Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2019-05-01 12:08:48

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

Search

Read the Text Version

จดั ทาโดย... นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ สานกั งานบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กระทรวงศึกษาธกิ าร

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 1 การออกแบบการจดั การเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว 21101 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 จัดทาโดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผ้ชู ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ตาบลช่างเค่งิ อาเภอแม่แจม่ จังหวัดเชียงใหม่ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 2 คาอธิบายรายวชิ า รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว 21101 ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 เวลา 60 ช่ัวโมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาเก่ียวกับสารรอบตัว สมบัติของสาร การจาแนกสารด้วยสถานะ เน้ือสาร และขนาดอนุภาคของ สาร การเปลี่ยนแปลงของสาร สารบริสุทธิ์และสารผสม สมบัติของสารบริสุทธ์ิและสารผสม การใช้ความรู้ ทางเคมีให้เป็นประโยชน์ต่อการเลือกใช้สารเคมีในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย การศึกษา ชวี วิทยาโดยอาศยั วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ ศึกษาประเภทโครงสร้างและหน้าท่ีของส่วนประกอบภายในเซลล์ สิ่งมีชีวิตด้วยกล้องจุลทรรศน์ ศึกษากระบวนการลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ด้วยวิธีการแพร่และ การออสโมซิส ศึกษาการดารงชีวิตของพืช กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การลาเลียงสารในพืช การเจรญิ เตบิ โตของพืช การสืบพนั ธข์ุ องพชื และเทคโนโลยีชีวภาพของพืช ศึกษาเก่ียวกับอุณหภูมิและการวัด ผลของความร้อนที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสาร การถ่ายโอนความร้อน การดูดกลืนและคายความร้อน สมดุลความร้อน องค์ประกอบของบรรยากาศ การแบ่งชั้นบรรยากาศ ผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อ บรรยากาศ องค์ประกอบของบรรยากาศ ได้แก่ อณุ หภูมิอากาศ ความดนั อากาศ ความชื้นอากาศ ลม เมฆและ ฝน พายุฟ้าคะนอง พายุหมนุ เขตรอ้ น มรสมุ การพยากรณอ์ ากาศ และการเปลีย่ นแปลงภมู อิ ากาศของโลก โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวทิ ยาศาสตร์ มีคุณธรรม และจริยธรรม ตวั ช้วี ัด ว 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ม.1/11 ม.1/12 ม.1/13 ม.1/14 ม.1/15 ม.1/16 ม.1/17 ม.1/18 ว 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ว 2.2 ม.1/1 ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 รวม 43 ตัวช้ีวัด โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 3 ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง วิทยาศาสตร์ * สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ิของสง่ิ มีชวี ติ หนว่ ยพ้นื ฐานของส่งิ มีชีวิต การลาเลยี งสารผ่านเซลล์ ความสัมพันธ์ ของโครงสร้าง และหน้าทีข่ องระบบตา่ ง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ที่ทางานสมั พันธ์กัน ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวยั วะต่าง ๆ ของพืชทีท่ างานสัมพนั ธก์ ัน รวมทั้ง นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. เปรยี บเทียบรปู รา่ งและ  เซลลเ์ ป็นหนว่ ยพนื้ ฐานของส่งิ มีชวี ิต สงิ่ มีชีวติ บางชนดิ มี โครงสร้างของเซลลพ์ ชื และสัตว์ เซลล์เพยี งเซลล์เดยี ว เชน่ อะมีบา พารามเี ซียม ยีสต์ บาง รวมทง้ั บรรยายหนา้ ท่ขี องผนงั ชนดิ มหี ลายเซลล์ เช่น พืช สัตว์ เซลล์ เย่อื หุ้มเซลล์ ไซโทพลาซมึ  โครงสร้างพื้นฐานท่พี บทั้งในเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์ และ นวิ เคลยี ส แวควิ โอล ไมโทคอน สามารถสงั เกตได้ด้วยกล้องจุลทรรศนใ์ ช้แสง ไดแ้ ก่ เยอื่ หมุ้ เดรยี และคลอโรพลาสต์ เซลล์ ไซโทพลาซมึ และนิวเคลียส โครงสร้างที่พบในเซลล์ 2. ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงศึกษา พืชแต่ไมพ่ บในเซลล์สัตว์ ไดแ้ ก่ ผนังเซลล์ และคลอโร- เซลล์และโครงสร้างต่าง ๆ พลาสต์ ภายในเซลล์  โครงสรา้ งตา่ ง ๆ ของเซลล์มหี น้าท่ีแตกตา่ งกัน - ผนงั เซลล์ ทาหน้าที่ให้ความแขง็ แรงแก่เซลล์ - เย่อื หมุ้ เซลล์ ทาหน้าท่ีห่อหุ้มเซลล์ และควบคมุ การ ลาเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ - นวิ เคลียส ทาหนา้ ทค่ี วบคมุ การทางานของเซลล์ - ไซโทพลาซึม มอี อรแ์ กเนลล์ทท่ี าหน้าทแี่ ตกต่างกัน - แวคิวโอล ทาหน้าท่เี กบ็ นา้ และสารต่าง ๆ - ไมโทคอนเดรีย ทาหนา้ ที่สลายสารอาหารเพ่ือให้ได้ พลังงานแกเ่ ซลล์ - คลอโรพลาสต์ เปน็ แหล่งทเ่ี กดิ การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง 3. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง  เซลล์ของสง่ิ มีชีวติ มีรปู รา่ งลกั ษณะทห่ี ลากหลาย และมี รูปร่างกบั การทาหนา้ ท่ีของเซลล์ ความเหมาะสมกับหน้าทขี่ องเซลล์นนั้ เชน่ เซลล์ประสาท ส่วนใหญ่มเี ส้นใยประสาทเปน็ แขนงยาว นากระแสประสาท ไปยงั เซลล์อื่น ๆ ทอ่ี ยไู่ กลออกไป เซลล์ขนรากเป็นเซลลผ์ ิว ของรากท่ีมผี นงั เซลล์และเยื่อหุม้ เซลล์ยื่นยาวออกมา โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 4 ชั้น ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 4. อธิบายการจดั ระบบของ ลกั ษณะคล้ายขนเสน้ เล็ก ๆ เพือ่ เพ่ิมพนื้ ทผ่ี วิ ในการดูดน้า สิง่ มชี ีวิต โดยเรม่ิ จากเซลล์ และแรธ่ าตุ เน้อื เยื่อ อวัยวะ ระบบอวยั วะ  พืชและสัตว์เปน็ สงิ่ มชี ีวิตหลายเซลล์มีการจดั ระบบ โดยเรมิ่ จนเปน็ ส่ิงมีชวี ติ จากเซลล์ไปเป็นเนือ้ เยื่อ อวยั วะ ระบบอวัยวะ และส่งิ มีชวี ติ ตามลาดับ เซลลห์ ลายเซลล์มารวมกนั เป็นเน้อื เย่ือ เน้อื เยื่อ 5. อธบิ ายกระบวนการแพร่และ หลายชนดิ มารวมกนั และทางานร่วมกันเปน็ อวัยวะ อวัยวะ ออสโมซิส จากหลักฐานเชิง ต่าง ๆ ทางานร่วมกันเปน็ ส่งิ มีชีวิต นอกจากน้ใี นกระดูก ฟัน ประจักษ์ และยกตัวอย่างการแพร่ และกลา้ มเน้ือจะมีธาตุเป็นองค์ประกอบดว้ ย และออสโมซสิ ในชวี ิตประจาวัน  เซลลม์ กี ารนาสารเขา้ สู่เซลล์เพอ่ื ใช้ในกระบวนการตา่ ง ๆ ของเซลล์ และมีการขจดั สารบางอย่างทเี่ ซลล์ไม่ตอ้ งการ 6. ระบปุ ัจจยั ท่จี าเป็นในการ ออกนอกเซลล์ การนาสารเข้าและออกจากเซลล์ มหี ลาย สังเคราะหด์ ว้ ยแสงและผลผลติ วิธี เช่น การแพร่ เปน็ การเคล่อื นท่ีของสารจากบริเวณท่ีมี ท่ีเกดิ ขน้ึ จากการสงั เคราะห์ดว้ ย ความเขม้ ข้นของสารสงู ไปสู่บรเิ วณที่มีความเขม้ ข้นของสาร แสง โดยใช้หลกั ฐานเชิง ตา่ สว่ นออสโมซิสเป็นการแพรข่ องน้าผ่านเย่ือหุ้มเซลลจ์ าก ประจักษ์ ด้านทม่ี ีความเขม้ ขน้ ของสารละลายต่าไปยงั ด้านที่มคี วาม เข้มข้นของสารละลายสูงกว่า 7. อธิบายความสาคญั ของการ  กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื ท่ีเกิดข้นึ ในคลอโรพ สังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื ต่อ ลาสต์ จาเป็นตอ้ งใช้แสง แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ส่ิงมชี ีวิตและส่ิงแวดล้อม คลอโรฟลิ ล์ และน้า ผลผลติ ท่ีได้จากการสังเคราะหด์ ้วยแสง ได้แก่ น้าตาลและแกส๊ ออกซิเจน 8. ตระหนักในคุณค่าของพชื ทมี่ ีตอ่ สงิ่ มชี ีวิตและสง่ิ แวดล้อม โดย  การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงเป็นกระบวนการทสี่ าคัญต่อสงิ่ มชี วี ติ การรว่ มกันปลกู และดแู ลรักษา เพราะเป็นกระบวนการเดยี วทีส่ ามารถนาพลงั งานแสงมา ต้นไม้ในโรงเรียน เปล่ียนเปน็ พลังงานในรูปสารประกอบอินทรีย์และเก็บ สะสมในรูปแบบต่าง ๆ ในโครงสรา้ งของพชื พชื จึงเปน็ 9. บรรยายลักษณะและหนา้ ที่ แหล่งอาหารและพลังงานทีส่ าคัญของสงิ่ มชี ีวิตอ่ืน นอกจากนี้กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงยงั เป็น กระบวนการหลกั ในการสร้างแกส๊ ออกซเิ จนใหก้ ับ บรรยากาศเพอ่ื ให้สงิ่ มีชวี ิตอน่ื ใช้ในกระบวนการหายใจ  พืชมีไซเลม็ และโฟลเอม็ ซ่งึ เปน็ เนื้อเย่อื มีลกั ษณะคล้ายทอ่ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 5 ชัน้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ของไซเลม็ และโฟลเอม็ เรียงตัวกันเปน็ กลมุ่ เฉพาะท่ี โดยไซเล็มทาหนา้ ที่ลาเลียงน้า 10. เขียนแผนภาพทบี่ รรยายทิศ และธาตอุ าหาร มีทิศทางลาเลียงจากรากไปสู่ลาต้น ใบ และ ส่วนต่าง ๆ ของพืช เพอ่ื ใช้ในการสงั เคราะห์ด้วยแสง รวมถงึ ทางการลาเลียง สารในไซเล็ม กระบวนการอน่ื ๆ ส่วนโฟลเอม็ ทาหนา้ ท่ีลาเลยี งอาหารที่ และโฟลเอ็มของพชื ได้จากการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง มีทศิ ทางลาเลียงจากบริเวณ ที่มีการสงั เคราะหด์ ้วยแสงไปสู่สว่ นตา่ ง ๆ ของพืช 11. อธิบายการสืบพันธแุ์ บบอาศยั  พืชดอกทุกชนดิ สามารถสืบพันธุ์แบบอาศยั เพศได้ และบาง เพศ และไม่อาศยั เพศของพืช ชนิดสามารถสืบพนั ธ์แุ บบไม่อาศยั เพศได้ ดอก  การสบื พนั ธแ์ุ บบอาศัยเพศเปน็ การสืบพันธุท์ ่ีมีการผสมกนั 12. อธิบายลักษณะโครงสร้างของ ของสเปิรม์ กับเซลล์ไข่ การสบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศของพืช ดอกท่มี ีส่วนทาให้เกดิ การถ่าย ดอกเกดิ ข้นึ ที่ดอก โดยภายในอับเรณูของสว่ นเกสรเพศผมู้ ี เรณู รวมทัง้ บรรยาย การปฏิสนธิ เรณู ซงึ่ ทาหนา้ ท่ีสร้างสเปริ ม์ ภายในออวลุ ของสว่ นเกสร ของพืชดอก การเกดิ ผลและ เพศเมยี มีถงุ เอม็ บริโอ ทาหนา้ ท่ีสร้างเซลลไ์ ข่ เมล็ด การกระจายเมล็ด และการ  การสืบพนั ธแุ์ บบไม่อาศัยเพศ เปน็ การสืบพันธท์ุ ี่พืชตน้ ใหม่ งอกของเมล็ด ไม่ไดเ้ กิดจากการปฏิสนธิระหวา่ งสเปริ ์มกบั เซลล์ไข่ แต่เกดิ จาก 13. ตระหนักถึงความสาคัญของ ส่วนต่าง ๆ ของพืช เชน่ ราก ลาต้น ใบ มีการเจรญิ เติบโตและ สตั ว์ ที่ชว่ ยในการถ่ายเรณู พฒั นาขน้ึ มาเปน็ ตน้ ใหม่ได้ ของพืชดอก โดยการไมท่ าลาย ชวี ิตของสตั ว์ ที่ชว่ ยในการ  การถา่ ยเรณู คือ การเคล่อื นยา้ ยของเรณูจากอบั เรณไู ปยัง ถ่ายเรณู ยอดเกสรเพศเมยี ซึง่ เก่ียวขอ้ งกบั ลักษณะและโครงสร้าง ของดอก เช่น สีของกลบี ดอก ตาแหนง่ ของเกสรเพศผู้และ เกสรเพศเมยี โดยมสี ่ิงทชี่ ว่ ย ในการถ่ายเรณู เชน่ แมลง ลม  การถา่ ยเรณูจะนาไปสู่การปฏิสนธิ ซึง่ จะเกิดขน้ึ ท่ถี ุงเอ็มบริโอ ภายในออวุล หลังการปฏิสนธิจะได้ไซโกตและเอนโดสเปิร์ม ไซ โกต จะพฒั นาต่อไปเป็นเอ็มบริโอ ออวุลพัฒนาไปเปน็ เมล็ด และ รังไขพ่ ฒั นาไปเป็นผล  ผลและเมลด็ มกี ารกระจายออกจากตน้ เดิม โดยวิธีการต่าง ๆ เม่อื เมลด็ ไปตกในสภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมจะเกิดการ งอกของเมล็ด โดยเอม็ บริโอภายในเมล็ดจะเจรญิ ออกมา โดยระยะแรกจะอาศัยอาหารท่ีสะสมภายในเมล็ด โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 6 ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง จนกระทง่ั ใบแทพ้ ัฒนา จนสามารถสงั เคราะห์ดว้ ยแสงได้ เตม็ ที่และสรา้ งอาหารไดเ้ องตามปกติ 14. อธิบายความสาคญั ของธาตุ  พชื ตอ้ งการธาตุอาหารท่ีจาเป็นหลายชนดิ ในการ อาหารบางชนดิ ที่มีผลตอ่ การ เจริญเตบิ โต และการดารงชวี ิต เจรญิ เติบโต และการดารงชีวิต  พชื ต้องการธาตุอาหารบางชนดิ ในปริมาณมาก ได้แก่ ของพชื ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนเี ซยี ม 15. เลอื กใชป้ ุ๋ยท่มี ธี าตุอาหาร และกามะถนั ซึง่ ในดินอาจมีไมเ่ พียงพอสาหรบั การ เหมาะสมกับพชื ในสถานการณ์ เจริญเติบโตของพืช จึงตอ้ งมี การให้ธาตุอาหารในรูปของ ทกี่ าหนด ปยุ๋ กับพชื อยา่ งเหมาะสม 16. เลือกวธิ ีการขยายพนั ธพ์ุ ืชให้  มนุษยส์ ามารถนาความรเู้ ร่ืองการสืบพนั ธุ์แบบอาศัยเพศและ เหมาะสมกับความตอ้ งการของ ไมอ่ าศยั เพศ มาใชข้ ยายพันธเ์ุ พอ่ื เพมิ่ จานวนพืช เช่น การใช้ มนุษย์ โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการ เมลด็ ทไ่ี ด้จากการสบื พันธแุ์ บบอาศัยเพศมาเพาะเล้ียง วธิ กี าร สบื พนั ธุ์ของพืช น้จี ะไดพ้ ืชในปรมิ าณมาก แตอ่ าจมีลกั ษณะที่แตกต่างไปจาก 17. อธิบายความสาคัญของ พอ่ แม่ สว่ นการตอนก่ิง การปักชา การต่อกง่ิ การติดตา การ เทคโนโลยี การเพาะเลีย้ ง ทาบกิ่ง การเพาะเล้ียงเนื้อเยือ่ เป็นการ นาความรู้เรอ่ื ง เน้ือเย่อื พืชในการใช้ประโยชน์ การสืบพนั ธ์ุแบบไมอ่ าศยั เพศของพชื มาใชใ้ นการขยายพันธุ์ ด้านต่าง ๆ เพื่อใหไ้ ด้พชื ทม่ี ีลกั ษณะเหมอื นตน้ เดิม ซึ่งการขยายพันธุ์แต่ 18. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของการ ละวธิ ี มขี ้ันตอนแตกต่างกัน จึงควรเลอื กใหเ้ หมาะสมกับความ ขยายพันธพ์ุ ืช โดยการนาความรู้ ตอ้ งการของมนษุ ย์ โดยต้องคานึงถงึ ชนิดของพืชและลักษณะ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน การสบื พันธ์ขุ องพืช  เทคโนโลยีการเพาะเลย้ี งเนื้อเยอื่ พืช เปน็ การนาความรู้ เก่ียวกบั ปัจจยั ที่จาเปน็ ตอ่ การเจริญเติบโตของพืชมาใชใ้ นการ เพิม่ จานวนพืช และทาใหพ้ ืชสามารถเจรญิ เตบิ โตได้ในหลอด ทดลอง ซง่ึ จะไดพ้ ชื จานวนมากในระยะเวลาสนั้ และสามารถ นาเทคโนโลยกี ารเพาะเลย้ี งเน้ือเยื่อมาประยุกตเ์ พ่อื การ อนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรมพืช ปรบั ปรุงพนั ธุ์พืชทีม่ ีความสาคัญทาง เศรษฐกิจ การผลิตยา และสาระสาคัญในพืชและอื่น ๆ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 7 สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลง สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี ชัน้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. อธิบายสมบตั ิทางกายภาพบาง  ธาตุแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัว และมีสมบัติทาง ประการของธาตโุ ลหะ อโลหะ และ กายภาพ บางประการเหมอื นกนั และบางประการ กึ่งโลหะ โดยใช้หลักฐานเชงิ ต่างกนั ซึ่งสามารถนามาจัดกล่มุ ธาตุเป็นโลหะ อโลหะ ประจักษ์ท่ไี ดจ้ ากการสังเกต และ และกง่ึ โลหะ ธาตุโลหะมจี ดุ เดือด จุดหลอมเหลวสูง การทดสอบ และใช้สารสนเทศทไี่ ด้ มผี วิ มันวาว นาความรอ้ น นาไฟฟา้ ดงึ เปน็ เส้นหรือตี จากแหลง่ ขอ้ มูลตา่ ง ๆ รวมทงั้ จัด เป็นแผน่ บางๆ ได้ และมคี วามหนาแน่นทง้ั สงู และต่า กลุ่มธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ และก่งึ ธาตอุ โลหะ มจี ดุ เดอื ด จุดหลอมเหลวต่า มีผิวไม่ โลหะ มันวาว ไมน่ าความร้อน ไม่นาไฟฟา้ เปราะแตกหักง่าย และ มีความหนาแน่นตา่ ธาตกุ ง่ึ โลหะมีสมบัติบาง ประการเหมอื นโลหะ และสมบตั ิบางประการเหมือน อโลหะ 2. วเิ คราะหผ์ ลจากการใชธ้ าตโุ ลหะ  ธาตโุ ลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ ท่สี ามารถแผ่รังสไี ด้ อโลหะ กึง่ โลหะ และธาตุ จดั เป็นธาตุกัมมนั ตรงั สี กมั มนั ตรังสที มี่ ีตอ่ ส่งิ มชี ีวิต ส่งิ แวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม จากขอ้ มูลทรี่ วบรวมได้ 3. ตระหนักถึงคุณค่าของการใชธ้ าตุโลหะ  ธาตุมีท้งั ประโยชน์และโทษ การใชธ้ าตโุ ลหะ อโลหะ อโลหะ ก่งึ โลหะ ธาตุกมั มันตรงั สี โดย กง่ึ โลหะ ธาตุกัมมันตรงั สี ควรคานึงถึงผลกระทบต่อ เสนอแนวทางการใชธ้ าตุอยา่ งปลอดภัย ส่ิงมีชวี ติ ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจและสงั คม คมุ้ ค่า 4. เปรียบเทยี บจดุ เดอื ด จุดหลอมเหลว  สารบริสุทธ์ปิ ระกอบด้วยสารเพียงชนิดเดยี ว สว่ นสาร ของสารบริสุทธแิ์ ละสารผสม โดย ผสมประกอบดว้ ยสารตั้งแต่ 2 ชนดิ ข้นึ ไป สารบริสุทธิ์ การวดั อุณหภมู ิ เขียนกราฟ แปล แตล่ ะชนิดมีสมบัติบางประการท่เี ป็นค่าเฉพาะตวั เชน่ ความหมายขอ้ มูลจากกราฟ หรอื จุดเดือดและจุดหลอมเหลวคงที่ แตส่ ารผสมมีจุดเดือด สารสนเทศ และจุดหลอมเหลวไมค่ งที่ ขึน้ อยกู่ ับชนิดและสัดส่วน ของสารที่ผสมอยู่ด้วยกนั โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 8 ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง 5. อธบิ ายและเปรยี บเทียบความ  สารบรสิ ุทธิ์แตล่ ะชนิดมคี วามหนาแนน่ หรอื มวลต่อ หนาแน่นของสารบริสทุ ธ์ิและสาร หนงึ่ หนว่ ยปรมิ าตรคงท่ี เป็นค่าเฉพาะของสารนน้ั ณ ผสม สถานะ และอณุ หภมู หิ นงึ่ แต่สารผสมมีความหนาแน่น ไม่คงที่ ข้นึ อยกู่ ับชนดิ และสัดสว่ นของสารท่ีผสมอยู่ 6. ใช้เคร่ืองมือเพื่อวดั มวลและปรมิ าตร ด้วยกัน ของสารบรสิ ุทธิแ์ ละสารผสม 7. อธบิ ายเกยี่ วกับความสมั พันธ์  สารบรสิ ทุ ธ์ิแบ่งออกเป็นธาตแุ ละสารประกอบ ระหว่างอะตอม ธาตุและ สารประกอบ โดยใช้แบบจาลอง  ธาตุประกอบด้วยอนุภาคทเ่ี ล็กท่สี ุดทีย่ ังแสดงสมบัติ และสารสนเทศ ของธาตนุ น้ั เรยี กวา่ อะตอม ธาตุแต่ละชนิด ประกอบดว้ ยอะตอมเพียงชนดิ เดียว และไม่สามารถ แยกสลายเปน็ สารอน่ื ไดด้ ว้ ยวิธีทางเคมี ธาตเุ ขยี นแทน ด้วยสญั ลักษณ์ธาตุ สารประกอบเกิดจากอะตอมของ ธาตุต้ังแต่ 2 ชนดิ ข้ึนไปรวมตัวกนั ทางเคมีในอตั ราส่วน คงที่ มสี มบตั แิ ตกต่างจากธาตทุ ี่เป็นองคป์ ระกอบ สามารถแยกเปน็ ธาตุได้ดว้ ยวิธที างเคมี ธาตุและ สารประกอบสามารถเขียนแทนไดด้ ว้ ยสตู รเคมี 8. อธบิ ายโครงสรา้ งอะตอมที่  อะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นิวตรอน และ ประกอบด้วย อเิ ลก็ ตรอน โปรตอน มีประจุไฟฟ้าบวก ธาตชุ นิด เดยี วกนั มีจานวนโปรตอนเทา่ กนั และเป็นคา่ เฉพาะ โปรตอน นิวตรอน และอเิ ล็กตรอน ของธาตนุ น้ั นวิ ตรอนเปน็ กลางทางไฟฟา้ ส่วน โดยใชแ้ บบจาลอง อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟา้ ลบ เมือ่ อะตอมมีจานวน โปรตอนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนจะเปน็ กลาง ทางไฟฟา้ โปรตอนและนวิ ตรอนรวมกันตรงกลาง อะตอมเรียกว่า นิวเคลยี ส สว่ นอิเล็กตรอนเคลอื่ นท่อี ยู่ ในท่ีวา่ งรอบนวิ เคลียส 9. อธิบายและเปรยี บเทยี บการจดั เรียง  สสารทุกชนดิ ประกอบด้วยอนภุ าค โดยสารชนดิ อนภุ าค แรงยึดเหนย่ี วระหวา่ ง เดียวกนั ทม่ี สี ถานะของแข็ง ของเหลว แกส๊ จะมีการ อนภุ าค และการเคลือ่ นทีข่ อง จดั เรียงอนุภาค แรงยดึ เหนยี่ วระหว่างอนุภาค การ อนุภาคของสสารชนดิ เดียวกนั ใน เคล่ือนทข่ี องอนุภาคแตกต่างกัน ซ่ึงมีผลตอ่ รูปรา่ งและ สถานะของแขง็ ของเหลว และแก๊ส ปรมิ าตรของสสาร โดยใช้แบบจาลอง โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 9 ชั้น ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง 10. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหว่าง  อนภุ าคของของแขง็ เรียงชดิ กัน มแี รงยดึ เหนยี่ ว พลงั งานความร้อนกับการเปลยี่ น ระหว่างอนภุ าคมากทส่ี ดุ อนุภาคสน่ั อยกู่ บั ที่ ทาให้มี สถานะของสสาร โดยใช้หลกั ฐาน รูปรา่ งและปริมาตรคงท่ี เชิงประจักษแ์ ละแบบจาลอง  อนุภาคของของเหลวอย่ใู กล้กนั มีแรงยดึ เหนย่ี ว ระหว่างอนภุ าคนอ้ ยกวา่ ของแข็ง แต่มากกวา่ แก๊ส อนุภาคเคลื่อนที่ไดแ้ ตไ่ ม่เปน็ อิสระเท่าแกส๊ ทาให้มี รปู ร่างไมค่ งที่ แต่ปริมาตรคงท่ี  อนุภาคของแกส๊ อยู่หา่ งกันมาก มีแรงยึดเหนย่ี ว ระหว่างอนภุ าคน้อยทีส่ ุด อนุภาคเคล่อื นทไี่ ด้อย่าง อสิ ระทกุ ทิศทาง ทาใหม้ รี ปู ร่างและปรมิ าตรไมค่ งที่  ความร้อนมีผลต่อการเปล่ียนสถานะของสสาร เมือ่ ให้ ความรอ้ นแกข่ องแขง็ อนุภาคของของแขง็ จะมี พลงั งานและอณุ หภมู เิ พ่มิ ขนึ้ จนถงึ ระดับหนึ่ง ซ่ึง ของแข็งจะใช้ความร้อน ในการเปลีย่ นสถานะเป็น ของเหลว เรียกความร้อนท่ีใชใ้ นการเปลย่ี นสถานะจาก ของแข็งเปน็ ของเหลวว่า ความร้อนแฝงของการ หลอมเหลว และอณุ หภูมขิ ณะเปลยี่ นสถานะจะคงที่ เรยี กอณุ หภมู ิน้ีวา่ จุดหลอมเหลว  เมื่อให้ความรอ้ นแกข่ องเหลว อนภุ าคของของเหลวจะ มพี ลงั งานและอุณหภมู ิเพมิ่ ขนึ้ จนถงึ ระดับหน่ึง ซ่งึ ของเหลวจะใช้ความรอ้ นในการเปลย่ี นสถานะเป็นแกส๊ เรียกความร้อนทใี่ ช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลว เปน็ แกส๊ วา่ ความร้อนแฝงของการกลายเปน็ ไอ และ อุณหภมู ิขณะเปลย่ี นสถานะจะคงท่ี เรียกอุณหภูมิน้ีว่า จดุ เดือด  เมื่อทาให้อุณหภมู ขิ องแก๊สลดลงจนถงึ ระดบั หนง่ึ แก๊ส จะเปล่ยี นสถานะเป็นของเหลว เรยี กอณุ หภูมนิ ี้ว่า จดุ ควบแนน่ ซึง่ มีอุณหภมู ิเดยี วกับจดุ เดอื ดของของเหลว  เม่อื ทาใหอ้ ุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถึงระดับหนึง่ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 10 ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เรยี กอุณหภมู ิ นว้ี ่า จุดเยอื กแขง็ ซง่ึ มีอุณหภูมิเดยี วกับ จดุ หลอมเหลว ของของแขง็ น้ัน มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาตอ่ วัตถุ ลักษณะการเคลอ่ื นที่ แบบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมทั้งนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ช้ัน ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.1 1. สร้างแบบจาลองทีอ่ ธบิ าย  เมอ่ื วัตถุอยใู่ นอากาศจะมีแรงท่ีอากาศกระทาต่อวัตถุในทกุ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างความ ทิศทาง แรงทอ่ี ากาศกระทาตอ่ วัตถุขึ้นอยู่กับขนาดพน้ื ที่ของ ดันอากาศกบั ความสูงจากพ้นื วตั ถุนนั้ แรงทอี่ ากาศกระทาตง้ั ฉากกบั ผวิ วัตถุตอ่ หนึง่ หนว่ ย โลก พ้ืนท่ี เรียกว่า ความดนั อากาศ ความดนั อากาศ มี ความสัมพนั ธ์กบั ความสงู จาก พื้นโลก โดยบริเวณท่สี ูงจาก พนื้ โลกขน้ึ ไป อากาศเบาบางลง มวลอากาศน้อยลง ความ ดันอากาศกจ็ ะลดลง มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ยี นแปลง และการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสสาร และพลงั งาน พลังงานในชวี ติ ประจาวัน ธรรมชาตขิ องคล่นื ปรากฏการณ์ที่ เกย่ี วขอ้ งกบั เสียง แสง และคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมท้ังนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง ม.1 1. วเิ คราะห์ แปลความหมายขอ้ มลู  เมือ่ สสารไดร้ ับหรอื สญู เสียความร้อนอาจทาให้สสาร และคานวณปรมิ าณความร้อนที่ เปลย่ี นอุณหภมู ิ เปลีย่ นสถานะ หรอื เปลีย่ นรูปร่าง ทาให้สสารเปลย่ี นอุณหภูมแิ ละ  ปริมาณความร้อนทท่ี าให้สสารเปลยี่ นอุณหภูมิข้ึนกบั มวล เปลี่ยนสถานะ โดยใช้สมการ Q = ความร้อนจาเพาะ และอณุ หภมู ิที่เปลี่ยนไป mc∆t และ Q = mL  ปรมิ าณความร้อนท่ีทาให้สสารเปลย่ี นสถานะขึ้นกบั มวล 2. ใช้เทอรม์ อมิเตอร์ในการวดั และความร้อนแฝงจาเพาะ โดยขณะทสี่ สารเปล่ยี นสถานะ อณุ หภมู ิของสสาร อณุ หภูมิจะไม่เปลย่ี นแปลง 3. สรา้ งแบบจาลองท่อี ธบิ าย  ความรอ้ นทาให้สสารขยายตัวหรือหดตวั ได้ เน่ืองจากเมอ่ื การขยายตวั หรือหดตัวของสสาร สสารไดร้ บั ความรอ้ นจะทาให้อนุภาคเคลื่อนท่ีเร็วขน้ึ ทา โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 11 ชัน้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง เน่ืองจากไดร้ ับ หรอื สูญเสยี ความ ให้เกดิ การขยายตวั แตเ่ มอื่ สสารคายความรอ้ น จะทาให้ ร้อน อนภุ าคเคลอ่ื นท่ีชา้ ลง ทาใหเ้ กิดการหดตัว 4. ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องความรู้  ความรู้เรอ่ื งการหดและขยายตวั ของสสารเนอ่ื งจากความ ของการหดและขยายตัวของสสาร รอ้ น นาไปใช้ประโยชน์ ในด้านตา่ ง ๆ เช่น การสร้างถนน เนื่องจากความร้อน โดยวิเคราะห์ การสรา้ งรางรถไฟ การทาเทอร์มอมเิ ตอร์ สถานการณป์ ัญหา และเสนอแนะ วิธีการนาความรู้มาแก้ปัญหา ใน ชวี ติ ประจาวัน 5. วิเคราะหส์ ถานการณ์การถ่ายโอน  ความรอ้ นถา่ ยโอนจากสสารท่มี อี ณุ หภูมิสูงกว่าไปยงั สสาร ความรอ้ น และคานวณปริมาณ ท่มี ีอณุ หภูมติ ่ากว่าจนกระท่ังอุณหภมู ิของสสารทั้งสอง ความร้อนทถ่ี า่ ยโอนระหว่างสสาร เทา่ กัน สภาพทส่ี สารท้ังสองมอี ุณหภมู ิเท่ากนั เรยี กว่า จนเกดิ สมดุลความรอ้ นโดยใช้ สมดลุ ความรอ้ น สมการ Qสญู เสยี = Qได้รบั  เมื่อมีการถา่ ยโอนความร้อนจากสสารท่ีมอี ณุ หภมู ิตา่ งกัน จนเกดิ สมดุลความร้อน ความร้อนทเ่ี พิ่มขน้ึ ของสสารหนงึ่ จะเทา่ กับ ความร้อนท่ลี ดลงของอกี สสารหนึ่ง ซ่งึ เปน็ ไป ตามกฎการอนรุ ักษพ์ ลังงาน 6. สร้างแบบจาลองทอี่ ธิบายการถ่าย  การถ่ายโอนความรอ้ นมี 3 แบบ คือ การนาความรอ้ น โอนความร้อนโดยการนาความ การพาความรอ้ น และการแผร่ งั สคี วามรอ้ น การนาความ รอ้ น การพาความรอ้ น การแผร่ งั สี ร้อน เป็นการถ่ายโอนความรอ้ นทีอ่ าศยั ตวั กลาง โดยท่ี ความรอ้ น ตัวกลางไม่เคลื่อนท่ี การพาความร้อนเปน็ การถา่ ยโอน ความรอ้ นท่อี าศัยตัวกลาง โดยทีต่ ัวกลางเคล่อื นทไ่ี ปด้วย ส่วนการแผ่รังสีความรอ้ นเป็นการถา่ ยโอนความรอ้ นที่ไม่ ต้องอาศยั ตวั กลาง 7. ออกแบบ เลอื กใช้ และสร้างอุปกรณ์  ความรู้เก่ียวกบั การถ่ายโอนความรอ้ นสามารถนาไปใช้ เพือ่ แกป้ ญั หาในชวี ิตประจาวันโดยใช้ ประโยชน์ในชีวติ ประจาวนั ได้ เช่น การเลอื กใช้วัสดุเพ่อื ความรู้เก่ียวกับการถา่ ยโอนความร้อน นามาทาภาชนะบรรจุอาหารเพอ่ื เกบ็ ความร้อน หรือการ ออกแบบระบบระบายความร้อนในอาคาร สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 12 มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณพี บิ ตั ภิ ยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก รวมท้งั ผลต่อสิ่งมีชวี ิต และส่งิ แวดล้อม ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.1 1. สร้างแบบจาลองท่ีอธบิ ายการ  โลกมีบรรยากาศหอ่ หุ้ม นักวิทยาศาสตรใ์ ช้สมบตั ิและ แบง่ ช้นั บรรยากาศ และ องคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบง่ บรรยากาศของโลก เปรียบเทยี บประโยชน์ของ ออกเป็นช้นั ซึ่งแบง่ ได้หลายรปู แบบตามเกณฑ์ทแ่ี ตกต่าง บรรยากาศแต่ละช้ัน กัน โดยทั่วไปนกั วทิ ยาศาสตร์ใชเ้ กณฑ์การเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิตามความสงู แบง่ บรรยากาศได้เป็น 5 ช้ัน ไดแ้ ก่ ชัน้ โทรโพสเฟยี ร์, ชั้นสตราโตสเฟียร์, ชนั้ มีโซสเฟยี ร์, ช้ัน เทอรโ์ มสเฟยี ร์ และชั้นเอกโซสเฟียร์  บรรยากาศแต่ละชน้ั มีประโยชน์ต่อส่งิ มชี ีวติ แตกต่างกนั โดยชั้นโทรโพสเฟียรม์ ีปรากฏการณล์ มฟ้าอากาศที่สาคญั ตอ่ การดารงชีวิตของส่งิ มีชีวิต ช้ันสตราโตสเฟียร์ ชว่ ย ดูดกลนื รงั สีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ไม่ใหม้ ายังโลก มากเกินไป ชั้นมโี ซสเฟยี รช์ ่วยชะลอวตั ถุนอกโลกท่ผี ่านเข้า มาให้เกิดการเผาไหมก้ ลายเป็นวตั ถุขนาดเล็ก ลดโอกาสที่ จะทาความเสียหายแก่สิง่ มีชวี ิตบนโลก ชนั้ เทอร์โมส-เฟยี ร์ สามารถสะท้อนคลืน่ วทิ ยุ และชั้นเอกโซสเฟยี รเ์ หมาะ สาหรับ การโคจรของดาวเทยี มรอบโลกในระดับต่า 2.อธิบายปจั จัยท่มี ีผลตอ่ การ  ลมฟา้ อากาศเปน็ สภาวะของอากาศในเวลาหนงึ่ ของพื้นท่ี เปลี่ยนแปลงองคป์ ระกอบของ หน่ึงท่มี กี ารเปล่ยี นแปลงตลอดเวลาข้นึ อยกู่ บั องค์ประกอบ ลมฟ้าอากาศ จากขอ้ มูลที่ ลมฟ้าอากาศ ไดแ้ ก่ อณุ หภมู ิอากาศ ความกดอากาศ ลม รวบรวมได้ ความช้นื เมฆ และหยาดน้าฟ้า โดยหยาดน้าฟ้าที่พบบ่อย ในประเทศไทย ไดแ้ ก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ เปล่ยี นแปลงตลอดเวลาข้ึนอย่กู ับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณ รงั สจี ากดวงอาทติ ยแ์ ละลักษณะพ้นื ผิวโลกสง่ ผลต่อ อุณหภมู อิ ากาศ อุณหภูมอิ ากาศ และปรมิ าณไอนา้ ส่งผลต่อ ความชน้ื ความกดอากาศสง่ ผลตอ่ ลม ความช้ืน และลม ส่งผลตอ่ เมฆ 3. เปรียบเทยี บกระบวนการเกิด  พายฝุ นฟา้ คะนอง เกิดจากการทีอ่ ากาศท่มี ีอณุ หภูมแิ ละ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 13 ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง พายฝุ นฟา้ คะนองและพายุ ความช้ืนสูงเคลื่อนที่ขึ้นส่รู ะดับความสูงที่มีอณุ หภูมติ ่าลง หมุนเขตร้อน และผลท่ีมตี อ่ จนกระทงั่ ไอน้าในอากาศเกิดการควบแน่นเปน็ ละอองนา้ ส่งิ มชี ีวติ และส่งิ แวดล้อม และเกดิ ต่อเนอ่ื งเปน็ เมฆขนาดใหญ่ พายฝุ นฟา้ คะนอง ทา รวมท้งั นาเสนอแนวทางการ ให้เกิดฝนตกหนัก ลมกรรโชกแรง ฟ้าแลบฟา้ ผ่า ซึ่งอาจ ปฏบิ ตั ติ นใหเ้ หมาะสมและ ก่อให้เกิดอันตรายตอ่ ชวี ติ และทรัพยส์ ิน ปลอดภยั  พายหุ มุนเขตรอ้ นเกิดเหนือมหาสมุทร หรอื ทะเลท่ีนา้ อณุ หภูมสิ งู ตง้ั แต่ 26–27 องศาเซลเซยี สขึน้ ไป ทาให้ 4. อธิบายการพยากรณอ์ ากาศ อากาศทมี่ ีอุณหภูมิและความชืน้ สงู บรเิ วณน้นั เคลื่อนที่ และพยากรณอ์ ากาศอยา่ งงา่ ย สูงขึ้นอยา่ งรวดเรว็ เป็นบริเวณกว้าง อากาศจากบรเิ วณอ่ืน จากขอ้ มูลที่รวบรวมได้ เคลอ่ื นเข้ามาแทนท่ี และพดั เวยี นเขา้ หาศนู ยก์ ลางของพายุ ยง่ิ ใกล้ศนู ยก์ ลางอากาศจะเคลอื่ นท่ีพัดเวยี นเกือบเป็น 5. ตระหนกั ถึงคุณค่าของการ วงกลม และมีอัตราเรว็ สูงทส่ี ดุ พายุหมุนเขตร้อนทาให้เกิด พยากรณ์อากาศโดยนาเสนอ คลื่นพายุซัดฝ่งั ฝนตกหนกั ซง่ึ อาจกอ่ ให้เกิดอนั ตรายตอ่ แนวทางการปฏิบตั ิตน และ ชีวิตและทรัพยส์ นิ จงึ ควรปฏบิ ัติตนใหป้ ลอดภัยโดยติดตาม การใชป้ ระโยชน์จากคา ข่าวสารการพยากรณ์อากาศ และไมเ่ ข้าไปอยู่ในพ้ืนท่ที ี่ พยากรณอ์ ากาศ เสย่ี งภัย  การพยากรณอ์ ากาศเป็นการคาดการณ์ลมฟ้าอากาศท่จี ะ 6. อธิบายสถานการณ์และ เกดิ ข้ึน ในอนาคตโดยมกี ารตรวจวัดองค์ประกอบลมฟา้ ผลกระทบการเปลย่ี นแปลง อากาศ การสื่อสารแลกเปลี่ยนขอ้ มูลองคป์ ระกอบลมฟา้ ภูมอิ ากาศโลกจากข้อมูลท่ี อากาศระหวา่ งพ้นื ที่ การวิเคราะหข์ อ้ มูล และสร้างคา รวบรวมได้ พยากรณอ์ ากาศ  การพยากรณ์อากาศสามารถนามาใชป้ ระโยชนด์ ้านต่าง ๆ เชน่ การใช้ชวี ติ ประจาวนั การคมนาคม การเกษตร การป้องกัน และเฝ้าระวงั ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ  ภูมอิ ากาศโลกเกิดการเปลยี่ นแปลงอย่างต่อเนอ่ื งโดยปจั จัย ทางธรรมชาติ แตป่ ัจจุบนั การเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศ เกิดขึ้นอยา่ งรวดเร็วเนือ่ งจากกิจกรรมของมนุษยใ์ นการ ปลดปล่อยแก๊สเรอื นกระจกสู่บรรยากาศ แก๊สเรือนกระจก โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 14 ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ทถี่ กู ปลดปลอ่ ยมากที่สุด ได้แก่ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดซ์ ่ึง หมนุ เวยี นอยใู่ นวฏั จกั รคาร์บอน 7. ตระหนกั ถึงผลกระทบของการ  การเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศโลกกอ่ ให้เกดิ ผลกระทบต่อ เปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลกโดย ส่งิ มีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม เช่น การหลอมเหลวของนา้ แขง็ นาเสนอแนวทางการปฏิบตั ติ น ขัว้ โลก การเพ่มิ ขน้ึ ของระดบั น้าทะเล การเปล่ียนแปลง ภายใต้การเปลี่ยนแปลง วัฏจกั รนา้ การเกดิ โรคอบุ ัติใหม่และอบุ ัตซิ า้ และการเกิด ภมู อิ ากาศโลก ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาตทิ ่รี นุ แรงขึ้น มนษุ ย์จงึ ควรเรียนรู้แนว ทางการปฏบิ ัติตนภายใตส้ ถานการณด์ งั กล่าว ทัง้ แนวทาง การปฏบิ ตั ใิ หเ้ หมาะสม และแนวทางการลดกิจกรรม ทีส่ ง่ ผลต่อการเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศโลก * สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวช้ีวัดและสาระการ เรียนรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2560) โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 15 ผงั มโนทศั น์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 21101 ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ชือ่ หน่วยที่ 1 สารรอบตัว จานวน 26 ช่วั โมง : ….. คะแนน รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 จานวน 60 ชั่วโมง ชือ่ หน่วยท่ี 2 หนว่ ยของสงิ่ มชี ีวิต ชอื่ หน่วยท่ี 3 การดารงชีวิตของพชื จานวน 12 ชัว่ โมง : ….. คะแนน จานวน 22 ชัว่ โมง : ….. คะแนน โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 16 ผงั มโนทศั น์ 1 รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว21101 ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่อื ง สารรอบตวั จานวน 26 ชัว่ โมง : .................... คะแนน หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรื่อง สารรอบตวั จานวน 26 ชัว่ โมง 1. ชื่อเรือ่ ง สารและการจาแนกสาร 4. ชื่อเรอ่ื ง ธาตกุ มั มันตรงั สี จานวน 4 ช่วั โมง : ….. คะแนน จานวน 2 ช่วั โมง : ….. คะแนน 2. ช่ือเรอื่ ง การเปลีย่ นแปลงของสาร 5. ช่ือเร่ือง สารประกอบ จานวน 4 ชวั่ โมง : ….. คะแนน จานวน 2 ช่ัวโมง : ….. คะแนน 3. ช่ือเรอ่ื ง สารบริสทุ ธิ์ 6. ชื่อเร่ือง สารผสม จานวน 5 ชั่วโมง : ….. คะแนน จานวน 4 ช่วั โมง : ….. คะแนน 7. ชื่อเรอ่ื ง สมบตั ิของสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม จานวน 5 ชวั่ โมง : ….. คะแนน โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 17 ผงั มโนทัศน์ 2 รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว21101 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 เรอ่ื ง หน่วยของสง่ิ มชี วี ติ จานวน 12 ชว่ั โมง : .................... คะแนน 1. ชื่อเรอื่ ง เซลล์ของส่งิ มีชีวิต จานวน 5 ชวั่ โมง : ….. คะแนน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง หนว่ ยของส่ิงมีชีวติ จานวน 12 ชั่วโมง 2. ชื่อเรือ่ ง เซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์ 3. ชื่อเร่ือง การแพรแ่ ละออสโมซสิ จานวน 4 ชว่ั โมง : ….. คะแนน จานวน 3 ช่ัวโมง : ….. คะแนน โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 18 ผงั มโนทศั น์ 3 รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว21101 ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรื่อง การดารงชีวิตของพืช จานวน 22 ชวั่ โมง : .................... คะแนน หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3 เร่อื ง การดารงชีวิตของพชื จานวน 22 ชั่วโมง 1. ช่ือเรื่อง การสังเคราะห์ดว้ ยแสง 4. ชื่อเร่อื ง การสบื พนั ธ์ุแบบไมอ่ าศยั จานวน 4 ชว่ั โมง : ….. คะแนน เพศของพืช 2. ชื่อเร่ือง การลาเลียงสารในพชื จานวน 2 ช่วั โมง : ….. คะแนน จานวน 5 ชว่ั โมง : ….. คะแนน 5. ช่ือเรือ่ ง การสืบพนั ธ์ุแบบอาศัย 3. ชื่อเร่ือง การเจริญเตบิ โตของพืช เพศของพืช จานวน 3 ชว่ั โมง : ….. คะแนน จานวน 5 ชวั่ โมง : ….. คะแนน 6. ช่ือเรือ่ ง เทคโนโลยีชีวิภาพของพืช จานวน 3 ชัว่ โมง : ….. คะแนน โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 19 โครงสรา้ งรายวิชา วทิ ยาศาสตร์ ม.1 ลาดับที่ ชือ่ หนว่ ย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา 1. การเรยี นรู้ เรียนรู้/ (ชม.) สารรอบตวั ตวั ชีว้ ัด 2. 3. หนว่ ยของ ว 2.1 สารรอบตัวประกอบไปด้วยธาตแุ ละสารประกอบ 26 สง่ิ มีชวี ิต ม.1/1 สารแต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพและสมบัติทาง การดารงชีวติ ของพชื ม.1/2 เคมีท่เี หมือนและแตกตา่ งกัน ม.1/3 ความร้อนเป็นปัจจัยหน่ึงที่ทาให้สถานะของสาร ซึ่ง ม.1/4 เปน็ สมบัติทางกายภาพเปล่ยี นแปลงไป ม.1/5 สารบรสิ ุทธิ์ คือ สารท่ีมีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว ม.1/6 ประกอบไปด้วยธาตุและสารประกอบ โดยธาตุแบ่ง ม.1/7 ออกเปน็ ธาตุโลหะ ธาตุก่ึงโลหะ และธาตอุ โลหะ ซ่งึ ธาตุ ม.1/8 บางชนิดสามารถแผ่รังสีได้ เรียกว่า ธาตุกัมมันตรังสี ม.1/9 เม่ือธาตุมากกว่าหนึ่งชนิดมารวมกันทางเคมีกลายเป็น ม.1/10 สารประกอบท่ีมีสมบัติแตกต่างไปจากธาตุเดิมท่ีเป็น องคป์ ระกอบ สารมากกว่าหน่ึงชนิดมาผสมกันเรียกว่า สารผสม บาง ชนิดผสมเป็นเน้ือเดียวกัน เรียกว่า สารละลาย บางชนิด ผสมไม่เป็นเน้ือเดียวกัน เช่น สารแขวนลอย คอลลอยด์ เปน็ ต้น ว 1.2 ส่ิงมีชีวิตทุกชนิดมีเซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดเป็น 12 ม.1/1 องคป์ ระกอบ ซง่ึ สิง่ มชี ีวติ บางชนิดสามารถดารงชีวิตอยู่ ม.1/2 ได้เพยี งเซลล์เดยี ว บางชนิดจาเป็นต้องมีหลายเซลล์มา ม.1/3 รวมกันเป็นเนื้อเย่ือ ซึ่งมีรูปร่างและหน้าท่ีแตกต่างกัน ม.1/4 ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของเซลล์ ได้แก่ นิวเคลียส ไซ ม.1/5 โตพลาซมึ และเยอื่ หุ้มเซลล์ กระบวนการแพร่และออสโมซิสเป็นกระบวนการท่ี สงิ่ มีชีวติ ใช้ลาเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ ว 1.2 พชื ดารงชีวิตอย่ไู ด้ดว้ ยสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ดงั น้ี 22 ม.1/6 ใบไม้ มีคลอโรพลาสต์ที่มีสารคลอโรฟิลล์ซ่ึง ม.1/7 เกี่ยวขอ้ งกบั กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงโดยมีแก๊ส โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 20 ลาดบั ท่ี ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา การเรียนรู้ เรียนรู้/ (ชม.) ตัวชวี้ ัด ม.1/8 คาร์บอนไดออกไซด์และน้าเป็นสารตั้งต้น และได้ ม.1/9 น้าตาลกลูโคส และแก๊สออกซิเจนเป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่ง ม.1/10 จาเป็นต่อการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต รากและลาต้น ม.1/11 ประกอบไปด้วยเนื้อเย่ือลาเลียงไซเล็ม ทาหน้าท่ีดูดน้า ม.1/12 และแร่ธาตุ โดยอาศัยกระบวนการแพร่และออสโมซิส ม.1/13 เน้ือเยื่อลาเลียงโฟลเอ็ม ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร ม.1/14 โดยอาศัยกระบวนการทรานสโลเคชั่น ม.1/15 ดอกไม้ เป็นอวัยวะสืบพันธ์ุของพืช เมื่อถูกผสมเกสร ม.1/16 ดอกจะเจริญกลายเป็นผลซึ่งภายในมีเมล็ด ทาหน้าท่ี ม.1/17 กระจายพนั ธุพ์ ชื โดยพชื ตน้ ใหม่จะมีลักษณะที่แตกต่าง ม.1/18 ไปจากตน้ พ่อแม่ พืชสามารถขยายพันธ์ุ โดยใช้ส่วนโครงสร้างพิเศษ ต่าง ๆ ของพชื เช่น ราก ลาต้น ใบ และมนษุ ย์สามารถ นาส่วนต่าง ๆ ของพืชมาขยายพันธุ์ได้ เช่น การปักชา การติดตา การตอนก่ิง เป็นต้น ซ่ึงพืชต้นใหม่จะมี ลกั ษณะไมแ่ ตกต่างไปจากตน้ พอ่ แม่ มนุษย์นาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับพืช เช่น การเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือพืช การดัดแปรพันธุกรรมพืช เปน็ ตน้ เพอ่ื ให้เพยี งพอต่อความต้องการของมนษุ ย์ จานวนชั่วโมงเรียน รวมท้ังหมด 60 โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

โครงสรา้ งแผนการจดั การเรียนรู้ วิทยาศาส หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการส 1. สารรอบตัว วิธกี ารสอน/เทคน แผนท่ี 1 สารและการจาแนก สาร แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es structional Mod แผนที่ 2 การเปล่ียนแปลงของ แบบสบื เสาะหาความรู้ สาร (5Es Instructional Mo

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 21 สตร์ ม.1 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เวลา 60 ชั่วโมง สอน/ ทักษะท่ไี ด้ การประเมิน เวลา นิค (ชว่ั โมง) - ทกั ษะการสงั เกต - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 4 del) - ทักษะการจัดกลมุ่ - ตรวจใบงานที่ 1.1 เร่อื ง การ - ทกั ษะการเปรียบเทียบ จาแนกสาร - ทกั ษะการจาแนกประเภท - ตรวจใบงานท่ี 1.2 เร่ือง สาร - ทักษะการสารวจ รอบตวั - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัด วทิ ย์ฯ ม.1 เลม่ 1  สังเกตพฤติกรรมการ ปฏบิ ตั ิการจากการทากจิ กรรม  สงั เกตพฤติกรรมการทางาน รายกลุม่ - ทักษะการสังเกต - ตรวจใบงานที่ 1.3 เร่ือง ความ 4 odel) - ทักษะการระบุ ร้อนกบั การเปลยี่ นสถานะของ - ทกั ษะการเชื่อมโยง สาร - ทกั ษะการจาแนกประเภท - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัด - ทกั ษะการนาความรูไ้ ปใช้ วิทยฯ์ ม.1 เล่ม 1 โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ูช้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ แนวคดิ /รปู แบบการส วิธีการสอน/เทคน แผนท่ี 3 สารบริสุทธ์ิ แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mo

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 22 สอน/ ทักษะทไี่ ด้ การประเมนิ เวลา นคิ (ชว่ั โมง)  สังเกตพฤตกิ รรมการ ปฏิบตั ิการจากการทากิจกรรม - สังเกตพฤตกิ รรมการทางาน รายบคุ คล - ทกั ษะการสังเกต - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัด 5 odel) - ทักษะการระบุ วิทย์ฯ ม.1 เล่ม 1 - ทักษะการเปรยี บเทียบ - สงั เกตพฤติกรรมการทางาน - ทกั ษะการจาแนกประเภท รายกลุ่ม - ทักษะการสารวจค้นหา - ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มูล - ทกั ษะการสรปุ ย่อ - ทักษะการนาความร้ไู ปใช้ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ แนวคิด/รปู แบบการส วิธีการสอน/เทคน แผนที่ 4 ธาตกุ ัมมนั ตรงั สี แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mo แผนที่ 5 สารประกอบ แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mo แผนท่ี 6 สารผสม แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mo

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 23 สอน/ ทักษะที่ได้ การประเมนิ เวลา นิค (ชว่ั โมง) - ทกั ษะการสังเกต - ตรวจใบงานที่ 1.4 เร่ือง ธาตุ 2 odel) - ทกั ษะการระบุ กมั มันตรงั สี 2 - ทกั ษะการเปรียบเทียบ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัด 4 - ทกั ษะการจาแนกประเภท วิทย์ฯ ม.1 เล่ม 1 - ทักษะการสารวจค้นหา - สงั เกตพฤติกรรมการทางาน - ทกั ษะการรวบรวมข้อมูล รายกล่มุ - ทักษะการสรปุ ย่อ - ประเมนิ การนาเสนอใบงาน - ทักษะการนาความรู้ไปใช้ - ทักษะการสงั เกต - ตรวจใบงานที่ 1.5 เร่ือง odel) - ทักษะการระบุ สารประกอบ - ทักษะการเปรียบเทยี บ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัด - ทักษะการจาแนกประเภท วิทย์ฯ ม.1 เลม่ 1 - ทักษะการสารวจคน้ หา - สงั เกตพฤติกรรมการทางาน - ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มูล รายกลุ่ม - ประเมนิ การนาเสนอใบงาน - ทักษะการสังเกต - ตรวจใบงานท่ี 1.6 เร่อื ง สาร odel) - ทักษะการระบุ ผสม - ทกั ษะการจดั กลุม่ - ประเมนิ ผลงานแผนผงั มโน โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ูช้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แนวคดิ /รปู แบบการส วิธีการสอน/เทคน แผนที่ 7 สมบัติของสารบรสิ ุทธ์ิ แบบสืบเสาะหาความรู้ และสารผสม (5Es Instructional Mo

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 24 สอน/ ทกั ษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา นคิ (ชัว่ โมง) - ทกั ษะการเปรียบเทยี บ ทศั น์ เร่อื ง สารบรสิ ุทธ์ิ และ - ทักษะการจาแนกประเภท สารผสม - ทกั ษะการเชอ่ื มโยง - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัด - ทักษะการใหเ้ หตผุ ล วทิ ยฯ์ ม.1 เลม่ 1 - ทักษะการสารวจ - สังเกตพฤติกรรมการทางาน - ทกั ษะการสรปุ ยอ่ รายบคุ คล - ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู - สงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน รายกลุ่ม - ประเมนิ การนาเสนอใบงาน - ทกั ษะการสังเกต - ประเมนิ ผลงานแผนผังมโน 5 odel) - ทกั ษะการระบุ ทัศน์ เร่อื ง สารบรสิ ุทธแิ์ ละสาร - ทกั ษะการเปรยี บเทียบ ผสม - ทกั ษะการจาแนกประเภท - ตรวจแบบฝึกหัด - ทักษะการเชือ่ มโยง - ตรวจแบบทดสอบทา้ ยหนว่ ยท่ี 1 - ตรวจแบบฝึกหดั ท้ายเล่ม - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน - ประเมนิ การนาเสนอผลงาน โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ แนวคิด/รปู แบบการส วธิ ีการสอน/เทคน 2. หนว่ ยของส่ิงมชี วี ติ แผนที่ 1 เซลลข์ องสิ่งมชี ีวิต แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mo แผนท่ี 2 เซลลพ์ ชื และเซลล์สตั ว์ แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mo

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 25 สอน/ ทกั ษะทไ่ี ด้ การประเมนิ เวลา นิค (ชวั่ โมง) จากกจิ กรรม group activity - สังเกตพฤติกรรมการทางาน กลุ่ม - สงั เกตคุณลกั ษณะอนั พึง ประสงค์ - ทักษะการสงั เกต - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 5 odel) - ทักษะการสารวจค้นหา - ตรวจใบงานที่ 2.1 เรื่อง เซลล์ของ - ทักษะการวเิ คราะห์ ส่ิงมชี วี ิต - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัด วทิ ยฯ์ ม.1 เลม่ 1 - ทกั ษะการสงั เกต - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัด 4 odel) - ทักษะการระบุ วทิ ยฯ์ ม.1 เลม่ 1 - ทกั ษะการเปรียบเทียบ - ประเมนิ แผน่ พบั เร่อื ง เซลลพ์ ืช - ทกั ษะการจาแนกประเภท และเซลล์สัตว์ - สังเกตพฤตกิ รรมการทางาน รายกลุ่ม - ประเมินการนาเสนอใบงาน โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ู้ช่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ แนวคิด/รูปแบบการส แผนท่ี 3 การแพร่และออสโมซิส วธิ กี ารสอน/เทคน แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mo 3. การดารงชวี ติ ของ แผนที่ 1 การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง แบบสืบเสาะหาความรู้ พืช (5Es Instructional Mo

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 26 สอน/ ทกั ษะท่ีได้ การประเมิน เวลา นิค (ชวั่ โมง) - ทักษะการสังเกต - ประเมินรายงาน เร่ือง การแพร่ 3 odel) - ทักษะการระบุ และ การออสโมซิส - ทักษะการเปรยี บเทยี บ - ตรวจ self check และ Unit - ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู Question - ทกั ษะการเชื่อมโยง - ตรวจแบบฝึกท้ายหนว่ ยการ เรยี นรทู้ ี่ 2 - สงั เกตพฤติกรรมการ ปฏิบตั ิการจากการทากิจกรรม - สงั เกตพฤติกรรมการทางาน กลมุ่ - สังเกตคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน - ทักษะการสงั เกต - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 4 odel) - ทกั ษะการจัดกลุ่ม - ตรวจใบงานที่ 3.1 เรื่อง การ - ทักษะการเปรียบเทยี บ สังเคราะห์ด้วยแสงของพืช - ทักษะการจาแนกประเภท - ตรวจกจิ กรรมทา้ ทายความคิด ข้นั สงู โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ู้ช่วย กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แนวคดิ /รปู แบบการส วิธีการสอน/เทคน แผนที่ 2 การลาเลียงสารในพืช แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mo

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 27 สอน/ ทักษะทไี่ ด้ การประเมนิ เวลา นคิ (ชั่วโมง) - ประเมินรายงาน เรื่อง ปัจจัยที่ จาเปน็ ต่อกระบวนการ สงั เคราะห์ด้วยแสง - ประเมินรายงาน เรอื่ ง ผลผลิต ทีเ่ กดิ จากกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง  สังเกตพฤตกิ รรมการ ปฏบิ ตั กิ ารจากการทากจิ กรรม - สังเกตพฤติกรรมการทางาน กลมุ่ - ทักษะการสังเกต - ตรวจใบงานที่ 3.2 เรอ่ื ง การ 5 odel) - ทักษะการระบุ ลาเลียงน้าและแรธ่ าตขุ องพืช - ทักษะการเปรยี บเทยี บ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัด - ทกั ษะการจาแนกประเภท วทิ ยฯ์ ม.1 เลม่ 1  สังเกตพฤติกรรมการ ปฏิบตั ิการจากการทากจิ กรรม - สงั เกตพฤตกิ รรมการทางาน กลุม่ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แนวคดิ /รูปแบบการส แผนที่ 3 การเจริญเติบโตของพชื วธิ กี ารสอน/เทคน แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mo แผนที่ 4 การสบื พันธแ์ุ บบไม่ แบบสืบเสาะหาความรู้

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 28 สอน/ ทกั ษะท่ีได้ การประเมิน เวลา นคิ (ชัว่ โมง) - ทกั ษะการสังเกต - ตรวจใบงานท่ี 3.3 เรื่อง ปจั จยั 3 odel) - ทักษะการระบุ ทมี่ ีผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของ - ทักษะการเปรียบเทียบ พชื - ทักษะการนาความรูไ้ ปใช้ - ตรวจการออกแบบสถานที่ที่ เหมาะสมตอ่ การปลูกต้นพริก - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัด วิทย์ฯ ม.1 เลม่ 1 - ประเมนิ การออกแบบการ ปฏิบัติการ  สงั เกตพฤติกรรมการ ปฏบิ ัตกิ ารจากการทากจิ กรรม - สังเกตพฤติกรรมการทางาน รายบุคคล - สังเกตพฤติกรรมการทางานราย กลมุ่ - สงั เกตคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - ทกั ษะการสังเกต - ประเมนิ รายงาน เร่อื ง การ 2 โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ แนวคิด/รปู แบบการส อาศยั เพศของพชื วธิ ีการสอน/เทคน (5Es Instructional Mo แผนท่ี 5 การสืบพันธุแ์ บบอาศยั แบบสบื เสาะหาความรู้ เพศของพชื (5Es Instructional Mo

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 29 สอน/ ทักษะทีไ่ ด้ การประเมิน เวลา นิค (ช่วั โมง) odel) - ทักษะการจัดกลมุ่ ขยายพนั ธพ์ุ ชื แบบไมอ่ าศยั เพศ - ทกั ษะการเปรียบเทยี บ - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัด - ทักษะการจาแนกประเภท วทิ ยฯ์ ม.1 เล่ม 1 - ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้ - ประเมินผลงานการขยายพันธ์ุ พืชแบบไมอ่ าศัยเพศของพชื - ทักษะการสังเกต - ตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัด 5 odel) - ทักษะการจัดกลมุ่ วิทย์ฯ ม.1 เล่ม 1 - ทกั ษะการเปรยี บเทียบ - ประเมินการนาเสนอผลงาน - ทกั ษะการจาแนกประเภท - ประเมินช้ินงานการงอกของ - ทักษะการระบุ เมลด็ - ทกั ษะการนาความร้ไู ปใช้ - ประเมินชิ้นงานโครงสร้างของ เมลด็ - สังเกตพฤติกรรมการทางาน รายบคุ คล โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ้ชู ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ แนวคดิ /รูปแบบการส วธิ ีการสอน/เทคน แผนที่ 6 เทคโนโลยีชีวภาพของ พืช แบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Mo

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 30 สอน/ ทักษะท่ีได้ การประเมิน เวลา นคิ (ชัว่ โมง) - ทกั ษะสารวจคน้ หา - ประเมินชน้ิ งาน เรือ่ ง ฟาร์มใน 3 odel) - ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู ฝนั ของฉนั - ทักษะการนาความร้ไู ปใช้ - ตรวจแบบฝกึ หัดวิทย์ ฯ ม.1 เล่ม 1 - ประเมนิ ผลงานจากการทา กิจกรรม group activity - ประเมิน self - check และ Unit Question - ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน - ตรวจแบบทดสอบท้ายหนว่ ยที่ 3 - ประเมนิ การนาเสนอผลงาน - สงั เกตพฤติกรรมการทางาน รายกลมุ่ - สังเกตคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 31 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารรอบตวั เวลา 26 ชวั่ โมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของ สาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี ว 2.1 ม.1/1 อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ โดย ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีได้จากการสังเกตและการทดสอบ และใช้สารสนเทศที่ได้จาก แหลง่ ข้อมูลต่าง ๆ รวมท้ังจดั กลมุ่ ธาตโุ ลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ว 2.1 ม.1/2 วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมันตรังสีที่มีต่อ สงิ่ มชี ีวิต ส่ิงแวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสังคม จากข้อมลู ท่ีรวบรวมได้ ว 2.1 ม.1/3 ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี โดย เสนอ แนวทางการใช้ธาตอุ ยา่ งปลอดภยั และคุ้มค่า ว 2.1 ม.1/4 เปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธ์ิและสารผสม โดยการวัด อณุ หภมู ิ เขียนกราฟ แปลความหมายขอ้ มูลจากกราฟหรอื สารสนเทศ ว 2.1 ม.1/5 อธิบายและเปรยี บเทยี บความหนาแน่นของสารบรสิ ทุ ธิแ์ ละสารผสม ว 2.1 ม.1/6 ใชเ้ ครอื่ งมอื วดั มวลและปริมาตรของสารบริสทุ ธแ์ิ ละสารผสม ว 2.1 ม.1/7 อธิบายเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างอะตอม ธาตุ และสารประกอบ โดยใช้ แบบจาลองและสารสนเทศ ว 2.1 ม.1/8 อธบิ ายโครงสร้างอะตอมทีป่ ระกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดย ใชแ้ บบจาลอง ว 2.1 ม.1/9 อธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาค แรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค และ การเคลื่อนที่ของอนุภาคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยใช้ แบบจาลอง ว 2.1 ม.1/10 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนกับการเปล่ียนสถานะของสสาร โดยใชห้ ลักฐานเชงิ ประจกั ษ์และแบบจาลอง โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 32 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 1) สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาค โดยสารชนิดเดียวกันที่มีสถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส จะมี การจดั เรยี งอนภุ าค แรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งอนภุ าค การเคล่ือนท่ีของอนุภาคแตกต่างกัน ซึ่งมีผลต่อรูปร่างและ ปรมิ าตรของสสาร 2) อนุภาคของของแขง็ เรยี งชิดกัน มแี รงยดึ เหน่ยี วระหว่างอนุภาคมากทสี่ ุด อนุภาคส่ันอยู่กับท่ี ทาให้ มรี ูปร่างและปรมิ าตรคงท่ี 3) อนภุ าคของของเหลวอยู่ใกล้กัน มีแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็งแต่มากกว่าแก๊ส อนภุ าคเคล่ือนทไ่ี ด้แตไ่ มเ่ ปน็ อิสระเท่าแกส๊ ทาให้มรี ปู ร่างไมค่ งที่ แตป่ รมิ าตรคงที่ 4) อนภุ าคของแก๊สอยูห่ า่ งกนั มาก มแี รงยดึ เหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยท่ีสุด อนุภาคเคล่ือนท่ีได้อย่าง อิสระทกุ ทศิ ทาง ทาให้มรี ูปรา่ งและปริมาตรไมค่ งท่ี 5) ความร้อนมีผลต่อการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อให้ความร้อนแก่ของแข็ง อนุภาคของของแข็ง จะมพี ลงั งานและอุณหภมู เิ พิม่ ขึน้ จนถึงระดบั หนงึ่ ซ่ึงของแขง็ จะใช้ความร้อนในการเปลี่ยนสถานะ เป็นของเหลว เรียกความร้อนท่ใี ช้ในการเปลีย่ นสถานะจากของแข็งเป็นของเหลวว่า ความร้อนแฝง ของการหลอมเหลว และอุณหภมู ขิ ณะเปล่ยี นสถานะจะคงที่ เรยี กอุณหภูมินวี้ า่ จดุ หลอมเหลว 6) เมื่อให้ความร้อนแก่ของเหลว อนุภาคของของเหลวจะมีพลังงานและอุณหภูมิเพิ่มข้ึนจนถึงระดับ หน่ึง ซ่งึ ของเหลวจะใชค้ วามร้อนในการเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส เรียกความร้อนท่ีใช้ในการเปลี่ยน สถานะจากของเหลวเป็นแก๊สว่า ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ และอุณหภูมิขณะเปลี่ยน สถานะจะคงที่ เรยี กอณุ หภมู นิ ้ีวา่ จดุ เดอื ด 7) เม่อื ทาใหอ้ ณุ หภมู ิของแกส๊ ลดลงจนถงึ ระดบั หนงึ่ แกส๊ จะเปล่ยี นสถานะเป็นของเหลว เรียกอุณหภูมิ นี้วา่ จดุ ควบแน่น ซึง่ มีอุณหภมู เิ ดียวกบั จดุ เดอื ดของของเหลวนน้ั 8) เม่ือทาให้อุณหภูมิของของเหลวลดลงจนถึงระดับหนึ่ง ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เรียกอุณหภมู นิ ว้ี า่ จุดเยอื กแขง็ ซึ่งมอี ณุ หภมู เิ ดียวกับ จดุ หลอมเหลวของของแขง็ นั้น 9) ธาตแุ ตล่ ะชนิดมีสมบัตเิ ฉพาะตัวและมสี มบตั ิ ทางกายภาพบางประการเหมือนกันและบางประการ ต่างกัน ซ่ึงสามารถนามาจัดกลุ่มธาตุเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ธาตุโลหะมีจุดเดือด จุด หลอมเหลวสูง มีผิวมันวาว นาความร้อน นาไฟฟ้า ดึงเป็นเส้น หรือตีเป็นแผ่นบาง ๆ ได้ และ มีความหนาแนน่ ทง้ั สูงและตา่ ธาตุอโลหะ มีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่า มีผิวไม่มันวาว ไม่นาความ ร้อน ไม่นาไฟฟ้า เปราะแตกหักง่าย และมีความหนาแน่นต่า ธาตุกึ่งโลหะมีสมบัติ บางประการ เหมือนโลหะ และสมบัตบิ างประการเหมอื นอโลหะ 10) ธาตโุ ลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ทีส่ ามารถแผ่รงั สไี ด้ จดั เป็นธาตุกมั มนั ตรังสี 11) ธาตุมีทั้งประโยชน์และโทษ การใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี ควรคานึงถึง ผลกระทบตอ่ ส่งิ มชี ีวติ ส่งิ แวดลอ้ ม เศรษฐกิจ และสังคม โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 33 12) สารบรสิ ทุ ธ์ิแบ่งออกเปน็ ธาตแุ ละสารประกอบ ธาตุประกอบด้วยอนภุ าคทเ่ี ลก็ ท่ีสุดทีย่ งั แสดงสมบัติ ของธาตุน้ันเรียกว่า อะตอม ธาตุแต่ละชนิดประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวและไม่สามารถ แยกสลายเป็นสารอ่ืนได้ด้วยวิธีทางเคมี ธาตุเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ธาตุ สารประกอบเกิดจาก อะตอมของธาตตุ ั้งแต่ 2 ชนิดขึน้ ไปรวมตัวกนั ทางเคมใี นอัตราส่วนคงที่ มีสมบัติแตกต่างจากธาตุท่ี เป็นองค์ประกอบ สามารถแยกเปน็ ธาตุได้ด้วยวธิ ที างเคมี ธาตุและสารประกอบสามารถเขียนแทน ไดด้ ้วยสูตรเคมี 13) อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โปรตอนมีประจุไฟฟ้าบวก ธาตุชนิด เดยี วกนั มจี านวนโปรตอนเทา่ กนั และเป็นค่าเฉพาะของธาตุนั้น นิวตรอนเป็นกลางทางไฟฟ้า ส่วน อเิ ลก็ ตรอนมปี ระจุไฟฟ้าลบ เม่ืออะตอมมีจานวนโปรตอนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอน จะเป็นกลาง ทางไฟฟ้า โปรตอน และนิวตรอนรวมกันตรงกลางอะตอม เรียกว่า นิวเคลียส ส่วนอิเล็กตรอน เคลอ่ื นที่อยู่ในทว่ี ่างรอบนิวเคลยี ส 14) สารบริสุทธิ์ประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว ส่วนสารผสมประกอบด้วยสารต้ังแต่ 2 ชนิดข้ึนไป สารบรสิ ทุ ธแ์ิ ต่ละชนิดมสี มบัตบิ างประการท่เี ป็นคา่ เฉพาะตัว เช่น จุดเดือดและจุดหลอมเหลวคงท่ี แต่สารผสมมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไม่คงท่ี ขึ้นอยู่กับชนิดและสัดส่ว นของสารท่ีผสมอยู่ ด้วยกัน 15) สารบริสุทธ์แิ ต่ละชนิดมีความหนาแน่น หรือมวลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตรคงที่เป็นค่าเฉพาะของสาร นั้น ณ สถานะและอุณหภมู หิ นงึ่ แต่สารผสมมีความหนาแน่นไมค่ งทขี่ ึ้นอยู่กับชนิดและสัดส่วนของ สารทผี่ สมอยูด่ ้วยกัน 2.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถนิ่ (พิจารณาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา) 3. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด สารรอบตัวประกอบไปด้วยธาตุและสารประกอบ ซึ่งสารแต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพและสมบัติ ทางเคมี ทเ่ี หมือนและแตกตา่ งกัน โดยความรอ้ นเป็นปัจจัยหน่ึงท่ีทาให้สถานะ ซ่ึงเป็นสมบัติทางกายภาพ ของสารเปลยี่ นแปลงไป สารทีม่ ีองคป์ ระกอบเพยี งชนิดเดยี ว เรยี กวา่ สารบริสุทธิ์ ประกอบไปด้วยธาตุและ สารประกอบ ธาตแุ บง่ ออกเป็นธาตโุ ลหะ ธาตุกึ่งโลหะ และธาตุอโลหะ นอกจากน้ีธาตุบางชนิดสามารถแผ่ รงั สีได้ เรยี กว่า ธาตกุ มั มนั ตรงั สี เมอื่ ธาตมุ ากกวา่ หนงึ่ ชนดิ มารวมกันทางเคมีท่ีมีสมบัติแตกต่างไปธาตุเดิมที่ เปน็ องค์ประกอบเรียกวา่ สารประกอบ เม่ือสารมากกว่าหนงึ่ ชนดิ มาผสมกัน เรียกว่า สารผสม บางชนิดผสม กนั แลว้ มองเห็นเปน็ เน้อื เดยี วกัน เรียกว่า สารละลาย บางชนิดผสมแล้วมองไม่เห็นเป็นเนื้อเดียวกัน ได้แก่ สารแขวนลอย และคอลลอยด์ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 34 4. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวนิ ยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทักษะการสงั เกต 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน 2) ทักษะการจัดกลุ่ม 4. อยู่อย่างพอเพียง 3) ทักษะการเปรียบเทยี บ 4) ทักษะการจาแนกประเภท 5) ทักษะการสารวจ 6) ทักษะการเช่อื มโยง 7) ทกั ษะการระบุ 8) ทักษะการสารวจคน้ หา 9) ทกั ษะการสรปุ ยอ่ 10) ทักษะการนาความรู้ไปใช้ 11) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู 3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ผงั มโนทัศน์ เร่ือง สารบริสุทธแ์ิ ละสารผสม 6. การวัดและการประเมินผล รายการวัด วิธวี ดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 2 6.1 การประเมินชิน้ งาน/ - ประเมนิ ผังมโนทัศน์ เร่ือง - แบบประเมนิ ชนิ้ งาน ผ่านเกณฑ์ ภาระงาน (รวบยอด) สารบรสิ ุทธ์ิและสารผสม ประเมินตามสภาพจรงิ 6.2 การประเมินก่อนเรยี น - แบบทดสอบก่อนเรียน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 กอ่ นเรยี น - เฉลยใบงานที่ 1.1 เรอ่ื ง สารรอบตวั - เฉลยใบงานที่ 1.2 6.3 การประเมนิ ระหว่าง การจดั กิจกรรม 1) สารและการจาแนกสาร - ตรวจใบงานที่ 1.1 - ตรวจใบงานที่ 1.2 โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 35 รายการวัด วิธีวดั เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ม.1 เล่ม 1 2) การเปลยี่ นแปลง - ตรวจใบงานท่ี 1.3 - เฉลยใบงานท่ี 1.3 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ของสาร - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ม.1 เลม่ 1 3) สารบรสิ ทุ ธิ์ - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ม.1 เล่ม 1 4) ธาตุกัมมันตรังสี - ตรวจใบงานท่ี 1.4 - เฉลยใบงานที่ 1.4 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ม.1 เลม่ 1 5) สารประกอบ - ตรวจใบงานที่ 1.5 - เฉลยใบงานท่ี 1.5 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ม.1 เลม่ 1 6) สารผสม - ตรวจใบงานท่ี 1.6 - เฉลยใบงานท่ี 1.6 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ม.1 เลม่ 1 7) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมนิ การ ระดบั คุณภาพ 2 ผลงาน นาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ 8) การปฏิบัติการ - ประเมนิ การปฏบิ ัตกิ าร - แบบประเมินการ ระดบั คณุ ภาพ 2 ปฏบิ ตั ิการ ผา่ นเกณฑ์ 9) พฤติกรรมการทางาน - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 รายบคุ คล การทางานรายบคุ คล การทางานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ 10) พฤติกรรมการทางาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 รายกลมุ่ การทางานรายกลุม่ การทางานรายกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ 11) คณุ ลักษณะอันพึง - สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมินคุณลกั ษณะ ระดบั คุณภาพ 2 ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งม่นั อันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ ในการทางาน 6.4 การประเมินหลงั เรียน - แบบทดสอบหลงั เรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรยี น ประเมนิ ตามสภาพจริง หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 หลงั เรยี น เรื่อง สารรอบตัว โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 36 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ เวลา 4 ช่วั โมง เวลา 4 ชว่ั โมง นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง สารรอบตัว เวลา 5 ชว่ั โมง • แผนฯ ที่ 1 : สารและการจาแนกสาร เวลา 2 ชว่ั โมง เวลา 2 ชว่ั โมง วธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เวลา 4 ชว่ั โมง เวลา 5 ชว่ั โมง • แผนฯ ท่ี 2 : การเปลี่ยนแปลงของสาร วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 3 : สารบริสุทธิ์ วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 4 : ธาตกุ มั มนั ตรงั สี วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 5 : สารประกอบ วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ที่ 6 : สารผสม วธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) • แผนฯ ท่ี 7 : สมบตั ขิ องสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม วธิ สี อนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) 8. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 2) แบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 3) ภาพสารตัวอย่าง 4) อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการทดลอง 5) ใบงานที่ 1.1 เร่ือง การจาแนกสาร 6) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง สารรอบตัว 7) ใบงานท่ี 1.3 เร่ือง ความร้อนกบั การเปลยี่ นสถานะของสาร 8) ใบงานท่ี 1.4 เรื่อง ธาตกุ มั มันตรังสี 9) ใบงานที่ 1.5 เรอื่ ง สารประกอบ 10) ใบงานท่ี 1.6 เร่อื ง สารผสม 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) ห้องปฏบิ ัติการทดลอง 3) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 37 แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใด ไมใ่ ช่ สมบัตทิ างกายภาพของสาร 6. ข้อใด ไมใ่ ช่ ประโยชนข์ องธาตโุ ลหะ ก. ความแข็ง ก. นามาทาเป็นสายไฟ ข. ความหนาแน่น ข. นามาตีเป็นแผน่ ค. ความเปน็ กรด-เบส ค. นามาทาเครื่องประดับ ง. การนาไฟฟ้า ง. นามาทาเปน็ ดา้ มจบั หมอ้ หุงต้ม 2. จงเรยี งลาดบั แรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งอนุภาคของสาร 7. กมั มนั ตภาพรงั สชี นิดใดมีสมบตั ิเปน็ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า สถานะใดนอ้ ยท่สี ดุ ก. รงั สีแอลฟา ก. ของแข็ง ข. รังสแี กมมา ข. ของเหลว ค. รังสีบีตาบวก ค. ของไหล ง. รงั สบี ตี าลบ ง. แกส๊ 8. ขอ้ ใดกล่าวถงึ สารประกอบ ไดถ้ กู ต้อง 3. ขอ้ ใดเปน็ การใช้ประโยชนจ์ ากความรอ้ นแฝงของการ ก. เกดิ จากสารมากกวา่ หน่งึ ชนิดมารวมกัน กลายเปน็ ไอ ข. มสี มบตั ิเหมือนกบั ธาตุทม่ี าประกอบ ก. การตากผา้ ค. การทาไอศกรมี ค. เปน็ สารบริสุทธท์ิ ี่เกิดจากธาตมุ ากกวา่ หน่งึ ชนิด ข. การเกิดเมฆ ง. ฟิวส์ตัดวงจรไฟฟา้ ง. เปน็ สารผสมทเ่ี กดิ จากธาตมุ ากกว่าหนึ่งชนิด 4. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ สารบรสิ ุทธ์ิ 9. น้าเกลอื มสี ารใดเป็นตวั ทาละลาย ก. ดา่ งคลี ก. นา้ ข. ทองคาขาว ข. เกลือ ค. โซดาไฟ ค. น้าและเกลอื ง. ด่างทับทมิ ง. ไมส่ ามารถระบไุ ด้ เนือ่ งจากขอ้ มูลไม่เพียงพอ 5. ข้อใดเป็น ธาตุโลหะ ธาตุอโลหะ และธาตุกงึ่ โลหะ 10. ข้อใดเป็นวธิ ีจาแนกสารบรสิ ุทธ์อิ อกจากสารผสม ตามลาดับ ก. หาจุดเดือด-จุดหลอมเหลว ก. O P At ข. หาจุดควบแน่น ข. Cu Br Sb ค. หาจุดเยอื กแข็ง ค. Si Ge Sn ง. หาตัวทาละลาย ง. Hg As Pb เฉลย 1. ค 2. ง 3. ก 4. ข 5. ข 6. ง 7. ข 8. ค 9. ก 10. ก โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 38 แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 คาช้ีแจง : ให้นกั เรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดเปน็ สมบตั ทิ างกายภาพ และสมบตั ิทางเคมีของ 6. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ สมบตั ขิ องธาตุได้ถกู ตอ้ ง แท่งเหล็ก ตามลาดับ ก. ธาตุทแ่ี ผ่รงั สีได้ มักเป็นธาตุทีไ่ ม่เสถียร ก. เกิดสนิมเหล็ก เป็นของแข็ง ข. ธาตกุ ึ่งโลหะสว่ นมากมีสมบัติเป็นสาร ข. เกดิ สนมิ เหล็ก นาความร้อน กงึ่ ตวั นา ค. นาความร้อน เป็นของแขง็ ค. ธาตกุ ึ่งโลหะไมส่ ามารถแผร่ ังสีได้ ง. นาความรอ้ น เกิดสนิมเหลก็ ง. ธาตุอโลหะมกั มีจุดเดือดและจดุ 2. ข้อใดกลา่ วถึงสถานะของสารไมถ่ ูกตอ้ ง หลอมเหลวต่า ก. เกลือเป็นของแขง็ ทมี่ แี รงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนุภาคสงู 7. จงเรยี งลาดับอานาจทะลทุ ะลวงของ ข. ปรอทเปน็ ของแขง็ ท่มี อี นภุ าคอยใู่ กล้กัน กัมมันตภาพรังสจี ากนอ้ ยไปมาก ค. อนุภาคของแก๊สออกซิเจนเคล่อื นที่อิสระ ก. รงั สีแอลฟา > รงั สีบตี า > รงั สแี กมมา ง. นา้ มรี ูปรา่ งไมค่ งที่ แตม่ ปี รมิ าตรคงที่ ข. รังสแี กมมา > รงั สีบีตา > รังสแี อลฟา 3. จงเรยี งลาดับขนาดอนุภาคของสารจากเล็กไปใหญ่ ค. รังสแี อลฟา > รงั สีแกมมา > รงั สีบีตา ก. น้านม น้าเกลอื น้าโคลน ง. รังสแี กมมา > รงั สแี อลฟา > รังสบี ตี า ข. น้าโคลน นา้ นม น้าเกลือ 8. ข้อใดเป็นสูตรเคมีของด่างคลี ด่างทับทมิ และ ค. นา้ เกลือ น้านม นา้ โคลน โซดาไฟ ตามลาดบั ง. นา้ เกลือ น้าโคลน นา้ นม ก. KOH, NaOH, KMnO4 4. ขอ้ ใดมีอณุ หภมู ิท่สี ัมพนั ธ์กนั ข. KMnO4, NaOH, KOH ค. KMnO4, KOH, NaOH ก. จดุ เดือด - จุดหลอมเหลว ง. KOH, KMnO4, NaOH ข. จุดเดอื ด - จุดเยอื กแข็ง 9. สารละลายข้อใดมนี า้ เป็นตัวทาละลาย ค. จดุ ควบแนน่ - จดุ เดือด ง. จุดควบแนน่ - จดุ เยือกแข็ง ก. ทองคาขาว ค. กาแฟ 5. ข้อใดไม่จัดเป็นธาตกุ ่ึงโลหะ ข. แอลกอฮอล์ 70% ง. อากาศ ก. Si 10. สาร A มีจุดเดือดคงท่ีซง่ึ ต่ากว่าสาร B และสาร A ข. Pb มจี ุดหลอมเหลวสูงกวา่ สาร B สาร A และ B คือ ค. Sb ขอ้ ใด ง. Po ก. น้าเกลือ นา้ ข. น้า นา้ เกลือ ค. น้าเชอื่ ม นา้ ง. น้า นา้ ตาล เฉลย 1. ง 2. ข 3. ค 4. ค 5. ข 6. ค 7. ก 8. ง 9. ค 10. ข โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 39 9. ความเหน็ ของผู้บริหารสถานศกึ ษาหรอื ผูท้ ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ขอ้ เสนอแนะ ลงชอื่ ................................. ( ................................ ) ตาแหนง่ ....... 10. บนั ทกึ ผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น  ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์  ดา้ นความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรอื พฤตกิ รรมทมี่ ปี ญั หาของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล (ถ้ามี))  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่