Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การฟังและการพูด

การฟังและการพูด

Published by Education, 2022-01-18 15:05:18

Description: การฟังและการพูด

Keywords: การฟังและการพูด

Search

Read the Text Version

การฟังและการพูด 1551101 ฟ้ า แคมเบล คณะครุศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ศรสี ะเกษ 2564

บทที่ 1 English Pronunciation การออกเสยี งภาษาองั กฤษ

1.1 English Pronunciation การออกเสียงภาษาองั กฤษ

1.1 English Pronunciation การออกเสียงภาษาองั กฤษ ระบบภาษาซ่ึงมนุษยใ์ ชส้ ื่อสารระหว่างกนั น้นั ประกอบไปดว้ ยระบบเสียง ระบบคา และระบบประโยคเป็นสาคญั เพ่ือใหก้ ารเรียนรู้และการส่ือสารภาษาองั กฤษในฐานะภาษาต่างประเทศประสบผลสาเร็จผูเ้ รียนจาเป็ นตอ้ งรู้และเขา้ ใจ สระ พยญั ชนะ การออกเสียงและการสะกดคา (วภิ า ฌาณวงั ศะและคณะ, 2551) อย่างไรก็ดี การอ่านออกเสียงภาษาองั กฤษน้ัน นอกจากจะตอ้ งอาศยั หลกั การฝึ กอ่านคาศพั ทแ์ ลว้ ยงั ตอ้ งอาศยั หลกั การจาอีกด้วย คาศพั ท์ภาษาองั กฤษบางคาไม่ได้ออกเสียงตามหลักเกณฑ์ที่มีอยู่ อาจเป็ นเพราะคามีรากศพั ท์มาจาก ต่างประเทศ หรือเป็นคาศพั ทท์ ่ีมีอยใู่ นขอ้ ยกเวน้ บางคร้ังคาศพั ท์ 2 คาออกเสียงเหมือนกนั แต่สะกดไม่เหมือนกนั ศิริพร โตพ่ึง พงศ์ (2552) ในบทน้ีจะสอนการออกเสียงและการสะกดคาในกรณีพิเศษต่าง ๆ ท่ีคนไทยท่ีเรียนภาษาองั กฤษควรทราบหรือ เขา้ ใจเพือ่ ใหฟ้ ังและพูดภาษาองั กฤษไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมเพ่ือใหก้ ารสื่อสารภาษาองั กฤษสาเร็จตามจุดมุ่งหมาย เพ่ือให้การเรียนรู้ภาษาองั กฤษในฐานะภาษาที่สองประสบผลสาเร็จ และใช้ภาษาให้ไดอ้ ย่างเจา้ ของภาษาน้ัน ผเู้ รียนควรจะรู้และเขา้ ใจพยญั ชนะและสระในภาษาน้นั ๆ เพือ่ ที่จะไดอ้ อกเสียงไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและฟังไดอ้ ยา่ งเขา้ ใจและนาไปสู่ การอ่านและเขียนได้ในระดับต่อไป ดังน้ัน ผูเ้ รียนควรทราบการเทียบพยญั ชนะและสระไทยกับภาษาอังกฤษตามที่ ราชบณั ฑิตยสถานกาหนดแลว้ ฝึ กหดั เขียน สะกดคาและออกเสียงใหไ้ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง กจ็ ะเป็นการเรียนรู้แบบค่อยเป็นค่อยไปสู่ ข้นั ที่สูงข้ึนไป

1.2 การเทียบพยญั ชนะไทย กบั ภาษาองั กฤษ

1.2 การเทียบพยญั ชนะไทยกบั ภาษาองั กฤษ พยญั ชนะไทย พยญั ชนะองั กฤษ ก ตวั ตน้ (Initial) ตวั สะกด (Final) ขค ง Kk จฉชซ ญ Kh k ดฎฑ ตฏ Ng ng ถฐทฑธฒ นณ Ch t บ ป Yn ผพภ ฝฟ Dd ม ย Tt ร ลฬ Th t ว ซ ทร ศ ษ ส Nn หฮ Bp Pp Ph p Fp Mm Y- Rn Ln W- St H-

1.3 ตวั สะกด

แม่ กด =t ตวั สะกด แม่กน =n แม่กง =ng แม่ กก=k แม่กบ =p แม่กม=m

1.4 การเทียบสระไทยกบั สระภาษาองั กฤษ

การเทยี บสระไทย ลำดบั ที่ สระไทย สระภำษำองั กฤษ กบั สระภาษาองั กฤษ 1 อะ อั อา a 2 อา อาม am 3 i 4 อิ อี u 5 อึ อื อุ อู e 6 เอะ เอ็ เอ ae 7 แอะ แอ o 8 โอะ โอ เอาะ ออ oe 9 เออะ เออ ai 10 ใอ ไอ อยั ไอย อาย ia 11 เอียะ เอีย ua 12 เอือะ เอือ อวั ะ อวั ao 13 เอา อาว ui 14 อุย อูย oi 15 โอย ออย oei 16 uai 17 เอย Iu 18 เอือย อวย Eo 19 aeo 20 อิว ieo 21 เอว Ru 22 แอว Ru 23 เอียว Roe 24 ฤ (รึ) ฤา (รือ) Lu ฤ(รึ) ฤ(เรือ) ฦ (ฦา)

