Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

Published by Tanapat Issarangkul Na Ayutthaya, 2019-05-01 12:08:48

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรียนที่ 1/2562

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 190 แบบประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 1,4 แบบประเมินรายงาน คาช้แี จง : ใหผ้ สู้ อนประเมินชน้ิ งาน/ภาระงาน แลว้ ขดี ลงในชอ่ งทต่ี รงกับระดบั คะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 432 1 ความถกู ต้องของเนอ้ื หา 2 ความสมบูรณ์ของรปู เลม่ รวม 3 ความตรงตอ่ เวลา ลงช่อื ................................................... ผปู้ ระเมิน ................./................../.................. เกณฑ์การประเมนิ รายงาน ประเด็นที่ประเมนิ ระดบั คะแนน 1. ความถกู ตอ้ ง 432 1 ของเน้ือหา เนื้อหาสาระของ เน้อื หาสาระของ เน้ือหาสาระของ เน้อื หาสาระของ 2. ความสมบูรณ์ รายงานไมถ่ กู ตอ้ งเปน็ ของรูปเล่ม รายงานถูกต้องครบถว้ น รายงานถูกต้องเปน็ ส่วน รายงานถกู ตอ้ งบาง ส่วนใหญ่ องค์ประกอบไม่ 3. ความตรงตอ่ ใหญ่ ประเดน็ ครบถว้ น ไม่เปน็ เวลา ระเบียบ และรปู เลม่ ไม่ มีองคป์ ระกอบครบถ้วน มีองค์ประกอบครบถ้วน มอี งค์ประกอบครบถว้ น สวยงาม สง่ ชนิ้ งานชา้ กวา่ เวลาที่ สมบูรณ์ มีความเป็น สมบูรณ์ มคี วามเป็น สมบูรณ์ แต่ยังไมเ่ ป็น กาหนด 3 วนั ขึน้ ไป ระเบียบ และรปู เลม่ ระเบียบ แต่รูปเลม่ ไม่ ระเบียบ และรปู เลม่ ไม่ สวยงาม สวยงาม สวยงาม สง่ ช้นิ งานภายในเวลาที่ สง่ ช้นิ งานชา้ กว่าเวลาท่ี สง่ ชน้ิ งานชา้ กว่าเวลาท่ี กาหนด กาหนด 1 วัน กาหนด 2 วนั เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 11-12 ดมี าก 9-10 ดี 6-8 พอใช้ ตา่ กวา่ 6 ปรับปรงุ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 191 แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน คาชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนประเมนิ การนาเสนอใบงาน แล้วขีด ลงในช่องทต่ี รงกับระดบั คะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32  1 ความถกู ต้องของเนือ้ หา    2 ภาษาทใี่ ช้เข้าใจงา่ ย    3 ประโยชนท์ ไ่ี ด้จากการนาเสนอ  4 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน  5 ความสวยงามของใบงาน  รวม ลงชอ่ื ................................................... ผปู้ ระเมนิ .............../................/................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14-15 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรงุ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 192 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล คาช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ลงในช่องทีต่ รงกบั ระดับ คะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคดิ เหน็   2 การยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น   3 การทางานตามหนา้ ทีท่ ีไ่ ด้รับมอบหมาย   4 ความมนี ้าใจ   5 การตรงตอ่ เวลา   รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงช่อื ................................................... ผปู้ ระเมิน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ................/.............../................ ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยคร้งั ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรงุ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 193 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายกลมุ่ คาชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ตรงกบั ระดบั คะแนน ลาดับ ชอ่ื –สกุล การแสดง การยอมรบั ฟัง การทางาน ความมีน้าใจ การมี รวม ที่ ของนักเรยี น ความคดิ เหน็ คนอื่น ตามท่ไี ด้รับ ส่วนร่วมในการ 15 มอบหมาย คะแนน ปรับปรุง ผลงานกลุม่ 3213213213 21 3 21 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงชือ่ ................................................... ผูป้ ระเมนิ ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสมา่ เสมอ ................/.............../............... ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้ัง ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14-15 ดมี าก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตา่ กวา่ 8 ปรบั ปรุง โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 194 แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คาชแี้ จง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องท่ตี รงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อันพึงประสงคด์ ้าน 321 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาตไิ ด้ กษตั รยิ ์ 1.2 เข้ารว่ มกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามคั คี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาทตี่ นนับถือ ปฏบิ ัติตามหลกั ศาสนา 1.4 เข้ารว่ มกจิ กรรมที่เก่ยี วกบั สถาบันพระมหากษตั ริย์ตามทโ่ี รงเรยี นจดั ขนึ้ 2. ซื่อสตั ย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ ้อมลู ทถ่ี ูกตอ้ งและเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสงิ่ ที่ถกู ตอ้ ง 3. มวี นิ ัย รบั ผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ขอ้ บังคับของครอบครัว มีความตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชวี ิตประจาวนั 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รจู้ ักใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์และนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้ 4.2 รจู้ ักจดั สรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เชอ่ื ฟังคาส่ังสอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ตั้งใจเรยี น 5. อยู่อยา่ งพอเพียง 5.1 ใช้ทรพั ย์สนิ และส่งิ ของของโรงเรยี นอย่างประหยัด 5.2 ใชอ้ ุปกรณก์ ารเรยี นอยา่ งประหยัดและรู้คณุ ค่า 5.3 ใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยัดและมกี ารเก็บออมเงนิ 6. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 6.1 มคี วามตั้งใจและพยายามในการทางานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ ้อแท้ต่ออปุ สรรคเพือ่ ให้งานสาเร็จ 7. รกั ความเปน็ ไทย 7.1 มจี ติ สานึกในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รจู้ ักช่วยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน 8.2 รจู้ ักการดแู ลรักษาทรพั ยส์ มบตั ิและสิ่งแวดล้อมของหอ้ งเรยี นและโรงเรียน ลงช่อื ................................................... ผ้ปู ระเมนิ ................/.............../................ เกณฑ์การให้คะแนน พฤตกิ รรมทีป่ ฏบิ ัติชดั เจนและสมา่ เสมอ ให้ 3 คะแนน พฤตกิ รรมที่ปฏิบตั ิชัดเจนและบอ่ ยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั บิ างครัง้ ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14-15 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรบั ปรุง โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 195 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1/2562 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ (ว 21101) หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 การดารงชีวิตของพืช เรอื่ ง การสงั เคราะห์ด้วยแสง จานวนเวลาทส่ี อน 4 ชว่ั โมง ผูส้ อน นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา 1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเขา้ ใจท่คี งทน) กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (photosynthesis) เป็นกระบวนการผลิตอาหารของพืช โดยพืช จะใช้สารคลอโรฟลิ ล์ทอี่ ยใู่ นใบดดู กลืนพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์มาเปลี่ยนให้เป็นพลังงานเคมีในรูปของ สารอินทรีย์จาพวกน้าตาล โดยมีน้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นสารต้ัง และได้ผลิตภัณฑ์เป็นน้าตาล กลูโคส น้า และแก๊สออกซเิ จน ซง่ึ ส่ิงมชี ีวิตนาแก๊สออกซิเจนมาใช้ในกระบวนหายใจ 2. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้ีวัดช้นั ปี/ผลการเรียนร้/ู เปา้ หมายการเรยี นรู้ 2.1 ตัวชี้วัด ว 1.2 ม.1/6 ระบุปัจจัยท่ีจาเป็นในการสังเคราะห์ด้วยแสงและผลผลิตที่เกิดข้ึนจากการสังเคราะห์ด้วย แสง โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ม.1/7 อธบิ ายความสาคัญของการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื ตอ่ ส่งิ มชี วี ิตและสิ่งแวดล้อม ม.1/8 ตระหนกั ในคุณค่าของพืชที่มีต่อส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยการร่วมกันปลูก และ ดูแลรักษาตน้ ไมใ้ นโรงเรียนและชุมชนต้นไมใ้ นโรงเรียน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) ระบุปัจจัยทจ่ี าเปน็ ในการสงั เคราะห์ด้วยแสงและผลลิตท่ีเกิดขนึ้ จากการสงั เคราะหด์ ้วยแสง 2) อธิบายความสาคัญของการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพชื ต่อสง่ิ มีชีวิตและสิง่ แวดลอ้ มได้ 3.2 ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 3) สามารถออกแบบสภาวะแวดลอ้ มที่เหมาะสมต่อการปลกู ต้นไม้ได้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 4) ตระหนักในคุณค่าของพชื ท่ีมีตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และส่ิงแวดลอ้ ม 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนอ้ื หาสาระหลกั : Knowledge (ผูเ้ รยี นต้องร้อู ะไร) โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 196 - กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชท่ีเกดิ ขึ้นในคลอโรพลาสต์ จาเป็นตอ้ งใช้แสง คลอโรฟลิ ล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และนา้ ผลผลติ ทไี่ ดจ้ ากการสงั เคราะหด์ ้วยแสง ได้แก่ นา้ ตาล และ แก๊สออกซเิ จน - การสงั เคราะห์ด้วยแสงเป็นกระบวนการทสี่ าคัญตอ่ ส่งิ มชี วี ิต เพราะเปน็ กระบวนการเดียว ท่สี ามารถนาพลงั งานแสงมาเปลยี่ นเปน็ พลังงานในรปู สารประกอบอินทรีย์ และเก็บสะสมในรูปแบบต่าง ๆ ในโครงสร้างของพืช พชื จึงเปน็ แหลง่ อาหาร และพลังงานที่สาคญั ของสิ่งมีชวี ิตอนื่ นอกจากนี้กระบวนการ สังเคราะหด์ ้วยแสงยงั เป็นกระบวนการหลกั ในการสรา้ งแกส๊ ออกซเิ จนใหก้ ับบรรยากาศเพื่อให้สิง่ มชี ีวิตอ่ืน ใชใ้ นกระบวนการหายใจ 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู้ รียนสามารถปฏบิ ัตอิ ะไรได้) - ทักษะการสรา้ งคาอธบิ าย - ทักษะการสอ่ื ความหมาย - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะการสบื คน้ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4.3 คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude (ผู้เรียนควรแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นอะไรบา้ ง) - ซอื่ สตั ยส์ ุจริต - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - มงุ่ ม่นั ในการทางาน 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี นและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มวี นิ ยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทางาน 1) ทกั ษะการสงั เกต 2) ทกั ษะการระบุ 3) ทักษะการเปรียบเทียบ 4) ทกั ษะการสรุปย่อ 5) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู 6) ทักษะการให้เหตผุ ล 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 197 6. กิจกรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธสี อน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงที่ 1 ข้ันนา กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครแู จ้งผลการเรียนรู้ให้นกั เรยี นทราบ 2. ครูให้นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพ่อื วัดความรู้เดิมของนกั เรียนก่อนเขา้ ส่บู ทเรยี น 3. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนเก่ียวกับเรื่องที่จะเรียนวันนี้ โดยนาต้นไม้ขนาดเล็ก เช่น ต้นกระบองเพชรและขวดโหลท่ีมีปลากัดมาให้นักเรียนเปรียบเทียบความแตกต่างในการดารงชีวิต ระหว่างพืชกับสัตว์ แล้วถามคาถาม Big Question ว่า พืชดารงชีวิตอยู่ได้อย่างไร โดยไม่มีการ เคลอื่ นที่ แลว้ ให้นกั เรียนระดมความคดิ ในการตอบคาถาม (แนวคาตอบ พืชจะใช้ส่วนประกอบต่าง ๆ เช่น ใบ ทาหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสงเพ่ือผลิตอาหาร ให้กับพืช ราก ทาหน้าที่ดูดน้าและแร่ธาตุซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการผลิตอาหารของพืช และอาศัย เน้อื เยอ่ื ลาเลยี งที่อยภู่ ายในราก ลาตน้ และใบชว่ ยลาเลียงอาหารไปยังสว่ นต่างของพืช เพ่ือใช้ในการ เจริญเติบโต ดังน้ัน พืชจึงเป็นสิ่งมีชีวิตท่ีสามารถสร้างอาหารเองได้ ซ่ึงแตกต่างจากสิ่งมีชีวิตอ่ืนที่ จาเปน็ ต้องมีการเคลอ่ื นทีเ่ พ่ือหาอาหาร เป็นตน้ ) ข้นั สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครถู ามคาถาม prior knowledge ว่า พชื ใช้กระบวนการใดในการสร้างอาหาร (แนวคาตอบ กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง) 2. ครถู ามคาถามเพอื่ โยงเข้าสู่หัวข้อท่ีจะเรียน แล้วให้นักเรยี นระดมความคดิ ในการตอบคาถามดงั นี้ - อาหารของพชื คอื อะไร (แนวคาตอบ นา้ ตาล) - พืชหาอาหารได้อยา่ งไร (แนวคาตอบ พชื ใชร้ ากในการดูดซึมน้าและแร่ธาตุทอี่ ยใู่ นดนิ เพือ่ เปน็ สารตง้ั ตน้ ให้กบั กระบวนการ สงั เคราะห์ดว้ ยแสงทใี่ ชใ้ นการผลิตอาหารของพชื ) 2. ครูให้นักเรยี นจับกลมุ่ กลุม่ ละ 4-5 คน ศึกษา เรอื่ ง การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง จากหนังสอื เรียน วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าที่ 47 แลว้ ใหน้ ักเรียนทาใบงานท่ี 3.1 เรื่อง การสงั เคราะหด์ ้วยแสง ของพชื อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูใหน้ กั เรยี นส่งตัวแทนกลุ่ม 4-5 คน ออกมานาเสนอใบงานที่ 3.1 เรอ่ื ง การสังเคราะหด์ ้วยแสง ของพชื โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 198 ขน้ั สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครูมอบหมายใหน้ ักเรียนทาแบบฝกึ หัดในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ชั่วโมงที่ 2 ขน้ั นา สารวจค้นหา (Explore) 1. ครถู ามคาถามทบทวนความรู้ว่า พชื ใชส้ ่วนใดในการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง (แนวคาตอบ ใบ ลาตน้ และรากพชื ทม่ี ีสเี ขียว) 2. ครเู กริน่ นาว่าพืชส่วนใหญ่จะใชใ้ บในการสังเคราะห์แสง จากนน้ั ครูนาใบไมต้ ัวอยา่ งมาใหน้ กั เรยี น พิจารณาและอภปิ รายลกั ษณะของใบไม้ร่วมกนั 3. ครใู ห้นักเรยี นแบง่ กลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม โดยให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ศึกษาเซลลใ์ บไมใ้ นแตล่ ะช้นั และ มีความสัมพนั ธ์อยา่ งไรต่อกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง จากหนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ท่ี 48 - กลมุ่ ท่ี 1 ศกึ ษาเรื่อง เซลล์ของใบไมช้ ั้นท่ี 1 - กล่มุ ท่ี 2 ศกึ ษาเรอื่ ง เซลลข์ องใบไมช้ น้ั ท่ี 2 - กลุ่มที่ 3 ศกึ ษาเรื่อง เซลล์ของใบไม้ชนั้ ที่ 3 - กลมุ่ ท่ี 4 ศกึ ษาเรื่อง เซลล์ของใบไมช้ ัน้ ที่ 4 4. ครูใหน้ กั เรยี นจบั กล่มุ ใหม่ 4 คน โดยสมาชกิ ในกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกท่มี ากจากกลุ่มท่ี 1 2 3 และ 4 มาสรปุ และอภิปรายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเซลล์ของใบไม้ในแต่ละช้ันกับกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสงลงในกระดาษ A4 เรื่อง โครงสรา้ งและหน้าทีข่ องเซลล์ใบไม้ อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูใหน้ ักเรียนสง่ ตวั แทนกลมุ่ ออกมานาเสนอโครงสร้างและหน้าทีข่ องเซลล์ใบไม้ ขนั้ สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครูมอบหมายการบ้านใหน้ ักเรยี นทาแบบฝึกหดั ในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ชั่วโมงท่ี 3 ขน้ั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูถามคาถามเกริ่นนาก่อนเข้าสูบ่ ทเรยี นวา่ นกั เรียนคิดวา่ มีปจั จยั ใดบ้างที่สาคญั ต่อกระบวนการ สงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช (แนวคาตอบ แสง สารคลอโรฟิลล์ น้า และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด)์ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 199 2. ครูใหน้ กั เรยี นสบื ค้นข้อมูล หรือศึกษาปัจจยั ท่ีสาคัญตอ่ กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงในหนังสือ เรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ที่ 49 3. ครใู ห้นกั เรยี นจับกลมุ่ เดมิ ท่เี คยแบ่งจากชัว่ โมงที่แล้ว ศึกษาและทากจิ กรรมเรือ่ ง ปัจจัยบาง ประการท่จี าเป็นตอ่ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ตามหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนา้ ที่ 50 แล้วบนั ทกึ ผลลงในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครสู ุม่ ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลที่ไดจ้ ากการทากิจกรรม 2. ครแู ละนักเรียนร่วมกันอภปิ รายผลของท่เี กดิ ข้นึ จากกจิ กรรม เร่อื ง ปัจจัยบางประการท่จี าเปน็ ต่อ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง 3. ครใู หน้ ักเรยี นตอบคาถามท้ายกจิ กรรม และครเู ฉลยคาตอบ ดังน้ี - เพราะเหตใุ ดก่อนการทดลองต้องเก็บผกั บงุ้ ไว้ในหอ้ งมดื 1 คนื (แนวคาตอบ เพ่อื ไม่ให้ใบผกั บงุ้ สงั เคราะหแ์ สงไดน้ ้าตาลเปน็ ผลิตภณั ฑ์ ซ่ึงจะสะสมไวใ้ นรปู ของแปง้ สง่ ผลกระทบต่อการทดลอง) - เมื่อทดสอบดว้ ยสารละลายไอโอดีนกบั ใบผักบงุ้ ทั้ง 3 ใบ ใหผ้ ลต่างกันหรอื ไม่ อย่างไร (แนวคาตอบ ใหผ้ ลแตกต่างกัน ผักบงุ้ ใบท่ี 1 และ ใบที่ 2 จะเปล่ียนสารละลายไอโอดนี จากสี น้าตาลเปน็ สีน้าเงินเขม้ แตผ่ กั บงุ้ ใบที่ 3 จะไมเ่ ปลี่ยนแปลงสสี ารละลายไอโอดนี ) - หากทดสอบใบผักบุ้งดว้ ยสารละลายไอโอดีน แล้วสารละลายไอโอดีนเปล่ียนเป็นสีน้าเงนิ จะ สรุปผลกิจกรรมอย่างไร (แนวคาตอบ แป้งทาให้สารละลายไอโอดีนเปลยี่ นเป็นสีน้าเงิน แสดงให้เห็นว่าใบผักบุ้งที่ได้รับแสง จะเกดิ กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงไดน้ ้าตาลกลโู คสเป็นผลิตภณั ฑ์ ซ่ึงจะเก็บสะสมไว้ในรูปของ แป้ง) ขน้ั สรปุ ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาผลของอณุ หภมู ิต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ใน science focus จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าที่ 50 เพื่อขยายความเข้าใจของนักเรียนว่ามีหลาย ปัจจัยท่ีมคี วามเกยี่ วขอ้ งกับกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพชื 2. ครูมอบหมายการบา้ นให้นักเรียนทาแบบฝึกหดั ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3. ครูมอบหมายใหน้ กั เรยี นทารายงาน เร่อื ง ปัจจัยที่จาเป็นตอ่ กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง 4. ครใู ห้นกั เรียนทากจิ กรรมทา้ ทายความคิดขนั้ สูง เร่ือง การสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช ลงใน แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ชวั่ โมงท่ี 4 ข้ันสอน โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 200 สารวจค้นหา (Explore) 1. ครถู ามคาถามเกรน่ิ นาก่อนทากิจกรรม ดงั นี้ - ผลผลิตทเี่ กิดขน้ึ จากกระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื มีอะไรบา้ ง (แนวคาตอบ นา้ ตาลกลโู คส แก๊สออกซเิ จน นา้ ) - แกส๊ ออกซเิ จนมีความสาคัญอยา่ งไรตอ่ ส่งิ มีชีวิต (แนวคาตอบ สิง่ มชี ีวติ ส่วนใหญ่นาแก๊สออกซิเจนไปใช้ในกระบวนการหายใจ) 2. ครูให้นกั เรียนจบั กล่มุ กลุ่มละ 5-6 คน ศึกษาขน้ั ตอนการทากจิ กรรม เรือ่ ง ผลผลติ ที่เกดิ จาก กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงใหแ้ ต่ละกลุ่ม ในหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าท่ี 51 จากนัน้ ครอู ธบิ ายขน้ั ตอนการทากจิ กรรมอย่างละเอยี ด 3. ครูใหน้ กั เรียนแตล่ ะกล่มุ วางแผนกาหนดหนา้ ที่ของสมาชกิ ภายในกลมุ่ แลว้ ลงมือปฏิบัตกิ จิ กรรม เร่ือง ผลผลิตท่ีเกดิ จากกระบวนการสงั เคราะหด้วยแสง แลว้ บันทึกผลลงในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 4. ครใู หน้ ักเรยี นสบื ค้นประโยชนแ์ ละความสาคัญของตน้ ไม้จากสื่อมเี ดีย หรือศึกษาจากหนังสอื เรยี น วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าที่ 52 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูสุม่ ตวั แทนกลุ่มของแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอผลของกิจกรรม 2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภปิ รายผลของที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม เร่ือง ผลผลิตท่เี กิดจากกระบวน การสงั เคราะห์ด้วยแสง 3. ครูใหน้ กั เรยี นตอบคาถามท้ายกจิ กรรมลงในแบบฝึกหดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 จากนน้ั ครเู ฉลย คาตอบทา้ ยกิจกรรม ดงั น้ี - ผลการทดลองทั้งสองเหมอื นกันหรือแตกตา่ งกนั อย่างไร (แนวคาตอบ ต่างกัน อา่ งน้าทวี่ างไวก้ ลางแดด ระดับน้าในหลอดทดลองจะตา่ กว่าอ่างน้าทีว่ างไว้ ในห้องมดื ) - สาเหตทุ ท่ี าให้ระดบั น้าในหลอดทดลองลดลงคืออะไร เพราะเหตุใด (แนวคาตอบ แก๊สออกซเิ จน เนือ่ งจากแก๊สออกซเิ จนท่ีเกดิ จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง มาแทนที่น้า ทาให้ระดับน้าในหลอดทดลองต่าลง) - แกส๊ ทีไ่ ด้จากการทดลองคืออะไร มีวธิ ีทดสอบอย่างไร (แนวคาตอบ แก๊สออกซิเจน ตรวจสอบด้วยการนาก้านธูปท่ตี ิดไฟไปใกลก้ บั บรเิ วณท่ีเกดิ แก๊ส