 94 ตอนที่ 2 คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ ศกึ ษาเกย่ี วกับประโยชนข์ องธาตุกัมมันตรังสี แล้วตอบคาถามลงในใบงาน การใชป้ ระโยชน์ดา้ นอตุ สาหกรรม ประโยชน์ ชือ่ ธาตกุ ัมมนั ตรังสี/กมั มันตภาพรังสี การใช้ประโยชนด์ ้านการแพทย์ ประโยชน์ ชอ่ื ธาตุกมั มันตรงั สี/กัมมันตภาพรังสี การใชป้ ระโยชน์ด้านการเกษตร ประโยชน์ ชื่อธาตุกัมมนั ตรงั สี/กมั มนั ตภาพรังสี การใช้ประโยชนด์ า้ นธรณวี ทิ ยา ประโยชน์ ช่อื ธาตุกัมมนั ตรงั ส/ี กัมมนั ตภาพรังสี โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 95 ใบงานที่ 1.4 เฉลย เร่อื ง ธาตุกมั มันตรงั สี ตอนที่ 1 คาช้แี จง ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ ศกึ ษาเกยี่ วกับเรื่อง ธาตุกัมมนั ตรงั สี แล้วตอบคาถามเก่ยี วกบั แบบจาลอง นวิ เคลียสของธาตกุ มั มนั ตรังสีทคี่ รนู าเสนอ นวิ เคลียสของธาตุ กมั มันตภาพรังสี ประจุ/การเบี่ยงเบนของ เหตุผล (ทส่ี นับสนนุ วา่ กมั มนั ตรังสี ที่แผอ่ อกมา กัมมันภาพรังสใี นสนามไฟฟ้า นิวเคลียสแผร่ ังสชี นดิ นั้นๆ) 1. นิวเคลยี สมขี นาดใหญ่มาก อนภุ าคแอลฟา ประจุบวก/เบี่ยงเบนเขา้ หาข้วั และปลอ่ ยอนภุ าคโปรตอนและ ลบ นิวตรอนออกมาอย่างละ 2 อนุภาค 2. อนุภาคเบตาบวก ประจุบวก/เบยี่ งเบนเขา้ หาขว้ั นวิ เคลยี สมอี นภุ าคโปรตอน หรือโพสิตรอน ลบ มากกวา่ นิวตรอน 3. อนภุ าคเบตาลบ ประจุลบ/เบย่ี งเบนเข้าหา นิวเคลยี สมอี นภุ าคนิวตรอน หรืออิเล็กตรอน ขัว้ บวก มากกว่าโปรตอน 4. นวิ เคลียสไดร้ บั พลงั งานจงึ ทา ใหไ้ มเ่ สถยี ร รงั สีแกรมมา ไม่มปี ระจุ/ไม่เบย่ี งเบน คาถามหลงั กิจกรรม 1. ธาตุกมั มนั ตรงั สี คืออะไร ธาตุที่มีนิวเคลยี สภายในอะตอมไม่เสถยี ร ทาให้เกิดการสลายตัวแลว้ ปล่อยรงั สอี อกมา 2. แบบจาลองนิวเคลยี สที่ 2 และ 3 จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรเมือ่ แผร่ งั สีแล้ว แบบจาลองนวิ เคลียสท่ี 2 อนภุ าคโปรตอน 1 อนภุ าคจะสลายและปล่อยโพสิตรอนออกมา แบบจาลองนิวเคลยี สท่ี 3 อนภุ าคนวิ ตรอน 1 อนภุ าคจะสลายและปลอ่ ยอเิ ล็กตรอนออกมา 3. แบบจาลองนวิ เคลียสท่ี 4 จะมกี ารเปลีย่ นแปลงเลขมวลและเลขอะตอมหรอื ไม่หลงั จากมกี ารแผ่รงั สีแลว้ ไมม่ กี ารเปล่ียนแปลงเลขมวลและเลขอะตอม เน่อื งจากรงั สีแกมมาเป็นคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า 4. กมั มันตภาพรังสแี ต่ละประเภทมคี วามสามารถในการทะลทุ ะลวงเป็นอย่างไร อนุภาคแอลฟา ไมส่ ามารถทะลุผ่านแผ่นกระดาษบาง ๆ ได้ อนภุ าคเบตา ไม่สามารถทะลุผา่ นแผ่นอะลมู ิเนยี มหนา 2 มิลลิเมตรได้ รังสแี กมมา ไม่สามารถทะลุผา่ นแทง่ ตะก่วั หนา 10 เซนตเิ มตรได้ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 96 ตอนที่ 2 คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ ศึกษาเกย่ี วกับประโยชนข์ องธาตุกัมมันตรังสี แล้วตอบคาถามลงในใบงาน การใชป้ ระโยชน์ดา้ นอตุ สาหกรรม ประโยชน์ ชือ่ ธาตกุ ัมมนั ตรังสี/กมั มันตภาพรังสี การใช้ประโยชนด์ ้านการแพทย์ ประโยชน์ ชอ่ื ธาตุกมั มันตรงั สี/กัมมันตภาพรังสี การใชป้ ระโยชน์ด้านการเกษตร ประโยชน์ ชื่อธาตุกัมมนั ตรงั สี/กัมมนั ตภาพรังสี การใช้ประโยชนด์ า้ นธรณวี ิทยา ประโยชน์ ช่อื ธาตุกัมมนั ตรงั สี/กัมมนั ตภาพรังสี โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 97 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1/2562 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ (ว 21101) หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 สารรอบตัว เร่ือง สารประกอบ จานวนเวลาท่สี อน 2 ชั่วโมง ผู้สอน นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 1. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด (ความเขา้ ใจทค่ี งทน) สารประกอบ คือ สารบริสุทธิท์ เ่ี กิดจากอะตอมของธาตตุ งั้ แต่ 2 ชนดิ ขึน้ ไปมารวมกนั ทางเคมี โดย อัตราส่วนโดยมวลคงที่ และมสี มบัตขิ องสารแตกต่างไปจากสมบัตขิ องธาตุทเี่ ป็นองคป์ ระกอบ ซงึ่ สามารถ แยกออกเป็นธาตุได้ดว้ ยวธิ กี ารทางเคมี 2. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้ีวัดช้นั ปี/ผลการเรยี นร/ู้ เปา้ หมายการเรียนรู้ 2.1 ตัวช้ีวัด ว 2.1 ม.1/7 อธิบายเกีย่ วกบั ความสมั พันธร์ ะหวา่ งอะตอม ธาตุ และสารประกอบ โดยใชแ้ บบจาลอง และสารสนเทศ 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างอะตอม ธาตุ และสารประกอบ โดยใช้แบบจาลองได้ 2) อธิบายโครงสรา้ งสารประกอบโดยใชแ้ บบจาลองได้ 3.2 ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 3) นาเสนอเก่ยี วกบั สมบัติของสารประกอบได้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 4) ใฝร่ ู้และรับผิดชอบตอ่ งานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge (ผู้เรียนต้องรู้อะไร) - สารบริสุทธแ์ิ บ่งออกเป็นธาตแุ ละสารประกอบ ธาตุประกอบด้วยอนุภาคท่เี ล็กทีส่ ุดทยี่ งั แสดงสมบัติของธาตนุ ั้นเรยี กวา่ อะตอม ธาตุแต่ละชนิดประกอบดว้ ยอะตอมเพยี งชนดิ เดียวและไมส่ ามารถ แยกสลายเปน็ สารอืน่ ได้ดว้ ยวิธีทางเคมี ธาตุเขียนแทนด้วยสญั ลกั ษณ์ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 98 - ธาตุ สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตตุ ้งั แต่ 2 ชนิดขึน้ ไปรวมตัวกนั ทางเคมีใน อัตราส่วนคงที่ มีสมบตั ิแตกต่างจากธาตุที่เป็นองคป์ ระกอบ สามารถแยกเป็นธาตุได้ดว้ ยวิธีทางเคมี ธาตุ และสารประกอบสามารถเขยี นแทนไดด้ ้วยสูตรเคมี 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรียนสามารถปฏิบตั ิอะไรได)้ - ทักษะการสร้างคาอธิบาย - ทักษะการส่อื ความหมาย - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการสืบค้นโดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 4.3 คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ : Attitude (ผู้เรียนควรแสดงพฤตกิ รรมการเรียนอะไรบ้าง) - ซื่อสัตยส์ จุ รติ - มวี ินัย - ใฝเ่ รียนรู้ - มงุ่ มัน่ ในการทางาน 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี นและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มีวนิ ยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทักษะการสังเกต 3. มุ่งม่นั ในการทางาน 2) ทักษะการระบุ 4. อยู่อย่างพอเพียง 3) ทักษะการสารวจ 4) ทักษะการจัดกลุม่ 5) ทักษะการจาแนกประเภท 6) ทกั ษะการเปรยี บเทียบ 7) ทกั ษะการเช่ือมโยง 8) ทกั ษะการสรปุ ยอ่ 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 99 6. กจิ กรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ ีสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชว่ั โมงท่ี 1 ขั้นนา กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครแู จง้ ผลการเรียนรู้ให้นกั เรยี นทราบ 2. ครูถามคาถามทบทวนความร้เู ดมิ ของนักเรยี น ดงั น้ี - สารบริสุทธ์ิ คอื อะไร (แนวคาตอบ สารบรสิ ุทธ์ิ คือ สารทม่ี อี งค์ประกอบเพียงชนิดเดยี ว มีสมบัตเิ ฉพาะทางกายภาพ และ สมบตั ทิ างเคมี) - เพราะเหตุใด ธาตุจงึ จัดเป็นสารบริสทุ ธิ์ (แนวคาตอบ เพราะธาตปุ ระกอบด้วยอะตอมเพียงชนดิ เดียว ไมส่ ามารถแยกหรือสลายออกเป็นสาร อื่นได)้ 3. ครเู กร่นิ วา่ อะตอมของธาตสุ ามารถสร้างพันธะระหวา่ งกันได้ จากนัน้ นาเสนอแบบจาลองสารตอ่ ไปนี้ O Mn Cl O Na Na H CH K O 4. ครถู ามนกั เรยี นเกี่ยวกับแบบจาลองโครงสร้างสารที่ครูนาเสนอ ดงั น้ี - สารท่ีครูแสดงจัดเปน็ สารบริสทุ ธิห์ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (แนวคาตอบ พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ นดลุ ยพินจิ ของครูผูส้ อน ตวั อย่างเชน่ จดั เป็นสารบริสทุ ธิ์ เพราะมกี ารสรา้ งพนั ธะร่วมกนั เปน็ ต้น) - สารท่ีครแู สดงมีคุณสมบตั แิ ตกต่างไปจากธาตทุ ่ีเป็นองคป์ ระกอบของสารน้ันหรือไม่ (แนวคาตอบ พิจารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยให้อยู่ในดุลยพนิ ิจของครูผู้สอน ตัวอย่างเช่น แตกต่าง เพราะธาตุต่างชนดิ กันทาพันธะกัน เป็นตน้ ) ขนั้ สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ กลุม่ ละ 5 คน จากนน้ั ให้นักเรียนสง่ ตัวแทนกลมุ่ ออกมารบั ใบงานท่ี 1.5 เร่อื ง สารประกอบ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 100 2. ครใู ห้นกั เรยี นศกึ ษาเรอื่ ง สารประกอบ ในหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าท่ี 18 หรือจาก แหลง่ การเรียนรู้อ่นื ๆ จากนน้ั ใหน้ กั เรียนบันทึกผลการสืบคน้ ลงในใบงานท่ี 1.5 เรอ่ื ง สารประกอบ ตอนที่ 1 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรียน เกี่ยวกับการบันทกึ ผลการสืบค้นลง ในใบงาน โดยนกั เรียนกลุ่มอน่ื ร่วมกนั อภิปรายเก่ยี วกบั คาตอบของกล่มุ เพ่ือนทีน่ าเสนอ 2. ครูและนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายและหาขอ้ สรปุ จากกิจกรรม โดยครูถามคาถามนักเรยี น ดงั นี้ - สารประกอบ คืออะไร (แนวคาตอบ สารประกอบ คือ สารบรสิ ุทธ์ทิ ่ีเกิดจากอะตอมของธาตตุ ัง้ แต่ 2 ชนิดขนึ้ ไปมารวมกัน ทางเคม)ี - อัตราสว่ นโดยมวลของธาตุทรี่ วมกันเปน็ สารประกอบเป็นอย่างไร (แนวคาตอบ อตั ราส่วนโดยมวลคงที)่ - สมบัตขิ องสารประกอบเปลย่ี นแปลงไปจากสมบัติของธาตทุ ่ีเปน็ องคป์ ระกอบเดิมหรอื ไม่ (แนวคาตอบ สมบัติของสารประกอบเปล่ยี นแปลงไปจากสมบตั ิของธาตทุ ีเ่ ป็นองคป์ ระกอบเดิม) - สารประกอบชนดิ ใดท่ีสามารถใชส้ ูตรโมเลกลุ ได้ (แนวคาตอบ สารประกอบที่มีธาตอุ โลหะเป็นองค์ประกอบเท่านั้น) ชว่ั โมงท่ี 2 ขน้ั สรปุ ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครถู ามนกั เรยี นว่า นอกจากตวั อยา่ งแบบจาลองโมเลกลุ ของสารประกอบท่คี รูนาเสนอแล้ว นกั เรยี น คิดวา่ มีสารใดรอบตัวนักเรยี นที่เปน็ สารประกอบอีกบา้ ง (แนวคาตอบ พิจารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพินจิ ของครูผูส้ อน ตวั อย่างเช่น ผง ชรู ส นา้ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ เปน็ ตน้ ) 2. ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกลุ่ม ศึกษาคน้ ควา้ เกย่ี วกบั สารประกอบท่ีอยูร่ อบตัวนักเรียน แลว้ บนั ทกึ ผลการ สืบคน้ ลงในใบงานที่ 1.5 เร่อื ง สารประกอบ ตอนที่ 2 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 2. ครูตรวจใบงานที่ 1.5 เร่อื ง สารประกอบ 3. ครูประเมินพฤติกรรมการทางานกลมุ่ จากการทาใบงานท่ี 1.5 เรื่อง สารประกอบ 4. ครปู ระเมนิ การนาเสนอใบงานที่ 1.5 เร่อื ง สารประกอบ โดยใช้แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 101 7. การวดั และประเมนิ ผล วิธวี ดั เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน รายการวัด - ตรวจใบงานท่ี 1.5 - เฉลยใบงานที่ 1.5 เรอ่ื ง ระดบั คณุ ภาพ 2 7.1 การประเมนิ ระหวา่ ง เรอ่ื ง สารประกอบ สารประกอบ ผา่ นเกณฑ์ การจัดกจิ กรรม รอ้ ยละ 60 ผ่าน 1) สารประกอบ - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ เกณฑ์ ม.1 เลม่ 1 ระดับคุณภาพ 2 2) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาเสนอ ผา่ นเกณฑ์ - แบบประเมนิ การนาเสนอ ใบงานที่ 1.5 เรอ่ื ง ผลงาน สารประกอบ 3) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 การทางานรายกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ ทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ ระดบั คณุ ภาพ 2 อนั พงึ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ 4) คุณลกั ษณะอนั พงึ - สังเกตความมีวนิ ัย ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มนั่ ในการทางาน 8. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 2) แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 3) แบบจาลองโครงสร้างของสาร 4) ใบงานท่ี 1.5 เรอ่ื ง สารประกอบ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) สอ่ื อินเตอร์เนต็ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 102 9. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรัชญา ครู ผู้เรยี น ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดดี า้ นจติ ใจ รจู้ ักใช้เทคโนโลยมี าผลิตสอ่ื ที่ มีจติ สานึกที่ดี จิตสาธารณะร่วม 2. ความมีเหตผุ ล อนรุ กั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ เหมาะสมและสอดคลอ้ งเนอื้ หาเปน็ สิ่งแวดล้อม ประโยชน์ต่อผูเ้ รียนและพฒั นาจากภมู ิ ปญั ญาของผู้เรยี น ไมห่ ยดุ นง่ิ ที่หาหนทางในชีวิต หลุดพ้น - ยึดถอื การประกอบอาชพี ดว้ ยความ จากความทุกข์ยาก (การค้นหาคาตอบ ถกู ตอ้ ง สุจริต เพือ่ ใหห้ ลดุ พ้นจากความไม่รู้) ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ 3. มภี ูมิคุมกนั ในตัวทีด่ ี ภมู ิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ รับผดิ ชอบ ระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ ระมัดระวงั ความรอบรู้ เรอื่ ง สารและการ จาแนกสาร สามารถนาความรู้ 4. เง่อื นไขความรู้ ความรอบรู้ เรอื่ ง สารและการ เหล่านัน้ มาพิจารณาใหเ้ กดิ ความ เชื่อมโยง สามารถประยกุ ต์ จาแนกสาร ทเ่ี กย่ี วขอ้ งรอบดา้ น นา ใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้ มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มคี วาม ความรู้มาเช่อื มโยงประกอบการ ซื่อสตั ย์สจุ รติ และมคี วามอดทน มี ความเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการดาเนิน วางแผน การดาเนินการจดั กิจกรรม ชีวิต การเรยี นรู้ใหก้ ับผู้เรยี น ผ้เู รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ 5. เงอ่ื นไขคุณธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม มี - สารวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดท่ีไดร้ บั มอบหมาย) ความซอ่ื สัตยส์ ุจริตและมคี วามอดทน ผูเ้ รียน มคี วามเพยี ร ใชส้ ติปญั ญาในการ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สบื คน้ ข้อมลู การอนุรกั ษค์ วาม ดาเนนิ ชวี ติ หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวขอ้ ที่ ไดม้ อบหมาย) สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชวี ภาพ - สารวจความหลากหลายทาง ชีวภาพในโรงเรยี น (กาหนดจดุ ให้ ผู้เรียนสารวจ) สิง่ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลาย - การอนุรกั ษค์ วามหลากหลายทาง ทางชวี ภาพ ชวี ภาพ (กาหนดหวั ข้อให้ผูเ้ รยี น สบื คน้ ) โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 103 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรือผูท้ ่ไี ด้รับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ านวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 104 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน  ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤติกรรมท่ีมีปญั หาของนกั เรียนเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตาแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 105 ใบงานที่ 1.5 เรอื่ ง สารประกอบ ตอนที่ 1 คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนศกึ ษาเกย่ี วกบั สารประกอบ แลว้ บนั ทกึ ผลการสบื คน้ ลงในใบงาน รปู โมเดลสารประกอบ ช่ือสารประกอบ สมบัตขิ อง สมบตั ิของธาตุทเี่ ปน็ สารประกอบ องคป์ ระกอบ Na H โซเดยี มไฮดรอกไซด์ O O กรดคาร์บอนิก CH Mn O โพแทสเซยี มเปอร์- K แมงกาเนต Cl โซเดียมคลอไรด์ Na คาถามหลังกิจกรรม 1. สารประกอบ คืออะไร ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 2. สารประกอบมีสมบัติเหมือนกบั ธาตุที่เปน็ องค์ประกอบของสารประกอบนน้ั หรือไม่ ................................................................................................................................................................... โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 106 ตอนที่ 2 คาช้แี จง จงเขียนชอื่ และสูตรโมเลกุลของสารประกอบรอบตวั ของนกั เรยี นมาอย่างนอ้ ย 5 ชนิด พรอ้ มกับระบุ ประโยชนแ์ ละโทษของสารประกอบชนิดนน้ั ช่อื สารประกอบ สูตรโมเลกลุ ประโยชน์/โทษของสารประกอบ NH2CONH2 N,H,C,O H2SO4 H,S,O Hl Na2B4O7·10H2O C,O CO2 C5H8NO4Na โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 107 ใบงานที่ 1.5 เฉลย เรือ่ ง สารประกอบ ตอนที่ 1 คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นศึกษาเกี่ยวกบั สารประกอบ แล้วบนั ทกึ ผลการสบื ค้นลงในใบงานตอนท่ี 1 รูปโมเดลสารประกอบ ชอ่ื สารประกอบ สมบัติของ สมบัตขิ องธาตทุ ีเ่ ปน็ สารประกอบ องคป์ ระกอบ Na H โซเดียมไฮดรอกไซด์ O กรดคาร์บอนิก O CH Mn โพแทสเซียมเปอร์- O แมงกาเนต K Cl Na โซเดียมคลอไรด์ คาถามหลงั กิจกรรม 1. สารประกอบ คืออะไร สารประกอบ คอื สารบริสุทธ์ทิ ี่เกิดจากอะตอมของธาตตุ งั้ แต่ 2 ชนิดขึน้ ไปมารวมกันทางเคมี โดยมี อัตราส่วนโดยมวลคงท่ี 2. สารประกอบมสี มบตั ิเหมอื นกับธาตุทเี่ ป็นองคป์ ระกอบของสารประกอบนนั้ หรือไม่ สารประกอบมีสมบตั ิแตกต่างกับธาตุที่เปน็ องค์ประกอบของสารประกอบนนั้ เนอ่ื งจากมกี ารสรา้ งพันธะ ระหวา่ งอะตอมทาใหก้ ลายเป็นโมเลกุลใหม่ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 108 ตอนที่ 2 คาช้ีแจง จงเขียนช่ือและสูตรโมเลกุลของสารประกอบรอบตวั ของนกั เรยี นมาอยา่ งนอ้ ย 5 ชนิด พรอ้ มกับระบุ ประโยชน์และโทษของสารประกอบชนดิ นนั้ ช่ือสารประกอบ สตู รโมเลกลุ ประโยชน์/โทษของสารประกอบ Ca(OH)2 ตัวอยา่ งคาตอบ ประโยชน์ แคลเซียมไฮดรอกไซด์ 1. ใชแ้ กด้ ินเปรย้ี ว 2. ใชท้ ายาลดกรดในกระเพาะ อาหาร โทษ 1. เม่อื อยูใ่ นรูปสารละลายจะมีฤทธิ์ เปน็ เบส กดั กรอ่ นผวิ หนัง ก่อให้เกดิ การระคายเคือง โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 109 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1/2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ (ว 21101) หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 สารรอบตัว เรื่อง สารผสม จานวนเวลาท่สี อน 4 ช่วั โมง ผสู้ อน นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 1. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด (ความเข้าใจทีค่ งทน) สารผสมเกดิ จากสารต้ังแต่ 2 ชนดิ ขนึ้ ไปมาผสมกนั โดยสารผสมบางชนดิ ผสมเปน็ เนอ้ื เดียวกนั เรียกว่า สารละลาย ซ่งึ ประกอบด้วยตัวละลายและตัวทาละลาย ซง่ึ ตวั ทาละลายจะมีปริมาณมากกว่า และมีสถานะ เดียวกับสารละลาย นอกจากนี้สารผสมบางชนิดผสมไม่เป็นเน้ือเดียวกัน เรียกว่า สารเน้ื อผสม ซึ่งมี 2 ประเภท ไดแ้ ก่ สารแขวนลอย และคอลลอยด์ 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ดั ช้นั ปี/ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ 2.1 ตวั ชีว้ ัด ว 2.1 ม.1/4 เปรียบเทยี บจดุ เดอื ด จุดหลอมเหลวของสารบริสทุ ธแิ์ ละสารผสม โดยการวดั อุณหภมู ิ เขียนกราฟ แปลความหมายขอ้ มูลจากกราฟหรอื สารสนเทศ ว 2.1 ม.1/5 อธิบายและเปรียบเทยี บความหนาแน่นของสารบริสุทธ์แิ ละสารผสม ว 2.1 ม.1/6 ใชเ้ คร่ืองมือวัดมวลและปริมาตรของสารบริสทุ ธแ์ิ ละสารผสม 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายความหนาแนน่ ของสารบรสิ ุทธ์แิ ละสารผสมได้ 3.2 ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) เปรยี บเทียบจุดเดือด จดุ หลอมเหลวของสารบริสทุ ธิแ์ ละสารผสมได้ 3) เปรยี บเทยี บความหนาแนน่ ของสารบริสทุ ธิ์และสารผสมได้ 4) ใช้เครอ่ื งมือวัดมวลและปริมาตรของสารบริสทุ ธิ์และสารผสมได้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 5) ใฝ่รู้และรับผดิ ชอบตอ่ งานท่ไี ด้รับมอบหมาย 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนอื้ หาสาระหลัก : Knowledge (ผเู้ รียนต้องรู้อะไร) โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 110 - สารบริสุทธปิ์ ระกอบดว้ ยสารเพยี งชนดิ เดยี ว สว่ น สารผสมประกอบดว้ ยสารตงั้ แต่ 2 ชนิด ข้นึ ไป สารบริสทุ ธิ์แตล่ ะชนดิ มสี มบตั บิ างประการที่เปน็ คา่ เฉพาะตัว เช่น จุดเดือดและจุดหลอมเหลวคงที่ แตส่ ารผสมมจี ุดเดือดและจุดหลอมเหลวไมค่ งท่ี ขึ้นอยู่กบั ชนดิ และสดั สว่ นของสารที่ผสมอยู่ด้วยกัน - สารบริสุทธิ์แต่ละชนดิ มีความหนาแน่น หรือมวลต่อหนึ่งหนว่ ยปริมาตรคงท่ี เป็นค่าเฉพาะ ของสารน้ัน ณ สถานะและอณุ หภมู ิหนงึ่ แต่สารผสมมีความหนาแนน่ ไมค่ งที่ขนึ้ อย่กู บั ชนิดและสดั ส่วนของ สารท่ผี สมอยู่ด้วยกนั 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รียนสามารถปฏบิ ัตอิ ะไรได้) - ทกั ษะการสร้างคาอธิบาย - ทักษะการสือ่ ความหมาย - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทกั ษะการสืบคน้ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4.3 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude (ผเู้ รียนควรแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นอะไรบา้ ง) - ซ่ือสตั ย์สุจรติ - มวี ินัย - ใฝเ่ รยี นรู้ - มุ่งม่นั ในการทางาน 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี นและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวินยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทักษะการสงั เกต 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน 2) ทักษะการระบุ 4. อยู่อย่างพอเพียง 3) ทักษะการสารวจ 4) ทักษะการจดั กลุ่ม 5) ทักษะการจาแนกประเภท 6) ทักษะการเปรียบเทียบ 7) ทกั ษะการเชื่อมโยง 8) ทกั ษะการสรุปย่อ 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 111 6. กจิ กรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชั่วโมงท่ี 1 ขน้ั นา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูแจ้งผลการเรยี นรใู้ หน้ กั เรียนทราบ 2. ครูนาสารมา 3 ชนิด ไดแ้ ก่ นา้ แดง นา้ นม นา้ โคลน แล้วให้นกั เรียนเปรียบเทียบความเหมอื น และ ความแตกตา่ งของสารทง้ั สามชนดิ 3. ครูเกร่นิ นาถามคาถามนักเรยี นวา่ สารผสม คอื อะไร และให้นกั เรียนยกตวั อยา่ งสารผสมทน่ี กั เรียนรู้จกั มาคนละชนดิ ขั้นสอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนจบั คูศ่ กึ ษา เร่ือง สารละลาย จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนา้ ที่ 19 2. ครแู บง่ กลุ่มนักเรียนออกเปน็ 4 กลุ่ม 3. ครเู ตรยี มอุปกรณก์ ารทดลองให้กบั แต่ละกลมุ่ ดงั น้ี - เกลอื - น้ากลั่น - บีกเกอร์ขนาด 250 cm3 - แท่งคนสารช้อนตักสาร - กระบอกตวง - เครอื่ งชั่งสาร 4. จากน้ันครูใหน้ กั เรยี นชงั่ เกลอื มา 10 กรัม ใส่ลงในบกี เกอรแ์ ล้วเติมนา้ กล่นั จนมปี รมิ าตรเปน็ 100 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร 5. ครใู หน้ ักเรยี นสบื คน้ คาตอบของคาถามท้าทายความคดิ ขนั้ สูง (H.O.T.S.) - จงอธบิ ายความแตกต่างระหว่างการหลอมเหลวกับการละลาย (แนวคาตอบ การหลอมเหลวเป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นของเหลว แต่ยังคง เปน็ สารชนิดเดิม โดยสารต้องไดร้ ับความร้อนจนกระท่ังถึงอุณหภูมิหนึ่ง ที่เรียกว่า จุดหลอมเหลว ซ่ึงเป็นคา่ เฉพาะของสารแต่ละชนิด ส่วนการละลายเกิดจากสารชนิดหน่ึง (ตัวถูกละลาย) แตกตัว ออกเป็นอนุภาคเล็ก ๆ และแทรกตัวในสารอีกชนิดหน่ึง (ตัวทาละลาย) กลายเป็นสารชนิดใหม่ หรือมีคุณสมบัติแตกต่างไปจากเดิม โดยตัวถูกละลายจะเปลี่ยน หรือไม่เปล่ียนสถานะ ข้ึนอยู่กับ สถานะของตัวทาละลาย โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 112 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูถามคาถามเพ่ือทดสอบความเข้าใจของนักเรียน และอธบิ ายคาตอบ ดังน้ี - หลงั จากเตมิ เกลือลงไปในนา้ นักเรียนคดิ วา่ เกลือหายไปได้อยา่ งไร (แนวคาตอบ อนุภาคของเกลือแตกตัว และละลายในน้า โดยการละลายเป็นสมบัติเฉพาะของสาร ข้ึนอยู่กบั สภาพการละลายของสารแต่ละชนิด ซงึ่ สารบางชนิดไม่ละลายนา้ เช่น นา้ มนั เปน็ ตน้ ) - สารท่ไี ดห้ ลังจากเติมเกลือลงไป เรียกวา่ อะไร (แนวคาตอบ สารละลาย) - จากการทดลองนักเรยี นคิดวา่ สารใดเป็นตัวละลาย และสารใดเปน็ ตัวทาละลาย (แนวคาตอบ น้าเปน็ ตัวทาละลาย และเกลือเป็นตัวละลาย) - จากการทดลองสารละลายทไี่ ด้มีคณุ สมบัตแิ ตกต่างจากสารตง้ั ต้นอยา่ งไร (แนวคาตอบ สารละลายที่ได้มีสมบัติเป็นของเหลว นาไฟฟ้าได้ และจัดว่าเป็นสารผสมท่ีเกิดจาก สสารตั้ง 2 ชนดิ มาผสมกนั เป็นเน้ือเดียว ขณะสารต้ังต้น เช่น เกลือแกงมีสมบัติเป็นของแข็งไม่นา ไฟฟา้ สว่ นนา้ มีสมบตั เิ ป็นของเหลวนาไฟฟา้ ได้ ซึ่งสารตัง้ ต้นทง้ั สองจดั ว่าเปน็ สารประกอบ เปน็ ตน้ ) - นักเรียนคดิ วา่ สารประกอบแตกต่างอย่างไรกบั สารละลาย (แนวคาตอบ สารประกอบเกดิ จากธาตุ ตั้งแต่ 2 ชนิดมารวมกันทางเคมีกลายเป็นสารชนิดใหม่ที่มี คุณสมบัติแตกต่างไปจากธาตุเดิมท่ีมาเป็นองค์ประกอบ ซึ่งจัดว่าเป็นสารบริสุทธิ์ แต่สารละลาย เกดิ จากสารต้ังแต่ 2 ชนิดมาผสมกนั เป็นเนือ้ เดียวกัน ซึง่ จดั วา่ เป็นสารไมบ่ ริสทุ ธิ)์ ชว่ั โมงที่ 2 ข้นั สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครใู หน้ กั เรียนสบื คน้ วธิ ีการคานวณสารละลาย เพื่อใชเ้ ป็นความร้ใู นการทากจิ กรรม เรือ่ ง การ เตรยี มสารละลาย ตามหนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าท่ี 20 แลว้ บนั ทึกผลลงใน แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสอนการคานวณสารละลายในหนว่ ยรอ้ ยละโดยมวล รอ้ ยละโดยปริมาตร และร้อยละโดยมวลต่อ ปริมาตร เพือ่ ทากิจกรรมการเตรียมสารละลาย 2. ครูสุ่มนกั เรียนออกมาทาโจทยห์ น้าชัน้ เรียน ชว่ั โมงท่ี 3 ขนั้ สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูถามคาถามหลังการทดลอง ดังน้ี - จากกิจกรรม นักเรียนคิดวา่ สารใดเปน็ ตัวละลาย และสารใดเปน็ ตัวทาละลาย (แนวคาตอบ นา้ เปน็ ตัวทาละลาย และโพแทสเซยี มเปอร์แมงกาเนต หรอื ดา่ งทับทิมเปน็ ตัวละลาย) โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 113 - จากกจิ กรรม สขี องสารละลายดา่ งทบั ทมิ ทเี่ ตรียมได้แตกตา่ งกนั หรือไม่ อย่างไร (แนวคาตอบ แตกต่างกนั สขี องสารละลายท่มี ดี ่างทบั ทิม 10 กรมั (ความเข้มข้นมากกว่า) จะมีสีเข้ม กวา่ สารละลายท่มี ีดา่ งทับทิม 5 กรมั (เจือจางกวา่ )) 2. ครสู ุ่มนกั เรียน 6 คน ออกมาคานวณความเข้มข้นของสารละลายท่ีเตรียมได้จากกิจกรรมเป็นหน่วย ร้อยละโดยมวล ร้อยละโดยปริมาตร และร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร ตามลาดับ โดย 3 คนแรก คานวณโดยใช้ปรมิ าณด่างทบั ทิม 5 กรมั และอีก 3 คน คานวณโดยใช้ปริมาณดา่ งทับทมิ 10 กรมั (แนวคาตอบ สารละลายท่ีมีตัวละลายด่างทับทิม 5 กรัม จะมีความเข้มข้นร้อยละโดยมวลเท่ากับ 0.05 รอ้ ยละโดยปริมาตรเทา่ กับ 0.02 และความเขม้ ขน้ ร้อยละโดยมวลตอ่ ปรมิ าตรเท่ากบั 0.05 สารละลายท่ีมีตัวละลายด่างทับทิม 10 กรัม จะมีความเข้มข้นร้อยละโดยมวลเท่ากับ 0.10 รอ้ ยละโดยปริมาตรเท่ากับ 0.04 และความเข้มขน้ ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตรเทา่ กับ 0.10) 3. ครูและนกั เรียนร่วมกันอภิปรายผลท่ไี ด้จากการทากิจกรรม ชว่ั โมงท่ี 4 ขน้ั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษา เรอ่ื ง สารแขวนลอย และคอลลอยด์ ในหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าท่ี 21 2. ครเู ตรียมชุดสาธิตใหน้ กั เรียนศึกษา เรือ่ ง สารผสม จากฐานกิจกรรม ดงั นี้ - ฐานท่ี 1 เตรยี มน้าโคลน 500 mL ในบีกเกอร์ขนาด1000 ml เตรยี มน้านม 500 mL ในบกี เกอรข์ นาด1000 ml - ฐานท่ี 2 ปรากฏการณ์ทินดอลล์ เตรียมนา้ นมผสมนา้ ใหม้ ีปรมิ าตร 300 ml ในบีกเกอร์ขนาด 500 ml เตรยี มนา้ เกลือใหม้ ปี รมิ าตร 300 ml ในบีกเกอรข์ นาด 500 ml ไฟฉาย 1 กระบอก - ฐานท่ี 3 อิมัลชั่น เตรยี มน้ามันพชื นา้ ส้มสายชู และไข่แดงใส่ลงในหลอดทดลองอยา่ งละหลอด 3. ครแู จกใบงานท่ี 1.6 เร่อื ง สารผสม จากน้ันให้นกั เรยี นจบั กล่มุ 3 คน โดยให้สมาชิกภายในกลมุ่ ทา กจิ กรรมฐานต่อไปนี้ - สมาชิกคนท่ี 1 ทากิจกรรมฐานที่ 1 เรอื่ ง ความแตกตา่ งของสารเนอื้ ผสม - สมาชิกคนที่ 2 ทากจิ กรรมฐานที่ 2 เรอื่ ง ปรากฏการณท์ นิ ดอลล์ - สมาชกิ คนที่ 3 ทากจิ กรรมฐานที่ 3 เรื่อง อิมลั ชัน โดยใหส้ มาชิกคนที่ 3 ของแตล่ ะกลุม่ ออกมารับ หลอดทดลอง 1 หลอด และหลอดดดู สาร เพ่ือใช้ทากิจกรรม 4. ครูใหน้ ักเรยี นทากิจกรรมฐานตามขั้นตอนและบันทึกผลลงในใบงานที่ 1.6 เรือ่ ง สารผสม โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 114 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูใหส้ มาชิกภายในกลุ่มนาผลการทดลองทบ่ี ันทกึ ลงในใบงานมาแลกเปลี่ยนขอ้ มลู และอธิบายผล จากกิจกรรมฐานใหส้ มาชกิ ภายในกลุม่ เข้าใจ 2. ครสู ุ่มตวั แทนกลุม่ 1 คน ออกมาสรปุ ผลจากใบงานที่ 1.6 เรือ่ ง สารผสม 3. ครถู ามคาถามเพื่อทดสอบความเข้าใจของนักเรยี น ดังน้ี - สารผสมทกุ ชนิดจดั เป็นสารเนอื้ ผสม นกั เรียนเห็นด้วยกบั ขอ้ ความนี้หรือไม่ อย่างไร (แนวคาตอบ ไม่ สารผสม เกดิ จากสารตง้ั แต่ 2 ชนดิ มาผสมกนั บางชนดิ ผสมกนั เปน็ เนอ้ื เดียวกนั เช่น สารละลาย บางชนดิ ผสมไม่เป็นเนอ้ื เดยี วกัน (สารเนอ้ื ผสม) เชน่ สารแขวนลอย และคอลลอยด์ เป็นต้น) - สารแขวนลอย ต่างจากคอลลอยด์อย่างไร (แนวคาตอบ เมื่อตั้งสารแขวนลอยท้งิ ไว้จะตกตะกอน สว่ นคอลลอยด์เม่อื ต้งั ทง้ิ ไวจ้ ะไมต่ กตะกอน เนอ่ื งจากอนุภาคของสารแขวนลอยด์มีขนาดใหญ่กว่าคอลลอยด)์ - ปรากฏการณท์ นิ ดอลล์ คอื อะไร (แนวคาตอบ ปรากฎการณท์ ี่เกิดจากการหักเห และการกระเจงิ ของแสง เม่ือฉายแสงให้กับสาร แขวนลอย หรือคอลลอยดจ์ ะเห็นเป็นลาแสงส่องผ่านสารชนิดดังกลา่ ว) - อิมัลช่ัน และ อมิ ลั ซไิ ฟเออรม์ คี วามเก่ียวข้องกนั อยา่ งไร (แนวคาตอบ อิมลั ชัน คอื สารผสมที่เกดิ จากของเหลวตงั้ แต่ 2 ชนิด ท่ไี มล่ ะลายซง่ึ กันและกัน และ อมิ ลั ซไิ ฟเออร์ คอื ตัวประสานให้ของเหลว 2 ชนิดที่ไม่ละลายซง่ึ กนั และกัน หรอื อิมัลชันมาผสม รวมกนั ได้) ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครูให้นักเรยี นรวบรวมข้อมลู เร่อื ง สารบริสทุ ธ์แิ ละสารผสม โดยทาในรปู แบบแผนผังมโนทัศน์ท่ีเข้าใจ งา่ ยและสวยงาม ลงในกระดาษ A4 จากนนั้ ใหน้ ักเรยี นสรปุ ว่า สารบรสิ ุทธ์ิและสารผสมมีความ แตกตา่ งกนั อย่างไร 2. ครูให้นกั เรียนทาแบบฝกึ หดั ลงในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจใบงานที่ 1.6 เรื่อง สารผสม 2. ครปู ระเมนิ ผงั มโนทศั น์ เรื่อง สารบริสุทธแิ์ ละสารผสม 3. ครตู รวจแบบฝึกหัดในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 4. ครูกจิ กรรมท้าทายความคิดขน้ั สูงในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 5. ครปู ระเมนิ พฤติกรรมการทางานรายบุคคลจากการสืบคน้ และศึกษา เรอ่ื ง สารละลาย 6. ครูประเมนิ พฤติกรรมการทางานรายกล่มุ จากการทากิจกรรรมฐาน เรอื่ ง สารผสม 7. ครูประเมินผลการนาเสนอใบงาน เรื่อง สารผสม โดยใช้แบบประเมินการนาเสนอผลงาน โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 115 7. การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีวัด เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน รายการวัด - ตรวจใบงานที่ 1.6 - เฉลยใบงานที่ 1.6 เรื่อง ร้อยละ 60 ผา่ น 7.1 การประเมินระหวา่ ง เรอื่ ง สารผสม สารผสม เกณฑ์ การจดั กิจกรรม ระดับคุณภาพ 2 1) สารผสม - ประเมินผงั มโนทศั น์ - แบบประเมินชน้ิ งาน ผ่านเกณฑ์ เรอ่ื ง สารบรสิ ทุ ธิ์และ 2) การนาเสนอผลงาน สารผสม - แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ผ่าน ม.1 เล่ม 1 เกณฑ์ 3) พฤติกรรมการ - ตรวจแบบฝึกหดั ระดบั คุณภาพ 2 ทางานรายบคุ คล - แบบประเมินการนาเสนอ ผ่านเกณฑ์ - ประเมนิ การนาเสนอ ผลงาน 4) พฤตกิ รรมการ ใบงานท่ี 1.6 ระดับคณุ ภาพ 2 ทางานรายกลุ่ม - แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ - สงั เกตพฤติกรรม การทางานรายบคุ คล ระดับคณุ ภาพ 2 5) คุณลกั ษณะอนั พึง การทางานรายบุคคล - แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ ประสงค์ - สงั เกตพฤติกรรม การทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม ระดบั คณุ ภาพ 2 - สังเกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ มนั่ อนั พงึ ประสงค์ ในการทางาน 8. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สอ่ื การเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 2) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3) ภาพสารตัวอย่าง 4) อุปกรณ์การทดลอง เรอื่ ง สารผสม 5) ใบงานที่ 1.6 เรอ่ื ง สารผสม 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 116 9. การบูรณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลักปรัชญา ครู ผเู้ รียน ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านจติ ใจ รจู้ ักใช้เทคโนโลยมี าผลติ ส่ือท่ี มีจติ สานกึ ท่ดี ี จิตสาธารณะร่วม เหมาะสมและสอดคล้องเนื้อหาเป็น อนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ประโยชน์ต่อผเู้ รียนและพัฒนาจากภมู ิ ส่งิ แวดลอ้ ม ปญั ญาของผู้เรยี น 2. ความมเี หตุผล - ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ดว้ ยความ ไม่หยุดนง่ิ ท่ีหาหนทางในชวี ติ หลุดพ้น ถูกตอ้ ง สจุ รติ จากความทกุ ข์ยาก (การคน้ หาคาตอบ เพ่ือให้หลดุ พน้ จากความไม่ร)ู้ 3. มีภูมิคุมกันในตวั ท่ีดี ภมู ปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั รับผิดชอบ ระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ 4. เงื่อนไขความรู้ ความรอบรู้ เรอ่ื ง สารผสม ท่ี ความรอบรู้ เรื่อง สารผสม เกย่ี วขอ้ งรอบดา้ น นาความรู้มา สามารถนาความรูเ้ หลา่ นัน้ มาพจิ ารณา เชอื่ มโยงประกอบการวางแผน การ ให้เกดิ ความเช่ือมโยง สามารถ ดาเนินการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ใู หก้ บั ประยกุ ต์ ผู้เรยี น ใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ 5. เงื่อนไขคณุ ธรรม มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มคี วาม ความซอื่ สตั ย์สุจริตและมีความอดทน ซ่ือสัตยส์ ุจรติ และมีความอดทน มี มีความเพยี ร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการ ความเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการดาเนิน ดาเนนิ ชีวติ ชวี ิต สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครู ผูเ้ รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทาง - สารวจความหลากหลายทางชีวภาพ ชวี ภาพในโรงเรยี น (กาหนดจุดให้ ในโรงเรียน (ตามจุดทีไ่ ด้รบั มอบหมาย) ผูเ้ รียนสารวจ) สิ่งแวดล้อม ครู ผู้เรียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ กั ษ์ความหลากหลาย - การอนุรกั ษค์ วามหลากหลายทาง - สบื คน้ ขอ้ มลู การอนรุ ักษ์ความ ทางชีวภาพ ชีวภาพ (กาหนดหวั ขอ้ ใหผ้ เู้ รียน หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหวั ขอ้ ท่ี สืบคน้ ) ไดม้ อบหมาย) โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 117 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรอื ผ้ทู ีไ่ ด้รบั มอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางสาวณฐั ธนัญา บุญถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ านวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 118 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน  ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤติกรรมท่ีมีปญั หาของนกั เรียนเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตาแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 119 ใบงานที่ 1.6 เร่ือง สารผสม คาชี้แจง ให้นกั เรยี นทากจิ กรรมฐานตอ่ ไปน้ี ฐานท่ี 1 สารใดเป็นสารแขวนลอย ขัน้ ตอนการทดลอง : สังเกตตะกอนท่ีเกดิ ขน้ึ จากบีกเกอรท์ ี่มนี า้ โคลน และบีกเกอรท์ ม่ี ีนา้ นม สาร ลักษณะท่สี งั เกตได้จาก จากการทดลองสารชนิดใดเปน็ สารแขวนลอย เพราะเหตใุ ด นา้ โคลนเป็นสารแขวนลอย เนอ่ื งจากอนุภาคของสารในน้าโคลนมีขนาดใหญ่ เมือ่ ตัง้ ทง้ิ ไวอ้ นุภาคจะตกตะกอน ฐานท่ี 2 ปรากฏการณท์ ินดอลล์ ขน้ั ตอนการทดลอง : นาไฟฉายมาสอ่ งสารผสมท่ีเตรยี มไวใ้ นบีกเกอร์ สงั เกตลาแสงท่ีสอ่ งผา่ นผสม สาร ลกั ษณะทสี่ ังเกตได้จาก น้านมผสมนา้ เห็นลาแสงสอ่ งผ่านสาร นา้ เกลือ ไมเ่ หน็ ลาแสง จากการทดลองสารชนดิ ใดเปน็ คอลลอยด์ เพราะเหตใุ ด น้านมผสมนา้ เป็นสารผสมประเภทคอลลอยด์ เพราะแสงท่สี ่องผ่านสารผสมเกิดการกระเจิงของแสง ซึง่ จากการทดลองน้าเกลอื เป็นสารผสมประเภทใด น้าเกลือเป็นสารละลาย เนอื่ งจากนา้ เกลอื เปน็ สารผสมเนื้ อเดียว จากการทดลองนกั เรียนมวี ธิ ีแยกน้ากลัน่ กับนา้ เกลอื อยา่ งไร นาสารทั้งสองไปหาจุดเดอื ด และจุดหลอมเหลว โดยสารบรสิ ุทธิ์จะมจี ดุ เดอื ดคงที่ และมจี ุดเดือดต่ากวา่ ฐานที่ 3 อิมลั ชัน ขั้นตอนการทดลอง : 1. หยดนา้ มันพชื และน้าสม้ สายชลู งในหลอดทดลอง 2. เขยา่ หลอดทดลอง สังเกตและบนั ทึกผล 3. หยดไข่แดงลงในหลอดทดลองขอ้ 2. สังเกตและบันทกึ ผล ลกั ษณะสารกอ่ นหยดไขแ่ ดง ลักษณะสารหลังหยดไข่แดง เกดิ การแยกช้นั ระหว่างน้ามันกบั น้าสม้ สายชู นา้ มนั และน้าส้มสายชูผสมเปน็ เน้ือเดยี วกัน น้าเกลือ ไม่เหน็ ลาแสง ไขแ่ ดงจดั เป็นสารประเภทใด ทาหน้าท่อี ย่างไร ไขแ่ ดงเป็นอิมลั ซิไฟเออร์ ทาหน้าท่ีเป็นตวั ประสานใหน้ า้ มนั รว มกับ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 120 คาถามท้ายกิจกรรม 1. สารผสมทุกชนดิ จัดเปน็ สารเนื้อผสม นกั เรียนเห็นด้วยกับข้อความน้ีหรอื ไม่ อยา่ งไร ไม่ สารผสม เกดิ จากสารตั้งแต่ 2 ชนดิ มาผสมกนั บางชนิดผสมกนั เปน็ เนื้อเดยี วกนั เช่น สารละลาย บางชนดิ ผสมไมเ่ ปน็ เนอ้ื เดียวกนั (สารเนอ้ื ผสม) เช่น สารแขวนลอย และคอลลอยด์ เปน็ ต้น 2. สารแขวนลอย ตา่ งจากคอลลอยดอ์ ย่างไร ไม่ สารผสม เกิดจากสารต้งั แต่ 2 ชนิดมาผสมกัน บางชนิดผสมกันเปน็ เนอ้ื เดียวกัน เช่น สารละลาย บางชนิดผสมไม่เป็นเน้อื เดยี วกัน (สารเนอ้ื ผสม) เช่น สารแขวนลอย และคอลลอยด์ เป็นต้น 3. ปรากฏการณท์ ินดอลล์ คอื อะไร ไม่ สารผสม เกดิ จากสารตัง้ แต่ 2 ชนิดมาผสมกนั บางชนิดผสมกันเปน็ เน้ือเดียวกัน เช่น สารละลาย บางชนดิ ผสมไม่เป็นเน้ือเดียวกัน (สารเนือ้ ผสม) เช่น สารแขวนลอย และคอลลอยด์ เป็นตน้ 4. อมิ ัลชนั และ อิมลั ซิไฟเออรม์ คี วามเกี่ยวข้องกันอย่างไร ไม่ สารผสม เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดมาผสมกนั บางชนิดผสมกันเปน็ เนอ้ื เดียวกัน เชน่ สารละลาย บางชนดิ ผสมไมเ่ ปน็ เน้ือเดยี วกนั (สารเน้ือผสม) เช่น สารแขวนลอย และคอลลอยด์ เป็นตน้ รวมกันได้ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 121 ใบงานท่ี 1.6 เฉลย เรอ่ื ง สารผสม คาชี้แจง ให้นักเรียนทากจิ กรรมฐานต่อไปนี้ ฐานท่ี 1 สารใดเป็นสารแขวนลอย ขน้ั ตอนการทดลอง : สงั เกตตะกอนท่ีเกดิ ข้ึนจากบีกเกอร์ทม่ี นี า้ โคลน และบกี เกอรท์ ่มี นี ้านม สาร ลักษณะที่สงั เกตไดจ้ าก น้าโคลน เกดิ ตะกอน น้านม ไม่เกดิ ตะกอน จากการทดลองสารชนิดใดเป็นสารแขวนลอย เพราะเหตใุ ด นา้ โคลนเปน็ สารแขวนลอย เน่ืองจากอนภุ าคของสารในน้าโคลนมขี นาดใหญ่ เมอื่ ตงั้ ทง้ิ ไวอ้ นุภาคจะตกตะกอน ฐานท่ี 2 ปรากฏการณท์ นิ ดอลล์ ขน้ั ตอนการทดลอง : นาไฟฉายมาสอ่ งสารผสมที่เตรียมไวใ้ นบีกเกอร์ สังเกตลาแสงที่สอ่ งผ่านผสม สาร ลกั ษณะทีส่ งั เกตไดจ้ าก น้านมผสมน้า เหน็ ลาแสงสอ่ งผา่ นสาร น้าเกลอื ไมเ่ หน็ ลาแสง จากการทดลองสารชนิดใดเป็นคอลลอยด์ เพราะเหตุใด นา้ นมผสมน้าเป็นสารผสมประเภทคอลลอยด์ เพราะแสงท่สี ่องผ่านสารผสมเกิดการกระเจงิ ของแสง จากการทดลองน้าเกลอื เปน็ สารผสมประเภทใด น้าเกลอื เปน็ สารละลาย เนอื่ งจากนา้ เกลือเป็นสารผสมเน้ือเดียว จากการทดลองนกั เรียนมวี ิธแี ยกน้ากล่นั กบั น้าเกลอื อย่างไร นาสารท้ังสองไปหาจุดเดือด และจดุ หลอมเหลว โดยสารบรสิ ทุ ธ์ิจะมจี ุดเดือดคงท่ี และมีจดุ เดือดตา่ กวา่ สารไม่บรสิ ุทธิ์ ส่วนจดุ หลอมเหลวของสารบรสิ ทุ ธิ์จะสงู กว่าและช่วงการหลอมเหลวจะแคบกว่าสารไมบ่ รสิ ุทธ์ิ ฐานที่ 3 อมิ ลั ชน่ั ข้นั ตอนการทดลอง : 1. หยดน้ามันพืชและนา้ ส้มสายชูลงในหลอดทดลอง 2. เขย่าหลอดทดลอง สงั เกตและบันทึกผล 3. หยดไข่แดงลงในหลอดทดลองขอ้ 2. สังเกตและบันทึกผล ลักษณะสารก่อนหยดไขแ่ ดง ลักษณะสารหลังหยดไขแ่ ดง เกดิ การแยกชัน้ ระหว่างนา้ มันกับน้าส้มสายชู นา้ มนั และนา้ ส้มสายชูผสมเป็นเนื้อเดียวกนั น้าเกลอื ไม่เห็นลาแสง ไขแ่ ดงจดั เปน็ สารประเภทใด ทาหน้าทอี่ ยา่ งไร ไข่แดง เป็นอิมัลซไิ ฟเออร์ ทาหน้าที่เป็นตัวประสานให้นา้ มันรวมกบั น้าสม้ สายชไู ด้ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 122 คาถามทา้ ยกจิ กรรม 1. สารผสมทกุ ชนิดจัดเปน็ สารเน้อื ผสม นักเรียนเห็นดว้ ยกับขอ้ ความนี้หรอื ไม่ อย่างไร ไม่ สารผสม เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดมาผสมกัน บางชนดิ ผสมกนั เปน็ เนอ้ื เดยี วกัน เชน่ สารละลาย บางชนดิ ผสมไม่เปน็ เนื้อเดยี วกัน (สารเนอื้ ผสม) เช่น สารแขวนลอย และคอลลอยด์ เปน็ ต้น 2. สารแขวนลอย ตา่ งจากคอลลอยด์อย่างไร เมื่อตงั้ สารแขวนลอยท้ิงไวจ้ ะตกตะกอน ส่วนคอลลอยด์ เมอื่ ต้งั ทิง้ ไว้จะไม่ตกตะกอน เนอ่ื งจากอนภุ าค ของสารแขวนลอยด์มขี นาดใหญก่ ว่าคอลลอยด์ 3. ปรากฏการณท์ นิ ดอลล์ คืออะไร ปรากฎการณท์ ีเ่ กิดจากการหกั เห และการกระเจิงของแสง เมอื่ ฉายแสงใหก้ ับสารแขวนลอย หรอื คอลลอยด์จะเห็นเป็นลาแสงส่องผ่านสารชนดิ ดังกล่าว 4. อิมัลชนั และ อิมัลซิไฟเออรม์ ีความเกี่ยวข้องกนั อยา่ งไร อิมัลชัน คอื สารผสมท่ีเกดิ จากของเหลวตัง้ แต่ 2 ชนิด ท่ไี ม่ละลายซ่งึ กนั และกนั และอิมัลซไิ ฟเออร์ คือ ตัวประสานให้ของเหลว 2 ชนิดทไี่ ม่ละลายซงึ่ กันและกัน หรอื อิมลั ชันมาผสมรวมกันได้ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 123 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นที่ 1/2562 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ (ว 21101) หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 สารรอบตัว จานวนเวลาที่สอน 5 ชว่ั โมง เร่อื ง สมบัตขิ องสารบรสิ ุทธแ์ิ ละสารผสม ผู้สอน นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเขา้ ใจทคี่ งทน) สารผสมเกดิ จากสารตง้ั แต่ 2 ชนดิ ขนึ้ ไปมาผสมกนั โดยสารผสมบางชนดิ ผสมเป็นเนือ้ เดียวกัน เรียกว่า สารละลาย ซึ่งประกอบดว้ ยตวั ละลายและตัวทาละลาย ซ่ึงตัวทาละลายจะมีปริมาณมากกว่าและมีสถานะ เดียวกับสารละลาย นอกจากนี้สารผสมบางชนิดผสมไม่เป็นเน้ือเดียวกัน เรียกว่า สารเน้ือผสม ซ่ึงมี 2 ประเภท คือ สารแขวนลอยและคอลลอยด์ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั ช้ันป/ี ผลการเรียนรู/้ เป้าหมายการเรยี นรู้ 2.1 ตวั ชี้วดั ว 2.1 ม.1/4 เปรียบเทยี บจุดเดอื ด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธ์แิ ละสารผสม โดยการวัดอณุ หภูมิ เขยี นกราฟ แปลความหมายขอ้ มูลจากกราฟหรือสารสนเทศ ว 2.1 ม.1/5 อธิบายและเปรยี บเทียบความหนาแน่นของสารบรสิ ุทธแิ์ ละสารผสม ว 2.1 ม.1/6 ใช้เครือ่ งมอื วัดมวลและปริมาตรของสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละสารผสม 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายความหนาแนน่ ของสารบริสุทธแ์ิ ละสารผสมได้ 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) เปรยี บเทยี บจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบรสิ ุทธิ์และสารผสมได้ 3) เปรยี บเทยี บความหนาแน่นของสารบริสทุ ธิ์และสารผสมได้ 4) ใช้เคร่อื งมอื วัดมวลและปรมิ าตรของสารบรสิ ทุ ธิแ์ ละสารผสมได้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 5) ใฝร่ ้แู ละรับผดิ ชอบต่องานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge (ผเู้ รยี นตอ้ งร้อู ะไร) โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 124 - สารบริสทุ ธป์ิ ระกอบด้วยสารเพียงชนดิ เดยี ว สว่ นสารผสมประกอบดว้ ยสารตง้ั แต่ 2 ชนิด ขนึ้ ไป สารบริสทุ ธิ์แตล่ ะชนิดมสี มบัติบางประการที่เปน็ ค่าเฉพาะตวั เชน่ จุดเดือดและจดุ หลอมเหลวคงท่ี แต่สารผสมมจี ุดเดือดและจดุ หลอมเหลวไม่คงที่ ขึ้นอยู่กบั ชนดิ และสดั ส่วนของสารที่ผสมอยู่ดว้ ยกัน - สารบริสทุ ธแ์ิ ต่ละชนดิ มีความหนาแน่นหรอื มวลตอ่ หน่งึ หน่วยปริมาตรคงที่ เป็นคา่ เฉพาะ ของสารน้นั ณ สถานะและอณุ หภูมิหนึ่ง แต่สารผสมมคี วามหนาแนน่ ไม่คงท่ีข้นึ อยกู่ ับชนดิ และสัดส่วนของ สารท่ผี สมอย่ดู ้วยกนั ระหวา่ งอนภุ าคน้อยท่ีสุด อนภุ าคเคลือ่ นทไี่ ด้อย่างอสิ ระทุกทิศทาง ทาให้มรี ูปร่างและ ปริมาตรไมค่ งที่ 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รียนสามารถปฏบิ ตั อิ ะไรได)้ - ทักษะการสรา้ งคาอธิบาย - ทกั ษะการส่ือความหมาย - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะการสืบคน้ โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 4.3 คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ : Attitude (ผู้เรียนควรแสดงพฤติกรรมการเรยี นอะไรบ้าง) - ซือ่ สัตย์สุจรติ - มวี นิ ยั - ใฝเ่ รยี นรู้ - ม่งุ ม่ันในการทางาน 5. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียนและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี นิ ัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทักษะการสงั เกต 3. มงุ่ ม่ันในการทางาน 2) ทกั ษะการระบุ 3) ทกั ษะการเปรียบเทียบ 4) ทกั ษะการจาแนกประเภท 5) ทกั ษะการใหเ้ หตุผล 6) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู 7) ทักษะการสารวจคน้ หา 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 125 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงท่ี 1 ขั้นนา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครแู จง้ ผลการเรียนรูใ้ ห้นกั เรียนทราบ 2. ครูนาแกว้ มา 2 ใบ โดยใบหน่ึงใสน่ ้าเกลือ และอกี ใบหนึ่งใส่น้าธรรมดา จากนน้ั ครหู ย่อนลกู ปดั ลงใน แก้วทมี่ นี ้าเกลอื และนา้ ธรรมดา จากนั้นครูให้นักเรียนเปรยี บเทียบผลท่ีเกิดขน้ึ เพือ่ ให้นกั เรยี นเห็นถึง ความแตกตา่ งของสารบริสุทธกิ์ ับสารผสม ขน้ั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูล หรือศึกษาจากหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าท่ี 22 ว่า เพราะเหตใุ ดลูกปัดจงึ จมในนา้ เกลือ แต่กลับลอยในน้าธรรมดา เพือ่ เกรน่ิ นาใหเ้ รยี นร้จู กั ความ หนาแน่นจาเพาะของสาร ซึง่ เปน็ สมบัติทางกายภาพ 2. ครูเกรน่ิ นาวา่ สารบริสทุ ธิแ์ ละสารผสมมีสมบัตทิ างกายภาพ เชน่ จุดเดอื ด จดุ หลอมเหลว ความ หนาแน่น เปน็ ตน้ ท่ีแตกต่างกัน 3. ครูให้นักเรียนศึกษา เรื่อง สมบัติของสารบริสุทธิ์และสารผสมในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าที่ 22 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มเรียกนักเรียนออกมาอธิบายผลจากการสืบค้นข้อมูลหน้าช้ันเรียน 2. ครูเฉลยคาตอบ และเพิ่มเติมความรู้ให้กับนักเรียนว่า เพราะเหตุใดลกู ปัดจงึ ลอยในน้าทะเล แต่ กลบั จมในน้าธรรมดา (แนวคาตอบ เพราะ นาเกลอื เปน็ สารผสม ทคี่ วามหนาแน่นมากกวา่ นาธรรมดาซ่ึงเปน็ สารบริสทุ ธิ์ จึงเป็นเหตุลูกปัดลอยในนาได้) 3. ครอู ธบิ ายเพมิ่ เติมเกีย่ วกับความหนาแนน่ จาเพาะของสารในกรอบ Science focus ช่ัวโมงที่ 2 สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหน้ ักเรยี นแบง่ กล่มุ ออกเปน็ 4 กลุ่ม ศกึ ษากจิ กรรม การตรวจสอบสารบริสุทธ์ิและสารละลาย ใน ตอนที่ 1 จากนนั้ ครอู ธบิ ายขัน้ ตอนการทดลองในตอนที่ 1 อย่างละเอียด ตามหนงั สือเรียน วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าท่ี 23 2. ครูให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มทากิจกรรมตอนที่ 1 เรื่อง การหาจดุ เดือดของเอทานอล และสารละลายกลี เซอรอลในเอทาน แล้วบนั ทกึ ผลลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 126 ช่ัวโมงที่ 3 สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุ่มเดมิ ศกึ ษากิจกรรม การตรวจสอบสารบรสิ ุทธิ์และสารละลาย ในตอนที่ 2 จากนนั้ ครอู ธบิ ายขั้นตอนการทดลองในตอนท่ี 2 อยา่ งละเอียด ตามหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนา้ ที่ 23 2. ครูให้นกั เรียนแบ่งกลุ่มเดมิ จากชวั่ โมงท่แี ลว้ เพอื่ ทากจิ กรรมตอนที่ 2 เร่ือง การหาจดุ หลอมเหลวของ แนฟทาลนี และสารละลายกรดเบนโซอิคในแนฟทาลนี แลว้ บันทกึ ผลลงในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ชั่วโมงท่ี 4 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลจากกิจกรรมการตรวจสอบสารบรสิ ทุ ธแิ์ ละ สารละลาย ทัง้ ในตอนที่ 1 และตอนท่ี 2 จากชว่ั โมงที่แลว้ 2. ครูและนกั เรียนร่วมกันอภิปรายผลกิจกรรมการตรวจสอบสารบริสทุ ธิ์และสารละลาย 3. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันตอบคาถามท้ายกจิ กรรม แลว้ บันทึกลงในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 แนวตอบคาถามท้ายกิจกรรม 1. เพราะ การให้ความรอ้ นโดยตรงแกห่ ลอดทดลอง และหลอดคะปิลลารีจะทาให้อ่านอณุ หภมู ขิ องจดุ เดอื ด และจดุ หลอมเหลวของสารไม่ทัน 2. แตกตา่ งกนั เพราะ เอทานอลเปน็ สารบริสุทธิ์จะมีจุดเดอื ดคงท่ี และตา่ กว่าสารผสม โดยกลเี ซอรอลที่ ผสมกับเอทานอลซ่ึงเปน็ สารไมบ่ ริสทุ ธ์ิ หรือสารผสมจะมีจดุ เดอื ดท่ีสูงกว่า 3. แตกต่างกนั เพราะ แนฟทาลีนเปน็ สารบริสทุ ธิ์จะมีจดุ หลอมเหลวสงู กวา่ สารผสม โดยสารละลาย เบนโซอคิ ในแนฟทาลีนซึง่ เปน็ สารไม่บรสิ ุทธิ์ หรอื สารผสมจะมีจุดหลอมเหลวต่ากว่า ชั่วโมงที่ 5 ข้ันสรุป ขยายความรู้ (Expand) 1. ครใู ห้นักเรียนศึกษาสมบัติตอลลเิ กทฟี ของสารละลาย ใน science focus จากหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 เพอ่ื ขยายความใจวา่ เพราะเหตุใดสารบริสุทธจ์ิ งึ มจี ุดเดือดตา่ กว่าสารผสม และสารบรสิ ุทธ์ิมจี ุดหลอมเหลวสูงกวา่ สารผสม 2. ครูใหน้ กั เรยี นทา self check และ Unit Question 3. ครใู หน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบทา้ ยหนว่ ย 4. ครูให้นกั เรียนทาแบบทดสอบทา้ ยเล่ม ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 5. ครใู หน้ ักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 127 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูเฉลย self check และ Unit Question แลว้ ใหน้ ักเรยี นประเมนิ ตนเอง 2. ครูตรวจแบบฝึกหดั ท้ายเลม่ จากแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3. ครูตรวจแบบฝกึ หัดในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 4. ครูตรวจแบบทดสอบทา้ ยหน่วยที่ 1 ในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 5. ครตู รวจแบบฝึกหดั ท้ายเลม่ ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 6. ครปู ระเมินผลงานจากการทากจิ กรรมกลุ่มจาก group activity 7. ครูประเมนิ ผลการทากจิ กรรม การตรวจสอบสารบริสทุ ธ์ิและสารละลาย โดยใช้แบบประเมนิ การ ปฏิบัติการ 8. ครูประเมินผลการทางานรายกลุ่ม จากการทากิจกรรมการตรวจสอบสารบริสุทธิแ์ ละสารละลาย 9. ครตู รวจแบบทดสอบหลงั เรยี น 7. การวดั และประเมินผล วธิ วี ัด เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวดั - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ผ่าน 7.1 การประเมินระหว่าง - สงั เกตพฤติกรรม ม.1 เล่ม 1 เกณฑ์ การจัดกจิ กรรม การทางานรายกลุ่ม ระดบั คุณภาพ 2 1) สมบตั ิของสารบริสุทธ์ิ - แบบสงั เกตพฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์ และสารผสม การทางานรายกลมุ่ 2) พฤติกรรมการทางาน รายกลุ่ม 3) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ การ ระดับคุณภาพ 2 ปฏบิ ตั กิ าร การปฏบิ ัตกิ าร ปฏิบัติการ ผา่ นเกณฑ์ 4) คุณลักษณะอนั พึง - สงั เกตความมีวินัย - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะ ระดับคณุ ภาพ 2 ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่ัน ในการทางาน อนั พงึ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ 7.2 การประเมนิ หลังเรยี น - แบบทดสอบหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน ประเมินตามสภาพ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 หลงั เรียน จรงิ เรื่อง สารรอบตัว โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 128 8. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3) อปุ กรณก์ ารทดลอง เร่ือง ความหนาแน่น เชน่ น้าเกลือ นา้ ธรรมดา คลปิ หนีบกระดาษ เป็นตน้ 4) อปุ กรณก์ ารทดลอง เรื่อง การตรวจสอบสารบรสิ ุทธ์ิและสารผสม 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) หอ้ งปฏิบตั ิการ 9. การบรู ณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรชั ญา ครู ผเู้ รียน ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดีดา้ นจิตใจ รจู้ กั ใชเ้ ทคโนโลยีมาผลิตสอ่ื ท่ี มีจติ สานกึ ทีด่ ี จติ สาธารณะรว่ ม 2. ความมเี หตุผล อนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ 3. มภี มู ิคุมกนั ในตวั ท่ดี ี เหมาะสมและสอดคลอ้ งเน้ือหาเปน็ สง่ิ แวดล้อม 4. เงือ่ นไขความรู้ ประโยชน์ต่อผู้เรียนและพัฒนาจากภมู ิ ปัญญาของผูเ้ รยี น ไมห่ ยดุ นง่ิ ทหี่ าหนทางในชวี ติ หลุดพน้ 5. เงือ่ นไขคณุ ธรรม - ยึดถือการประกอบอาชีพดว้ ยความ จากความทกุ ข์ยาก (การคน้ หาคาตอบ ถกู ตอ้ ง สุจรติ เพ่อื ใหห้ ลดุ พน้ จากความไม่ร)ู้ ภูมิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ รับผิดชอบ ระมดั ระวัง สร้างสรรค์ ระมัดระวงั ความรอบรู้ เรื่อง สมบตั ิของสาร ความรอบรู้ เร่ือง สมบตั ิของสาร บริสทุ ธ์ิและสารผสม สามารถนา บริสุทธแ์ิ ละสารผสม ท่เี กยี่ วขอ้ ง ความรเู้ หล่านัน้ มาพิจารณาให้เกดิ รอบด้าน นาความรมู้ าเช่ือมโยง ความเชอื่ มโยง สามารถประยกุ ต์ ประกอบการวางแผน การดาเนนิ การ ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ จดั กิจกรรมการเรยี นร้ใู ห้กับผ้เู รียน มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ ซ่อื สตั ยส์ จุ ริตและมคี วามอดทน มี มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี ความเพยี ร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ความซ่ือสตั ยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน ชวี ติ มีความเพียร ใชส้ ติปัญญาในการ ดาเนนิ ชวี ติ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 129 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผ้เู รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทางชีวภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดทไ่ี ด้รับมอบหมาย) - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทาง ผู้เรยี น ชีวภาพในโรงเรียน (กาหนดจดุ ให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นขอ้ มลู การอนุรกั ษ์ความ ผู้เรียนสารวจ) หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหัวขอ้ ที่ ได้มอบหมาย) ส่งิ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรกั ษค์ วามหลากหลาย - การอนุรกั ษ์ความหลากหลายทาง ทางชีวภาพ ชีวภาพ (กาหนดหัวข้อใหผ้ ู้เรยี น สบื คน้ ) โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 130 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรือผูท้ ่ไี ด้รับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บุญถงึ ) ………./……………./…………. 10.2 รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ านวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 131 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน  ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤติกรรมท่ีมีปญั หาของนกั เรียนเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตาแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 132 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 หนว่ ยของสิง่ มีชวี ิต เวลา 12 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์ ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ ของโครงสรา้ งและหนา้ ทีข่ องอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ที่ทางานสัมพนั ธ์กัน รวมทง้ั นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ว 1.2 ม.1/1 เปรยี บเทียบรูปรา่ งและโครงสร้างของเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์ รวมทั้งบรรยายหน้าท่ี ของผนงั เซลล์ เยื่อหมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์ ว 1.2 ม.1/2 ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงศึกษาเซลลแ์ ละโครงสรา้ งต่าง ๆ ภายในเซลล์ ว 1.2 ม.1/3 อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรปู ร่างกับการทาหน้าทีข่ องเซลล์ ว 1.2 ม.1/4 อธบิ ายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเร่ิมจากเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะจนเป็น สงิ่ มีชีวติ ว 1.2 ม.1/5 อธบิ ายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และยกตัวอย่าง การแพร่และการออสโมซิสในชีวิตประจาวนั 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง 1) เซลล์เป็นหน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตบางชนิดมีเซลล์เพียงเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามเี ซยี ม ยีสต์ บางชนิดมีหลายเซลล์ เช่น พชื สัตว์ 2) โครงสร้างพ้ืนฐานที่พบท้ังในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ และสามารถสังเกตได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์ ใช้แสง ได้แก่ เย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส โครงสร้างท่ีพบในเซลล์พืชแต่ไม่พบ ในเซลลส์ ัตว์ ไดแ้ ก่ ผนงั เซลล์ และคลอโรพลาสต์ 3) โครงสร้างตา่ ง ๆ ของเซลลม์ ีหนา้ ท่ีแตกตา่ งกัน - ผนังเซลล์ ทาหนา้ ท่ใี ห้ความแขง็ แรงแกเ่ ซลล์ - เยื่อหุ้มเซลล์ ทาหน้าท่หี อ่ หุ้มเซลล์ และควบคุมการลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ - นวิ เคลยี ส ทาหนา้ ที่ควบคมุ การทางานของเซลล์ - ไซโทพลาซมึ มีออรแ์ กแนลลท์ ี่ทาหน้าท่ีแตกต่างกัน - แวคิวโอล ทาหนา้ ที่เกบ็ นา้ และสารตา่ ง ๆ - ไมโทคอนเดรีย ทาหนา้ ทส่ี ลายสารอาหารเพอ่ื ให้ไดพ้ ลังงานแก่เซลล์ - คลอโรพลาสต์ เปน็ แหลง่ ท่เี กดิ การสังเคราะหด์ ้วยแสง โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 133 4) เซลลข์ องส่งิ มชี ีวิตมรี ปู รา่ งลกั ษณะทหี่ ลากหลาย และมีความเหมาะสมกับหน้าท่ีของเซลล์นั้น เช่น เซลล์ประสาท สว่ นใหญ่มีเส้นใยประสาทเป็นแขนงยาว นากระแสประสาทไปยังเซลล์อ่ืน ๆ ที่อยู่ ไกลออกไป เซลลข์ นรากเปน็ เซลลผ์ วิ ของรากท่มี ผี นงั เซลล์และเยื่อหุ้มเซลล์ยืน่ ยาวออกมา ลักษณะ คลา้ ยขนเส้นเล็ก ๆ เพ่ือเพม่ิ พืน้ ทผี่ ิวในการดูดน้าและแรธ่ าตุ 5) พชื และสตั ว์เปน็ สงิ่ มีชวี ิตหลายเซลลม์ กี ารจัดระบบ โดยเร่มิ จากเซลล์ไปเป็นเนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบ อวัยวะ และส่ิงมีชีวิต ตามลาดับ เซลล์หลายเซลล์มารวมกันเป็นเนื้อเย่ือ เนื้อเยื่อหลายชนิดมา รวมกันและทางานร่วมกันเป็นอวัยวะ อวัยวะต่าง ๆ ทางานร่วมกันเป็นสิ่งมีชีวิตนอกจากน้ี ในกระดูก ฟัน และกลา้ มเนือ้ จะมธี าตเุ ปน็ องคป์ ระกอบด้วย 6) เซลลม์ ีการนาสารเข้าส่เู ซลล์เพอ่ื ใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ของเซลล์ และมีการขจัดสารบางอย่างที่ เซลล์ไม่ตอ้ งการออกนอกเซลล์ การนาสารเข้าและออกจากเซลล์มีหลายวิธี เช่น การแพร่เป็นการ เคลอ่ื นท่ีของสารจากบรเิ วณท่มี ีความเข้มข้นของสารสูงไปส่บู ริเวณที่มคี วามเข้มขน้ ของสารต่า ส่วน ออสโมซิสเป็นการแพร่ของน้าผ่านเย่ือหุ้มเซลล์จากด้านท่ีมีความเข้มข้นของสารละลายต่าไปยัง ด้านท่ีมีความเขม้ ข้นของสารละลายสงู กว่า 2.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่ (พิจารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา) 3. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด สิง่ มชี ีวิตทุกชนดิ มีเซลล์ (cell) เป็นหน่วยที่เล็กทส่ี ดุ เปน็ องค์ประกอบของส่ิงมีชีวิต ส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียว สามารถดารงชวี ิตอยไู่ ด้เพียงเซลล์เดยี ว แตส่ ่ิงมชี วี ิตหลายเซลล์จาเปน็ ต้องมีเซลล์หลายเซลล์มารวมกัน เพื่อ ทาหน้าท่ีเดียวกัน ซ่ึงเซลล์แต่ละชนิดจะมีรูปร่าง และหน้าท่ีแตกต่างกัน ซึ่งส่ิงมีชีวิตล้วนมีองค์ประกอบ พ้นื ฐานของเซลล์ท่เี หมอื นกัน ได้แก่ นิวเคลียส ไซโตพลาซึม และเย่ือหุ้มเซลล์ นอกจากน้ีในการดารงชีวิต ของส่งิ มชี ีวิตจาเป็นต้องมีกระบวนการแพรแ่ ละออสโมซิสเพอ่ื ลาเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ 4. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มีวินัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทกั ษะการสงั เกต 3. มุ่งมน่ั ในการทางาน 2) ทักษะการระบุ 4. อยู่อย่างพอเพียง 3) ทักษะการเปรียบเทียบ 4) ทกั ษะการจาแนกประเภท 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 134 5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - แผ่นพบั เรอ่ื ง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ - รายงาน เรือ่ ง การแพรแ่ ละการออสโมซิสในชวี ิตประจาวนั 6. การวดั และการประเมนิ ผล รายการวัด วิธีวัด เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน 6.1 การประเมินช้นิ งาน/ - แผ่นพับ เร่อื ง เซลล์พืช - แบบประเมนิ ช้นิ งาน ระดับคุณภาพ 2 ภาระงาน (รวบยอด) และเซลล์สตั ว์ ผา่ นเกณฑ์ - รายงาน เรื่อง การแพร่ - แบบประเมินชนิ้ งาน ระดบั คุณภาพ 2 และการออสโมซสิ ผา่ นเกณฑ์ 6.2 การประเมินกอ่ นเรียน - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมินตามสภาพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 กอ่ นเรยี น จริง เร่อื ง หนว่ ยของสงิ่ มีชีวติ 6.3 การประเมนิ ระหวา่ งการ จัดกจิ กรรม 1) เซลล์ของสิ่งมชี ีวติ - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ผา่ น ม.1 เล่ม 1 เกณฑ์ 2) เซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ - ตรวจใบงานที่ 2.1 - เฉลยใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60 ผา่ น เกณฑ์ - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผา่ น ม.1 เลม่ 1 เกณฑ์ 3) การแพร่และออสโมซสิ - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ผ่าน ม.1 เลม่ 1 เกณฑ์ 6.4 การประเมินหลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน ประเมนิ ตามสภาพ - แบบทดสอบหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบ จริง หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 หลงั เรยี น เรอ่ื ง หน่วยของสิง่ มชี ีวิต โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 135 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ เวลา 5 ชว่ั โมง เวลา 3 ชว่ั โมง นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 เรื่อง หนว่ ยของสง่ิ มชี วี ติ เวลา 4 ช่ัวโมง • แผนฯ ท่ี 1 : เซลล์ของสิง่ มชี ีวิต วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 2 : เซลลพ์ ืชและเซลลส์ ตั ว์ วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 3 : การแพรแ่ ละออสโมซสิ วธิ ีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) 8. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 2) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3) ภาพนาเสนอส่ิงมชี ีวิตเซลล์เดียว 4) ภาพนาเสนอโครงสร้างเซลล์พืช และเซลล์สตั ว์ 5) ใบงานท่ี 2.1 เรือ่ ง เซลลข์ องสิง่ มชี วี ิต 6) วดิ ที ัศนจ์ ากส่ือ youtube เร่ือง การเคลือ่ นทข่ี องคน และการเคลอ่ื นท่ีของพารามเี ซยี ม 7) ส่อื twig ภาพยนตรส์ ารคดีสน้ั เร่ือง เซลล์คืออะไร 8) สอ่ื twig ภาพยนตรส์ ารคดีสน้ั เร่ือง เยอื่ หุ้มเซลล์ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) ห้องปฏบิ ัติการทดลอง 3) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ - https://www.youtube.com/watch?v=icFMTB0Pi0g - https://www.youtube.com/watch?v=3ogFBAoZjo8 โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 136 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 คาชแี้ จง : ใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. สิ่งท่เี ล็กที่สดุ ในรา่ งกายสิง่ มีชวี ิตทุกชนิด 6. เซลล์พชื แตกต่างจากเซลล์สตั วอ์ ย่างไร คอื ขอ้ ใด ก. เซลลพ์ ืชมีผนังเซลล์ ก. เนอื้ เย่อื ค. อวัยวะ ข. เซลล์พืชมีเย่ือห้มุ เซลล์ ข. เซลล์ ง. ระบบอวยั วะ ค. เซลลส์ ัตวม์ ผี นงั เซลล์ 2. สง่ิ มชี ีวิตในข้อใด ไมใ่ ช่ สิง่ มชี ีวติ เซลลเ์ ดยี ว ง. เซลล์พชื และเซลล์สัตว์ไมม่ ีส่ิง ก. อะมีบา ค. ยกู ลีนา ใดแตกต่าง ข. พารามีเซยี ม ง. ไฮดรา 7. ออรแ์ กเนลล์ชนดิ ใดพบในส่ิงมีชีวติ 3. สง่ิ มีชีวิตชนิดใดแตกตา่ งจากพวก ทุกชนดิ ก. แบคทเี รยี ค. พยาธิ ก. นิวเคลยี สข. พยาธิ ค. ผนงั เซลล์ ข. พารามีเซียม ง. ไดอะตอม ข. คลอโรพลาสต์ ง. เซนทรโิ อล 4. ข้อใดกลา่ วถงึ ลักษณะและหนา้ ทข่ี องเซลล์ 8. เซลล์ในขอ้ ใดไมพ่ บคลอโรพลาสต์ ไดส้ ัมพนั ธ์กนั ก. เซลล์ใบวา่ นกาบหอย ก. เม็ดเลือดแดงไมม่ ีนิวเคลียสเพอื่ จับกับ ข. เซลล์ใบสาหรา่ ยหางกระรอก ออกซิเจนไดม้ ากขน้ึ ค. เซลล์เย่อื หัวหอมแดง ข. เซลลอ์ สุจิมสี ่วนหางท่ียาวช่วยในการ ง. เซลลใ์ บวา่ นหางจระเข้ เคลอื่ นที่ 9. ข้อใด ไม่ใช่ การแพร่ของสารในสงิ่ มีชวี ิต ค. วลิ ลสั มีส่วนทีย่ ืน่ คล้ายนวิ้ มือ ชว่ ยเพิ่ม ก. การแพรข่ องแกส๊ ออกซเิ จน พนื้ ท่ผี วิ ในการดูดซมึ ข. การแพร่ของแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ ง. เซลล์ประสาทเป็นเสน้ ใยยาวทาหนา้ ที่ ท่ปี ากใบพืช รับ-ส่งกระแสประสาท ค. การดูดซึมแรธ่ าตใุ นดนิ ของพืช 5. อปุ กรณ์ใดท่ีใชว้ ินิจฉัยโรคที่เกดิ จาก ง. การเปิด-ปิดปากใบของพชื แบคทเี รีย 10. เยือ่ เลือกผ่านมีสมบัตยิ อมให้สารชนิดใดผ่านได้ ก. แว่นขยาย ข. กลอ้ งจลุ ทรรศน์ ก. น้าตาล ข. กลอ้ คงจ. ลุโปทรตรีนศน์ ค. กลอ้ งโทรทัศน์ ง. กลอ้ งถา่ ยรูป ข. นา้ ง. โซเดยี มไอออน เฉลย 1. ข 2. ง 3. ข 4. ก 5. ข 6. ง 7. ข 8. ค 9. ง 10. ข โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 137 แบบทดสอบหลงั เรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 คาชแ้ี จง : ให้นกั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้อง 6. หากนาเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์ไปแช่ใน ก. ไวรัสเปน็ สงิ่ มชี วี ติ เซลล์เดียว สารละลายทมี่ ีความเขม้ ต่ากว่าจะให้ผล ข. เซลล์ทกุ ชนิดมรี ปู ร่างเหมือนกัน อย่างไร ค. เซลล์ทุกชนดิ มีผนังเซลล์ ก. เซลล์พืชจะเตง่ เน่อื งจากมีผนงั เซลล์ ง. สิ่งมชี ีวติ ทกุ ชนิดมีเซลลเ์ ป็นองค์ประกอบ ข. เซลล์สัตว์จะเตง่ เนื่องจากมีเย่ือหมุ้ เซลล์ 2. สง่ิ มชี ีวติ คใู่ ดจัดเปน็ สง่ิ มชี ีวติ ประเภทเดียวกัน ค. ทั้งเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั วแ์ ตก เนือ่ งจากไม่ ก. พยาธิ - ไฮดรา มผี นงั เซลล์ ข. แบคทีเรยี - ไวรสั ง. ท้งั เซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ไม่มกี าร ค. ยูกลีนา - ยสี ต์ เปลีย่ นแปลง เนอ่ื งจากมีผนังเซลล์ ง. สาหรา่ ยหางกระรอก - ไซยาโนแบคทีเรยี 7. ออร์แกเนลลช์ นิดใดมคี วามสมั พนั ธก์ ัน 3. สง่ิ มีชวี ติ ในข้อใดดารงชวี ติ อยไู่ ด้เม่อื นวิ เคลียส ก. กอลจบิ อดี - ร่างแหเอนโดพลาซมึ ในเซลลถ์ ูกทาลาย ข. แวคิวโอ - ไมโทคอนเดรยี ก. ยีสต์ ค. ไดอะตอม ค. คลอโรพลาสต์ - ผนังเซลล์ ข. พยาธิ ง. สาหร่ายหางกระรอก ง. เซนทรโิ อ - ไมโทคอนเดรีย 4. ข้อใดกล่าวถึงลกั ษณะและหน้าที่ของเซลล์ได้ 8. เซลล์เยอ่ื บุขา้ งแก้มมอี งค์ประกอบเหมอื นกบั สมั พันธก์ ัน เซลลใ์ ด ก. ทอ่ ไซเลม็ กลวงยาว - ลาเลยี งน้า ก. เซลล์คมุ ค. เซลล์ว่านกาบหอย ข. ทอ่ โฟลเอ็มหัวทา้ ยมรี พู รนุ - ลาเลียงน้า ข. เซลล์สาหรา่ ย ง. เซลล์เมด็ เลือดแดง ค. เซลลค์ มุ คล้ายเมล็ดถ่ัว - ลาเลยี งอาหาร 9. เย่อื หมุ้ เซลลม์ ีสมบัติเหมือนกับข้อใด ง. เซลลข์ นรากเปน็ แผ่นยาว - ลาเลยี งอาหาร ก. กระดาษกรอง ค. ถุงเซลโลเฟน 5. หากหมนุ จากหมุนไปทเ่ี ลนส์ใกล้วตั ถุ 40x เพือ่ ข. ถุงพลาสตกิ ง. ผา้ ขาวบาง สอ่ งวตั ถุ A เราจะเห็นวัตถุผ่านกลอ้ งจุลทรรศน์ 10. การแพร่แตกต่างกับการออสโมซสิ อย่างไร ด้วยกาลงั ขยายเท่าไร ก. การแพรเ่ ป็นกระบวนการเคลื่อนทข่ี องน้า ก. 4X ข. 40X ข. การออสโมซสิ เป็นการเคลื่อนท่ขี องสาร ค. 400X ง. 4000X ค. การแพรเ่ ป็นกระบวนการเคล่อื นท่ีของสาร ง. การออสโมซิสเปน็ การเคลื่อนท่ีนา้ และสาร เฉลย 1. ง 2. ค 3. ข 4. ก 5. ค 6. ก 7. ก 8. ง 9. ค 10. ค โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 138 9. ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรอื ผทู้ ี่ได้รบั มอบหมาย ขอ้ เสนอแนะ ลงชอื่ ................................. ( ................................ ) ตาแหน่ง ....... 10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น  ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรอื พฤตกิ รรมท่มี ปี ญั หาของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล (ถา้ มี))  ปญั หา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 139 แบบประเมนิ การปฏิบัตกิ าร แผนฯ ที่ 2,3 คาชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอนประเมินการปฏิบตั ิการของนกั เรยี นตามรายการท่กี าหนด แลว้ ขดี  ลงในชอ่ งท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 1 การปฏิบตั กิ ารทดลอง 2 ความคลอ่ งแคลว่ ในขณะปฏิบัติการ 3 การนาเสนอ รวม ลงชอื่ ................................................... ผูป้ ระเมนิ ................./................../.................. โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่