1.5 หลกั การออกเสยี งและการสะกดคาภาษาองั กฤษ 1. คาที่ออกเสียงเหมือนกนั แตส่ ะกดต่างกนั (Homophone) เช่น know – no A: Do you know? B: No, I don’t. 2. /p/ is spelled p or pp. บางคาสะกดดา้ ย p เพยี งตวั เดียว แต่บางคาสะกดดว้ ย pp Listen and say these words. ฟังและฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี p pen push stop pp happy stopping 3. / p/ is silent at the beginning of a few words. Listen and repeat ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี ตวั p ไมอ่ อกเสียงในบางคา เช่น Psychology. 4. /ph/ is usually pronounced /f/. เสียง ph ออกเสียง f phone photo autograph 5. /b/ is spelled b or bb. Listen and say these words. คาบางคาสะกดดา้ ย b เพยี งตวั เดียว แต่บางคาสะกดดว้ ย bb เช่น ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน big best rob robber verb

1.5 หลกั การออกเสยี งและการสะกดคาภาษาองั กฤษ (ตอ่ ) 6. /b/ is silent at the end of a few words. ตวั b ไม่ออกเสียงในบางคาที่อยทู่ า้ ยคา Listen and repeat .ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงตาม เช่น climb comb thumb bomb 7. /t/ is spelled th in a few names. มีคาศพั ทต์ วั ท่ีเขียนดว้ ย Th แตอ่ อกเสียง T ในบางคาเทา่ น้นั . Listen and say these words. ฟังและฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี th Thailand Thames Thomas 8. The letter t is silent in a few words. ตวั t ไมอ่ อกเสียงในบางคา Listen and say these words. ฟังและฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี listen castle 9. /k/ is usually spelled c, k , ck, and sometimes ch. Listen and say these words. tick เสียง k สามารถสะกดดว้ ย c, k, ck ch ดูตวั อยา่ งฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี k back black check pocket ch school stomach chemist architect

1.5 หลกั การออกเสยี งและการสะกดคาภาษาองั กฤษ (ตอ่ ) 10./kw/ is often spelled qu. Listen and say these words. เสียง /kw / หรือ คว มกั จะสะกดดว้ ย qu ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี quick quiet quarter 11. /ks/ is often spelled x. Listen and say these words. taxi เสียง ks / กซ มกั จะสะกดดว้ ย x ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี fax six 12. The letter k is silent in a few words. knife ตวั k ไม่ออกเสียงในบางคา เช่น know knee 13. /g/ is usually spelled g or gg. Listen and say these words. คาบางคาสะกดดา้ ย g เพยี งตวั เดียว แต่บางคาสะกดดว้ ย gg ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี เช่น garden girl glass go gold ago hungry bag leg leg egg bigger

1.5 หลกั การออกเสยี งและการสะกดคาภาษาองั กฤษ (ตอ่ ) 14. The letter g is silent in some words. high bought ตวั g ไม่ออกเสียงในบางคา foreigner sign 15. Some words have a silent u after g. Listen and say these words. บางคาไมอ่ อกเสียง u ท่ีตามหลงั ตวั g ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี guess guest dialogue 16. /f/ is usually spelled f or ff, and sometimes ph or gh. Listen and say these words. เสียง f สำมำรถสะกดได้ด้วย f , ff, ph, gh ฟังและฝึ กออกเสียงคาเหล่าน้ี ph phone autograph gh laugh 17. /v/ is usually spelled v. Listen and say these words. every have leave เสียง v สำมำรถสะกดได้ด้วย v ฟังและฝึ กออกเสียงคาเหล่าน้ี very travel

1.5 หลกั การออกเสยี งและการสะกดคาภาษาองั กฤษ (ตอ่ ) 18. In the name Stephen, ph is pronounced /v/. เสียง v สำมำรถสะกดได้ด้วย ph Stephen lives in a village. 19./ θ / is spelled th.เปล่งเสียงโดยใชล้ ิ้นแตะหลงั ฟันบน เสียงไม่สัน่ theatre both Listen and say these words. ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี thin thanks thirty north 20. / ð / is spelled th.เปล่งเสียงโดยใชล้ ิ้นแตะหลงั ฟันบน เสียงสน่ั they weather Listen and say these words. ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี this that those with 21. /th/ is usually pronounced /θ/ or (ð), but sometimes /t/. เสียง th ปกติจะออกเสียงเปล่งเสียงโดยใชล้ ิ้นแตะหลงั ฟันบน แต่ในคาเหล่าน้ี ออกเสียงตวั T Listen and say these words. ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี Thailand Thames Thomas

1.5 หลกั การออกเสยี งและการสะกดคาภาษาองั กฤษ (ตอ่ ) 22. /x/ the letter x is usually pronounced /ks/. เสียง x ออกเสียง /ks/.กซ . Listen and say these words. ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี six next 23. /ʃ/ is usually spelled sh. ออกเสียง ชู ยาว ๆ มีลมออกมาดา้ ย Listen and say these words. ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี shop fashion cash fresh mushroom 24. /ʃ/ is sometimes spelled in different ways. การออกเสียง /ʃ/ เชอะ อาจสะกดไดห้ ลายแบบ Listen and say these words. ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี c ocean ch machine ci delicious special s sugar sure ss Russia ti international