หาก เป็นแก๊สออกซิเจนบรเิ วณปลายธูปไฟจะลุกมากขึ้น เนือ่ งจากแกส๊ ออกซเิ จนมีสมบตั ิช่วยให้ไฟตดิ ) ข้นั สรุป ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครูให้นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญของต้นไม้ โดยให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม ทากิจกรรมที่ช่วยอนุรักษ์ต้นไม้ และตระหนักถึงความสาคัญของต้นไม้ เช่น ทาโปสเตอร์รณรงค์ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 201 การปลูกปา่ ทาใบความรู้ประโยชนท์ ีไ่ ดจ้ ากต้นไม้ ไปปลกู ปา่ หรอื ชว่ ยกันปลกู ต้นไม้ภายในโรงเรียน เปน็ ต้น และออกมานาเสนอแนวทางการอนรุ กั ษ์ตน้ ไมท้ ี่แต่ละกล่มุ ปฏบิ ัติ หน้าชน้ั เรยี น 2. ครูใหน้ ักเรียนทาแบบฝึกหดั ในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3. ครใู หน้ ักเรยี นทารายงาน เรื่อง ผลผลิตท่ีเกดิ จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2. ครตู รวจแบบฝกึ หัดในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3. ครูตรวจใบงานท่ี 3.1 เรือ่ ง การสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช 4. ครูตรวจกจิ กรรมทา้ ทายความคิดขั้นสูง H.O.T.S. เร่อื ง การสังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื ในแบบฝกึ หัด วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 5. ครูประเมินรายงาน เร่อื ง ปัจจัยทีจ่ าเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง โดยใชแ้ บบประเมิน ชิน้ งาน 6. ครปู ระเมินรายงาน เร่ือง ผลผลติ ท่ีเกดิ จากกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง โดยใช้แบบประเมิน ชิน้ งาน 7. ครปู ระเมนิ การทากิจกรรม ปจั จัยที่จาเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง โดยใช้แบบประเมิน การปฏบิ ตั กิ าร 8. ครปู ระเมินการทากจิ กรรม ผลผลิตทเ่ี กดิ จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใชแ้ บบประเมนิ การปฏบิ ัตกิ าร 9. ครปู ระเมนิ พฤติกรรมการทางานรายกลมุ่ จากการศึกษาและการทาใบงานที่ 3.1 เรอื่ ง การสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพชื 10. ครปู ระเมนิ การนาเสนอใบงาน โดยใชแ้ บบประการนาเสนอผลงาน 11. ครปู ระเมนิ การนาเสนอแนวทางการอนรุ ักษต์ น้ ไม้ โดยใชแ้ บบประเมนิ การนาเสนอผลงาน 7. การวัดและประเมนิ ผล รายการวดั วธิ ีการ เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมนิ 7.1 การประเมินกอ่ นเรียน - แบบทดสอบก่อน - ตรวจแบบทดสอบกอ่ น - แบบทดสอบก่อนเรียน ประเมนิ ตามสภาพ จริง เรยี น หน่วยการ เรยี น เรยี นรู้ท่ี 3 เรือ่ ง การดารงชีวติ ของพืช 7.2 ประเมนิ ระหว่างการ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 202 รายการวดั วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ 60 1) การสังเคราะหด์ ้วย - ตรวจใบงานท่ี 3.1 เร่อื ง - เฉลยใบงานท่ี 3.1 ผ่านเกณฑ์ แสงของพชื การสงั เคราะหด์ ้วยแสง เรื่อง การสังเคราะห์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ของพชื ดว้ ยแสงของพืช ระดับคณุ ภาพ 2 - ประเมนิ รายงาน เรื่อง - แบบประเมินช้นิ งาน ผา่ นเกณฑ์ ปัจจยั บางประการท่จี าเป็น รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตอ่ กระบวนการสงั เคราะห์ ดว้ ยแสง - ประเมินรายงาน เร่ือง - แบบประเมินชิ้นงาน ผลผลิตทีเ่ กิดจากกระบวน การสังเคราะหด์ ้วยแสง - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 2) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาเสนอใบ - แบบประเมินการ ระดบั คณุ ภาพ 2 งานที่ 3.1 นาเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์ - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมนิ การ ระดบั คุณภาพ 2 โครงสร้างและหนา้ ท่ขี อง นาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ เซลล์ใบไม้ - ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมินการ ระดบั คุณภาพ 2 แนวทางการอนุรักษต์ ้นไม้ นาเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 3) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 ทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลมุ่ การทางานรายกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ 4) การปฏบิ ัตกิ าร - ประเมินการปฏิบัติการ - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2 การปฏิบัตกิ าร ผา่ นเกณฑ์ 5) คุณลักษณะอนั พึง - สงั เกตความมีวนิ ยั - แบบประเมิน ระดับคุณภาพ 2 ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และม่งุ มน่ั คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์ ในการทางาน อันพึงประสงค์ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 203 8. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 2) แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3) ใบงานที่ 3.1 เร่ือง การสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) หอ้ งปฏิบตั กิ าร 9. การบรู ณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชีวภาพ หลักปรัชญา ครู ผเู้ รยี น ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดดี า้ นจิตใจ รูจ้ กั ใช้เทคโนโลยีมาผลติ สอื่ ท่ี มจี ิตสานึกที่ดี จิตสาธารณะร่วม 2. ความมีเหตผุ ล อนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ เหมาะสมและสอดคล้องเนอ้ื หาเป็น สง่ิ แวดล้อม 3. มีภมู ิคุมกนั ในตวั ทดี่ ี ประโยชนต์ อ่ ผู้เรยี นและพฒั นาจากภมู ิ 4. เงอ่ื นไขความรู้ ปัญญาของผู้เรยี น ไมห่ ยุดนง่ิ ท่หี าหนทางในชวี ติ หลุดพ้น - ยดึ ถือการประกอบอาชีพด้วยความ จากความทุกข์ยาก (การคน้ หาคาตอบ ถกู ต้อง สุจริต เพ่อื ใหห้ ลุดพน้ จากความไม่ร้)ู ภมู ิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ ภูมิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ รับผดิ ชอบ ระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ ระมดั ระวงั ความรอบรู้ เรอ่ื ง การสงั เคราะห์ ความรอบรู้ เร่ือง การสงั เคราะห์ ดว้ ยแสง สามารถนาความรเู้ หลา่ นั้น ดว้ ยแสง ทเี่ ก่ยี วขอ้ งรอบดา้ น นา มาพจิ ารณาใหเ้ กดิ ความเชือ่ มโยง ความรมู้ าเช่อื มโยงประกอบการ สามารถประยกุ ต์ วางแผน การดาเนนิ การจดั กจิ กรรม ใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ การเรยี นรู้ให้กบั ผเู้ รยี น 5. เงื่อนไขคุณธรรม มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มี มีความตระหนักใน คุณธรรม มคี วาม ความซอื่ สัตยส์ ุจริตและมคี วามอดทน ซอ่ื สตั ย์สจุ ริตและมีความอดทน มี มีความเพยี ร ใชส้ ติปญั ญาในการ ความเพยี ร ใช้สติปัญญาในการดาเนนิ ดาเนินชีวิต ชีวิต โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 204 สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผ้เู รียน ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทางชีวภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดทไ่ี ด้รับมอบหมาย) - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทาง ผู้เรยี น ชีวภาพในโรงเรียน (กาหนดจดุ ให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สืบค้นขอ้ มลู การอนุรกั ษ์ความ ผู้เรียนสารวจ) หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหัวขอ้ ที่ ได้มอบหมาย) ส่งิ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรกั ษค์ วามหลากหลาย - การอนุรกั ษ์ความหลากหลายทาง ทางชีวภาพ ชีวภาพ (กาหนดหัวข้อใหผ้ ู้เรยี น สบื คน้ ) โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 205 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรือผูท้ ่ไี ด้รับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บุญถงึ ) ………./……………./…………. 10.2 รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ านวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 206 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน  ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤติกรรมท่ีมีปญั หาของนกั เรียนเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตาแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 207 ใบงานท่ี 3.1 เร่ือง การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช คาช้แี จง : ให้นกั เรยี นเติมคาทก่ี าหนดมาใหล้ งในภาพใหส้ มบรู ณ์และเติมคาลงในช่องวา่ งให้ถกู ตอ้ ง กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง น้า แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แสง แกส๊ ออกซเิ จน น้าตาล เคมี ใบ สารประกอบอินทรีย์ ผูผ้ ลิต กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง คอื กระบวนการทีพ่ ืชเปล่ียนพลงั งาน________________ ให้ กลายเป็นพลงั งาน________________ในรูปของสารประกอบ__________________ โดยกระบวนการ สังเคราะหด์ ว้ ยแสงมักเกิดขน้ึ ที่บรเิ วณ________________ เน่ืองจากภายในมี สารประกอบ_______________อยู่ภายในคลอโรพลาสต์ กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงม_ี ______________ และ _________________ เปน็ สารต้ังต้น แล้ว ได้_______________ และ ________________ เป็นผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นสิ่งสาคญั ในการดารงชวี ิตของ ส่ิงมีชีวิตในระบบนเิ วศ จงึ กลา่ วไดว้ ่าพชื ทาหน้าทีเ่ ปน็ ________________ในระบบนเิ วศ โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 208 ใบงานท่ี 3.1 เฉลย เรื่อง การสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช คาชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นเติมคาทกี่ าหนดมาให้ลงในภาพใหส้ มบรู ณ์และเตมิ คาลงในช่องว่างให้ถกู ตอ้ ง กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง นา้ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ แสง แก๊สออกซเิ จน นา้ ตาล เคมี ใบ สารประกอบอินทรยี ์ ผูผ้ ลิต กระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง แสง แกส๊ ออกซิเจน แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ น้า กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง คอื กระบวนการทีพ่ ืชเปลีย่ นพลังงาน แสง ใหก้ ลายเป็น พลังงาน เคมี ในรูปของสารประกอบ อนิ ทรีย์ โดยกระบวนการ สงั เคราะห์ด้วยแสงมักเกดิ ข้นึ ทบี่ ริเวณ ใบ เนอ่ื งจากภายในมีสารประกอบ คลอโรฟลิ ล์ อยู่ภายในคลอโรพลาสต์ กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงมี น้า และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นสารตง้ั ตน้ แล้วได้ น้าตาล และ แก๊สออกซเิ จน เปน็ ผลิตภัณฑ์ ซึง่ เป็นสิ่งสาคัญในการดารงชีวติ ของสิง่ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ จึงกล่าวได้วา่ พืชทาหน้าท่เี ป็น ผู้ผลติ ในระบบนเิ วศ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 209 