ชุดองค์ความรู้ โครงการสบื สานภูมิปญั ญาการทอผ้า และองค์ความรู้สาํ คัญเกี่ยวกบั ไหมไทย ในการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์
พระราชประวตั ิ สมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระบรมราชินีนาถ ใน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นพระธิดาองค์ใหญ่ของพลเอก พระวรวงศ์เธอ กรมหม่ืนจันทบุรีสุรนาถ กับหม่อมหลวงบัว กิติยากร สมเด็จพระนางเจ้ารําไพพรรณี พระบรม ราชินี ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานนามว่า “สิริกิติ์” ซ่ึงมีความหมายว่า “ผู้เป็นศรี แห่งกิติยา กร” ทรงพระราชสมภพเม่ือวันศุกร์ท่ี 12 สิงหาคม พุทธศักราช 2475 ท่ีบ้านพลเอก เจ้าพระยาวงศานุประพัทธ์ (หม่อม ราชวงศ์สท้าน สนิทวงศ์) ผู้เป็นบดิ าของหม่อมหลวงบัว ณ บ้านเลขท่ี 1808 ถนนพระรามหก ตําบลวังใหม่ อําเภอปทมุ วัน จังหวัดพระนคร ขณะน้ันเป็นระยะท่ีประเทศเพิ่งเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็น ระบอบประชาธิปไตย ก่อนหน้าน้ันพระบิดาของพระองค์ทรงดํารงตําแหน่งผู้ช่วยเสนาธิการทหารบก มียศเป็นพันเอก หม่อมเจ้านักขัตรมงคล กิติยากร หลังจากเปล่ียนแปลงการปกครองในวันท่ี 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475 หม่อมเจ้า นักขัตรมงคลทรงออกจากราชการทหาร โดยรัฐบาลแต่งต้ังให้ไปรับราชการในตําแหน่งเลขานุการเอก ประจําสถานทูต สยาม ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอมริกา ส่วนหม่อมหลวงบัวซ่ึงมีครรภ์แก่คงพํานักอยู่ในประเทศไทย จนให้ กําเนิดหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ิแล้วจึงเดินทางไปสมทบ มอบหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ให้อยู่ในความดูแลของเจ้าพระยาวงศานุ ประพทั ธ์ และท้าววนิดาพจิ าริณี ผู้เป็นบิดาและมารดาของหม่อมหลวงบัว Her Majesty Queen Sirikit the Queen Mother, the Queen in His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great, is the eldest daughter of Prince Nakkhatra Mangala, the 2nd Prince of Chanthaburi and Mom Luang Bua Snidvongse Kitiyakara Voralaksana. The name “Sirikit” was given by Queen Rambhai Barni, Consort of King Prajadhipok (Rama VII), with the definition “the greatness of Kitiyakara”. The Queen Mother was born on Friday 12 August 1932 at the residence of Chao Phraya Vongsa Nuprabandh (Mom Rajawongse Sathan Snidvongse), the father of Mom Luang Bua, at residence number 1808, Rama VI Road, Wang Mai Sub- district, Pathum Wan District, Phra Nakhon Province. At the time, the country had recently transitioned the regime from an absolute monarchy to a democracy. Before that, The Queen’s father was the Assistant Chief of Staff of the Royal Thai Army, holding the rank of Colonel Mom Chao Nakkhatra Mangala Kitiyakara. After the Siamese Revolution occurred on June 24, 1935, Colonel Mom Chao Nakkhatra Mangala Kitiyakara retired from military service. He was appointed by the government to serve as the First Secretary of the Siamese Embassy in Washington, D.C., United States of America. Mom Luang Bua, who was far gone in pregnancy, remained in Siam until giving birth to Mom Rajawongse Sirikit and then traveled to join her husband. Mom Rajawongse Sirikit was raised by her grandparents, Chao Phraya Vonsa Nuprabandh, and Lady Vanida Bijarini. 1
2
หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ต้องอยู่ห่างไกลบิดามารดาต้ังแต่อายุยังน้อย บางคราวต้องระหกระเหินไปต่างจังหวัดตาม เหตุการณ์ผันผวนทางการเมือง เช่น ในพุทธศักราช 2476 หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร พระมารดาของหม่อมเจ้า นักขตั รมงคล ได้ทรงรับนัดดาตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ ัวไปสงขลาด้วย ปลายพุทธศักราช 2477 หม่อมเจ้านักขัตรมงคลทรงลาออกจากราชการกลับประเทศไทยพร้อมครอบครัว อันมี หม่อมหลวงบัว หม่อมราชวงศ์กัลยาณกิต์ิ บุตรคนโต และหม่อมราชวงศ์ บุษบา บุตรีคนเล็กผู้เกิดท่ีสหรัฐอเมริกา แล้วมา รับหม่อมราชวงศ์อดุลกิต์ิ บุตรคนรอง กับ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์จาก หม่อมเจ้าอัปษรสมาน กลับมาอยู่รวมกันท่ีตําหนักซ่ึง ต้ังอยูท่ ่ีถนนกรุงเกษม ปากคลองผดงุ กรุงเกษม ริมแมน่ า้ํ เจ้าพระยา Mom Rajawongse Sirikit had to live away from her parents at a young age. She was occasionally forced to relocate to other provinces due to political situations, such as in 1936, Mom Chao Absarasamarn Kitiyakara, the mother of Mom Chao Nakkhatra Mangala Kitiyakara, also took her granddaughter to follow King Prajadhipok (Rama VII) to Songkhla. In late 1937, Mom Chao Nakkhatra Mangala Kitiyakara resigned from government service, returning to Thailand with his family: Mom Luang Bua, Mom Rajawongse Kalayanakit - the eldest son, and Mom Rajawongse Bussaba - the youngest daughter who was born in the United States, then came to pick up Mom Rajawongse Adulakit - the second son, and Mom Rajawongse Sirikit from Mom Chao Absarasamarn back together at the residence, which was located on Krung Kasem Road, Pak Khlong Phadung Krung Kasem, along the Chao Phraya River. 3
4
พระราชประวัติทางดา้ นการศึกษา หม่อมราชวงศ์สิริกิต์ิเริ่มเรียนช้ันอนุบาลท่ีโรงเรียนราชินี ปากคลองตลาด ในพุทธศักราช 2479 แต่เม่ือสงคราม มหาเอเชียบูรพาลุกลามมาถึงประเทศไทย จังหวัดพระนครถูกโจมตีทางอากาศบ่อยคร้ังทําให้การเดินทางไม่สะดวกและ ไม่ปลอดภัย ในพุทธศักราช 2483 จึงย้ายไปเรียนช้ันประถมและมัธยมท่ีโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ ถนน สามเสน เพราะอยู่ใกล้บ้านในระยะท่ีพอจะเดินไปโรงเรียนเองได้ หม่อมราชวงศ์สิริกิต์ิเร่ิมเรียนเปียโนท่ีโรงเรียนเซนต์ฟ รังซสี ซาเวียรค์ อนแวนต์ และในเวลาต่อมาได้ต้ังใจท่ีจะเป็นนักเปียโนผู้มีช่ือเสียง หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ได้เผชิญสภาพของสงครามโลกมาเช่นเดียวกับคนไทยท้ังหลาย หม่อมเจ้านักขัตรมงคลผู้ทรง เป็นทหารเป็นผู้ปลูกฝังให้บุตรและบุตรีรู้จักความมีวินัย ความอดทน ความกล้าหาญ ความเอ้ือเฟ้ ือเผ่ือแผ่ และความ เสียสละ โดยอาศัยสถานการณ์สงครามเป็นตัวอย่าง และสงครามโลกก็ทําให้คนไทยท้ังปวงต้องหันหน้าเข้าช่วยเหลือกัน ในยามทุกข์ยาก ส่ิงเหล่าน้ีจึงหล่อหลอมหม่อมราชวงศสิริกิต์ิให้มีความเมตตาต่อผู้อ่ืนและรักความมีระเบียบแบบแผนมา ต้ังแต่เยาว์วัย Royal History of Education Mom Rajawongse Sirikit started her kindergarten at Rachini School, Pak Klong Talat in 1936. However, since the outbreak of the Pacific War in Thailand, Phra Nakhon province had been subjected to frequent airstrikes, making travel inconvenient and dangerous. Mom Rajawongse Sirikit transferred to study primary and secondary education at St. Francis Xavier Convent School on Samsen Road in 1940 because it was close to home and within walking distance of the school. Mom Rajawongse Sirikit began studying piano at St. Francis Xavier Convent School with the goal of becoming a famous pianist. Mom Rajawongse Sirikit had faced the same conditions of world war as the Thai people. Mom Chao Nakkhatra Mangala Kitiyakara, who was a soldier, instilled in his sons and daughters discipline, patience, courage, generosity, and sacrifice, by using war situations as examples. Also, the world war compelled all Thais to turn to help each other in difficult times. These had enhanced Mom Rajawongse Sirikit’s to be kind to others and to appreciate orderliness since childhood. 5
6
หลังจากสงครามสงบแล้ว นายกรัฐมนตรีในสมัยน้ัน คือนายควง อภัยวงศ์ ได้แต่งต้ังให้หม่อมเจ้านักขัตรมงคล เป็นอัครราชทูตประจําประเทศอังกฤษ หม่อมเจ้านักขัตรมงคลจึงทรงพาครอบครัวท้ังหมดไปด้วยในกลางพุทธศักราช 2489 ขณะน้นั หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์เรียนจบช้ันมัธยมปีท่ี 3 ของโรงเรียนเซนต์ฟรังซสี ซาเวียรค์ อนแวนต์แล้ว ระหว่างท่ีอยู่ในประเทศอังกฤษ หม่อมราชวงศ์สิริกิต์ิเรียนเปียโน ภาษาอังกฤษและภาษาฝร่ังเศสกับครูพิเศษ แต่ อยู่ท่ีอังกฤษได้ไม่นาน พุทธศักราช 2490 หม่อมเจ้านักขัตรมงคลก็ทรงย้ายไปเป็นอัครราชทูตประจําประเทศฝร่ังเศส และเดนมาร์ก ก่อนจะกลับมาเป็นเอกอัครราชทูตประจําประเทศอังกฤษอีกคร้ังหน่ึง ระหว่างน้ีหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ิ ยังคง ต้ังใจเรยี นเปียโนอยา่ งขะมักเขม้นเพ่ือเตรียมสอบเข้าวิทยาลัยการดนตรีท่ีมีช่อื เสียงของกรุงปารีส พุทธศักราช 2491 ขณะท่ีหม่อมเจ้านักขัตรมงคลและครอบครัวอยู่ในปารีส ได้รับเสด็จสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ พลอดุลยเดช ซ่ึงโปรดเสด็จพระราชดําเนินไปทอดพระเนตรโรงงานทํารถยนต์ในกรุงปารีสอยู่เสมอ จนเป็นท่ีคุ้นเคยและ ต้องพระราชอัธยาศัย ฉะน้ันเม่ือสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประสบอุปัทวเหตุทางรถยนต์ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ต้อง ประทับรักษาพระองค์ในสถานพยาบาล จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้หม่อมหลวงบัวพาบุตรี ท้ังสองคือ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์และหม่อมราชวงศ์บุษบาเข้าเฝ้าทูลละอองพระบาทเย่ียมพระอาการเป็นประจํา จนพระอาการ ประชวรทุเลาลงและเสด็จกลับพระตําหนักได้สมเด็จพระราชชนนีได้รับส่ังขอให้หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์อยู่ศึกษาต่อท่ี เมืองโลซานน์ในโรงเรียนประจําช่ือโรงเรียน Riante Rive ซ่ึงเป็นโรงเรียนท่ีมีช่ือเสียงในการสอนวิชาพิเศษแก่กุลสตรี คือ ภาษา ศิลปะ ดนตรี ประวัติวรรณคดี และประวัติศาสตร์ After the war was over, Mr. Kuang Abhaiwong, the prime minister at the time, appointed Mom Chao Nakkhatra Mangala Kitiyakara as an Ambassador to England. In the middle of 1946, Mom Chao Nakkhatra Mangala Kitiyakara took his entire family to London. At the time, Mom Rajawongse Sirikit successfully completed grade 9 at St. Francis Xavier Convent School. Mom Rajawongse Sirikit studied piano, along with English, and French with a special teacher while in England, but stayed there only for a short period. In 1947, Mom Chao Nakkhatra Mangala Kitiyakara moved to be the ambassador to France and Denmark before returning to the United Kingdom as an ambassador again. Meanwhile, Mom Rajawongse Sirikit continued to study piano diligently in preparation for the entrance exams to the prestigious college of music in Paris. In 1948, while Mom Chao Nakkhatra Mangala Kitiyakara and his family were in Paris, he received His Majesty King Bhumibol Adulyadej, who always visited a car-making factory in Paris, became familiar and with that royal pleasure. As a result, when His Majesty had a car accident in Switzerland and was hospitalized, His Majesty graciously requested that Mom Luang Bua bring two daughters, Mom Rajawongse Sirikit, and Mom Rajawongse Budsaba, to visit His Majesty regularly until the illness condition subsided and returned to the palace. Princess Mother Sri Sangwal asked Mom Rajawongse Sirikit to continue her studies in Lausanne at Riante Rive Boarding School, a famous boarding school for teaching young ladies special subjects: language, art, music, literature history, and history. 7
รูปภาพสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ภมู ิพลอดลุ ยเดช และหมอ่ มราชวงศ์สริ ิกิติ@ 8 Illustration of King Bhumibol Adulyadej and Mom Rajawongse Sirikit
พระราชพธิ ีราชาภเิ ษกสมรส วันท่ี 28 เมษายน พุทธศักราช 2493 มีพระราชพิธีราชาภิเษกสมรส ณ วังสระปทุม สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรม ราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า ทรงเป็นประธานพระราชทานน้ําพระพุทธมนต์และ เทพมนตร์ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช และหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ ได้ทรงจดทะเบียนสมรสตามกฎหมาย และในวันน้ัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ ทรงสถาปนาหมอ่ มราชวงศ์สิรกิ ิติ์เป็นสมเด็จพระราชินีสริ กิ ิติ์ วันท่ี 5 พฤษภาคม พุทธศักราช 2493 เป็นวันพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงรับเฉลิมพระ บรมนามาภิไธยว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” และทรงเฉลิมพระยศ สมเด็จพระราชินีสิริกิต์ิ เป็นสมเด็จพระนาง เจ้าสริ ิกิติ์ พระบรมราชินี Royal Wedding Ceremony The royal wedding ceremony was held on April 28, 1950, at Sra Pathum Palace. Somdet Phra Srisavarindhira Boromarajatewi Phra Panwassa, the grandmother, presided over the royal offering of holy water and the divine mantra. King Bhumibol Adulyadej and Mom Rajawongse Sirikit signed in the legal marriage registration and on that day, His Majesty the King established Mom Rajawongse Sirikit as Queen Consort Sirikit. May 5, 1950, was the day of the coronation ceremony. His Majesty was honored with the royal title \"His Majesty the King\" and honored Queen Consort Sirikit as Her Majesty the Queen. รูปภาพทรงลงพระนามาภิไธยในสมุดทะเบียนสมรส วันท่ี 28 เมษายน 2493 On April 28, 1950, legally signed in the marriage registration 9
วันท่ี 5 มิถุนายน พุทธศักราช 2493 ท้ังสองพระองค์เสด็จกลับประเทศสวิตเซอร์แลนด์เพราะแพทย์ผู้ถวายการ รักษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กราบบังคมทูลแนะนําให้ทรงพักรักษาพระองค์อีกระยะหน่ึง พุทธศักราช 2494 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี มีพระประสูติกาลสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญาฯ ณ เมืองโล ซานน์ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เม่ือเจริญพระชันษาได้ 7 เดือน ท้ังสามพระองค์จึงเสด็จนิวัติประเทศไทย ประทับ ณ พระท่ีน่ังอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณฯ ซ่ึงปัจจุบันคือ พระบาทสมเด็จพระ ปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศร ราช วโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดาฯ ซ่ึงปัจจุบันเฉลิมพระ อิสริยยศเป็น สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดาฯ ปัจจุบันเฉลิมพระอิสริยยศ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิริธร มหาวชิราลงกรณวรราชภักดี สิริกิจการิณีพีรยพัฒน รัฐสีมา คุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ฯ ซ่ึงปัจจุบันเฉลิมพระ อิสริยยศเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติย ราชนารี ได้ประสูติต่อมาตามลําดับ ณ พระท่ีน่ังอัมพรสถาน รวมพระราชโอรสและพระราชธดิ า 4 พระองค์ May 5, 1950, was the day of the coronation ceremony. His Majesty was honored with the royal title \"His Majesty the King\" and honored Queen Consort Sirikit as Her Majesty the Queen. The King and the Queen returned to Switzerland on June 5, 1950, because the doctor who had offered his majesty's treatment had respectfully advised him to stay a little longer. In the year 1951, Her Majesty Queen Sirikit gave birth to Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn Prince Ubolratana Rajakanya Siriwattana Phannawadi in Lausanne, Switzerland. When Princess Ubolratana Rajakanya was 7 months old, all Three of them traveled to Thailand and stayed at Amporn Sathan Residential Hall, Dusit Thani Palace. His Royal Highness Crown Prince Maha Vajiralongkorn, currently His Majesty King Maha Vajiralongkorn Phra Vajiraklaochaoyuhua, Her Royal Highness Princess Sirindhorn, currently Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn, and Her Royal Highness Princess Chulabhorn Walailak Archanarajakumari, currently Her Royal Highness Princess Chulabhorn Krom Phra Srisavangavadhana, were subsequently born respectively, at the Amporn Sathan Residential Hall, including four royal sons and daughters. 10