1.5 หลกั การออกเสยี งและการสะกดคาภาษาองั กฤษ (ตอ่ ) 25./h/ is usually spelled h, but it is spelled wh in a few words. Listen and say these words. เสียง h สำมำรถสะกดได้ด้วย h , wh ฟังและฝึ กออกเสียงคาเหล่าน h hat here help hot behind wh who whose whole 26. /l/ is spelled l or ll. Listen and say these words. yellow เสียง l สำมำรถสะกดได้ด้วย l และ ll ฟังและฝึ กออกเสียงคาเหล่าน้ี learn leave lovely alone well 27. In some word, the letter l is silent. Listen and say these words ตวั l ไมอ่ อกเสียงในบางคา ฟังแลว้ ฝึกออกเสียงคาเหล่าน้ี half talk could 28. /r/ is usually spelled r or rr, and sometimes wr. Listen and say these words. really room เสียง r สำมำรถสะกดได้ด้วย r, rr และ wr ฟังและฝึ กออกเสียงคาเหล่าน้ี write wrote r red ready rr ferry sorry wr wrap wrist

1.5 หลกั การออกเสยี งและการสะกดคาภาษาองั กฤษ (ตอ่ ) 29. The sound /w/ is usually w and sometimes wh and there are some words with other spelling of /w/. Listen and say these words. เสียง w สำมำรถสะกดด้วย w และ wh ฟังและฝึ กออกเสียงคาเหล่าน้ี w week wet way weather wh what white which where 30. The sound /j/ is usually y, but has different spellings in some words. เสียง /j/ ออกเสียง y แตอ่ าจสะกดไดห้ ลายแบบ y yes yesterday year young 31. /ju:/ is often spelled u or ew. Listen and say these words. เสียง ยู หรือ อิว จะสะกดดว้ ย u หรือ ew ฟังและฝึ กออกเสียงคาเหล่าน้ี /ju:/ usually student university new view

1.6 คาท่ีมีตวั อกั ษรที่ไม่ตอ้ งออกเสียง

1.6 คาทมี่ ตี วั อกั ษรทไี่ ม่ตอ้ งออกเสยี ง Words with Silent Letters (คาที่มีตวั อกั ษรท่ีไม่ตอ้ งออกเสียง) ตวั อกั ษรใน วงเล็บดา้ นหลงั คือตวั ท่ีไมต่ อ้ งออกเสียง aisle /อายล̣/ ทางเดินระหวา่ งท่ีนง่ั ช่องทางเดิน (s) álmond /อา้ มนั ด/̣ ถวั่ อลั มอนด์ (l ในภาษาองั กฤษแบบองั กฤษ) (ในภาษาองั กฤษแบบอเมริกนั บางคร้ังกอ็ อกเสียงเป็น /อา้ ลมนั ด̣, แอล๊ มนั ด)̣ alms /อามซ/ ของบริจาค เงินสงเคราะห์ (l) ánswer /แอน๊ เซอร;̣ อา๊ นซ่ะ/ คาตอบ ตอบ (w) assígn /อะซ่ายน/̣ มอบหมาย มอบหมายงานใหท้ า (g) ásthma /แอส้ ม่ะ/ โรคหอบหืด (th) bomb /บอ็ ม/ ระเบิด ทิ้งระเบิด ลูกระเบิด (b) build /บิลด/̣ สร้าง ก่อสร้าง (u)

1.6 คาทมี่ ตี วั อกั ษรทไี่ ม่ตอ้ งออกเสยี ง (ตอ่ ) calf /แคฟ็ ; คาฟ/ ลูกววั ลูกวาฬ ลูกชา้ ง น่อง (l) calm /คาม/ท่ีสงบ เงียบสงบ สงบ (หรือคาน้ีอาจจะออกเสียงเป็น/คาล̣ม/ ก็ได)้ (l) campáign /แคม็ เพ๋น/รณรงค์ การรณรงค์ การรณรงคเ์ พื่อการเลือกต้งั (g) cástle /แคส้ ซลั ; คา้ สซึล/ ป้อมปราการ ปราสาท (t) chéstnut /เฉส้ นทั / ลูกเกาลดั (t หลงั s) Chrístmas /คริสมสั / คริสตม์ าส (t หลงั s ) climb /คลายม/̣ ปื น ปี นป่ าย ไตเ่ ขา (b) comb /โคม/ หวผี ม คน้ หาอยา่ งละเอียด หวี หงอนสัตว์ (b) coup /คู/ การปฏิวตั ิรัฐประหาร การโจมตรีอยา่ งฉบั พลนั (p) cúpboard /คบั เบิรด̣ ; คบั บอด/ ผถู้ ว้ ยชาม ตูก้ บั ขา้ ว ตูเ้ ส้ือผา้ (p) debt /เดท็ / หน้ีสิน เงินคา้ งชาระ หน้ีบุญคุณ (b) doubt /ดา้ วท̣/ สงสยั ไม่แน่ใจ ขอ้ สงสยั (b) dumb /ดมั / เป็นใบ้ ไม่พดู ไม่มีคาพดู คนใบ้ (b) évery /เอฟ็ วร̣ ี/ ทุก ๆ แตล่ ะ (e หลงั v) exháust/อิกซอ้ สท̣/ ใชห้ มด เหือดแหง้ ทาใหเ้ หนื่อยลา้ ซบั หรือระบายออก พูดครอบคลุมเน้ือหาท้งั หมด (h)