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1/2562 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวชิ า วิทยาศาสตร์ (ว 21101) หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 การดารงชวี ติ ของพชื เรือ่ ง การลาเลยี งสารในพชื จานวนเวลาทสี่ อน 5 ชัว่ โมง ผู้สอน นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา 1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด (ความเขา้ ใจที่คงทน) พืชมรี ะบบลาเลียงสาร โดยพืชจะอาศัยเน้ือเย่ือที่ทาหน้าที่เฉพาะในการลาเลียงสาร เรียกว่า เน้ือเยื่อลาเลียง เช่น ท่อไซเล็ม (xylem) ทาหน้าที่ลาเลียงน้าและแร่ธาตุจากรากไปสู่ใบ ส่วนท่อโฟลเอ็ม (pholem) ทาหน้าท่ี ลาเลียงอาหารจากใบไปยงั ส่วนต่างๆของพืช 2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ดั ชน้ั ปี/ผลการเรียนร/ู้ เป้าหมายการเรยี นรู้ 2.1 ตวั ช้ีวดั ว 1.2 ม.1/9 บรรยายลักษณะและหน้าทข่ี องไซเลม็ และโฟลเอม็ ม.1/10 เขยี นแผนภาพทบี่ รรยายทศิ ทางการลาเลยี งสารในไซเลม็ และโฟลเอ็มของพืช 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) บรรยายลักษณะและหนา้ ท่ีของไซเลม็ และโฟลเอ็มได้ 2) บรรยายทิศทางการลาเลยี งสารในไซเลม็ และโฟลเอม็ ของพชื เปน็ แผนภาพได้ 3.2 ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (Skill/Process) 3) เปรียบเทยี บโครงสร้างระบบทอ่ ลาเลยี งในพชื ใบเล้ียงเด่ียวและพชื ใบเลยี้ งคไู่ ด้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 4) รับผิดชอบต่อหน้าท่ี และงานทีไ่ ด้รับมอบหมายได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เน้ือหาสาระหลัก : Knowledge (ผูเ้ รยี นต้องรอู้ ะไร) - พืชมีไซเล็มและโฟลเอ็ม ซงึ่ เป็นเนื้อเยอ่ื มีลกั ษณะคล้ายท่อเรยี งตัวกนั เปน็ กลุ่มเฉพาะที่ โดยไซเล็ม ทาหนา้ ทีล่ าเลยี งน้าและธาตอุ าหาร มีทิศทางลาเลยี งจากรากไปสู่ลาต้น ใบ และส่วนตา่ ง ๆ ของ พชื เพอ่ื ใช้ในการสังเคราะห์ดว้ ยแสง รวมถึงกระบวนการอ่ืน ๆ ส่วนโฟลเอ็มทาหนา้ ท่ลี าเลยี งอาหารท่ีได้ จากการสงั เคราะห์ด้วยแสง มที ศิ ทางลาเลียงจากบริเวณทมี่ กี ารสังเคราะห์ด้วยแสงไปสสู่ ว่ นต่าง ๆ ของพืช โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 210 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผูเ้ รยี นสามารถปฏบิ ตั ิอะไรได้) - ทักษะการสร้างคาอธบิ าย - ทักษะการสือ่ ความหมาย - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการสบื ค้นโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 4.3 คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude (ผเู้ รยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรยี นอะไรบ้าง) - ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ - มวี นิ ัย - ใฝเ่ รียนรู้ - มุ่งม่ันในการทางาน 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี นและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี นิ ัย 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน 1) ทักษะการสงั เกต 4. อยู่อย่างพอเพียง 2) ทักษะการระบุ 3) ทกั ษะการเปรยี บเทยี บ 4) ทักษะการสรปุ ย่อ 5) ทักษะการจาแนกประเภท 6) ทกั ษะการเรียงลาดับ 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ 6. กจิ กรรมการเรียนรู้  แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ช่วั โมงที่ 1 ขั้นนา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูแจง้ ผลการเรียนรู้ให้นักเรยี นทราบ 2. ครถู ามคาถาม prior knowledge กระตนุ้ ความสนใจของนกั เรียน วา่ พืชจะนาน้าและแร่ธาตุท่อี ยู่ ภายในดินไปใชไ้ ด้อย่างไร โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 211 (แนวตอบ พชื จะใช้รากดูดน้าท่ีอยูภ่ ายในดนิ โดยน้าท่อี ย่ภู ายในดินจะออสโมซสิ เข้าสรู่ าก ส่วนแร่ ธาตุท่ีอยใู่ นดนิ จะละลายนา้ อยูใ่ นรปู สารละลาย โดยพืชจะลา้ เลยี งสารละลายที่มแี รธ่ าตุด้วยการ ล้าเลยี งแบบใชพ้ ลงั งาน เรยี กว่า แอคทีฟทรานสปอร์ต) 3. ครกู ระตนุ้ ความสนใจของนกั เรยี น โดยการนาผักกาดมาแช่น้าสีผสมอาหาร 7 สี (สีรุ้ง) เปน็ เวลา 2 ชัว่ โมง กอ่ นนามาใหน้ ักเรียนสังเกตทศิ ทางการลาเลยี งนา้ แลว้ ถามคาถาม ดงั น้ี - พชื ใช้ส่วนใดทาหนา้ ท่ีดูดนา้ (แนวตอบ ราก) - ทิศทางการลาเลยี งนา้ เปน็ อยา่ งไร (แนวตอบ จากพชื จะลา้ เลียงน้าจากรากไปส่ใู บ) ขั้นสอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูถามคาถามทบทวนความร้เู ดมิ ของนักเรยี น ดังนี้ - กระบวนการออสโมซสิ คอื อะไร (แนวคา้ ตอบ กระบวนการออสโมซสิ คอื กระบวนการแพร่ของโมเลกลุ นา้ จากบริเวณทีม่ ีน้ามาก หรอื บรเิ วณทีม่ ีความเขม้ ขน้ ตา่้ ไปสบู่ ริเวณท่มี ีน้านอ้ ย หรอื บรเิ วณทีม่ ีความเข้มขน้ สูง) - กระบวนการแพรแ่ บบแอคทฟี ทรานสปอร์ต คอื อะไร (แนวค้าตอบ การแพรอ่ นุภาคของสารจากบรเิ วณทมี่ คี วามเข้มขน้ น้อยไปสบู่ ริเวณท่ีมีความเขม้ ขน้ มาก โดยใชพ้ ลงั งาน) 2. ครแู จกใบงานที่ 3.2 เรื่อง การลาเลียงนา้ และแรธ่ าตขุ องพืช 3. ครูอธบิ ายขนั้ ตอนการทาใบงานท่ี 3.2 เรือ่ ง การลาเลียงนา้ และแร่ธาตขุ องพชื อย่างละเอียด 4. ครใู หน้ กั เรียนศึกษาโครงสร้างของท่อลาเลยี งน้าและแรธ่ าตุจากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าท่ี 53 แลว้ ลงมือทาใบงานท่ี 3.2 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครใู ห้นักเรยี น 3-4 คน ออกมานาเสนอผลจากการทากิจกรรมจากใบงานที่ 3.2 เร่อื ง การลาเลียงน้า และแร่ธาตขุ องพชื 2. ครูอธบิ ายเสริมและเพิม่ เติมขอ้ มูลเกี่ยวกบั ผลของแรงดึงจากการคายนา้ ต่อการลาเลยี งสารของพืช ในหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนา้ ท่ี 53 3. ครใู ห้นักเรยี นจับคู่แลกเปลี่ยนขอ้ สรุป เรือ่ ง ผลของแรงดงึ จากการคายนา้ ตอ่ การลาเลยี งสาร ขัน้ สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครใู ห้นกั เรียนทาแบบฝกึ หัดในแบบฝกึ วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 2. ครขู ยายความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การคายน้าของพชื โดยให้นักเรียนศึกษา ประเภทของการคายน้า จาก กรอบ science focus ในหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าที่ 53 โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 212 ชว่ั โมงที่ 2 ขั้นสอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูถามคาถามทบทวนความรูเ้ ดิมของนักเรยี นว่า การคายนา้ ของพชื เกิดขนึ้ ทีใ่ ด และสว่ นใดของพืช (แนวคา้ ตอบ การคายน้าของพชื เกดิ ข้ึนที่บรเิ วณปากใบ สว่ นใหญ่มักพบบรเิ วณใต้ท้องใบ โดย การคายน้าเปน็ การระเหยของน้าทอ่ี ยใู่ นเซลลพ์ ืชออกสู่ช้ันบรรยากาศภายนอก) 2. ครเู กร่นิ นาวา่ อตั ราการคายน้าของพชื จะสูงหรือตา่ ขึ้นอยู่กบั ปัจจยั หลายๆด้าน จากนั้นครใู ห้นักเรียน ศกึ ษาปัจจยั ท่มี ีผลต่อการคายน้าจากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนา้ ท่ี 53 3. ครูให้นกั เรยี นศกึ ษาข้นั ตอนการทากจิ กรรม เร่อื ง การลาเลียงนา้ ของพชื ตามหนงั สือเรยี น วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าที่ 54 4. ครูให้นักเรยี นจับกลุ่ม 5-6 คน ทากจิ กรรม เรอ่ื ง การลาเลียงน้าของพชื แล้วบันทึกผลกิจกรรมลงใน แบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสมุ่ ตวั แทนกลุม่ ออกมานาเสนอผลท่ีไดจ้ ากกิจกรรม เรื่อง การลาเลยี งน้าของพืช 2. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายผลของที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม เรื่อง การลาเลียงนา้ ของพชื 3. ครูให้นักเรียนตอบคาถามท้ายกิจกรรม ลงในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 จากน้ันครูเฉลย คาตอบท้ายกิจกรรม ดังน้ี - ต้นกระสังมที ศิ ทางในการลาเลยี งนา้ อยา่ งไร (แนวค้าตอบ น้าจะเคลื่อนที่จากรากไปยังสว่ นตา่ งๆ ของตน้ กระสงั ) - การตดิ สขี องลาตน้ ที่ผ่าแนวตามยาวและผ่าแนวตามขวางแตกตา่ งกนั อย่างไร (แนวคา้ ตอบ ล้าตน้ ท่ีผ่าแนวตามยาว บริเวณที่ติดสีจะมีลักษณะเป็นเส้น แตล่ ้าต้นทผ่ี ่าตามขวางจะมี ลกั ษณะเป็นจดุ สี พบเซลลน์ ้ที ่ีบริเวณผวิ ใบด้านล่าง) ช่วั โมงที่ 3 ขน้ั สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษาข้นั ตอนการทากจิ กรรม เรอ่ื ง เซลล์คุม ตามหนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนา้ ท่ี 55 2. ครูให้นักเรียนจับกลุ่ม 5-6 คน ทากิจกรรม เร่ือง เซลล์คุม แล้วบันทึกผลกิจกรรมลงในแบบฝึกหัด วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครสู ุ่มตวั แทนกลมุ่ ออกมานาเสนอผลทไี่ ด้จากกิจกรรม เร่ือง เซลลค์ ุม 2. ครูและนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายผลของที่เกดิ ขึ้นจากกจิ กรรม เร่อื ง เซลลค์ มุ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 213 3. ครใู ห้นักเรียนตอบคาถามท้ายกิจกรรม จากนนั้ ครูเฉลยคาตอบทา้ ยกจิ กรรม ดงั นี้ - ลกั ษณะของผวิ ใบไม้ดา้ นบน และดา้ นล่างแตกต่างกันอยา่ งไร (แนวค้าตอบ แปง้ ทา้ ให้สารละลายไอโอดีนเปลีย่ นเป็นสนี ้าเงนิ แสดงให้เห็นวา่ ใบผักบงุ้ ที่ได้รับแสงจะ เกดิ กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงไดน้ ้าตาลกลโู คสเปน็ ผลิตภัณฑ์ ซงึ่ จะเกบ็ สะสมไว้ในรปู ของแป้ง) - จากการศกึ ษาเนอ้ื เยื่อผิวใบด้วยกล้องจุลทรรศน์ นกั เรยี นพบเซลลใ์ ดท่มี ีลักษณะแตกต่างไปจาก เซลลอ์ ืน่ บ้างหรอื ไม่ แลว้ เซลลช์ นิดน้คี อื อะไร พบมากที่บริเวณใด (แนวค้าตอบ พบเซลล์รปู ร่างคล้ายเมล็ดถั่วประกบกันเป็นคู่ เรยี กวา่ เซลล์คมุ สว่ นใหญพ่ บเซลลน์ ี้ที่ บรเิ วณผวิ ใบดา้ นลา่ ง) ช่ัวโมงท่ี 4 ขั้นสอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนจับคศู่ ึกษา เร่อื ง การลาเลียงอาหาร จากหนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าท่ี 56 โดยใหค้ นหน่งึ ศึกษาลักษณะของเนอ้ื เยอ่ื ลาเลยี งทที่ าหน้าท่ลี าเลยี งอาหาร อีกคนหน่งึ ศึกษา เร่ือง ทศิ ทางการลาเลยี งอาหาร จากนน้ั ใหต้ า่ งฝ่ายต่างอธิบายเรอ่ื งท่ีตนเองไดศ้ ึกษา เพอื่ แลกเปลี่ยน ข้อมลู กับค่ขู องตนเอง 2. ครูอธิบาย เรื่อง อาหารสะสมในสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื จากกรอบ Science focus ในหนังสือเรียน วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ที่ 56 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครสู ุม่ ตัวแทนนกั เรียนให้ออกมาเขยี นแผนผงั การลาเลียงน้าและอาหาร หน้าช้นั เรยี น จากน้นั ให้ ตัวแทนเลอื กเพ่อื นในช้ันเรียน 1 คน ออกมาอธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการลาเลยี งนา้ และอาหาร 2. ครูสมุ่ นกั เรียนออกมา 3-5 คู่ ออกมาสรุป เรอ่ื ง การลาเลยี งอาหาร หน้าชน้ั เรยี น โดยให้นาเสนอ ความเกยี่ วข้องของลกั ษณะของเน้อื เยือ่ ลาเลียงกบั หน้าที่ จากนั้นครูช่วยเสรมิ ความรใู้ ห้กับนกั เรียน ข้ันสรุป ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครใู หน้ ักเรยี นทาแบบฝึกหัดในแบบฝึกหดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ชั่วโมงที่ 5 ขนั้ สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครนู าใบไมต้ วั อย่างของพืชใบเลยี้ งเด่ียว เช่น หญา้ ไผ่ เป็นตน้ และพชื ใบเลย้ี งคู่ เชน่ ต้นมะมว่ ง ถัว่ เป็นตน้ มาให้นักเรยี นดูความแตกต่างระหวา่ งพชื ใบเลยี้ งเดย่ี วกบั พืชใบเลยี้ งคู่ 2. ครูใหน้ ักเรยี นศึกษา science focus เร่อื ง โครงสรา้ งของระบบท่อลาเลยี งในพชื ใบเล้ยี งเดยี ว และ พืชใบเลย้ี งคู่ ในหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ท่ี 57 โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 214 ขั้นสรปุ ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครใู หน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ หัดในแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 2. ครูนาภาพสไลดต์ วั อยา่ งโครงสรา้ งของระบบทอ่ ลาเลียงในรากและลาตน้ ของ ต้นไผ่ และตน้ ถ่ัวมาให้ นกั เรยี นส่องดดู ว้ ยกล้องจลุ ทรรศน์ เพื่อให้นกั เรียนไดเ้ ห็นความแตกตา่ งอย่างชัดเจนของระบบท่อ ลาเลยี งในลาต้นและรากของพชื ใบเล้ยี งเด่ียวและพืชใบเลีย้ งคู่ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจใบงานท่ี 3.2 เรอื่ ง การลาเลยี งนา้ และแร่ธาตุของพชื 2. ครตู รวจแบบฝึกหดั ในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3. ครูประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติการจากการทากิจกรรม เร่ือง การลาเลียงน้าของพืช โดยใช้แบบ ประเมนิ การปฏบิ ตั ิการ 4. ครูประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติการจากการทากิจกรรม เรื่อง เซลล์คุม โดยใช้แบบประเมินการ ปฏิบตั กิ าร 5. ครปู ระเมินพฤตกิ รรมการทางานรายกลุม่ จากการทากจิ กรรม 6. ครปู ระเมินพฤติกรรมการทางานรายบุคคลจากการศึกษาและสืบคน้ การลาเลียงสารของพชื 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวัด วธิ กี าร เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมนิ 7.2 ประเมนิ ระหว่างการจัด - ตรวจใบงานที่ 3.2 - เฉลยใบงานท่ี 3.2 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ กิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง การลาเลยี งน้า 1) การลาเลียงสารในพชื และแร่ธาตุของพชื เรือ่ ง การลาเลยี งนา้ 2) การนาเสนอผลงาน - ตรวจแบบฝกึ หัด และแรธ่ าตุของพืช 3) พฤตกิ รรมการทางาน - ประเมินการนาเสนอ - แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ รายบคุ คล ใบงานที่ 3.2 - สังเกตพฤตกิ รรม ม.1 เล่ม 1 4) พฤติกรรมการทางาน การทางานรายบคุ คล กลุม่ - สังเกตพฤติกรรม - แบบประเมินการ ระดบั คณุ ภาพ 2 การทางานกลุ่ม 5) การปฏบิ ัตกิ าร - ประเมนิ นาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 การทางานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 การทางานกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์ - แบบประเมิน ระดบั คณุ ภาพ 2 โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 215 รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ 6) คุณลักษณะอันพึง การปฏบิ ัตกิ าร การปฏบิ ตั ิการ ผ่านเกณฑ์ ประสงค์ - สังเกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 2 ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งม่นั คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์ ในการทางาน อนั พงึ ประสงค์ 8. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 2) แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 3) ใบงานท่ี 3.2 เรอื่ ง การลาเลยี งนา้ และแร่ธาตุของพชื 8.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรยี น 2) ห้องปฏบิ ัติการ 9. การบูรณาการตามจดุ เน้นของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชีวภาพ หลักปรัชญา ครู ผู้เรียน ของเศรษฐกจิ พอเพียง 1. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดีดา้ นจิตใจ ร้จู กั ใชเ้ ทคโนโลยีมาผลติ ส่อื ที่ มจี ติ สานกึ ท่ีดี จติ สาธารณะร่วม 2. ความมเี หตผุ ล อนุรกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ เหมาะสมและสอดคล้องเนอ้ื หาเปน็ สง่ิ แวดลอ้ ม 3. มภี ูมิคมุ กนั ในตวั ทด่ี ี ประโยชนต์ อ่ ผูเ้ รียนและพฒั นาจากภูมิ ปญั ญาของผ้เู รยี น ไม่หยุดนิ่งทห่ี าหนทางในชีวิต หลุดพ้น - ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ดว้ ยความ จากความทกุ ขย์ าก (การค้นหาคาตอบ ถูกต้อง สุจริต เพ่ือให้หลุดพ้นจากความไม่ร้)ู ภมู ปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ รับผดิ ชอบ ระมัดระวัง สรา้ งสรรค์ ระมดั ระวงั โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 216 หลกั ปรชั ญา ครู ผูเ้ รียน ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เง่ือนไขความรู้ ความรอบรู้ เรือ่ ง การลาเลียงสาร ความรอบรู้ เรอื่ ง การลาเลียงสาร ในพชื ทเี่ กย่ี วขอ้ งรอบด้าน นา ในพืช สามารถนาความรูเ้ หล่าน้นั มา ความรมู้ าเชื่อมโยงประกอบการ พจิ ารณาให้เกิดความเชอ่ื มโยง วางแผน การดาเนนิ การจดั กิจกรรม สามารถประยุกต์ การเรียนรใู้ หก้ ับผูเ้ รียน ใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ 5. เง่ือนไขคุณธรรม มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ ความซอื่ สัตยส์ ุจริตและมีความอดทน ซอื่ สัตยส์ จุ รติ และมีความอดทน มี มคี วามเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการ ความเพียร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนิน ดาเนินชวี ิต ชีวิต สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผเู้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดทีไ่ ด้รับมอบหมาย) - ความหลากหลายทางชวี ภาพ - สารวจความหลากหลายทาง ผู้เรยี น ชวี ภาพในโรงเรียน (กาหนดจดุ ให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สบื คน้ ข้อมูลการอนรุ ักษค์ วาม ผ้เู รียนสารวจ) หลากหลายทางชวี ภาพ (ตามหวั ข้อที่ ไดม้ อบหมาย) สง่ิ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรกั ษ์ความหลากหลาย - การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทาง ทางชีวภาพ ชีวภาพ (กาหนดหวั ขอ้ ใหผ้ เู้ รียน สบื ค้น) โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 217 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรือผูท้ ่ไี ด้รับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ านวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 218 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน  ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤติกรรมท่ีมีปญั หาของนกั เรียนเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตาแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 219 ใบงานท่ี 3.2 เร่ือง การลาเลียงนา้ และแร่ธาตุของพืช ตอนท่ี 1 คาชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นวาดภาพและบรรยายทอ่ ลาเลยี งไซเล็ม ท่อไซเล็ม (xylem) เป็นท่อลาเลียงน้า ท่ีมี ลักษณะกลวงยาว ประกอบไปด้วยกลุ่มเซลล์ท่ีไม่มี ชีวิตเช่น เวสเซล เทรคีด เป็นต้น บริเวณผนังเซลล์ จะมีชอ่ งว่าง เรียกว่า พธิ สง่ ผลให้เกิดการลาเลียงน้า ไ ป ยั ง เ ซ ล ล์ ที่ อ ยู่ ข้ า ง เ คี ยงเรียกว่า พิธ ส่งผลเรียกว่า พิธ ส่งผลเรียกว่า พิธ ตอนท่ี 2 ส่งผลได้ คาช้แี จง : ให้นักเรยี นพิจารณาภาพท่ีกาหนดให้ แลว้ ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. นักเรียนคดิ วา่ น้าเข้าสู่ลาต้นผ่านทางขนรากไดอ้ ยา่ งไร 2. พชื จะนาแร่ธาตุทอ่ี ย่ภู ายในดนิ ไปใชไ้ ด้อยา่ งไร 3. จากรูป กระบวนการคายนา้ มีความเก่ียวข้องอย่างไรกับกระบวนการลาเลยี งสาร โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 220 ใบงานที่ 3.2 เฉลย เร่อื ง การลาเลียงน้าและแร่ธาตุของพชื ตอนท่ี 1 คาชีแ้ จง : ให้นกั เรียนวาดภาพและบรรยายท่อลาเลยี งไซเลม็ ท่อไซเล็ม (xylem) เป็นท่อล้าเลียงน้า ท่ีมี ลกั ษณะกลวงยาว ประกอบไปดว้ ยกลุ่มเซลล์ท่ีไมม่ ีชีวิต เช่น เวสเซล เทรคีด เป็นต้น บริเวณผนังเซลล์จะมี ช่องวา่ ง เรียกว่า พิธ ส่งผลให้เกิดการล้าเลียงน้าไปยัง เซลล์ทอี่ ยู่ขา้ งเคยี งได้ ตอนที่ 2 คาช้แี จง : ให้นักเรียนพิจารณาภาพท่ีกาหนดให้ แลว้ ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. นกั เรยี นคิดว่านา้ เข้าสู่ลาต้นผ่านทางขนรากได้อยา่ งไร น้าจะออสโมซิสเข้าสู่เซลล์ขนราก 2. พชื จะนาแรธ่ าตทุ ่อี ยู่ภายในดินไปใช้ไดอ้ ย่างไร พืชจะน้าแร่ธาตุท่ีอยู่ภายในดินไปใช้ในรูปของสารละลาย โดยจะแพรเ่ ข้าสูเ่ ซลลข์ นรากด้วยกระบวนการ แอคทฟี ทรานสปอรต์ 3. จากรูป กระบวนการคายนา้ มีความเก่ยี วข้องอย่างไรกับกระบวนการลาเลียงสาร กระบวนการคายนา้ ท้าใหเ้ กดิ แรงดึงจากการคายน้า ส่งผลใหน้ ้าออสโมซิสเขา้ สูเ่ ซลล์ขนรากมากข้ึน โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 221 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1/2562 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ (ว 21101) หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 การดารงชวี ติ ของพืช เร่ือง การเจรญิ เตบิ โตของพืช จานวนเวลาท่ีสอน 3 ชวั่ โมง ผสู้ อน นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา 1. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด (ความเขา้ ใจท่ีคงทน) พชื สามารถผลิตอาหารไดจ้ ากกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง เพื่อเป็นแหลง่ พลังงานให้กับพืช เพ่ือใช้ ในการเจริญเติบโต เช่น การเพิ่มจานวนเซลล์ การขยายขนาดของเซลล์ และการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของ เซลล์ไปทาหน้าท่ีเฉพาะตา่ ง ๆ พืชใบเล้ียงเดี่ยว และพืชใบเลย้ี งคู่ มีลกั ษณะท่ีแตกต่างกัน เน่ืองจากข้ันตอน การเจริญเติบโตของรากและลาต้นในพืชทัง้ สองชนดิ แตกตา่ งกนั นอกจากนี้พืชต้องการธาตุอาหารท่ีจาเป็น หลายชนดิ สาหรับการเจรญิ เตบิ โตและการดารงชีวิตของพชื 2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั ชัน้ ปี/ผลการเรียนร/ู้ เป้าหมายการเรยี นรู้ 2.1 ตวั ชี้วัด ว 1.2 ม.1/14 อธิบายความสาคัญของธาตุอาหารบางชนิดที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการ ดารงชวี ิตของพืช ม.1/15 เลือกใช้ปยุ๋ ทีม่ ีธาตุอาหารเหมาะสมกับพชื ในสถานการณ์ท่กี าหนด 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายความสาคญั ของธาตุอาหารบางชนิดที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการดารงชีวติ ของพืชได้ 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) เลอื กใชป้ ุย๋ ทมี่ ธี าตอุ าหารเหมาะสมกับพชื ได้ 3.3 ดา้ นเจตคติ (Attitude) 3) รบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ทแ่ี ละงานที่ได้รับมอบหมาย 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge (ผ้เู รยี นต้องรอู้ ะไร) - พืชต้องการธาตุอาหารท่ีจาเปน็ หลายชนิดในการเจรญิ เติบโตและการดารงชวี ติ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 222 - พชื ตอ้ งการธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมาก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซียม แคลเซยี ม แมกนเี ซียม และกามะถนั ซึง่ ในดินอาจมีไม่เพยี งพอสาหรบั การเจรญิ เตบิ โตของพืช จึงต้องมีการ ใหธ้ าตุอาหารในรูปของปุ๋ยกับพชื อย่างเหมาะสม 4.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผูเ้ รยี นสามารถปฏบิ ัติอะไรได)้ - ทกั ษะการสร้างคาอธบิ าย - ทักษะการสอื่ ความหมาย - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ - ทักษะการสบื คน้ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4.3 คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ : Attitude (ผูเ้ รียนควรแสดงพฤตกิ รรมการเรียนอะไรบ้าง) - ซอื่ สัตยส์ จุ รติ - มวี ินยั - ใฝเ่ รียนรู้ - มุ่งมน่ั ในการทางาน 5. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียนและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มีวนิ ยั 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน 1) ทักษะการสังเกต 4. อยู่อย่างพอเพียง 2) ทกั ษะการระบุ 3) ทกั ษะการเปรียบเทียบ 4) ทักษะการสรปุ ย่อ 5) ทกั ษะการจาแนกประเภท 6) ทกั ษะการเรียงลาดับ 7) ทักษะการเชอ่ื มโยง 8) ทักษะการนาไปใช้ 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 223 6. กจิ กรรมการเรียนรู้  แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธสี อน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงที่ 1 ข้นั นา กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูแจ้งผลการเรียนร้ใู ห้นกั เรียนทราบ 2. ครูถามคาถาม prior knowledge กระตุ้นความคิดของนักเรียนว่า สิ่งใดบ้างท่ีบ่งบอกว่าพืชมีการ เจริญเติบโต (แนวคาตอบ การงอกเมล็ด การขยายขนาดของลาต้น การแตกใบและผลัดใบ เปน็ ต้น) สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครใู หน้ กั เรียนแบง่ กลมุ่ ออกเป็น 4 กลมุ่ จากน้นั ครู ครูแจกเมลด็ ถ่วั เขยี วให้กบั นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ พร้อมกับแจกใบงานท่ี 3.3 เร่ือง การเจริญเติบโตของพชื ใหก้ ับนกั เรยี น 2. ครใู ห้ตัวแทนกลมุ่ สืบคน้ ศกึ ษาวธิ กี ารเพาะเมล็ดถ่วั เขียวจากส่ืออนิ เตอรเ์ นต็ 3. ครูแจกอปุ กรณ์การเพาะเมล็ดถ่วั เขยี ว ดังน้ี - ขวดพลาสติก - กระดาษทิชชู 4. ครใู หน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มปลกู ต้นถั่วเขยี ว และศกึ ษาการเจริญเตบิ โตของพชื ในหนงั สอื เรยี น วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าที่ 58 แลว้ ใหน้ กั เรียนทาใบงานท่ี 3.3 เรื่อง การเจรญิ เติบโตของพืช ในตอนที่ 1 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอผลการเพาะเมล็ดถ่วั เขยี ว 2. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายผลเก่ยี วกับความสัมพันธ์ของกระบวนการเจริญเตบิ โตของพืชกบั การ เจรญิ เติบโตของต้นถวั่ เขียว ชว่ั โมงที่ 2 ขน้ั สอน สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูถามคาถามเกรนิ่ นาวา่ จากการทนี่ ักเรยี นเพาะเมลด็ ถว่ั เขยี ว นักเรยี นคดิ วา่ ปัจจัยใดบา้ งทีม่ ีผลตอ่ การเจริญเติบโตของพชื (แนวคาตอบ น้า แสง ดนิ แร่ธาตุ อุณหภูมิ เปน็ ต้น) 2. ครูแจกกระดาษใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเหน็ ว่า นา้ และแสงมผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของพชื อย่างไร จากน้นั ใหน้ ักเรียนแลกกระดาษคาตอบกับเพอ่ื น แล้วตรวจคาตอบของเพื่อนจากการอภิปราย รว่ มกนั ระหว่างครกู บั นกั เรียน โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 224 (แนวคาตอบ นา้ ชว่ ยใหแ้ ร่ธาตุที่อยใู่ นดนิ ละลายน้าอยู่ในรปู ของสารละลาย ทาใหพ้ ชื ดดู ซมึ นาไปใช้ ประโยชนไ์ ด้ และแสงเป็นปจั จัยสาคญั ท่ีพืชใช้สังเคราะหแ์ สง เพือ่ ผลิตอาหารไวใ้ ช้สาหรบั การ เจริญเตบิ โต ยกเว้นในกรณกี ารงอกของเมล็ด) 3. ครูนาภาพต้นไมช้ นิดเดียวกัน แตเ่ จริญเตบิ โตในภูมภิ าคทต่ี ่างกัน แล้วตั้งคาถามจากภาพ ดังน้ี - จากภาพต้นไม้ 2 ตน้ มีความแตกต่างกันหรือไม่ (แนวคาตอบ แตกตา่ ง) - นักเรียนคดิ วา่ ปจั จยั ใดทท่ี าให้ต้นไม้ชนิดเดยี วกัน มีลักษณะการเจรญิ ที่แตกตา่ งกนั (แนวคาตอบ สภาพแวดลอ้ ม สภาพอากาศ และความอดุ มสมบูรณข์ องแร่ธาตุในดนิ ) - หากนักเรยี นต้องการแกป้ ญั หาต้นไม้ในรปู ท่ขี าดแร่ธาตุในดนิ นักเรียนจะแกป้ ัญหาอยา่ งไร (แนวคาตอบ ใชป้ ุ๋ยเพิ่มแรธ่ าตอุ าหารให้กับต้นไม้) 4. ครใู ห้นักเรียนศึกษาประเภทของป๋ยุ และข้อดี-ขอ้ เสยี ของปยุ๋ แตล่ ะประเภทจากหนงั สอื เรยี น วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หน้าที่ 59 5. ครูต้ังคาถามให้นักเรยี นแสดงความคิดเหน็ วา่ นกั เรยี นเหน็ ด้วยหรือไมว่ ่าป๋ยุ เปรียบเสมือนกับ ผลิตภัณฑ์อาหารเสรมิ อย่างไร (แนวคาตอบ ปุย๋ เปรยี บเสมอื นกบั อาหารเสริมที่รา่ งกายตอ้ งการในเวลาท่ธี าตุอาหารไมเ่ พยี งพอต่อ การเจรญิ เติบโต โดยปยุ๋ จะอุดมไปดว้ ยแรธ่ าตุอาหารต่าง ๆ ทพ่ี ืชตอ้ งการ) 6. ครูให้นกั เรยี นทาใบงานท่ี 3.3 เรอื่ ง การเจริญเติบโตของพชื ในตอนท่ี 2 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มนักเรียนออกมานาเสนอใบงานที่ 3.3 เรอ่ื ง การเจริญเติบโตของพชื ตอนที่ 2 2. ครอู ธบิ ายความรู้เพ่ิมเตมิ ใหก้ ับนกั เรียน ช่ัวโมงที่ 3 ข้ันสอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครนู าภาพ PPT เก่ยี วกบั พืชทม่ี ีลกั ษณะผดิ ปกตมิ าใหน้ ักเรียนศึกษา จากนน้ั ใหน้ ักเรียนรว่ มกันสบื ค้น วา่ ต้นไม้ในภาพขาดธาตอุ าหารชนดิ ใด 2. ครูให้นกั เรียนศึกษาเก่ยี วกับ เร่อื ง ธาตอุ าหารที่พืชตอ้ งการใชใ้ นการเจริญเติบโตในหนังสอื เรียน วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 หนา้ ท่ี 60 3. ครูให้นกั เรียนแบง่ กล่มุ ออกเปน็ 4 กลุ่ม เพื่อออกแบบการทดลองเกี่ยวกับเรอ่ื ง ธาตุอาหารท่จี าเปน็ ต่อการเจรญิ เติบโตของพืช โดยให้นักเรยี นออกแบบว่าต้องการทดลองเก่ียวกบั ธาตุชนิดใด วตั ถปุ ระสงคข์ องการทดลอง อปุ กรณ์การทดลอง วิธที ดลอง ตารางบันทึกผล และผลทีไ่ ดจ้ ากการ ทดลอง ลงในกระดาษ A4 โดยทาเปน็ รูปแบบดงั ตัวอยา่ ง ดังนี้ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 225 ตวั อย่างเช่น ช่ือการทดลอง ธาตไุ นโตรเจนมีความสาคัญตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช วตั ถปุ ระสงค์ของการทดลอง 1. เพือ่ ให้รู้ว่าธาตไุ นโตรเจนเป็นธาตุอาหารหลกั ของพชื 2. เพอื่ ให้รลู้ กั ษณะของพชื ที่ขาดธาตุไนโตรเจน 3. เพอื่ ศึกษา คน้ ควา้ และแก้ปัญหาจากการทางาน มีบทบาทและ ส่วนรว่ มในการเรียนรู้ วธิ กี ารทดลอง นาพืชที่มีลกั ษณะดีมา 3 ตน้ จากนนั้ ใหป้ ุ๋ยทมี่ ีธาตอุ าหารครบ ปุย๋ ทข่ี าดธาตุ ไนโตรเจน และแมกนีเซียมตามลาดับ จากนน้ั สังเกตลกั ษณะของต้นไม้ทั้ง 3 เป็น เวลา 1 เดอื น ตารางบนั ทกึ ผล วันที่ ลกั ษณะทีสกั เกตได้จากต้นไม้ ต้นที่ 3 ต้นที่ 1 ตน้ ท่ี 2 อภปิ รายผลการทดลอง …………………………….. 4. ครูใหน้ ักเรยี นแบง่ กลุม่ ออกเป็น 3 กลุม่ ทากิจกรรม เรอื่ ง การเลือกใช้ปุย๋ ใหเ้ หมาะสมกับพืช ใน หนังสือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าท่ี 61 อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครสู มุ่ เลขทข่ี องนกั เรยี นในหอ้ งเพ่ือตอบคาถาม ดังนี้ - ธาตุอาหารท่ีพืชต้องการมีกีป่ ระเภท (แนวตอบ 2 ประเภท คอื ธาตุอาหารหลัก และธาตุอาหารรอง) - ธาตุอาหารหลักแตกตา่ งกับธาตุอาหารรองอย่างไร (แนวตอบ ธาตุอาหารหลัก คือ ธาตอุ าหารท่ีพชื ต้องการในปริมาณมาก แตธ่ าตุอาหารรอง คอื ธาตอุ าหารทพี่ ืชต้องการในปรมิ าณทีน่ ้อยกว่า) - ธาตอุ าหารหลกั ประกอบไดแ้ ก่อะไรบา้ ง (แนวตอบ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซยี ม) - ธาตุอาหารรองได้แก่อะไรบ้าง (แนวตอบ แคลเซยี ม แมกนีเซียม กามะถนั และธาตุอน่ื เปน็ ตน้ ) 2. ครใู ห้นักเรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการออกแบบการปฏบิ ัตกิ ารเกีย่ วกับ ธาตุอาหารที่จาเป็น ตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื โดยนาเสนอธาตุท่ีตอ้ งการศกึ ษา วตั ถปุ ระสงค์ วิธกี ารทดลอง ตาราง โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 226 บนั ทึกผล และผลทไี่ ด้จากการทดลอง จากนัน้ ครูพจิ ารณาการออกแบบและเสนอแนวทาง นอกเหนือจากที่นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอ 3. ครูสุ่มนักเรยี นออกมานาเสนอผลจากการทากิจกรรม เรอ่ื ง การเลอื กใชป้ ุย๋ ใหเ้ หมาะสมกับพชื ท่ี นักเรียนจบั ฉลากได้ 4. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายผลกจิ กรรม เรื่อง การเลอื กใชป้ ุ๋ยให้เหมาะสมกบั พชื 5. ครอู ธบิ ายความรเู้ พมิ่ เติมข้อมูลที่นกั เรียนออกมานาเสนอ ขั้นสรุป ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครูให้นักเรียนทาป้ายนิเทศ เร่ือง สถานที่ที่เหมาะสมต่อการปลูกพริก โดยให้นักเรียนออกแบบ สถานที่ และเสนอวิธีการเลือกใช้ปุ๋ยในการปลูกต้นพริกให้ได้ผลผลิตจานวนมาก พร้อมนาเสนอใน รูปแบบปา้ ยนเิ ทศที่สวยงาม 2. ครใู หน้ ักเรียนทาแบบฝกึ หดั ในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจใบงานท่ี 3.3 เรอ่ื ง การเจริญเติบโตของพืช 2. ครูประเมนิ การนาเสนอใบงานท่ี 3.3 เรอื่ ง การเจริญเติบโตของพืช โดยใช้แบบประเมินการนาเสนอ ผลงาน 3. ครูตรวจแบบฝึกหัดในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 4. ครูประเมินปา้ ยนิเทศ เรื่อง สถานท่ที ี่เหมาะสมต่อการปลกู ต้นพรกิ โดยใชแ้ บบประเมนิ ช้นิ งาน 5. ครูประเมินพฤติกรรมการทางานรายบุคคลจากการทาป้ายนิเทศ เรื่อง สถานท่ีที่เหมาะสมต่อการ ปลกู พรกิ 6. ครูประเมินการออกแบบการปฏิบัติการจากการทากิจกรรม เร่ือง ธาตุอาหารที่จาเป็นต่อการ เจริญเติบโตของพขื โดยใช้แบบประเมนิ ประเมนิ การออกแบบการปฏบิ ัตกิ าร 7. ครูประเมินการทากิจกรรม เร่ือง การเลือกใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมต่อกับพืช โดยใช้แบบประเมินการ ปฏิบตั ิการ 8. ครูประเมนิ พฤตกิ รรมการทางานรายกลุ่มจากการทากิจกรรม เร่ือง การเลือกใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมต่อ กบั พืช 7. การวดั และประเมินผล รายการวดั วธิ กี าร เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมนิ 7.2 ประเมินระหวา่ งการ - เฉลยใบงานท่ี 3.3 เรื่อง ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1) การเจรญิ เตบิ โตของ - ตรวจใบงานที่ 3.3 โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 227 รายการวัด วิธกี าร เครื่องมอื เกณฑ์การประเมนิ พชื เรอ่ื ง การเจรญิ เตบิ โต การเจริญเติบโตของพืช ของพชื - ประเมินปา้ ยนเิ ทศ เรอื่ ง - แบบประเมินชิน้ งาน ระดับคุณภาพ 2 สถานท่ที ี่เหมาะสมต่อ ผ่านเกณฑ์ การปลกู พรกิ - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ม.1 เล่ม 1 2) การนาเสนอผลงาน - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมนิ การ ระดับคณุ ภาพ 2 ใบงานท่ี 3.3 นาเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการทางาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 รายบุคคล การทางานรายบคุ คล การทางานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ 4) พฤติกรรมการทางาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 รายกลมุ่ การทางานรายกลุ่ม การทางานรายกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ 5) การออกแบบการ - ประเมินการออกแบบ - แบบประเมนิ การ ระดับคณุ ภาพ 2 ปฏบิ ัติการ การปฏบิ ัติการ ออกแบบการปฏบิ ตั กิ าร ผ่านเกณฑ์ 6) การปฏบิ ตั กิ าร - ประเมินการปฏิบัตกิ าร - แบบประเมนิ การ ระดบั คุณภาพ 2 ปฏิบัติการ ผา่ นเกณฑ์ 7) คุณลักษณะอนั พึง - สงั เกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ 2 ประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มนั่ อันพงึ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ ในการทางาน 8. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 2) แบบฝึกหัดวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 3) ใบงานท่ี 3.3 เรือ่ ง การเจรญิ เติบโตของพชื 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องเรียน 2) ห้องปฏิบัตกิ าร โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 228 9. การบรู ณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลักปรชั ญา ครู ผ้เู รียน ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ รูจ้ กั ใชเ้ ทคโนโลยมี าผลติ ส่ือที่ มีจติ สานกึ ท่ีดี จิตสาธารณะรว่ ม 2. ความมเี หตุผล อนรุ ักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและ เหมาะสมและสอดคล้องเนื้อหาเปน็ สิง่ แวดลอ้ ม ประโยชนต์ ่อผู้เรยี นและพฒั นาจากภมู ิ ปญั ญาของผ้เู รียน ไม่หยดุ นิ่งทีห่ าหนทางในชีวติ หลุดพน้ - ยึดถือการประกอบอาชีพดว้ ยความ จากความทกุ ขย์ าก (การค้นหาคาตอบ ถูกต้อง สจุ ริต เพ่อื ให้หลดุ พน้ จากความไมร่ ้)ู ภมู ปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ 3. มีภูมคิ ุมกนั ในตัวท่ีดี ภูมิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ รบั ผิดชอบ ระมัดระวงั สร้างสรรค์ ระมดั ระวงั ความรอบรู้ เรอื่ ง การเจรญิ เตบิ โต ของพชื สามารถนาความร้เู หล่าน้ันมา 4. เงอ่ื นไขความรู้ ความรอบรู้ เรอ่ื ง การเจริญเติบโต พิจารณาให้เกิดความเชื่อมโยง สามารถประยกุ ต์ ของพชื ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน นา ใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มีความ ความรมู้ าเช่ือมโยงประกอบการ ซื่อสัตย์สุจริตและมคี วามอดทน มี ความเพยี ร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนนิ วางแผน การดาเนนิ การจัดกจิ กรรม ชีวติ การเรยี นรู้ให้กับผ้เู รียน ผเู้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ 5. เงื่อนไขคุณธรรม มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี - สารวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรยี น (ตามจุดที่ไดร้ ับมอบหมาย) ความซอื่ สัตย์สุจรติ และมคี วามอดทน ผู้เรยี น มคี วามเพียร ใชส้ ติปัญญาในการ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สบื ค้นข้อมูลการอนรุ ักษ์ความ ดาเนนิ ชีวิต หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหวั ข้อที่ ได้มอบหมาย) สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทาง ชีวภาพในโรงเรยี น (กาหนดจุดให้ ผู้เรียนสารวจ) ส่งิ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลาย - การอนุรักษ์ความหลากหลายทาง ทางชวี ภาพ ชวี ภาพ (กาหนดหัวขอ้ ให้ผเู้ รียน สืบค้น) โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 229 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรอื ผ้ทู ีไ่ ด้รบั มอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นางสาวณฐั ธนัญา บุญถึง) ………./……………./…………. 10.2 รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………. (นายวเิ ศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ านวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………. (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 230 11. บันทึกผลหลงั การสอน  ดา้ นความรู้  ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน  ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์  ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์  ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรอื พฤติกรรมท่ีมีปญั หาของนกั เรียนเป็นรายบุคคล (ถ้าม)ี )  ปัญหา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ลงชื่อ.........................................................ผู้สอน (นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา) ตาแหน่ง ครูผู้ชว่ ย โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 231 ใบงานท่ี 3.3 เร่อื ง การเจรญิ เติบโตของพชื ตอนที่ 1 คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นบนั ทกึ ผลการเจริญเตบิ โตของต้นถัว่ เขยี วภายใน 1 สัปดาห์ ระยะเวลา (วัน) ความสงู ของต้น (cm) จานวนใบ 0 2 4 7 ผลกจิ กรรมมคี วามเกย่ี วข้องอย่างไรกบั กระบวนการเจริญเตบิ โตของพชื ________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________ ________________________________________ ตอนที่ 2 คาชแ้ี จง : จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. ปัจจัยใดมผี ลต่อการงอกของเมลด็ ถวั่ เขียว ________________________________________________________________________ 2. น้ามีความสาคญั ตอ่ การเจรญิ ของต้นถ่วั เขียวอย่างไร ________________________________________________________________________ 3. เม่อื นาตน้ ถั่วเขียวไปเพาะลงดิน นักเรยี นคิดวา่ ในดินมธี าตอุ าหารทเ่ี หมาะสมเพียงพอตอ่ การเจรญิ เติบโต ของต้นถ่ัวเขียวหรอื ไม่ อย่างไร ________________________________________________________________________ 4. หากดินทีน่ กั เรยี นนามาใชป้ ลูกต้นถัว่ เขยี วไมร่ ่วนซยุ ไมอ่ ุม้ นา้ นกั เรยี นจะเลอื กใชป้ ุ๋ยประเภทใด ________________________________________________________________________ 5. หากนักเรียนต้องการใหต้ ้นถว่ั เขยี วได้รับธาตอุ าหารในทันที นกั เรยี นจะเลือกใช้ปุ๋ยประเภทใด ________________________________________________________________________ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 232 ใบงานที่ 3.3 เฉลย เรอ่ื ง การเจริญเติบโตของพชื ตอนท่ี 1 คาช้ีแจง : ให้นักเรียนบนั ทกึ ผลการเจรญิ เติบโตของต้นถั่วเขยี วภายใน 1 สปั ดาห์ ระยะเวลา (วนั ) ความสงู ของต้น (cm) จานวนใบ 0 2 4 7 อภปิ รายผลกิจกรรม การเจรญิ ของตน้ ถั่วเขียวเกย่ี วขอ้ งกบั กระบวนการเจรญิ เติบโตตัง้ แตไ่ ซโกตท่อี ย่ภู ายในเมลด็ เรมิ่ มกี ารแบง่ เซลลเ์ พอื่ เพิ่มจานวนเซลล์ ขยายขนาด จนกระทัง่ เอม็ บรโิ อทอี่ ยูภ่ ายในเมล็ด งอกออกมาเป็นตน้ อ่อนซง่ึ เซลลท์ ี่ อยภู่ ายในต้นออ่ นจะยงั คงแบ่งเซลล์ ขยายขนาด และมีการเปลยี่ นแปลงรปู รา่ งของเซลลไ์ ปทาหนา้ ทเ่ี ฉพาะ เชน่ เนอ้ื เยื่อลาเลยี ง เซลลค์ ุมทีอ่ ยู่บรเิ วณใบ เปน็ ตน้ ตอนที่ 2 คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรยี นนาตน้ ออ่ นของถัว่ เขียวไปเพาะลงในดนิ เปน็ เวลา 2 สปั ดาห์ แลว้ ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงบอกปัจจยั ทม่ี ีผลต่อการเจรญิ ของต้นถ่วั เขยี วมาอย่างนอ้ ย 2 ชนิด นา้ แสง ธาตอุ าหารท่ีอยู่ในดิน เปน็ ตน้ 2. นา้ มคี วามสาคัญต่อการเจริญของตน้ ถ่วั เขยี วอยา่ งไร นา้ ช่วยละลายแรธ่ าตุทอี่ ยูใ่ นดนิ ใหอ้ ยู่ในรูปของสารละลาย ซงึ่ พชื สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ 3. เมอ่ื นาต้นถวั่ เขยี วไปเพาะลงดิน นักเรียนคิดว่าในดนิ มีธาตุอาหารท่เี หมาะสมเพียงพอต่อการเจรญิ เติบโต ของตน้ ถวั่ เขียวหรอื ไม่ และมีวธิ ีแก้ไขอย่างไร แล้วแตส่ ภาพดนิ ในแตล่ ะบริเวณว่ามีความอุดมสมบูรณ์มากนอ้ ยเพียงใด หากดินมีแรธ่ าตุไมเ่ พยี งพอต่อการ เจรญิ ของต้นถวั่ เขียว ต้นถ่วั เขียวจะมลี ักษณะไมส่ มบรู ณ์ เชน่ ใบแคระ มีสเี หลอื ง ลาตน้ แกรน็ เปน็ ต้น ซึง่ เราสามารถแก้ปัญหาดว้ ยการเตมิ ปุย๋ ให้ดนิ มีธาตุอาหารที่เพียงพอต่อการเจริญเตบิ โต 4. หากดนิ ทน่ี กั เรียนนามาใช้ปลกู ตน้ ถัว่ เขยี วไม่รว่ นซยุ ไม่อ้มุ นา้ นกั เรียนจะเลือกใช้ปุย๋ ประเภทใด ปุ๋ยคอก 5. หากนกั เรียนต้องการให้ตน้ ถั่วเขยี วได้รบั ธาตุอาหารในทันที นักเรยี นจะเลือกใช้ปยุ๋ ประเภทใด ป๋ยุ เคมี หรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์ โดย นายธนพัฒน์ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 233 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1/2562 กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ (ว 21101) หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 การดารงชวี ิตของพชื จานวนเวลาทส่ี อน 2 ชว่ั โมง เรือ่ ง การสืบพนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศัยเพศของพืช ผู้สอน นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา 1. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด (ความเข้าใจท่คี งทน) การสบื พนั ธ์ุแบบไม่อาศัยเพศ เป็นการขยายพันธุ์ของพืชที่ไม่ได้มาจากการปฏิสนธิระหว่างสเปิร์มกับ เซลล์ไข่ ทาใหพ้ ชื ตน้ ใหมม่ ลี กั ษณะคล้ายกบั ตน้ เดมิ ทกุ ประการ โดยมนุษย์อาศัยหลักการนี้มาขยายพันธ์ุพืช เพอ่ื ใหพ้ ชื มลี ักษณะตามที่ต้องการโดยการนาสว่ นต่าง ๆ ของพืช เช่น ราก ลาต้น และใบ เป็นต้น มาทาให้ เกิดเป็นต้นใหม่ ได้แก่ การปักชา การติดตา การตอนกิ่ง การทาบก่ิง เป็นต้น เพ่ือเพ่ิมมูลค่าให้กับต้นพืช หรอื ปรับปรุงพนั ธใุ์ ห้ดขี นึ้ นอกจากน้ีพืชสามารถใชโ้ ครงสร้างพเิ ศษจากราก ลาตน้ และใบ ขยายพันธ์ุได้ 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั ชนั้ ป/ี ผลการเรยี นร/ู้ เปา้ หมายการเรยี นรู้ 2.1 ตัวชี้วดั ว 1.2 ม.1/11 อธิบายการสืบพันธแุ์ บบอาศัยเพศและไมอ่ าศยั เพศของพชื ดอก ม.1/16 เลือกวิธกี ารขยายพันธพ์ุ ชื ใหเ้ หมาะสมกบั ความต้องการของมนุษย์ โดยใช้ความรู้ เกย่ี วกับการสืบพนั ธุข์ องพชื ม.1/18 ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องการขยายพันธพ์ุ ืช โดยการนาความร้ไู ปใช้ในชวี ิตประจาวนั 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1) อธบิ ายการสืบพนั ธ์แุ บบไม่อาศยั เพศของพชื ดอกได้ 3.2 ด้านทักษะและกระบวนการ (Skill/Process) 2) เลอื กวธิ กี ารขยายพนั ธ์พุ ชื ใหเ้ หมาะสมกบั ความต้องการของมนษุ ย์ได้ 3.3 ด้านเจตคติ (Attitude) 3) ตระหนักถึงประโยชน์ของการขยายพันธพ์ุ ชื ได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เน้อื หาสาระหลกั : Knowledge (ผู้เรยี นตอ้ งรอู้ ะไร) โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 234 - การสืบพนั ธ์ุแบบไม่อาศัยเพศ เปน็ การสืบพนั ธ์ทุ ่พี ืช ต้นใหม่ไมไ่ ดเ้ กิดจากการปฏิสนธิ ระหวา่ งสเปิร์มกับเซลลไ์ ข่ แต่เกิดจากสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื เชน่ ราก ลาตน้ ใบ มีการเจรญิ เติบโตและ พัฒนาขน้ึ มาเปน็ ต้นใหม่ได้ - มนษุ ยส์ ามารถนาความร้เู ร่อื งการสบื พนั ธ์ุ แบบอาศัยเพศและไมอ่ าศัยเพศ มาใช้ในการ ขยายพนั ธเุ์ พ่อื เพมิ่ จานวนพชื เชน่ การใชเ้ มล็ดทีไ่ ด้จากการสืบพันธ์แุ บบอาศยั เพศมาเพาะเลี้ยง วิธีการน้จี ะ ได้พืชในปรมิ าณมาก แตอ่ าจมีลักษณะท่แี ตกตา่ งไปจากพ่อแม่ สว่ นการตอนกง่ิ การปกั ชา การตอ่ ก่ิง การ ตดิ ตา การทาบก่งิ การเพาะเลยี้ งเนอื้ เย่ือ เปน็ การนาความรู้เรอ่ื ง การสบื พนั ธแุ์ บบไม่อาศัยเพศของพืชมา ใชใ้ นการขยายพนั ธุ์ เพื่อให้ได้พชื ทม่ี ีลักษณะเหมอื นตน้ เดิม ซึ่งการขยายพนั ธแุ์ ตล่ ะวธิ ี มีขัน้ ตอนแตกต่างกัน จงึ ควรเลือกใหเ้ หมาะสมกับความต้องการของมนษุ ย์ โดยต้องคานงึ ถึงชนดิ ของพืชและลกั ษณะการสบื พันธ์ุ ของพืช 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process (ผูเ้ รยี นสามารถปฏิบัติอะไรได้) - ทกั ษะการสรา้ งคาอธบิ าย - ทักษะการสื่อความหมาย - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการสืบคน้ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4.3 คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude (ผ้เู รยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรยี นอะไรบ้าง) - ซอ่ื สตั ย์สจุ รติ - มวี นิ ัย - ใฝเ่ รียนรู้ - มงุ่ มน่ั ในการทางาน 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียนและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มวี นิ ยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ม่งุ มนั่ ในการทางาน 1) ทักษะการสงั เกต 4. อยู่อย่างพอพเพียง 2) ทกั ษะการระบุ 3) ทักษะการเปรยี บเทียบ 4) ทกั ษะการสรปุ ยอ่ 5) ทักษะการจาแนกประเภท โดย นายธนพฒั น์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 235 สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 6) ทกั ษะการสารวจ 7) ทักษะการสารวจคน้ หา 8) ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้ 9) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู 3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้  แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ ีสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชวั่ โมงที่ 1 ข้ันนา กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูแจ้งผลการเรยี นรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครถู ามคาถามprior knowledge กระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นคิดวา่ สว่ นใดของพชื ทีม่ นุษยน์ ามาใช้ขยายพนั ธุ์ (แนวคำตอบ ลำต้น รำก กิ่ง เปน็ ตน้ ) 3. ครกู ระต้นุ ความสนใจนกั เรียนโดยครเู ขยี น key word บนกระดานต่อไปนี้ - ต้องการขยายพันธพุ์ ชื ประเภทไมด้ อกไม้ - ต้องการขยายพันธพ์ุ ืชประเภทไม้พุ่ม ไม้ยนื ตน้ - ตอ้ งการปรบั ปรุงพนั ธุ์พืชใหด้ ีกวา่ เดมิ โดยนาตน้ พนั ธุด์ ีมาทาหน้าท่เี ปน็ ลาต้น - ตอ้ งการกหุ ลาบหลายสีใน 1 ต้น ครใู หน้ กั เรียนชว่ ยกันเสนอวธิ ีขยายพนั ธุ์พืชจากkey word บนกระดาน ขน้ั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นกั เรยี นแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลมุ่ แล้วสง่ ตัวแทนออกมาจับฉลากหัวขอ้ ตอ่ ไปนี้ - การปกั ชา - การติดตา - การตอนก่ิง - การทาบกง่ิ 2. ครูใหน้ กั เรียนสืบค้นข้อมลู วิธแี ละขนั้ ตอนการขยายพนั ธุ์พืชตามหวั ขอ้ ทแ่ี ตล่ ะกลมุ่ จับฉลากได้จาก ส่อื มเี ดยี หรือหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หน้าที่ 62-64 แลว้ สรปุ เปน็ รายงานรปู เล่ม พรอ้ มกบั เลอื กตน้ ไมม้ า 1 ชนดิ และขยายพนั ธุด์ ้วยวิธีดังกล่าว อธบิ ายความรู้ (Explain) โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 236 1. ครสู ุ่มตวั แทนกลุม่ ออกมานาเสนอผลจากการขยายพันธพุ์ ืชตามหัวขอ้ ท่จี บั ฉลาก พร้อมกับนาเสนอ ขนั้ ตอนและวิธกี ารขยายพันธ์ุ และนาตน้ ไมท้ ี่ไดร้ ับการขยายพนั ธ์ดุ ว้ ยวธิ ีดังกลา่ วมาแสดงหนา้ ช้นั เรยี น 2. ครูเสริมความรู้และเพ่ิมข้อมูลทน่ี กั เรยี นออกมานาเสนอ ข้ันสรปุ ขยายความเข้าใจ (Expand) 1. ครใู ห้นกั เรียนทาแบบฝกึ หัดในแบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 ช่ัวโมงท่ี 2 ขน้ั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นกั เรยี นสืบคน้ วิธีการขยายพนั ธุพ์ ืชแบบไมอ่ าศยั เพศอ่นื ๆ นอกเหนือจากการปักชา การตอนกิ่ง การตดิ ตา การทาบก่งิ เปน็ ต้น อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครสู มุ่ ตวั แทนนกั เรยี นออกมานาเสนอวิธกี ารขยายพนั ธ์พุ ชื ดว้ ยวิธอี นื่ หนา้ ชั้นเรียน 2. ครูนาภาพตวั อย่าง และอธบิ ายการขยายพันธพ์ุ ชื ด้วยโครงสร้างพิเศษ ในกรอบ science focus ในหนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 หนา้ ที่ 64 เพ่อื ให้นักเรียนเห็นลกั ษณะของพืชทเี่ กิด การขยายพันธแุ์ บบไม่อาศยั เพศชัดเจนมากขึ้น ขั้นสรุป ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หดั ในแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจแบบฝกึ หัดในแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 1 2. ครปู ระเมนิ รายงาน เรอื่ ง การขยายพันธพ์ุ ชื แบบไม่อาศยั เพศ โดยใช้แบบประเมนิ ชน้ิ งาน 3. ครูประเมนิ การนาเสนอผลงาน การขยายพนั ธ์ุพืชแบบไม่อาศัยเพศ 4. ครปู ระเมนิ พฤติกรรมการทางานรายกลุม่ จากการขยายพนั ธพุ์ ชื แบบไม่อาศัยเพศ 7. การวดั และประเมินผล เกณฑ์การประเมิน รายการวัด วิธีการ เครือ่ งมอื ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 7.2 ประเมินระหวา่ งการ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1) การสบื พนั ธ์แุ บบไม่ - ประเมินรายงาน - แบบประเมินชน้ิ งาน อาศยั เพศของพชื เรื่อง การขยายพนั ธ์ุ พืชแบบไม่อาศัยเพศ โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 237 รายการวดั วิธกี าร เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 2) การนาเสนอผลงาน - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ม.1 เลม่ 1 3) พฤตกิ รรมการทางาน - ประเมินการนาเสนอ ระดับคณุ ภาพ 2 รายกลุ่ม การขยายพันธ์พุ ชื - แบบประเมินการ ผ่านเกณฑ์ แบบไม่อาศัยเพศ นาเสนอผลงาน 4) คณุ ลกั ษณะอนั พึง ประสงค์ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 การทางานรายกล่มุ - สงั เกตความมวี ินยั การทางานรายกลุม่ ผ่านเกณฑ์ ใฝ่เรยี นรู้ และมุง่ มั่น ในการทางาน - แบบประเมนิ คุณลกั ษณะ ระดบั คณุ ภาพ 2 อนั พึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์ 8. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 2) แบบฝกึ หดั วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) ห้องปฏิบัติการ 9. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรยี น : ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลกั ปรัชญา ครู ผเู้ รียน ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอประมาณ พอดีด้านเทคโนโลยี พอดดี ้านจิตใจ รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลติ สื่อที่ มจี ิตสานกึ ทด่ี ี จติ สาธารณะร่วม 2. ความมเี หตุผล อนรุ กั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ เหมาะสมและสอดคล้องเนื้อหาเป็น สิ่งแวดล้อม ประโยชนต์ อ่ ผเู้ รียนและพัฒนาจากภมู ิ ปญั ญาของผเู้ รียน ไมห่ ยดุ น่ิงท่หี าหนทางในชวี ิต หลุดพ้น - ยดึ ถือการประกอบอาชีพดว้ ยความ จากความทุกข์ยาก (การคน้ หาคาตอบ ถกู ตอ้ ง สจุ รติ เพ่ือให้หลดุ พ้นจากความไม่ร)ู้ โดย นายธนพฒั น์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 238 หลกั ปรัชญา ครู ผู้เรียน ของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. มภี มู ิคุมกนั ในตัวที่ดี ภมู ปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั รบั ผิดชอบ ระมัดระวัง สรา้ งสรรค์ 4. เง่ือนไขความรู้ ความรอบรู้ เรอ่ื ง การสืบพนั ธุแ์ บบ ความรอบรู้ เรอ่ื ง การสืบพนั ธ์แุ บบ ไมอ่ าศยั เพศของพชื ท่เี ก่ยี วขอ้ งรอบ ไม่อาศัยเพศของพชื สามารถนา ด้าน นาความร้มู าเช่อื มโยง ความรู้เหลา่ นนั้ มาพิจารณาให้เกดิ ประกอบการวางแผน การดาเนินการ ความเชอ่ื มโยง สามารถประยกุ ต์ จัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ หก้ บั ผูเ้ รยี น ใช้ในชวี ติ ประจาวันได้ 5. เงอื่ นไขคุณธรรม มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มีความ ความซื่อสัตยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน ซ่อื สตั ย์สุจรติ และมคี วามอดทน มี มีความเพียร ใชส้ ตปิ ัญญาในการ ความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนิน ดาเนินชีวิต ชวี ิต สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ครู ผ้เู รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรยี น (ตามจดุ ท่ไี ด้รับมอบหมาย) - ความหลากหลายทางชวี ภาพ - สารวจความหลากหลายทาง ผู้เรียน ชวี ภาพในโรงเรียน (กาหนดจดุ ให้ ความหลากหลายทางชีวภาพ - สบื คน้ ขอ้ มลู การอนรุ ักษค์ วาม ผู้เรียนสารวจ) หลากหลายทางชีวภาพ (ตามหัวขอ้ ที่ ไดม้ อบหมาย) ส่งิ แวดลอ้ ม ครู ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - การอนุรกั ษ์ความหลากหลาย - การอนุรกั ษ์ความหลากหลายทาง ทางชีวภาพ ชีวภาพ (กาหนดหวั ขอ้ ให้ผูเ้ รียน สืบคน้ ) โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกูร ณ อยุธยา ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 239 10. ความเหน็ /ข้อเสนอแนะ ของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาหรือผูท้ ่ไี ด้รับมอบหมาย 10.1 หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางสาวณัฐธนัญา บุญถงึ ) ………./……………./…………. 10.2 รองผูอ้ านวยการฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นายวิเศษ ฟองตา) ………./……………./…………. 10.3 ผอู้ านวยการสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ …………………………………………. (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ………./……………./…………. โดย นายธนพัฒน์ อิศรางกรู ณ อยธุ ยา ตาแหนง่ ครูผชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่