Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2019-05-01 12:08:48

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 40 แบบประเมินการปฏิบตั ิการ แผนฯที่ 1,2,7 คาชแ้ี จง : ให้ผสู้ อนประเมนิ การปฏบิ ตั ิการของนักเรียนตามรายการทกี่ าหนด แล้วขีด  ลงในช่องทต่ี รงกบั ระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 1 การปฏบิ ตั ิการทดลอง 2 ความคล่องแคลว่ ในขณะปฏบิ ัตกิ าร 3 การนาเสนอ รวม ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ................./................../.................. โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 41 เกณฑ์การประเมนิ การปฏิบัติการ ประเดน็ ท่ปี ระเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 ทาการทดลองตาม 32 1. การปฏบิ ัตกิ าร ข้ันตอน และใชอ้ ปุ กรณ์ ต้องใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทดลอง ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ทาการทดลองตาม ต้องใหค้ วามช่วยเหลอื อยา่ งมากในการทาการ ขน้ั ตอน และใชอ้ ุปกรณ์ บา้ งในการทาการ ทดลอง และการใช้ ได้อย่างถูกตอ้ ง แตอ่ าจ ทดลอง และการใช้ อุปกรณ์ ตอ้ งได้รับคาแนะนาบ้าง อปุ กรณ์ 2. ความ มีความคลอ่ งแคล่ว มีความคลอ่ งแคล่ว ขาดความคลอ่ งแคลว่ ทาการทดลองเสร็จไม่ คลอ่ งแคล่ว ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ในขณะทาการทดลอง ทันเวลา และทา ในขณะ โดยไม่ตอ้ งได้รบั คา แตต่ อ้ งได้รับคาแนะนา จึงทาการทดลองเสรจ็ อปุ กรณ์เสยี หาย ปฏิบตั กิ าร ช้แี นะ และทาการ บ้าง และทาการทดลอง ไมท่ นั เวลา ทดลองเสร็จทันเวลา เสรจ็ ทันเวลา 3. การบนั ทึก สรุป บันทึกและสรปุ ผลการ บนั ทึกและสรปุ ผลการ ต้องใหค้ าแนะนาในการ ตอ้ งให้ความช่วยเหลอื และนาเสนอผล ทดลองไดถ้ ูกตอ้ ง รัดกมุ ทดลองได้ถูกต้อง แต่ บันทึก สรุป และ อยา่ งมากในการบันทกึ การทดลอง นาเสนอผลการทดลอง การนาเสนอผลการ นาเสนอผลการทดลอง สรปุ และนาเสนอผล เปน็ ขนั้ ตอนชดั เจน ทดลองยงั ไม่เป็น การทดลอง ขั้นตอน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 11-12 ดีมาก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ตา่ กว่า 6 ปรับปรุง โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 42 แบบประเมนิ ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผน ฯ ท่ี 6 แบบประเมินผงั มโนทัศน์ คาช้แี จง ให้ผูส้ อนประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน แลว้ ขดี ลงในช่องทต่ี รงกับระดับคะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน 4 ระดับคะแนน 1 รวม 32 1 ความสอดคลอ้ งกับจุดประสงค์ 2 ความถูกตอ้ งของเนื้อหา 3 ความคิดสรา้ งสรรค์ 4 ความตรงตอ่ เวลา ลงช่ือ ................................................... ผ้ปู ระเมิน ................./................../.................. เกณฑก์ ารประเมินแผน่ พบั ประเดน็ ท่ปี ระเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 ผลงานไมส่ อดคล้องกับ 1. ความ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกบั ผลงานสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ จดุ ประสงคเ์ ป็นส่วน จุดประสงค์บางประเดน็ สอดคล้องกับ จดุ ประสงค์ทุกประเดน็ ใหญ่ เนือ้ หาสาระของผลงาน ไม่ถูกตอ้ งเปน็ สว่ นใหญ่ จดุ ประสงค์ เน้ือหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน ถกู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ถูกต้องบางประเดน็ 2. ความถูกต้อง เนอื้ หาสาระของผลงาน ของเนอ้ื หา ถูกตอ้ งครบถว้ น 3. ความคดิ ผลงานแสดงถงึ ความคดิ ผลงานแสดงถงึ ความคิด ผลงานมคี วามนา่ สนใจ ผลงานไม่มีความ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ น่าสนใจ และไมแ่ สดง และเปน็ ระบบ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แตย่ งั ไม่มแี นวคิดแปลก ถงึ แนวคิดแปลกใหม่ 4. ความตรงตอ่ เวลา สง่ ช้ินงานภายในเวลาที่ แต่ยังไม่เป็นระบบ ใหม่ ส่งช้นิ งานช้ากว่าเวลาที่ กาหนด กาหนด 3 วันข้นึ ไป สง่ ชิ้นงานชา้ กวา่ เวลาท่ี ส่งชนิ้ งานช้ากวา่ เวลาที่ กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วนั เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14-16 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรับปรุง โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 43 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนประเมินการนาเสนอผลงาน แล้วขีด ลงในชอ่ งท่ีตรงกบั ระดับคะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32  1 ความถกู ต้องของเน้อื หา    2 ภาษาท่ใี ช้เข้าใจง่าย    3 ประโยชนท์ ี่ได้จากการนาเสนอ  4 วิธีการนาเสนอผลงาน  5 ความสวยงามของผลงาน  รวม ลงชอ่ื ................................................... ผปู้ ระเมิน .............../................/................ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ เปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางสว่ น เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14-15 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรับปรงุ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 44 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล คาช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งท่ีตรงกบั ระดับ คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเหน็   2 การยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อื่น   3 การทางานตามหน้าทท่ี ไี่ ด้รับมอบหมาย   4 ความมีนา้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอื่ ................................................... ผู้ประเมิน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ................/.............../................ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรับปรุง โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 45 แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายกลุ่ม คาช้ีแจง : ใหผ้ ูส้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งทีต่ รงกบั ระดับ คะแนน ลาดบั ช่ือ–สกลุ การแสดง การยอมรับฟัง การทางาน ความมนี ้าใจ การมี รวม ที่ ของนกั เรยี น ความคดิ เหน็ คนอ่ืน ตามทีไ่ ด้รับ สว่ นรว่ มในการ 15 มอบหมาย คะแนน ปรับปรุง ผลงานกลมุ่ 3213213213 21 3 21 เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมนิ ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ................/.............../............... ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครง้ั ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14-15 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรบั ปรุง โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 46 แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คาชี้แจง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ลงในชอ่ งท่ตี รงกบั ระดับคะแนน คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อนั พงึ ประสงคด์ า้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาตไิ ด้ กษัตริย์ 1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทสี่ ร้างความสามคั คี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน 1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาท่ตี นนบั ถือ ปฏบิ ตั ติ ามหลักศาสนา 1.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมที่เกยี่ วกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ต์ ามที่โรงเรียนจัดข้ึน 2. ซื่อสัตย์ สจุ รติ 2.1 ให้ขอ้ มูลทถี่ ูกตอ้ งและเป็นจริง 2.2 ปฏิบตั ใิ นสิ่งท่ถี กู ตอ้ ง 3. มวี นิ ัย รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คับของครอบครัว มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจาวัน 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์และนาไปปฏบิ ตั ิได้ 4.2 รจู้ ักจัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชือ่ ฟังคาส่งั สอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โตแ้ ย้ง 4.4 ต้ังใจเรยี น 5. อยอู่ ย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิง่ ของของโรงเรยี นอย่างประหยดั 5.2 ใช้อปุ กรณก์ ารเรยี นอย่างประหยัดและร้คู ุณคา่ 5.3 ใชจ้ า่ ยอย่างประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงนิ 6. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 6.1 มคี วามต้ังใจและพยายามในการทางานท่ีได้รับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ ้อแทต้ ่ออุปสรรคเพ่ือใหง้ านสาเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มจี ิตสานกึ ในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย 7.2 เหน็ คุณคา่ และปฏบิ ตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รจู้ ักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทางาน 8.2 รจู้ กั การดแู ลรักษาทรัพย์สมบัติและสิง่ แวดลอ้ มของห้องเรยี นและโรงเรยี น เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชอ่ื ................................................... ผู้ประเมนิ พฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั ิชดั เจนและสม่าเสมอ ................/.............../................ พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ิชดั เจนและบอ่ ยคร้งั พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ัติบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14-15 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรบั ปรุง โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 47 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1/2562 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ (ว 21101) หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 สารรอบตัว เร่อื ง สารและการจาแนกสาร จานวนเวลาทีส่ อน 4 ชว่ั โมง ผู้สอน นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา 1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเขา้ ใจทีค่ งทน) สารทอี่ ยู่รอบตัวเราลว้ นมลี กั ษณะเฉพาะตัวท่ีแตกต่างกัน สารบางชนิดสามารถสังเกตได้จากลักษณะ ภายนอกของสารได้ เชน่ สี สถานะ เปน็ ต้น ซ่ึงเป็นสมบัติทางกายภาพของสาร แต่สมบัติบางชนิดของสาร เกิดจากการทาปฏิกิริยาเคมี ทาให้เกิดสารใหม่ท่ีมีองค์ประกอบแตกต่างไปจากเดิม เช่น การเผาไหม้ การ เกดิ สนมิ เปน็ ตน้ ซง่ึ เปน็ สมบัติทางเคมขี องสาร การระบุว่าสารแต่ละชนิดเป็นสารประเภทใดจาเป็นต้องใช้ สมบตั ิของสารมาวเิ คราะห์ เชน่ การใชส้ ถานะ การใช้เนอื้ สาร และการใช้ขนาดของอนุภาคมาเป็นเกณฑ์ใน การจาแนกสาร 2. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ัดช้นั ป/ี ผลการเรียนรู้/เปา้ หมายการเรียนรู้ 2.1 ตัวชี้วัด ว 2.1 ม.1/9 อธบิ ายและเปรียบเทยี บการจัดเรียงอนุภาค แรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค และการ เคล่ือนทข่ี องอนุภาคของสสารชนดิ เดยี วกนั ในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดย ใชแ้ บบจาลอง 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายการจัดเรยี งอนภุ าค แรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนภุ าค และการเคล่ือนที่ของอนุภาคของสารชนดิ เดยี วกันในสถานะต่างๆ ได้ 3.2 ดา้ นทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) เปรียบเทียบการจัดเรียงอนภุ าค แรงยึดเหน่ยี วระหวา่ งอนุภาค และการเคลอ่ื นทข่ี องอนุภาคของ สารชนดิ เดียวกันในสถานะต่าง ๆ ได้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 3) รบั ผิดชอบตอ่ หน้าทแ่ี ละงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 48 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนื้อหาสาระหลกั : Knowledge (ผู้เรยี นต้องรูอ้ ะไร) - สสารทกุ ชนดิ ประกอบด้วยอนุภาค โดยสารชนิดเดียวกนั ทม่ี สี ถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส จะมี การจัดเรยี งอนภุ าค แรงยดึ เหนยี่ วระหว่างอนุภาค การเคล่ือนท่ีของอนภุ าคแตกต่างกัน ซ่งึ มีผลต่อรูปรา่ ง และปริมาตรของสสาร - อนภุ าคของของแขง็ เรียงชิดกนั มีแรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งอนุภาคมากท่สี ุด อนภุ าคสนั่ อยูก่ ับที่ ทาให้มีรูปร่างและปรมิ าตรคงที่ - อนภุ าคของของเหลวอยูใ่ กลก้ นั มีแรงยึดเหนีย่ วระหวา่ งอนภุ าคนอ้ ยกว่าของแข็งแต่ มากกว่าแก๊ส อนุภาคเคล่ือนทไ่ี ดแ้ ตไ่ ม่เปน็ อิสระเท่าแกส๊ ทาใหม้ รี ปู รา่ งไม่คงที่ แต่ปริมาตรคงที่ - อนภุ าคของแกส๊ อยูห่ า่ งกนั มาก มแี รงยึดเหน่ยี วระหวา่ งอนภุ าคนอ้ ยที่สุด อนุภาคเคลอื่ นท่ี ไดอ้ ย่างอิสระทกุ ทศิ ทาง ทาให้มรี ปู รา่ งและปริมาตรไมค่ งท่ี 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผ้เู รียนสามารถปฏบิ ตั ิอะไรได้) - ทกั ษะการสรา้ งคาอธบิ าย - ทกั ษะการสอ่ื ความหมาย - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะการสบื ค้นโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4.3 คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ : Attitude (ผเู้ รยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรียนอะไรบา้ ง) - ซือ่ สตั ย์สุจริต - มวี ินยั - ใฝเ่ รยี นรู้ - มงุ่ ม่นั ในการทางาน 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มีวินัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทกั ษะการสงั เกต 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน 2) ทกั ษะการจัดกลมุ่ 4. อยู่อย่างพอเพียง 3) ทกั ษะการเปรียบเทียบ 4) ทักษะการจาแนกประเภท 5) ทักษะการสารวจ 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 49 6. กจิ กรรมการเรียนรู้  วิธสี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชั่วโมงท่ี 1 ข้ันนา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครแู จ้งผลการเรยี นรูใ้ หน้ กั เรียนทราบ 2. ครใู หน้ ักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ครถู ามคาถาม Big Question วา่ สารที่อยรู่ อบตัวเรามีความแตกตา่ งกนั อยา่ งไร (แนวคาตอบ สารท่ีอยู่รอบตัวเราบางชนิดมีสมบัติทางกายภาพบางประการที่เหมือน และแตกต่าง กัน เช่น สถานะ การนาความร้อน การนาไฟฟ้า เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามสารแต่ละชนิดย่อม ลักษณะเฉพาะของสารแต่ละชนิดน้ัน ๆ เช่น สภาพการละลาย จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความ หนาแน่นของสาร เป็นต้น) ขน้ั สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูถามคาถาม prior knowledge กระตุ้นความคิดของนักเรียน 2. ครใู ห้นักเรยี นแบ่งกลุม่ ออกเปน็ 4 กลุม่ โดยให้แตล่ ะกลุ่มศกึ ษา เรอ่ื ง สมบตั ิของสาร จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าที่ 3 3. ครูนานา้ สม้ สายชใู ส่ลงในบีกเกอร์ A และนา้ ใสล่ งในบีกเกอร์ B มาให้นกั เรียนศึกษา และตอบคาถาม ตอ่ ไปน้ี - นักเรียนคดิ วา่ สารในบีกเกอร์ A และ B เปน็ สารชนดิ เดียวกันหรือไม่ (แนวคาตอบ พจิ ารณาคาตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของครูผสู้ อน) 4. ครูใหน้ กั เรยี นตรวจสอบสารในบีกเกอร์ A และ B แลว้ ถามคาถามนกั เรียน ดังนี้ - สาร A และ B ทน่ี ักเรยี นตรวจสอบ มลี ักษณะอย่างไร (สาร A และ B เป็นของเหลว ไม่มีสี แต่สาร A มกี ลน่ิ ฉนุ เมอ่ื ทดสอบด้วยกระดาษลติ มัส พบว่าสาร A มฤี ทธ์เิ ป็นกรด สว่ นสาร B ไมเ่ ปล่ียนสีกระดาษลิตมัส ) - นักเรียนคิดวา่ ลักษณะใดเป็นสมบัติทางกายภาพ (สถานะของสาร สี กล่นิ เป็นตน้ ) - นักเรียนคดิ ว่าลักษณะใดเป็นสมบตั ทิ างเคมี (ความเปน็ กรด-เบส เปน็ ต้น) 5. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภิปราย เรอ่ื ง สมบตั ขิ องสาร โดยครูยกตวั อย่างให้นักเรียนเหน็ จากการนา สาร A และ B ทมี่ ลี กั ษณะภายนอกที่เหมือนกนั แตไ่ มใ่ ชส่ ารเดียวกัน ดงั นน้ั จงึ จาเปน็ ต้องอาศัย สมบตั ขิ องสารเข้ามาตรวจสอบ จึงทาให้รูว้ า่ สารท้ังสองเป็นสารตา่ งชนดิ กนั โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 50 6. ครูเกริน่ นาเขา้ สู่เรื่องถัดไปวา่ การจาแนกสารจาเปน็ ต้องใช้สมบตั ิของสารมาวิเคราะห์ 7. ครยู กตัวอยา่ งการจาแนกสารโดยใช้สถานะของสาร ซ่ึงเปน็ สมบัตทิ างกายภาพมาให้นกั เรียนศึกษา โดยใหน้ กั เรียนศึกษาในหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าที่ 4 8. ครูยกตัวอยา่ งสถานะของปรอท ซง่ึ เปน็ สารทมี่ ี 3 สถานะเชน่ เดยี วกบั นา้ ใน Science focus มาให้ นักเรียนได้ศกึ ษาในหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าที่ 4 9. ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มศกึ ษา เร่ือง การจาแนกสารโดยใช้เนือ้ สารและอนุภาคของสารเปน็ เกณฑ์ จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าที่ 5 10. ครูแจกภาพแต่ละชดุ ให้แต่ละกลุ่ม โดยภาพแต่ละชุดมี ดงั น้ี สม้ ตา น้าผลไมป้ ัน่ น้าเกลอื นา้ นม กาแฟ สลดั น้าแป้ง ทองคาขาว นา้ พรกิ แอลกอฮอลเ์ ชด็ แผล น้าส้มสายชู หมอก ควนั จากท่อไอเสีย แก๊สหงุ ตม้ เป็นต้น 11. ครแู จกใบงานท่ี 1.1 เรือ่ ง การจาแนกสาร เพ่อื ให้แตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั จาแนกสารจากภาพ แลว้ บนั ทึก ลงใน ใบงานที่ 1.1 ชวั่ โมงที่ 2 ขน้ั สอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครสู มุ่ ตวั แทนแตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอใบงานท่ี 1.1 เร่ือง การจาแนกสาร 2. ครูเสริมและเพมิ่ เติมความร้ใู ห้กับตัวแทนนกั เรียนทีอ่ อกมานาเสนอ 3. ครูและนักเรียนร่วมกนั อภิปรายสมบัตขิ องสาร การจาแนกสาร เปรยี บเทียบการจัดเรยี งอนภุ าค และ การเคลอื่ นท่ีของสารทง้ั 3 สถานะ ข้ันสรุป ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหดั ลงในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ชั่วโมงท่ี 3 ขน้ั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุม่ ออกเป็น 3 กลุ่ม โดยใหแ้ ต่ละกล่มุ ส่งตวั แทนออกมาจบั ฉลากหวั ข้อกิจกรรม ดงั น้ี - ของแข็ง - ของเหลว - แก๊ส โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 51 2. ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ ทากิจกรรม เรอ่ื ง ของแข็ง ของเหลว และแกส๊ ตามหนังสือเรยี น วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าที่ 6 โดยใหแ้ ต่ละกลุ่มทากจิ กรรมภายใต้หวั ขอ้ ท่นี กั เรียนจบั ฉลากได้ ดงั น้ี - กลมุ่ ของแข็ง ให้บรรจุเม็ดโฟมเต็มขวด - กลมุ่ ของเหลว ใหบ้ รรจุเม็ดโฟมคร่งึ ขวด - กลมุ่ แกส๊ ใหบ้ รรจุเมด็ โฟมนอ้ ยกวา่ คร่ึงขวด 3. ครูให้นักเรยี นทากิจกรรม เร่อื ง ของแขง็ ของเหลว และแกส๊ ตามหนงั สือแลว้ บนั ทกึ ผลกจิ กรรม และ ตอบคาถามท้ายกิจกรรมลงในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ชว่ั โมงที่ 4 ข้นั สอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครสู ุ่มตัวแทนกลุ่มออกมารายงานผลจากการทากิจกรรมหน้าชั้นเรียน 2. ครูเฉลยคาตอบจากคาถามท้ายกิจกรรม ในแบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ถามคาถามท้ายกิจกรรม ดังนี้ - ขวดนา้ ทีบ่ รรจุเม็ดโฟมของแต่ละกลุ่ม เปรียบเสมอื นกบั สถานะของสารใดบา้ ง (แนวคาตอบ สารที่อย่รู อบตัวเราบางชนิดมีสมบัติทางกายภาพบางประการทเี่ หมือน และแตกต่างกนั เชน่ สถานะ การนาความรอ้ น การนาไฟฟา้ เป็นตน้ แต่อย่างไรก็ตามสารแต่ละชนิดมยี ่อมลกั ษณะเฉพาะของ สารแต่ละชนิดนัน้ ๆ เช่น สภาพการละลาย จุดเดือด จดุ หลอมเหลว ความหนาแนน่ ของสาร เป็นต้น) - หลงั จากเปา่ ลมเขา้ ไปในขวด ลกั ษณะการเคล่ือนทีข่ องเมด็ โฟมแตล่ ะกลุ่มแตกต่างกันหรอื ไม่ อย่างไร (แนวคาตอบ แตกต่างกัน ขวดท่บี รรจุเม็ดโฟมจนเตม็ ขวด อนุภาคของเม็ดโฟมจะสนั่ อยกู่ ลบั ที่ ถ้าบรรจุ เม็ดโฟมครึ่งขวด บางอนภุ าคของเม็ดโฟมจะเคลอื่ นที่อิสระ แตถ่ ้าบรรจเุ ม็ดโฟมตา่ กวา่ ครง่ึ อนุภาคของ เม็ดโฟมจะเคล่อื นที่ได้อยา่ งอิสระ) 3. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายเปรียบเทียบ การจัดเรียงอนภุ าค และการเคลอื่ นทีข่ องสารทง้ั 3 สถานะ ขน้ั สรปุ ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครูให้นักเรยี นทาใบงานท่ี 1.2 เรือ่ ง สารรอบตวั โดยใหน้ กั เรียนกลับไปสารวจสารรอบตัวภายในบ้าน ของนักเรียน แล้วจาแนกสารลงในใบงาน พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 2. ครูให้นักเรยี นทาแบบฝึกหัดแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 52 2. ครูตรวจใบงานท่ี 1.1 เร่ือง การจาแนกสาร 3. ครูประเมินการนาเสนอใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง การจาแนกสาร โดยใช้แบบประเมนิ ผลงาน 4. ครตู รวจใบงานท่ี 1.2 เรือ่ ง สารรอบตวั 5. ครูประเมนิ การทากิจกรรม เร่อื ง ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส โดยใช้แบบประเมินการปฏิบตั ิการ 6. ครูประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่มจากการศกึ ษาและทาใบงาน เรอื่ ง การจาแนกสาร 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวดั วธิ กี าร เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมนิ 7.1 การประเมินกอ่ นเรียน - แบบทดสอบก่อน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมินตามสภาพจรงิ เรียนหนว่ ยการ ก่อนเรียน เรียนรู้ที่ 1 เรอ่ื ง สารรอบตัว 7.2 ประเมนิ ระหวา่ งการ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 1) สารและการจาแนก - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - เฉลยใบงานที่ 1.1 เรื่อง รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ สาร เร่ือง การจาแนกสาร การจาแนกสาร - ตรวจใบงานท่ี 1.2 - เฉลยใบงานท่ี 1.2 เรอื่ ง รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เรือ่ ง สารรอบตัว สารรอบตวั - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ม.1 เล่ม 1 ผ่านเกณฑ์ 2) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การเสนอ - แบบประเมินการนาเสนอ ระดบั คณุ ภาพ 2 ใบงานท่ี 1.1 เร่อื ง ผลงาน ผ่านเกณฑ์ การจาแนกสาร 3) พฤติกรรมการทางาน - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 รายกลมุ่ การทางานรายกลุ่ม การทางานรายกล่มุ ผ่านเกณฑ์ 4) การปฏิบัติการ - ประเมนิ - แบบประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 2 การปฏิบตั ิการ การปฏบิ ัติการ ผา่ นเกณฑ์ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 53 รายการวัด วิธีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมิน 5) คณุ ลกั ษณะอนั พงึ - สงั เกตความมีวินัย - แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ ระดบั คณุ ภาพ 2 ประสงค์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมน่ั อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ ในการทางาน 8. สอื่ /แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สอ่ื การเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 2) แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3) ใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง การจาแนกสาร 4) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง สารรอบตัว 5) PowerPoint หรอื ภาพสารต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ส้มตา น้าผลไมป้ น่ั นา้ เกลือ น้านม กาแฟ สลัด น้าแป้ง ทองคาขาว นา้ พรกิ แอลกอฮอล์ นา้ สม้ สายชู หมอก ควนั จากท่อไอเสยี แก๊สหุงตม้ เป็นต้น 6) อุปกรณ์การทดลอง เรอ่ื ง ของแขง็ ของเหลว และแกส๊ 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) หอ้ งปฏบิ ตั ิการ 9. การบูรณาการตามจดุ เน้นของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชีวภาพ หลกั ปรชั ญา ครู ผเู้ รียน ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดดี า้ นจิตใจ ร้จู ักใชเ้ ทคโนโลยีมาผลติ ส่ือท่ี มจี ิตสานึกท่ดี ี จติ สาธารณะรว่ ม 2. ความมีเหตผุ ล อนุรกั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและ เหมาะสมและสอดคลอ้ งเน้ือหาเปน็ สิ่งแวดลอ้ ม 3. มีภมู ิคมุ กันในตัวท่ดี ี ประโยชนต์ อ่ ผู้เรยี นและพัฒนาจากภูมิ ปัญญาของผเู้ รียน ไมห่ ยดุ น่ิงที่หาหนทางในชีวติ หลุดพน้ - ยดึ ถือการประกอบอาชีพดว้ ยความ จากความทกุ ขย์ าก (การคน้ หาคาตอบ ถูกต้อง สจุ ริต เพ่ือใหห้ ลดุ พ้นจากความไม่รู้) ภูมปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ภูมิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ รบั ผิดชอบ ระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ ระมัดระวงั โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 54 หลกั ปรชั ญา ครู ผ้เู รียน ของเศรษฐกจิ พอเพียง 4. เงอื่ นไขความรู้ ความรอบรู้ เรือ่ ง สารและการ ความรอบรู้ เรือ่ ง สารและการ จาแนกสาร ท่เี กยี่ วขอ้ งรอบด้าน นา จาแนกสาร สามารถนาความรู้ ความรู้มาเชื่อมโยงประกอบการ เหลา่ นั้นมาพจิ ารณาใหเ้ กิดความ วางแผน การดาเนนิ การจดั กิจกรรม เชือ่ มโยง สามารถประยกุ ต์ การเรียนรใู้ หก้ ับผเู้ รยี น ใช้ในชวี ิตประจาวันได้ 5. เง่อื นไขคุณธรรม มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มี มีความตระหนักใน คุณธรรม มคี วาม ความซอื่ สัตยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน ซื่อสตั ย์สุจริตและมีความอดทน มี มีความเพียร ใช้สติปญั ญาในการ ความเพียร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนนิ ดาเนินชวี ติ ชีวติ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ผเู้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทางชีวภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดที่ไดร้ ับมอบหมาย) - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทาง ผู้เรยี น ชวี ภาพในโรงเรียน (กาหนดจุดให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สบื คน้ ขอ้ มูลการอนุรักษ์ความ ผเู้ รยี นสารวจ) หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหัวข้อที่ ไดม้ อบหมาย) สง่ิ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ กั ษ์ความหลากหลาย - การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทาง ทางชวี ภาพ ชวี ภาพ (กาหนดหัวขอ้ ให้ผู้เรียน สบื คน้ ) โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 55 10. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผ้บู ริหารสถานศึกษาหรอื ผู้ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางสาวณฐั ธนัญา บญุ ถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผอู้ านวยการฝ่ายบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 56 11. บันทกึ ผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์  ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรอื พฤตกิ รรมท่ีมีปัญหาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี))  ปญั หา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชอื่ .........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา) ตาแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 57 ใบงานที่ 1.1 เร่ือง การจาแนกสาร คาช้ีแจง : จงบนั ทกึ ช่อื สารจากภาพ และใช้สมบัตทิ างกายภาพของสารเป็นเกณฑใ์ นการจาแนกชนิดของสาร โดยขีดเครือ่ งหมาย  ลงในชอ่ งที่กาหนดให้ สมบัตทิ างกายภาพ ช่อื สาร สถานะ เนอื้ สาร อนภุ าค ของ ของ แกส๊ สาร สาร สาร สาร คอลลอยด์ แขง็ เหลว เน้ือเดยี ว เนือ้ ผสม ละลาย แขวนลอย โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 58 ใบงานที่ 1.1 เฉลย เรือ่ ง การจาแนกสาร คาช้ีแจง : จงบนั ทกึ ช่อื สารจากภาพ และใช้สมบัติทางกายภาพของสารเปน็ เกณฑใ์ นการจาแนกชนิดของสาร โดยขดี เครอื่ งหมาย  ลงในช่องที่กาหนดให้ สมบตั ิทางกายภาพ ชอ่ื สาร สถานะ เนอื้ สาร อนภุ าค ของ ของ แกส๊ สาร สาร สาร สาร คอลลอยด์ แข็ง เหลว เนื้อเดียว เน้อื ผสม ละลาย แขวนลอย หมอก สม้ ตา นา้ ผลไมป้ ัน่ นา้ เกลอื แก๊สหงุ ต้ม น้าสม้ สายชู ทองคาขาว แอลกอฮอลเ์ ช็ด แผล กาแฟ สลดั นา้ พริก ควนั ทอ่ ไอเสีย นา้ แป้ง น้านม น้าโคลน โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 59 ใบงานท่ี 1.2 เร่อื ง สารรอบตวั คาชีแ้ จง : ใหน้ กั เรยี นสารวจสิง่ แวดล้อมทอี่ ยู่รอบตัวมา 2 ชนดิ และเปรียบเทยี บความแตกต่างของสาร ตามหวั ขอ้ ท่กี าหนดให้ สถานที่สารวจ: สารชนิดที่ 1 สารชนิดท่ี 2 สมบัตทิ างกายภาพ สมบัตทิ างเคมี โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 60 ใบงานท่ี 1.2 เฉลย เรื่อง สารรอบตัว คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรยี นสารวจส่งิ แวดลอ้ มทอ่ี ยู่รอบตัวมา 2 ชนดิ และเปรียบเทยี บความแตกต่างของสาร ตามหัวขอ้ ท่ีกาหนดให้ สถานท่สี ารวจ: ห้องครวั (ตัวอยา่ งคาตอบ) สารชนิดที่ 1 สารชนิดที่ 2 ตัวอย่าง นา้ มะนาว ตัวอย่าง ทอ่ เหล็ก สมบัตทิ างกายภาพ ของเหลว ของแข็ง มรี สเปรี้ยว นาความร้อน สมบัตทิ างเคมี นาไฟฟา้ มีฤทธเ์ิ ปน็ กรด เกิดสนมิ ได้ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 61 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1/2562 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ (ว 21101) หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 สารรอบตวั เรื่อง การเปลีย่ นแปลงของสาร จานวนเวลาทส่ี อน 4 ชวั่ โมง ผสู้ อน นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 1. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด (ความเขา้ ใจที่คงทน) สารที่อยู่รอบตัวเราล้วนมีสมบัติทางกายภาพ และสมบัติทางเคมีท่ีแตกต่างกัน ซึ่งอุณหภูมิภายนอกมีผล ต่อสถานะของสาร ซ่ึงเป็นสมบัติทางกายภาพของสารอย่างหนึ่ง เช่น น้าแข็ง (ของแข็ง) เมื่อได้รับความร้อนจะ ละลายกลายเป็นน้า (ของเหลว) เมื่อน้าได้รับความร้อนต่อเน่ืองจะเดือด และระเหยกลายเป็นไอ (แก๊ส) เป็นต้น ซ่ึงความร้อนท่ีทาให้ของแข็งเปล่ียนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว และเรียก ความรอ้ นทีท่ าให้ของเหลวเปลี่ยนสถานะเปน็ แก๊สว่า ความรอ้ นแฝงของการกลายเป็นไอ 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั ชนั้ ป/ี ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรยี นรู้ 2.1 ตวั ช้ีวดั ว 2.1 ม.1/10 อธบิ ายความสมั พันธ์ระหว่างพลังงานความรอ้ นกบั การเปลยี่ นสถานะของสสาร โดยใช้ หลักฐานเชงิ ประจักษ์ และแบบจาลอง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายความสมั พันธ์ระหวา่ งพลงั งานความร้อนกับการเปลีย่ นสถานะของสสารได้ 3.2 ดา้ นทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) สามารถระบกุ ารเปล่ยี นแปลงสถานะของสสารทอี่ ยรู่ อบตวั ได้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 3) ใฝร่ ู้และรับผดิ ชอบหนา้ ที่ที่ได้รบั มอบหมาย 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เน้อื หาสาระหลกั : Knowledge (ผู้เรยี นตอ้ งรู้อะไร) - ความร้อนมีผลต่อการเปล่ียนสถานะของสสาร เม่ือให้ความร้อนแก่ของแข็ง อนุภาคของ ของแข็ง จะมพี ลังงานและอณุ หภูมิเพ่ิมข้นึ จนถึงระดบั หนึ่ง ซ่ึงของแขง็ จะใชค้ วามรอ้ นในการเปลี่ยนสถานะเป็น ของเหลว เรียก ความร้อนท่ีใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลวว่า ความร้อนแฝงของการ หลอมเหลว และอณุ หภูมขิ ณะเปล่ยี นสถานะจะคงที่ เรยี กอุณหภูมินว้ี า่ จุดหลอมเหลว โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 62 - เมื่อให้ความร้อนแก่ของเหลว อนุภาคของของเหลว จะมีพลังงานและอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึง ระดับหนึง่ ซึง่ ของเหลวจะใช้ความรอ้ นในการเปล่ยี นสถานะเป็นแก๊ส เรียกความร้อนท่ีใช้ในการเปลี่ยนสถานะ จากของเหลว เป็นแก๊สว่า ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ และอุณหภูมิขณะเปล่ียนสถานะจะคงที่ เรียก อุณหภมู นิ ีว้ า่ จุดเดอื ด - เม่ือทาให้อุณหภูมิของแก๊สลดลงจนถึงระดับหน่ึงแก๊สจะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียก อณุ หภมู นิ ว้ี ่า จุดควบแนน่ ซงึ่ มอี ุณหภูมเิ ดียวกับจดุ เดอื ดของของเหลวน้นั - เมอ่ื ทาให้อุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถงึ ระดับหน่ึง ของเหลวจะเปลยี่ นสถานะเปน็ ของแข็ง เรยี กอุณหภมู นิ ้ีว่า จดุ เยือกแขง็ ซงึ่ มีอณุ หภูมเิ ดยี วกบั จุดหลอมเหลวของของแขง็ นั้น 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผู้เรียนสามารถปฏิบัตอิ ะไรได)้ - ทักษะการสรา้ งคาอธบิ าย - ทักษะการส่ือความหมาย - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทักษะการสืบค้นโดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4.3 คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ : Attitude (ผู้เรยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรยี นอะไรบา้ ง) - ซอื่ สัตย์สจุ รติ - มวี นิ ัย - ใฝเ่ รียนรู้ - มงุ่ มน่ั ในการทางาน 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี นและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่อื สาร 1. มวี ินัย 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 1) ทักษะการสงั เกต 3. มุ่งมน่ั ในการทางาน 2) ทกั ษะการระบุ 4. อยู่อย่างพอเพียง 3) ทกั ษะการนาความร้ไู ปใช้ 4) ทกั ษะการเชอื่ มโยง 5) ทกั ษะการจาแนกประเภท 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 63 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้  แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ สี อน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงที่ 1 ขั้นนา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูถามคาถาม prior knowledge กระตนุ้ ความคดิ ของนักเรียนว่า ก้อนน้าแข็งท่ีวางทิ้งไว้กลางแจ้ง จะมกี ารเปล่ียนแปลงสถานะอยา่ งไร (แนวคาตอบ 3 สถานะ ได้แก่ ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส) 2. ครกู ระตุ้นความสนใจของนักเรยี นด้วยการทดลองหน้าช้ันเรียน เรื่อง การเปล่ียนแปลงสถานะของ นา้ โดยครเู ตรยี มอุปกรณ์ ดงั น้ี - นา้ แข็ง 1 ถุง - น้าในบกี เกอร์ - ฮอทเพลท ข้นั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครใู ห้นักเรียนศึกษา เรอ่ื ง การเปลีย่ นแปลงสถานะของสาร ในหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ที่ 7-8 2. ครูสมุ่ ตวั แทนนกั เรยี นออกมาหนา้ ชัน้ เรียน เพอ่ื ทากิจกรรมตามข้ันตอน ดงั นี้ - เทน้าแขง็ ลงในบีกเกอร์ จากนนั้ ให้ความร้อนดว้ ยฮอทเพลท จนกระทงั่ นา้ แขง็ ละลาย จากน้ันให้ ความร้อนตอ่ ไปจนกระทัง่ น้าในบกี เกอรเ์ ดอื ดกลายเปน็ ไอนา้ - นาบกี เกอร์ลงจากฮอทเพลท แล้วนากระจกนาฬกิ ามาปิดปากบกี เกอร์ขณะท่ีนา้ เดอื ด 3. ครูให้นกั เรียนสังเกต และจดบันทกึ การเปล่ียนแปลงสถานะของน้าลงในสมดุ บันทกึ ของนกั เรียน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครเู ขียนคาถามทา้ ยกิจกรรมบนกระดาน ดงั นี้ - ความร้อนทีใ่ ช้ในการเปล่ียนสถานะของน้าแข็งกลายเป็นน้าเรยี กว่าอะไร และอณุ หภมู ทิ ที่ าให้ นา้ แขง็ เปล่ียนสถานะเรยี กวา่ อะไร (แนวคาตอบ ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวทาให้น้าแข็งเปล่ยี นสถานะกลายเป็นน้า โดย อุณหภูมิ ณ จุดนี้ เรียกว่า จดุ หลอมเหลว) - ความรอ้ นท่ใี ช้ในการการเปล่ยี นสถานะของของเหลวกลายเปน็ ไอเรียกว่าอะไร และอุณหภมู ทิ ่ที า ให้นา้ เปลี่ยนสถานะเรียกว่าอะไร (แนวคาตอบ ความรอ้ นแฝงของการกลายเปน็ ไอทาใหน้ ้าเปลย่ี นสถานะกลายเปน็ ไอน้า โดยอุณหภูมิ ณ จดุ น้ี เรยี กว่า จดุ เดอื ด) โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 64 - การเปลย่ี นสถานะของแกส๊ กลายเปน็ ของเหลวเรียกวา่ อะไร และอุณหภมู ิท่ที าให้ไอนา้ เปล่ยี น สถานะเรียกว่าอะไร (แนวคาตอบ การควบแนน่ ทาใหแ้ ก๊สกลายเปน็ ของเหลว โดยอณุ หภูมิ ณ จดุ น้ี เรยี กวา่ จุดควบแน่น ซึ่งเป็นอณุ หภมู ิเดยี วกับจุดเดอื ด) - หากนานา้ ไปแช่ในอุณหภมู ทิ ่ี 0 องศาเซลเซยี ส จนน้ากลายเปน็ น้าแขง็ เรียกอุณหภูมนิ ้ีวา่ อะไร (แนวคาตอบ จุดเยอื กแขง็ ซึง่ เป็นอุณหภมู เิ ดยี วกบั จุดหลอมเหลว) 2. ครูใหน้ ักเรยี นลอกโจทย์และตอบคาถามลงในสมดุ บน 3. สุม่ ตวั แทน 4 คน ออกมาเสนอคาตอบทา้ ยกจิ กรรมบนกระดานคนละขอ้ 4. ครูเฉลยและอธิบายคาตอบบนกระดานที่ถกู ตอ้ ง ชั่วโมงท่ี 2 ขน้ั สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครูใหน้ กั เรียนศกึ ษาตัวอย่างการเปล่ียนสถานะของน้าในธรรมชาติ ในหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ที่ 8 เพื่อขยายความเข้าใจของนักเรียน 2. ครใู หน้ ักเรยี นทาใบงานที่ 1.3 เรื่อง ความร้อนกับการเปลีย่ นสถานะของสาร 3. ครใู ห้นักเรียนทาแบบฝึกหดั ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ชว่ั โมงที่ 3 ขน้ั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครใู ห้นกั เรยี นจับแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 5 คน ทากจิ กรรม เรือ่ ง อุณหภูมกิ ับการเปลี่ยนสถานะ ตาม หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนา้ ท่ี 9 โดยสมาชกิ ในกลุ่มมีหนา้ ที่ ดังนี้ สมาชกิ คนท่ี 1 เตรยี มอุปกรณ์ สมาชิกคนท่ี 2 และ 3 ทาการทดลอง สมาชกิ คนท่ี 4 บนั ทกึ ผลลงในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 และนาขอ้ มลู มาแสดงเป็นกราฟ สมาชกิ คนท่ี 5 นาเสนอผลทีไ่ ด้จากกจิ กรรม ชวั่ โมงท่ี 4 ขั้นสอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครใู ห้สมาชกิ คนท่ี 5 ของแตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอผลกจิ กรรม เรือ่ ง อุณหภมู กิ ับการเปลยี่ น สถานะ และชว่ ยเสริมและแก้ไขข้อมูลใหถ้ กู ต้อง 2. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายผลจากกจิ กรรม 3. ครูถามคาถามท้ายกิจกรรม ดงั น้ี - เม่อื นา้ มาผสมกบั น้าแขง็ อณุ หภมู ิของสารมีการเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 65 (แนวคาตอบ อุณหภูมขิ องน้าแข็งจะสงู ขึน้ ขณะที่อณุ หภมู ขิ องน้าจะตา่ ลง จนกระทัง่ สารทง้ั สองอยู่ ในสภาพสมดุลทอ่ี ุณหภมู หิ นึ่ง) - หลงั จากใหค้ วามร้อนแกน่ า้ เปน็ เวลา 3 นาที นา้ ในบกี เกอร์มกี ารเปลีย่ นสถานะอยา่ งไร (แนวคาตอบ นา้ จะเดือดกลายเปน็ ไอ ซึ่งเป็นการเปลย่ี นสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง) แล้วบนั ทึกคาตอบลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ขั้นสรปุ ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหดั ลงในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจใบงานท่ี 1.3 เร่อื ง ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสาร 2. ครตู รวจแบบฝกึ หดั ในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3. ครูประเมนิ ผลการทากิจกรรม เร่อื ง อณุ หภมู ิกับการเปลีย่ นสถานะ โดยใชแ้ บบประเมนิ ปฏิบตั กิ าร 4. ครูประเมนิ ผลการทางานรายบุคคล จากการศกึ ษากิจกรรมการทดลองของตวั แทนนกั เรยี น เร่อื ง การเปล่ียนสถานะของน้า สงั เกต และจดบันทึกการทดลอง และการตอบคาถามทา้ ยการทดลอง จากโจทย์บนกระดาน 7. การวดั และประเมินผล รายการวัด วธิ วี ดั เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ 7.1 การประเมินระหว่าง ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ การจัดกจิ กรรม ร้อยละ 60 1) การเปลย่ี นแปลง - ตรวจใบงานที่ 1.3 เรือ่ ง - เฉลยใบงานที่ 1.3 เร่ือง ผ่านเกณฑ์ ระดับคุณภาพ 2 ของสาร ความรอ้ นกับการเปล่ยี น ความรอ้ นกบั การเปลี่ยน ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ 2 สถานะของสาร สถานะของสาร ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ 2 - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์ ม.1 เล่ม 1 2) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล การทางานรายบคุ คล 3) การปฏิบัตกิ าร - ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ าร - แบบประเมินการ ปฏิบตั ิการ 4) คุณลกั ษณะอนั พงึ - สังเกตความมวี ินัย - แบบประเมินคณุ ลักษณะ ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งม่ัน อนั พึงประสงค์ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 66 8. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 2) แบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 3) อปุ กรณ์การทดลอง เรอ่ื ง การเปล่ียนแปลงสถานะของน้า 4) อปุ กรณก์ ารทดลอง เร่อื ง อณุ หภมู กิ บั การเปล่ียนสถานะ 5) ใบงานท่ี 1.3 เรอ่ื ง ความรอ้ นกับการเปล่ียนสถานะของสาร 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) หอ้ งปฏบิ ัติการ 9. การบรู ณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชีวภาพ หลกั ปรัชญา ครู ผู้เรยี น ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดดี า้ นจติ ใจ รจู้ ักใช้เทคโนโลยมี าผลติ สอ่ื ท่ี มจี ิตสานกึ ที่ดี จิตสาธารณะรว่ ม 2. ความมเี หตุผล อนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ เหมาะสมและสอดคล้องเนือ้ หาเป็น สิ่งแวดล้อม 3. มภี ูมิคมุ กนั ในตัวทด่ี ี ประโยชนต์ อ่ ผ้เู รยี นและพฒั นาจากภมู ิ 4. เงอ่ื นไขความรู้ ปญั ญาของผู้เรยี น ไม่หยุดน่งิ ที่หาหนทางในชวี ิต หลุดพ้น - ยึดถือการประกอบอาชพี ด้วยความ จากความทกุ ข์ยาก (การคน้ หาคาตอบ ถกู ตอ้ ง สจุ ริต เพ่อื ให้หลุดพน้ จากความไมร่ ู้) ภมู ิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ ภมู ปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ รับผิดชอบ ระมัดระวัง สรา้ งสรรค์ ระมดั ระวงั ความรอบรู้ เรื่อง การเปล่ียนแปลง ความรอบรู้ เรื่อง การเปลี่ยนแปลง ของสาร สามารถนาความรู้เหล่าน้นั มา ของสาร ท่เี กีย่ วขอ้ งรอบดา้ น นา พจิ ารณาให้เกดิ ความเชอื่ มโยง ความรมู้ าเช่ือมโยงประกอบการ สามารถประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้ วางแผน การดาเนินการจดั กจิ กรรม การเรยี นรูใ้ หก้ บั ผเู้ รยี น โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 67 หลกั ปรชั ญา ครู ผู้เรยี น ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5. เงื่อนไขคุณธรรม มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มี มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ ความซอื่ สัตย์สุจรติ และมีความอดทน ซือ่ สัตยส์ ุจริตและมีความอดทน มี มีความเพยี ร ใชส้ ติปัญญาในการ ความเพยี ร ใช้สติปัญญาในการดาเนิน ดาเนนิ ชวี ิต ชวี ติ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผเู้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทางชีวภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดทีไ่ ด้รับมอบหมาย) - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทาง ผ้เู รยี น ชีวภาพในโรงเรียน (กาหนดจดุ ให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สบื ค้นข้อมูลการอนรุ กั ษค์ วาม ผเู้ รียนสารวจ) หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวข้อที่ ไดม้ อบหมาย) สิง่ แวดล้อม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรักษ์ความหลากหลาย - การอนุรักษ์ความหลากหลายทาง ทางชวี ภาพ ชีวภาพ (กาหนดหัวข้อให้ผเู้ รยี น สืบคน้ ) โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 68 10. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผ้บู ริหารสถานศึกษาหรอื ผู้ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางสาวณฐั ธนญั า บุญถงึ ) ………./……………./…………. 10.2 รองผอู้ านวยการฝ่ายบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นางวลิ าวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 69 11. บันทกึ ผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์  ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรอื พฤตกิ รรมท่ีมีปัญหาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี))  ปญั หา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชอื่ .........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา) ตาแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 70 ใบงานที่ 1.3 เรอ่ื ง ความร้อนกบั การเปลี่ยนสถานะของสาร คาชี้แจง : จงศึกษาภาพ และนาคาท่ีกาหนดให้เติมลงในตารางใหส้ มบรู ณ์ ของแข็ง แก๊ส ของเหลว การระเหย การควบแน่น การละลาย การแขง็ ตัว DE F G C A B ตัวอักษร หมายถึง A B C D E F G โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 71 ใบงานที่ 1.3 เฉลย เรอ่ื ง ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสาร คาช้ีแจง : จงศึกษาภาพ และนาคาท่กี าหนดใหเ้ ติมลงในตารางให้สมบรู ณ์ ของแขง็ แกส๊ ของเหลว การระเหย การควบแน่น การละลาย การแข็งตวั DE F G C A B ตวั อกั ษร หมายถึง A ของแขง็ B ของเหลว C D แกส๊ E การละลาย F การระเหย G การแขง็ ตวั การควบแน่น โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 72 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 1/2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ (ว 21101) หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารรอบตัว เรอ่ื ง สารบริสุทธิ์ จานวนเวลาท่สี อน 5 ชั่วโมง ผ้สู อน นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา 1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด (ความเขา้ ใจทค่ี งทน) สารท่ีอยู่รอบตวั ล้วนประกอบด้วยธาตุและสารประกอบ ธาตุ เปน็ สารท่ปี ระกอบด้วยอะตอมเพียงชนิด เดียว เม่ือธาตุมากกว่า 1 ชนิดมารวมกันทางเคมีในอัตราส่วนโดยมวลคงท่ี จะได้สารประกอบท่ีมีสมบัติ แตกตา่ งจากธาตุท่ีเป็นองค์ประกอบเดมิ ธาตแุ ละสารประกอบจึงจัดเป็นสารบริสุทธ์ิ 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวดั ช้นั ป/ี ผลการเรียนรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ 2.1 ตวั ช้วี ดั ว 2.1 ม.1/1 อธบิ ายสมบตั ิทางกายภาพบางประการของธาตโุ ลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ โดยใช้ หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ที่ได้จากการสังเกต และการทดสอบ และใชส้ ารสนเทศท่ไี ด้จาก แหล่งขอ้ มูลต่าง รวมท้งั จดั กล่มุ ธาตุโลหะ อโลหะ และกึง่ โลหะ ว 2.1 ม.1/2 วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึง่ โลหะ และธาตกุ ัมมนั ตรังสี ท่ีมตี ่อสงิ่ มีชวี ิต สงิ่ แวดล้อม เศรษฐกจิ และสงั คม จากขอ้ มลู ที่รวบรวมได้ ว 2.1 ม.1/3 ตระหนกั ถงึ คณุ ค่าของการใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ ธาตกุ ัมมนั ตรังสี โดยเสนอ แนวทางการใชธ้ าตุอยา่ งปลอดภัยและคุ้มคา่ ว 2.1 ม.1/7 อธิบายเกยี่ วกับความสัมพันธร์ ะหวา่ งอะตอม ธาตุ และสารประกอบ โดยใชแ้ บบจาลอง และสารสนเทศ ว 2.1 ม.1/8 อธบิ ายโครงสรา้ งอะตอมทป่ี ระกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยใช้ แบบจาลอง 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างอะตอม ธาตุ และสารประกอบ โดยใชแ้ บบจาลองได้ 3.2 ด้านทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) อธบิ ายโครงสร้างอะตอม โดยใชแ้ บบจาลองได้ 3) อธิบายสมบัตทิ างกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะได้ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 73 4) วิเคราะหผ์ ลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ ก่งึ โลหะ และธาตุกัมมนั ตรงั สีต่อสงิ่ มชี ีวิต สง่ิ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 5) ตระหนักถงึ คุณคา่ ของการใชธ้ าตโุ ลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ ธาตุ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนื้อหาสาระหลกั : Knowledge (ผเู้ รยี นต้องรูอ้ ะไร) - ธาตุแตล่ ะชนดิ มสี มบตั เิ ฉพาะตวั และมสี มบตั ิ ทางกายภาพบางประการเหมอื นกันและบาง ประการตา่ งกัน ซึ่งสามารถนามาจดั กลมุ่ ธาตุเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ธาตุโลหะมจี ดุ เดอื ด จุด หลอมเหลวสงู มผี วิ มันวาว นาความร้อน นาไฟฟ้า ดงึ เป็นเส้น หรอื ตเี ป็นแผน่ บาง ๆ ได้ และมีความหนาแน่น ท้งั สูงและต่า ธาตอุ โลหะ มี จุดเดอื ด จดุ หลอมเหลวต่า มีผวิ ไมม่ ันวาว ไมน่ าความรอ้ น ไมน่ าไฟฟา้ เปราะ แตกหกั งา่ ย และมคี วามหนาแนน่ ตา่ ธาตุก่ึงโลหะ มีสมบัตบิ างประการเหมือนโลหะ และสมบตั ิ บางประการ เหมอื นอโลหะ - ธาตโุ ลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ท่สี ามารถแผ่รังสีได้ จดั เปน็ ธาตุกัมมนั ตรงั สี - ธาตุมีทั้งประโยชนแ์ ละโทษ การใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ กง่ึ โลหะ ธาตุกมั มนั ตรังสี ควร คานึงถงึ ผลกระทบตอ่ สง่ิ มชี วี ิต ส่งิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสงั คม - สารบรสิ ุทธแิ์ บง่ ออกเป็นธาตุและสารประกอบ ธาตปุ ระกอบดว้ ยอนภุ าคที่เล็กทสี่ ุดทยี่ งั แสดงสมบัติของธาตุนัน้ เรียกวา่ อะตอม ธาตแุ ต่ละชนดิ ประกอบดว้ ยอะตอมเพยี งชนดิ เดยี วและไมส่ ามารถ แยกสลายเป็นสารอ่นื ได้ดว้ ยวธิ ีทางเคมี ธาตุเขยี นแทนด้วยสัญลักษณธ์ าตุ สารประกอบเกิดจากอะตอมของธาตุ ตง้ั แต่ 2 ชนิดขน้ึ ไปรวมตวั กันทางเคมีในอตั ราสว่ นคงที่ มีสมบัตแิ ตกต่างจากธาตุท่ีเปน็ องคป์ ระกอบ สามารถ แยกเปน็ ธาตุไดด้ ว้ ยวิธที างเคมี ธาตุและสารประกอบสามารถเขียนแทนได้ด้วยสูตรเคมี - อะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นิวตรอน และอิเลก็ ตรอน โปรตอนมปี ระจไุ ฟฟ้าบวก ธาตุ ชนิดเดยี วกนั มีจานวนโปรตอนเทา่ กันและเป็นคา่ เฉพาะของธาตุนน้ั นวิ ตรอนเปน็ กลางทางไฟฟา้ ส่วน อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าลบ เมื่ออะตอมมจี านวนโปรตอนเทา่ กบั จานวนอเิ ล็กตรอน จะเป็นกลาง ทางไฟฟา้ โปรตอนและนิวตรอนรวมกนั ตรงกลางอะตอมเรยี กว่า นิวเคลยี ส สว่ นอเิ ลก็ ตรอนเคล่อื นท่อี ยู่ในทว่ี า่ งรอบ นวิ เคลียส 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รยี นสามารถปฏิบัติอะไรได้) - ทักษะการสร้างคาอธบิ าย - ทักษะการสอ่ื ความหมาย - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการสบื คน้ โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 74 4.3 คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ : Attitude (ผู้เรียนควรแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นอะไรบ้าง) - ซอื่ สตั ย์สุจริต - มีวินยั - ใฝ่เรยี นรู้ - มุง่ ม่นั ในการทางาน 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี นและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี ินยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทกั ษะการสงั เกต 3. ม่งุ ม่นั ในการทางาน 2) ทักษะการระบุ 4. อยู่อย่างพอเพียง 3) ทกั ษะการสารวจ 4) ทักษะการสารวจค้นหา 5) ทกั ษะการจาแนกประเภท 6) ทักษะการเปรยี บเทยี บ 7) ทกั ษะการนาความรูไ้ ปใช้ 8) ทักษะการสรุปย่อ 9) ทักษะการรวบรวมข้อมลู 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 6. กิจกรรมการเรยี นรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ สี อน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่วั โมงท่ี 1 ขนั้ นา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครแู จง้ ผลการเรยี นรใู้ หน้ ักเรียนทราบ 2. ครูถามคาถาม prior knowledge เพื่อกระตุ้นความคิดของนักเรียนก่อนเข้าสู่บทเรียนว่า อากาศท่ี อย่รู อบตัวของนกั เรียนมธี าตุใดเปน็ องคป์ ระกอบ (แนวคาตอบ ไนโตรเจน ออกซเิ จน อารก์ อน คาร์บอน เปน็ ต้น) ขั้นสอน สารวจค้นหา (Explore) โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 75 1. ครใู ห้นักเรยี นศึกษาเก่ยี ว เร่ือง สารบรสิ ุทธ์ิ จากหนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าท่ี 10 2. ครูเขียนคาถามบนกระดานใหน้ ักเรียนตอบคาถาม ดังนี้ - สารบริสุทธิ์ คืออะไร (แนวคาตอบ สารทมี่ ีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว มีสมบัติเฉพาะทางกายภาพและสมบัติทางเคมี) - เพราะเหตใุ ด ธาตุจึงจัดเป็นสารบริสทุ ธ์ิ (แนวคาตอบ เพราะธาตุประกอบดว้ ยอะตอมเพียงชนิดเดยี ว ไม่สามารถแยกหรือสลายออกเป็น สารอื่นได้ แต่สามารถทาปฏิกิรยิ ากบั สารอนื่ แล้วเกิดเปน็ สารใหม่ได้) - อะตอมคืออะไร ประกอบไปด้วยอะไรบา้ ง (แนวคาตอบ อะตอม คอื อนุภาคท่ีเลก็ ท่ีสุดของธาตปุ ระกอบไปดว้ ยอนุภาคมูลฐาน คอื โปรตอน นิวตรอน และอเิ ล็กตรอน) 3. ครนู ากอ้ นดินน้ามัน มาปัน้ เป็นลกู ทรงกลม 3 ลูก 3 สี ดงั น้ี - ลกู แรก สแี ดง คือ นิวตรอน - ลูกที่สอง สฟี ้า คอื โปรตอน - ลูกที่สาม สีเหลอื ง คอื อิเล็กตรอน 4. ครูให้นักเรยี นสืบค้นข้อมลู เก่ยี วกบั แบบจาลองอะตอมของธาตุ หรอื ศึกษาจากหนังสือเรียน วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าท่ี 10 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครสู มุ่ ตวั แทนนกั เรียนออกมาสรา้ งและอธบิ ายแบบจาลองอะตอมโดยใช้ดนิ น้ามันที่ครเู ตรียมมา โดย ใชค้ วามร้จู ากการสืบคน้ ข้อมูล 2. ครูตรวจแบบจาลองอะตอมท่ีนักเรียนป้ัน และเพมิ่ เตมิ ขอ้ มูลท่นี กั เรยี นนาเสนอใหถ้ กู ตอ้ ง 3. ครยู กตวั อย่างแบบจาลองอะตอมของธาตุบางชนดิ เชน่ คาร์บอน ออกซิเจน เป็นตน้ ช่ัวโมงที่ 2 ขัน้ สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูเกรนิ่ นาว่า ธาตุในปัจจบุ ันมมี ากวา่ 117 ชนิด แล้วถามคาถามนักเรียนว่า เราจะรู้ไดอ้ ย่างไรว่า ธาตุแตล่ ะชนดิ คอื ธาตุใด (แนวคาตอบ ใช้สญั ลักษณ์ธาตเุ ปน็ ตวั อักษรแทนชื่อธาตุ) 2. ครใู หน้ กั เรียนศึกษา เร่อื ง หลักการเขยี นสญั ลักษณ์ของธาตุ จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าท่ี 11 3. ครูนาตัวอย่างตารางธาตทุ ่ีแสดงสญั ลักษณน์ ิวเคลียรข์ องธาตมุ าให้นักเรียนศึกษา 4. ครใู ห้นกั เรยี นศกึ ษา เรอ่ื ง การเขยี นสญั ลักษณ์นวิ เคลียรข์ องธาตุ จากหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าท่ี 12 โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 76 5. ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษาสมบตั ิของธาตุในตารางที่ 1.2 กับตารางธาตุในหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ท่ี 12 ตารางธาตตุ ัวอยา่ งทม่ี สี ญั ลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์ เลขมวล เลขอะตอม อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูใหน้ ักเรยี นออกมาเขยี นสัญลกั ษณข์ องธาตหุ นา้ ช้ันเรียน และอธบิ ายหลกั การเขียนสญั ลักษณ์ ของธาตชุ นิดน้นั 2. ครูอธิบายตารางที่ 1.1 จากหนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าท่ี 11 ใหน้ ักเรยี นเข้าใจ สัญลักษณ์ของธาตุมากขึ้น 3. ครูสุ่มเรียกนกั เรียน 5 คน ออกมาตอบคาถามคนละข้อจากตารางธาตุ ต่อไปนี้ - จงหาสัญลักษณ์ธาตุทองคา และเขียนสัญลกั ษณน์ ิวเคลียร์ของธาตุ - จงหาสัญลักษณธ์ าตุซนี อน และเขียนสัญลักษณน์ วิ เคลียรข์ องธาตุ - จงหาสญั ลักษณ์ธาตุเงนิ และเขยี นสัญลักษณ์นิวเคลียรข์ องธาตุ - จงหาสัญลักษณธ์ าตุปรอท และเขยี นสัญลักษณ์นิวเคลยี ร์ของธาตุ - จงหาสญั ลกั ษณ์ธาตุสังกะสี และเขียนสัญลักษณ์นวิ เคลียรข์ องธาตุ 4. ครูและนกั เรยี นร่วมกันเฉลยคาตอบท่ีถกู ตอ้ ง ชั่วโมงที่ 3 ขัน้ สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครถู ามถามคาถาม ต่อไปนี้ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 77 - แนวโน้มของธาตุในตารางสามารถแบ่งธาตุออกเป็นก่ีประเภท และแตล่ ะประเภทมีลกั ษณะ อย่างไร (แนวคาตอบ 3 ประเภท ดงั นี้ - โลหะ : เป็นของแขง็ ที่อณุ หภมู หิ อ้ ง ที่ผิวของโลหะจะมนั วาว นาไฟฟา้ และความรอ้ นไดด้ ี มี จุดเดอื ด จุดหลอมเหลวสูง - อโลหะ : มีลกั ษณะตรงข้ามกับโลหะ - กึ่งโลหะ : สว่ นใหญเ่ ป็นสารก่ึงตวั นา โดยจะนาไฟฟ้าได้ดกี ต็ ่อเม่ืออุณหภมู สิ งู กวา่ อุณหภมู ิห้อง) 2. ครเู ตรียมอุปกรณก์ ารทดลอง เรือ่ ง สมบัติของธาตุ ดังน้ี - ตะปูเหล็ก - กามะถนั - กระดาษทราย - สายไฟ - ถา่ นไฟฉาย - หลอดไฟ จากนั้นครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะกลุ่มทดสอบสมบัตขิ องธาตตุ ามข้ันตอน ดังน้ี - ใช้กระดาษทรายขดั ผิวธาตุ แลว้ สงั เกตความมันวาว - ให้นักเรียนตอ่ วงจรไฟฟา้ ดังภาพ แล้วสังเกตความสว่างของหลอดไฟ 3. ครใู หน้ กั เรียนตอบคาถามจากการทากิจกรรม ตอ่ ไปนี้ - เม่อื ใชก้ ระดาษขดั ผวิ ตะปเู หลก็ ผวิ ของตะปเู หล็กมลี ักษณะอยา่ งไร โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 78 (แนวคาตอบ มผี วิ มนั วาว) - เม่อื ใชก้ ระดาษขดั ผิวกามะถนั กามะถันมลี ักษณะอยา่ งไร (แนวคาตอบ ไมเ่ กดิ การเปลีย่ นแปลง) - เมื่อนาตะปเู หลก็ ไปตอ่ กบั วงจรไฟฟ้า หลอดไฟสวา่ งหรือไม่ (แนวคาตอบ หลอดไฟสวา่ ง) - เมอ่ื นากามะถนั ไปต่อกับวงจรไฟฟ้า หลอดไฟสวา่ งหรอื ไม่ (แนวคาตอบ หลอดไฟไมส่ ว่าง) ชว่ั โมงท่ี 4 ขัน้ สอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูใหน้ ักเรียนของแต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรียนวา่ ธาตุ 2 ชนิดจัดอยใู่ นกลุ่มใด เพราะเหตุใด (แนวคาตอบ ตะปเู หล็กจัดเปน็ ธาตุโลหะ เนื่องจากผวิ ของตะปเู หล็กมีความมันวาว และเม่ือนาไปตอ่ กบั วงจรไฟฟ้าพบวา่ ตัวธาตุนาไฟฟ้าไดท้ าให้หลอดไฟสว่าง ในทางกลบั กันผวิ ของกามะถนั ไมม่ นั วาว และไมน่ าไฟฟา้ จึงจดั เป็นธาตุอโลหะ) 2. ครตู ้ังคาถามใหน้ กั เรียนช่วยกันระดมความคิดตอบคาถาม ตอ่ ไปน้ี - ธาตุโลหะและธาตุอโลหะมีสมบัตเิ หมือนหรือแตกตา่ งกนั อย่างไร (แนวคาตอบ ธาตุโลหะจะมผี วิ เปน็ มนั วาว นาไฟฟา้ และความรอ้ นได้ดี มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง ในทางกลับกนั ธาตุอโลหะจะมีสมบัติตรงข้าม) - สมบตั ิของธาตโุ ลหะสามารถนามาใชป้ ระโยชนอ์ ะไรไดบ้ ้าง จงยกตัวอยา่ ง (แนวคาตอบ ธาตุโลหะนาไฟฟา้ ไดด้ ี จึงนิยมนามาทาสายไฟ เชน่ ทองแดง นอกจากน้ีโลหะมีสมบัติ ในการนาความร้อนได้ดี เชน่ อะลูมเิ นยี มนยิ มนามาทาเปน็ ภาชนะหุงต้มอาหาร เปน็ ต้น) ชั่วโมงที่ 5 ขั้นสอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหน้ กั เรยี นร่วมกันระดมความคดิ วา่ ในปจั จุบนั เรานาธาตมุ าใช้ประโยชน์อะไรบ้าง 2. ครใู ห้นักเรยี นแบง่ กลมุ่ ออกเปน็ 4 กลุ่ม สบื ค้นประโยชนข์ องธาตุใหม้ ากทส่ี ุด อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มตวั แทนกลุ่มออกมานาเสนอผลจากการสืบค้นประโยชน์ของธาตุ 2. ครอู ธบิ ายและยกตัวอย่างธาตุทมี่ ีความสาคัญต่อประเทศในหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ท่ี 14 โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 79 ขนั้ สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครูให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หดั ลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจแบบฝึกหดั ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 2. ครปู ระเมนิ พฤตกิ รรมการทางานกลุ่มจากการสบื ค้นประโยชน์ของธาตุ 3. ครูประเมนิ การนาเสนอประโยชน์ของธาตุ โดยใช้แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน 7. การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีวดั เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมิน - ตรวจแบบฝึกหดั รายการวดั - แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ม.1 เล่ม 1 ผา่ นเกณฑ์ 7.1 การประเมินระหวา่ ง ระดบั คณุ ภาพ 2 การจัดกจิ กรรม - แบบประเมินการ ผา่ นเกณฑ์ 1) สารบริสุทธิ์ นาเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ 2 - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑ์ 2) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาเสนอ การทางานรายกลมุ่ ระดับคุณภาพ 2 ประโยชน์ของธาต - แบบประเมินคุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์ 3) พฤตกิ รรมการทางาน - สงั เกตพฤติกรรม อันพงึ ประสงค์ รายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม - สงั เกตความมวี ินัย 4) คุณลักษณะอนั พงึ ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ ม่นั ประสงค์ ในการทางาน 8. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 สอื่ การเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 2) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 3) ภาพสารตวั อยา่ ง 4) อปุ กรณก์ ารทดลอง เรื่อง สมบัติของธาตุ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) สื่ออนิ เตอร์เนต็ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 80 9. การบรู ณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรชั ญา ครู ผเู้ รยี น ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดดี ้านจติ ใจ รูจ้ ักใช้เทคโนโลยีมาผลิตส่ือท่ี มจี ติ สานึกทด่ี ี จิตสาธารณะร่วม เหมาะสมและสอดคล้องเนื้อหาเป็น อนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ประโยชน์ตอ่ ผู้เรียนและพฒั นาจากภมู ิ สิ่งแวดลอ้ ม ปญั ญาของผูเ้ รียน 2. ความมีเหตุผล - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความ ไม่หยุดนิง่ ทห่ี าหนทางในชวี ิต หลุดพ้น ถกู ตอ้ ง สุจรติ จากความทุกขย์ าก (การค้นหาคาตอบ เพื่อใหห้ ลุดพ้นจากความไม่รู้) 3. มีภูมิคมุ กันในตัวทดี่ ี ภมู ิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภมู ปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั รบั ผิดชอบ ระมดั ระวัง สร้างสรรค์ 4. เง่ือนไขความรู้ ความรอบรู้ เรอื่ ง สารบริสุทธิ์ ที่ ความรอบรู้ เรอ่ื ง สารบริสุทธิ์ เกีย่ วขอ้ งรอบด้าน นาความรู้มา สามารถนาความร้เู หลา่ นัน้ มาพจิ ารณา เชื่อมโยงประกอบการวางแผน การ ให้เกดิ ความเชือ่ มโยง สามารถ ดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กบั ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้ ผเู้ รียน 5. เงื่อนไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มีความ ความซ่ือสัตยส์ ุจริตและมคี วามอดทน ซ่อื สัตยส์ จุ ริตและมคี วามอดทน มี มีความเพยี ร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการ ความเพียร ใช้สติปญั ญาในการดาเนนิ ดาเนนิ ชวี ติ ชีวิต สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผเู้ รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชวี ภาพ - สารวจความหลากหลายทาง - สารวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ชีวภาพในโรงเรยี น (กาหนดจุดให้ ในโรงเรยี น (ตามจุดท่ไี ดร้ ับมอบหมาย) ผู้เรยี นสารวจ) ส่งิ แวดล้อม ครู ผู้เรียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ ักษ์ความหลากหลาย - การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทาง - สืบค้นขอ้ มูลการอนรุ ักษ์ความ ทางชวี ภาพ ชีวภาพ (กาหนดหัวขอ้ ให้ผเู้ รียน หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวขอ้ ที่ สบื คน้ ) ได้มอบหมาย) โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 81 10. ความเห็น/ข้อเสนอแนะ ของผ้บู ริหารสถานศึกษาหรอื ผู้ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย 10.1 หวั หน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………………. (นางสาวณัฐธนญั า บุญถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผอู้ านวยการฝ่ายบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื …………………………………………. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ…………………………………………. (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 82 11. บันทกึ ผลหลงั การสอน  ด้านความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน  ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์  ด้านความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเดน่ หรอื พฤตกิ รรมท่ีมีปัญหาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี))  ปญั หา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชอื่ .........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา) ตาแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 83 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นที่ 1/2562 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ (ว 21101) หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 สารรอบตวั เรือ่ ง ธาตกุ ัมมันตรังสี จานวนเวลาที่สอน 2 ชวั่ โมง ผ้สู อน นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา 1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด (ความเขา้ ใจท่คี งทน) ธาตุบางชนิดท่ีมีเลขอะตอมสูงกว่า 83 สามารถแผ่รังสีได้อย่างต่อเนื่อง เรียกว่า ธาตุกัมมันตรังสี เกิดจากนิวเคลียสในอะตอมของธาตุไม่เสถียร จึงสลายตัวแล้วเปลี่ยนไปเป็นธาตุท่ีมีความเสถียรมากขึ้น และปล่อยอนุภาคภายในนิวเคลียสออกมาในรูปของสี ซึ่งรังสีที่แผ่ออกมา เรียกว่า กัมมันตภาพรังสี ซึ่งมี 3 ประเภท ได้แก่ อนภุ าคแอลฟา อนุภาคบตี า และรังสีแกมมา ซง่ึ กอ่ ให้เกดิ ประโยชน์และโทษตอ่ สิง่ มีชวี ิต 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชีว้ ดั ชัน้ ปี/ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรยี นรู้ 2.1 ตัวช้วี ดั ว 2.1 ม.1/2 วิเคราะหผ์ ลจากการใชธ้ าตโุ ลหะ อโลหะ กึง่ โลหะ และธาตุกัมมนั ตรงั สี ท่มี ตี อ่ สง่ิ มีชวี ติ ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ และสงั คม จากข้อมลู ที่รวบรวมได้ ว 2.1 ม.1/3 ตระหนกั ถงึ คุณคา่ ของการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กง่ึ โลหะ ธาตุกมั มนั ตรังสี โดยเสนอแนว ทางการใช้ธาตุอยา่ งปลอดภยั และคมุ้ ค่า 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) อธิบายลกั ษณะของธาตกุ ัมมันตรงั สไี ด้ 3.2 ดา้ นทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) วิเคราะหผ์ ลจากการใช้ธาตกุ ัมมนั ตรงั สี ตอ่ สงิ่ มีชีวิต ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมได้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 3) ตระหนกั ถึงคณุ คา่ ของการใชธ้ าตุกมั มนั ตรงั สี 4) รับผิดชอบต่อหน้าท่แี ละงานที่ได้รบั มอบหมาย 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เน้อื หาสาระหลกั : Knowledge (ผเู้ รียนต้องรอู้ ะไร) - ธาตโุ ลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ทสี่ ามารถแผ่รงั สไี ด้ จดั เปน็ ธาตุกมั มันตรงั สี โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 84 - ธาตุมีทง้ั ประโยชนแ์ ละโทษ การใช้ธาตโุ ลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี ควร คานงึ ถงึ ผลกระทบต่อส่ิงมชี วี ติ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกจิ และสังคม 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รียนสามารถปฏบิ ัติอะไรได)้ - ทักษะการสร้างคาอธิบาย - ทกั ษะการส่ือความหมาย - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ - ทักษะการสบื ค้นโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4.3 คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ : Attitude (ผู้เรยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นอะไรบ้าง) - ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ - มวี นิ ยั - ใฝ่เรียนรู้ - ม่งุ ม่นั ในการทางาน 5. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี นและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี ินัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 1) ทักษะการสังเกต 3. มุ่งม่นั ในการทางาน 2) ทักษะการระบุ 4. อยู่อย่างพอเพียง 3) ทักษะการเปรียบเทยี บ 4) ทักษะการประเมนิ 5) ทักษะการวิเคราะห์ 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 6. กจิ กรรมการเรียนรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ ีสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชัว่ โมงท่ี 1 ข้นั นา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูแจง้ ผลการเรยี นรู้ใหน้ ักเรยี นทราบ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 85 2. ครกู ระตนุ้ ความสนใจของนักเรยี นเก่ียวกับเรอื่ ง ธาตกุ มั มนั ตรงั สี โดยเปดิ วีดีทัศน์ เร่อื ง ผลกระทบ นิวเคลียร์ฟกุ ุชิมะ (แหล่งทีม่ า https://www.youtube.com/watch?v=TIHc2v-zoec) จากนนั้ ครูตงั้ คาถามจากวดี ีทัศน์ ดงั นี้ - ครถู ามนักเรียนว่า จากข่าวผลกระทบนิวเคลยี ร์ฟกุ ชุ มิ ะเกิดการ่ัวไหลของสารใด (แนวคาตอบ สารกัมมนั ตรงั ส)ี - ครถู ามนักเรยี นวา่ สารกัมมนั ตรังสีส่งผลกระทบต่อส่ิงมีชวี ติ อย่างไร (แนวคาตอบ พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผ้สู อน ตัวอยา่ งเช่น ทาให้เกิดการกลายพนั ธุ์ เปน็ ต้น) 3. ครถู ามนกั เรยี นวา่ นักเรยี นคิดวา่ ธาตุที่เป็นองค์ประกอบของสารกมั มันตรงั สมี ีลักษณะอยา่ งไร จงึ ทาให้เกิดผลกระทบตา่ ง ๆ ต่อสง่ิ มีชวี ติ (แนวคาตอบ พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยให้อยู่ในดลุ ยพนิ ิจของครูผ้สู อน ตวั อยา่ งเชน่ ธาตุอาจมกี ารแผ่กระจายของรังสี เป็นตน้ ) ข้ันสอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูจดั เตรียมชุดแบบจาลองนิวเคลียสของอะตอม 3 นวิ เคลยี ส ไดแ้ ก่ 1) นิวเคลยี สขนาดใหญ่ท่ีมีจานวนโปรตอนเทา่ กับอิเล็กตรอน ครจู ัดเตรียมโดยป้นั ดนิ นา้ มนั สเี ขียว เป็นก้อนกลม 6 ลูก แต่ละลกู แทนเป็นโปรตอน 1 อนภุ าค และป้นั ดินน้ามนั สสี ้ม 6 ลกู แต่ละ ลูกแทนเปน็ นวิ ตรอน 1 อนุภาค จากนั้นนาก้อนดนิ น้ามันมาติดกัน (อยา่ ตดิ แนน่ กันจนเกนิ ไป) 2) นิวเคลียสท่ีมจี านวนโปรตอนมากกวา่ นวิ ตรอน โดยครูปนั้ ดินนา้ มันสเี ขยี วเป็นกอ้ นกลม 3 ลูก และปน้ั ดินน้ามันสีสม้ 2 ลกู จากนั้นนากอ้ นดินนา้ มันมาตดิ กัน (อยา่ ตดิ แน่นกนั จนเกนิ ไป) 3) นิวเคลยี สทีม่ ีจานวนนิวตรอนมากกว่าโปรตอน โดยครูปั้นดนิ นา้ มนั สีเขยี วเป็นกอ้ นกลม 2 ลูก และปั้นดนิ น้ามนั สสี ม้ 3 ลูก จากนัน้ นาก้อนดนิ นา้ มนั มาติดกนั (อย่าติดแน่นกันจนเกนิ ไป) โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 86 4) นิวเคลียสขนาดปานกลางทีไ่ ด้รับพลังงานกระตนุ้ โดยครปู ้นั ดินนา้ มันสีเขียวเป็นก้อนกลม 2 ลกู และปน้ั ดินน้ามันสีสม้ 3 ลกู จากนัน้ นาก้อนดนิ นา้ มนั มาตดิ กนั (อย่าติดแนน่ กันจนเกนิ ไป) แลว้ วางบนเครื่องเขยา่ สารโดยใชค้ วามเร็วในการเขย่าน้อยที่สุด 2. ครนู าเสนอนิวเคลยี สของธาตุกัมมนั ตรังสีใหน้ กั เรียนดู แล้วดึงก้อนดนิ น้ามนั สีเขียวและสีเหลืองสี สี ละ 2 ก้อนออกจากแบบจาลองนิวเคลยี สขนาดใหญ่ จากน้นั ครตู ัง้ คาถามนักเรยี นว่า นิวเคลยี สท่ีครู เตรยี มทง้ั 4 นวิ เคลยี ส ซึ่งเปน็ นวิ เคลียสของธาตกุ มั มันตรังสี จะมกี ารแผร่ ังสชี นดิ ใดออกมา เพราะ เหตุใดจึงคิดเช่นนนั้ 3. ครูให้นกั เรียนแบง่ กลมุ่ ๆ ละ 5 คน ออกมารบั ใบงานท่ี 1.4 เร่อื ง ธาตุกัมมันตรังสี จากนั้นครูให้ นกั เรยี นศกึ ษาคาชี้แจงในใบงาน สบื คน้ เกย่ี วกับธาตกุ ัมมันตรังสใี นหนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าที่ 15 แล้วตอบคาถามในใบงานที่ 1.4 เรอื่ ง ธาตุกมั มนั ตรงั สี ตอนที่ 1 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครใู ห้ตวั แทนนกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ออกมานาเสนอคาตอบในใบงานที่ 1.4 เรอ่ื ง ธาตุกมั มันตรังสี ตอนท่ี 1 หน้าชน้ั เรยี น จากนนั้ ครูและนักเรียนรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ งและความละเอยี ดของ ข้อมูลที่แตล่ ะกลุม่ นาเสนอหนา้ ช้ันเรียน 2. ครูและนักเรยี นรว่ มกันอภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ัติกิจกรรม โดยใช้แนวคาถามต่อไปน้ี - ธาตุกัมมนั ตรังสี คืออะไร (แนวคาตอบ ธาตุกมั มันตรังสี คอื ธาตุท่ีมีเลขอะตอมสงู กวา่ 83 ซง่ึ สามารถแผร่ ังสไี ด้อยา่ ง ตอ่ เนอื่ ง เน่อื งจากนวิ เคลียสภายในอะตอมของธาตไุ มเ่ สถียร จงึ ตอ้ งมกี ารเปลีย่ นแปลงไปเป็น ธาตุที่มีความเสถยี รมากขึน้ โดยการสลายตวั แลว้ ปลอ่ ยอนุภาคภายในนวิ เคลยี ส) - กัมมันตภาพรังสีมกี ่ีประเภท อะไรบ้าง (แนวคาตอบ มี 3 ประเภท ได้แก่ อนุภาคแอลฟา อนุภาคบตี า และรงั สแี กมมา) - อนภุ าคแต่ละประเภทเกิดข้ึนไดอ้ ย่างไร และมลี กั ษณะอย่างไร (แนวคาตอบ อนุภาคแอลฟา เกิดจากนวิ เคลยี สไม่เสถียร แล้วปลอ่ ยอนุภาคทม่ี ีโปรตอนและ นิวตรอนออกมาอย่างละ 2 อนุภาค อนุภาคบีตาเกิดจากนวิ เคลียสมีจานวนอนภุ าคโปรตอน และอนภุ าคนิวตรอนแตกตา่ งกนั ทาให้มีการสลายอนุภาคโปรตอนหรือนวิ ตรอนสว่ นเกินแล้ว แผ่รังสีบตี าออกมา รงั สีแกมมาเกิดจากนวิ เคลยี สได้รบั พลังงานกระต้นุ สงู ทาใหป้ ลอดปลอ่ ย พลงั งานออกมาในรปู ของคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า) - ความสามารถในการทะลุทะลวงของรงั สแี ต่ละประเภทเป็นอยา่ งไร (แนวคาตอบ อนภุ าคแอลฟามีอานาจทะลุทะลวงตา่ ไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นกระดาษบาง ๆ ได้ อนภุ าคบตี าสามารถทะลุผ่านแผน่ กระดาษบาง ๆ ได้ แตไ่ ม่สามารถทะลุผ่านแผน โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 87 อะลมู เิ นียมหนา 2 มิลลิเมตรได้ รังสีแกมมาสามารถทะลุทะลวงผ่านแผ่นกระดาษและแผ่น อะลมู เิ นยี มหนา 2 มิลลิเมตรได้ แต่ไม่สามารถทะลุผ่านแทง่ ตะกัว่ หนา 10 เซนตเิ มตรได)้ ชั้วโมงท่ี 2 ขัน้ สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูถามนักเรียนเพ่ิมเติมว่า จากการศึกษาลักษณะของธาตุกัมมันตรังสี นักเรียนคิดว่า ธาตกุ มั มันตรงั สมี ปี ระโยชนต์ ่อส่ิงมีชวี ติ หรอื ไม่ อยา่ งไร (แนวคาตอบ พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน ตัวอย่างเช่น ใช้ในโรงไฟฟา้ นิวเคลียร์ ใช้ในการตรวจหาโรค ใชป้ รบั ปรงุ พันธ์สุ ่ิงมีชวี ิต เปน็ ตน้ ) 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสุ่มจับฉลากหัวข้อเก่ียวกับการนาความรู้เก่ียวกับธาตุกัมมันตรังสีไปใช้ ประโยชน์ ดังน้ี หวั ขอ้ ที่ 1 : การนาความรเู้ ก่ียวกบั ธาตุกมั มันตรังสไี ปใชด้ ้านอุตสาหกรรม หัวขอ้ ที่ 2 : การนาความรู้เกยี่ วกบั ธาตกุ มั มันตรังสีไปใชด้ ้านการแพทย์ หัวขอ้ ท่ี 3 : การนาความร้เู ก่ยี วกบั ธาตกุ มั มันตรงั สีไปใชด้ ้านการเกษตร หวั ขอ้ ที่ 4 : การนาความรู้เกีย่ วกบั ธาตุกมั มนั ตรังสีไปใชด้ ้านธรณวี ิทยา 3. ครูถามนักเรียนว่า นอกจากธาตุกัมมันตรังสีจะสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้แล้ว ธาตุกัมมันตรังสี จะก่อใหเ้ กิดโทษตอ่ สิง่ มชี ีวติ อย่างไรบา้ ง (แนวคาตอบ พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน ตัวอย่างเช่น ทาใหส้ งิ่ มชี ีวิตเกิดการกลายพันธุ์ ทาใหม้ นุษย์เปน็ โรคมะเร็ง เป็นต้น) 4. ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษาผลของกัมมันตรงั สตี ่อสงิ่ มีชวี ิตและสิ่งแวดล้อม ในหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หรือจากแหลง่ เรยี นรู้อืน่ ๆ แลว้ ใหแ้ ต่ละกลุ่มรว่ มกนั นาเสนอและอภิปราย อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอเกี่ยวกับการนาความรู้เก่ียวกับธาตุกัมมันตรังสีไปใช้ ประโยชน์ จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกคาตอบลงในใบงานที่ 1.4 เร่ือง ธาตุกัมมันตรังสี ตอนที่ 2 2. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับประโยชน์ที่ไดร้ บั จากการทากจิ กรรม และ การนาความรู้ท่ไี ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 88 ขัน้ สรุป ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครูทบทวนความเขา้ ใจของนักเรียนโดยการใชแ้ นวคาถาม ดงั น้ี – ธาตกุ มั มันตรงั สี คืออะไร (แนวคาตอบ ธาตกุ มั มนั ตรังสี คอื ธาตุทสี่ ามารถแผ่รงั สีได้อย่างต่อเนอื่ ง เนอื่ งจากนวิ เคลยี ส ภายในอะตอมของธาตไุ มเ่ สถยี ร จึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นธาตุทม่ี ีความเสถยี รมากขึน้ โดย การสลายตวั แล้วปล่อยอนภุ าคภายในนิวเคลียส) – ธาตุกมั มันตรงั สสี ามารถแผ่รังสีไดก้ ่ีประเภท อะไรบ้าง (แนวคาตอบ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา) – รังสีแตล่ ะประเภทเกดิ ขึ้นได้อยา่ งไร (แนวคาตอบ อนภุ าคแอลฟาเกิดจากอนภุ าคโปรตอนและอนภุ าคนิวตรอนหลุดมาจากนิวเคลยี ส อยา่ งละ 2 อนุภาค อนภุ าคบีตาลบเกดิ จากนวิ เคลียสมนี ิวตรอนมากกว่าโปรตอน อนภุ าคบีตา บวกเกดิ จากนวิ เคลยี สมโี ปรตอนมากกวา่ นิวตรอน และรงั สแี กรมมาเกิดจากนวิ เคลยี สมีพลังงาน สงู ทาใหไ้ มเ่ สถยี ร) – ธาตุกัมมนั ตรังสมี ีประโยชนอ์ ย่างไรบ้าง (แนวคาตอบ มีประโยชน์ในด้านการเกษตร การแพทย์ อตุ สาหกรรม และธรณวี ทิ ยา เป็นตน้ ) – โทษของธาตุกมั มนั ตรงั สมี อี ะไรบ้าง (แนวคาตอบ ทาให้เกิดการกลายพนั ธุ์ของส่งิ มชี ีวิต ทาให้เกิดโรคมะเรง็ เป็นตน้ ) 2. ครูให้นกั เรียนทาแบบฝกึ หัดในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจใบงานท่ี 1.4 เร่อื ง ธาตกุ ัมมันตรงั สี 2. ครูตรวจแบบฝึกหดั ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 3. ครปู ระเมินพฤติกรรมการทางานรายกลุม่ จากการทาใบงานและการศึกษาประโยชนข์ องธาตุ กมั มนั ตรงั สี 4. ครูประเมนิ การนาเสนอใบงานท่ี 1.4 เรอ่ื ง ธาตุกัมมนั ตรงั สี โดยใช้แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 7. การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีวัด เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารประเมิน รายการวดั - ตรวจใบงานท่ี 1.4 - เฉลยใบงานท่ี 1.4 เรอ่ื ง รอ้ ยละ 60 ผา่ น 7.1 การประเมินระหว่าง เรื่อง ธาตกุ ัมมันตรังสี ธาตกุ ัมมนั ตรังสี เกณฑ์ การจดั กจิ กรรม 1) ธาตกุ ัมมันตรังสี โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 89 รายการวัด วิธีวดั เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ผ่าน ม.1 เลม่ 1 เกณฑ์ 2) การนาเสนอผลงาน - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมินการนาเสนอ ระดับคณุ ภาพ 2 ใบงานที่ 1.4 เรอื่ ง ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการ ธาตกุ มั มนั ตรังสี ทางานรายกลุ่ม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 - สงั เกตพฤตกิ รรม 4) คุณลักษณะ การทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ อันพึงประสงค์ - สังเกตความมวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ และม่งุ มั่น - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ระดบั คุณภาพ 2 ในการทางาน อันพึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ 8. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 2) แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 3) ดนิ นา้ มนั 4) ใบงานที่ 1.4 เรือ่ ง ธาตกุ มั มันตรังสี 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งเรยี น 2) ส่ืออินเตอรเ์ น็ต - https://www.youtube.com/watch?v=TIHc2v-zoec 9. การบรู ณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชีวภาพ หลกั ปรัชญา ครู ผู้เรยี น ของเศรษฐกจิ พอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดดี า้ นจิตใจ รจู้ ักใชเ้ ทคโนโลยีมาผลิตสือ่ ท่ี มจี ติ สานกึ ทด่ี ี จติ สาธารณะร่วม อนรุ กั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ เหมาะสมและสอดคลอ้ งเนือ้ หาเปน็ สิง่ แวดลอ้ ม ประโยชน์ต่อผ้เู รยี นและพัฒนาจากภูมิ ปญั ญาของผเู้ รยี น โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่