พระราชกรณยี กิจ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณีกิจน้อย ใหญ่ท้ังในฐานะท่ีทรงเป็นสมเด็จพระบรมราชินีของไทย และในฐานะคู่พระราชหฤทัยแห่ง พระบาทสมเด็จพระบรมชน กาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร กล่าวคือทรงช่วยแบ่งเบาพระราชภารกิจท้ังหลายไปได้เป็น อันมาก ท้ังยังมีพระราชดําริเริ่มใหม่เพ่ือช่วยเหลือประชาชนและพัฒนาประเทศอย่างอเนกอนันต์ ซ่ึงโครงการ พระราชดําริเหล่าน้ันได้ยังประโยชน์มหาศาลแก่ประชาชนสบื มาจนทกุ วันน้ี Royal Duties Her Majesty Queen Sirikit, the Queen Mother, has performed her royal public duties both as The Queen of Thailand and as the Royal Couple of His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great, that is, to assist lighten a lot of royal duties as well as new initiatives to help the people and develop the country incalculably, and those royal initiatives have greatly benefited the people up to the present day. สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง โปรดการปฏิบตั ิงานแบบครบวงจร เม่ือทรงสนับสนุนให้ชาวบา้ นทอผ้าไหม ก็ให้ปลกู หมอ่ นเล้ียงไหมและสาวไหมไปพรอ้ มกันด้วย 11
ศูนยศ์ ิลปาชีพ ไทยอุดมข้าวกล้าธญั ญาหาร เล้ียงคนสกั ร้อยล้านก็เล้ียงได้ ชาวนาอุทิศตนเล้ียงคนไทย แต่มีใครสกั คนเล่าเล้ียงชาวนา … ในขณะท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี9 ทรงริเริ่มก่อต้ังโครงการหลวงต่างๆ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินินาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง จึงทรงริเริ่มโครงการให้ราษฎรโดยเฉพาะชาวนาในท้องถิ่นชนบททํา อาชีพเสริมโดยใช้เวลาว่างจากการทํานาทําไร่มาทํางานศิลปาชีพ จนราษฎรเหล่าน้ันมีความรู้ความสามารถในงานผลิต งานศิลปหัตถกรรม จนเป็นท่ียอมรับในประเทศไทยและระดับสากล สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงตระหนักถึงความสําคัญของชาวไร่ชาวนาผู้ผลิตอาหาร ซ่ึงนับเป็นปัจจัยสําคัญท่ีสุด ของมนุษย์ จึงทรงพระราชดําริท่ีจะจัดหาอาชีพเสริมให้แก่เกษตรกรเหล่าน้ี เพ่ือให้เกษตรกรมีกําลังใจท่ีจะทํานาทําไร่ ต่อไป ไม่ต้องขายท่ีดิน ไม่ต้องเป็นหน้ีสิน และไม่ต้องทิ้งถิ่นไปทํามาหากินตามเมืองใหญ่ อันจะก่อให้เกิดปัญหาความ แออัดของชุมชนในเมืองใหญ่ตามมาอีก ส่ิงท่ีจะเป็นอาชีพเสริมน้ัน จะต้องเป็นอาชีพท่ีประกอบอยู่ท่ีบ้านได้ในเวลาท่ีว่าง จากการทําไร่ทํานา หรือเม่ือดินฟ้าอากาศไม่อํานวยให้เพาะปลูก หรือแม้แต่ผู้ไม่มีดินจะเพาะปลูก ก็จะสามารถประกอบ อาชีพเสริมน้ีได้ด้วยทรัพยากรธรรมชาติหรือวัตถุดิบท่ีมีอยู่ในท้องถ่ินของตน และด้วยภูมิปัญญาตลอดจนด้วยฝีมือของ เขาเอง น่ีคือท่ีมาของพระราชดําริในการนําศิลปหัตถกรรมมาเป็นอาชพี เสริมให้แก่ชาวไรช่ าวนาไทย Royal Folk Arts and Crafts Center Thailand has an abundance of food grains. Feed a hundred million people. Farmers devote themselves to feeding the Thai people. But will there be someone who will feed the peasants? … While His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great initiated various royal projects, Her Majesty Queen Sirikit, The Queen Mother, initiated projects for people, particularly rural farmers, to pursue complementary occupations in their free time from farming to working in the arts and crafts until they have the knowledge and skills to produce arts and craft products that are recognized in Thailand and around the world. Her Majesty Queen Sirikit, The Queen Mother recognizes the significance of farmers, and food producers which are the most important factor for humans. As a result, Her Majesty Queen Sirikit, The Queen Mother was determined to provide additional occupations for these farmers to encourage farmers to continue farming rather than sell their land, incur debt, or leave their homelands to make a living in the big cities, causing overcrowding problems in the communities in the big cities. An auxiliary occupation would have to be a home-based occupation in addition to farming. If the weather is not proper to be cultivated, or if they do not have soil to cultivate, they will be able to engage in this additional occupation using the natural resources or raw materials available in their area, as well as their own wisdom and craftsmanship. This is the Royal idea to use arts and crafts as an additional occupation for Thai farmers. 12
วันท่ี 13 พฤศจิกายน 2526 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการประกวดผ้าไหมชนิดต่าง ๆ เชน่ ผ้าไหมมัดหม่ี ผ้าแพรวา ผ้าไหมหางกระรอก ผ้าไหมพ้ืน เป็นต้น โดยจัดข้นึ ณ พระตําหนักภูพานราชนิเวศน์ จังหวัดสกลนคร On November 13, 1983, Her Majesty Queen Sirikit, The Queen Mother kindly requested that various silk contests be held such as Ikat silk, Praewa silk, Squirrel tail silk, plain silk, etc., at Phu Phan Rajanives Mansion, Sakon Nakhon Province 13
สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงรบั ชาวไทยภูเขาจาก จังหวัดต่าง ๆ ในภาคเหนือเข้าเป็นสมาชิกศิลปาชีพแผนกชา่ งเงิน ชา่ งทอง Her Majesty Queen Sirikit, The Queen Mother accepted hill tribes from various provinces in the north to become members of the silversmith and goldsmith's arts and crafts divisions 14
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ ในด้านต่างๆ พร้อมกับตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จฯ ออกเย่ียมราษฎรทุกภูมิภาคมาต้ังแต่ปี 2498 ท่ามกลางความทุรกันดารของชนบทเม่ือ 70 ปีก่อน ระหว่างเสด็จ เย่ียมราษฎร ท้ังภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสานและภาคใต้ ทรงได้พบกับความงดงามของผ้าไทย ท่ีถักทอโดยภูมิปัญญา ด้ังเดิมของชาวบ้านท่ีสืบทอดส่งต่อความรูต้ ่อกันมาหลายช่ัวอายุคน สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงทรงตระหนักว่า ความวิจิตรงดงามของผ้าไทย จะไม่เป็นท่ีรู้จักหากไม่ได้รับการส่งเสริม และอนุรักษ์ และมีความเส่ียงท่ีจะสูญหายไปตาม กาลเวลา ดังท่ีทรงมีพระราชดํารัสว่า …ข้าพเจ้าได้มีโอกาสไปพบราษฎรมาท่ัวประเทศ เพราะได้มีโอกาสตามเสด็จพระราชดําเนินทุกหนแห่ง จึงได้พบความ จริงท่ีว่า คนไทยเราน้ันแม้อยู่ห่างไกลความเจริญของเมืองหลวง ก็มีความสามารถทางด้านศิลปะเป็นอยา่ งสูง เชน่ ผ้าไหม ไทย ผ้าไทยต่างๆ ท่ีเห็นมีสีและลวดลายท่ีสวยงามน้ันเกิดมาจากความสามารถของชาวบ้านเองแท้ๆ ไม่ต้องให้ใครไป ออกแบบลวดลายและสีสันให้คนไทย เหล่าน้ีเองท่ีข้าพเจ้าขอยกย่องว่า เป็นผู้สืบทอดศิลปะให้แก่ชาติบ้านเมืองของเขา จรงิ แม้แต่ผู้ท่ีไมเ่ คยมีความรูท้ างหัตถกรรมใดๆ เลย ก็ต้องนับว่ามีสายเลือดทางศิลปะอยูใ่ นตัวแล้ว …. Her Majesty Queen Sirikit, The Queen Mother has performed various royal tasks along with His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great and has been visiting all regions since 1955 amid the rural wilderness of 70 years ago. During the visits to the north, central, northeast, and south, the Two of them were met by the beauty of Thai fabrics, which were woven by the traditional wisdom of villagers who had passed down their knowledge for generations. Her Majesty Queen Sirikit, The Queen Mother realized that the fineness of Thai fabrics would not be known without being promoted and preserved and that there was a risk of being lost over time as the Queen Mother stated: “…I had the opportunity to meet people from all over the country because I had the opportunity to follow and accompany His Majesty everywhere and I discovered that Thai people, even far away from the capital's prosperity, have high artistic ability such as Thai silk, the various Thai fabrics seen with beautiful colors and patterns which are the result of the villagers' true talent. There is no need for anyone to create motifs and colors for Thai people. These are the people I would like to recognize as the true heirs of art to their country even those who had never known anything about handicrafts would have an artistic pedigree in them… 15
ข้าพเจ้าได้ประจักษ์ด้วยตนเองแล้วว่า ประชาชนไทยของเราเปรียบเสมือนคลังเก็บรักษาศิลปวัฒนธรรมของชาติอย่าง แท้จริง เพียงแต่ให้เขาได้มีโอกาสแสดงออกในคุณค่าของเขาเท่าน้ัน…” I have already demonstrated to myself that the people of Thailand are truly like a repository of national arts and culture. It just only gives them a chance to express their worth...\" ขณะท่ีงานวิจัยเร่ือง “ผ้าทอกับชีวิตคนไทย” โดย ศ.เกียรติคุณ วัฒนะ จูฑะวิภาค จากคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ช้ีให้เห็นว่าผ้าทอของไทยมีโอกาสสูญหาย เน่ืองจากการใช้ผ้าทอในชีวิตประจําวันของคน ไทยมีการเปล่ียนแปลงไปเม่ือประเทศไทยมีการติดต่อกับตะวันตก และรับรูปแบบของตะวันตกมาไว้ในสังคมไทย การแต่งกายก็เปล่ียนแปลงไปนิยมแบบตะวันตกมากข้ึน การเปล่ียนแปลงคร้ังสําคัญเกิดข้ึนหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 เม่ือ มีโรงงานอุตสาหกรรมทอผ้าท่ีใช้เคร่ืองจักรผลิตผ้าได้จํานวนมากข้ึน รวดเร็ว สีไม่ตก และราคาย่อมเยา คนไทยหันไปให้ ความนิยมกับผ้าเหล่าน้ี แทนท่ีผ้าทอด้วยมือ ประกอบกับความแรน้ แค้นในอาชีพเกษตรกรรม จึงเป็นสาเหตุทําให้คนไทย ในชนบทละทิ้งถ่ินฐานเข้ามาหางานทําในโรงงานอุตสาหกรรมตามเมืองใหญ่ๆ และเมืองหลวง เป็นเหตุให้งานหัตถกรรม ในชนบทของไทยถกู ละทิ้งโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การทอผ้า While the research on \"Woven Fabrics and Thai People's Lives\" by Emeritus Professor Wattana Chudhavipata from the Faculty of Fine and Applied Arts, Dhurakij Pundit University indicates that Thai textiles have a chance of being lost because the use of woven fabrics in Thai people's daily lives has evolved as Thailand has come into contact with the West and adopted Western forms into Thai society. The attire then has developed into a more western style. A major change occurred after World War II when there were more mechanized weaving factories producing fabrics, fast, non-fading colors, and affordable prices. Thai people turned their attention to these fabrics, which replaced hand-woven fabrics and alleviated poverty in the agricultural profession. As a result, rural Thais leave their homes to work in industrial plants in major cities and capitals causing the handicrafts in rural areas, particularly weaving, have been abandoned. 16
“หากมิได้พระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ท่ีทรงเห็นความสําคัญของผ้าทอท่ีผลิต ข้ึนจากฝีมือ และภูมิปัญญาท่ีแท้จริงของชาวบ้านถ่ายทอด และส่ังสมกรรมวิธีในการผลิตจากชนรุ่นหน่ึงมาสู่ชนอีกรุ่น หน่ึง เท่ากับเป็นการสืบสานงานศิลป์เพ่ือให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติสบื ต่อไป จึงทรงหันมาให้ความสนพระทัยท่ี จะอนุรักษ์ และพัฒนาผ้าทอประเภทต่างๆ ของไทย ทําให้ผ้าทอของไทยกลับฟ้ ืนคืนชีวิตมาได้ ท้ังท่ีเกือบจะสูญสลายไป จากสังคมไทยแล้ว โครงการศิลปาชีพถือเป็นหน่วยงานท่ีมีบทบาทสําคัญท่ีทําให้ท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศรู้จัก และตระหนักในคุณค่าของผ้าทอท่ีเกิดจากฝีมือของคนไทย เป็นการแสดงให้ชาวโลกประจักษ์ว่าคนไทยเป็นชาติหน่ึงท่ีมี วัฒนธรรมสงู สง่ ไมด่ ้อยไปกว่าชาติใดในโลก” “Without the benevolence of Her Majesty Queen Sirikit, The Queen Mother, who saw the importance of woven fabrics produced from craftsmanship and the true wisdom of the villagers, passing on and accumulating the methods of production from one generation to another, art would continue to be a national cultural heritage. Therefore, Her Majesty Queen Sirikit, The Queen Mother turned her attention to the conservation and development of various types of Thai woven fabrics, bringing Thai woven fabrics back to life even though they were almost completely disintegrated from Thai society. The Arts and Crafts Project Centre is an important organization that assists both Thais and foreigners in recognizing and appreciating the value of woven fabrics created by Thai artisans. It demonstrates to the rest of the world that the Thai people have a culture that is equal to that of any other nation.\" ความวิริยะของสมเด็จพระบรมราชชนนีพระพันปีหลวง ท่ีจะส่งเสริมอนุรักษ์ผ้าไทยมีมาโดยตลอด มีคําบอกเล่า จากชาวบ้านท่ีเป็นชุมชนคนทอผ้าว่า เม่ือทรงทราบข่าวว่าชุมชนแห่งใดมีการทอผ้าลวดลายสวยงาม ก็จะส่งคณะทํางาน ไปบอกกล่าวกับชุมชนแห่งน้ันว่า จะมีการจัดการประกวดผ้าทอในจังหวัดข้ึน รางวัลชนะเลิศจะได้เป็นเงินรางวัลนับแสน บาท ซ่ึงถือว่าสงู มากเม่ือสมัย 40-50 ปีก่อน หรือบางคนท่ีได้รางวัลรองๆ ก็จะได้ทองคําหลายบาทกลับไป ซ่ึงการประกวด ดังกล่าวนับเป็นการสร้างขวัญกําลังใจให้กับชาวบ้านท่ีทอผ้าเป็นอย่างมาก จากแต่ก่อนคิดเพียงว่า ผ้าท่ีตนเองทอน้ัน ใช้สอยนุ่งห่มกันแค่ในครัวเรือนไม่สามารถขายได้ กลายเป็นผ้าท่ีมีช่ือเสียงเป็นท่ีต้องการของผู้คนมากมาย สร้างรายได้ และฐานะครอบครัวให้ม่ันคงได้ในเวลาต่อมา นอกจากน้ี นักทอผ้าบางคนยังได้มีโอกาสเข้าเฝ้าถวาย ผลงานท่ีทรงรับซ้ือ อีกด้วย The perseverance of Her Majesty Queen Sirikit, The Queen Mother to promote the preservation of Thai fabrics has always been there. There is a saying from the villagers who are weavers that when The Queen Mother discovered which community was weaving beautiful patterns, she would dispatch a working group to inform that community: A woven fabric contest will be held in the province. The winner will receive hundreds of thousands of baht, which was considered very large 40-50 years ago. Alternatively, someone who wins a minor prize will receive several baht in gold. The contest was regarded as a huge morale booster for the weaving villagers. Previously, it was assumed that the fabrics they are woven could only be used in households and could not be sold, but they later became well-known and sought after by a wide range of people, which generated more income and had a more stable family status. Furthermore, some weavers have had the opportunity to have an audience with royalty offerings of the works that the Queen Mother purchased later. 17