1.6 คาทมี่ ตี วั อกั ษรทไี่ ม่ตอ้ งออกเสยี ง (ตอ่ ) exhíbit /อิกซิบทั ; อิกซิบิท/ สิ่งของที่วางแสดง นามาแสดงเป็นหลกั ฐาน (h) fásten /แฟ้สซึน; ฟ้าสซึน/ รัด คาด ผกู ติด (t) fóreign /ฟ้อรร̣ ัน/ ต่างประเทศ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ตา่ งประเทศที่แปลกปลอม (g) ghost /โกส้ ท̣/ ผี เขียนงานในนามผอู้ ่ืน ผทู้ ี่เขียนงานหรือทาผลงานใหผ้ อู้ ่ืน สิ่งที่ห่างไกลจากความเป็นจริง (h) guarantée /แกรน การประกนั หลกั ประกนั ประกนั ค้าประกนั รับรอง (u) guess /เกส/ เดา คาดคะเน การเดา การคาดคะเน (u) half /แฮฟ็ ; ฮาฟ/ คร่ึง คร่ึงหน่ึง (l) hándkerchief /แฮง้ เคอรฉ̣ ิฟ; แฮง้ คะ่ ฉิฟ/ ผา้ เช็ดหนา้ (d) hándsome /แฮน้ ซมั่ / หล่อ หนา้ ตาดี (ใชก้ บั ผชู้ าย) เงินกอ้ นใหญ่ (d) heir /แอร̣/ ทายาท ผมู้ ีสิทธิไดร้ ับมรดกตามกฎหมาย (h) hónest /ออ๊ นนิสท̣/ ชื่อสัตย์ สุจริต ไม่โกงผอู้ ่ืน ไมท่ ุจริต (h) hónor /ออ๊ นเนอร/̣ เกียรติยศ ความเคารพ ความนบั ถือ ยกยอ่ งใหเ้ กียรติ (h) hour /อา้ วร;̣ อา้ วอะ/ ชว่ั โมง ช่วงหน่ึง (h)

บทที่ 2 Greeting and Introduction การทกั ทายและแนะนาตวั ฟ้ า แคมเบล

2.1 Greeting การทกั ทาย

2.1 Greeting การทกั ทาย การทักทาย (Greeting) เป็ นอารยธรรมท่ีงดงามย่ิงของมวลมนุษยชาติ เป็ นส่ิงที่ ชาวต่างชาติควรเรียนรู้เป็นอนั ดบั แรก เพราะวา่ เป็ นส่ิงที่ปฏิบตั ิสืบต่อกนั มาชา้ นานของชนชาติผู้ เป็นเจา้ ของ วธิ ีการทกั ทายน้นั อาจมีความแตกต่างกนั ออกไป การทกั ทายเป็ นมารยาทอยา่ งหน่ึง ในสงั คม โดยปกติเราจะใชค้ าพูดไมเ่ หมือนกนั หรือแมแ้ ตท่ กั ทายคนคนเดียวกนั แต่ต่างเวลากนั กต็ อ้ งเลือกใชค้ าพดู ใหถ้ ูกกบั เวลาดว้ ย ชิดพงษ์ กววี รวฒุ ิ และคณะ (2550) อยา่ งไรกด็ ีเน่ืองจากแต่ละสงั คม แตล่ ะประเทศ แต่ละภาษาก็มีวฒั นธรรมในการทกั ทาย แตกตา่ งกนั ไป เช่นคนไทยอาจใชภ้ าษาทกั ทายโดยพิจารณาตามวยั ตามความสนิทสนม สถานะ ทางสงั คม ตาแหน่งหนา้ ที่การงาน ความอาวโุ ส คือมีระดบั ของภาษา ส่วนในภาษาองั กฤษเองก็มี วฒั นธรรมการใช้ภาษาเพื่อการทกั ทายเช่นกนั แต่ก็จะไม่ทกั ทายแบบวฒั นธรรมไทยที่ว่า ไป ไหนมา จะไปไหนหรือ ทานขา้ วหรือยงั แตจ่ ะทกั ทายถามไถ่สุขภาพ ความเป็ นไปในชีวิต หรือ ดินฟ้าอากาศ ดงั ตวั อยา่ งประโยค

2.1 Greeting การทกั ทาย (ตอ่ ) 1. การทกั ทายแบบเป็ นทางการ (Formal Greeting) ใชก้ บั บุคคลที่อาวโุ สกวา่ หรือในวงการธุรกิจ ราชการ 1. Good morning. สวสั ดีตอนเชา้ (หลงั เที่ยงคืน ถึงเท่ียงวนั ) 2. Good afternoon. สวสั ดีตอนบ่าย (หลงั เท่ียงวนั ถึง 18.00 น.) 3. Good evening. สวสั ดีตอนเยน็ / ค่า (หลงั 18.00 น. ถึงเที่ยงคืน) 4. Good night. ราตรีสวสั ด์ิ (เป็นคาใชก้ ล่าวลา ในตอนกลางคืนหรือก่อนเขา้ นอน) 2. การทกั ทายแบบไม่เป็ นทางการ (Informal Greeting) จะใชก้ บั เพอ่ื นสนิท หรือคนที่เราคุน้ เคย ซ่ึงจะใช้ Hi หรือ Hello นาก่อนช่ือเพื่อนหรือไม่ตอ้ งมีชื่อเพ่ือนก็ได้ 1. Hi / Hello/ Hey สวสั ดี (เป็นกนั เอง) 2. G day สวสั ดี (ภาษาแสลง ประเทศออสเตรเลีย)

2.2 Interaction ปฏสิ มั พนั ธ ์

2.2 Interaction ปฏสิ มั พนั ธ ์ การปฏิสัมพนั ธ์จะเกิดข้ึนเมื่อมีการพบปะบุคคลซ่ึงเคยรู้จกั กนั มาก่อนหรือบุคคลอ่ืน ๆ ซ่ึงไม่เคยรู้จกั กนั มาก่อน ก่อนที่จะรู้จกั กนั ยอ่ มจะตอ้ งมีการแนะนาให้รู้จกั กนั เพ่ือคุยเร่ืองอื่น ๆ ต่อไป การแนะนาตวั มีท้งั การแนะนาตนเองและแนะนาผูอ้ ่ืน การแนะนาตนเอง คือ การกล่าวถึงตนเองให้ผูอ้ ื่นรู้จกั โอกาสในการ แนะนาตนเองมีในสถานการณ์ตา่ ง ๆ มากมาย (ชิดพงษ์ กววี รวฒุ ิ และคณะ, 2550) การเปิ ดประโยคสนทนา หรือปฏิสมั พนั ธ์ท่ีดี นาไปสู่การเขา้ สังคมไดด้ ี เพ่ือที่จะทาความรู้จกั กนั กบั คนอ่ืนเพื่อสร้างความสาเร็จในการ สื่อสารจึงควรรู้วลีหรือประโยคเพ่ือเปิ ดการสนทนาให้อย่างหลากหลายเพ่ือพูดโตต้ อบให้ได้ในหลาย ๆ บริบท สานวน วลีที่มกั ใช้กันสังคมจึงมีความสาคญั ท่ีผูอ้ ่านจาเป็ นต้องฝึ กให้ข้ึนใจและใช้ได้อย่างเป็ น ธรรมชาติเหมือนเจา้ ของภาษา ดงั ตวั อยา่ งประโยค เช่น

2.2 Interaction ปฏสิ มั พนั ธ ์ (ตอ่ ) 1. A: How are things? เป็นอยา่ งไรบา้ ง? B: Everything is ok. ทุกอยา่ งก็ดี เป็นอยา่ งไรบา้ ง? 2. A: How’re you doing? ก็ดีนะ B: I am doing great. เป็นไงบา้ ง? ค่อนขา้ งดี 3. A: How’s life? เป็นอยา่ งไรบา้ ง? B: Pretty well. ไม่เลว มีอะไรใหม่ ไหม ? เป็นไงบา้ ง? 4. A: How’s everything? ไม่มีอะไรมาก B: Not bad. 5. A: What’s new? B: Not much.

2.3 Responding การตอบรบั คาทกั ทาย

2.3 Responding การตอบรบั คาทกั ทาย การสนทนาภาษาองั กฤษน้นั เมื่อมีการทกั ทาย ก็ตอ้ งมีการตอบรับคาทกั ทาย เพื่อแสดงถึงมารยาทที่ดีในการตอบ สวาสด์ิ พรรณา (2535) เม่ือการทกั ทายมีหลายแบบการตอบรับก็มีหลายแบบเช่นกนั ดงั น้นั เราจึงควรรู้จกั วธิ ีตอบรับคาทกั ทายไห้ได้ มากท่ีสุดเพ่ือจะสามารถตอบโตก้ ารสนทนาไดอ้ ย่างออกรส หรือสนทนาไดอ้ ย่างคล่องแคล่ว ไม่ติดขดั ตอบโตไ้ ดท้ ุกบริบทของการ พบปะและปฏิสัมพนั ธ์ โดยมีตวั อยา่ งประโยค ดงั น้ี Responding การตอบรับคาทกั ทาย ถา้ มีคนถามในลกั ษณะที่วา่ คุณเป็นอยา่ งไรบา้ ง 1. A: It’s nice to meet you. ยนิ ดีที่ไดร้ ู้จกั หรือ สบายดีไหม เราก็สามารถตอบไดว้ า่ B: It’s nice to meet you too. ยนิ ดีที่ไดร้ ู้จกั เช่นกนั 1. It’s nice to know you. ยนิ ดีที่ไดร้ ู้จกั 2. A: I’m glad to meet you. ยนิ ดีท่ีไดร้ ู้จกั 2. I am so so. ผมก็เรื่อยๆ, กง็ ้นั ๆ B: I’m glad to meet you too. ยนิ ดีที่ไดร้ ู้จกั เช่นกนั 3. All right, thank you. สบายดี, ขอบคุณ 4. Very well, thank you. สบายดีมาก ขอบคุณ 5. Not bad. ไม่เดือนร้อน, ก็ไม่เลว

2.4 Introduction การแนะนาตวั

2.4 Introduction การแนะนาตวั Hello, my name is … การพบปะบุคคลซ่ึงเคยรู้จกั กนั มาก่อนหรือบุคคลอ่ืน ๆ ซ่ึงไม่เคยรู้จกั กนั มาก่อน ก่อนท่ีจะรู้จกั กนั ยอ่ มจะตอ้ งมีการแนะนาตวั เองให้อีกฝ่ ายรู้จกั กนั เพ่ือคุยเร่ืองอ่ืน ๆ ตอ่ ไป การแนะนาใหร้ ู้จกั กนั มีท้งั การแนะนาตนเองและแนะนา ผอู้ ื่นใหร้ ู้จกั กนั (ชิดพงษ์ กวีวรวฒุ ิ และคณะ, 2550) และอาจมีคนอื่นแนะนาเรา ใหร้ ู้จกั บุคคลท่ีสามกเ็ ป็นได้ การแนะนาตนเองคือ การบอกกล่าวเร่ืองของตนเอง ใหผ้ อู้ ่ืนรู้จกั เช่น ชื่ออะไร ทาอาชีพอะไร มาจากไหน และควรแสดงไมตรีจิตท่ีดี ท่ีไดพ้ บหรือจะไดร้ ู้จกั กบั เพื่อนใหม่ (Maynard, Christopher, 2000) ดงั ตวั อยา่ ง ประโยค ต่อไปน้ี

2.4 Introduction การแนะนาตวั 1. Hello, my name is … สวสั ดีครับ/ค่ะ ผม/ดิฉันชื่อ… 2. Hi, I’m.... สวสั ดีครับ/ค่ะ ผม/ดฉิ ันชื่อ… 3. Nice to meet you. I'm ... ยนิ ดีทไ่ี ด้รู้จัก ผมช่ือ …. 4. Pleased to meet you. I'm ... ยนิ ดีทไี่ ด้รู้จักดฉิ ันชื่อ….. 5. Let me introduce myself, I'm ... ขออนุญาตแนะนาตัวเองนะครับ/คะ ผม/ดิฉันช่ือ... 6. I'd like to introduce myself, I'm ... ขออนุญาตแนะนาตัวเองนะครับ/คะ ผม/ดฉิ ันช่ือ... 7. May I introduce myself, my name is… ขออนุญาตแนะนาตัวเองนะครับ/คะ ผม/ดฉิ ันช่ือ... 8. I'd like you to meet new friend / ผมอยากให้คุณได้พบกบั เพ่ือน ใหม่/เพ่ือนร่วมงาน/น้องชายของผม colleague / brother…

2.4 Introduction การแนะนาตวั (ตอ่ ) 9. This is my friend … นี่คือเพื่อนของผม/ดฉิ ัน... 10. May I introduce ... C… to you? ขออนุญาตแนะนาคุณ...C…ให้ รู้จักนะครับ/คะ 11. A: Have you met ….D…? ไม่ทราบว่าเคยเจอคุณ...D…มาก่อนหรือเปล่าครับ/คะ ค่ะ เคยเจอ B: Yes I have. ไม่ ไม่เคยพบค่ะ C: No, I haven’t. ไม่ทราบว่าเราเคยเจอกนั มาก่อนหรือเปล่าครับ/คะ 12. A: Have we met? ค่ะ เราเคยเจอ B: Yes, we have. ไม่ เราไม่เคยพบกนั ค่ะ C: No, we haven’t. น่ีคือคุณ… 13. This is …

บทที่ 3 Questioning about Daily life การถามเกยี่ วกบั ชวี ติ ประจาวนั

3.1 Who

3.1 Who ใคร (ถามเก่ียวกบั คน ในความหมายวา่ ใคร ในบริบทท่ีเป็นประธาน) ใหฝ้ ึกถามและตอบกบั คู่ของตน หรือฟังบทสนาแลว้ ฝึกตอบดว้ ยตนเอง เมื่อ Who เป็นประธานของประโยค Who (g) แปลวา่ \"ใคร\" ใชก้ บั บุคคลไดท้ ้งั เอกพจน์ (คนเดียว) และพหูพจน์ (หลายคน) แลว้ แตค่ วามหมายของ ประโยค และเมื่อเราใช้ Who เป็น ประธานของประโยค เราจะวางคาต่าง ๆ ตามรูปแบบของประโยคบอกเล่าดงั น้ี I play football (ประธาน 4 กริยา / กริยาช่วย + กรรม) เมื่อเราตอ้ งการทาใหเ้ ป็ นประโยคคาถาม เราก็ใช้ who แทนท่ีประธาน ในประโยคบอกเล่าน้นั โดยจะใช้ Who เป็น “เอกพจน์” หรือ\"พหูพจน”์ ก็ได้ (สังเกตไดจ้ ากกริยาที่อยตู่ ่อมาจากประธาน อยา่ งเช่น ในประโยคตวั อยา่ ง แสดงวา่ ประโยคน้ีเราใช้ Who เป็นพหูพจนเ์ พราะ play ไมเ่ ติม s ) Who play football? (Who เป็ นพหูพจน์) (ประธาน + กริยา + กรรม) Who plays football? (Who เป็ นเอกพจน์) (ประธาน + กริยา (s) + กรรม

ในอนั ดบั ตอ่ ไปจะขอยกตวั อยา่ งประโยคบอกเล่าข้ึนก่อนแลว้ ใช้ Who เขา้ ไปแทนที่ประธาน Everybody is here Teacher teaches students จะเห็นไดว้ ่าการสร้าง ทุกคนอยทู่ ี่นี่ ครูสอนนกั เรียน ประโยคคาถามแบบน้ี ไม่ Who is here? สลบั ซบั ซอ้ นมากนกั คือ เราแค่ ใครอยทู่ ่ีนี่ Who teaches students? เพียงนาคาว่า Who ไปแทนที่ ใครสอนนกั เรียน ประธานของประโยคบอกเล่า Everybody plays card เหล่าน้ัน และคาตอบของ ทุกคนเล่นไพ่ I have change ประโยคคาถามก็คือประธาน ฉนั มีเศษสตางค์ ของประโยคบอกเล่านน่ั เอง Who plays card? Who have change? ใครเล่นไพ่ ใครมีเศษสตางค์ Someone smokes. บางคนชอบสูบบุหรี่ Who smokes? ใครสูบบุหร่ี

ในกรณีใช้ V. to be ในประโยคกส็ ามารถทาใหเ้ ป็นประโยคคาถามไดไ้ มย่ าก นน่ั ก็คือใหใ้ ช้ Who เป็นประธานของประโยค ไดเ้ ลย Who is coming in my room? ใครกาลงั เขา้ มาในหอ้ งของผม Jane is coming in your room? เจนกาลงั เขา้ มาในหอ้ งของคุณ ในกรณีที่ใช้ กริยาช่วย (will, can, must, may,should) ในประโยคก็สามารถทาใหเ้ ป็นประโยคคาถามไดไ้ ม่ยาก นนั่ ก็คือ ให้ใช้ Who เป็นประธานของประโยคไดเ้ ลย Who can explain this project? Who should practice English everyday? ใครสามารถอธิบายโครงการนีไ้ ด้ ใครควรทจ่ี ะฝึ กฝนภาษาองั กฤษทกุ วนั Jane can explain the project? เจนสามารถอธิบายโครงการนีไ้ ด้ We should practice English everyday พวกเราควรทจี่ ะฝึ กฝนภาษาองั กฤษทุกวนั

ในกรณีใช้ กริยาช่วย V. to have ในโครงสร้างของ Perfect Tense (ประธาน + V. to have + V.3) เรา กส็ ามารถทาใหเ้ ป็นประโยคคาถามไดไ้ มย่ ากนน่ั ก็คือใหใ้ ช้ Who เป็นประธานของประโยคไดเ้ ลยเช่นกนั Who have finished his homework? ใครได้ทาการบ้านเสร็จเรียบร้อยแล้ว I have finished his homework. ฉันได้ทาการบ้านเสร็จเรียบร้อยแล้ว Who has presented the project already? ใครได้นาเสนอโครงการไปเรียบร้อยแล้ว She has presented the project already? หล่อนได้นาเสนอโครงการไปเรียบร้อยแล้ว

Who want to come with us? ประโยคตวั อย่างการใช้ Who (ฮู วอนท̣ ทู คมั วธิ อสั ) Who helped you yesterday? ใครตอ้ งการที่จะมากบั พวกเรา (ฮู เฮลพ̣ด̣ ยู เยสเตอรเ̣ ดย)̣ ใครช่วยเหลือคุณเม่ือวานน้ี Who wants to drink coffee? (ฮู วอนทส̣ ̣ ทู ดริงค̣ คอฟฟี ) Who write Harry porter? ใครตอ้ งการที่จะด่ืมกาแฟ (ฮู ไรท̣ แฮรี พอทเทอร̣) ใครเขียนหนงั สือแฮร่ีพอตเตอร์ Who cooks this food? (ฮู คุกส̣ ธีส ฟูด) Who plays tennis well? ใครทาอาหารน้ี (ฮู เพลย̣ส̣ เทนนิส เวล) ใครเล่นเทนนิสไดด้ ี

3.2 Whom

3.2 Whom ใคร (ถามเกยี่ วกบั คน ในความหมายวา่ ใครในบรบิ ททเี่ ป็ นกรรม) เมื่อ Whom เป็นกรรมของประโยค Whom (ฮูม) แปลวา่ “ใคร” มีความหมายเช่นเดียวกบั Who นนั่ เอง แตท่ าหนา้ ที่เป็นกรรมของกริยา (Vt.) (กริยาที่ตอ้ งมีกรรมมา รองรับ) เมื่อจะนาคาน้ีไปสร้างเป็นประโยคคาถามดว้ ย Wh-Question น้นั ตอ้ งสร้างประโยคบอกเล่าเดิมให้เป็ นประโยคคาถามแบบ Yes-No Question ก่อนแลว้ จึงนา Whom ไปวางไวห้ นา้ ประโยค เช่น เราตอ้ งการสร้างประโยค You Iove Waralee. (คุณรักวราลี) เป็นคาถามแบบ Wh-Question โดยใช้ Whom สามารถทาไดด้ งั น้ี 1. เปลี่ยนประโยค You love Waralee. เป็นประโยคคาถาม Yes-No Question โดยใช้ V. to do เขา้ ช่วยกจ็ ะได้ (You เป็นพหูพจน์ใช)้ Do you love Waralee? คุณรักวราลใี ช่ไหม (Yes, I do. หรือ No, I do not.) 2. เปล่ียน Waralee เป็น Whom ก็จะได้ Whom do you love? คุณรักใคร 3. ยา้ ย Whom มาวางไวห้ นา้ ประโยคกจ็ ะได้ Do you love whom? แต่ถา้ ในประโยคบอกเล่าน้นั ใชก้ ริยาช่วย V. to be หรือ V. to have หรือกริยาช่วยอ่ืนๆ เช่น will, shall, can, may, must เราก็ไม่จาเป็ นที่ จะตอ้ งใช้ V.to do เขา้ มาช่วยเหมือนตวั อยา่ งขา้ งตน้ แตข่ อแนะนาใหใ้ ชว้ ธิ ีการน้ีจะง่ายที่สุด

3.2 Whom ใคร (ถามเกยี่ วกบั คน ในความหมายวา่ ใครในบรบิ ททเี่ ป็ นกรรม) (ตอ่ ) V. to be เราตอ้ งการจะสร้างประโยค He is hitting Paul. (เขากาลงั ดีพอล) เป็นคาถามแบบ Wh-Question โดยใช้ Whom ก็ทาไดด้ งั น้ี 1. เปลี่ยนประโยค He is hitting Paul เป็นประโยคคาถาม Yes-No Question โดยใช้ V. to be ไปวางไวห้ นา้ ประโยคกจ็ ะได้ Is he hitting Paul? เขาก้าลงั ดีพอลใช่ไหม (Yes, he is. หรือ No, he is not.) 2. เปล่ียน Paul เป็น whom ก็จะได้ Is he hitting whom? 3. ยา้ ย Whom มาวางไวห้ นา้ ประโยคก็จะได้ Whom is he hitting? เขากาลงั ทใี่ คร

3.2 Whom ใคร (ถามเกยี่ วกบั คน ในความหมายวา่ ใครในบรบิ ททเี่ ป็ นกรรม) (ตอ่ ) V. to have เราตอ้ งการจะสร้างประโยค We have seen the King and Queen recently. (เราเห็นในหลวงและพระราชินีเมื่อเร็วๆ น้ี) เป็นคาถามแบบ Wh-Question โดยใช้ Whom กท็ าไดด้ งั น้ี 1. เปล่ียนประโยค He is hitting Paul. เป็นประโยคคาถาม Yes-No Question โดยใช้ V. to have ไปวางไวห้ นา้ ประโยคก็จะได้ Have we seen the King and Queen recently? (Yes, we have. หรือ No, we have not.) 2.เปล่ียน the King and Queen เป็น whom ก็จะได้ Have we seen whom recently? 3. ยา้ ย Whom มาวางไวห้ นา้ ประโยคกจ็ ะได้ Whom have we seen recently? เราเหน็ ใครเม่ือเร็วๆ นี้ เราตอ้ งการจะสร้างประโยค I will see her. (ฉนั จะพบเธอ) เป็น คาถามแบบ Wh-Question โดย Whom ก็ทาไดด้ งั น้ี 1. เปลี่ยนประโยค I will see her เป็นประโยคคาถาม Yes-No Question โดยใช้ V. to be ไปวางไวห้ นา้ ประโยคก็จะได้ Will I see her? (Yes, you will หรือ No, you will not.) 2. นา Whom มาวางไวห้ นา้ ประโยคก็จะได้ Whom will see? (ฉันจะได้พบกบั ใคร)

หมายเหตุ การใช ้ Whom เพอื่ ทาเป็ นประโยคคาถามในทกุ ๆ กรณีเราสามารถใช ้ Who แทนได ้

Whom did you meet yesterday? ประโยคตวั อย่างการใช้ Whom (ฮูม ดิด ยู มิท เยสเตอร̣เดย̣) Whom does he work with? Whom does a student? Whom did you see? (ฮูม ดาส ฮี เวริ ̣ค วธิ ) (ฮมู ดิด ยู ซี) เขาทางานอยกู่ บั ใคร (ฮมู ดาส อะ สตวิ เดนท̣ เรสเปคท̣) คณุ เหน็ ใคร นกั เรยี นเคารพนับถอื ใคร Whom did she help yesterday? Whom do you write this letter to? (ฮูม ดิด ชี เฮลพ̣ เยสเตอรเ̣ ดย)̣ (ฮู ดู ยู ไรท̣ ธสี เลทเทอร̣ ท)ู เธอชว่ ยเหลือใครเมื่อวานนี้ คณุ เขยี นจดหมายฉบบั นี้ถึงใคร Whom do you agree with? Whom does my sister call to? (ฮูม ดาส มาย ซิสเตอร̣ คอล ทู) (ฮมู ดู ยู อะกรี วธิ ) คุณเหน็ ด้วยกับใคร นอ้ งสาวของฉนั โทรหาใคร

3.3 Whose

Whose ของใคร (ถามเกยี่ วกบั การแสดงความเป็ นเจา้ ของ ในความหมายวา่ ใครเป็ นเจา้ ของสงิ่ น้ันๆ) เม่ือ Whose เป็นกรรมของประโยคและแสดงความเป็นเจา้ ของ Whose (ฮูส) แปลวา่ “ของใคร” ใชแ้ สดงความเป็นเจา้ ของโดยจะมี “คานาม” ตามหลงั เสมอ เช่น Whose book Whose money = หนงั สือของ = เงินของใคร ใคร Whose house Whose son = บา้ นของใคร = ลูกของใคร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook