Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2019-05-01 12:08:48

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 140 เกณฑก์ ารประเมินการปฏบิ ัติการ ประเดน็ ท่ปี ระเมิน 4 ระดับคะแนน 1 32 ต้องใหค้ วามชว่ ยเหลือ 1. การปฏบิ ัตกิ าร ทาการทดลองตาม ทาการทดลองตาม ตอ้ งให้ความชว่ ยเหลือ อย่างมากในการทาการ ทดลอง ข้ันตอน และใช้อปุ กรณ์ ข้ันตอน และใชอ้ ุปกรณ์ บ้างในการทาการ ทดลอง และการใช้ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง แตอ่ าจ ทดลอง และการใช้ อปุ กรณ์ ตอ้ งไดร้ บั คาแนะนาบา้ ง อปุ กรณ์ 2. ความ มีความคลอ่ งแคล่ว มคี วามคล่องแคลว่ ขาดความคลอ่ งแคลว่ ทาการทดลองเสร็จไม่ คลอ่ งแคล่ว ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ทันเวลา และทา ในขณะ ในขณะทาการทดลอง แต่ต้องไดร้ ับคาแนะนา จงึ ทาการทดลองเสรจ็ อุปกรณ์เสียหาย ปฏิบตั กิ าร โดยไม่ตอ้ งได้รบั คา บา้ ง และทาการทดลอง ไมท่ นั เวลา เสรจ็ ทันเวลา ตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลอื 3. การบนั ทึก สรุป ช้แี นะ และทาการ ตอ้ งให้คาแนะนาในการ อย่างมากในการบันทึก และนาเสนอผล ทดลองเสรจ็ ทันเวลา บันทกึ และสรปุ ผลการ บันทึก สรปุ และ สรปุ และนาเสนอผล การทดลอง ทดลองไดถ้ ูกต้อง แต่ นาเสนอผลการทดลอง การทดลอง บันทึกและสรุปผลการ การนาเสนอผลการ ทดลองได้ถกู ต้อง รดั กมุ ทดลองยังไม่เป็น นาเสนอผลการทดลอง ขัน้ ตอน เปน็ ขั้นตอนชดั เจน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 11-12 ดมี าก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ต่ากวา่ 6 ปรับปรุง โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 141 แบบประเมนิ ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผน ฯ ที่ 2 แบบประเมนิ แผ่นพับ คาช้ีแจง : ให้ผู้สอนประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน แลว้ ขดี ลงในช่องทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 4321 1 ความสอดคล้องกบั จุดประสงค์ 2 ความถกู ตอ้ งของเนือ้ หา รวม 3 ความคดิ สรา้ งสรรค์ 4 ความตรงต่อเวลา ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมนิ ................./................../.................. เกณฑก์ ารประเมินแผน่ พบั ประเดน็ ท่ีประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 ผลงานไมส่ อดคลอ้ งกับ 1. ความ ผลงานสอดคล้องกบั ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ จุดประสงคเ์ ป็นส่วน จุดประสงคบ์ างประเดน็ สอดคล้องกับ จดุ ประสงคท์ ุกประเด็น ใหญ่ เนอื้ หาสาระของผลงาน ไม่ถกู ตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ จดุ ประสงค์ เนอื้ หาสาระของผลงาน เนอ้ื หาสาระของผลงาน ถูกตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ ถูกตอ้ งบางประเดน็ 2. ความถูกต้อง เนื้อหาสาระของผลงาน ของเนื้อหา ถกู ตอ้ งครบถ้วน 3. ความคิด ผลงานแสดงถงึ ความคดิ ผลงานแสดงถึงความคดิ ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไมม่ ีความ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ นา่ สนใจ และไม่แสดง และเปน็ ระบบ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แตย่ งั ไมม่ ีแนวคิดแปลก ถึงแนวคิดแปลกใหม่ 4. ความตรงตอ่ เวลา สง่ ชน้ิ งานภายในเวลาท่ี แต่ยงั ไม่เปน็ ระบบ ใหม่ สง่ ชน้ิ งานชา้ กว่าเวลาที่ กาหนด กาหนด 3 วันข้ึนไป สง่ ชิ้นงานช้ากวา่ เวลาที่ สง่ ช้นิ งานชา้ กวา่ เวลาที่ กาหนด 1 วนั กาหนด 2 วัน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14-16 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรับปรุง โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 142 แบบประเมินชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 3 แบบประเมนิ รายงาน คาชแ้ี จง : ให้ผสู้ อนประเมนิ ช้นิ งาน/ภาระงาน แลว้ ขดี ลงในช่องท่ีตรงกับระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 432 1 ความถกู ตอ้ งของเน้อื หา 2 ความสมบรู ณ์ของรปู เลม่ รวม 3 ความตรงตอ่ เวลา ลงชอ่ื ................................................... ผปู้ ระเมิน ................./................../.................. เกณฑก์ ารประเมินรายงาน ประเด็นที่ประเมนิ ระดบั คะแนน 1. ความถกู ตอ้ ง 432 1 ของเนอ้ื หา เนือ้ หาสาระของ เน้อื หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนือ้ หาสาระของ 2. ความสมบูรณ์ รายงานไม่ถกู ตอ้ งเปน็ ของรูปเลม่ รายงานถกู ตอ้ งครบถว้ น รายงานถกู ตอ้ งเป็นสว่ น รายงานถกู ตอ้ งบาง สว่ นใหญ่ องค์ประกอบไม่ 3. ความตรงตอ่ ใหญ่ ประเด็น ครบถว้ น ไมเ่ ป็น เวลา ระเบียบ และรูปเล่มไม่ มีองค์ประกอบครบถ้วน มีองคป์ ระกอบครบถว้ น มอี งค์ประกอบครบถว้ น สวยงาม สง่ ชนิ้ งานช้ากวา่ เวลาท่ี สมบูรณ์ มีความเปน็ สมบรู ณ์ มคี วามเปน็ สมบรู ณ์ แต่ยงั ไมเ่ ป็น กาหนด 3 วันข้นึ ไป ระเบียบ และรูปเล่ม ระเบยี บ แตร่ ปู เลม่ ไม่ ระเบยี บ และรปู เลม่ ไม่ สวยงาม สวยงาม สวยงาม ส่งชิ้นงานภายในเวลาท่ี ส่งชิ้นงานชา้ กว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานชา้ กวา่ เวลาท่ี กาหนด กาหนด 1 วนั กาหนด 2 วัน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 11-12 ดีมาก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ต่ากวา่ 6 ปรับปรงุ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 143 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนประเมนิ การนาเสนอผลงาน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดบั คะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32  1 ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา    2 ภาษาทใี่ ช้เข้าใจง่าย    3 ประโยชนท์ ไ่ี ด้จากการนาเสนอ  4 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน  5 ความสวยงามของผลงาน  รวม ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ .............../................/................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินสมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ เปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14-15 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรับปรงุ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 144 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล คาช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั ระดับ คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่นื   3 การทางานตามหนา้ ท่ที ไี่ ด้รบั มอบหมาย   4 ความมีน้าใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงชอ่ื ................................................... ผปู้ ระเมิน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ................/.............../................ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้ัง ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตา่ กวา่ 8 ปรบั ปรุง โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 145 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายกล่มุ คาชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกบั ระดับ คะแนน ลาดับ ช่ือ–สกลุ การแสดง การยอมรับฟัง การทางาน ความมีนา้ ใจ การมี รวม ท่ี ของนักเรียน ความคดิ เหน็ คนอ่ืน ตามท่ีไดร้ บั ส่วนร่วมในการ 15 มอบหมาย คะแนน ปรับปรุง ผลงานกล่มุ 3213213213 21 3 21 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงช่อื ................................................... ผปู้ ระเมิน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสมา่ เสมอ ................/.............../................ ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรับปรุง โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 146 แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คาชแี้ จง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องท่ตี รงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพึงประสงคด์ ้าน 321 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาตไิ ด้ กษตั รยิ ์ 1.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามคั คี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาทตี่ นนับถือ ปฏบิ ัติตามหลกั ศาสนา 1.4 เข้ารว่ มกจิ กรรมที่เก่ยี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย์ตามทโ่ี รงเรยี นจดั ขนึ้ 2. ซื่อสตั ย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ ้อมลู ทถ่ี ูกตอ้ งและเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสงิ่ ที่ถกู ตอ้ ง 3. มวี นิ ัย รบั ผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคับของครอบครัว มีความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั กิ จิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ิตประจาวนั 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รจู้ ักใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์และนาไปปฏบิ ตั ิได้ 4.2 รจู้ ักจดั สรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชอ่ื ฟังคาส่ังสอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ตั้งใจเรยี น 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 5.1 ใช้ทรพั ย์สนิ และส่งิ ของของโรงเรียนอย่างประหยัด 5.2 ใชอ้ ุปกรณก์ ารเรยี นอยา่ งประหยัดและรู้คณุ ค่า 5.3 ใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยัดและมีการเก็บออมเงนิ 6. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 6.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทางานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออปุ สรรคเพือ่ ให้งานสาเร็จ 7. รกั ความเปน็ ไทย 7.1 มจี ติ สานึกในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รจู้ ักช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน 8.2 รจู้ ักการดแู ลรักษาทรพั ยส์ มบัติและส่ิงแวดล้อมของหอ้ งเรยี นและโรงเรียน ลงช่อื ................................................... ผ้ปู ระเมนิ ................/.............../................ เกณฑ์การให้คะแนน พฤตกิ รรมทีป่ ฏบิ ัติชดั เจนและสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน พฤตกิ รรมที่ปฏิบตั ิชัดเจนและบอ่ ยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั บิ างครัง้ ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรบั ปรุง โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 147 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1/2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ (ว 21101) หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 หน่วยของสิง่ มีชีวติ เรอื่ ง เซลล์ของส่งิ มชี ีวติ จานวนเวลาทส่ี อน 5 ช่ัวโมง ผสู้ อน นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา 1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด (ความเขา้ ใจท่ีคงทน) เซลล์ (cell) เป็นหนว่ ยพนื้ ฐานที่เล็กท่ีสดุ ของสิ่งมีชีวติ ท้งั ส่งิ มีชีวติ เซลล์เดียวและส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์ ซึ่งเซลล์แต่ละชนิดจะมีรูปร่างและลักษณะที่แตกต่างกัน โดยท่ัวไปเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะมีขนาดเล็ก ไม่สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า จงึ ต้องใช้กล้องจลุ ทรรศน์ในการศึกษารูปร่างและลกั ษณะของเซลล์ 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวช้วี ัดชั้นป/ี ผลการเรยี นรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ 2.1 ตัวชี้วัด ว 1.2 ม.1/2 ใช้กล้องจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงศกึ ษาเซลล์และโครงสรา้ งต่าง ๆ ภายในเซลล์ ม.1/3 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปรา่ งกบั การทาหน้าที่ของเซลล์ ม.1/4 อธิบายการจัดระบบของส่ิงมีชีวิต โดยเริ่มจากเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเปน็ สิ่งมชี ีวติ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างของเซลล์ต่อการทาหนา้ ท่ีของเซลล์ได้ 2) อธิบายการจัดระบบของส่งิ มีชีวิตได้ 3.2 ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 3) ใช้งานกล้องจุลทรรศนแ์ บบใชแ้ สงตามขั้นตอนทีถ่ ูกตอ้ งได้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 4) ปฏบิ ัติตามขน้ั ตอนการใช้งานกล้องจลุ ทรรศน์แบบใช้แสงได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนื้อหาสาระหลกั : Knowledge (ผู้เรียนต้องรู้อะไร) - เซลล์เปน็ หนว่ ยพืน้ ฐานของส่งิ มชี ีวิต สงิ่ มชี วี ิตบางชนิดมีเซลลเ์ พยี งเซลล์เดียว เชน่ อะมีบา พารามเี ซียม ยีสต์ บางชนดิ มีหลายเซลล์ เช่น พืช สัตว์ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 148 - เซลล์ของส่งิ มีชีวติ มีรูปรา่ งลักษณะทหี่ ลากหลาย และมีความเหมาะสมกบั หน้าท่ีของเซลล์ นนั้ เชน่ เซลลป์ ระสาทส่วนใหญม่ เี สน้ ใยประสาทเปน็ แขนงยาว นากระแสประสาทไปยังเซลล์อ่นื ๆ ท่อี ยู่ ไกลออกไป เซลลข์ นรากเปน็ เซลล์ผิวของรากทมี่ ีผนงั เซลลแ์ ละ เย่อื หมุ้ เซลล์ยน่ื ยาวออกมา ลักษณะคล้าย ขนเส้นเล็ก ๆ เพอื่ เพ่ิมพนื้ ท่ผี ิวในการดูดนา้ และแร่ธาตุ - พชื และสัตวเ์ ปน็ สิ่งมชี วี ิตหลายเซลล์มกี ารจัดระบบ โดยเรม่ิ จาก เซลลไ์ ปเป็นเน้อื เยื่อ อวัยวะ ระบบอวยั วะ และส่ิงมีชวี ติ ตามลาดบั เซลล์หลายเซลลม์ ารวมกนั เปน็ เน้ือเยอ่ื เนอื้ เยอื่ หลายชนดิ มา รวมกนั และทางานรว่ มกนั เปน็ อวยั วะ อวัยวะตา่ ง ๆ ทางานร่วมกัน 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรียนสามารถปฏบิ ตั อิ ะไรได)้ - ทักษะการสรา้ งคาอธิบาย - ทักษะการสอื่ ความหมาย - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะการสบื คน้ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 4.3 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ : Attitude (ผ้เู รียนควรแสดงพฤตกิ รรมการเรียนอะไรบ้าง) - ซื่อสตั ย์สจุ รติ - มีวนิ ัย - ใฝ่เรียนรู้ - มงุ่ มั่นในการทางาน 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี นและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี นิ ัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. ม่งุ มนั่ ในการทางาน 1) ทักษะการสังเกต 2) ทกั ษะการระบุ 3) ทักษะการเปรียบเทียบ 4) ทักษะการจาแนกประเภท 5) ทกั ษะการสารวจ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 149 6. กิจกรรมการเรยี นรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชั่วโมงที่ 1 ขน้ั นา กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูแจ้งผลการเรียนร้ใู ห้นกั เรยี นทราบ 2. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เพื่อวดั ความรเู้ ดิมของนกั เรยี นก่อนเข้าส่บู ทเรียน 3. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียนวันน้ี โดยให้นักเรียนดูภาพส่ิงมีชีวิตเซลล์ เดียวและสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ จาก PPT จากน้ันครูถามคาถาม Big Question ว่า สิ่งที่เล็กท่ีสุด ในรา่ งกายของเราคอื อะไร แลว้ ให้นกั เรยี นระดมความคดิ ในการตอบคาถาม (แนวคาตอบ เซลล์ เป็นหนว่ ยทีเ่ ลก็ ท่สี ุดในรา่ งกายของสงิ่ มชี ีวติ ทุกชนดิ ) ขั้นสอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูถามคาถามเพ่ือทบทวนความรู้เดิมว่า สิ่งมีชีวิตแตกต่างจากสิ่งไม่มีชีวิตอย่างไร เพราะเหตุใดจึง เปน็ เช่นนัน้ (แนวคาตอบ สิ่งมีชีวิตสามารถเจริญเติบโต เคล่ือนไหว หายใจ ขับถ่าย สืบพันธุ์ และตอบสนองต่อ สง่ิ เรา้ ได้ ส่วนสงิ่ ไมม่ ีชีวิตไมม่ ีคณุ สมบตั ขิ องลกั ษณะดังกล่าว เพราะสงิ่ มชี ีวิตทุกชนิดล้วนประกอบไป ดว้ ยเซลลท์ ่ีเปน็ หนว่ ยพ้นื ฐานใหส้ ่งิ มีชีวติ ดาเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพอื่ ใช้ในการดารงชีวติ ) 2. ครูถามคาถามเพ่ือโยงเข้าสู่หัวข้อท่ีจะเรียนว่า ร่างกายของส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีโครงสร้าง และ จานวนเซลลใ์ นการดารงชวี ติ เหมือนกนั หรือไม่ (แนวคาตอบ ร่างกายของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีโครงสร้าง และจานวนเซลล์ในการดารงชีวิต ไม่เหมือนกนั ) 3. ครใู ห้นักเรียนศึกษาวีดิทัศน์การเคลื่อนที่ของพารามีเซียมกับการเคลื่อนท่ีของสัตว์ แล้วให้นักเรียน รว่ มกันอภิปรายเปรียบเทยี บความแตกตา่ งระหวา่ งส่งิ มชี วี ติ ท้ังสองชนดิ ในประเด็นของจานวนเซลล์ และการทางานร่วมกันของเซลลท์ ีม่ ีผลต่อการเคลือ่ นที่ 4. ครูใหน้ กั เรยี นศึกษา เร่ือง ประเภทเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ในหัวข้อสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และยกตัวอย่าง ภาพส่ิงมีชวี ติ เซลล์เดยี วจากหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าที่ 29 ชว่ั โมงท่ี 2 ขนั้ สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครถู ามคาถามเพื่อโยงเข้าสู่หัวข้อถัดไปว่า เซลล์ต่าง ๆ ท่ีอยู่บนร่างกายของเรามีรูปร่างและหน้าท่ี เหมอื นกันหรอื ไม่ อยา่ งไร โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 150 (แนวคาตอบ เซลลบ์ นรา่ งกายมนุษย์มีรูปร่างแตกต่างกันตามความเหมาะสมกับหน้าที่การทางาน ของเซลล์แต่ละชนดิ เชน่ เซลล์กล้ามเน้อื เกี่ยวข้องกบั การเคลือ่ นท่ี เซลลร์ บั แสงในดวงตา เปน็ ต้น) 2. ครใู หน้ กั เรียนศึกษาตัวอยา่ งสิ่งมีชวี ิตหลายเซลล์ เชน่ พืช สตั ว์ เป็นต้น โดยให้นักเรียนศึกษารูปร่าง และหน้าท่ีของเซลล์จาก PPT หรอื หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าที่ 30-31 3. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ร่วมกันยกตัวอย่างเซลล์ของส่ิงมีชีวิตมา 10 ชนิด พร้อม อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างกับหน้าที่ของเซลล์ชนิดนั้น แล้วส่งตัวแทนออกมานาเสนอ หนา้ ช้นั เรยี น ชั่วโมงท่ี 3 ข้ันสอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูถามคาถามเกริ่นนาเข้าสู่หัวข้อท่ีจะเรียนว่า เราจะศึกษารูปร่างและลักษณะเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดยี ว และเซลล์ของส่งิ มชี ีวิตหลายเซลล์ไดอ้ ยา่ งไร (แนวคาตอบ การศึกษาเซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และเซลล์ของส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์ต้องอาศัย กลอ้ งจลุ ทรรศนเ์ ข้ามาช่วยในการศึกษา) 2. ครนู าเข้าสู่บทเรยี นโดยการเล่าประวัติของรอเบิร์ต ฮุค พอสังเขป พร้อมท้ังอธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกับ กล้องจุลทรรศน์ที่รอเบิร์ต ฮุค เป็นผู้ผลิตข้ึนเพื่อใช้ในการศึกษาเซลล์ จากนั้นครูตั้งคาถามเพ่ือ กระตุ้นความสนใจของนักเรยี นวา่ เซลล์ ทีร่ อเบิร์ต ฮคุ คน้ พบมีลักษณะอยา่ งไร (แนวคาตอบ รอเบิร์ต ฮุค ใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูไม้คอร์กที่เฉือนบาง ๆ และพบช่องขนาดเล็ก จานวนมาก เรียกช่องเหล่านี้ว่า เซลล์ (cell) แต่เซลล์ท่ีรอเบิร์ต ฮุค เห็นน้ันเป็นเซลล์ที่ตายแล้ว เพราะ ภายในไมม่ ีองคป์ ระกอบทีม่ ีชีวิตอยู่มีเพยี งผนังเซลล์เรยี งติดกนั เป็นชอ่ งส่ีเหล่ียม) 3. ครูอธิบายส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์จาก PPT หรือหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าท่ี 32 4. ครูสาธิตการใช้งานกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงตามข้ันตอนที่ถูกต้อง จาก PPT หรือหนังสือเรียน วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าท่ี 33 5. ครูแจกใบงานที่ 2.1 เรื่อง เซลล์ของส่งิ มชี ีวิต แลว้ ใหน้ กั เรียนศกึ ษาคาชี้แจงในใบงาน 6. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ฝึกปฏิบัติใช้งานกล้องจุลทรรศน์ โดยใช้สไลด์ตัวอย่างที่ จัดเตรียมไว้แลว้ ไดแ้ ก่ พารามีเซียม ยูกลีนา เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์อสุจิ เซลล์ประสาท เซลล์คุม เป็นต้น โดยแต่ละกลุ่มจะได้รับสไลด์ตัวอย่างท่ีแตกต่างกัน จากน้ันครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสังเกต รูปร่าง แล้ววาดภาพและบรรยายลักษณะและหน้าท่ีของเซลล์ แต่ละชนิดลงในใบงานที่ 2.1 เร่ือง เซลล์ของส่งิ มีชวี ิต ชัว่ โมงท่ี 4 ข้นั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 151 1. ครูสุ่มเลือกนักเรยี น 4 คน ออกมานาเสนอใบงานท่ี 2.1 หนา้ ช้ันเรยี น โดยนักเรียนแต่ละคนนาเสนอ ในหัวข้อ ดังนี้ นักเรียนคนที่ 1 นาเสนอขั้นตอนการใช้กล้องจลุ ทรรศน์ นกั เรียนคนที่ 2 นาเสนอความแตกตา่ งระหว่างสิง่ มชี วี ิตเซลล์เดียวกับส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์ นักเรยี นคนท่ี 3 และ 4 นาเสนอความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรูปรา่ งของเซลลต์ ่อการทาหน้าที่ของเซลล์จาก สไลดต์ ัวอย่าง 2. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ เพ่อื เสรมิ ความเข้าใจหลงั จากนักเรยี นแตล่ ะคนนาเสนอจบ ชัว่ โมงที่ 5 ขั้นสรุป ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครใู หน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั ลงในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจใบงานที่ 2.1 เรอื่ ง เซลลข์ องสิง่ มชี วี ิต 2. ครูตรวจแบบฝกึ หัดในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3. ครปู ระเมนิ พฤติกรรมการทางานรายกลุ่มจากการศกึ ษาองค์ประกอบและการใช้งานของกล้องจุลทรรศน์ 4. ครูประเมินการนาเสนอใบงาน โดยใช้แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 7. การวัดและประเมินผล รายการวัด วธิ ีการ เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมิน 7.1 การประเมินก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบก่อน - แบบทดสอบกอ่ นเรียน ประเมนิ ตามสภาพ - แบบทดสอบกอ่ น เรยี น จรงิ เรียน หนว่ ยการ - เฉลยใบงานที่ 2.1 เรื่อง เรยี นรู้ท่ี 2 เรื่อง เซลล์ของส่งิ มชี ีวิต รอ้ ยละ 60 หน่วยของส่ิงมชี ีวิต ผ่านเกณฑ์ - แบบประเมนิ การนาเสนอ ระดับคุณภาพ 2 7.2 ประเมนิ ระหวา่ งการจัด ผลงาน ผ่านเกณฑ์ กิจกรรมการเรยี นรู้ ระดบั คณุ ภาพ 2 1) เซลลข์ องสงิ่ มชี ีวิต - ตรวจใบงานท่ี 2.1 เรือ่ ง - แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ เซลลข์ องส่งิ มชี วี ติ การทางานรายกลุ่ม 2) การนาเสนอผลงาน - ประเมินการนาเสนอ ผลงาน 3) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤตกิ รรม ทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลมุ่ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 152 รายการวดั วธิ ีการ เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน 4) คุณลกั ษณะอนั พึง - สงั เกตความมวี นิ ัย - แบบประเมินคุณลกั ษณะ ระดบั คุณภาพ 2 ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ ม่นั อันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ ในการทางาน 8. สื่อ/แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3) ใบงานท่ี 2.1 เรอื่ ง เซลลข์ องส่งิ มีชวี ติ 4) PowerPoint นาเสนอภาพสงิ่ มีชีวิตหลายเซลล์ และรปู ร่างของเซลล์ในส่งิ มชี วี ิตหลายเซลล์ 5) PowerPoint นาเสนอภาพสว่ นประกอบและขั้นตอนการใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนแ์ บบใชแ้ สง 6) กล้องจุลทรรศน์ 7) สไลด์สง่ิ มีชีวติ ตัวอย่าง เชน่ พารามเี ซยี ม ยูกลีนา เซลลเ์ ม็ดเลือดแดง เซลลอ์ สุจิ เป็นต้น 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งเรยี น 2) ห้องปฏบิ ตั ิการ 9. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรชั ญา ครู ผเู้ รยี น ของเศรษฐกจิ พอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดีดา้ นจติ ใจ ร้จู กั ใชเ้ ทคโนโลยีมาผลิตส่ือท่ี มจี ิตสานึกทด่ี ี จิตสาธารณะร่วม 2. ความมเี หตผุ ล อนุรกั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและ เหมาะสมและสอดคล้องเน้อื หาเปน็ สง่ิ แวดล้อม 3. มภี ูมิคุมกันในตัวทด่ี ี ประโยชน์ต่อผเู้ รยี นและพฒั นาจากภูมิ ปญั ญาของผู้เรียน ไมห่ ยดุ นงิ่ ท่หี าหนทางในชวี ิต หลุดพน้ - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความ จากความทุกขย์ าก (การค้นหาคาตอบ ถูกต้อง สจุ ริต เพ่ือให้หลุดพ้นจากความไม่ร้)ู ภมู ปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ภูมปิ ัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ รบั ผิดชอบ ระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ ระมดั ระวงั โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 153 หลกั ปรชั ญา ครู ผ้เู รียน ของเศรษฐกจิ พอเพียง 4. เงื่อนไขความรู้ ความรอบรู้ เร่อื ง เซลลข์ อง ความรอบรู้ เรือ่ ง เซลล์ของ สิ่งมชี ีวิต ทเี่ กย่ี วข้องรอบด้าน นา สิ่งมชี วี ิต สามารถนาความรเู้ หลา่ นั้น ความรูม้ าเช่ือมโยงประกอบการ มาพจิ ารณาให้เกดิ ความเช่ือมโยง วางแผน การดาเนนิ การจัดกจิ กรรม สามารถประยกุ ต์ การเรียนรู้ให้กบั ผู้เรยี น ใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ 5. เง่ือนไขคุณธรรม มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มีความ ความซ่อื สตั ยส์ ุจริตและมีความอดทน ซ่ือสัตยส์ ุจริตและมีความอดทน มี มีความเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการ ความเพียร ใช้สติปญั ญาในการดาเนิน ดาเนินชีวิต ชีวิต สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ครู ผู้เรยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรียน (ตามจดุ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย) - ความหลากหลายทางชวี ภาพ - สารวจความหลากหลายทาง ผูเ้ รียน ชวี ภาพในโรงเรยี น (กาหนดจดุ ให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบคน้ ข้อมูลการอนุรักษค์ วาม ผเู้ รยี นสารวจ) หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหวั ขอ้ ท่ี ไดม้ อบหมาย) สงิ่ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรกั ษค์ วามหลากหลาย - การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทาง ทางชีวภาพ ชวี ภาพ (กาหนดหวั ขอ้ ให้ผู้เรียน สบื คน้ ) โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 154 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรือผูท้ ่ไี ด้รับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บุญถงึ ) ………./……………./…………. 10.2 รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ านวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 155 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน  ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤติกรรมท่ีมีปญั หาของนกั เรียนเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตาแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 156 ใบงานท่ี 2.1 เรื่อง เซลล์ของส่ิงมชี วี ติ คาช้ีแจง จงวาดภาพเซลล์ หรอื สิ่งมีชวี ิตภายใต้กลอ้ งจุลทรรศน์ และอธิบายลักษณะหรอื หนา้ ท่ขี องเซลล์ สงิ่ มชี ีวติ ชนิดนั้นลงในตารางใหส้ มบูรณ์ ภาพทีเ่ ห็นภายใต้กลอ้ งจุลทรรศน์ ประเภทของเซลล์ (เซลล/์ สง่ิ มชี ีวิต) ลักษณะ/หนา้ ทขี่ องเซลล์ ภาพวาดรูปร่างของเซลล์ ชอื่ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 157 ใบงานท่ี 2.1 เฉลย เรื่อง เซลล์ของสิ่งมชี วี ติ คาช้แี จง จงวาดภาพเซลล์ หรอื สิง่ มชี ีวติ ภายใต้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ และอธบิ ายลักษณะหรอื หน้าที่ของเซลล์ สง่ิ มชี วี ติ ชนดิ นน้ั ลงในตารางให้สมบูรณ์ ภาพที่เห็นภายใตก้ ล้องจุลทรรศน์ ประเภทของเซลล์ (เซลล์/สิ่งมชี วี ติ ) ลกั ษณะ/หน้าทข่ี องเซลล์ ภาพวาดรปู ร่างของเซลล์ ชอ่ื พารามีเซียม สิง่ มีชวี ติ เซลล์เดยี ว เ ซ ล ล์ มี รู ป ร่ า ง ค ล้ า ย รองเท้าและมีขนเล็ก ๆ ยูกลนี า สิ่งมีชีวติ เซลล์เดยี ว รอบเซลล์ เซลล์เม็ดเลือด เซลล์ของส่งิ มชี ีวติ เซลล์มีลักษณะคล้ายกับ แดง หลายเซลล์ รูปกระสวยปลายหัวและ ท้ายแหลม มีขนยาว 1 เซลล์อสุจิ เซลล์ของส่ิงมีชีวติ เส้น หลายเซลล์ เซลล์มีลักษณะเป็นทรง กลม ตรงกลางมีรอยบุ๋ม เ พื่ อ ท า ห น้ า ที่ จั บ กั บ ออกซิเจน เซ ล ล์ มี ลั ก ษ ณ ะ ค ล้ า ย ลูกอ๊อด มีส่วนหัว ลาตัว แ ล ะ ห า ง ซ่ึ ง ใ ช้ ใ น ก า ร เคลอ่ื นทไ่ี ปหาเซลล์ไข่ เซลล์ประสาท เซลล์ของสิ่งมีชวี ิต เซลล์มีลักษณะเป็นแฉก หลายเซลล์ ท า ห น้ า ท่ี รั บ ส่ ง ก ร ะ แ ส ประสาท เซลล์คมุ เซลลข์ องสง่ิ มีชวี ติ เซลล์มีลักษณะคล้ายเมล็ด หลายเซลล์ ถ่วั 1 คู่ ประกบกันตรงกลาง มชี ่องวา่ งเรยี กว่า ปากใบ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 158 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1/2562 กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ (ว 21101) หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 หนว่ ยของสิง่ มชี ีวิต เร่อื ง เซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์ จานวนเวลาทสี่ อน 3 ช่วั โมง ผสู้ อน นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา 1. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด (ความเข้าใจที่คงทน) เซลล์สิ่งมีชีวิตมีส่วนประกอบพื้นฐานสาคัญ 3 ส่วน ได้แก่ เย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส แต่เซลล์พืชและเซลล์สัตว์จะมีบางส่วนประกอบท่ีแตกต่างกัน เช่น เซลล์พืชจะมีผนังเซลล์ห่อหุ้มเยื่อหุ้ม เซลล์อกี ช้นั หนึง่ และมีคลอโรพลาสต์ ทาหน้าท่ีสร้างอาหารให้แก่เซลล์ ซ่ึงทั้งผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ จะไมพ่ บในเซลล์สัตว์ 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชว้ี ดั ชัน้ ป/ี ผลการเรียนร/ู้ เปา้ หมายการเรียนรู้ 2.1 ตวั ช้ีวัด ว 1.2 ม.1/1 เปรียบเทียบรปู ร่างและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์ รวมทง้ั บรรยายหน้าท่ีของผนัง เซลล์ เยื่อหมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซมึ นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) บรรยายหนา้ ทีอ่ งค์ประกอบของเซลลไ์ ด้ 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) เปรยี บเทยี บรูปร่างและโครงสร้างของเซลล์พชื และเซลล์สัตว์ได้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 3) รบั ผิดชอบหน้าทีแ่ ละงานที่ไดร้ บั มอบหมาย 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge (ผู้เรียนต้องรูอ้ ะไร) - โครงสร้างพื้นฐานท่พี บท้งั ในเซลลพ์ ืชและเซลล์สตั ว์ และสามารถสังเกตไดด้ ว้ ยกล้อง จลุ ทรรศน์ใชแ้ สง ไดแ้ ก่ เยอื่ หุม้ เซลล์ ไซโทพลาซึม และนวิ เคลียส โครงสรา้ งท่พี บในเซลล์พชื แต่ไม่พบใน เซลล์สัตว์ ไดแ้ ก่ ผนงั เซลล์และคลอโรพลาสต์ - โครงสร้างต่าง ๆ ของเซลลม์ หี นา้ ท่แี ตกตา่ งกัน โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 159 • ผนังเซลล์ ทาหน้าทีใ่ ห้ความแข็งแรงแกเ่ ซลล์ • เยือ่ หุม้ เซลล์ ทาหน้าทหี่ ่อหมุ้ เซลล์ และควบคุมการลาเลยี งสารเข้าและออกจากเซลล์ • นวิ เคลยี ส ทาหนา้ ที่ควบคมุ การทางานของเซลล์ • ไซโทพลาซึม มอี อร์แกเนลล์ทีท่ าหนา้ ที่แตกตา่ งกัน • แวคิวโอล ทาหน้าท่เี กบ็ น้าและสารตา่ ง ๆ • ไมโทคอนเดรีย ทาหนา้ ท่ีเกีย่ วกบั การสลายสารอาหารเพอ่ื ใหไ้ ดพ้ ลงั งานแก่เซลล์ • คลอโรพลาสต์ เป็นแหลง่ ทีเ่ กดิ การสงั เคราะหด์ ้วยแสง 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รยี นสามารถปฏิบัติอะไรได้) - ทักษะการสรา้ งคาอธิบาย - ทักษะการสือ่ ความหมาย - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ - ทกั ษะการสบื คน้ โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 4.3 คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ : Attitude (ผู้เรยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นอะไรบา้ ง) - ซื่อสตั ยส์ ุจริต - มวี ินัย - ใฝเ่ รียนรู้ - มงุ่ ม่นั ในการทางาน 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี นและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวินัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 1) ทกั ษะการสังเกต 4. อยู่อย่างพอเพียง 2) ทักษะการระบุ 3) ทักษะการเปรยี บเทยี บ 4) ทักษะการรวบรวมข้อมูล 5) ทักษะการจาแนกประเภท 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 160 6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงท่ี 1 ขั้นนา กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครตู งั้ คาถามกระตนุ้ ความคดิ นักเรียนว่า เซลล์พืชและเซลลส์ ตั ว์มีลกั ษณะเหมอื นหรือตา่ งกนั อย่างไร แล้วใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั ระดมความคิดในการตอบคาถาม (แนวคาตอบ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์จะมีโครงสร้างพื้นฐานสาคัญ 3 ส่วนที่เหมือนกัน คือ ส่วนที่ ห่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส แต่แตกต่างกันที่รูปร่างของเซลล์ ซึ่งเซลล์พืชจะมีรูปร่าง เหลี่ยม ส่วนเซลล์สตั ว์จะมีรูปร่างกลม) ขัน้ สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนศึกษาแผนภาพโครงสร้างของเซลล์ส่ิงมีชีวิตทั้งเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ จาก PPT หรือ หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าที่ 34-35 จากนั้นครูอธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับโครงสร้าง พน้ื ฐานสาคญั ของเซลล์สิ่งมชี วี ิตพอสงั เขป 2. ครูถามคาถามทักษะการคิดขั้นสูง (H.O.T.S.) ว่า ถ้าเซลล์ไม่มีนิวเคลียส สิ่งมีชีวิตจะสามารถ ดารงชีวติ ได้ตามปกตหิ รือไม่ (แนวคาตอบ เน่ืองจากนิวเคลียสทาหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์ ซึ่งหากเซลล์ส่ิงมีชีวิต ไม่มีนิวเคลียส พบว่า ถ้าเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เซลล์จะไม่สามารถดารงชีวิตได้ เน่ืองจากไม่มี นิวเคลียสควบคุมกิจกรรมตา่ ง ๆ ที่เกิดขน้ึ ภายในเซลล์ แต่ถ้าเป็นส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์ หากเซลล์ไม่มี นิวเคลียสจะยังคงสามารถดารงชีวิตได้อย่างปกติ เนื่องจากร่างกายของส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์ ประกอบด้วยเซลล์จานวนมาก หากบางเซลล์ไม่มีนิวเคลียส เซลล์อื่น ๆ ที่มีลักษณะหรือหน้าท่ี เหมือนกัน จะสามารถทาหน้าท่ที ดแทนเซลล์ทีไ่ ม่มนี ิวเคลียสได)้ ชว่ั โมงที่ 2 ขนั้ สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบส่ีสหาย มาจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ทากจิ กรรม รปู ร่างและส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าที่ 36-37 เพอื่ สังเกตรูปรา่ งลกั ษณะของเซลลภ์ ายใต้กล้องจุลทรรศน์ พร้อมวาดภาพ ส่วนประกอบท่ีเห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และเปรียบเทียบกับแผนภาพของเซลล์ ซ่ึงระบุ ส่วนประกอบสาคัญของเซลล์ ดังนี้ สมาชกิ 2 คน : ศึกษาสไลดข์ องเซลล์พชื เช่น เซลล์ใบสาหรา่ ยหางกระรอก เซลล์เยอื่ หอม เปน็ ตน้ สมาชกิ 2 คน : ศึกษาสไลดข์ องสิ่งมชี ีวิตหลายเซลล์ เช่น เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม เป็นต้น โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 161 2. ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มเปรียบเทียบเซลล์พชื และเซลลส์ ตั ว์ท่ีสังเกตเห็นภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และ อภปิ รายผลรว่ มกันว่า เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบใดท่ีเหมือนกัน และส่วนประกอบใดท่ี แตกตา่ งกนั และอธิบายหน้าทข่ี องส่วนประกอบต่าง ๆ ของเซลล์ พร้อมท้ังตอบคาถามท้ายกิจกรรม ลงในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มเลือกนักเรียน 2-3 กลุ่ม ออกมานาเสนอข้อมูลการเปรียบเทียบเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ และ อธิบายหนา้ ท่ีของสว่ นประกอบต่าง ๆ ของเซลล์ และตอบคาถามท้ายกจิ กรรม 2. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายผลจากการทากิจกรรม และเฉลยคาตอบจากคาถามท้ายกิจกรรมใน แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ช่วั โมงท่ี 3 ขั้นสรปุ ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครตู ง้ั คาถามเพ่ือตอ่ ยอดการทากจิ กรรมวา่ นอกจากรปู รา่ งของเซลล์ทแ่ี ตกต่างกนั แล้ว นักเรียนคิดว่า เซลลพ์ ชื และเซลล์สตั ว์มอี ะไรทแ่ี ตกตา่ งกัน (แนวคาตอบ เซลลพ์ ืชจะพบผนังเซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์ สว่ นในเซลล์สตั วจ์ ะพบเพียงเซนทริโอล) 2. ครูใหน้ ักเรยี นร่วมกันสรุปและทาแผ่นพับ เร่อื ง เซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์ ในประเดน็ ตา่ ง ๆ ดังน้ี โครงสรา้ งและหน้าท่ี ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเซลล์ และความแตกต่างระหว่างเซลล์พืชและเซลล์ สตั ว์ 3. ครใู หน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ หดั ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบฝกึ หดั ในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 2. ครปู ระเมินการทากจิ กรรม เรือ่ ง รปู ร่างและส่วนประกอบของเซลล์พชื และเซลลส์ ตั ว์ โดยใช้ แบบประเมินการปฏิบตั ิการ 3. ครปู ระเมินพฤตกิ รรมการทางานรายกลุ่ม โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 162 7. การวัดและประเมินผล รายการวดั วธิ วี ัด เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน 7.1 การประเมินระหว่าง - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 การจัดกจิ กรรม ม.1 เลม่ 1 ผา่ นเกณฑ์ 1) เซลล์พืชและเซลลส์ ตั ว์ - ประเมนิ แผน่ พบั เรือ่ ง - แบบประเมนิ ชิ้นงาน ระดับคณุ ภาพ 2 เซลลพ์ ชื และเซลล์สัตว์ ผ่านเกณฑ์ 2) การปฏิบัติการ - แบบประเมิน - ประเมนิ การปฏิบัตกิ าร การปฏบิ ตั ิการ ระดับคณุ ภาพ 2 3) พฤติกรรมการทางาน ผ่านเกณฑ์ รายกลุ่ม - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม การทางานรายกลุ่ม การทางานรายกล่มุ ระดับคุณภาพ 2 4) คณุ ลักษณะอนั พงึ - สงั เกตความมีวนิ ยั ผา่ นเกณฑ์ ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่นั - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ในการทางาน คณุ ลักษณะ อนั พงึ ผ่านเกณฑ์ ประสงค์ 8. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สอ่ื การเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 3) กลอ้ งจุลทรรศน์ 4) สไลด์ตัวอย่างของเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรยี น 2) ห้องปฏบิ ัตกิ าร โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 163 9. การบรู ณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลักปรชั ญา ครู ผเู้ รยี น ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดดี า้ นจติ ใจ รจู้ กั ใชเ้ ทคโนโลยีมาผลติ สือ่ ที่ มีจติ สานึกท่ดี ี จิตสาธารณะรว่ ม 2. ความมเี หตุผล อนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ เหมาะสมและสอดคล้องเน้ือหาเป็น ส่งิ แวดล้อม ประโยชนต์ อ่ ผ้เู รยี นและพฒั นาจากภมู ิ ปญั ญาของผู้เรยี น ไม่หยดุ น่ิงทีห่ าหนทางในชีวติ หลุดพ้น - ยึดถือการประกอบอาชพี ด้วยความ จากความทุกข์ยาก (การคน้ หาคาตอบ ถกู ต้อง สจุ ริต เพ่ือใหห้ ลดุ พน้ จากความไม่ร)ู้ ภูมิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ 3. มีภูมคิ ุมกนั ในตัวท่ีดี ภมู ปิ ญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ รบั ผิดชอบ ระมัดระวงั สร้างสรรค์ ระมัดระวงั ความรอบรู้ เรอ่ื ง เซลล์พชื และ เซลลส์ ัตว์ สามารถนาความรู้เหล่าน้ัน 4. เงอ่ื นไขความรู้ ความรอบรู้ เรอื่ ง เซลล์พชื และ มาพิจารณาใหเ้ กิดความเช่อื มโยง สามารถประยกุ ต์ เซลลส์ ตั ว์ ทเี่ กี่ยวข้องรอบดา้ น นา ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มีความ ความรูม้ าเช่อื มโยงประกอบการ ซ่อื สัตย์สุจรติ และมีความอดทน มี ความเพียร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนิน วางแผน การดาเนินการจดั กิจกรรม ชวี ิต การเรยี นร้ใู ห้กบั ผเู้ รียน ผูเ้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ 5. เงื่อนไขคุณธรรม มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มี - สารวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรียน (ตามจดุ ที่ไดร้ บั มอบหมาย) ความซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน ผเู้ รยี น มคี วามเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สบื ค้นข้อมูลการอนุรกั ษค์ วาม ดาเนนิ ชีวิต หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหวั ข้อท่ี ไดม้ อบหมาย) สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทาง ชีวภาพในโรงเรียน (กาหนดจุดให้ ผู้เรียนสารวจ) ส่งิ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลาย - การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทาง ทางชวี ภาพ ชวี ภาพ (กาหนดหวั ข้อให้ผู้เรยี น สบื ค้น) โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 164 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรือผูท้ ่ไี ด้รับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ านวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 165 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน  ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤติกรรมท่ีมีปญั หาของนกั เรียนเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตาแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 166 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1/2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ (ว 21101) หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยของสิง่ มีชีวิต เรอ่ื ง การแพร่และออสโมซสิ จานวนเวลาท่ีสอน 4 ชั่วโมง ผู้สอน นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา 1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด (ความเขา้ ใจทีค่ งทน) เซลล์ของส่ิงมีชีวิตต้องมีกระบวนการนาสารเข้าและออกจากเซลล์ เพ่ือใช้ในกระบวนการดารงชีวิต ของเซลล์ เช่น การแพร่เป็นกระบวนการเคล่อื นท่ีของอนภุ าคสารจากบรเิ วณที่มีความเข้มข้นสูงไปสู่บริเวณ ท่มี ีความเข้มขน้ ตา่ หรือการออสโมซิสเป็นกระบวนการเคล่ือนท่ีของโมเลกุลน้าจากบริเวณที่มีความเข้มข้น ของสารละลายตา่ ไปสู่บรเิ วณทมี่ คี วามเขม้ ข้นความเขม้ ขน้ ของสารละลายสูง เป็นต้น 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัดช้ันปี/ผลการเรยี นร้/ู เปา้ หมายการเรียนรู้ 2.1 ตัวช้ีวัด ว 1.2 ม.1/5 อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และยกตัวอย่างการแพร่ และการออสโมซิสในชีวิตประจาวัน 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายกระบวนการแพร่และออสโมซิสได้ 2) อธิบายความแตกต่างของการแพรแ่ ละออสโมซิสได้ 3.2 ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 3) ใช้งานอปุ กรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ได้อย่างถูกตอ้ ง 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 4) รับผดิ ชอบต่อหน้าทแ่ี ละงานท่ไี ด้รับมอบหมาย 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เนอื้ หาสาระหลัก : Knowledge (ผู้เรยี นตอ้ งรูอ้ ะไร) - เซลลม์ กี ารนาสารเขา้ สู่เซลล์เพื่อใชใ้ นการเจริญเติบโต การแบ่งเซลล์ การสืบพันธุ์ และ มีการขจดั สารบางอยา่ งทเ่ี ซลล์ไม่ตอ้ งการออก นอกเซลล์ การนาสารเขา้ และออกจากเซลล์ มีหลายวิธี เช่น การแพร่ ซ่งึ เป็นกระบวนการเคลอ่ื นทีข่ องอนภุ าคสารจากบรเิ วณท่ีมี ความเข้มขน้ สูงไปสู่บริเวณท่มี ีความ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 167 เข้มขน้ ตา่ และออสโมซิสซึง่ เป็นกระบวนการเคลอ่ื นท่ีของโมเลกุลน้าจากบริเวณท่ีมีความเขม้ ข้นของ สารละลายต่าไปสบู่ ริเวณทม่ี ีความเข้มขน้ ของสารละลายสูง 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รียนสามารถปฏิบัติอะไรได้) - ทกั ษะการสร้างคาอธิบาย - ทกั ษะการสอื่ ความหมาย - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการสบื ค้นโดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 4.3 คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ : Attitude (ผู้เรยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรยี นอะไรบ้าง) - ซื่อสัตยส์ จุ ริต - มวี นิ ัย - ใฝเ่ รยี นรู้ - มุ่งม่นั ในการทางาน 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียนและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี นิ ยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 1) ทกั ษะการสังเกต 4. อยู่อย่างพอเพียง 2) ทักษะการระบุ 3) ทักษะการเปรียบเทยี บ 4) ทักษะการเชือ่ มโยง 5) ทักษะการรวบรวมข้อมลู 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 6. กจิ กรรมการเรียนรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่ัวโมงท่ี 1 ข้ันนา กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูถามคาถามเพ่ือกระตุน้ ความสนใจและทบทวนความรขู้ องนักเรียนวา่ พชื สามารถดูดน้าและแร่ธาตุ จากดนิ เข้าสลู่ าต้นผา่ นอวยั วะใด โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 168 (แนวค้ำตอบ พชื จะดูดนำ้ และแร่ธำตุจำกดินเข้ำสู่ล้ำต้นผ่ำนทำงรำก ซึ่งมีท่อล้ำเลียงน้ำ หรือไซเล็ม (xylem) ทำ้ หนำ้ ทใ่ี นกำรลำ้ เลยี งน้ำและแร่ธำต)ุ ขน้ั สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหน้ ักเรียนศกึ ษาหลกั การแพรแ่ ละตวั อย่างการแพร่ท่เี กดิ ขึน้ ในชีวิตประจาวนั และในสิง่ มชี วี ิต 2. ครใู ห้นักเรียนศึกษากระบวนการแพร่ของสารผ่านเข้าและออกจากเซลล์ เม่ือความเข้มข้นของสาร ภายนอกและภายในเซลล์แตกต่างกัน รวมถึงปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ของสาร ในหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ที่ 39-40 จากนั้นครอู ธิบายเพม่ิ เติม 3. ครูใหน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ กล่มุ ละ 4-5 คน ทากจิ กรรม การแพร่ของด่างทับทิมในน้า ตามหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าท่ี 41 แล้วให้นักเรียนสังเกตและบันทึกผลที่ได้จากกิจกรรมลงใน แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ชว่ั โมงท่ี 2 ข้นั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มเลือกนักเรียน 2-3 กลุ่ม ออกมานาเสนอผลการอภิปรายจากกจิ กรรมการแพรข่ องด่างทบั ทิม ในน้า และตอบคาถามท้ายกิจกรรม 2. ครูและนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายผลจากการทากิจกรรม และเฉลยคาตอบของคาถามท้ายกจิ กรรม ข้นั สรุป ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครใู หน้ ักเรยี นทากจิ กรรมทา้ ทายความคิดขน้ั สูง (H.O.T.S.) ในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ชว่ั โมงท่ี 3 ขน้ั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูทบทวนความรู้เดมิ จากชัว่ โมงทแ่ี ลว้ เก่ียวกบั กระบวนการแพรข่ องสาร พอสังเขป 2. ครูให้นักเรียนศึกษาหลักการออสโมซิสและตัวอย่างการออสโมซิสท่ีเกิดขึ้นในส่ิงมีชีวิตและ ในชีวติ ประจาวัน รวมถงึ ปัจจัยทมี่ ผี ลตอ่ การออสโมซิสของน้า ในหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ท่ี 42 จากน้นั ครอู ธบิ ายเพิ่มเติม 3. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ทากิจกรรม การแพร่ผ่านเยื่อเลือกผ่าน เพ่ือศึกษา การออสโมซิสของน้าในสารละลายซูโครสผ่านเย่ือเลือกผ่าน ตามหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ที่ 43 แลว้ ใหน้ กั เรยี นสังเกตและบันทึกผลท่ีได้จากกิจกรรมลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 169 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มเลือกกลุ่มนักเรียน 2-3 กลุ่ม ออกมานาเสนอผลจากการทากิจกรรม เร่ือง การแพร่ผ่าน เยอ่ื เลือกผ่าน แลว้ ใหน้ ักเรียนตอบคาถามท้ายกิจกรรมในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายถึงการออสโมซิสของน้าในสารละลายซูโครสผ่านเย่ือ เลือกผา่ น สาเหตทุ ่ที าให้ระดบั ของเหลวในหลอดแก้วเพิ่มข้ึน และส่ิงที่สังเกตได้จากกิจกรรม พร้อม เฉลยคาตอบท้ายกิจกรรมในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ขน้ั สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครถู ามคาถามนักเรยี นว่า การแพร่และการออสโมซสิ มีความแตกตา่ งกันอย่างไร (แนวคำ้ ตอบ กำรแพร่ เป็นกำรเคลื่อนทข่ี องอนภุ ำคสำร จำกบริเวณที่มีควำมเข้มข้นของสำรละลำย สูงไปต่้ำ แต่กำรออสโมซิส เป็นกำรเคลื่อนท่ีของโมเลกุลน้ำ จำกบริเวณที่มีควำมเข้มข้นของ สำรละลำยตำ่้ ไปสงู ) 2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน จัดทารายงาน เร่ือง การแพร่และการออสโมซิส และ ยกตวั อยา่ งการแพร่และการออสโมซสิ ในชวี ิตประจาวนั มาอย่างนอ้ ย 5 เหตกุ ารณ์ และอธิบายความ สอดคลอ้ งของเหตุการณท์ ่เี กิดขนึ้ กับหลกั การของการแพร่และการออสโมซิสลงในเล่มรายงาน 3. ครใู ห้นักเรียนทาแบบฝกึ หัดลงในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ช่วั โมงท่ี 4 ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครูให้นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี น 2. ครใู ห้นกั เรียนทาแบบทดสอบทา้ ยหนว่ ยท่ี 2 ในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 3. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบทดสอบทา้ ยเลม่ 4. ครใู ห้นกั เรยี นตรวจสอบตนเองด้วยการทา self-check และตอบคาถาม Unit Question ในหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนา้ ที่ 45 5. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบทดสอบทา้ ยหนว่ ยท่ี 2 ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจสอบผลจากการทารายงานในหัวขอ้ เรือ่ ง การแพรแ่ ละการออสโมซสิ 2. ครูตรวจแบบฝกึ หดั ในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 3. ครูตรวจแบบทดสอบท้ายหนว่ ยท่ี 2 ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 4. ครูตรวจแบบทดสอบทา้ ยเล่มในแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 170 7. การวัดและประเมินผล รายการวัด วธิ ีวดั เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมิน 7.1 การประเมินระหว่าง - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 การจดั กิจกรรม ม.1 เล่ม 1 ผา่ นเกณฑ์ 1) การแพรแ่ ละ - ตรวจแบบทดสอบทา้ ย ร้อยละ 60 ออสโมซิส หน่วยท่ี 2 - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจแบบทดสอบทา้ ยเล่ม ม.1 เล่ม 1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 2) การปฏบิ ัติการ - ประเมนิ รายงาน เรื่อง - แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ระดบั คุณภาพ 2 การแพรแ่ ละการออสโมซสิ ม.1 เล่ม 1 ผ่านเกณฑ์ ระดับคณุ ภาพ 2 - ประเมนิ การปฏิบัติการ - แบบประเมนิ ชิ้นงาน ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์ การปฏบิ ัตกิ าร ระดับคณุ ภาพ 2 ทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ การทางานรายกลุ่ม 4) คุณลักษณะอันพึง - สงั เกตความมวี นิ ยั - แบบประเมิน ประเมินตามสภาพ คุณลักษณะอัน จรงิ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ มัน่ พึงประสงค์ ในการทางาน - แบบทดสอบหลงั เรียน 7.2 ประเมนิ หลงั เรียน 1) แบบทดสอบหลงั - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน เรยี น หนว่ ยการ เรยี นร้ทู ่ี 2 เรือ่ ง หน่วยของสิง่ มชี วี ติ 8. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 2) แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3) อปุ กรณ์การทดลอง เรอื่ ง การแพร่ของดา่ งทบั ทมิ ในนา้ 4) อปุ กรณก์ ารทดลอง เรอ่ื ง การแพรผ่ า่ นเยอ่ื เลือกผา่ น โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 171 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรยี น 2) หอ้ งปฏิบตั กิ าร 9. การบรู ณาการตามจดุ เน้นของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรัชญา ครู ผู้เรยี น ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีดา้ นจิตใจ ร้จู กั ใช้เทคโนโลยมี าผลิตสื่อที่ มีจติ สานกึ ทีด่ ี จติ สาธารณะรว่ ม 2. ความมเี หตผุ ล อนุรกั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ เหมาะสมและสอดคล้องเนือ้ หาเปน็ ส่ิงแวดล้อม 3. มีภูมิคุมกันในตัวท่ีดี ประโยชนต์ ่อผู้เรียนและพัฒนาจากภูมิ 4. เง่ือนไขความรู้ ปัญญาของผู้เรียน ไมห่ ยุดนง่ิ ที่หาหนทางในชีวติ หลุดพน้ - ยึดถอื การประกอบอาชีพด้วยความ จากความทกุ ขย์ าก (การคน้ หาคาตอบ ถกู ต้อง สุจรติ เพื่อให้หลุดพน้ จากความไมร่ ู้) ภมู ปิ ญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ภูมปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ รับผิดชอบ ระมัดระวัง สรา้ งสรรค์ ระมัดระวงั ความรอบรู้ เรอ่ื ง การแพร่และ ความรอบรู้ เรอ่ื ง การแพร่และ ออสโมซสิ สามารถนาความรเู้ หล่านั้น ออสโมซิส ทเี่ กย่ี วข้องรอบด้าน นา มาพิจารณาให้เกิดความเชอื่ มโยง ความรู้มาเช่อื มโยงประกอบการ สามารถประยกุ ต์ วางแผน การดาเนนิ การจดั กจิ กรรม ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้ การเรยี นรู้ใหก้ ับผ้เู รยี น 5. เง่อื นไขคุณธรรม มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี มีความตระหนกั ใน คณุ ธรรม มีความ ความซอื่ สตั ย์สุจรติ และมีความอดทน ซื่อสตั ย์สุจริตและมีความอดทน มี มีความเพียร ใชส้ ตปิ ัญญาในการ ความเพียร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ดาเนนิ ชีวิต ชวี ติ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผู้เรียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทางชีวภาพ ในโรงเรยี น (ตามจดุ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย) - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทาง ชีวภาพในโรงเรียน (กาหนดจุดให้ ผูเ้ รียนสารวจ) โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 172 สงิ่ แวดล้อม ครู ผู้เรียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นขอ้ มลู การอนุรักษ์ความ หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหัวขอ้ ที่ - การอนรุ ักษ์ความหลากหลาย - การอนุรกั ษ์ความหลากหลายทาง ไดม้ อบหมาย) ทางชวี ภาพ ชีวภาพ (กาหนดหวั ขอ้ ใหผ้ เู้ รียน สบื ค้น) โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 173 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรือผูท้ ่ไี ด้รับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บุญถงึ ) ………./……………./…………. 10.2 รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ านวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 174 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน  ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤติกรรมท่ีมีปญั หาของนกั เรียนเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตาแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 175 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 3 การดารงชวี ติ ของพชื เวลา 22 ชว่ั โมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วัด ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์ ของโครงสรา้ งและหน้าทข่ี องระบบตา่ ง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ว 1.2 ม.1/6 ระบปุ จั จัยท่ีจาเป็นในการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงและผลผลิตทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการ สังเคราะห์ดว้ ยแสง โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ ว 1.2 ม.1/7 อธิบายความสาคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและ ส่ิงแวดล้อม ว 1.2 ม.1/8 ตระหนักในคุณค่าของพืชท่ีมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยการร่วมกัน ปลูกและดแู ลรักษาต้นไมใ้ นโรงเรยี น ว 1.2 ม.1/9 บรรยายลกั ษณะและหน้าที่ของไซเลม็ และโฟลเอ็ม ว 1.2 ม.1/10 เขยี นแผนภาพท่บี รรยายทิศทางการลาเลยี งสารในไซเล็มและโฟลเอ็มของพืช ว 1.2 ม.1/11 อธิบายการสบื พนั ธุ์แบบอาศยั เพศและไม่อาศัยเพศของพืชดอก ว 1.2 ม.1/12 อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอกท่ีมีส่วนทาให้เกิดการถ่ายเรณู รวมท้ัง บรรยาย การปฏสิ นธิของพชื ดอก การเกิดผลและเมลด็ การกระจายเมล็ด และการงอกของเมลด็ ว 1.2 ม.1/13 ตระหนักถงึ ความสาคญั ของสัตว์ท่ชี ่วยในการถ่ายเรณขู องพืชดอก โดย การไมท่ าลายชวี ิตของสตั วท์ ชี่ ่วยในการถ่ายเรณู ว 1.2 ม.1/14 อธิบายความสาคัญของธาตุอาหารบางชนิดที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและ การดารงชวี ิตของพืช ว 1.2 ม.1/15 เลือกใชป้ ุ๋ยทีม่ ธี าตอุ าหารเหมาะสมกับพชื ในสถานการณ์ที่กาหนด ว 1.2 ม.1/16 เลือกวิธีการขยายพันธ์ุพืชให้เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์ โดยใช้ ความรเู้ ก่ยี วกับการสืบพนั ธุข์ องพืช ว 1.2 ม.1/17 อธิบายความสาคัญของเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือพืชในการใช้ประโยชน์ ดา้ นต่าง ๆ ว 1.2 ม.1/18 ตระหนักถึงประโยชน์ของการขยายพันธุ์พืช โดยการนาความรู้ไปใช้ ในชีวติ ประจาวนั ประจกั ษแ์ ละแบบจาลอง โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 176 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) การสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นกระบวนการท่ีสาคัญต่อสิ่งมีชีวิต เพราะเป็นกระบวนการเดียวที่ สามารถนาพลังงานแสงมาเปล่ยี นเปน็ พลังงานในรปู สารประกอบอินทรีย์และเก็บสะสมในรูปแบบ ต่าง ๆ ในโครงสร้างของพืช พืชจึงเป็นแหล่งอาหารและพลังงานท่ีสาคัญของส่ิงมีชีวิตอ่ืน นอกจากนี้กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงยังเป็นกระบวนการหลักในการสร้างแก๊สออกซิเจน ใหก้ ับบรรยากาศเพื่อให้สิ่งมีชีวิตอื่นใช้ในกระบวนการหายใจ 2) พืชมไี ซเล็มและโฟลเอ็ม ซงึ่ เปน็ เนือ้ เย่ือมีลักษณะคล้ายท่อเรียงตัวกันเป็นกลุ่มเฉพาะท่ี โดยไซเล็ม ทาหน้าท่ีลาเลียงน้าและธาตุอาหาร มีทิศทางลาเลียงจากรากไปสู่ลาต้น ใบ และส่วนต่าง ๆ ของ พืช เพ่ือใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง รวมถึงกระบวนการอ่ืน ๆ ส่วนโฟลเอ็มทาหน้าที่ลาเลียง อาหารที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง มีทิศทางลาเลียงจากบริเวณท่ีมีการสังเคราะห์ด้วยแสง ไปสูส่ ว่ นต่าง ๆ ของพชื 3) พืชดอกทุกชนดิ สามารถสืบพนั ธแ์ุ บบอาศัยเพศได้ และบางชนดิ สามารถสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศได้ 4) การสบื พนั ธ์แุ บบอาศยั เพศเปน็ การสืบพันธ์ทุ ่ีมีการผสมกันของสเปิร์มกับเซลล์ไข่ การสืบพันธุ์แบบ อาศยั เพศของพชื ดอกเกดิ ขึ้นท่ีดอก โดยภายในอับเรณูของส่วนเกสรเพศผู้มีเรณู ซึ่งทาหน้าท่ีสร้าง สเปริ ม์ ภายในออวลุ ของสว่ นเกสรเพศเมยี มีถุงเอ็มบริโอทาหนา้ ที่สร้างเซลล์ไข่ 5) การสบื พันธุ์แบบไมอ่ าศัยเพศ เป็นการสืบพนั ธ์ทุ ่พี ชื ต้นใหม่ไม่ไดเ้ กดิ จากการปฏิสนธิระหว่างสเปิร์ม กบั เซลลไ์ ข่ แตเ่ กดิ จากส่วนตา่ ง ๆ ของพชื เชน่ ราก ลาต้น ใบ มีการเจรญิ เติบโต และพัฒนาข้ึนมา เป็นต้นใหมไ่ ด้ 6) การถ่ายเรณู คือ การเคลื่อนย้ายของเรณูจากอับเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย ซ่ึงเก่ียวข้องกับ ลกั ษณะและโครงสรา้ งของดอก เชน่ สขี องกลบี ดอก ตาแหนง่ ของเกสรเพศผแู้ ละเกสรเพศเมีย โดย มสี ิง่ ที่ช่วยในการถา่ ยเรณู เชน่ แมลง ลม 7) การถ่ายเรณจู ะนาไปสู่การปฏิสนธิ ซ่ึงจะเกิดข้ึนที่ถุงเอ็มบริโอภายในออวุล หลังการปฏิสนธิจะได้ ไซโกตและเอนโดสเปิร์ม ไซโกตจะพัฒนาต่อไปเป็นเอ็มบริโอ ออวุลพัฒนาไปเป็นเมล็ด และรังไข่ พฒั นาไปเปน็ ผล 8) ผลและเมล็ดมีการกระจายออกจากต้นเดิม โดยวิธีการต่าง ๆ เมื่อเมล็ดไปตกในสภาพแวดล้อม ท่ีเหมาะสมจะเกิดการงอกของเมล็ด โดยเอ็มบริโอภายในเมล็ดจะเจริญออกมา โดยระยะแรก จะอาศัยอาหารทสี่ ะสมภายในเมลด็ จนกระทงั่ ใบแท้พัฒนา จนสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้เต็มที่ และสร้างอาหารไดเ้ องตามปกติ 9) พชื ต้องการธาตุอาหารทจี่ าเป็นหลายชนิดในการเจรญิ เติบโตและการดารงชวี ติ 10) พืชต้องการธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมาก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และกามะถัน ซ่ึงในดินอาจมีไม่เพียงพอสาหรับการเจริญเติบโตของพืช จึงต้องมกี ารใหธ้ าตอุ าหารในรปู ของปุ๋ยกับพืชอยา่ งเหมาะสม โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 177 11) มนุษย์สามารถนาความรู้เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ มาใช้ขยายพันธุ์เพ่ือ เพ่ิมจานวนพชื เชน่ การใช้เมล็ดที่ได้จากการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศมาเพาะเลี้ยง วิธีการน้ีจะได้ พชื ในปริมาณมาก แตอ่ าจมีลักษณะที่แตกต่างไปจากพ่อแม่ ส่วนการตอนก่ิง การปักชา การต่อ ก่ิง การติดตา การทาบกิ่ง การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อ เป็นการนาความรู้เรื่อง การสืบพันธ์ุแบบ ไม่อาศัยเพศของพืชมาใช้ในการขยายพันธ์ุ เพ่ือให้ได้พืชที่มีลักษณะเหมือนต้นเดิม ซึ่งการ ขยายพันธ์ุแต่ละวิธี มีข้ันตอนแตกต่างกัน จึงควรเลือกให้เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์ โดยต้องคานงึ ถึงชนิดของพืชและลักษณะการสืบพันธ์ขุ องพชื 12) เทคโนโลยกี ารเพาะเล้ยี งเนอื้ เยอื่ พืชเปน็ การนาความรู้เกี่ยวกับปัจจัยท่ีจาเป็นต่อการเจริญเติบโต ของพชื มาใช้ในการเพิม่ จานวนพชื และทาใหพ้ ชื สามารถเจรญิ เติบโตได้ในหลอดทดลอง ซึ่งจะได้ พืชจานวนมากในระยะเวลาสั้น และสามารถนาเทคโนโลยีการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อมาประยุกต์เพื่อ การอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ปรับปรุงพันธุ์พืชท่ีมีความสาคัญ ทางเศรษฐกิจ การผลิตยา และ สาระสาคัญในพชื และอืน่ 2.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ (พิจารณาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา) 3. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด พืชดารงชีวิตอยู่ได้ด้วยส่วนประกอบต่าง ๆ เช่น ใบไม้ ทาหน้าท่ีสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อผลิตอาหาร ให้แกพ่ ชื ราก ทาหน้าที่ดูดน้าและแร่ธาตุ ลาต้น ทาหน้าที่พยุง และภายในมีระบบท่อลาเลียงสารไปเล้ียง ส่วนต่าง ๆ ของพืช ดอก ทาหน้าท่ีเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ และผลทาหน้าท่ีห่อหุ้มเมล็ดซึ่งทาหน้าท่ีกระจาย พันธุพ์ ืช 4. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียนและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มวี นิ ัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ม่งุ มน่ั ในการทางาน 1) ทกั ษะการสังเกต 4. อยู่อย่างพอเพียง 2) ทักษะการระบุ 3) ทักษะการเปรียบเทยี บ 4) ทกั ษะการจาแนกประเภท 5) ทกั ษะการสารวจ 6) ทกั ษะการรวบรวมข้อมูล 7) ทักษะการเชือ่ มโยง โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 178 สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 8) ทักษะการสรุปย่อ 9) ทักษะการให้เหตุผล 10) ทกั ษะการเรียงลาดับ 11) ทักษะการนาไปใช้ 12) ทักษะการสารวจค้นหา 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - รายงาน เร่อื ง ปจั จยั ทจ่ี าเปน็ ต่อกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง - รายงาน เรอ่ื ง ผลผลิตทเ่ี กิดจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง - ป้ายนิเทศ เรอ่ื ง สถานท่ีทเ่ี หมาะสมตอ่ การปลกู พรกิ - รายงาน เร่ือง การขยายพนั ธพ์ุ ืชแบบไมอ่ าศยั เพศ - ผังสรปุ เร่ือง โครงสร้างเมล็ดของพืช - ผงั สรุป เร่อื ง การงอกเมล็ดของพชื - ป้ายนเิ ทศ เรอื่ ง ฟารม์ ในฝันของฉัน 6. การวัดและการประเมนิ ผล รายการวัด วธิ ีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การ ประเมนิ 6.1 การประเมินชน้ิ งาน/ - รายงาน เรอ่ื ง ปัจจัยที่ - แบบประเมินชน้ิ งาน ระดบั คณุ ภาพ 2 ภาระงาน (รวบยอด) จาเป็นต่อกระบวนการ ผา่ นเกณฑ์ สังเคราะห์ดว้ ยแสง ระดบั คณุ ภาพ 2 - รายงาน เรื่อง ผลผลิตท่ี - แบบประเมนิ ช้นิ งาน ผา่ นเกณฑ์ เกดิ จากกระบวนการ สังเคราะหด์ ว้ ยแสง ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ - ป้ายนิเทศ เรอื่ ง สถานที่ที่ - แบบประเมนิ ชิ้นงาน ระดับคณุ ภาพ 2 เหมาะสมตอ่ การปลกู พริก ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 - รายงาน เรอื่ ง การสืบพนั ธ์ุ - แบบประเมนิ ช้ินงาน แบบไม่อาศยั เพศ - ผังสรปุ เร่ือง โครงสร้าง - แบบประเมินชิ้นงาน โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 179 รายการวดั วธิ ีวัด เครอื่ งมือ เกณฑก์ าร ประเมนิ เมล็ดของพชื - แบบประเมินชิน้ งาน ผา่ นเกณฑ์ - ผังสรุป เรื่อง การงอก - แบบประเมินชิ้นงาน ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ เมลด็ ของพชื ระดบั คุณภาพ 2 - ป้ายนิเทศ เรอ่ื ง ฟารม์ ใน ผ่านเกณฑ์ ฝันของฉนั 6.2 การประเมินก่อนเรียน - แบบทดสอบกอ่ นเรียน ประเมินตามสภาพ - แบบทดสอบกอ่ นเรียน - ตรวจแบบทดสอบกอ่ น จริง หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 เรยี น เร่ือง - เฉลยใบงานที่ 3.1 รอ้ ยละ 60 การดารงชีวติ ของพชื ผ่านเกณฑ์ - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 6.3 การประเมินระหว่าง ม.1 เล่ม 1 ผ่านเกณฑ์ การจดั กิจกรรม 1) การสงั เคราะหด์ ว้ ย - ตรวจใบงานท่ี 3.1 แสง - ตรวจกิจกรรมทา้ ทาย ความคิดขนั้ สูง H.O.T.S. 2) การลาเลียงสาร ใน - ตรวจใบงานท่ี 3.2 - เฉลยใบงานที่ 3.2 ร้อยละ 60 พชื ผ่านเกณฑ์ - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ม.1 เล่ม 1 ผ่านเกณฑ์ 3) การเจริญเติบโต - ตรวจใบงานที่ 3.3 - เฉลยใบงานที่ 3.3 รอ้ ยละ 60 ของพืช ผ่านเกณฑ์ - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ม.1 เลม่ 1 ผา่ นเกณฑ์ 4) การสืบพันธุ์แบบไม่ - ตรวจแบบฝึกหดั ร้อยละ 60 อาศยั เพศของพชื - แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ ม.1 เล่ม 1 รอ้ ยละ 60 5) การสืบพันธุ์แบบ - ตรวจแบบฝึกหดั ผา่ นเกณฑ์ อาศัยเพศของพชื - แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 180 รายการวดั วธิ วี ัด เคร่ืองมอื เกณฑ์การ ประเมนิ 6) เทคโนโลยีชีวภาพ - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ของพืช ม.1 เลม่ 1 ผา่ นเกณฑ์ 7) การออกแบบการ - ประเมนิ การออกแบบการ - แบบประเมินการ ระดับคณุ ภาพ 2 ปฏบิ ัติการ ปฏิบัตกิ าร ออกแบบการปฏบิ ตั ิการ ผา่ นเกณฑ์ 8) การปฏิบัติการ - ประเมนิ การปฏิบตั ิการ - แบบประเมนิ การ ระดบั คุณภาพ 2 ปฏิบตั กิ าร ผา่ นเกณฑ์ 9) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมนิ การ ระดบั คุณภาพ 2 ผลงาน นาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ 10) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤตกิ รรมการ - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 ทางานรายบุคคล ทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ 11) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรมการ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 ทางานรายกลุ่ม ทางานรายกล่มุ การทางานรายกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ 12) คุณลกั ษณะ - สังเกตความมวี นิ ัย - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ระดบั คณุ ภาพ 2 อันพงึ ประสงค์ และม่งุ ม่นั ในการทางาน อนั พงึ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ 6.4 การประเมนิ หลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบหลัง - แบบทดสอบหลงั เรียน ประเมินตามสภาพ จริง หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เรยี น การดารงชีวิตของพชื 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ เวลา 4 ชวั่ โมง เวลา 5 ชั่วโมง นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 เร่อื ง การดารงชวี ติ ของพชื เวลา 3 ชั่วโมง • แผนฯ ที่ 1 : การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง เวลา 2 ชว่ั โมง เวลา 5 ชวั่ โมง วิธสี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 2 : การลาเลยี งสารในพชื วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 3 : การเจริญเตบิ โตของพชื วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 4 : การสืบพนั ธุ์แบบไมอ่ าศยั เพศของพชื วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 5 : การสบื พนั ธแุ์ บบอาศยั เพศของพชื วธิ สี อนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 181 • แผนฯ ท่ี 6 : เทคโนโลยีชวี ภาพของพชื เวลา 3 ช่วั โมง วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) 8. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรยี นรู้ 1) หนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 2) แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3) ใบงานที่ 3.1 เรอ่ื ง การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช 4) ใบงานที่ 3.2 เร่ือง การลาเลยี งน้าและแรธ่ าตขุ องพืช 5) ใบงานที่ 3.3 เร่อื ง การเจริญเติบโตของพชื 6) ภาพนาเสนอ PPT 7) ตวั อยา่ งดอกไม้และเมลด็ พันธพุ์ ชื 8) กระดาษคาถาม และ key word เกี่ยวกับขั้นตอนการปฏิสนธขิ องพชื 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องปฏบิ ัตกิ ารทดลอง 2) หอ้ งสมดุ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 182 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 คาช้แี จง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. สว่ นประกอบของพชื ข้อใดเก่ียวข้องกับกระบวนการ 6. ข้อใดคอื อาการของพืชท่ขี าดธาตุอาหารหลกั สังเคราะหด์ ว้ ยแสงมากที่สุด ก. ปลายใบสีสม้ แดง ลาตน้ ใหญ่ ก. ใบ ข. ใบล่างมสี มี ว่ ง ลาตน้ แคระแกร็น ข. ดอก ค. ปลายใบมว้ น ลาตน้ มีจดุ สีขาว ค. ราก ง. ปลาบใบเป็นขอบหยัก ลาต้นมีจดุ สดี า ง. ลาต้น 7. ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบของดอกไม้ 2. กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงคืออะไร ก. กลีบดอกเพศเมยี ก. กระบวนการผลิตอาหารของพชื ข. กลีบดอก ข. กระบวนการผลิตสารเรอื งแสงในพชื ค. เกสรเพศผู้ ค. กระบวนการผลติ ความรอ้ นของพชื ง. กลบี เล้ยี ง ง. กระบวนการผลติ น้าและแรธ่ าตุของพืช 8. เมล็ดขา้ วโพดตา่ งกับเมลด็ ถั่วอยา่ งไร 3. ขอ้ ใดคอื ทอ่ ลาเลยี งน้าและแรธ่ าตุของพชื ก. การงอกของเมลด็ ทัง้ สอง ก. ท่อไซเล็ม ข. เมล็ดขา้ วโพดไม่มีเอ็มบริโอ ข. ทอ่ ไซเอม็ ค. เมลด็ ถวั่ ไม่มีเปลอื กหุ้มเมล็ด ค. ท่อโฟลเอม็ ง. เมลด็ ทงั้ สองเหมือนกนั ทุกประการ ง. ทอ่ โฟลเล็ม 9. ผักตบชวาขยายพันธ์อุ ย่างไร 4. การลาเลียงอาหารของพชื เกี่ยวขอ้ งกบั ทอ่ ลาเลยี งใด ก. ใชเ้ หงา้ ทอดยาวไปตามใต้ดิน ก. ทอ่ ไซเล็ม ข. ท่อไซเอ็ม ท่อโฟลเล็ม ข. ใช้ใบข.แทตก่อตไซ้นเใอห็มม่ท่อโฟลเล็ม ค. ทอ่ โฟลเอม็ ง. ท่อไซเลม็ ท่อโฟลเอม็ ค. ใชข้ อ้ ปลอ้ งแตกต้นใหม่ 5. ต้นข้าวโพดมกี ารเจริญท่แี ตกตา่ งกับต้นถั่วอย่างไร ง. ใช้ไหลทอดยาวไปตามพื้นดิน ก. ต้นขา้ วโพดจะขยายออกดา้ นขา้ งมากกว่าต้นถว่ั 10. ขอ้ ใด ไม่ใช่ เทคโนโลยีชวี ภาพท่ีใช้กับพืช ข. ต้นขา้ วโพดจะยืดยาว สว่ นต้นถ่ัวจะขยายออก ก. พืชตา้ นแมลงศตั รพู ืช ดา้ นข้าง ข. ผักออรแ์ กนิค ค. ต้นถั่วจะยดื ยาวมากกว่าตน้ ข้าวโพด ค. การเพาะเลีย้ งเน้อื เยื่อ ง. ทั้งต้นขา้ วโพดและต้นถ่ัวมลี ักษณะการเจริญที ง. พชื ตา้ นโรค เหมอื นกัน เฉลย 1. ค 2. ก 3. ก 4. ง 5. ข 6. ข 7. ก 8. ก 9. ง 10. ข โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 183 แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 คาชแี้ จง : ให้นักเรยี นเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใด ไมใ่ ช่ หนา้ ท่ีของใบพืช 6. ลาต้นพืชขอ้ ใดมกี ารเจรญิ เตบิ โตในขน้ั ทสี่ อง ก. ขยายพันธ์ุ ก. มะมว่ ง ข. ผลติ อาหาร ข. ข้าวบาร์เลย์ ค. คายนา้ และแกส๊ ค. ข้าวโพด ง. ลาเลียงนา้ ไปยงั สว่ นต่างๆ ง. ออ้ ย 2. สารใดจาเป็นตอ่ การสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช 7. สว่ นใดของดอกไม้ทาหน้าทีล่ อ่ แมลง ก. นา้ ค. แกส๊ ออกซิเจน ก. กลีบดอก ข. คลอโรฟิลล์ ง. น้าตาลกลูโคส ข. กลีบเลี้ยง 3. ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้อง ค. เกสรเพศผู้ ก. ท่อไซเลม็ ประกอบดว้ ยเซลล์ตะแกรง และคอมพา- ง. เกสรเพศเมีย เนียนเซลล์ 8. หลังการปฏิสนธิสว่ นใดของดอกไม้จะพัฒนาต่อไป ข. ท่อโฟลเอม็ ประกอบดว้ ยเซลล์ตะแกรง คอมพา-เนยี น ก. กลบี ดอก เซลล์ และเซลลค์ มุ ข. เกสรเพศเมยี ค. ทอ่ ไซเล็มประกอบดว้ ยกลุม่ เซลลท์ ่มี ชี วี ิต ค. กลบี เล้ียง ง. ทอ่ โฟลเอม็ ประกอบด้วยกลมุ่ เซลลม์ ีชวี ติ ง. เกสรเพศผู้ 4. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ กระบวนการลาเลยี งอาหารของพชื 9. ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ งเกี่ยวกบั การเพาะเลย้ี งเน้ือเย่ือ ก. ลาเลียงในรูปของน้าตาลซูโครส ก. ทาให้พชื ต้านทานโรคและแมลงศตั รพู ืชได้ ข. นา้ จากท่อไซเล็มออสโมซสิ เข้าสทู่ อ่ โฟลเอม็ ข. เป็นการนาสว่ นของพชื มาเลยี้ งในอาหาร ค. นา้ ตาลออสโมซสิ เขา้ สทู่ ่อโฟลเอ็ม สังเคราะห์ ง. กระบวนการทรานสโลเคชน่ั ค. เปน็ การนาส่วนของพืชมาตัดต่อพันธกุ รรม 5. ขอ้ ใดกล่าว ถูกต้อง เก่ยี วกับลักษณะท่อลาเลยี งของลาต้น ง. ช่วยใหพ้ ชื มีผลผลติ มากข้ึน ใบเลีย้ งคู่ 10. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ขั้นตอนการดัดแปรพันธกุ รรมพืช ก. เรียงตวั กระจดั กระจายท่ัวลาต้น ก. การคัดเลอื กยนี ทเี่ ราตอ้ งการจากสงิ่ มชี วี ิตอืน่ ข. มีเฉพาะทอ่ โฟลเอ็มท่ีใชล้ าเลยี งอาหาร ข. การนาส่วนของพืชมาเลย้ี งในหอ้ งปลอดเชอ้ื ค. มแี คมเบียมกน้ั ระหวา่ งทอ่ โฟลเอม็ ที่อยดู่ ้านนอก และ ค. การเพ่มิ จานวนยีนทเี่ ราตอ้ งการโดยใช้ ทอ่ ไซเลม็ ท่อี ย่ดู า้ นใน แบคทเี รยี ง. มแี คมเบยี มกน้ั ระหวา่ งทอ่ โฟลเอ็มทอ่ี ยดู่ า้ นใน และ ง. การแทรกยนี ท่ีเราตอ้ งการลงในยนี ของพืช ทอ่ ไซเล็มท่ีอยู่ด้านนอก เฉลย 1. ง 2. ง 3. ง 4. ค 5. ค 6. ก 7. ก 8. ข 9. ข 10. ข โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 184 9. ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรอื ผทู้ ี่ได้รบั มอบหมาย ขอ้ เสนอแนะ ลงชอื่ ................................. ( ................................ ) ตาแหน่ง ....... 10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น  ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรอื พฤตกิ รรมท่มี ปี ญั หาของนกั เรียนเป็นรายบคุ คล (ถา้ มี))  ปญั หา/อปุ สรรค  แนวทางการแกไ้ ข โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 185 แบบประเมนิ แกบาบรปปรฏะเิบมตันิ ชิกิน้ารงาแนผนฯ ที่ 1,2,3 คาช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนประเมนิ การปฏบิ ตั ิการของนกั เรียนตามรายการที่กาหนด แล้วขดี  ลงในชอ่ งที่ตรงกับ ระดบั คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 4321 1 การปฏิบตั ิการทดลอง 2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัติการ รวม 3 การนาเสนอ ลงชอื่ ................................................... ผปู้ ระเมิน ................./................../.................. เกณฑก์ ารประเมนิ การปฏิบัตกิ าร โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 186 ประเด็นทีป่ ระเมิน 4 ระดับคะแนน 1 ทาการทดลองตาม 1. การปฏิบัติการ ข้นั ตอน และใชอ้ ปุ กรณ์ 32 ต้องให้ความชว่ ยเหลือ ทดลอง ได้อย่างถกู ต้อง ทาการทดลองตาม ตอ้ งให้ความชว่ ยเหลอื อยา่ งมากในการทาการ ข้ันตอน และใชอ้ ุปกรณ์ บา้ งในการทาการ ทดลอง และการใช้ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง แต่อาจ ทดลอง และการใช้ อุปกรณ์ ต้องไดร้ บั คาแนะนาบา้ ง อปุ กรณ์ 2. ความ มคี วามคลอ่ งแคล่ว มคี วามคลอ่ งแคลว่ ขาดความคล่องแคล่ว ทาการทดลองเสร็จไม่ คล่องแคลว่ ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ทนั เวลา และทา ในขณะ ในขณะทาการทดลอง แตต่ อ้ งได้รบั คาแนะนา จงึ ทาการทดลองเสรจ็ อุปกรณ์เสียหาย ปฏิบตั ิการ โดยไมต่ อ้ งได้รับคา บา้ ง และทาการทดลอง ไม่ทนั เวลา เสรจ็ ทนั เวลา ตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลอื 3. การบนั ทึก สรุป ช้ีแนะ และทาการ ต้องใหค้ าแนะนาในการ อยา่ งมากในการบันทกึ และนาเสนอผล ทดลองเสร็จทนั เวลา บันทกึ และสรปุ ผลการ บันทึก สรปุ และ สรปุ และนาเสนอผล การทดลอง ทดลองได้ถกู ต้อง แต่ นาเสนอผลการทดลอง การทดลอง บันทกึ และสรปุ ผลการ การนาเสนอผลการ ทดลองได้ถูกตอ้ ง รดั กมุ ทดลองยังไม่เป็น นาเสนอผลการทดลอง ขั้นตอน เปน็ ข้ันตอนชดั เจน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 11-12 ดมี าก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ต่ากวา่ 6 ปรบั ปรงุ แบบประเมินการออกแบบปฏบิ ตั ิการ แผนฯ ที่ 3 โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 187 คาชีแ้ จง : ให้ผู้สอนประเมินการออกแบบปฏิบัติการของนกั เรียนตามรายการท่ีกาหนด แล้วขีด  ลงในช่อง ทีต่ รงกับระดบั คะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 4321 1 การออกแบบการทดลอง 2 การดาเนนิ การทดลอง รวม 3 การนาเสนอ ลงช่อื ................................................... ผปู้ ระเมิน ................./................../.................. ประเด็นทปี่ ระเมนิ เกณฑ์การประเมินการออกแบบปฏบิ ตั ิการ ระดบั คะแนน โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 188 1. การออกแบบ 4 3 2 1 การทดลอง เขา้ ใจปัญหา เข้าใจปญั หา เขา้ ใจปัญหา เข้าใจปัญหา 2. การดาเนนิ การ ตง้ั สมมตฐิ านได้ ตัง้ สมมติฐานได้ถูกตอ้ ง ต้งั สมมติฐานได้ถกู ตอ้ ง ตั้งสมมตฐิ านได้ถูกตอ้ ง ทดลอง ออกแบบการทดลอง ออกแบบการทดลอง ตอ้ งอาศยั การแนะนาใน สอดคล้องกบั ปัญหา และใช้เทคนคิ วิธถี ูกตอ้ ง และใช้เทคนคิ วิธี การออกแบบการ 3. การนาเสนอ ยังไมถ่ ูกตอ้ ง ทดลอง ออกแบบการทดลอง การดาเนนิ การทดลองมี การดาเนินการทดลองมี การดาเนนิ การทดลอง และใชเ้ ทคนิควิธถี ูกต้อง ขน้ั ตอนครบถว้ นถูกต้อง ขั้นตอนถกู ต้องเปน็ ส่วน ไมถ่ ูกตอ้ งเป็นส่วนใหญ่ แสดงถงึ ความคดิ ริเร่มิ แตไ่ มม่ กี ารทาซ้า และ ใหญ่ และการเกบ็ ข้อมลู และการเก็บข้อมูล การดาเนนิ การทดลองมี การเกบ็ ขอ้ มูลได้ ได้ครบถ้วนตามท่ี ไมค่ รบถว้ น ข้นั ตอนครบถว้ นถูกต้อง ครบถว้ นตามท่ีต้องการ ตอ้ งการ มีการทาซ้า และการ นาเสนอขอ้ มูลถกู ต้อง นาเสนอขอ้ มลู ถกู ตอ้ ง นาเสนอข้อมูลถูกตอ้ ง เกบ็ ข้อมลู ไดล้ ะเอียด ครบถ้วน วิเคราะห์ วเิ คราะห์ข้อมูลได้ วิเคราะห์ขอ้ มูลไม่ ข้อมลู ได้ครบถว้ น ครบถ้วน นาเสนอผล ครบถ้วน สรุปผลการ รอบคอบ ครบถ้วน สรปุ ผลการทดลอง การทดลองถูกตอ้ ง ทดลอง ถกู ตอ้ ง มีการนาเหตุผล ไม่ถูกตอ้ ง ตามทีต่ อ้ งการ และความรูม้ าอ้างอิง ประกอบการสรปุ ผล เหมาะสมกับลกั ษณะ การทดลอง ของข้อมูล แสดงถึง ความคิดสร้างสรรค์ใน การนาเสนอ วเิ คราะห์ ขอ้ มูลได้ครบถ้วน เหมาะสม สรปุ ผลการ ทดลองถูกต้อง มกี ารนา เหตุผลและความรมู้ า อา้ งอิงประกอบการ สรุปผลการทดลอง เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 11-12 ดีมาก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ต่ากว่า 6 ปรบั ปรงุ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 189 แบบประเมนิ ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผน ฯ ท่ี 3,5,6 แบบประเมินปา้ ยนิเทศ/ผงั สรุป คาช้แี จง : ใหผ้ สู้ อนประเมินชิน้ งาน/ภาระงาน แลว้ ขีด ลงในชอ่ งที่ตรงกับระดับคะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 4321 1 ความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ 2 ความถูกต้องของเนื้อหา รวม 3 ความคิดสรา้ งสรรค์ 4 ความตรงตอ่ เวลา ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมนิ ................./................../.................. เกณฑ์การประเมนิ แผน่ พับ ประเด็นทปี่ ระเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 ผลงานไมส่ อดคล้องกับ 1. ความ ผลงานสอดคลอ้ งกบั ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ จุดประสงค์เป็นสว่ น จุดประสงคบ์ างประเดน็ สอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ทกุ ประเดน็ ใหญ่ เนื้อหาสาระของผลงาน ไม่ถูกตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ จดุ ประสงค์ เนอ้ื หาสาระของผลงาน เนอ้ื หาสาระของผลงาน ถูกต้องเปน็ ส่วนใหญ่ ถูกตอ้ งบางประเดน็ 2. ความถูกตอ้ ง เนอ้ื หาสาระของผลงาน ของเน้อื หา ถูกต้องครบถ้วน 3. ความคิด ผลงานแสดงถึงความคดิ ผลงานแสดงถงึ ความคดิ ผลงานมีความนา่ สนใจ ผลงานไม่มีความ สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ นา่ สนใจ และไมแ่ สดง และเปน็ ระบบ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แตย่ งั ไมม่ แี นวคิดแปลก ถึงแนวคิดแปลกใหม่ 4. ความตรงตอ่ เวลา สง่ ชน้ิ งานภายในเวลาท่ี แตย่ ังไม่เป็นระบบ ใหม่ สง่ ช้ินงานช้ากว่าเวลาที่ กาหนด กาหนด 3 วันข้ึนไป สง่ ช้ินงานช้ากว่าเวลาท่ี สง่ ชนิ้ งานชา้ กว่าเวลาที่ กาหนด 1 วนั กาหนด 2 วนั เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 14-16 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรบั ปรงุ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่