ใน พ.ศ.2506 ทรงโปรดเกล้าฯ ให้จัดต้ังโรงฝึกอาชีพทอผ้าบ้านเขาเต่า ณ หมู่บ้านเขาเต่า อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ เป็นสถานท่ีส่งเสริมอาชีพหัตถกรรมทอผ้าเป็นแห่งแรก ต่อมาใน พ.ศ.2519 ด้วยสายพระเนตรท่ี กว้างไกล เพ่ือให้ผ้าไทยเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีได้มาตรฐานระดับสากล จึงทรงก่อต้ังมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ข้ึนเพ่ือพัฒนางานศิลปหัตถกรรมทอผ้าท่ีมีคุณค่าแสดงเอกลักษณ์ของชาติ ท่ีสําคัญเพ่ือ เผยแพร่ความงดงามของผ้าไทยให้เป็นท่ีรู้จักไปท่ัวโลก โดยทรงนําผ้าทอท่ีซ้ือจากชาวบ้านมาออกแบบตัดเย็บฉลอง พระองค์ ท่ีสวยงามและทันสมัยสวมใส่ปฏิบัติพระราชกรณียกิจท้ังในประเทศและต่างประเทศ ในวาระต่างๆ ท้ังฉลอง พระองค์ทรงงาน ฉลองพระองค์ชุดราตรีส้ัน ฉลองพระองค์ชุดราตรียาว ตลอดจนพระมาลา ฉลองพระบาท และกระเป๋า เดินทางท่ีทําจากผ้าไทย เพ่ือเป็นแบบอยา่ ง ดึงความงามอันทรงคณุ ค่าของผ้าไทย ให้โดดเด่นยิ่งข้นึ In 1963, Her Majesty Queen Sirikit, The Queen Mother graciously authorized the establishment of a Ban Kao Tao vocational weaving training center in Kao Tao Village, Hua Hin District, Prachuap Khiri Khan province, the first place that promoted the weaving crafts profession. Later, in 1976, with a broad vision of making Thai fabrics a product that meets international standards, The Queen Mother established the Support Foundation of Her Majesty Queen of Thailand to develop valuable weaving arts and crafts to demonstrate national identity. Importantly, to spread the beauty of Thai fabrics to the world, the Queen mother uses woven fabrics purchased from locals to design and sew in beautiful and modern royal attire to wear for royal duties both domestically and internationally and on various occasions, such as royal work clothes, royal short evening dress, royal gown evening dress, as well as royal hats, royal shoes, and luggage made of Thai fabric to exemplify and bring out the precious beauty of Thai fabrics. 18
การอนรุ กั ษผ์ า้ ไทยสภี่ าค 1. ผ้าไทยภาคเหนือ ผ้าท่ีทอในแถบภาคเหนือ หรือล้านนา ปัจจุบันคือบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยา จังหวัดลําพูน จังหวัดลําปาง จังหวัดแพร่ จังหวัดน่าน จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัด แม่ฮ่องสอน จาก ประวัติศาสตร์และลักษณะภูมิประเทศทําให้ภาคเหนือเป็นดินแดนท่ีมีขนบประเพณี วัฒนธรรมเป็นของตนเอง โดยเฉพาะกลุ่มไทยวน หรือ โยนก ปัจจุบันเรียกตนเองว่า “คนเมือง” แต่เดิมมักเรียก “ลาวพุงดํา” เพราะนิยมสักลาย ตามบริเวณต้นขาและหน้าท้อง ไทยวนเป็นชนกลุ่มใหญ่ท่ีต้ังถิ่นฐานอยู่บริเวณจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลําพูน และจังหวัด ลําปาง ไทล้ือเป็นอีกกลุ่มชนหน่ึงท่ีมีจํานวนมากรองจาก ไทยวน ไทล้ือต้ังถิ่นฐานอยู่ในบริเวณจังหวัดเชียงราย จังหวัด พะเยา และจังหวัดน่าน นอกจากน้ียังมีกลุ่ม ชาติพันธุ์ เช่น ลัวะ กะเหร่ียง ไทใหญ่ มอญ ตลอดไปจนถึงชาวไทยภูเขาเผ่า ต่าง ๆ เชน่ แม้ว มูเซอ อีก้อ เย้า ลีซอ กระจายอยู่ ในจังหวัดต่างๆ ในภาคเหนือของประเทศไทย Conservation of Thai Fabrics in the Four Regions 1.Northern Thai Fabric The fabrics woven in the northern region or Lanna are currently in Thailand's northern regions, which include Chiang Rai, Phayao, Lamphun, Lampang, Phrae, Nan, Chiang Mai, and Mae Hong Son. Due to its history and topography, the North is a land with its traditions and culture, especially the Tai Yuan or Yo Nok group, now symbolizing itself as the \"Urban People\". It was originally called \"Lao Pung Dam\" (Laos with a black belly) because it was popularly tattooed on the thighs and abdomen. Tai Yuans are a large group of people who settled in Chiang Mai, Lamphun, and Lampang provinces. The Tai Lue are the second most numerous ethnic group after the Tai Yuan. Tai Lue settled in Chiang Rai, Phayao, and Nan provinces. There are also ethnic groups such as Lua, Karen, Tai Yai, and Mon, as well as various Thai hill tribes such as Meo, Muser, Akha, Yao, and Lishu, spread across provinces in northern Thailand. กล่มุ ชาติพนั ธุไ์ ทยวน กล่มุ ชาติพนั ธุไ์ ทล้ือ Tai Yuan Ethnic Group Tai Lue Ethnic Group 19
ผ้าไทยพ้ืนบ้านภาคเหนือท่ีมีเอกลักษณ์โดดเด่นท่ีสุดคือ ผ้าไทยวน ผ้าไทล้ือ ผ้าของกลุ่มชาติพันธุ์ท้ังสองชาติ พนั ธุ์ ได้แก่ เคร่อื งนุง่ ห่ม เคร่อื งนอน และเคร่อื งบูชาตามคติความเช่ือท่ีใชใ้ นพธิ กี รรมต่างๆ โดยเฉพาะผ้าซน่ิ ผ้านุง่ ผู้หญิง ของกลุ่มไทยวนและไทล้ือมีสว่ นประกอบคล้ายคลึงกัน แบง่ เป็น 3 สว่ น ได้แก่ 1) หัวซิ่น ส่วนท่ีอยู่ติดกับเอว มักใช้ผ้าพ้ืนสีขาว สีแดง หรือสีดําต่อกับตัวซิ่น เพ่ือให้ซ่ินยาวพอดีกับความสูงของผู้ นุง่ และชว่ ยให้ใช้ได้คงทน เพราะเป็นชายพกต้องขมวดเหน็บเอวบอ่ ยๆ 2) ตัวซ่ิน ส่วนกลางของซิ่น กว้างตามความกว้างของฟืม ทําให้ลายผ้าขวางลําตัว มักทอเป็นริ้วๆ มีสีต่าง ๆ กัน เชน่ ร้ิว หลืองพ้ืนดํา หรอื ทอยกเป็นตาส่เี หล่ียม หรอื ทอเป็นลายเล็กๆ 3) ตีนซิ่น ส่วนล่างสุด อาจเป็นสีแดง สีดํา หรือทอลายจก เรียก ซิ่นตีนจก ชาวไทยวนนิยมทอตีนจกแคบ เช่น ซิ่น ตีนจกแม่แจ่ม บริเวณอําเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ มักทอลายส่ีเหล่ียมข้าวหลามตัดอยู่ตรงกลาง เชิงล่างสุดเป็นสีแดง ซิน่ ตีนจกของคหบดีหรือเจ้านายมักสอดดิ้นเงินหรือดิ้นทองให้สวยงามยิง่ ข้นึ The most unique northern Thai fabrics are Tai Yuan and Tai Lue fabrics. The fabrics of the two ethnic groups include garments, bedding, and traditional oblations used in various rituals, particularly sarongs. The women's sarongs of the Tai Yuan and Tai Lue ethnic groups have similar compositions which are divided into 3 parts as follows: 1) Sarong Buckle: The top of the sarong part that adjoins the waist, usually uses a white, red, or black cloth to connect with the buckle to make the sarong fit the height of the wearer and helps to be more durable because the top part must be usually waist-tucked. 2) Sarongs: The middle part of the sarong, wide as the beater’s width, make the fabric transverse to the body. It is usually woven in streaks of different colors, such as stripes, and yellow on a black background, or woven into square or small patterns. 3) Teen Sarong: The bottom part of the sarong that may be red, black, or woven in a Jok pattern or a part of a skirt live dress woven with silk. Tai Yuan prefers to weave in narrow Teen Jok such as Mae Chaem Teen Jok sarong, in Mae Chaem district, Chiang Mai province. It is usually woven in a diamond square pattern in the middle and the lowest part is normally in red. The Teen Jok sarong of the wealthy people often inserts silver or gold tinsel to make it more beautiful. กล่มุ ชาติพันธุไ์ ทยวน ซิ่นป้อง Tai Yuan Sarong, Mae Chaem District Pong Sarong 20
การนุ่งซิ่นและห่มสไบ เป็นการแต่งกายท่ีแพร่หลายในกลุ่มผู้หญิงชาวเหนือแทบทุกกลุ่มชาติพันธุ์ แต่รูปแบบของซ่ินจะแตกต่างกันตาม คตินิยมของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ เช่น ชาวไทล้ือในบริเวณจังหวัดเชียงราย จังหวัดพะเยา และจังหวัดน่าน โดยเฉพาะกลุ่ม ไทล้ือ จังหวัดน่าน มีแบบแผนการทอผ้าซิ่น และการสรา้ งลวดลายท่ีสาํ คัญ 3 ประเภท คือ Sarong and Breast Cloth Wearing It is a dress code that is widespread among women of almost northern ethnic groups, but the Rstayil,ePhoaf ysaaoro, nagndvaNriaens apcrocovirndcinegs,teospeaecchialelythtnhiec gTraoiuLpu'es igdreooulpoginy NsuacnhparsovTihneceTahiaLvuee3pimeoppolretainntCthyipaensg of weaving and pattern creation: 1.) ลายล้วง หรือเกาะ คือ การสร้างลายด้วยวิธีล้วงด้วยมือ คือใช้เส้นด้ายสีต่างๆ สอดลงไปในเส้นด้ายยืนตามจังหวะท่ี กําหนดให้เป็นลายคล้ายการสานขัด จากน้ันจะใช้ฟืมกระแทกเส้นด้ายให้สนิทเป็นเน้ือเดียวกัน ผ้าลายล้วงท่ีมีช่ือเสียงคือ ผ้าลายน้ําไหล หรือ ผ้าลายนํ้าไหลเมืองน่าน ซ่ึงเกิดจากการล้วงให้ลายต่อกันเป็น ทางยาว เว้นระยะเป็นช่วงๆ คล้ายคล่ืน นอกจากผ้าลายล้วงยังมีลายอ่ืนๆ ท่ีเรียกช่ือตามลักษณะลาย เช่น ลายใบมีด หรือลายมีดโกน เป็นลายท่ีเกิดจากการล้วง สอด สีด้ายหลายๆ สีให้ห่างกันเป็นช่วงๆ เหมือนใบมีดบางๆ ลายจรวดมีลักษณะคล้ายจรวดกําลังพุ่ง ลายน้ําไหลสายรุ้ง เป็นลายท่ีพัฒนามาจากลายน้ําไหลโดยค่ันด้วยการสอดสี ลายไส้ปลา เป็นลายท่ีมีหลายสีคล้ายสีรุ้ง แล้วค่ันด้วยการเก็บ มุกชนิดต่างๆ เช่น มุกลายดอกหมาก มุกข้าวลีบ ลายกําปุ้งหรือลายแมงมุม พัฒนาจากการนําลายน้ําไหลมาต่อกันตรง กลาง เติมลายเล็กๆ โดยรอบเป็นขาคล้ายแมงมุม ต่อมาพัฒนาเป็นลายอ่ืนๆ ได้อีกมาก เช่น ลายดอกไม้ ลายปู ลวดลายท่ี เกิดข้ึนน้ีล้วนมาจาก กรรมวิธีในการล้วงท้ังส้ิน หากแต่ละลายจะดัดแปลงผสมกับกรรมวิธีอ่ืนเพ่ือให้ได้ลวดลายท่ีต่างกัน ออกไป 1.Interlocking tapestry weaving motif is the creation of patterns woven by hand, which is the use of different colors of yarn inserted into the warp yarn at a certain rhythm to form a pattern similar to interrupted weaving. Then, the beater is used to bump the yarn completely and homogeneously. The famous interlocking tapestry fabric is Nam Lai fabric or Nan Nam Lai fabric, which is formed by picking the patterns together in a long way, spaced at intervals like waves. Besides the interlocking tapestry fabric, other patterns are called by the pattern characteristics, such as blade or razor motifs. It is a pattern formed by intermittently inserting several colors of thread apart, like a thin blade. The Rocket motif resembles a rocket launching. A Nam Lai Sai Roong motif is a pattern that develops from a Nam Lai motif separated by color insertion. The Sai Pla motif is a pattern that resembles a rainbow and is separated by weaving various types of pearls such as pearls with the Dok Mark motif, pearls with the Khao Leep motif, Kam Pung motif, or Spider Motif arose from the use of Nam Lai motif in the center, with small motifs around it as a spider-like leg, and later evolved into many other motifs such as Flower motif, Crab motif, etc. These motifs are all derived from the process of interlocking tapestry weaving and it is modified and mixed with other methods to achieve a different pattern. 21
2.ลายเก็บมุก คือ การสร้างลวดลายด้วยการทอคล้ายกับการเก็บขิดของอีสาน ไม่ได้ล้วงด้วยมือ แต่จะเก็บลายด้วยไม้ไผ่ เหลากลมปลายไม่แหลม เม่ือเก็บลายเสร็จแล้วจะสอดเส้นด้ายด้วยไม้เก็บลายชนิดต่างๆ ตามแม่ลายท่ีจะเก็บ ลายชนิดน้ี เรียกช่ือต่างกันไปตามความนิยมท้องถิ่น 3.ลายคาดก่าน หรือ มัดก่าน คือการสร้างลวดลายท่ีใช้กรรมวิธีเช่นเดียวกับลายมัดหม่ี การคาด (มัด) ก่อนย้อมจะเป็น ตัวกําหนดขนาดของลาย คล้ายลายมัดหม่ี ลายคาดก่าน มักประดิษฐ์เป็นลวดลายเล็กๆ ไม่พัฒนาลวดลายเหมือนลายน้ํา ไหล 2.Keb Mook motif is the creation of patterns by weaving similar to I-san’s Khid collection. It is not woven by hand but with a round sharpened bamboo with a non-pointed tip. Once the motif is completed, the yarn will be inserted with a different type of motif collection stick according to the designed motif. This type of pattern is known by different names depending on the local popularity. 3.Khadkan or Weft Ikat motif is the creation of patterns that use the same process as the Ikat (Mad-Mii) motif. The tying (to bind) before dyeing determines the size of the pattern resembling an Ikat (Mad-Mii) motif. The Khadkan motif is usually developed into a small pattern, not a pattern like a Nam Lai motif. กรรมวิธีในการทอผ้าให้เป็นลวดลายประเภทต่างๆ เหล่าน้ีได้นํามาใช้กับผ้าทอท่ีต้องการใช้สอยในลักษณะท่ี ต่างกันไป โดยเฉพาะซิ่นไทล้ือเมืองน่าน หรือ ซิ่นน่าน มีลวดลายและสีเด่น เพราะทอด้วยไหมเป็นริ้วใหญ่ๆ สลับสี ประมาณสาม หรือส่ีสี ส่วนตีนซิ่นมีสีแดงเป็นแถบใหญ่ ถัดข้ึนไปเป็นสีนํ้าเงินหรือม่วงเข้มค่ันด้วยดิ้นเงินหรือดิ้นทอง หรือ ไหมคําสลับเพ่ือให้เกิดความวาวระยับ บางทีแต่ละช่วงจะค่ันด้วยลวดลายให้ดูงดงามย่ิงข้ึน เรียกต่างออกไปตามลักษณะ ของลาย เช่น ซิ่นป้อง ซิ่นตาเหล็ม ซิ่นล้วง ซิ่นลายน้ําไหล นอกจากน้ีซ่ินชนิดต่างๆ และกรรมวิธีในการสร้างลวดลาย ประเภทต่างๆ ตามลักษณะพ้ืนบ้านแล้วยังมีผ้าชนิดต่างๆ ท่ีมีความงดงามสอดคล้องกับประโยชน์ใช้สอยอีกหลายชนิด เชน่ ผ้าแหลบ หรือผ้าหลบ หรือผ้าปูท่ีนอน ท่ีนิยมทอเป็นลายท้ังผืนหรอื ลายเฉพาะบางสว่ น เชน่ เชิง ทอเป็นรูปสัตว์ เชน่ ม้า ช้าง หรอื ดอกไม้เรียงเป็นแถว เชิงล่างปล่อยเสน้ ฝ้ายลุ่ยหรือถักเป็นเสน้ ตาขา่ ยเพ่ือความสวยงาม ผ้าหลบ หรอื ผ้าหม่ น้ี มักทอเป็นลวดลายเรขาคณิตคล้ายลายขิด สว่ นมากจะทอเป็นผืนเล็กๆ หน้าแคบ เพ่ือความสะดวกในการทอก่อน แล้วจึง เย็บผนึกต่อกันเป็นผืน คล้ายกับผ้าห่มหรือผ้าห่มไหล่ของชาวลาว แต่ผ้าหลบนิยมทอตัวลายด้วยสีแดงและดํา ผ้าหลบ และผ้าเก็บมุกท่ีใช้การประดิษฐล์ วดลายด้วยวิธกี ารน้ี ปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้ประโยชน์อยา่ งอ่ืนด้วย The process of weaving into various types of motifs is applied to the weaving fabrics that need to be used in different ways, particularly the Nan Tai Lue sarong or Nan sarong, which has distinctive patterns and colors because it is woven with silk in large streaks of three or four different colors. The Teen Sarongs are red with large stripes, followed by dark blue or dark purple separated by silver or gold tinsel or Kham-Salab silk to create a shimmering luster. Perhaps each section is separated by a pattern to look more beautiful and is called differently according to the characteristics of the pattern, such as Pong sarong, Ta Lem sarong, Luang sarong, and Nam Lai sarong. Aside from the various types of sarongs and the process of creating various types of patterns depending on folk characteristics, various types of fabrics are both beautiful and functional such as Laeb or Lob fabric or bed sheets that are commonly woven into whole or partially specific patterns, such as Cherng woven in animal motifs such as horse, elephant, or flowers lining up. The lower part (hem) releases frayed cotton strands or is knitted into mesh strands for aesthetic purposes. Lob fabric or blanket is usually woven into a geometric pattern, resembling a Khid motif. Most of them are woven into small, narrow-faced pieces for ease of weaving first, and then sewn together into the textile fabric which is similar to the blanket or shoulder blanket of the Lao people, but Lob fabric is normally woven in red and black pattern. Lob fabric and Keb Mook fabric used in this method are now applied for other uses as well. 22
นอกเหนือจากการทอผ้าของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยวน และไทล้ือท่ีมีเอกลักษณ์โดดเด่นดังกล่าวแล้วในบริเวณ ภาคเหนือยังมีผ้าท่ีมีลักษณะเด่นอีกอย่างหน่ึงคือ ผ้าย้อมคราม หรือสีกรมท่า ย้อมจากต้นครามหรือต้นห้อม เรียก ผ้า หม้อห้อม ใช้สําหรับตัดเย็บเป็นเส้ือและกางเกง ทํากันมากท่ีตําบลทุ่งโฮ้ง อําเภอเมือง จังหวัดแพร่ นอกจากการทอผ้า เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองนุ่งห่มแล้ว ในภาคเหนือยังทอผ้าสําหรับใช้สอยอีกหลายอย่าง เช่น ผ้าหลบ ผ้าแซงแดง ผ้าแซงดํา ผ้า แหล็บ ผ้าก้ัง ผ้ามุ้ง ผ้าขาวม้า ผ้าล้อ ผ้าปกหัวนาค ย่าม ผ้าห่ม ฯลฯ ผ้าพ้ืนบ้านภาคเหนืออีกประเภทหน่ึงเป็นผ้าท่ี เก่ียวเน่ืองกับความเช่ือ ขนบประเพณีของกลุ่มชน เช่น ผ้าสําหรับนุ่งห่มหรือใช้ในงานทําบุญ งานนักขัตฤกษ์ ได้แก่ ตุง หรือธงท่ีใชใ้ นประเพณี ต่างๆ เชน่ ตงุ ไจ ตุงสามหาง เป็นต้น In addition to the weaving of the Tai Yuan and Tai Lue ethnic groups, which have distinct characteristics, there is another distinctive fabric in the northern regions: indigo-dyed fabric or navy blue. It is dyed from indigo or Hom plant, the so-called Mauhom fabric, and is used mostly in sewing into shirts and pants. It is commonly made in Thung Hong Sub-district, Mueang District, Phrae Province. In addition to weaving for garments, the north region also weaves fabrics for a variety of other uses, such as Lob fabric, Saeng Daeng fabric, Saeng Dam fabric, Laeb fabric, Gung (Curtain) fabric, Mosquito-net fabric, Loincloth, Lor fabric, Pok Hua Nak (Head Cloth) fabric, bags, and blankets, etc. Another type of northern folk fabric is related to the beliefs, and ethnic group traditions, such as cloth for wearing or used in merit events, and public events such as Tung or flags used in various traditions such as Tung Jai, Tung Sam Harng, etc. ปัจจุบัน การทอผ้าพ้ืนบ้านในภาคเหนือยังทอกันอยู่ในหลายท้องถ่ิน เช่น ในบริเวณอําเภอป่าซาง จังหวัดลําพูน อําเภอสันกําแพง อําเภอแม่แตง อําเภอแม่อาย อําเภอฮอด อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ และในหลายอําเภอของ จังหวัดลําปาง โดยเฉพาะผ้าฝ้ายทอมือของบ้านไร่ไผ่งาม ตําบลสบเต๊ียะ อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้รับการฟ้ ืนฟู ข้ึนมาจากกรรมวิธีพ้ืนบ้านโบราณหลายอย่าง นอกจากน้ียังมีกลุ่มทอผ้าอีกหลายกลุ่มกระจายอยู่หลายจังหวัด เช่น กลุ่ม ทอผ้าอําเภอลอง จังหวัดแพร่ กลุ่มทอผ้าไทล้ือ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ผ้าพ้ืนเมืองภาคเหนืออีกประเภทหน่ึง คือ ผ้าทอมือกลุ่มน้อย เช่น ผ้าทอของชาวกะเหร่ียง ไทใหญ่ และผ้าทอของชาวเขาเผ่าต่าง ๆ เช่น ม้ง เย้า มูเซอ ผ้าทอ เหล่าน้ีจะมีรูปแบบ และกรรมวิธีใน การทอท่ีแตกต่างกันไปตามคตินิยม และขนบประเพณีท่ีสืบทอดกันมาในกลุ่มของ ตน เช่น ผ้ากะเหร่ียง นิยมทอลายขวางเป็นช้ินเล็กๆ สีแดงและดํา เม่ือนํามาทอเคร่ืองนุ่งห่มจะเย็บต่อกันจนมีขนาดตาม ความต้องการ ส่วนชาวไทยภูเขาน้ันมีกรรมวิธีในการทอผ้าต่างออกไป มักหน้าแคบ ตกแต่งเป็นลวดลายด้วยการปัก ประดับเคร่ืองเงิน ลูกปัดเพ่อื เพ่มิ สสี นั ให้งดงามยง่ิ ข้นึ Nowadays, folk weaving in the north is still woven in many localities, such as in Pa Sang District, Lamphun Province, San Kamphaeng District, Mae Taeng District, Mae Ai District, Hod District, Chom Thong District, Chiang Mai Province, and many districts of Lampang Province. In particular, the hand-woven cotton of Ban Rai Phai Ngam, Sop Tia Subdistrict, Chom Thong District, Chiang Mai province has been restored from many ancient folk methods. In addition, there are many weaving groups scattered in many provinces, such as Long District Weaving Groups, Phrae Province, Tai Lue Weaving Group, Chiang Khong District, and Chiang Rai Province. Another type of northern indigenous fabric is a minority of hand-woven fabrics such as Karen, Tai Yai woven fabric, and hill tribe fabrics such as Hmong, Yao, and Muser. These woven fabrics have different patterns and methods of weaving under their ideology and traditions that are passed down in their groups, such as Karen fabrics that are popularly woven into small pieces of red and black. When the garments are woven, they are stitched together until they are in the correct size. However, Thai hill tribes have a different weaving process, often with narrow faces, decorated with embroidery, silverware, and beads to enhance the color. 23
ชาวไทยภูเขาในประเทศไทย ชาวไทยภูเขาในประเทศไทยประกอบไปด้วย กะเหร่ียง (ยาง) ม้ง (แม้ว) เม้ียน (เย้า) ล่าหู่ (มูเซอ) อาข่า (ก้อ) และลีซู (ลีซอ) ผลิตงานฝีมือท้ังท่ีเป็นแบบปักไขว้ ปักลูกโซ่ ปักปะ เย็บริมแถบผ้าต่อกันเป็นผืน หรือเย็บเป็นเชือกหลากสี และยัง มีผ้าทอ ผ้าปักประดับเหรยี ญเงิน ลูกปัดเงิน และลูกเดือย เป็นต้น Thai Hill Tribes in Thailand Thai Hill Tribes in Thailand consist of Karen (Yang), Hmong (Meo), Mien (Yao), Lahu (Muser), Akha (Kaw), and Lishu (Lisaw). They produce handicrafts such as Zigzag Stitch, Chain Stitch, Running Stitch, sewing along the strips of fabric into canvases or stitching into multicolored ropes, and also woven fabrics, embroidered fabrics with silver coins, silver beads, and millet, etc. เม่ือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินไปทรงเย่ียม ราษฎรภาคเหนือ ทอดพระเนตรภูมิประเทศเป็นดอยสูงสลับซับซ้อน หลายพ้ืนท่ีอยู่ห่างไกลการคมนาคม ขาดการ สาธารณสุข และการศึกษา ได้ทรงทราบว่าชาวไทยภูเขาปลูกฝ่ ินเล้ียงครอบครัว และใช้ฝ่ ินเป็นยา แต่ส่วนใหญ่ขาด ความรู้เร่ืองป่าต้นน้ํา ซ่ึงเป็นต้นกําเนิดทรัพยากรธรรมชาติ จึงตัดไม้ทําลายป่าอย่างต่อเน่ืองเพ่ือขยายพ้ืนท่ีปลูกฝ่ ิน ทําไร่ เล่ือนลอย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชประสงค์ช่วยเหลือให้มีท่ีทํากินเป็นหลักแหล่งและส่งเสริมอาชีพอ่ืน มาทดแทนการปลูกฝ่ ิน จากแนวพระราชดําริน้ีจึงได้เกิดเป็น โครงการหลวงและโครงการเกษตรท่ีสูงอีกเป็นจํานวนมาก ขณะเดียวกัน ในการเสด็จพระราชดําเนินไปยังพ้ืนท่ีหมู่บ้านต่างๆ ราษฎรชาวไทยภูเขาได้นําเคร่ืองเงินมาทูลเกล้าฯ ถวาย พร้อมกราบบังคมทูลขอพระราชทานอาชีพ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จึงทรงส่งเสริมให้ทําเคร่ืองเงิน ต่อไป และให้ชาวไทยภูเขาผู้มีฝีมือในการทําเคร่ืองเงิน มาเป็นครูสอนท่ีโรงฝึกศิลปาชีพสวนจิตรลดาด้วย When His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great and Her Majesty Queen Sirikit the Queen Mother visited the people in the northern region and looked at the intricate mountainous terrain, many areas are remoted from transportation and lacked public health and education. They also discovered that mountain Thais grow opium poppies to feed their families and use opium as a medicine, but that most lacked knowledge of watershed forests, the source of natural resources, and thus continued deforestation to expand opium poppy growing areas and shifting cultivations. As a result, His Majesty King Bhumibol Adulyadej the Great wished to assist in providing land as a base and to promote other occupations to replace opium cultivation. From this royal initiative, it became Royal projects and many other high-rise agricultural projects. Meanwhile, on his royal visit to various villages, Thai hill tribes people brought silverware to the King and asked for his majesty's profession. Her Majesty Queen Sirikit the Queen Mother encouraged them to continue making silverware and invited those who are skilled in making silverware to become teachers at the Support Foundation of Her Majesty Queen Sirikit of Thailand. 24
นอกจากน้ี ยังทรงส่งเสริมให้ปักผ้าตามความถนัดของแต่ละเผ่าแล้วทรงรับซ้ือไว้ จากน้ันจึงทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้นํามาตัดเย็บเป็นฉลองพระองค์ เพ่ือเป็นตัวอย่างให้ประชาชนเห็น ท้ังมีพระราชดําริให้ขยายขนาดผืนผ้าปัก และให้ปักลายเป็นชน้ิ ๆ แทนการปักลงบนเส้ือกางเกงซ่ึงนํามาประยุกต์ใชไ้ ด้น้อย Her Majesty Queen Sirikit the Queen Mother also encouraged fabric embroidery according to the aptitude of each tribe and then purchased them. The Queen Mother then graciously allowed it to be sewn into her royal clothes as an example for the public to see. Furthermore, the Queen Mother’s initiative was to enlarge the embroidered fabric and to embroider it into pieces instead of embroidery on the shirt and pants, which was less applicable. ปัจจุบัน ในขณะท่ีผู้ผลิตอุตสาหกรรมเส้ือผ้าจํานวนมากหันมาใช้จักรเย็บผ้า และผลิตผ้าพิมพ์ลายชาวไทยภูเขา มากข้ึนงานทําด้วยมือจึงลดลง แต่เอกลักษณ์สําคัญของผ้าปักชาวไทยภูเขาในโครงการศิลปาชีพคือการเย็บปักด้วยมือ อันมีท่ีมาจากพระราชปณิธานในการรกั ษาป่าต้นนา้ํ ลําธาร Nowadays, many clothing manufacturers rely on sewing machines. and produce more printed Thai hill tribe fabrics, therefore, handmade work is reduced. However, the main distinguishing feature of Thai hill tribe embroidery fabrics in the Arts and Crafts Project is hand embroidery. This is derived from the royal aspiration to preserve the watershed forests. 1.กะเหร่ียง คนไทยในภาคเหนือเรียกกะเหร่ียงว่า \"ยาง\" กะเหร่ียงส่วนใหญ่ต้ังบ้านเรือนแถบชายแดนไทย-พม่า กะเหร่ียงในไทยแบ่ง ออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ สะกอและโป กลุ่มย่อยคือ คะยา (แดง) และตองสู (ปะโอ) กะเหร่ียงสะกอและโป มีวัฒนธรรม ใกล้เคียงกัน ปัจจุบันมีแค่สะกอและโปท่ียังใส่เคร่ืองแต่งกายประจําเผ่า ส่วนคะยา (แดง) และตองสู (ปะโอ) ไม่สวมใส่ใส่ เคร่ืองแต่งกายประจําเผ่าในชีวิตประจําวันแล้ว กะเหร่ียงกลุ่มเดียวกัน แต่อยู่ต่างพ้ืนท่ีก็แต่งกายแตกต่างกัน เช่น กะเหร่ียงสะกอ ท่ี จ.แม่ฮ่องสอน และแม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ ใสช่ ุดท่ีมีลวดลายปักหลากหลายและละเอียดกว่าท่ี จ.ตาก สว่ น กะเหร่ียงโปแถบแม่สะเรียง จ.แม่ฮ่องสอน แต่งกายมีสีสันมากกว่าท่ีฮอด จ.เชียงใหม่ รวมท้ังกะเหร่ียงโป ท่ีกาญจนบุรี และราชบุรีก็ใส่ชุดท่ีแตกต่างจากกะเหร่ียงโปในภาคเหนือของไทย กะเหร่ียงสะกอและโปมีความเหมือนกันตรงท่ียัง รักษาการสวมใส่เคร่ืองแต่งกายท่ีแสดงสถานะ หญิงทุกวัยท่ีไม่ได้แต่งงานจะต้องสวมชุดคลุมยาวกรอมเท้าสีขาว (เชวา) เม่ือแต่งงานแล้ว จะสวมเส้ือและผ้าถุง ไม่สามารถกลับไปใสช่ ุดขาวได้อีก 1.Karen Northern Thai people call Karen “Yang”. The majority of Karen settled along the Thai-Burmese border. Karen in Thailand is divided into two main groups: Sako and Po, which have similar cultures. The subgroups are Kaya (Red) and Tongsu (Pa-O). Nowadays, only Sako and Po are still dressed in tribal costumes while Kaya (red) and Tongsu (Pa-O) are no longer dressed in their traditional tribal costumes. The same group of Karens, but in different areas, dress differently, such as Sako Karen in Mae Hong Son and Mae Chaem in Chiang Mai, wearing dresses with various embroidered patterns and finer than in Tak while Po Karen in the Mae Sariang area, Mae Hong Son province, dressed more colorfully than in Hod, Chiang Mai province as well as Po Karen in Kanchanaburi and Ratchaburi, they wear different outfits from Po Karen in northern Thailand. Sako and Po Karen are the same in that they still maintain their status costumes. Unmarried women of all ages are required to wear a white long robe (Sheva). Once married, they must wear shirts and sarongs and cannot return to wearing white again. 25
ผู้ชายกะเหร่ียงสะกอและโปท่ีอาศัยในภาคเหนือมักใส่กางเกงสีดําหรือน้ําเงินแต่ท่ีตากและ อ.ล้ี จ.ลําพูน มักสวม โสรง่ ชายหนุม่ นิยมสวมเส้อื แดง แต่ชายสงู อายุกะเหร่ียงสะกอและกะเหร่ยี งโปจะใสเ่ ส้อื ขาวหรือเส้ือขาวยาวคลมุ เขา่ ชุมชนกะเหร่ียงท่ียังแต่งกายแบบด้ังเดิมจะมีการทอผ้าข้ึนใช้เอง เพราะรูปแบบการใช้ผ้าหน้าแคบมาต่อกัน หา ซ้ือไม่ได้ท่ัวไป ทําให้ยังรกั ษาภูมิปัญญาการทอผ้า และตัดเย็บเส้ือผ้ามาจนถึงปัจจุบัน ทุกครัวเรือนจะปลูกฝ้าย เก็บเก่ียวแล้วนํามาป่ ันเอง จากน้ันนํามาย้อมสีธรรมชาติ เม่ือได้เส้นฝ้ายย้อมสีก็นํามา ทอ นิยมใชก้ ่ีเอว เหมือนกันกับล้ือและมูเซอ มีท้ังทอขัดธรรมดา ทอขดั ธรรมดาสลับสี ทอจก ทอขิด ในการทํายา่ ม หญิงสาวจะทอจกให้ลวดลายสีสันงดงามเพ่ือมอบยา่ มน้ีให้ชายหนุ่มท่ีพึงใจ นอกจากน้ีลายจกยังใช้ ประดับชุดแต่งงานหญิงสาวด้วย ส่วนการทอขิดนิยมใช้ทําผ้าถุงสําหรับหญิงกะเหร่ียงสะกอท่ีแต่งงานแล้ว คล้ายการ ทอขิดแบบอีสาน แต่ลายไมซ่ ับซ้อนเท่า เทคนิคมัดหม่ี กะเหร่ียงสะกอนิยมใช้เทคนิคมัดหม่ีเส้นยืนเพ่ือทอซ่ินสําหรับหญิงท่ีแต่งงานแล้วมากกว่ากะเหร่ียง โป โดยจะทอแทรกเป็นริ้วๆ Sako and Po Karen men living in the north often wear black or blue pants, but Tak and Li districts in Lamphun province often wear sarongs. Young men prefer to wear red shirts, but older men of Sako and Po Karen wear white shirts or knee-length white shirts. Karen communities that still dress traditionally have their weaving to use because of the method of using narrow-faced fabrics stitching together which is not available everywhere. As a result, weaving and sewing wisdom have been preserved to the present day. Every household grows cotton, harvests it, and spins cotton thread by itself, then dyes it naturally. After obtaining the dyed cotton threads, they are mostly weaved by loom. The same applies to Lue and Muser, which are normal interruption weaving, normal interruption weaving with inverted colors, Jok, and Khid weaving. To make the bag, the young lady weaves beautiful colorful patterns to give this bag to the satisfied young man. In addition, the Jok motif is also used to decorate women's wedding dresses. Khid weaving is commonly used to make sarongs for married Sako Karen women which are similar to I-san-style Khid weaving but the pattern is not as that complicated. Ikat technique: Sako Karen prefers to use the technique of tying warp threads to weave sarongs for married women rather than Po Karen by weaving them into streaks. 26
2.ม้ง (แม้ว) ลักษณะคล้ายคนจีน อาศัยในจีน พม่า เวียดนาม ลาว ในไทยแบ่งได้สองกลุ่มใหญ่คือ ม้งขาว และม้งเขียว ชาวม้ง เขียวมีกลุ่มย่อยมากมาย มีช่ือท่ีใช้เรียกกันเองแตกต่างกันไป ท่ีได้ยินมากท่ีสุดคือ ม้งน้ําเงิน ม้งลาย ม้งดํา ซ่ึงรวมแล้ว เป็นม้งเขียวท้ังสิน้ เป็นชาวเขาเผา่ ใหญเ่ ป็นอันดับสองรองจากกะเหร่ียง ม้งขาว ปกติจะใส่กางเกงขายาวหรือนํ้าเงินเข้ม แต่จะใส่กระโปรงผ้ากัญชงพลีตสีขาว สวมเส้ือแขนยาวสีดําผ่า หน้า มีปกเหมือนกะลาสเี รือ คาดผ้าห้อยหน้าตกแต่งสวยงาม ม้งเขียวหรือม้งลาย จะใส่กระโปรงผ้าใยกัญชงพลีตย้อมคราม เขียนลายด้วยข้ีผ้ึง (บาติก) สวมเส้ือแขนยาวผ่า หน้า ประดับลวดลายตรงหน้าอกเป็นแฉกๆ คล้ายครีบหางปลา ปกคล้ายกะลาสีแต่งเป็นแฉกปักลวดลายสวยงาม คาดผ้า ห้อยหน้าลวดลายสวยงาม แต่หญิงสงู อายุจะคาดผ้าห้อยหน้าสดี ํา ทิ้งชายเป็นพูไ่ ปทางด้านหลัง ปัจจุบันแม้มีการสวมใส่ผ้าโรงงาน ผ้าสมัยใหม่ แต่หญิงแม้วยังต้องทําชุดประจําเผ่าสําหรับสมาชิกในครอบครัว แสดงถึงความผูกพัน โดยเฉพาะการทํากระโปรงผ้าใยกัญชงไว้ให้แม่เฒ่าใส่ตอนเสียชีวิต การทํากระโปรง 1 ตัวของม้ง ลายใช้เวลานานถึง 3 เดือน - 1 ปี เร่ิมจากการเขียนลายด้วยข้ีผ้ึงบนผ้า (บาติก) จากน้ันนํามาย้อม ปักผ้าชายกระโปรง โดยใช้ผ้าผืนยาวเท่ากับผ้าบาติกท่ีเขียนลายไว้ เสร็จแล้วนํามาเย็บต่อกันและจับจีบขนาดเท่าๆ กันท้ังผืน เย็บตรึงไว้ให้ กลีบคงตัวซ่ึงอาจท้ิงไว้ข้ามปีก่อนจะนํามาใสค่ ร้ังแรก - ใยกัญชง ชาวเขาท่ีมีหลักฐานว่าคุ้นเคยการปลูก และใช้ประโยชน์จากต้นกัญชงมานาน ได้แก่ ม้ง ลีซอ และอาข่า แต่ม้งมี ความผูกพันกับกัญชงต้ังแต่เกิดจนตาย ในอดีตเคร่ืองนุ่งห่มท่ีใช้สวมใส่ให้ผู้เสียชีวิตท้ังหญิงและชายต้องทําจากใยกัญชง เท่าน้ัน หญิงม้งลายจะเตรียมทําเส้ือผ้าใหม่ท่ีทําจากใยกัญชงเตรียมไว้ใส่ตอนเสียชีวิต ส่วนหญิงม้งขาวจะสวมใส่ กระโปรงขาวยามเสียชีวิต แต่ไม่จําเป็นต้องทําข้ึนใหม่ เพราะกระโปรงขาวท่ีมีอยู่แล้วยังอยู่ในสภาพดีเพราะนํามาใส่ใน งานเทศกาลเพยี งปีละคร้ังเท่าน้ัน - การเขยี นลายด้วยข้ผี ้ึง (เซาก๋ังเจ่ีย) M Hong Batik เป็นความสามารถเฉพาะของหญิงม้ง นิยมนํามาเย็บทําเป็นกระโปรง หลังจากทอผ้ากัญชงและ รีดผ้าจนเน้ือเนียนดีแล้ว ก็จะม้วนเก็บไว้เพ่อื ทยอยนํามาเขยี นลาย อุปกรณท์ ่ีเขียนลาย คือ เตาไฟ ก๋ังเจียคือข้ผี ้ึง และเหล่าเจ้ียมีลักษณะคล้ายปากกา ซ่ึงปากมีลักษณะแตกต่างจาก จันติ้งท่ีใชเ้ ขียนผ้าบาติกของชาวมลายู 27
2.Hmong (Meo) Similar to Chinese people, living in China, Myanmar, Vietnam, and Laos. In Thailand, it can be divided into two large groups: white Hmong and Green Hmong. The Green Hmong are divided into many subgroups, each with its name. The most heard are the Blue Hmong, the Lai Hmong, and the Black Hmong, which are all Green Hmong. It is the second largest hill tribe after Karen. The White Hmong usually wears long or dark blue pants but they wear a white hemp pleated skirt and a black long-sleeved shirt. It has a sailor-like collar and a beautifully decorated dangling cloth girdle. The Green or Lai Hmong wear indigo-dyed hemp-pleated skirts, wax (batik) patterns, and long- sleeved shirts with cuts in the front and a pattern on the chest that resembles a fishtail fin. The sailor-like collar is decorated with beautifully embroidered lobes, and a beautiful dangling cloth hanging on the front, but an elderly woman wears a black dangling cloth, leaving the tassels behind. Nowadays, despite the use of factory and modern fabrics, Meo women still have to make tribal attire for family members to show their bonds, especially making hemp-fiber skirts for their elderly mothers to wear when they die. Making 1 Lai Hmong skirt takes up to 3 months - 1 year, begin by writing a pattern with wax on the fabric (batik), then dye and embroider the hem with a fabric that is the same length as the batik on which it was written. Once completed, they are sewn together and pleated to the same size, stitched together to keep the petals stable, which can be left for years before being worn for the first time. - Hemp Fiber The Hmong, Lishu, and Akha are hill tribes with evidence of being familiar with growing and utilizing hemp plants, but the Hmong have close relations to hemp from birth to death. Previously, both female and male deceased people's clothing had to be made entirely of hemp fiber. Lai Hmong women will prepare new clothes made from hemp fiber to wear when they die. When white Hmong women die, they wear white skirts, but they do not need to be reworked because the existing white skirts are still in good condition and are only worn at festivals once a year. - Hmong Batik (Shao Gang Jia, Wax Pattern Writing) Hmong Batik is a unique ability of Hmong women. It is commonly sewn to make skirts. After weaving hemp and ironing until the texture is smooth, it will be rolled up and gradually painted. The handwritten equipment is a stove, Gang Jia is wax, and Lao Jia resembles a pen. Its mouth is different from the Can Ting that used to write Malay batik. 28
3.เม่ียน (เย้า) เย้าอพยพมาจากจีนลงมาทางใต้เข้าสู่เวียดนาม ลาว และไทย ในประเทศไทยมีเย้าเพียงกลุ่มเดียว เรียกตัวเองว่า \"อ้ิวเม่ียน\" ทยอยอพยพเขา้ มา 100 กว่าปี กระจายตามภาคเหนือของไทย เชน่ นา่ น พะเยา เชียงราย เพชรบูรณ์ ฯลฯ ตํานานท่ีบันทึกไว้ในหนังสือเดินทางข้ามเขตภูเขา (เกียเซ็นป๊อง) ท่ีชาวเย้าคัดลอกสง่ ต่อมาถึงรุน่ ลูกหลาน ระบุให้ ชาวเย้าปกปิดร่างกายของผันหู ผู้ให้กําเนิดของชาวเย้าโดยใช้เส้ือลายห้าสีคลุมร่าง เข็มขัดรัดเอว ผ้าเช็ดหน้าลายดอกไม้ ผูกท่ีหน้าผาก กางเกงลายปิดก้น และผ้าลายสองผืนปิดท่ีขา เช่ือว่าจากตํานานน้ีทําให้ชาวเย้าใช้เส้ือผ้าคาดเอว ผ้าโพก ศีรษะ และกางเกงท่ีปักด้วยสีห้าสี ยกตัวอย่างชาวเย้าใน อ.เชียงคํา จ.พะเยา นิยมซ้ือผ้าฝ้ายทอมือไทล้ือมาย้อมเอง มัก ย้อมสีดํา หรือสีดําครามด้วยฮ่อมและยามยุ จากน้ันนิยมทุบให้น่ิมและซัก เพ่ือให้ผ้าสะอาดและน่ิม ปักลายได้ง่าย แต่ ก่อนนิยมปักแค่ 5 สี แต่ปัจจุบันมีการใชส้ อี ่ืนๆ เพม่ิ ด้วย วิธกี ารปักแตกต่างจากชาวไทยพ้ืนราบ ต้ังแต่การจับผ้าและเข็ม มักปักจากด้านหลังผ้าข้ึนมาด้านหน้า มี 4 แบบ คือ 1. ปักลายเส้น 2. ปักลายขดั 3. ปักลายกากบาท 4. ปักไขว้ เคร่ืองแต่งกายท่ีนิยมปักประดับคือ ผ้าโพกศีรษะ สาบเส้ือ ผ้าคาดเอว และกางเกง ลายปักแตกต่างกันไปตาม กลุ่ม ยกตัวอย่างกางเกง ท่ีชายผ้าจะปักลายบังคับเหมือนกันทุกหมู่บ้าน ถัดมาส่วนท่ีสองจึงสามารถปักลายท่ีชอบและใช้ สีได้ตามใจ นอกจากการปักแล้ว ชาวเย้ายังนิยมตกแต่งเส้ือผ้าด้วยการถักเส้นด้าย การปักปะ (Patchwork) การทําพูป่ ระดับ และการทําสรอ้ ยลกู ปัดติดพูห่ ้อย 29
3.Mien (Yao) Yao migrated south from China into Vietnam, Laos, and Thailand. In Thailand, there is only one group of Yao, who call themselves “Iu-Mien” They gradually migrated for more than 100 years, spreading throughout northern Thailand such as Nan, Phayao, Chiang Rai, Phetchabun, etc. The legend recorded in the mountainous cross-border passport (Kia Sen Pong) copied by the Yao people passed down to generations of descendants indicates that the Yao people concealed the body of the Pan Hu, Yao's benefactors who used a five-colored striped shirt to cover their bodies, a waistband, a floral handkerchief tied on the forehead, striped pants covering the buttocks, and two striped fabrics covering the legs. It is believed that according to this legend, the Yao people used sash clothes, headdresses, and pants embroidered in five colors. Yao people in Chiang Kham district, Phayao province, for example, prefer to buy hand-woven cotton Tai Lue to dye by themselves, usually dyed black, indigo, or Hom, then popularly smashed to soften and wash to make the fabric clean and soft. It was simple to embroider, but there were only five colors available at the time; however, other colors are now usable. The embroidery method differs from Thais ethnic groups living in the plains in the way that the fabric and needles are held and embroidered from the back to the front. There are 4 types as follows: 1. Outline Stitch 2. Interrupting Stitch 3. Cross Stitch 4. Zigzag Stitch The most popular embroidered garments are the turban, the blouse, the sash, and the pants. The embroidery varies according to the group, for example, the trousers are embroidered at the hem in the same pattern in every village, and the second part can be embroidered with the desired pattern and preferred color. In addition to embroidery, Yao people also like to decorate their clothes with yarn knitting, patchwork, tassel making, and tassel beading ornamental chains. 30
4. อาขา่ อาข่าหรืออีก้อ ถอยร่นจากทิเบตและจีนลงมาอยู่พม่า ลาว และไทย (ในไทยส่วนใหญ่มาจากพม่า) อาศัยใน จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ ลําปาง ตาก แพร่ น่าน พิษณุโลก ฯลฯ แบ่งเป็น 3 กลุ่มหลักคือ 1. อูโลอาขา่ (น่าจะเป็นอู่โล้) 2. โลเมอาขา่ (นา่ จะเป็นโลม้ี หรอื โลเม้ีย) และ 3. ลอบอื อาขา่ (น่าจะเป็นผาหมี ช่ือแตกต่างจากตําราเล่มอ่ืน) ชาวอาข่าเดิมต้ังถ่ินฐานบริเวณทิเบต แต่ถูกรุกรานจนถอยร่นมาอาศัยในประเทศจีน พม่า ลาว และไทย อาข่าใน ไทยสว่ นใหญม่ าจากพมา่ เข้ามาอยูใ่ นเชยี งรายโดยมาก ชาวอาข่าแต่ละกลุ่มแต่งกายแตกต่างกัน แต่คนท่ัวไปอาจแยกได้ยากเพราะมีลักษณะร่วมท่ีคล้ายคลึงกัน เช่น สวมหมวกประดับเหรียญเงิน ขนไก่ย้อมสี และเปลือกหอยเบ้ีย สวมเส้ือแขนดํายาวผ่าหน้า ตัวปล่อย ตกแต่งลวดลาย สวยงาม เอาไว้สวมทับเส้ือตัวในท่ีมีลักษณะคล้ายผ้าคาดอก สวมกระโปรงสีดําตัวส้ัน จับจีบเล็กๆ ด้านหลัง อู่โล้อาข่าสวม หมวกแหลม โลม้ีอาขา่ สวมหมวกแบน สว่ นผาหมีอาขา่ สวมหมวกแบนแต่ตกแต่งด้วยเคร่ืองเงินสวยงามละเอียดกว่า - เคร่ืองแต่งกาย สังคมกําหนดให้เป็นหน้าท่ีของผู้หญิงผลิตเคร่ืองนุ่งห่ม และมีธรรมเนียมห้ามผู้ชายมีส่วนร่วมในบางข้ันตอนโดย เด็ดขาด ช่วยทําได้แค่ผลิตอุปกรณ์ แต่ปัจจุบันผู้ชายบางคนสามารถช่วยภรรยาดีดฝ้าย ยิงฝ้าย ขุดหลุมฝังเสาหูก ฯลฯ อยา่ งไรก็ดียังไมส่ ามารถป่ ันฝ้าย พนั ด้าย ทอผ้า และปักผ้าได้ เพราะมีความเช่อื ว่าจะเกิดอาเพศ - การปักประดับ นิยมปักชายเส้ือด้านหลังของผู้หญิงและย่าม อู่โล้จะปักลวดลายไม่ซับซ้อนเม่ือเทียบกับโลม้ีและผาหมี มักเป็น ลายเส้นเรียงกัน แต่ละกลุ่มย่อยมีลักษณะของตนเช่น ดอยตุงเน้นสีโทนเย็น เช่น เขียว ฟ้า ม่วง ส่วนแม่สลองสีโทนร้อน เชน่ แดง ส้ม งานปักของโลม้ีจะวิจิตรท่ีสุด ให้ความสําคัญกับการปักทุกส่วนต้ังแต่ หมวก เส้ือ ย่าม ผ้าห้อยหน้า ผ้าพันแข้ง รวมถึงไถ้ใส่เงินเล็กๆ มีการปักทึบ ปักลายเส้น และตัดปะ ส่วนลอบือ (น่าจะเป็น ผาหมี) มีการปักอย่างสวยงาม แต่เน้น ปักไขว้ ไม่นิยมตัดปะ 31
4. Akha Akha or I-Kaw retreated from Tibet and China to Myanmar, Laos, and Thailand (in Thailand, mainly from Myanmar), living in Chiang Rai, Chiang Mai, Lampang, Tak, Phrae, Nan, Phitsanulok, etc. It is divided into 3 main groups: 1. Ulo Akha (probably Wulo) 2. Lome Akha (probably Lomi or Lomea) and 3. Lobue Akha (probably Pa Mee, the name is different from other articles). The Akha people were originally from Tibet but were invaded and forced to migrate to China, Myanmar, Laos, and Thailand. The majority of Akha in Thailand are from Myanmar and mostly live in Chiang Rai. Each group of Akha people dresses differently, but it may be difficult for people to distinguish because of their similar common characteristics, such as wearing a hat adorned with silver coins, dyed chicken feathers and pawn shells, wearing a long-sleeved black shirt with a cut in the front, with beautiful pattern, is worn over an undershirt that resembles a breast cloth, and wearing a short black skirt with small pleats on the back. Ulo Akha wears a pointed hat, Lomi Akha wears a flat hat, and Pa Mee Akha wears a flat hat but is decorated with more detailed and beautiful silverware. - Costume Women are expected by society to produce clothing, and men are strictly forbidden from participating in certain processes, all they can do is produce equipment. But nowadays, some men can help their wives gin cotton, shoot cotton, dig holes to embed the loom, etc. However, it is not possible to spin cotton, wrap yarn, weave, and embroidery because there is a belief that there will be some portent. - Embroidery It is widely embroidered on the back hem of women's shirts and bags. Ulo is embroidered with uncomplicated patterns compared to Lomi and Pa Mee, usually in stripes. Each subgroup has its characteristics, such as Doi Tung emphasizing cool colors such as green, light blue, and purple, and Mae Salong in warm colors such as red, and orange. Lomi's embroidery is exquisite. Every aspect of embroidery is highlighted, including hats, shirts, bags, hanging cloth, gaiters, and small money bags. There is Satin embroidery, outline embroidery, and patchwork. Lo Bue (most likely Pa Mee) is exquisitely embroidered but with a focus on crisscross embroidery rather than collage. 32
5. ลีซอ เป็นชาวเขาท่ีแต่งกายสีสันสดใสท่ีสุด สีสดใสตัดกันแสดงถึงความกล้าหาญและเป็นอิสระชน คําว่าลี แปลว่าจารีต ประเพณีวันธรรม ซอแปลว่าคน จึงหมายรวมว่า เป็นกลุ่มชนท่ีมีธรรมเนียมประเพณีของตน และภาคภูมิใจในวัฒนธรรม ของตนเอง ชาวลีซอถือเป็นกลุ่มคนท่ีรักอิสระ มีระบบการจัดการทางสังคมท่ียืดหยุ่นแต่มีประสิทธภิ าพ ไม่ยอมรับสิ่งใหม่ โดยปราศจากการเลือกสรร และไม่ปฏิเสธวัฒนธรรมท่ีแตกต่างโดยไม่แยกแยะ จึงถือเป็นกลุ่มชนท่ีมีศักยภาพในการ ปรบั ตัวมากแต่ยังรกั ษาอัตลักษณ์ของชาติพนั ธุเ์ อาไว้ เดิมชาวลีซออาศัยในธิเบตและจีน ต่อมาได้อพยพลงมาพม่าและไทย กระจายอยู่ตามจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน พะเยา ตาก เพชรบูรณ์ ฯลฯ - การแต่งกาย เป็นหน้าท่ีของผู้หญิงเหมือนเผ่าอ่ืน มีการทอผ้าหน้าแคบด้วยก่ีเอว แต่ปัจจุบันนิยมซ้ือสําเร็จ หญิงลีซอแต่งกาย โดดเด่น ผ้าโพกหัวทรงป้านกลมตกแต่งด้วยลูกปัดและพู่หลากสี เส้ือตัวยาวสีสดใสตกแต่งด้วยริ้วผ้าเล็กๆ สลับสี สวมทับ กางเกงขายาวคร่ึงน่องสีดํา มีผ้าคาดเอวทิ้งชายด้านหลังเป็นพู่หางม้า ทําจากผ้าหลากสีเย็บเป็นไส้ไก่เล็ก จํานวนกว่า 100 เสน้ สวมสนับแข้งสีสด ในโอกาสพิเศษ หญิงจะใส่เส้ือก๊ักประดับเม็ดเงินท้ังตัว สวมทับอีกช้ัน และสวมผ้าโพกหัวท่ีมีสีสันปักประดับ งดงาม การเย็บไส้ไก่เป็นเชือกลีซอหรือหางลีซอน้ัน เป็นส่วนหน่ึงในเอกลักษณ์การแต่งกายของชาวไทยภูเขาชนเผ่าลีซอ ซ่ึงสวมใส่กันเฉพาะในโอกาสพิเศษ เช่น งานเฉลิมฉลองวันข้ึนปีใหม่ มีลักษณะเป็นเชือกผ้าสีสันสดใส ปลายท้ังสองด้าน เป็นพู่ไหมทรงกลม โดยการเย็บเชือกลีซอน้ัน ต้องเย็บหุ้มชายผ้าสีท้ังสองด้านให้ปิดผ้าขาวจนสนิท และมองไม่เห็นรอยฝี เข็ม เพ่ือให้ได้เชือกลีซอท่ีสมบูรณ์และสวยงาม จํานวนไส้ไก่ 1 มัดต้องมีมากกว่า 200 เส้น เพ่ือให้แกว่งไกวสวยงามยาม เต้นรํา การตกแต่งเคร่ืองแต่งกาย ส่วนใหญ่เน้นการประดับด้วยแถบร้ิวผ้าสลับสี ผ้าตัดปะ และปักประดับด้วยเม็ดเงิน เชน่ ท่ีคอเส้ือ ผ้าคาดเอว ขอบหมวกเด็ก และด้านข้างสายยา่ ม 33
5. Lisaw It is the hill tribe that wears the most vibrant colors, contrasting bright colors represent courage and freedom. The word “Li” means cultural custom, and “Saw” means people, therefore, it means that it is a group of people who have their traditions and are proud of their own culture. The Lisaw people are considered to be a group of freedom-loving people, who have a flexible but effective social management system, do not accept new things without selection, and do not reject different cultures without discrimination. Therefore, it is considered a group of people who have a lot of adaptability but still maintain their ethnic identity. Originally, the Lisaw people lived in Tibet and China. Later, they migrated down to Myanmar and Thailand, scattered in Chiang Rai, Chiang Mai, Mae Hong Son, Phayao, Tak, Phetchabun, etc. - Costumes It is the responsibility of women, just as it is of any other tribe. A loom is used for narrow-faced weaving. However, it is now common to buy ready-made products. Lisaw woman is prominently dressed, the obtuse-shaped turban is decorated with colorful beads and tassels, a long, brightly colored shirt decorated with small streaks of fabric in alternating colors, and worn over black half-calf trousers. There is a sash leaving the hem behind as a ponytail tassel which is made of multi-colored fabric sewn into over 100 small chicken fillings, and wear brightly colored shin pads. On special occasions, women dress in silver vests that cover their entire bodies, add another layer, and wear a colorful, embroidered turban. Sewing chicken fillings into Lisaw ropes or Lisaw tails contribute to the distinctiveness of the Thai Lisaw hill tribe dress, which is worn only on special occasions such as New Year's Eve Celebrations. It is a colorful cloth rope, with both ends being round silk tassels. When sewing the Lisaw rope, the hem of the colored fabric must be sewn on both sides to completely cover the white cloth and hide the needle stitches to create a complete and beautiful Lisaw rope. The number of 1 bundle of chicken fillings must be more than 200 strands to make a beautiful swing when dancing. Most of the costumes are decorated with stripes of alternating fabrics, patchwork, and embroidered with silver beads such as on the collar, sash, children's hat rim, and bag strap sides. 34
6. ล่าหู่ (มูเซอ) ล่าหู่อพยพมาไทยกว่า 100 ปีแล้ว นับต้ังแต่จีนเปล่ียนแปลงการปกครอง โดยอพยพมาอยู่พม่าก่อนมาไทย พูด ภาษาธเิ บต-พมา่ คล้ายอาขา่ และลีซอ อาศัยตามจังหวัดเชยี งราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน พะเยา ตาก เพชรบูรณ์ ฯลฯ ชาวมูเซอเรียกตัวเองว่าล่าหู่ แต่เรียกล่าหู่ในคําพม่าและไทย มีความหมายว่า นายพราน ซ่ึงสอดคล้องกับความ เช่ียวชาญในการล่าสัตว์ ชาวมูเซอมีวิถีชีวิตอิสระ เล้ียงสัตว์ล่าสัตว์หาอาหารไปเร่ือยๆ ไม่ชอบอยู่ใต้ปกครองใคร จึงทําให้ มีกลุ่มย่อยมากท่ีสุดในบรรดาชาวเขาท้ังหมด ในไทยมีประมาณ 7 กลุ่ม สังเกตความแตกต่างเด่นชัดได้จากเคร่ืองแต่งกาย ของผู้หญงิ ยกตัวอย่างเช่น มูเซอดําในฝาง และแม่แตง เชียงใหม่ และเขตจังหวัดเชียงราย แต่งชุดสีดํากรอมเท้า สวมผ้าถุง ยาว มูเซอแดง ในแม่อาย จ.เชียงใหม่ แม่สรวย จ.เชียงรายมีจํานวนมากท่ีสุด ใส่เส้ือตัวส้ันสีดําหรือนํ้าเงิน ตกแต่งด้วย แถบผ้าแดง สวมผ้าถงุ ยาวกรอมเท้า มูเซอเฌเล หรือล่าหู่แชแล นิยมสวมชุดคลุมยาวผ่าหน้าสีดําหรือนํ้าเงิน ตกแต่งด้วยแถบผ้าขาว มักโกนผม หน้าผากจนหมดเหมือนจีนยูนนาน สว่ นใหญอ่ ยูแ่ ม่ฮ่องสอน เชยี งใหม่ และตาก มูเซอเหลือง หรือล่าหู่ซี มี 2 กลุ่มย่อยคือ ซีบาหลา และซีบาเกียว นิยมสวมเส้ือคล้ายลีซอตัวส้ัน ใส่ผ้าถุงดําหรือ ลาย พบมากในเชียงราย สรุปกล่มุ ท่ีแต่งกายแบบมีลักษณะรว่ มกันคือ มูเซอดํากับมูเซอเฌเล / มูเซอแดงกับมูเซอเหลือง ชาวมูเซอเหลืองทอผ้าน้อยมาก ยา่ มเป็นสิง่ เดียวท่ียงั ทอเอง ตัดเยบ็ เอง เอาไว้ใสห่ มากพลู และของเล็กน้อย - การตกแต่งเคร่อื งแต่งกาย มูเซอแดง ใช้สีหลักคือดําและแดง นิยมตกแต่งด้วยสนี ํา้ เงินสด สขี าว ใช้ริ้วผ้าสลับสแี ละผ้าตัดปะ และตกแต่งด้วย เม็ดเงิน ปัจจุบันนิยมใช้ผ้าสักหลาดและผ้ากํามะหย่ีปักด้ินเงินแทน มูเซอเหลืองคล้ายมูเซอแดงคือ สีหลักคือดําและแดง ตกแต่งด้วยสีขาวบ้างเล็กน้อย มีการปักและตัดปะสร้าง ลวดลาย แตกต่างกันไปตามพ้ืนท่ี มีการใช้เม็ดเงินประดับบ้าง กลุ่มซีบาหลานิยมประดับด้วยเม็ดเงินมากกว่าสร้าง ลวดลาย ปัจจุบนั มีการใชแ้ ถบผ้าสาํ เรจ็ รูปหรือโลหะเงินเทียม อลูมิเนียม เพราะเม็ดเงินแพง มูเซอเฌเล สีหลักคือดํา ตกแต่งด้วยสีขาว แทรกด้วยแดงและนํ้าเงิน ปัจจุบันพวกท่ีอยู่แถบอมก๋อยและเวียงป่า เป้า นิยมใช้สีหลักเป็นน้ําเงินสดหรือเขียว แต่ยังตกแต่งเช่นเดิมใช้ลายริ้วผ้าสลับลายฟันปลาขนาดเล็กละเอียด ปัจจุบันมี การใช้แถบผ้าสาํ เรจ็ รูปตกแต่งท่ีชายเส้ือและแขนเส้อื มูเซอดํา เคร่ืองแต่งกายมี 2 แบบ คือ เส้ือดํายาวกรอมเท้า กับเส้ือเอวลอย ท้ังสองแบบสวมทับผ้าถุงสีดํายาว กรอมเท้า เน้นการตกแต่งชายเส้ือ เส้ือยาวจะผ่าชายถึงเอว มีการตัดปะลายเรขาคณิตตกแต่งท่ีคอเส้ือ สาบเส้ือ เน้นสี แดง ขาว และเหลือง และใช้เม็ดเงินประดับ ปัจจุบันนําแถบผ้าสําเร็จรูปมาใช้เป็นจํานวนมาก เคร่ืองแต่งกายมูเซอไม่ ค่อยเป็นท่ีนิยมของตลาด เพราะแปรรูปยาก มีความประณตี พถิ ีพถิ ันน้อยกว่ากล่มุ อ่ืน 35
6. Lahu (Muser) Lahu has been immigrating to Thailand for more than 100 years since China's change of government, having migrated to Myanmar before coming to Thailand, speaking Tibetan-Myanmar similar to Akha and Lisaw, and living in Chiang Rai, Chiang Mai, Mae Hong Son, Phayao, Tak, Phetchabun, etc. The Muser people call themselves “Lahu”, but “Lahu” in Myanmar and Thai languages mean the huntsman, which corresponds to their expertise in hunting. The Muser people lived an independent lifestyle, raising animals, and hunting for food. They do not like to be under anyone's rule, so it has the most subgroups among all the hill tribes. There are approximately seven groups in Thailand that can be distinguished by women's clothing. For example, the Black Muser in Fang and Mae Taeng, Chiang Mai, and Chiang Rai provinces dress in a black dress covering the feet and wearing a long sarong. Red Muser in Mae Ai, Chiang Mai, and Mae Sruai, Chiang Rai has the largest population. They wear short black or blue shirts, decorated with red stripes of cloth, and wear a long sarong. Shehleh Muser or Lahu Shehleh prefers to wear long robes with a black or blue face, decorated with white stripes, often shaving their forehead like Yunnan Chinese, mainly live in Mae Hong Son, Chiang Mai, and Tak. Yellow Muser or Lahu She has 2 subgroups: Shebalha and Shebagiao, who prefer to wear short Lisaw-like shirts, wear a black or striped sarong and it is found mainly in Chiang Rai. In summary, the group that is dressed in a common style is Black Muser and Muser Shehleh / Red Muser and Yellow Muser. The Yellow Muser people weave very little. The bag is the only thing that is still woven, custom- made, and put on betel nut and some small items. - Costume Decoration Red Muser: The main colors are black and red, and are decorated with bright blue and white, use alternating streaks and patchwork fabrics, and decorate them with silver beads. Nowadays, flannel and velvet embroidered with silver tinsel are used instead. Yellow Muser is similar to Red Muser. i.e., the main colors are black and red, decorated with a little white, embroidery and patchwork collages create patterns that vary depending on the area, and some ornamental silver is used. The Shebalha group prefers silver ornaments rather than patterns. Nowadays, ready-made fabric strips or artificial silver and aluminum are used because of the high cost of silver. Shehleh Muser: The main color is black, decorated with white, and inserted with red and blue. Nowadays, those in the Om Koi and Wiang Pa Pao regions prefer to use the main color as fresh blue or green but still decorated as before, using stripes and small zigzag patterns. Nowadays, decorative ready- made fabric strips are used on the hem and sleeves. Black Muser: There are 2 types of costumes: a long black shirt and a cropped shirt. Both types are worn over the long black sarong, focusing on decorating the hem. The long shirt is cut to the waist. There is a decorative geometric patchwork on the collar, mostly red, white, yellow, and use silver beads decorations. Nowadays, a large number of ready-made fabric strips are used. Muser costumes are not very popular in the market because they are difficult to process and are less meticulous than other groups. 36
7. ลัวะ เป็นกลุ่มชนพ้ืนเมือง เจ้าของถิ่นเดิมภาคเหนือ ก่อนท่ีไทยเราจะอพยพลงสู่แคว้นสุวรรณภูมิ เดิมต้ังถิ่นฐานอยู่ใน อาณาจักรล้านนาโบราณ ก่อนพญามังรายจะสร้างเมืองเชียงใหม่ คืออยู่ในเขตจังหวัดเชียงใหม่ ลําพูน ลําปาง มีธรรม เนียมคล้ายคนไทยท่ัวไป นับถือศาสนาพุทธ เม่ือขุนหลวงวิลังก๊ะ ผู้นําชาวลัวะ พ่ายแพ้ในการรบต่อพระนางจามเทวี ชาวลัวะจึงต้องหนีข้ึนไปอยู่บนเขา ห่างไกล มีแค่บางส่วนอยู่แถบแม่น้ําปิง และผสมกลมกลืนไปในวัฒนธรรมของชาวพ้ืนราบ ชาวลัวะปลูกข้าวเจ้าเป็นหลัก และเร่มิ ทํานาข้ันบันไดด้วยการเรยี นรู้จากชาวไทยพ้ืนราบ 7. Lua It is a group of indigenous peoples, original inhabitants of the north before Thailand migrated to Suvarnabhumi. Originally, it settled in the ancient Lanna Kingdom before King Mangrai built Chiang Mai city, which was in Chiang Mai, Lamphun, and Lampang provinces. There is a tradition similar to that of ordinary Thai people and is Buddhist. When King Wilangka, the leader of the Lua people, was defeated in battle against Queen Chamdhevi, the Lua people had to flee to a remote hill. There are only some parts staying along the Ping River and harmoniously in the culture of the lowland people. The Lua people mainly grow rice and start rice terraces by learning from the lowland Thais. 37
2. ผ้าไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (Northeastern Thai Fabric) กล่มุ ไทย-ลาว ชาวผไู้ ท หรือ ภไู ท Thai-Lao Group The People of Tai or Phu Thai ภาคอีสาน หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพ้ืนท่ี 18 จังหวัด ประกอบด้วย กลุ่มชนชาติพันธุ์ต่างๆ มากกว่า 20 ชาติพันธุ์ ส่วนมากเป็นกลุ่มชนชาวไทยเช้ือสายไท-ลาว หรือชนเผ่าไท-ลาว ท่ีคนไทยภาคอ่ืน ๆ มักเรียกว่าลาว เป็นกลุ่ม ชาติพันธุ์ใหญ่สุดของภาคอีสาน ภาคอีสานมีพ้ืนท่ีประมาณหน่ึงในสามของพ้ืนท่ีประเทศไทยท้ังหมด กลุ่มไท-ลาวเหล่าน้ี กระจายอยู่ท่ัวไปแทบทุกจังหวัด และสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่ม ๆ ได้ดังน้ี กลุ่มชาติพันธุ์ท่ีอยู่ในเขตจังหวัดเลย จังหวัด นครราชสีมา และจังหวัดชัยภูมิ มีความใกล้ชิดกับหลวงพระบาง กลุ่มชาติพันธุ์ในเขตจังหวัดหนองคาย จังหวัดอุดรธานี จังหวัดขอนแก่น มีความใกล้ชิดกับเวียงจันทน์ กลุ่มชาติพันธุ์ในเขตจังหวัดนครพนม จังหวัดสกลนคร และจังหวัด กาฬสินธุ์ เป็นกลุ่มผู้ไท หรือภูไท กลุ่มชาติพันธุ์ท่ีอยู่ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดยโสธร จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัด มุกดาหาร และจังหวัดมหาสารคาม โน้มเอียงไปทางจําปาสัก กลุ่มชาติพันธุ์ในบริเวณภาคอีสานมิได้มีเฉพาะคนไท -ลาว เท่าน้ัน ยังมีกลุ่มชาติพันธุ์อ่ืนๆ อีกเช่น ข่า กระโส้ กะเลิง ส่วย และเขมร โดยเฉพาะเขมร และส่วยซ่ึงกระจายกันอยู่ใน บรเิ วณจังหวัดศรสี ะเกษ จังหวัด สรุ นิ ทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ The I-San or the Northeast region has an area of 18 provinces, consisting of more than 20 different ethnic groups. Most of them are Thai people of Tai-Lao descent or Tai-Lao tribes, which other Thais are often referred to as Laos. It is the largest ethnic group in the Northeast. The I-San occupies about one-third of the total area of Thailand. These Tai-Lao groups are distributed throughout almost all provinces and can be divided into the following groups: The ethnic groups in Loei, Nakhon Ratchasima, and Chaiyaphum provinces are closely related to Luang Prabang. The ethnic groups in Nong Khai, Udon Thani, and Khon Kaen provinces are closely related to Vientiane. The ethnic groups in Nakhon Phanom, Sakon Nakhon, and Kalasin provinces are Tai or Phu Thai. Ethnic groups in Ubon Ratchathani, Yasothon, Roi Et, Mukdahan, and Maha Sarakham provinces lean towards Champasak. The ethnic groups in the Northeast are not exclusive to the Tai-Lao people. There are other ethnic groups such as Kha, Kra So, Ka Loeng, Suay, and Khmer, especially Khmer, and Suay, which are distributed in Sisaket, Surin, and Buriram provinces. 38
นอกจากกลุ่มชาติพันธุ์เช้ือสายลาว ซ่ึงมีวัฒนธรรมการทอผ้าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่ท่ีมีเอกลักษณ์ กรรมวิธี และ รูปแบบของผ้าเป็นของตนเองแล้ว ยังมีกลุ่มชาติพันธุ์ท่ีมีวัฒนธรรมการทอผ้าปรากฏมาจนถึงปัจจุบันอีกสองกลุ่มคือ กล่มุ ผู้ไท และกลุ่มชนเช้อื สายเขมร กล่มุ ผู้ไท ท้ังผู้ไทดํา ผู้ไทขาว และผู้ไทแดงเคยอยูใ่ นดินแดนล้านชา้ งทางฝ่ ังซ้ายแมน่ าํ้ โขงด้วยกัน ก่อนอพยพเข้าสู่ภาคอีสานในสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 3 (พ.ศ. 2367 - 2394) แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นชนกลุ่มน้อยในภาคอีสานท่ีมีลักษณะพิเศษคือ ชอบอยู่เป็นกลุ่มอย่างโดดเด่ียวเป็นอิสระใน กลุ่มของตนเอง แต่เม่ืออยู่ร่วมกันมาก่อนเป็นเวลานานจึงมีการผสมผสานทางวัฒนธรรม ประเพณี และความเช่ือ บางอย่างกับพวกกลุ่มลาวอยู่ไม่น้อย เม่ือเข้ามาอยู่ใน ภาคอีสานแล้วก็มีการอพยพเคล่ือนย้ายกระจัดกระจายกันอยู่ ตามท่ีราบเชิงเขา และบนเขาในเขตจังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดสกลนคร จังหวัดกาฬสินธุ์ ชนกลุ่มน้ีมี วัฒนธรรมในการทอผ้าท่ีค่อนข้างเด่น ท้ังด้านสีสัน และเทคนิควิธีการทอ กลุ่มเขมร หรือกลุ่มคนไทยเช้ือสายเขมรเป็น ชนกลุ่มน้อยอีกกลุ่มหน่ึงต้ังถ่ินฐานท่ีกระจายอยู่ทางแถบจังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีษะเกษ และจังหวัดบุรีรัมย์ หรืออีสาน ใต้ ชนกลุ่มน้ีอพยพมาจากราชอาณาจักรกัมพูชา เม่ือประมาณพุทธศตวรรษท่ี 22–23 ไล่เล่ียกันกับพวกส่วย (กวยหรือ กุย) ปัจจุบัน หลายหมูบ่ า้ น มีท้ังลาว เขมร และสว่ ยอยูร่ ว่ มกัน แต่ละกลุ่มมีการทอผ้าท่ีเป็นลักษณะพิเศษเป็นของตนเอง In addition to the Lao ethnic group, which has a large weaving culture that has its unique methods and patterns of fabrics, there are also two ethnic groups whose weaving culture has appeared to the present day: Phu Tai people and people of Khmer descent. The Tai people, including the Black Tai, the White Tai, and the Red Tai, used to live in the Land of Lan Charng on the left bank of the Mekong River together before migrating to the Northeast region during the reign of King Jessadabodindra Phra Nangklao Chao Yu Hua (Rama III) of Rattanakosin era (1824 - 1851). It is a minority in the Northeast that is characterized by the fact that they prefer to live as a group in isolation and have freedom in their group. However, having lived together for a long time, there is quite a bit of a mix of cultures, traditions, and beliefs among the Lao people. Once scattered in the Northeast, there are evacuations scattered along the foothills and on the hills in Nakhon Phanom, Mukdahan, Sakon Nakhon, and Kalasin provinces. This group has a fairly distinctive weaving culture in terms of color and weaving techniques. The Khmer group, or Thai people of Khmer descent, is another minority group of settlements scattered throughout Surin, Si Saket, and Buriram provinces or South I-San. These people migrated from the Kingdom of Cambodia around the 22nd –23rd centuries about the same as Suay (Guay or Gui). Nowadays, many villages are Lao, Khmer, and Suay staying together. Each group has its unique weaving. I-San people generally have a subsistence agriculture society. Most of them have a main occupation of farming, which takes about 7–9 months from planting to harvest each year throughout the rainy and winter seasons. The summer free time is about 3–5 months, I-San people will do everything they can to prepare their daily necessities and tools, including philanthropy, traditions, and recreation on various occasions. It is a cycle of living that circulates like this each year. Leisure time from work in the fields, women will weave, and men will basketry. It is a statement that reflects the conditions of living and the I- San community. Therefore, weaving is an important task for women. The woven fabrics are used as garments, such as shirts, sarongs (skirts), Song (trousers), loincloths, shawls, bedding, pillows, mosquito nets, and blankets, and utensils to be offered to the monks in various traditional ceremonies, such as mattresses, pillows, scroll wraps, prostration cloths, Pha Wet cloths, etc. 39
โดยท่ัวไป ชาวอีสานมีสังคมแบบเกษตรกรรมเพ่ือยังชีพ ส่วนใหญ่มีอาชีพหลัก คือการทํานา ซ่ึงต้องใช้เวลา ต้ังแต่เพาะปลูกจนกระท่ังเก็บเก่ียวประมาณ 7 – 9 เดือน ในแต่ละปีตลอดฤดูฝนและฤดูหนา สว่ นเวลาในชว่ งฤดูร้อน ประมาณ 3 – 5 เดือนท่ีว่าง ชาวอีสานจะทํางานทุกอย่างเพ่ือเตรียมอุปกรณ์ และเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ในชีวิตประจําวัน รวมท้ังการทําบุญ ประเพณี และการพักผ่อนหย่อนใจตามโอกาสต่าง ๆ เป็นวงจรของการดํารงชีพท่ีหมุนเวียนเช่นน้ีใน แต่ละปี ยามว่างจากงานในนาผู้หญิงทอผ้า ผู้ชายจักสาน เป็นคํากล่าวท่ีสะท้อนให้เห็นสภาพการดํารงชีวิต และสังคม ของชาวอีสาน ดังน้ันการทอผ้าจึงเป็นงานสําคัญของผู้หญิงผ้าท่ีทอจะใช้เป็นเคร่ืองนุ่งห่ม ได้แก่ เส้ือ ซิ่น (ผ้านุ่ง) ซ่ง (กางเกง) โสร่ง ผ้าขาวม้า ผ้าคลุมไหล่ เคร่ืองนอน หมอน มุ้ง ผ้าห่ม และเคร่ืองใช้ท่ีจะถวายพระในงานบุญประเพณีต่างๆ เช่น ท่ีนอน หมอน ผ้าห่อคัมภีร์ ผ้ากราบ ผ้าผะเหวด เป็นต้น กระบวนการทอผ้าเริ่มต้ังแต่การเล้ียงไหม ปลูกหม่อน ปลูก ฝ้ายสาํ หรับทอผ้า เรม่ิ ลงมือทอผ้า ซ่ึงมีประเพณอี ยา่ งหน่ึงเรยี กว่า ลงขว่ ง การทอผ้าท่ีสําคัญของชาวอีสาน คือ การทอผ้า เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองนุ่งห่ม และเคร่ืองใช้ใน ครัวเรือน ผ้าซ่ินของกลุ่มไท-ลาวนิยมใช้ลายขนานกับลําตัวต่างกับซ่ินล้านนาท่ี นิยมลายขวางลําตัว และนุ่งยาวกรอมเท้า ชาวไท-ลาวอีสานนิยมนุ่งสูงระดับเข่า หรือเหนือเข่า การต่อหัวซิ่นและตีนซิ่น ถ้าเป็นซิ่นไหมจะต่อตีนซิ่นด้วยไหม แต่ถ้าเป็นซิ่นฝ้ายจะต่อด้วยฝ้าย ตีนซิ่นจะมีขนาดแคบๆ ไม่นิยมเชิงใหญ่ หัวซ่ินนิยม ต่อด้วยผ้าไหมชิ้นเดียวทอขิดเป็นลายโบกควํ่า และโบกหงาย ใช้สีขาว หรือสีแดงเป็นพ้ืน ใช้ได้ท้ังกับผ้าซ่ินไหมหรือซิ่น ฝ้าย การต่อตะเข็บ และลักษณะการนุ่งจะมีลักษณะเฉพาะแตกต่างไปจากภาคอ่ืนคือ การนุ่งซ่ินจะนุ่งป้ายหน้าเก็บซ่อน ตะเข็บเวลานุ่งตะเข็บหน่ึงอยูข่ ้างหลังสะโพกต่างกับการนุ่งซิ่นของชาวล้านนา หรือชาวไทยยวนท่ีนิยมนุ่งผ้าลายขวางท่ีมี สองตะเข็บเวลานุ่ง จึงมีตะเข็บหน่ีงอยู่ข้างหลังสะโพก ไม่เหมือนกับซ่ินของชาวลาว ซ่ึงซ่อนตะเข็บไว้ด้านหน้าจนไม่เห็น ตะเขบ็ สิง่ เหล่าน้ีเป็นค่านิยมท่ีเป็นประเพณีต่อกันมาแต่อดีต The weaving process begins with silk farming, mulberry cultivation, cotton for weaving, and fabric weaving, which has a tradition called Long Khuang. The main weaving of the I-San people is weaving for use as garments and household appliances. The Tai-Lao group's sarongs are commonly used in parallel motifs to the body, as opposed to the Lanna sarongs, which prefer transverse patterns and long patterns. Tai-Lao I-San people prefer knee-high or above-knee heights. To stitch the sarong buckle and teen sarong, if it is a silk sarong, the teen sarong will be stitched with silk, on the other hand, if it is a cotton sarong, it will be stitched with cotton. The teen sarongs are narrow in size, not large. The buckle is stitched with a single piece of silk cloth woven with Khid in Bok Kwam and Bok Ngai pattern, using white or red as a background and applicable for the silk and cotton sarong. The seaming and garment characteristics are different from other regions in that the garments are tied in front of the seams. When one seam is behind hips, unlike the Lanna or Tai Yuan people, who prefer to wear a cross-striped fabric with two seams, so when wearing it, there is a seam behind the hips, unlike the Lao sarong, which hides the seams in front of them until they cannot see the seams. These are values that have been traditions from the past. ผ้าทอพ้นื บา้ นอีสานท่ีรูจ้ ักกันดี และทํากันมาแต่โบราณน้ันมี 2 ชนิด คือ ผ้าท่ีทอจากเสน้ ใยฝ้าย และไหม ผ้า พ้นื บ้านของกลุ่มอีสานไท-ลาว ผู้ไท เขมร ท่ีรู้จักกันท่ัวไป อาทิ Two types of I-San folk woven fabrics are well-known and traditionally made: cotton and silk. The traditional fabrics of the Tai-Lao I-San group, Phu-Tai, and the Khmer people, are commonly known as: 40
1.) ผ้าโฮล เป็นผ้าไหมมัดหม่ีของกลุ่มชาติพันธุ์ไทยเช้ือสายเขมรในจังหวัดสุรินทร์ ผ้ามัดหม่ีโฮลถือเป็นลายเอกลักษณ์ ของลายผ้า ไหมมัดหม่ีจังหวัดสุรินทร์ “โฮล” เป็นคําในภาษาเขมรเป็นช่ือเรียกกรรมวิธีการผลิตผ้าไหมประเภทหน่ึงท่ีสร้าง ลวดลาย ข้ึนมาจากกระบวนการมัดย้อมเส้นไหมให้เกิดสีสันและลวดลายต่างๆ ก่อน แล้วนํามาทอเป็นผืนผ้า ซ่ึงตรงกับคําว่า “ผ้า ปูม” ในภาษาไทย “มัดหม่ี” ในภาษาลาว และคําว่า IKAT (อิ-กัด) ซ่ึงเป็นภาษาอินโดนีเซีย-มาลายู แต่ชาวตะวันตกมัก รู้จักผ้ามัดหม่ีของมาเลย์-อินโดนีเซีย และเรียก IKAT ตามไปด้วย คําว่า “โฮล” ในภาษาเขมรสุรินทร์สมัยหลังคําจํากัด ความของคําว่า “โฮล” ได้มีความหมายแคบลงมาอีก ใช้เรียกเฉพาะเจาะจงถึงผ้านุ่งท่ีสร้างจากกระบวนการมัดย้อมเส้น พุ่ง แล้วนํามาทอให้เกิดลวดลายต่างๆ แบบผ้าปูมของขุนนางในราชสํานักสยาม มีกรอบมีเชิงสําหรับบุรุษให้นุ่ง เรียกว่า “โฮลเปราะห์” และสตรีใช้นุ่งทอเปลงเป็นลายริว้ เรยี กว่า “โฮลแสรย็ ” ปัจจุบันน้ี โฮลเปราะห์ (โฮลสําหรับผู้ชายนุ่ง) แทบหาตัวคนผลิตไม่ได้ และไม่เป็นท่ีรู้จักกันในวงกว้างอีกต่อไป คําว่า “โฮล” ในปัจจุบันแทบจะมีความหมายตกไปอยู่ท่ีโฮลแสร็ย (โฮลสตรี) เกือบท้ังหมดเพราะฉะน้ันคําว่า “โฮล” โดดๆ ใน ภาษาเขมรสุรินทร์ปัจจุบันจึงมีความหมายเจาะจงอยู่ในแค่ผ้าโฮลลายริ้วท่ีสตรีใช้นุ่งเท่าน้ัน คําเรียกผ้าโฮลสตรี ชนิด เดียวกันน้ีใน ภาษาเขมรสรุ ินทรไ์ ด้เรยี กปลีกยอ่ ยออกไปอีกหลายอยา่ ง เชน่ โฮลปันเต๊ือด (บรรทัด) โฮลปะนะ โฮลอันลูย ผ้าโฮลเป็นผ้าท่ีมีคุณภาพดีมาก เพราะการทอผ้าชนิดน้ีใช้เส้นไหมน้อย (ส่วนในสุดของเส้นไหม) ในการทอทําให้เป็นผ้า ไหมมัดหม่ีเน้ือแน่นเส้นไหมเล็กละเอียด เน้ือผ้าจะบางเบา เน้ือแน่นเนียน อ่อนนุ่ม ลวดลายสีสันเป็นแบบฉบับของชาว สรุ นิ ทร์ ซ่ึงได้รบั อิทธพิ ลวัฒนธรรมจากศิลปะของเขมร 1. Hol Fabric It is an Ikat (Mud Mii) silk of the Thai-Khmer ethnic group in Surin Province. Ikat Hole fabric is considered to be the unique pattern of Ikat silk in Surin Province. \"Hol\" is a Khmer word for a type of silk production that creates patterns by tying silk threads to create colors and patterns first and then weaving them into fabrics. This corresponds to the Thai word “Poom fabric”, the Laos word “Mud Mii”, and the word IKAT (ˈiː.kæt), which is the language of Indonesia-Malaya. However, Westerners often know the Malay-Indonesian Mud Mii fabric and call it IKAT accordingly. The word \"Hol\" in the later Khmer-Surin language has narrowed down the definition of \"Hol\" further. It is specifically used to refer to garments created from the tie-dyeing weft process and then woven to create patterns like the Poom fabric of the nobleman of the Court of Siam. There is a frame and pattern for men to wear, called \"Hol Proh”, and women wear the striped pattern, called “Holsei”. Nowadays, Hol Proh (Hol fabric for men’s wear) is hardly available for production and is no longer widely known. The word \"Hol\" nowadays almost refers to Holsei (Holstri). Hence, the word \"Hol\" in the current Khmer-Surin language has a specific meaning in only the striped-pattern Hol fabric used by women. The term for the same Holstri cloth in the Khmer-Surin language has been referred to in many subtleties, such as Hol Pantuet (Bunthad), Hol Pana, and Hol Anlui. Hol fabric is a very good quality fabric because this type of weaving uses less silk (the innermost part of the silk) to weave, making Ikat silk tight, and light with fine silk, and the texture is firm, smooth, and soft. The colorful patterns are typical of the Surin people, which are culturally influenced by Khmer art. 41
ผา้ โฮลเปราะห์ Hol Proh Cloth ผา้ โฮลสะไรย์ Holsei Cloth 42
2. ผ้าหางกระรอก เป็นผ้าทอโบราณท่ีมีลักษณะลวดลายเรียบง่าย แต่แฝงด้วยความประณีตและงดงาม โดยใช้เทคนิค การทอผ้าท่ีเป็น เอกลักษณ์ของชนเผ่าไทคือ \"การควบเส้น\" หรือคนไทยเรียกว่า \"ผ้าหางกระรอก\" ผ้าหางกระรอกถือเป็นผ้าโบราณท่ีพบ มากในแถบอีสานใต้ คือ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดจังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดอุบลราชธานี และพบในภาคใต้ท่ีจังหวัดนครศรีธรรมราช 2. Squirrel Tail Fabric It is an ancient woven fabric with simple patterns but with refinement and beauty, using a unique weaving technique of the Tai tribe, which is “Doubling”, or the Thai people call it \"Pha Hangkrarok”. Squirrel tail fabric is an ancient fabric found in the southeastern region of Nakhon Ratchasima, Buriram, Surin, Sisaket, and Ubon Ratchathani provinces, and found in the south at Nakhon Si Thammarat province. จังหวัดนครราชสีมา ได้ช่ือว่าเป็นแหล่งทอผ้าหางกระรอก ท่ีสามารถทอผ้าได้งดงามท่ีสุดแห่งหน่ึง ซ่ึงลักษณะสําคัญของ ผ้าหางกระรอกคือ เป็นผ้าพ้ืนเรียบท่ีใช้เทคนิคการทอพิเศษ ท่ีนําเส้นพุ่งพิเศษโดยใช้เส้นไหม หรือเส้น ฝ้าย 2 เส้น 2 สี มาตีเกลียวควบเข้าด้วยกันให้เป็นเส้นเดียว ท่ีเรียกว่าเส้นลูกลาย หรือไหมลูกลาย หรือเส้นหางกระรอก ใช้อุปกรณ์ในการ ตี คือ ไน และโบก ต้องอาศัยทักษะความชํานาญของผู้ตีเกลียวท่ีจะทําให้ได้เกลียวถ่ี หรือเกลียวห่างตามต้องการ ส่วน เส้นไหมท่ีจะนํามาตีเกลียวน้ันควรเป็นเส้นไหมน้อยท่ีคัดเป็นพิเศษให้ได้เส้นไหมท่ีสม่ําเสมอกัน จากน้ันจึงนําไปเป็นเส้น พุ่งทอผ้า และผ้าท่ีได้จะมีลักษณะลวดลายเล็กๆ ในตัวมีสีเหลือบมันวาวระยับดูคล้ายเส้นขนของหางกระรอก คร้ังหน่ึง ผ้าหางกระรอกเคยเป็นผ้าประจําจังหวัดนครราชสีมา ตามคําขวัญเดิมของจังหวัดท่ีว่า \"นกเขาคารม อ้อยคันร่ม ส้มข้ีม้า ผ้าหางกระรอก ดอกสายทอง แมวสีสวาท\" เพราะโคราชมีการทอผ้าหางกระรอกมานานกว่าร้อยปี Nakhon Ratchasima is well-known for being one of the most beautiful squirrel-tailed weaving locations. The main characteristic of squirrel tail fabric is that it is a flat fabric that uses a special weaving technique of the special weft by using 2 silk or cotton strands of 2 colors to be threaded together into a single strand, called Look Lai thread or Look Lai silk or Squirrel Tail thread. The equipment for beating silk is Nai (a spinning wheel), and Bok (a rolling silk equipment). The threader's expertise is required to determine the frequency of the thread or the screw distancing as needed. To obtain uniform silk threads, the silk threads that will be twisted should be specially selected thin silk threads. It is then woven into weft weaving lines, and the resulting fabric will have a small pattern with a glossy color that resembles the hairs of a squirrel's tail. Squirrel tail fabric was once the fabric of Nakhon Ratchasima Province, according to the original motto of the province: “Eloquent birds, Umbrella cane, Khi Ma orange, Squirrel Tail fabric, Golden Grass flower, Korat cat” because Korat has been weaving squirrel tails for more than a hundred years. 43
จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ ชาวกูยนิยมใช้ และทอผ้าไหมควบ สตรีชาวกูยมีความชํานาญในการตีเกลียวเส้นไหม เรียกว่าละวี หรือระวี ตามความเช่ือเร่ืองความกลมเกลียวสามัคคีกันในครอบครัวและสายตระกูลท่ีนับถือผีด้วยกัน การ นําไหมสองสีมาควบกันเรียกว่า “กะนีว” หรือ “ผ้าหางกระรอก” เม่ือนํามาใช้เป็นเส้นพุ่งทอกับเส้นยืน สีพ้ืนจะทําให้เกิด ลายเหล่ือมกันเป็นสีเหลืองคล้ายหางกระรอก ลักษณะของผ้ากะนีวน้ี ผิวสัมผัสจะมีความมันระยิบระยับ เม่ือนําไปส่อง กับแดดจะแยกสีได้ชัดเจน ผู้ชายไทยกูย นิยมนุ่งผ้าไหมควบ (หะจิกกะน้อบ) สําหรับนุ่งโจงกระเบน ช่ือท่ีเรียกว่า \"ผ้าหางกระรอก\" อาจเป็นเพราะลวดลายของผ้าทอท่ีมีลักษณะเน้ือผ้าท่ีมีความเหลือบสี เห็นเป็นลายเส้นเล็กๆ ในตัวซ่ึง มองดูแล้วคล้ายกับขนของหางกระรอก จึงเป็นท่ีมาของช่ือเรียกดังกล่าว นอกจากน้ี ช่ือเรียกผ้าชนิดน้ีจะแตกต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่น ตามรูปลักษณ์ท่ีมุ่งเน้น เช่น บางพ้ืนท่ีเรียกว่า ผ้าวา ผ้ายาว เป็นการเรียกตามลักษณะความยาวของผืน ผ้าท่ียาวกว่าผ้าถุงเท่าตัว บางพ้ืนท่ีเรียกว่าผ้าควบ เพราะถือเอาวิธกี ารทอแบบตีเกลียวควบมาใช้เป็นช่ือเรียก แต่คนส่วน ใหญน่ ิยมเรยี กว่าผ้าหางกระรอกมากกว่า In Surin and Buriram provinces, the Gui people use and weave silk by hand. Gui women are skilled at threading silk threads, which are referred to as Lavi or Ravi depending on the family's belief in harmony and the family line that worships ghosts together. The combination of two colors of silk is called \"Ka Niew\" or \"Squirrel tail cloth\". When using a weft thread woven with a warp thread, the ground color produces a yellow overlapping pattern resembling a squirrel's tail. The appearance and texture of this Ka Niew cloth are glittering, when exposed to the sun, the color is separated. Thai Gui men prefer to wear a hand-woven silk blend (Hajikkanob) loincloth. The so-called \"squirrel-tailed fabric\" may be due to a woven fabric pattern with a glimpse of color. The name comes from a small stripe on the body that resembles the feathers on a squirrel's tail. In addition, the name of this fabric varies from local to local, depending on the focused appearance, such as some areas are called Wa fabric, and Yao fabric. It is called by the length of the fabric which is twice as long as the sarong. Some areas are called Gallop fabrics because it takes the twisted weaving method to be used as a name but most people prefer to call it squirrel tail cloth. ผา้ หางกระรอก Squirrel Tail Fabric 44
3. ผ้าอัมปรม เป็นผ้ามัดหม่ีสองทาง คือ มีการมัดย้อมท้ังเส้นพุ่งและเส้นยืน แตกต่างจากผ้ามัดหม่ีท่ัวไปของประเทศ ไทยท่ีส่วนใหญ่ เป็นมัดหม่ีเฉพาะเส้นพุ่ง ผ้าอัมปรมเป็นผ้ามัดหม่ีของกลุ่มชาวไทยเช้ือสายเขมรในบริเวณอีสานใต้ ได้แก่ บริเวณจังหวัด สุรินทร์ จังหวัดบุรรี มั ย์ การทอผ้าแบบน้ีมีเพยี งแห่งเดียวในประเทศไทย ตามปกติผ้าไหมมัดหม่ีในประเทศไทยจะเป็นการ มัดเฉพาะเสน้ พงุ่ 3. Amprom Fabric It is a two-way Ikat fabric, i.e., it has both weft and warp tie-dyes, unlike the typical Ikat fabric of Thailand, which is mainly an Ikat weft only. Amprom is an Ikat fabric made by the Khmer-Thai people specifically in the southeastern region of Surin and Buriram provinces. This type of weaving is the only one in Thailand. Ikat silk in Thailand is usually tied only to the weft thread. ส่วนประเทศท่ีมีการมัดหม่ีท้ังเส้นพุ่ง และเส้นยืนมีอยู่เพียง 4 ประเทศเท่าน้ัน คือ แกรซังของสาธารณรัฐประชาชนจีน ปโตลาของสาธารณรัฐอินเดียตอนเหนือ บาหลีของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย และประเทศญ่ีปุ่น แต่ในจังหวัดสุรินทร์ มีการ มัดหม่ีท้ังเส้นพุ่งและเส้นยืน คือ อัมปรม ทําให้เช่ือว่าศิลปะการทอผ้าไหมมัดหม่ีชนิดแรกท่ีเกิดข้ึนน่าจะเป็นอัมปรมน้ีเอง ซ่ึงน่าจะเกิดข้ึนคร้ังแรกพร้อมๆ กับการแผ่ขยายทางศาสนาฮินดู เม่ือสมัย 2,000 ปี มาแล้ว ผ้าอัมปรมนับเป็นผ้าท่ีชาว สุรินทร์ภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่ง และเป็นเอกลักษณ์ของผ้ามัดหม่ีสุรินทร์โดยแท้ อีกท้ังยังเป็นลายผ้าท่ีสืบทอดมาจาก บรรพบุรุษเป็นมรดกตกทอดมาหลายช่ัวอายุคน There are only 4 countries that have Ikat tie-dyes for both warps and weft, namely the Grasang of the People's Republic of China, Patola of the Republic of Northern India, Bali of the Republic of Indonesia, and Japan. However, in Surin province, there is a tie-dye of warp and weft, namely Amprom, leading to the belief that the first art of weaving Ikat silk was most likely this Amprom itself. This was probably the first time the spread of Hinduism 2,000 years ago. Amprom is a fabric that Surin people are extremely proud of, and it is truly unique to Surin Ikat fabric. It is also a fabric that has been passed down from ancestors for generations. ผา้ อัมปรม Amprom Fabric 45
4. ผ้าละเบิก จังหวัดสุรินทร์ประกอบไปด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ท่ีหลากหลาย แต่ท่ีมีความเก่ียวข้องกับลวดลายผ้าน้ันมี สําคัญอยู่ 3 ชาติ พันธุ์ คือชาติพันธุ์เขมร กูย และลาว ซ่ึงแต่ละชาติพันธุ์จะมีเอกลักษณ์ของลวดลายบนพ้ืนผ้าแตกต่างกันออกไป ผ้าไหม ในจังหวัดสุรินทร์มีท้ังผ้าไหมลายมัดหม่ี ลายยกดอก ลายขิด ลายโครงสร้าง ลายพ้ืน หรือเทคนิคการสร้างลวดลายแบบ ผสมโดยนําเทคนิคของผ้าลายมัดหม่ีมาทอยกดอก คนไทยเช้ือสายเขมรนิยมใช้ผ้าไหม ซ่ึงเป็นลายท่ีมีเอกลักษณ์ของกลุ่ม ชน มีรูปแบบลายผ้าท่ีเรียบง่าย สีสันสวยงาม มีการทอสืบทอดกันมาต้ังแต่โบราณ ผ้าละเบิกเป็นผ้านุ่งพ้ืนเมืองประเภท ยกดอกลายตารางส่ีเหล่ียม ใช้เส้นยืนหลายๆ สี สีละ 2-4 เส้นเรียงสลับกันไปตามหน้ากว้างของผืนผ้า ทอ 4 ตะกอ โดย ยกทีละ 2 ตะกอ ลักษณะผ้าเหมือนมีช่องส่ีเหล่ียมเป็นช่วงๆ ดูเผินๆ จะเห็นเป็นลายตาราง ดูใกล้ๆ จะเห็นเป็นลายยกใน เน้ือผ้า 4. La Berk Cloth Surin province consists of a variety of ethnic groups, but there are 3 main ethnicities associated with the fabric pattern: Khmer, Kui, and Lao people. Each ethnicity has its unique patterns on the fabric. Silk fabrics in Surin province include Ikat silk, brocade pattern, Khid pattern, structure pattern, plain color pattern, or mixed pattern creation techniques using the technique of Ikat fabric to weave brocade patterns. Thai- Khmer descent prefer silk, which is a unique pattern of the ethnic group. It has a simple pattern of fabric, beautiful colors, and weaving that has been passed down since ancient times. The La Berk Cloth is a traditional garment of the square pattern brocade type, using a warp of many colors, 2-4 of each color arranged alternately along the width of the fabric, woven into 4 heddles by lifting 2 heddles at a time. The fabric looks like it has intermittent squares, when looking closely, one can be seen an embossed pattern in the fabric. ผา้ ละเบกิ 46
5. ผ้าซิ่นทิว เป็นผ้าซ่ินลายขวางลําตัว ลายขวางมีจังหวะสมํ่าเสมอเป็นช่วงๆ ลายผ้าเกิดจากเส้นยืนหรือเส้นเครือ ซ่ึงเรียกว่า ลายทาง เครือ และมีเส้นตําหรือเส้นพุ่ง หรือเส้นทอเป็นหลักสําคัญ โดยมากซ่ินทิวจะมีความสูงของซิ่นมากกว่าแบบอ่ืนๆ จึงทํา ต้องไม่ให้ต่อหัวซ่ินและตีนซิ่นเหมือนซิ่นท่ัวๆ ไป ซิ่นทิวเป็นผ้าทอเอกลักษณ์อย่างหน่ึงของคนไทยอีสาน ตอนล่างของ ประเทศไทย มีวิธีการสร้างลายผ้าไหมด้วยวิธีการแบบโบราณ การทอผ้าไหม ได้สืบต่อกันมาแต่คร้ังบรรพบุรุษ ซิ่นทิวน้ัน ถือว่าเป็นผ้าไหมมงคลจะใช้ในพิธีแต่งงาน เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองสมมา (ขอขมา) แก่ญาติฝ่ายชาย เพราะซิ่นทิวจะถูกจัดเป็น ผ้าไหมพิเศษ คือเอาไปขอขมาผีทางฝ่ายแม่ผู้ชาย (ข้ึนผี) โดยสิ่งท่ีจะนําไปข้ึนผีของคนไทยอีสานน้ันคือ ซิ่นทิว ดอกไม้ ธูปเทียน ขัน 5 ขัน 8 ตามแต่ความเช่ือของคนในหมู่บ้าน ผู้ใช้ผ้าซิ่นทิวมักอยู่ในวัยกลางคนข้ึนไปไม่นิยมในกลุ่มหนุ่มสาว ถือกันว่าซิ่นทิวเป็นผ้าซิ่นผู้เฒ่า ปัจจุบันไม่นิยมทอเพราะข้ันตอนการผลิตยุ่งยากมาก ผู้สูงอายุยังใช้ซ่ินทิวกันอยู่แต่ไม่ มาก นักต่อมาช่างทอผ้าบางคนได้นําเทคนิคใหม่ๆ เข้ามาสอดแทรก คือการมัดหม่ีมาทอเป็นทางพุ่งเพ่ือเป็นการ ผสมผสานกับเทคนิคผ้าซิน่ ทิวด้วย กลายเป็นวิวัฒนาการอีกข้ันหน่ึงของผ้าซิน่ ทิว 5.Thew Sarong Fabric It is a striped sarong across the body. The transverse stripes have a uniform rhythm at intervals. A pattern is formed from a warp or network line, which is called a chain stripe pattern. There is a weft or woven line as the main principle. Most of the time, Thew Sarong has a higher height than other types, so it must not be connected to the sarong buckle and Teen sarong like the usual sarong. Thew Sarong is one of the unique woven fabrics of the Lower Thai-I-San people of Thailand. There is an ancient way of creating silk patterns. Silk weaving has been passed down from ancestral times. Thew Sarong is considered to be an auspicious silk cloth to be used in wedding ceremonies to be used as a Sommama garment (Apologize) to male relatives because Thew Sarong will be classified as a special silk, that is, take it to ask for forgiveness from the ghosts on the groom's mother (Ghost ascending). The thing that will lead to the worship of the ghosts of Thai-I- San is Thew Sarong, flowers, incense sticks, candles, 5 bowls, and 8 bowls according to the beliefs of the people in the village. People who use Thew sarongs are usually middle-aged and above and are not popular among young people. It is considered that Thew Sarong is an elder sarong. Nowadays, it is not popular to weave because the production process is very complicated. The elderly still uses it, but not much. Later, some weavers introduced new techniques, i.e., the use of Ikat fabric to be woven in a weft as a combination of the Thew sarong technique, so it became a new evolution of sarongs. ซิ่นทิวมีการทําด้วยเส้นไหมหรือเส้นฝ้าย บางคร้ังเส้นยืนเป็นเส้นไหมแต่ใช้เส้นฝ้ายทอเป็นเส้นพุ่งซ่ินทิวมีเอกลักษณ์เป็น ของตัวเองเน่ืองจากเป็นผ้าซ่ินลายขวางทางยืนท่ีมีช่วงลายสม่ําเสมอเป็นช่วงๆ โดยผู้ทอผ้าซ่ินทิวจะต้องมีความจําอย่าง แม่นยําในการนับเส้นไหมตามแบบลายผ้าซ่ินทิว ลายของผ้าซิ่นทิวจะมี 3 สีรวมมัดหม่ีเป็นสีท่ี 4 เท่าน้ัน เช่นสีแดงได้จาก คร่ัง สีดําได้จากมะเกลือ สีเขียวได้จากใบสมอ จุดเด่นของผ้าซ่ินทิว คือ ลายขวางหรือมัดหม่ีเป็นจุดหรือช่วงส้ันๆ มองเห็น เป็นจุดเด่นและการเหลือบสธี รรมชาติของเสน้ ไหม Thew sarong is made of silk or cotton. Sometimes the warp is silk threads, but cotton threads are woven into the weft. Thew sarong has its uniqueness because it is a standing cross-striped sarong with intermittent stripes, and Thew sarong weavers must have an accurate memory of counting silk threads according to the Thew sarong pattern. The pattern of the Thew sarong will have 3 colors, including the 4th color of the Ikat pattern, red from lac, black from ebony, and green from Myrobalan leave. The highlight of the Thew sarong is the transverse pattern or Ikat pattern in spots or small slots, visible as a highlight and a glimpse of the natural color of the silk. 47
ผา้ ซ่นิ ทิว Thew Sarong Fabric 48
6. ผ้าไหมลายสาเกต สาเกตนคร เป็นช่ือในอดีตของเมืองร้อยเอ็ด ซ่ึงต้ังอยู่ก่ึงกลางของภาคอีสานมานานกว่า 200 ปี ซ่ึงมีความอุดมสมบูรณ์ และเจริญรุ่งเรืองมากในยุคน้ันมีผู้คนเข้ามาต้ังบ้านเรือนอาศัยอยู่มาก มีประตูเข้าเมือง 11 ประตู และมีเมืองข้ึน 11 เมือง ท่ีสําคัญมีลุ่มแม่น้ําไหลผ่านหลายสาย เช่น แม่นํ้าชี แม่นํ้ายัง ลํานํ้าเสียว ลํานํ้าพลับเพลา ลํานํ้าเตา และแม่น้ํามูลยัง ครอบคลุมพ้ืนท่ีทางตอนใต้ของจังหวัดอีกด้วย จึงเป็นสาเหตุท่ีทําให้พ้ืนดินของเมืองร้อยเอ็ดมีความชุ่มช่ืน อุดมสมบูรณ์ เหมาะต่อการเพาะปลูกหรือการกสิกรรม อาชีพประชากรส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพทํานาเป็นอาชีพหลัก ปลูกหม่อน เล้ียงไหมเป็นอาชีพเสริม มีการสืบทอดวัฒนธรรมการทอผ้ามาจากบรรพบุรุษในอดีตจนถึงปัจจุบัน กลุ่มชาติพันธุท์ ่ีอยู่ใน จังหวัดร้อยเอ็ด ประกอบด้วยชน 5 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่มไทยอีสาน กลุ่มไทย-ลาว กลุ่มไทยเขมร กลุ่มไทย-ส่วย และ กลุ่ม ภูไท 6.Saket Pattern Silk Saket Nakhon is the former name of the city of Roi Et. It has been located in the middle of the Northeast for more than 200 years. It is very prosperous and abundant. In that era, people came to set up a lot of houses. There were 11 gates and 11 colonies. Importantly, there are many river basins flowing through it, such as the Chi River, Yang River, Siao River, Phlap Phlao River, Tao River, and Moon River. It also covers the southern part of the province. This is why Roi Et's land is moist, fertile, and suitable for cultivation or agriculture. Farming is the main occupation of most of the population, and mulberry and silk farming are complementary occupations. The weaving culture has been passed down from ancestors in the past to the present. The ethnic groups in Roi Et province consist of 5 main ethnic groups: Thai-I-San group, Thai-Lao group, Thai-Khmer group, Thai-Suay Group, and Phu-Tai Group. ผา้ ไหมมดั หมลี่ ายสาเกต Ikat Silk with Saket Pattern 49
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 484
Pages: