Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปกครองไทย

การปกครองไทย

Published by somsakw111, 2022-07-22 06:23:15

Description: การปกครองไทย

Search

Read the Text Version

ประวัตศิ าสตร์ ประชาธปิ ไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี

หนงั สอื ในโครงการจดั ต้งั “ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ธนบรุ ีศกึ ษา” ช่อื หนังสอื : มหาราชแหง่ สยามประเทศ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก บรรณาธกิ าร : ส�ำราญ ผลดี ผู้เรยี บเรียง : ส�ำราญ ผลดี กองบรรณาธกิ าร : สำ� ราญ ผลดี ชยั ณรงค์ จนั ทรต์ มู ที่ปรกึ ษา : ดร.บัญชา เกิดมณี ดร.นภวรรณ แยม้ ชตุ ิ ดร.อุไรรตั น์ แยม้ ชุติ ผศ.ดร.อนพุ งษ์ อนิ ฟา้ แสง ดร.ปฐมพร อนิ ทรางกรู ณ อยุธยา ดร.สมชาย เลิศภิรมย์สุข ดร.พนสั อุณหบัณฑิต อ.ญาณพนิ ิจ วชิรสุรงค์ อ.นันทวัน นาคอรา่ ม ปที เ่ี ผยแพร่ : มกราคม ๒๕๕๘ การเผยแพร่ : e-book เผยแพรโ่ ดย : ศนู ย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลัยธนบุรี ๒๙ เพชรเกษม ๑๑๐ แขวงหนองคา้ งพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ ๑๐๑๖๐

คำ� นำ� ผเู้ ขยี น หลักฐานในเชิงสัญลักษณ์ของการปฏิวัติเปล่ียนแปลงการ ปกครองเม่ือ พ.ศ.๒๔๗๕ อันเป็นผลิตผลจากการกระท�ำของกล่มุ บุคคล ที่เรียกตัวเองว่าคณะราษฎรก็คือ หมุดที่ปักอยู่บนผิวถนนบริเวณลาน พระบรมรูปทรงมา้ ท่มี ีข้อความวา่ “ณ ทีน่ ้ี ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ เวลา ย่�ำรุ่ง คณะราษฎรได้กอ่ กำ� เนดิ รัฐธรรมนูญเพอื่ ความเจริญของชาต”ิ ซ่ึง หมุดดังกล่าวเป็นส่ิงท่ีช่วยบ่งบอกถึงแนวความคิดของการปฏิวัติใน เวลานั้นท่ีคณะราษฎรใช้เป็นสถานท่ียืนอ่านค�ำแถลงเปล่ียนแปลง การปกครอง อาจไม่ผิดนักหากจะกล่าวว่า การด�ำเนินการของคณะราษฎร ในคร้ังนี้ เป็นผลพวงหรือเป็นการด�ำเนินการท่ีสืบเน่ืองความคิดมา จากกรณี “กบฏ ร.ศ.๑๓๐” ท่ีกล่าวกันว่า พระยาพหลพลพยุหเสนา หวั หน้าคณะราษฎร ถึงกับกลา่ วกบั ขุนทวยหาญพิทักษ์ (เหล็ง ศรีจนั ทร)์ ผู้น�ำเม่ือครั้งกบฏ ร.ศ.๑๓๐ ว่า “ถ้าไม่มีคณะคุณ ก็เห็นจะไม่มีผม” หรือแม้แต่หลวงประดษิ ฐมนูธรรม (อาจารยป์ รดี ี พนมยงค์) ท่ีถอื วา่ เปน็ มันสมองของคณะราษฎรก็ยังได้กล่าวไว้เช่นกันว่า “พวกผมถือว่าการ ปฏิวัติคร้งั น้ีเปน็ การกระทำ� ตอ่ เนื่องจากการกระท�ำเมื่อ ร.ศ.๑๓๐” กลมุ่ คณะราษฎรท่ดี ำ� เนนิ การคนส�ำคัญทจ่ี ะต้องกลา่ วถงึ ไว้ใน ที่น้ี แบง่ ออกเป็น ๒ ฝา่ ยด้วยกนั คอื ฝา่ ยทหารและฝ่ายพลเรือน ฝ่ายทหารน้ันประกอบด้วยบุคคลส�ำคัญ ๔ ท่าน หรือที่หลาย

คนเรียกกันว่า ๔ ทหารเสือ ประกอบด้วย พระยาพหลพลพยุหเสนาผู้ เป็นหัวหน้าน�ำการปฏิวัติ พระยาทรงสุรเดช พระยาฤทธิอัคเณย์ และ พระประศาสน์พิทยายทุ ธ สว่ นฝา่ ยพลเรือนนั้นมีบคุ คลสำ� คญั คอื หลวง ประดิษฐมนูธรรมหรือนายปรีดี พนมยงค์ ทั้งหมดนี้มีบทบาทในฐานะ เปน็ แกนนำ� ในการก่อการท่เี กดิ ขน้ึ การด�ำเนินการเปลี่ยนแปลงการปกครองที่เกิดขึ้นน้ี นับว่าเป็น ความหาญกล้าท่ีจะเปล่ียนแปลงบ้านเมือง ซ่ึงคณะบุคคลที่นับได้ว่าเป็น ประวัตศิ าสตร์ของบา้ นเมอื งกค็ อื กลุ่มท่ีเรยี กตวั เองว่า “คณะราษฎร” ประวัติศาสตร์การปฏิวัติสยาม พ.ศ.๒๔๗๕ ถือเป็นช่วงการ เปลี่ยนผ่านทางประวัติศาสตร์ของบ้านเมือง ท่ีมีรายละเอียดปลีกย่อย อย่างลึกซ้ึงเกินกว่าบทเรียนทางประวัติศาสตร์จะกล่าวกันแค่เพียงว่า เกดิ ข้ึนเมือ่ ใด และอย่างไร หากแตน่ ยั ยะความส�ำคญั ทางประวตั ิศาสตร์ ในแง่มุมต่างๆ ต่างหากท่ีน่าสนใจ อะไรคือปัจจัยที่น�ำมาซึ่งการเปลี่ยน แปลง และท่ีสำ� คัญผลพวงที่เกิดขนึ้ ภายหลงั การเปล่ียนแปลงตัง้ แต่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ จนถึงปัจจุบันกลับเป็นเรื่องที่ประวัติศาสตร์กลับไม่ คอ่ ยให้ความสนใจ ปี พ.ศ.๒๔๗๕ ถือเป็นช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ที่มีความ สำ� คญั ตอ่ ประเทศสยามอย่างมาก เนือ่ งจากเป็นปที ี่เกิดการเปลี่ยนแปลง การปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ท่ีมีการใช้กันมานาน นับร้อยปี มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เฉกเช่นเดียวกันกับตะวันตก ความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ไม่ได้อยู่ที่ภาพเหตุการณ์หรือผลของการ ก่อการ หากแต่อยู่ท่ีสารัตถะมากมายท่ีเกิดขึ้นทั้งก่อนการเปล่ียนแปลง รวมไปจนถึงภายหลังการเปล่ียนแปลงที่ยังคงมีความวุ่นวายภายใน

มากมาย ที่ส�ำคัญคือกรณีกบฏบวรเดชท่ีมีการกล่าวกันว่าเก่ียวโยงกัน กับเร่ืองอ�ำนาจในระบอบการปกครองแบบเดิม หรือแม้แต่สารัตถะ มากมายก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองก็มีความส�ำคัญทางประวัติ ศาสตร์ไม่น้อย ท้ังเร่ืองแนวคิดเรื่องการปกครองในระบอบประชาธิป ไตยในสยาม การเสด็จข้ึนครองราชสมบัติอย่างเหนือความคาดหมาย ของสมเดจ็ เจ้าฟา้ ประชาธิปกศกั ดิเดช เปน็ ต้น ความน่าสนใจของหนังสือเล่มนี้ คือการวิเคราะห์ช่วงเวลาทาง ประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงการปกครองอย่างรอบด้าน ตั้งแต่ก่อน การเปลี่ยนแปลงการปกครองไปจนถึงความวุ่นวายภายหลังการเปลี่ยน แปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ ซ่ึงเหมาะอย่างย่ิงส�ำหรับผู้ที่สนใจใคร่ เรียนร้ปู ระวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยในชว่ งเวลาดงั กล่าวไดเ้ ปน็ อย่างดี ส�ำราญ ผลดี ๒๔ มิถนุ ายน ๒๕๕๗

ส า ร บั ญ ๑๓ น�ำเรื่อง “ประชาธิปไตย” ในสยาม น�ำเรอ่ื ง ๒๓ก่อนจะเป็น “ประชาธิปไตย” ในสยาม สถานะของพระมหากษัตริยใ์ นระบอบ สมบรู ณาญาสิทธริ าชย์กอ่ นการเปลย่ี นแปลง ๔๖๙๔ การปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ แนวคดิ เร่ือง “ประชาธิปไตย” ในสยาม ปัญหาเศรษฐกิจ...วกิ ฤตทิ นี่ ำ� มาซงึ่ การ ๙๕ เปล่ียนแปลง เส้นทางสู่การเป็นกษัตรยิ น์ กั ประชาธิปไตย ๑๑๓ ของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อย่หู วั พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หวั : “ม้ามดื ” การสืบราชสนั ตติวงศ์ของสมเดจ็ ๑๒๐ พระปกเกลา้ เจ้าอย่หู ัว พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว : กษัตริย์ผยู้ ืนอยู่บนชว่ งเวลาแห่งการเปลี่ยน ๑๒๖ ผา่ น “อภิรัฐมนตรสี ภา” กับพระบาทสมเด็จพระ ปกเกลา้ เจ้าอยู่หวั

๑๑๔๕๓๑ แผน่ ดนิ พระปกเกลา้ ฯ ร่างรฐั ธรรมนญู ของพระบาทสมเดจ็ พระ ปกเกล้าเจ้าอยูห่ ัว หลกั ฐานยืนยนั ความเป็น พระมหากษัตรยิ ์นักประชาธิปไตย ๑๑๖๗๗๐หมุดหมาย “ประชาธิปไตย” ในสยาม ประวัตศิ าสตรก์ ารปฏิวตั สิ ยาม พ.ศ.๒๔๗๕ พระยามโนปกรณ์นติ ิธาดา นายกรฐั มนตรี ๑๘๗ คนแรกแหง่ สยาม เม่อื พระปกเกล้าฯ ทรงสละราชสมบัติ ๑๙๙มรดกทางประวตั ศิ าสตร์ “ประชาธปิ ไตย” ในสยาม ประชาธปิ ไตยสยาม : การเมืองว่าด้วยเรือ่ ง ๒๐๗ ของอ�ำนาจ ประชาธปิ ไตยไทย ๒๔๗๕ : มรดกทางสังคม ๒๒๑๑๙๕ ทม่ี คี ณุ คา่ หรอื ไร้คา่ ในสายตาของคนรนุ่ ใหม่ บทส่งทา้ ยว่าดว้ ยประชาธปิ ไตยในสยาม บรรณานกุ รม .............................................................

นำ�เรอ่ื ง “ประชาธิปไตย” ในสยาม

หมุดหมายประชาธิปไตย สญั ลักษณแ์ ห่งการเร่มิ ตน้ แตกใบ และเตบิ โต

ประวัตศิ าสตร์ประชาธิปไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี ๐๑ นำ� เรื่อง การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ ถือเป็นช่วงเวลา แห่งการเปลี่ยนผ่านทางประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองครั้งส�ำคัญ ของไทย เนื่องจากรูปแบบการปกครองแบบเดิม คือ สมบูรณาญา สิทธิราชย์ที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาช้านานได้ถูกเปล่ียนแปลงลงอย่างสิ้น เชงิ ความจรงิ แลว้ การปกครองแบบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยน์ นั้ ไดถ้ กู ท้าทายมาต้ังแต่คร้ังต้นรัตนโกสินทร์แล้วด้วยซ�้ำไป ทว่าในระยะแรกยัง ไมส่ ามารถเขา้ มามบี ทบาทหรอื มอี ทิ ธพิ ลไดม้ ากถงึ ขนาดทจี่ ะทำ� ใหเ้ กดิ การ เปลี่ยนแปลงขึน้ ทว่าตอ่ มาการปกครองในรูปแบบใหม่ที่เรียกกันว่า การ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยกลับได้รับการสืบต่ออุดมการณ์ทาง ความคิดกันอย่างเงียบๆ และสุดท้ายก็มาสุกงอมและส�ำเร็จผลเอาในรัช สมยั พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อย่หู วั รชั กาลที่ ๗ แนวคดิ เรอื่ งประชาธปิ ไตยในสยามนี้ ความจรงิ แลว้ มนั ไดแ้ สดง พลังของมันมาอย่างน้อยก็ตั้งแต่คร้ังรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ 10

ประวัตศิ าสตร์ประชาธิปไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี จลุ จอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว รชั กาลท่ี ๕ เมื่อปรากฏเปน็ กรณีท่ีมกี ลมุ่ พระบรม วงศานุวงศ์และกลุ่มข้าราชการที่ได้เดินทางไปศึกษาต่างประเทศได้เสนอ ความคิดเห็นเรื่องการเปล่ียนรูปแบบการปกครองจากสมบูรณาญา สทิ ธริ าชยม์ าเปน็ รปู แบบการปกครองแบบใหมท่ เี่ รยี กวา่ ประชาธปิ ไตย ซงึ่ รปู แบบนม้ี คี วามเขา้ ใจกนั วา่ ชาตติ ะวนั ตกทง้ั หลายประสบความสำ� เรจ็ จน เป็นทป่ี ระจกั ษ์ถึงความเจรญิ รงุ่ เรืองกนั ทวั่ ไป อีกคร้ังหน่ึงที่ส�ำคัญคือเมื่อเกิดกรณี “กบฏ ร.ศ.๑๓๐” ในรัช สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทแ่ี มว้ า่ การกบฏในครงั้ นนั้ จะไม่ประสบความส�ำเร็จทว่าก็ได้แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทางแนวคิด เรอื่ งการเมอื งการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยเมอื่ ครง้ั รชั กาลกอ่ นนน้ั ไม่ได้เลือนหายไป หากแต่มันได้ฝังรากลงลึกลงในระบบคิดของคนไทย เสียแลว้ ซึง่ เราอาจจะเรยี กวา่ ความทา้ ทายในพระราชอ�ำนาจของพระมหา กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้มีความชัดเจนและเป็นรูป ธรรมมากข้นึ แลว้ หากเปรียบรูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตยในสยามว่า เปน็ เชอื้ ไฟ กค็ งตอ้ งกลา่ ววา่ เชอื้ ไฟแหง่ ประชาธปิ ไตยนไี้ ดก้ อ่ ตวั เรม่ิ ตน้ มา ต้ังแต่คร้ังสมัยรัชกาลที่ ๕ จากนั้นก็โชติช่วงและได้มอดไหม้การ ปกครองในรูปแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ลงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจา้ อยู่หัว เมอ่ื เกิดเหตุการณป์ ฏิวตั ิขน้ึ ในวนั ท่ี ๒๔ มิถนุ ายน ๒๔๗๕ โดยกลุม่ คณะบุคคลทเี่ รียกตัวเองวา่ “คณะราษฎร” ดำ� เนนิ การ ยดึ อำ� นาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยหู่ วั ไดเ้ ปน็ ผลส�ำเรจ็ ประเด็นหน่ึงที่น่าสนใจอย่างหน่ึงก็คือ เม่ือเราพูดถึงเหตุการณ์ การเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. ๒๔๗๕ วา่ เป็นการ “ปฏวิ ัต”ิ ซึง่ ค�ำน้ีมีความน่าสนใจอยู่ไม่น้อยว่า ท่านดร.ปรีชา สุวรรณทัต ได้กล่าวไว้ โดยอา้ งถงึ ทา่ นอาจารยป์ รดี ี พนมยงค์ วา่ ทา่ นจะเนน้ เตอื นพวกเรารนุ่ หลงั บอกวา่ การเปลี่ยนแปลงเมื่อวนั ที่ ๒๔ มิถนุ ายน ๒๔๗๕ นัน้ “ไม่ใชก่ าร 11

ประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี ปฏวิ ตั ”ิ ไมใ่ ชก่ ารพลกิ แผน่ ดนิ เพราะคำ� วา่ ปฏวิ ตั นิ นั้ ตามรปู ศพั ทเ์ ปน็ การ หมุนกลับไปทางล้าหลงั แตค่ �ำวา่ “อภวิ ัฒน”์ น้ัน เปน็ เร่ืองของการเจรญิ ก้าวหน้าไปในอนาคต ดังน้ันท่านอาจารย์ปรีดี พนมยงค์จึงใช้ค�ำว่า “อภิวฒั น”์ เสมอ ๑ สำ� หรับคณะบุคคลท่ดี �ำเนนิ การเม่อื วนั ที่ ๒๔ มถิ นุ ายน ๒๔๗๕ สง่ิ ทนี่ า่ สงั เกตก็คือ กลุ่มบุคคลเหลา่ นี้ลว้ นแลว้ แต่เปน็ ข้าราชการในระดับ ชนั้ กลางทไี่ มไ่ ดร้ วมอยใู่ นชนชน้ั เจา้ แตอ่ ยา่ งใด แสดงใหเ้ หน็ วา่ การดำ� เนนิ การในครงั้ นเี้ ปน็ การเปลย่ี นแปลงกระบวนการใชซ้ ง่ึ อำ� นาจอยา่ งแทจ้ รงิ ไม่ ได้เป็นการเปลี่ยนแปลงในลักษณะการแย่งอ�ำนาจกันเองดังเช่นเมื่อครั้ง อดตี กล่าวกันว่าการเปล่ียนแปลงทางการเมืองการปกครองของไทย น้ัน มีจุดเริ่มต้นมาจากการรับแนวคิดของทางตะวันตก มากกว่าที่จะ เป็นกระบวนการคิดมาจากฐานรากทางสังคมของสยามเอง นับตั้งแต่ ศตวรรษท่ี ๑๖ เป็นต้นมา ทางฝัง่ ยุโรปไดเ้ กิดการปฏิวัตคิ รัง้ ใหญ่ท่ีเรียก ว่า “การปฏิวัติอุตสาหกรรม” ด้วยว่าได้มีนักคิด นักประดิษฐ์ นัก วิทยาศาสตร์มากมายท่ีพยายามค้นหาวิธีการหรือการคิดค้นส่ิงประดิษฐ์ ตา่ งๆ ข้ึนมาเพ่ือใหใ้ ชท้ ดแทนแรงงานมนษุ ย์ การปฏิวัติที่เกิดข้ึนได้สร้างความเปล่ียนแปลงอย่างมากให้กับ สังคมมนุษย์ ซ่ึงแต่เดิมรูปแบบการผลิตจะใช้มนุษย์เป็นหลัก หากแต่ เมอ่ื มนษุ ยส์ ามารถสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมการผลติ ขน้ึ มาชว่ ยแบง่ เบากำ� ลงั ของมนุษย์ได้ รูปแบบการผลิตก็เปลย่ี นไปจากหน้ามือเปน็ หลงั มือ กล่าว คือ ในอดีตมนุษย์ ๑ คนสามารถเป็นผู้ผลิตไดใ้ นหลายๆ อยา่ ง เชน่ งาน ก่อสร้าง การผลิตข้าวของเครื่องใช้ การเกษตร ฯลฯ ทว่าเม่ือมนุษย์ ประดิษฐ์นวัตกรรมขึ้นมาช่วยมนุษย์ผลิต รูปแบบการผลิตจึงเปลี่ยนไป เป็นการผลิตแบบเชิงเดี่ยวที่เน้นผลิตส่ิงใดก็ส่ิงน้ัน แต่เน้นที่ปริมาณ มากกวา่ ความหลากหลายตามศักยภาพของมนษุ ย์ 12

ประวัติศาสตรป์ ระชาธิปไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี ความส�ำเร็จจากการปฏิบัติอุตสาหกรรมท่ีเกิดข้ึนในยุโรปน้ีได้ สร้างใหร้ ะบบการผลิตของมนษุ ยเ์ ติบโตอยา่ งรวดเรว็ และแนน่ อนว่ามนั ได้สรา้ งความมั่งคัง่ มัน่ คงใหเ้ กดิ ขน้ึ อย่างมาก กลายเปน็ ว่ายุโรปหรอื ชาว ตะวันตกกลายเป็นมหาอ�ำนาจก่อนภูมิภาคอ่ืนๆ โดยมีระบบเศรษฐกิจ เปน็ แกนหลักนำ� อย่างไรก็ตาม กระบวนการทางอุตสาหกรรมของชาวตะวันตก ที่เปลี่ยนแปลงไปจนถึงข้ันเรียกว่าเป็นการปฏิวัตินั้นก็ได้น�ำมาซึ่งปัญหา ใหญ่ๆ อยา่ งน้อย ๒ ประการ คอื ประการแรก การขาดแคลนวตั ถดุ บิ ในการผลติ ดงั ทไี่ ดก้ ลา่ วไว้ ในตอนต้นว่า กระบวนการผลิตที่ใช้นวัตกรรมมาช่วยผลิต ท�ำให้ กระบวนการผลิตนั้นเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ผลิตได้ในปริมาณมาก ส่ง ผลให้วัตถุดิบหลายอย่างไม่เพียงพอต่อกระบวนการผลิต วิธีการแก้ไข ท่ีดีที่สุดก็คือ การแสวงหาวัตถุดิบเพ่ือให้เพียงพอต่อการน�ำมาเข้า สู่กระบวนการผลิต ในเมื่อในยุโรปหรือตะวันตกไม่มีวัตถุดิบแล้ว ก็ จำ� เป็นที่จะต้องออกแสวงหายงั ภูมภิ าคอน่ื ๆ ซึ่งชาติต่างๆ ในยโุ รปก็ออก เสวงหาวตั ถดุ บิ ในรูปของนกั ลา่ อาณานคิ ม ประการต่อมา คือ เมื่อผลิตในปริมาณที่มากแล้ว ก็เกิดการ เหลือบริโภค เป็นอีกเหตุจ�ำเป็นหน่ึงว่าชาติต่างๆ เหล่าน้ีก็จ�ำเป็นท่ีจะ ตอ้ งกระจายสนิ คา้ ท่ตี นเองผลิตได้นีอ้ อกไปยงั ภูมภิ าคอ่นื ปัญหาทั้ง ๒ ประการข้างต้นท�ำให้ชาติตะวันตกต้องเร่งแก้ ปัญหาท่ีเกิดข้ึนเพื่อไม่ให้ความเจริญเติบโตและความม่ังค่ังน้ันต้อง สะดุดลง ด้วยการออกแสวงหาดินแดนใหม่ในการแสวงหาวัตถุดิบรวม ไปถงึ การกระจายสินคา้ ทีผ่ ลติ ขนึ้ ดินแดนที่เหมาะสมที่สุดกับความต้องการหรือปัญหาที่เกิดขึ้น ของชาติตะวันตกทั้ง ๒ ประการน้ี เห็นจะไม่มีดินแดนใดที่ดีและเหมาะ สมเทา่ กับภูมิภาคเอเชีย ซึ่งแผ่นดินที่ชาตติ ะวนั ตกตา่ งหมายตาเป็นหลัก 13

ประวตั ิศาสตรป์ ระชาธปิ ไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี กันนั้นก็คงหนีไม่พ้น “จีน” รวมถึงอีกหลายชาติในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรหรือวัตถุดิบส�ำหรับ กระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม รวมถึงจ�ำนวนประชากรท่ีจะช่วย บริโภคผลิตภัณฑ์ที่ชาตติ ะวนั ตกผลติ ขนึ้ ได้ สำ� หรับภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ ชาตติ ะวนั ตกท่มี ีความ ชัดเจนวา่ ได้เขา้ มา “รกุ ราน” ในฐานะ “นักลา่ อาณานคิ มตะวันตก” คอื อังกฤษและฝรัง่ เศส หากเรานับบ้านเมืองสยามเป็นจุดกลางในการวิเคราะห์ก็จะพบ วา่ องั กฤษนัน้ รกุ รานเข้ามาทางทิศตะวันตกของประเทศสยาม เข้ารกุ ราน จีน อินเดีย พม่า ส่วนฝรั่งเศสก็ชัดเจนว่าเข้ามาทางทิศตะวันออก เขา้ รกุ รานญวน กมั พชู า และลาว ทัง้ องั กฤษและฝร่งั เศสน้ันหมายขึ้นไป รกุ รานจีนเปน็ หลักดว้ ยกนั ท้งั คู่ ทวา่ ยังไมท่ นั ทีจ่ ะถึงจดุ หมายก็มีอนั ต้อง เกิดสงครามโลกคร้ังท่ี ๑ เสียก่อน ยุคล่าอาณานิคมตะวันตกจึงจบส้ิน ลงเสียก่อน และชาติตะวันตกเหล่านี้ก็ลดบทบาทลงในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซ่ึงภายหลังจากที่ชาติตะวันตกเหล่านี้ไม่มีอิทธิพลใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แล้ว แต่ก็ได้ทิ้งท้ังความเจริญ รวมถึง ปญั หาการเปลย่ี นแปลงไวม้ ากมาย ทงั้ ดา้ นสงั คม วฒั นธรรม เศรษฐกจิ รวมถึงเรื่องการเมืองการปกครองที่เปล่ียนไปจากเดิมในหลายประเทศ รวมถงึ ประเทศสยามดว้ ย ทางด้านการเมืองการปกครอง แต่เดิมนั้นทางยุโรปเองก็มีรูป แบบการปกครองท่ีคล้ายๆ กันนั่นก็คือ เป็นรูปแบบการปกครองแบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ หรือระบอบกษัตริย์ ทว่าต่อมาประเทศเหล่านี้ก็ คิดว่าระบบดังกล่าวไม่เอ้ือต่อกระบวนการทางสังคมและเศรษฐกิจที่ เปล่ียนแปลงไป ระบบท่ีอ�ำนาจการตัดสินใจอยู่ท่ีคนคนเดียวนั้นไม่ ชัดเจนว่าจะสามารถน�ำพาชาติบ้านเมืองให้ก้าวหน้าสอดคล้องกับบริบท ทเ่ี ปล่ยี นแปลงไปได้ ทว่ารูปแบบท่ีหลายคนตา่ งช่วยกันคิด ถกเถียงเพ่ือ 14

ประวัตศิ าสตร์ประชาธิปไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี หาข้อยุติหรือข้อสรุปต่างหากท่ีจะน�ำมาซึ่งความส�ำเร็จและความเจริญ รุ่งเรอื งของชาติได้ ชาติต่างๆ ในยุโรปจึงเร่ิมต้นการเปล่ียนแปลงการเมืองการ ปกครองก่อน ด้วยการร่วมกันคิด ร่วมกันแก้ไข ร่วมกันหาทางออกให้ กับปญั หาต่างๆ ของสังคมของตนเอง และแน่นอนว่ากระบวนการคิดใน ลักษณะดังกล่าวข้างต้นย่อมน�ำมาซ่ึงการยอมรับของกันและกัน รวม ถึงสืบต่อด้วยพลังความมุ่งมั่นที่ต่างก็มองว่าตนเองต่างก็มีส่วนร่วมใน ความสำ� เรจ็ หรือความล้มเหลวจากกระบวนการคิดดังกลา่ ว กระบวนการคิดที่ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมหรือที่เรียกกันว่า “ประชาธิปไตย” ที่เชื่อว่าน�ำมาซึ่งความส�ำเร็จและความม่ังคั่งของชาติ ตนเอง ดังนั้นเมื่อชาติตะวันตกแผ่ขยายอิทธิพลของตนเองออกไป โดยการน�ำทางด้านเศรษฐกิจทว่าก็ได้น�ำพารูปแบบต่างๆ แพร่กระจาย ออกไปในลักษณะเป็นองคาพยพ รวมถึงเร่ืองแนวคิดด้านการเมืองการ ปกครองแบบประชาธปิ ไตยท่ีใชอ้ ย่ดู ้วย จะเห็นได้ว่า ประชาธิปไตยน้ัน เกิดมีขึ้นในยุโรปก่อน และ แนวคิดดังกล่าวก็ไม่ได้เป็นแนวคิดท่ีเกิดขึ้นมาจากความต้องการเรื่อง สิทธิและเสรีภาพเพียงอย่างเดียว หากแต่มีองค์ประกอบอื่นๆ อีก มากมายท่ีเข้ามาเก่ียวข้อง ดังน้ัน หากว่าเราจะพิจารณาถึงสารัตถะของ ประชาธิปไตยให้ถ่องแท้ แน่นอนว่า จ�ำเป็นท่ีจะต้องมองภาพรวมหรือ บริบทอื่นๆ ของสังคมน้ันๆ ประกอบด้วย ทั้งประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกจิ แมก้ ระทัง่ วัฒนธรรมและความเชอ่ื ต่างๆ การเปลีย่ นแปลงการปกครองของสยามเมอ่ื วันท่ี ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ไมไ่ ด้เป็นเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในชั่วข้ามคืน หากแตแ่ นวคดิ นั้นมันได้ผ่านกระบวนการรับรู้ กระบวนการเรียนรู้ และกระบวนการ เข้าใจในมิติต่างๆ จ�ำนวนมาก กว่าท่ีการปฏิวัติคร้ังนั้นจะประสบความ 15

ประวัตศิ าสตร์ประชาธิปไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี สำ� เรจ็ ดงั นน้ั การเรยี นรเู้ รอ่ื งราวทางประวตั ศิ าสตรก์ ารปฏวิ ตั สิ ยามทเี่ กดิ ข้ึนในพ.ศ. ๒๔๗๕ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในทุกมิติ แน่นอนว่าจะ ต้องเข้าใจในบริบทของการเปล่ียนแปลงตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวม ถึงจะต้องพยายามเข้าใจถึงเหตุปัจจัยต่างๆ ท่ีเข้ามากระทบหรือส่งผล ก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงข้ึน ซ่ึงเป็นความน่าสนใจอย่างยิ่ง ส�ำหรับ ผู้ที่สนใจใคร่รู้ในเร่ืองราวเหล่าน้ี ที่จะต้องพิจารณานานาสาระอย่างรอบ ด้าน เพ่ือการเข้าใจหมายเหตุทางประวัติศาสตร์ของการปฏิวัติสยามให้ ไดม้ ากทสี่ ดุ 16

ประวตั ิศาสตร์ประชาธปิ ไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี เชิงอรรถ ๑ อา้ งจาก “ขอ้ เทจ็ จรงิ ทางประวตั ศิ าสตร์ และพระราชบญั ญัติ ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามช่ัวคราว ฉบับ ๒๗ มิถุนายน ๒๔๗๕. การเสวนาในวาระครบรอบ ๗๕ ปี การอภิวัฒน์ไทย ๒๔ มิถนุ ายน ๒๔๗๕ “๗๕ ปี ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ : ๗๕ ปขี องอะไร” ใน วนั เสารท์ ่ี ๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๐ ณ ห้องสมุดฯ สถาบันปรีด ี พนมยงค์. ๒๕๕๐, หนา้ ๓๗ 17

ประวัตศิ าสตรป์ ระชาธปิ ไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี กอ่ นจะเป็น “ประชาธิปไตย” ในสยาม 18

ประวัตศิ าสตร์ประชาธปิ ไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยหู่ วั พระมหากษตั ริย์พระองคส์ ดุ ท้ายในระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ และ กษัตริยพ์ ระองคแ์ ระแหง่ สยามในระบอบประชาธปิ ไตย ที่มา : สถาบันพระปกเกล้า (๒๕๔๔) \"สมุดภาพรัชกาลที่ ๗ จัดพิมพ์เป็นท่ีระลึกใน นิทรรศการอวดภาพและของหายากยุครัชกาลที่ 7 ณ พิพิธภัณฑ์พระบาทสมเด็จพระ ปกเกล้าเจ้าอยหู่ วั ๑๒ พฤศจิกายน - ๑๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๔, หนา้ ๓๓ 19

ประวัติศาสตร์ประชาธปิ ไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี ๐๒ สถานะของพระมหากษัตรยิ ใ์ นระบอบ สมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ ก่อนการเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ ค�ำว่า สมบูรณาญาสิทธิราชย์ (absolute monarchy) นั้น หมายถึง ระบอบการปกครองซ่ึงพระมหากษัตริย์มีอํานาจสิทธิขาดใน การบริหารประเทศ แต่เดิมเราเช่ือว่าระบบการปกครองน้ี เป็นระบบ การปกครองท่เี กดิ ข้ึนอยู่แต่ครั้งโบราณ และเปน็ การปกครองที่อยู่กันใน กลุ่มเล็กๆ มากกว่า ซึ่งอาจไม่ได้อยู่ในรูปของกษัตริย์แต่อาจอยู่ในรูป ของหัวหน้ากลมุ่ ชนเผ่า ผใู้ หญ่ หรอื ผู้นำ� ทางศาสนา โดยการทีส่ มาชกิ ใน สังคมยอมรับในอ�ำนาจนั้น ซึ่งการยอมรับในอ�ำนาจก็อาจมาจากฐานคิด และความเชื่อท่ีแตกต่างกัน เช่น เรื่องความรู้ความสามารถในการเป็น ผ้นู �ำทางการสงคราม ความสามารถในการตดิ ตอ่ สื่อสารกับเทพเจา้ หรือ แม้แต่การยอมรับในตวั ผูน้ �ำว่าเปน็ ผแู้ ทนแหง่ เทพเจ้า เป็นต้น หากเรานับความเป็นประเทศของสยามในอดีตท่ีมีรูปแบบ การเมืองการปกครองที่ค่อนข้างชัดเจน ในลักษณะของอาณาจักรแล้ว 20

ประวัตศิ าสตร์ประชาธิปไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี ประวัติศาสตร์จะยึดถือเอาอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของความ เป็นประเทศ แต่กอ่ นหนา้ นัน้ เองกเ็ ชือ่ ไดว้ า่ ดนิ แดนแหง่ นจ้ี ะตอ้ งมีกลุ่ม คนท่ีรวมตัวกันถึงข้ันเป็นสังคมอยู่แล้ว เพียงแต่ว่าอาจเป็นชุมชนที่มี ขนาดไม่ใหญ่นักหรือเป็นกลุ่มคนที่ไม่ได้มีอ�ำนาจเข้มแข็งท่ีจะปกครอง ตนเองได้เทา่ นน้ั เอง คร้ังหน่ึงในดินแดนภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อนท่ีจะ มีการต้ังเป็นรัฐต่างๆ เช่น สุโขทัย พม่า ขอม ลาว น้ัน เช่ือกันว่ามีอยู่ อย่างน้อยก็ ๒ อาณาจักรใหญท่ มี่ คี วามชดั เจนทั้งในเร่ืองของอำ� นาจการ ปกครองรวมถึงความเป็นกลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมมที่เป็นของตนเอง คือ อาณาจักขอมและอาณาจักรมอญ ขอม มีศูนย์กลางทางอ�ำนาจอยู่บริเวณทิศตะวันออกเฉียงใต้ ของประเทศไทยในปัจจุบัน หรือประเทศกัมพูชา หลักฐานท่ีเป็นประ- จักษ์พยานที่ชัดเจนว่าอาณาจักรขอมโบราณนั้นมีความรุ่งเรืองมากน่ันก็ คอื ปราสาทนครวดั และนครธม ในราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๖ กล่าวกนั ว่า ไม่มีชนชาติใดในโลกน้ีมีความเจริญรุ่งเรือง ร�่ำรวย และมั่งคั่งเท่ากับ อาณาจักรขอมอีกแล้ว ความงดงามและย่ิงใหญ่ของปราสาทนครวัดคือ ประจักษ์พยานท่ีชัดเจนท่ีสุด ท้ังด้วยความยิ่งใหญ่และงดงามของ โบราณสถานแห่งนีจ้ งึ ไดร้ บั การยกย่องให้เปน็ มรดกโลก อีกชนชาติหน่ึงท่ีมีความส�ำคัญเช่นกัน น่ันคือชนชาติมอญ มี ศนู ยก์ ลางทางอ�ำนาจตง้ั อยทู่ างทศิ ตะวนั ตกของไทย หรอื ในเขตประเทศ พม่าในปัจจุบัน มอญดูจะไม่ค่อยโดดเด่นมากนักในทางประวัติศาสตร์ ซ่ึงอาจเป็นด้วยว่า มอญ เป็นชนชาติท่ีรักความสงบ สันโดษ และท่ี ส�ำคัญเป็นประเทศท่ีไม่มีปัญหาด้านการสงครามกับประเทศสยามหรือ ดินแดนท่ีเป็นประเทศไทยในปัจจุบันมากนัก อาจเป็นด้วยว่าสภาพทาง ภูมิศาสตร์ท่ีมีเทือกทิวเขาสูงกั้นเป็นทางยาวตั้งแต่เหนือจรดใต้ จึงเป็น เร่ืองล�ำบากมากกว่าดินแดนทางขอมโบราณท่ีเมื่อคร้ังท่ีรุ่งเรืองได้แผ่ 21

ประวัติศาสตรป์ ระชาธปิ ไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี อ�ำนาจไปรอบทศิ ทาง ท้ัง ๒ ชนชาตินี้น่าจะมีความรุ่งเรืองมาคู่เคียงกันในอดีต ทว่า ต่อมาความเส่ือมก็เกิดขึ้น เมื่อคร้ังที่ท้ัง ๒ ชนชาติน้ันเสื่อมอ�ำนาจลง มอญก็ถูกรุกรรานดว้ ยกลมุ่ ชนใหม่ทีเ่ รยี กว่า พมา่ ขา้ งฝ่ายขอมน้ัน ภาย หลังจากพุทธศตวรรษที่ ๑๖ เป็นต้นมาอ�ำนาจท่ีย่ิงใหญ่อยู่แต่เดิมก็เริ่ม เสื่อมอ�ำนาจลง ดินแดนต่างๆ ที่เคยอยู่ในขอบข่ายแห่งพระราชอาณา- จกั รก็ต้ังตวั เองข้ึนเป็นใหญ่ ดนิ แดนท่อี ยหู่ า่ งไกลกต็ งั้ ตวั เองขึ้นเปน็ ใหญ่ ไมข่ นึ้ ตรงตอ่ อาณาจักรขอม และหนึ่งในนน้ั คอื สุโขทัย ในยุคท่ีขอมเรืองอ�ำนาจ เชื่อกันว่ามีดินแดนที่อยู่ในข่าย แห่งพระราชอาณาจักรกว้างใหญ่ไพศาลมาก พ้ืนที่ในบริเวณท่ีเป็น ประเทศไทยในปัจจุบันก็เชื่อกันว่าตกอยู่ในอ�ำนาจของขอมด้วยเช่นกัน ส่ิงที่ช่วยยืนยัน ถึงอ�ำนาจของขอมได้ดีก็คือโบราณสถานต่างๆ ที่มีอยู่ มากมายในประเทศไทย เช่น พระปรางค์สามยอมท่ีลพบุรี รวมไปถึง อีกหลายแหง่ ที่เมอื งสุโขทัยดว้ ย คร้ันขอมเส่ือมอ�ำนาจเมืองสุโขทัยก็ตั้งตัวเองข้ึนเป็นใหญ่ และ ได้สร้างศูนยก์ ลางทางอำ� นาจของตวั เองขึน้ มาใหม่ สรา้ งรปู แบบการเมอื ง การปกครองของตวั เองข้ึนมาใหม่ ไม่ยอมอยอู่ ำ� นาจของขอมอีกตอ่ ไป รูปแบบการเมืองการปกครองของสุโขทัยท่ีเราเรียนรู้กันมาใน ทางประวัติศาสตร์น่ันก็คือ “ปิตาธิปไตย” หรือ “พ่อปกครองลูก” นัก ประวัติศาสตรอ์ ธิบายรปู แบบการปกครองลักษณะน้วี ่ามีหลกั ฐานจดจาร ไว้ชดั เจนในหลักศลิ าจารกึ ท่ีค้นพบกันมากมายในครง้ั หลงั หากเราพจิ ารณาถงึ ความหมายของคำ� ว่าสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย์ ว่าหมายถึงระบอบการปกครองซึ่งพระมหากษัตริย์มีอํานาจสิทธิขาดใน การบรหิ ารประเทศแลว้ กอ็ าจกลา่ วไดว้ า่ การปกครองแบบ “ปติ าธปิ ไตย” หรือ “พอ่ ปกครองลูก” น้ี กเ็ ป็นการปกครองแบสมบูรณาญาสิทธริ าชย์ รปู แบบหนงึ่ เช่นกันท่ผี ูเ้ ป็น “พอ่ ” หรือผทู้ ่ีอย่ใู นฐานะ “ผู้นำ� ” มอี �ำนาจ 22

ประวัติศาสตรป์ ระชาธปิ ไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี สิทธิขาด ดงั หลักฐานท่ีเราพบเนอื้ ความในหลกั ศิลาจารกึ หลักที่ ๑ ความ วา่ “...ในปากประตู มกี ะดิ่งอันหน่ึงแขวนไว้หั้น ไพร่ ฟ้าหน้าปก กลางบ้านกลางเมืองมีถ้อยมีความเจ็บท้อง ขอ้ งใจ มนั จะกลา่ วถงึ ขนุ บไ่ ร้ ไปลน่ั กระดง่ิ อนั ทา่ นแขวนไว้ พ่อขุนรามค�ำแหงเจ้าเมืองเรียก เมื่อถามสวนความแก่มัน ดว้ ยช่ือ ไพร่ในสุโขทัยนจี้ งึ ชม” ๑ เน้ือความที่กล่าวถึงการมีอ�ำนาจสิทธิขาดในการตัดสินคดี ความของไพร่ฟา้ หน้าปกได้ของ “พอ่ ขุน” และการยอมรับในอำ� นาจของ พ่อขุนจากไพร่ฟ้าหน้าปกท่ีปรากฏในหลักศิลาจารึกน้ัน เป็นเครื่อง ยืนยันที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ของผู้ปกครอง (คือ พ่อขุนรามค�ำแหง) กับ “ไพร่ฟ้าหน้าปก” หรือผู้ที่อยู่ใต้การปกครองได้เป็นอย่างดีว่ามี ความใกล้ชิดสนิทสนมกันมากจนถึงข้ันท่ีว่าเจ้าเมืองนั้นสามารถออกมา ว่าความเพอื่ คลายทกุ ข์ใหก้ ับราษฎรไดด้ ้วยพระองคเ์ อง อย่างไรก็ตามมันก็เกิดเป็นข้อค�ำถามและควรพิจารณาต่อไปว่า รูปแบบดังกล่าวนั้นมีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด กล่าวคือ หากว่า “ไพร่ฟ้าหน้าปก กลางบ้านกลางเมืองมีถ้อยมีความเจ็บท้องข้องใจ มัน จะกล่าวถึงขุนบไ่ ร้ ไปลน่ั กระดิง่ อันทา่ นแขวนไว”้ น้ใี นแตล่ ะวนั หากว่ามี จ�ำนวนมาก ภาระงานของพ่อขุนน้ันคงวุ่นวายน่าดู หรืออาจพิจารณาต่อ ไปได้ว่า รูปแบบการปกครองในลักษณะนี้อาจกระท�ำได้ในลักษณะท่ี เปน็ ชุมชนเล็กๆ เท่านน้ั ท่ผี ูอ้ ยใู่ นฐานะผู้ปกครองจะสามารถดูแลผู้ทอ่ี ยู่ ภายใต้การปกครองของตนเองได้อยา่ งท่วั ถงึ ประเด็นต่อมา คือ หากว่าเนื้อความตามหลักศิลาจารึกน้ีมี ความเป็นจริง น่ันย่อมแสดงให้เห็นว่ารูปแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ใน 23

ประวัตศิ าสตรป์ ระชาธปิ ไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี แบบที่สุโขทัยใช้อยู่นี้มีความเป็น “ราชธรรม” อยู่มาก กล่าวคือ เป็น อ�ำนาจสิทธิขาดท่ีผูกขาดไว้ด้วยความรู้สึกในความสัมพันธ์กันอย่าง ใกลช้ ดิ ระหวา่ งผู้ปกครองและผู้อยู่ใตก้ ารปกครอง ประวัติศาสตร์กล่าวไว้ว่า ภายหลังจากที่สุโขทัยต้ังตัวเองขึ้น เป็นใหญ่ขาดจากอ�ำนาจของขอมแล้วก็เจริญรุ่งเรืองข้ึนมาอย่างรวดเร็ว ทั้งสังคม เศรษฐกิจ รวมถึงเร่ืองการเมืองการปกครองด้วย ความ รงุ่ เรอื งน้ีถงึ ขีดสุดในสมัยพอ่ ขนุ รามค�ำแหงมหาราช ทวา่ ในเวลาเดียวกนั นั้นเองในบริเวณลุ่มน�้ำภาคกลางก็ได้มีอาณาจักรท่ีเกิดใหม่และเจริญ รุ่งเรอื งข้ึนมาอย่างรวดเร็วนัน่ ก็คอื “อาณาจกั รอโยธยา” ราชอาณาจกั ร “อโยธยา” หรือ “อยุธยา”๒ นี้ เปน็ การรวมตัว กันของ ๒ ราชวงศ์ท่ีอยู่บริเวณตอนกลางลุ่มน้�ำเจ้าพระยา คือ ราชวงศ์ อู่ทองและราชวงศ์สุพรรณภูมิ ความรุ่งเรืองของอโยธยานั้นเกิดขึ้นและ ชัดเจนเม่ือคร้ังท่ีสามารถไปตีเมืองขอมซ่ึงเคยเป็นอาณาจักรอันยิ่งใหญ่ ไดส้ �ำเร็จ การมีชัยเหนือขอมของอาณาจักรอโยธยาน้ี นับได้ว่าเป็นการ ประกาศความส�ำเร็จอันย่ิงใหญ่ของอโยธยา ทว่าด้วยความรุ่งเรืองใน อดีตท่ีมีอยู่มากของขอม รวมถึงแต่เดิมเองดินแดนเหล่าน้ีก็เคยตกอยู่ ภายใต้อิทธิพลของขอมมาก่อน คร้ันเม่ืออโยธยาตีเมืองขอมได้แล้วก็มี การน�ำเอารูปแบบต่างๆ ของขอมมาปรับใช้ในอาณาจักรของตนเอง ท้ัง สังคม ช้ันชั้น ศิลปะวิทยาการ ความเชื่อ รวมไปถึงเร่ืองอาจการเมือง การเมืองการปกครองดว้ ย แต่เดิมน้ันขอมเองก่อนท่ีจะมีความรุ่งเรืองก็เชื่อกันว่าได้รับ อิทธิพลความเชื่อมาจากอินเดียอีกทอดหน่ึง คติความเช่ือของชาว อินเดยี นัน้ มีความเชอื่ ทว่ี ่า พระมหากษตั ริยเ์ ปน็ ด่งั สมมติเทพ หรอื เชอ่ื ว่า พระมหากษัตริย์คือ เทพ เทวดาที่ลงมาช่วยมนุษย์ทั้งหลายได้ก้าว ข้ามผ่านห้วงแห่งทุกข์ ซึ่งเป็นคนละชนชั้นกันกับบุคคลธรรมดาสามัญ 24

ประวัตศิ าสตรป์ ระชาธปิ ไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี ท่ัวไป ดังน้ันการรับอิทธิพลความเชื่อเรื่องผู้น�ำหรือกษัตริย์มาจากขอมท่ี ได้รับมาจากอินเดียอีกทอดหน่ึงของกรุงศรีอยุธยา สถานะของพระมหา กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาจึงต่างกันกับสุโขทัย กล่าวคือ กษัตริย์กรุงศรี อยุธยาทรงอยู่ในฐานะ “เจ้าชีวิต” และ “เจ้าแผ่นดิน” ของอาณา ประชาราษฎร์ทั้งหลาย ในขณะท่ีสุโขทัยความสัมพันธ์ระหว่างพ่อขุนกับ ไพร่ฟ้าหน้าปกนัน้ ดูจะมีความสัมพันธ์ใกลช้ ดิ กันมากกว่า กรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองมาอย่างต่อเนื่อง แม้ว่ากษัตริย์ที่ ครองกรงุ ศรอี ยธุ ยาจะมีการผลดั เปลีย่ นราชวงศก์ นั ไปมาบ้างก็ตาม ทวา่ รูปแบบหรือความส�ำคัญ หรือสถานะของพระมหากษัตริย์ของกรุงศรี อยุธยายงั คงม่ันคงอย่เู ช่นเดมิ ในส่วนพระราอาณาจักรเองก็มีการขยายพระราชอาณาเขตที่ กว้างขวางออกไปเรื่อยๆ จนถึงขนาดว่าสามารถรวบรวมเอาอาณาจักร ส�ำคัญๆ โดยรอบเข้ามารวมด้วยท้ังเมืองส�ำคัญอย่างสุโขทัย หรือแม้แต่ หวั เมืองทางใตอ้ ยา่ งนครศรีธรรมราช กรุงศรีอยุธยาใช้รูปแบบการปกครองในระบอบสมบูรณาญา สิทธิราชย์ โดยมีพระมหากษัตริย์อยู่ในสถานะสมมติเทพเหนืออาณา ประชาราษฎร์ได้นานถึง ๔๑๗ ปี มีพระมหากษัตริย์จ�ำนวนท้ังสิ้น ๓๔ พระองค์ ๓ แม้ว่าจะต้องสูญเสียเอกราชให้กับชาติมหาอ�ำนาจใกล้เคียง อย่างพม่าไปถึง ๒ ครั้ง ๒ คราก็ตาม ทว่าพม่าเองก็ไม่สามารถท�ำลาย ครามรุ่งเรืองของกรุงศรีอยุธยาลงได้ ด้วยว่าไม่นานหลังการเสียกรุงฯ แล้ว กรุงศรีอยุธยาก็กลับมารุ่งเรืองได้ดังเดิมทั้ง ๒ คร้ัง แม้ว่าการเสีย กรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ ๒ จะมีการย้ายราชธานีใหม่ลงมาต้ังท่ีเมืองธนบุรี ทว่ากเ็ ปน็ การสานต่อความรงุ่ เรอื งของกรงุ ศรีอยุธยานนั่ เอง ความจริงแล้ว ความรุ่งเรืองของกรุงศรีอยุธยานั้นไม่ได้เกิด จากเหตุปัจจัยใดปัจจัยหน่ึงเป็นหลัก หากแต่ว่าเป็นจากเหตุปัจจัย หลายๆ อย่างประกอบกัน ท้ังสภาพทางภูมิศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ 25

ประวัตศิ าสตร์ประชาธิปไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี ความเชอื่ รวมถึงเรื่องการเมืองการปกครองด้วย สถานะของพระมหากษัตริย์กรุงศรีอยุธยาที่เปรียบไว้ว่าเป็นดั่ง สมมติเทพ ไมไ่ ดเ้ ปน็ ความเชอื่ ที่ถกู กดทับกันมาจากฝา่ ยผู้ปกครอง หาก แต่เป็นความเช่ือที่ตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของการยอมรับในสถานะนั้นทั้งฝ่าย ที่เปน็ ผู้ปกครองรวมถึงฝ่ายผ้อู ยูใ่ ตก้ ารปกครอง ความเชอื่ ที่ว่านปี้ ระกอบไปดว้ ยเรื่องของ “บุญ” และ “กรรม” ของแต่ละบุคคลเป็นส�ำคัญ ความเช่ือหนึ่งของการยอมรับกษัตริย์ใน ฐานะสมมติเทพก็คือ เกิดจากการสะสมบุญญาบารมีส่วนพระองค์เองที่ ไมไ่ ดเ้ กดิ เพยี งแคช่ ว่ั ขา้ มคนื หากแตเ่ กดิ จากการสะสมตอ่ เนอื่ งกนั มาเปน็ ระยะเวลาอันยาวนาน นอกจากน้ียังมีความเชื่อกันว่า พระมหากษัตริย์ คือพระชาติหนึ่งของผู้ที่สืบไปในภายหน้าคือพระพุทธเจ้า ซึ่งเราแสดง ออกในการปฏิบัติต่อพระองค์ เช่น การเรียกขานระหว่างกัน โดยเรียก ตนเองว่า “ข้าพระพุทธเจ้า” ซ่ึงก็หมายความว่าเปรียบตนเองเป็นด่ังข้า รับใชใ้ ตเ้ บ้อื งพระยคุ ลบาทแหง่ ผทู้ ภ่ี ายหนา้ คือพระพุทธเจ้านัน่ เอง นอกจากนี้ สถานะของพระมหากษัตริย์ตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบันก็มีความสูงส่งมากหากเปรียบเทียบกันกับสามัญชนท่ัวไป ดัง เช่นการเปรียบเทียบตัวเราเองว่าเป็น “ข้าทูลละอองธุลีพระบาท” ซ่ึง หมายถงึ ตนเองนน้ั มคี า่ เปน็ ไดเ้ พยี งผทู้ รี่ องรบั ฝนุ่ ละอองทฝี่ า่ พระบาทของ พระมหากษตั รยิ ์ สถานะดังกล่าวจึงเป็นความเข้มข้นของท้ังพระราชอ�ำนาจและ ทางจิตวิญญาณของพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ความจริงแล้วการปกครองโดยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในสยามประเทศ หรือดินแดนที่เรียกว่าประเทศไทยในปัจจุบันน้ีมีมาต้ังแต่คร้ังโบราณ โดยศาสตราจารย์รอง ศยามานนท์เช่ือว่า ประเทศสยามได้อยู่ใต้การ ปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หรืออ�ำนาจสิทธ์ิขาดที่กษัตริย์ มาต้ังแต่คร้ังท่ีกลุ่มคนอพยพมาจากดินแดนในลุ่มแม่น�้ำแยงซี เพ่ือสู่ 26

ประวัตศิ าสตร์ประชาธปิ ไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี คาบสมุทรอินโดจีน ในสมัยอาณาจักรน่านเจ้า (พ.ศ.๑๑๙๔-๑๗๙๖) พระเจา้ แผน่ ดนิ ทรงพระราชอำ� นาจเหนอื ราษฎร ๔ และสบื ต่อเรอ่ื ยมาจาก สุโขทัย กรุงศรอี ยธุ ยามาจนถงึ ปจั จุบัน ความรุ่งเรืองของกรุงศรีอยุธยาต้องมาสะดุดลงอีกครั้ง เมื่อ พม่าเข้ามารุกรานจนต้องสูญเสียเอกราชเป็นคร้ังที่ ๒ ในปี พ.ศ.๒๓๑๐ ทว่าก็เป็นเช่นเดิมว่า แม้พม่าจะเผาผลาญท�ำลายบ้านเมืองจนย่อยยับ แต่ไม่นานต่อมาก็มีมหาราชพระองค์ใหม่ที่น�ำพาเอกราชกลับคืนมาได้ อีกครั้งหน่ึง น่ันคือ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือท่ีเราคุ้นกันในพระ นามที่เรียกขานกันว่า สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช แม้ว่ามหาราชผู้น้ีจะมิได้สืบเชื้อสายหน่อพุทธางกูรมาจาก ราชวงศ์บ้านพลูหลวง อันเป็นราชวงศ์สุดท้ายของกรุงศรีอยุธยา ทว่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก็ทรงพระปรีชาสามารถสืบต่อเอกราช และความรุ่งเรืองของกรุงศรีอยุธยากับคืนมาได้อีกคร้ังในระยะเวลาไม่ นาน แม่ว่าตลอดรัชกาลของพระองค์จะมีการท�ำสงครามโดยตลอด แต่ ว่าพระองค์ก็ทรงสามารถน�ำพารัฐนาวาแห่งนี้ให้เจริญก้าวหน้าไปในทุกๆ ดา้ น ในฐานะพระมหากษตั รยิ ภ์ ายใตก้ ารปกครองในระบอบสมบรู ณาญา สทิ ธริ าชย์ ความโดดเด่นของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชในฐานะพระ มหากษัตริย์นั้นอยู่ท่ีความเป็นผู้น�ำในด้านการสงคราม ท้ังการต่อสู้เพ่ือ ขยายพระราชอาณาเขตรวมถึงสงครามการปกป้องประเทศ ทรงมีความ เด็ดขาดตามพระราชอำ� นาจที่พระองคท์ รงสร้างมา สิ่งท่ีน่าสนใจคือสถานะของพระองค์ในฐานะพระมหากษัตริย์ หรือ สมมติเทพในช่วงเวลาดังกล่าวนั้นดูจะลดความเข้มข้นลงมาก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกลายเป็นพระมหากษัตริย์ท่ีรุ่งเรืองมา ด้วยความสามารถและอยู่ในสถานะบุคคลธรรมดาสามัญมากกว่าการ เป็นสมมติเทพดังเช่นกรุงศรีอยุธยา เห็นได้จากความใกล้ชิดกับ 27

ประวัติศาสตรป์ ระชาธปิ ไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี ประชาชน ใกล้ชิดกันกับข้าราชการผู้ร่วมรบเคียงบ่าเคียงไหล่ในหลาย สงครามในรชั สมยั ของพระองค์ อย่างไรก็ตามสถานะของพระมหากษัตริย์ก็ยังคงเข้มข้นอยู่ มาก แม้ว่าการยอมรับในตัวกษัตริย์ในสมัยอยุธยากับสมเด็จพระเจ้า ตากมสินมหาราชนั้นจะแตกต่างกันก็ตาม กล่าวคือ ในสมัยอยุธยาน้ัน ยอมรบั กษตั ริย์จากการเปน็ ตวั แทนของเทพ ทวา่ สมัยธนบุรกี ลบั ยอมรบั กษัตริย์ในฐานะบคุ คลธรรมดาท่ีน�ำความสงบร่มเยน็ มาสู่ราษฎร เม่ือมีการเปลี่ยนกษัตริย์พระองค์ใหม่มาเป็นสมเด็จพระ พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สถานะความเป็นกษัตริย์กับการปกครอง ไม่ได้เปลี่ยนแปลงไปจากกษัตริย์พระองค์ก่อนมากนัก นั่นคือความ เข้มข้นไม่ได้อยู่ท่ีการเป็นตัวเทนของเทพ หากแต่เป็นคนธรรมดาสามัญ ทส่ี ืบตอ่ ความเปน็ ผนู้ �ำมาช่วยปัดป้องผองภัยให้กบั ราษฎรได้ ดูเหมือนราชวงศ์จักรีจะเริ่มต้นและต่อเน่ืองราชอาณาจักรไป ในทิศทางท่ีดี สิ่งท่ีเห็นคือการสงครามระหว่างไทยและพม่าได้ลดลง อย่างต่อเนื่อง จะมีมากก็เพียงในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเท่าน้ัน เน่ืองด้วยสภาพทางการสงครามน้ัน เปลี่ยนแปลงไป การสงครามระหว่างกันนั้นไม่เป็นเรื่องของภูมิภาคเสีย แล้ว พมา่ เองกไ็ มไ่ ด้มีสงครามรบพงุ่ กับแต่เพยี งแค่สยามอย่างเดยี ว ใน สมัยรัตนโกสินทร์พม่าเองต้องพบกับการสงครามในรูปแบบใหม่ กับ มหาอ�ำนาจจากแดนไกลนั่นก็คือ อังกฤษ ท่ีต่อมาพม่าก็มีอันต้องพ่าย แพแ้ ละเสยี เอกราชในท่สี ดุ เม่ือพระราชภาระในฐานะกษัตริย์เปล่ียนแปลงไป สถานะ ความเป็นผู้น�ำก็จ�ำต้องปรับเปลี่ยนตามบริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลง ไปด้วย ดังได้กล่าวไว้แล้วในตอนต้นว่า ในช่วงสมัยรัตนโกสินทร์ตอน ต้น มหาอ�ำนาจตะวันตกได้แผ่อิทธิพลไปท่ัวในรูปของ “นักล่าอาณา นคิ มตะวนั ตก” ประเทศตา่ งๆ โดยรอบได้สูญเสียเอกราชให้กบั ประเทศ 28

ประวัตศิ าสตรป์ ระชาธปิ ไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี ตะวันตกเหลา่ น้ี พม่าเองที่เคยเป็นคู่สงครามกับสยามมาต้ังแต่ครั้งโบราณก็จ�ำ ต้องมาพ่ายให้กับมหาอ�ำนาจตะวันตกอย่างอังกฤษ กัมพูชาเอง หรือ แม้แต่ลาวก็ต้องสูญเสียอิสรภาพให้กับฝรั่งเศส โดยที่ผู้น�ำหรือกษัตริย์ ของประเทศเหล่านี้ก็ได้ท�ำหน้าท่ีในฐานะผู้น�ำอย่างสุดความสามารถ ความแข็งกร้าวต่อมหาอ�ำนาจและความสุดโต่งในอ�ำนาจของพระมหา กษัตริยไ์ ด้น�ำมาซง่ึ การสูญสนิ้ พระราชอ�ำนาจไปในทีส่ ุด ในยุคลา่ อาณานคิ มตะวันตกนีด้ ูเหมอื นว่าประเทศสยามจะเปน็ ประเทศที่เข้าปะทะกับชาติมหาอ�ำนาจเหล่าน้ีหลังสุด กล่าวคือ อังกฤษ เองก็ตไี ลล่ งมาจากอนิ เดยี จีน มาพม่า ก่อนที่จะมาถงึ ไทย ฝา่ ยฝร่ังเศส ก็ตไี ล่มาจากญวน กัมพูชา และลาว โดยหมายวา่ จะขนึ้ ไปจนี ดว้ ยกนั ท้ัง อังกฤษและฝร่ังเศส ความพ่ายแพ้ของประเทศเหล่าน้ีท�ำให้สยามมี ตัวอย่างหรือภาพความพ่ายแพ้ท่ีชัดเจนให้เห็นถึงกระบวนวิธีในการ รับมอื กบั มหาอ�ำนาจเหล่านีไ้ ด้ พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ทรงเฝ้ามองและพิจารณาถึง ภัยร้ายท่ีจะเกิดขึ้นจากมหาอ�ำนาจตะวันตกเหล่าน้ีโดยตลอด และทรง พยายามปรับตัวเปล่ียนสถานะของพระองค์มาเป็นผู้น�ำในการปกป้อง ภัยที่ก�ำลังจะเกิดขน้ึ และเปลยี่ นแปลงรปู แบบไปจากเดิมอย่างมาก ความจริงภัยร้ายที่เกิดข้ึนจากมหาอ�ำนาจตะวันตกนี้มีให้เห็น ค่อนข้างจะชัดเจนมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ แล้ว พระบาทสมเด็จพระ นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเองก็ทรงเล็งเห็น ถึงกับทรงมีกระแสพระราชด�ำริตอน ใกลส้ วรรคต ความว่า “...การศึกข้างยวนข้างพม่าเห็นจะไม่มีแล้วจะ มีอยู่แต่พวกข้างฝรั่งให้ระวังให้ดี อย่าให้เสียทีเขาได้ การงานส่ิงใดของเขาที่คิดจะควรร�่ำเรียนเอาไว้ก็ให้เอา 29

ประวัตศิ าสตรป์ ระชาธิปไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี อย่างเขา แตอ่ ยา่ ให้นับถือเลอ่ื มใสไปทีเดียว...”๕ ความข้างต้นแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจและยอมรับใน สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปของพระมหากษัตริย์ไทย รวมถึงการ ยอมรับในสถานะของพระองค์เองว่าต้องเปล่ียนไปตามบริบทที่ เปล่ยี นแปลง ไมย่ ดึ มัน่ ในส่ิงเดิมอยา่ งเหนียวแนน่ อาจกล่าวได้ว่ารัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่ หัว เป็นช่วงของกระแสธารแห่งการเปล่ียนผ่านทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครองอย่างชัดเจน พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ท่ีทรง ยอมรับในแสนยานุภาพของชาติตะวันตก ทรงเล็งเห็นถึงภัยร้ายท่ีเดิน ทางมาพร้อมกับการเปล่ียนแปลง โดยเฉพาะอย่างย่ิงเม่ือครั้งท่ีเกิด สงครามฝิ่น จนจีนเองต้องเสียเกาะฮ่องกงให้กับอังกฤษไป คร้ังน้ันดูจะ เป็นเหตุการณ์ท่ีสร้างความประหว่ันพร่ันพรึงให้แก่ประเทศต่างๆ ใน ภูมิภาคเป็นอย่างมาก ท้ังนี้เน่ืองจากว่าจีนเป็นมหาอ�ำนาจที่ทุกๆ อาณาจักรต่างก็ยอมรับในอ�ำนาจของจักรพรรดิจีน ดินแดนต่างๆ ใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่างก็ยอมรับในอ�ำนาจของจีนกันทั่ว หน้า แม้แต่เมื่อครั้งที่เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งท่ี ๒ แก่พม่า พระยา ตากสามารถน�ำไพร่พลเข้ามากู้เอกราชคืนได้จนเป็นผลส�ำเร็จ ประวัติ- ศาสตร์กล่าวไว้ว่า พระยาตากเองก็มีความพยายามอย่างยิ่งยวดที่จะส่ง ทูตไปยังกรุงจีน เพื่อให้จีนนั้นยอมรับในความเป็นกษัตริย์ใหม่ของ พระองค์ ทรงมีพระราชประสงค์ท่ีจะให้พระเจ้ากรุงจีนทรงยอมรับและ ยกพระองค์ขึ้นไว้ในฐานะ “อ๋อง” ของเมืองจีน ทว่าในตอนต้นแห่ง รัชกาลนน้ั พระเจ้ากรุงจนี ก็หาได้ยอมรบั พระองคไ์ ม่ ฝา่ ยพระยาตากกย็ ัง คงมีความพยายามอยู่หลายคร้ัง จนครั้งหลังสุดได้ส่งทูตไปเจริญพระ ราชสัมพันธไมตรีอีกครั้งในช่วงปลายรัชกาลท่ีกล่าวกันว่า พระองค์ทรง 30

ประวัตศิ าสตร์ประชาธิปไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี ส่งเคร่ืองราชบรรณาการไปถวายต่อพระเจ้ากรุงจีนมากถึง ๑๑ ล�ำเรือ ส�ำเภา ทวา่ ทตู เหลา่ น้ีกลบั มาก็เปน็ คราวทเ่ี ปลีย่ นรัชกาลใหมไ่ ปแลว้ เมื่อสงครามระหว่างชาติตะวันตกกับมหาอ�ำนาจอย่างจีนที่เกิด ข้ึนในระหว่าง พ.ศ.๒๓๘๒-๒๓๘๕ นำ� มาซ่ึงความพ่ายแพ้อยา่ งราบคาบ ของจีน ท�ำให้สยามเองก็ตระหนักชัดถึงแสนยานุภาพของตะวันตกมาก ขึ้น เม่ือพิจารณาแล้วก็เห็นว่าการต่อสู้แข็งขืนระหว่างกันดังเช่นสงคราม ระหว่างไทยและพม่านั้นเห็นชัดว่าคงจะไม่เป็นผล ชนช้ันน�ำของสยาม ในเวลานั้นจึงหันมาให้ความส�ำคัญกับองค์ความรู้และวิทยาการที่แปลก ใหม่ของตะวันตกมากขึ้น ความจริงแล้วชาติตะวันตกเหล่าน้ีต่างก็เดินทางเข้ามาใน ภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้น้ีมาเป็นเวลานานแลว้ ในประเทศสยาม เองก็มีหลักฐานว่าชาติตะวันตกนี้เข้ามาในอย่างน้อยก็สมัยอยุธยา และ ชาติตะวันตกชาตแิ รกทีเ่ ราเชอ่ื กันวา่ มาเปน็ ชาตแิ รกกค็ ือ โปรตุเกส รวม ถึงชาติตะวันตกอีกหลายชาติท่ีเข้ามามีบทบาท เช่น ฝร่ังเศส ฮอลันดา จนี ญปี่ ่นุ เป็นต้น ในสมัยรัตนโกสินทร์เองก็มีชาติตะวันตกเข้ามามีบทบาทใน ตั้งแต่รัชสมัยของพระบาสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชแล้ว ทว่าในช่วงแรกๆ น้ันบทบาทที่เห็นชัดเจนก็จะเป็นเรื่องของผลประโยชน์ ทางด้านการค้าเสียเป็นส่วนใหญ่ ไม่ค่อยมีบทบาท และไม่ค่อยสนใจ หรอื คิดทีจ่ ะเข้ามามีบทบาทตอ่ สังคมและวัฒนธรรมไทยมากนกั โดยม่งุ เน้นไปทเ่ี ร่อื งเศรษฐกจิ เป็นหลกั ต่อมาชาติตะวันตกเหล่าน้ีเริ่มน�ำเอาศิลปะวิทยาการใหม่ๆ เข้า มาสู่สังคมไทย ทั้งด้านการแพทย์แผนตะวันตก การศึกษา รวมถึง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ๆ มากมาย อาทิ เคร่ืองปั่นไฟ เคร่ือง จกั รกลต่างๆ เทคโนโลยีการต่อเรือ เปน็ ตน้ วิทยาการเหล่านี้ได้สร้างความต่ืนตาต่ืนใจให้กับสังคมไทย 31

ประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี อยา่ งมาก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ชนชนั้ สูงของสยาม ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ความ พยายามท่ีจะปรับตัวเองให้เท่าทันต่อวิทยาการของตะวันตกมากข้ึน และเม่ือชนช้ันน�ำมีการติดต่อค้าขายกับชาติตะวันตกส่งผลให้เกิดการ รับเอาวัฒนธรรมความคิด ความเช่ือ และวิทยาการต่างๆ เหล่านี้เข้ามา ในระบบคิด กลายเป็นแนวคิดและโลกทัศน์ใหม่จากที่แต่เดิมยอมรับ นับถือและยอมรับแนวคิดและการอธิบายสืบต่อกันมาแต่โบราณ กลาย มาเป็นแนวคดิ ทย่ี อมรบั ความเปน็ จรงิ ตามประสบการณห์ รอื สิง่ ทพี่ บเหน็ มากขน้ึ อาจกล่าวได้ว่า แนวคิดเรื่องกษัตริย์กับพระราชอ�ำนาจตาม ระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อาจมีจุดเร่ิมต้นการ เปลีย่ นแปลงต้งั แตส่ มยั นก้ี เ็ ปน็ ได้ โดยเริ่มจากการยอมรบั ความเป็นจริง ตามธรรมชาติอย่างมีเหตุผลว่ากษัตริย์ไม่ได้เป็นตัวแทนของเทพเจ้า หากแต่กษัตริย์ก็เป็นเพียงมนุษย์ธรรมดาสามัญที่ได้รับการยอมรับให้ อยู่ในสถานะผู้น�ำเท่าน้ัน ซ่ึงการยอมรับน้ีก็อาจอยู่ในสถานะที่เป็นการ ยอมรับในทางจิตวิญญาณ ในฐานะที่น�ำความเจริญรุ่งเรืองและช่วย ปลดเปลื้องความทุกข์เข็ญให้กับตนเองได้ และกลายเป็นความศรัทธา เชอื่ ม่นั ในทสี่ ดุ แม้ว่าแนวคิดดังกล่าวจะไม่ได้มีผลต่อพระราชอ�ำนาจของพระ มหากษัตริย์ หากแต่ชัดเจนว่าสยามได้เกิดแนวคิดใหม่เร่ืองพระราช อ�ำนาจขึ้นแล้ว อาจไม่เห็นผลท่ีชัดเจนในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระนัง่ เกลา้ เจ้าอย่หู วั ทว่าต่อมาผลของแนวคิดดังกล่าวก็เกิดความชัดเจนมากข้ึน เมื่ออิทธิพลของชาติมหาอ�ำนาจตะวันตกส่งผลกระทบต่อพระราช อ�ำนาจของพระมหากษัตริย์สยามในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระ จอมเกล้าเจ้าอย่หู ัวรัชกาลท่ี ๔ อังกฤษและฝรั่งเศสรุกคืบเข้าครอบครองดินแดนต่างๆ มาก 32

ประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี มาย สยามเองกเ็ ร่ิมเหน็ ว่าเป็นภยั รา้ ยท่ีต้องเตรียมตัวตัง้ รับอย่างเอาจริง เอาจัง แน่นอนว่าชนช้ันน�ำของสยามเป็นกลุ่มแรกท่ีตื่นตัว และเตรียม ตัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งพระมหากษัตริย์อย่างพระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว มีหลายส่ิงที่แสดงให้เห็นถึงการให้ความส�ำคัญของกษัตริย์ใน การต้ังรับกับภัยฝร่ัง เช่น การให้มีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษกับ ชนช้ันสงู การยอมรบั ท่จี ะเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละวิทยาการจากตะวนั ตก เป็นต้น จารีตแบบเดิมๆ ที่มีการยึดมั่นใช้กันมาต้ังแต่ครั้งอดีตอันเป็น ผลพวงมาจากระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบ เข้มข้น ขนบธรรมเนียมตามแบบโบราณราชประเพณีหลายอย่างก็มีอัน ผ่อนคลายลงและบางอย่างก็ให้มีการยกเลิกไป หรืออาจจะเรียกว่า เป็นการปรับตัวครั้งใหญ่ของกษัตริย์สยามท่ีเข้าใจถึงสถานการณ์และ สถานะที่เปล่ียนไปจากอดีต เช่น การยอมรับเป็นไมตรีกับชาติตะวันตก ด้วยการเช้ือเชิญให้เข้ามาร่วมท�ำสัญญาด้านการค้าขายระหว่างกัน แทนทจ่ี ะรอใหอ้ �ำนาจตะวนั ตกเหลา่ น้เี ขา้ มาครอบงำ� เสยี ก่อน เปน็ ต้น แม้จะมีความพยายามอย่างมากจากพระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัวท่ีจะยับยั้งภัยฝรั่งที่เกิดข้ึน ทว่าความปรารถนาอย่าง แรงกล้าในการเข้าครอบครองดินแดนต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ของชาวตะวันตกน้ีก็ไม่ได้เบาบางลงเลย แม้แต่ประเทศสยาม เองท่ีพยายามปรับตัวยอมรับและยอมอ่อนน้อมในหลายเร่ืองก็ยังคงอยู่ ในข่ายของความต้องการให้เป็นอาณานิคมอยู่เช่นเดิม และท่ีส�ำคัญ ความปรารถนาดังกล่าวมียังเดน่ ชดั มากขน้ึ ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ เราอาจมองว่าประเทศสยามนั้นมีการเปล่ียนแปลงบ้านเมืองให้ มีความทันสมัยท่ีเป็นตะวันตกอย่างจริงจังเม่ือคร้ังรัชสมัยของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั รัชกาลที่ ๕ ทวา่ ในความเปน็ จริงแลว้ 33

ประวัตศิ าสตรป์ ระชาธปิ ไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี พระมหากษัตริย์ของสยามก็ได้รับการยอมรับว่ามีความทันสมัยรู้เท่าทัน การเปล่ียนแปลงของโลกสมัยใหม่ต้ังแต่ครั้งรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั รชั กาลที่ ๔ แลว้ ดงั เช่นค�ำกลา่ วถวายราชสดุดี ของทูตอเมรกิ นั ที่มาเขา้ เฝา้ พระองค์ ความว่า “ข้าพระพุทธเจ้าถือว่าเป็นเกียรติอย่างสูง ที่ได้ รับเลือกจากประธานาธิบดีให้เป็นผู้แทนของประเทศของ ข้าพระพุทธเจ้า ณ พระราชส�ำนักของพระมหากษัตริย์ที่ ทรงเฉลียวฉลาดยิ่ง และทรงคุณธรรมอันประเสริฐแห่ง ภาคตะวันออก และถ้าข้าพระพุทธเจ้าจะประสบความ สำ� เรจ็ ตามความปรารถนาทแ่ี ทจ้ รงิ ของขา้ พระพทุ ธเจา้ ทจี่ ะ สร้างสายสัมพันธ์ทางไมตรี ซึ่งผูกพันประเทศสยามและ สหรัฐอเมริกาให้แข็งแรง ข้าพระพุทธเจ้าจะขอรับว่าเป็น ผลสนองอยา่ งผาสกุ ในชีวติ ของขา้ พระพุทธเจา้ ” ๖ จะเห็นได้ว่าสถานะของพระมหากษัตริย์ของสยามประเทศน้ัน ได้เปล่ียนแปลงไป จากที่เคยอยู่ในสถานะสูงสุดเป็นดั่งสมมติเทพใน สมัยอยุธยา กลายเป็นบุคคลธรรมดาท่ีการยอมรับจากมหาชนเป็นส่ิง ส�ำคัญไป ต่อมาเมื่อครั้งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้นครองราชสมบัติน้ัน ปัญหาเรื่องภัยฝรั่งยังคงเป็นพระราชภาระ หลักท่ีพระองค์ในฐานะกษัตริย์จะต้องทรงแบกรับเอาไว้ ทว่าด้วยพระ ปรีชาสามารถ พระองคก์ ท็ รงนำ� พารัฐนาวาสยามล�ำนล้ี ่องลอยไปไดอ้ ย่าง รอดปลอดภัย ดว้ ยกศุ โลบายตา่ งๆ มากมาย หากจะกล่าวกันไปแล้วการด�ำเนินนโยบายด้านต่างๆ ในการ พัฒนาประเทศของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวน้ัน ก็ 34

ประวัตศิ าสตรป์ ระชาธิปไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี เป็นการด�ำเนินนโยบายสืบต่อจากพระบรมชนกนารถเสียเป็นส่วนใหญ่ ทว่าด้วยภัยคุกคามที่รุกคืบเข้ามาอย่างรวดเร็วท้ังอังกฤษและฝรั่งเศสที่ เข้ามาประชิดและกลืนกินพ้ืนท่ีที่เคยเป็นประเทศราชของสยามมาก่อน ไปจ�ำนวนมาก ดังนั้นพระบรมราโชบายต่างๆ ของพระองค์จะต้องมี ความเข้มข้นชัดเจนและเร่งให้ปรากฏผลเป็นท่ปี ระจกั ษใ์ หเ้ รว็ ที่สดุ ความจริงแล้วเหตุผลหน่ึงของมหาอ�ำนาจตะวันตกท่ีแผ่ อิทธิพลเข้าครอบครองดินแดนต่างๆ ท่ีร้ายแรงกว่าการเป็น “นักล่า อาณานิคม” ก็คือเหตุผลท่ีว่า บ้านเมืองต่างๆ เหล่าน้ี (โดยเฉพาะ ภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้) แตเ่ ดิมเป็นเหมอื นดินแดนอันปา่ เถื่อน ล้าหลัง การท่ีอ�ำนาจของตนเองเข้ามาครอบครองน้ันก็เพ่ือน�ำพาให้ ประชาชนทั้งหลายได้เจริญรุ่งเรืองหรือศิวิไลซ์ขึ้น เหมือนดังเช่นชนชาติ ของตนเอง หลายประเทศท่ียึดมั่นในความยิ่งใหญ่ของตนเองก็ใช้นโยบาย ท่แี ขง็ กรา้ ว ต่อสดู้ ว้ ยพละก�ำลงั ความสามารถต่างก็ตอ้ งมีอนั พ่ายแพ้และ ต้องสูญเสียดินแดนไปในท่ีสุด ท้ังจีน อินเดีย หรือแม้แต่พม่าเองท่ีเคย เป็น “คู่ปรับ” เรื่องการสงครามของสยามต้ังแต่ครั้งอดีตก็มีอันต้องส้ิน เอกราชใหก้ ับองั กฤษไปในที่สุด ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวน้ี ดู จะมีความชัดเจนว่าสถานะของพระหากษัตริย์แห่งสยามประเทศนั้นได้ เปลี่ยนแปลงรูปแบบไป พระมหากษัตริย์ไม่ได้ทรงอยู่ในสถานะเป็น แม่ทัพเข้าต่อสู้แบบรบพุ่งเหมือนคร้ังอดีต รูปแบบของการสงครามน้ัน ได้เปล่ียนแปลงไปจากเดิมเสียแล้ว พระมหากษัตริย์เองก็จ�ำต้องทรง ปรับตัวเพ่ือรับกับสถานการณ์ที่เกิดข้ึน ซ่ึงเราเห็นได้จากนโยบายมาก มายท่ีพระองค์ทรงกระท�ำ ท่ีมุ่งเน้นไปในการรักษาอ�ำนาจอธิปไตยเอาไว้ ให้ได้ ด้วยการลดเงื่อนไขของต่างชาติท่ีว่าเป็นบ้านเมืองที่ป่าเถื่อนและ ล้าหลัง ด้วยการสร้างชาติบ้านเมืองให้มีความเจริญรุ่งเรืองและมีความ 35

ประวัติศาสตรป์ ระชาธิปไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี เป็น “ศิวิไลซ์” ตามอย่างนานาอารยประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม หรือแมแ้ ตก่ ารเมืองการปกครองของประเทศ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราช ประสงค์ท่ีจะปรับเปลี่ยนธรรมเนียมการปกครองของประเทศให้ สอดคล้องและสอดรับกับการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึน ทั้งน้ีก็ด้วยทรงเห็น ว่าจะเป็นหนทางให้รอดพ้นจากภัยท่ีคุกคามในเวลาน้ันได้ ดังความใน พระราชด�ำรสั ทีว่ ่า “ครั้นเม่อื ลว่ งมาถงึ ปัจจบุ นั น้ี บ้านเมอื งยิ่งเจริญ ขนึ้ กว่าแต่กอ่ นหลายเท่า การปกครองอย่างเก่านน้ั ก็ยง่ิ ไม่ สมกับความต้องการของบ้านเมืองหนักขึ้นทุกที จึงได้มี ความประสงค์อันยิ่งใหญ่ที่จะแก้ไขธรรมเนียมการ ปกครอง ใหส้ มกับเวลาให้เปน็ ทางท่จี ะเจรญิ แก่บ้านเมอื ง ไดค้ ดิ และไดพ้ ูดมาช้านาน แตก่ ารหาตลอดไปไดไ้ ม่ ด้วย มีเหตุขัดขวางต่างๆ เป็นอันมาก และการท่ีจะจัดนั้นก็ เปน็ การหนกั ตอ้ งอาศยั สตปิ ัญญาและความซ่ือตรง ความ จงรักภักดีของท่านท้ังปวง ผู้ซึ่งจะรับต�ำแหน่งจัดการท้ัง ปวงนั้นเต็มความอุตสาหะ วางเป็นแบบแผนไว้ได้แล้ว การท้งั ปวงจึงจะเปน็ ไดส้ ะดวกตามความประสงค”์ ๗ ซึ่งการแก้ไขธรรมเนียนการปกครองท่ีว่าน้ีก็คือ การปรับ เปล่ียนรูปแบบการปกครองแบบเดิม คือ จตุสดมภ์ มาเป็นกระทรวง ทงั้ หมด ๑๒ กระทรวงแทน ความจริงแล้วการปรับเปลี่ยนรูปแบบการปกครองทางประวัติ ศาสตร์ของราชอาณาจักรแห่งนี้ดูจะมีไม่มากนัก ซึ่งในอดีตก็คงจะเป็น พระราชอาณาจักรท่ีไม่ใหญ่มากนัก ความซับซ้อนเร่ืองของอ�ำนาจก็คง 36

ประวัตศิ าสตรป์ ระชาธปิ ไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี ไม่มากเช่นกัน ดังเช่น การปกครองของกรุงสุโขทัย หรือแม้แต่อยุธยา ตอนต้น และมีการปรับเปลี่ยนที่ชัดเจนเม่ือครั้งสมเด็จพระบรมไตรโลก นาถ ท่ีสร้างสร้างรูปแบบการปกครองท่ีช่วยถ่วงดุลของอ�ำนาจ ด้วยการ แต่งตั้งอคั รมหาเสนาบดีเปน็ ๒ ฝ่าย คอื สมุหกลาโหม และสมุหนายก ให้มีการปกครองส่วนกลางเป็นระบบจตุสดมภ์ คือ เวียง (เมือง) วัง คลัง และนา ให้ท�ำหน้าที่ปกครองประเทศ ซึ่งก็ใช้ได้ดีเร่ือยมาจนถึง รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่สถานการณ์ แวดล้อมน้ันเปลี่ยนแปลงไป จนน�ำมาซ่ึงการเปลี่ยนแปลงธรรมเนียม การปกครองประเทศอีกคร้งั ธรรมเนียมการปกครองประเทศดังกล่าวนี้ อ�ำนาจยังคงอยู่กับ ชนชนั้ สงู การเปลีย่ นถ่ายซง่ึ อ�ำนาจก็เป็นการเปลี่ยนถ่ายกนั เองไปมา ไม่ เก่ียวข้องกันกับคนธรรมดาสามัญท่ัวไป โดยมีความชอบธรรมจากเรื่อง ศาสนา หรอื เรอื่ งของบญุ ญาบารมีเปน็ ส่งิ สนบั สนนุ ซงึ่ องคป์ ระกอบของ การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นในแต่ละคร้ัง ส่วนใหญ่เป็นองค์ประกอบ ภายในเปน็ หลกั สำ� คัญ ทว่าต่อมาสถานการณ์แวดล้อมมีการเปล่ียนแปลงไป อิทธิพล ของชาวต่างชาติที่แต่เดิมไม่ได้มีเหนืออ�ำนาจอธิปไตยของพระมหา กษัตริย์ แต่เมื่อคร้ังถึงยุคล่าอาณานิคมตะวันตกน้ัน อิทธิพลของชาว ตะวันตกแสดงใหเ้ ห็นอย่างชัดเจนว่ามีพลานุภาพเหนอื กวา่ และทส่ี �ำคัญ มีส่ิงที่แสดงออกถึงความมุ่งม่ันหรือความปรารถนาอย่างแรงกล้าท่ีจะใช้ พลานุภาพน้ันเข้าครอบครองสยามประเทศ โดยสร้างความชอบธรรม น�ำหน้าข้ึนมาว่าต้องการสร้างความศิวิไลซ์หรือความเจริญรุ่งเรืองให้เกิด ข้ึนกับประชาชนในดินแดนแถบนี้ แม้ว่าพระราชอ�ำนาจของพระมหากษัตริย์จะไม่ได้ศักด์ิสิทธิ์ดัง เชน่ แต่เดมิ แตพ่ ระราชภาระทจ่ี ะต้องปกป้องราษฎรนน้ั กย็ งั คงอยู่ ท�ำให้ พระมหากษัตริย์ไทยจ�ำต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน 37

ประวัตศิ าสตรป์ ระชาธปิ ไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี สถานการณ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดูจะ เป็นช่วงเวลาท่ีอ�ำนาจหรืออิทธิพลตะวันตกนั้นข้ึนถึงขีดสุดในดินแดน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แล้ว ก่อนท่ียุโรปเองจะเกิดเป็น สงครามโลกครั้งที่ ๑ ท่ีท�ำให้อ�ำนาจของชาวตะวันตกในดินแดนเอเชีย ตะวันออกเฉยี งใต้นนั้ มอี นั ตอ้ งลดบทบาทลง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระมหา กษัตริย์แห่งสยามประเทศท่ีได้รับการยอมรับว่าทรงพระปรีชาสามารถ ทรงรู้เท่าทันต่อความต้องการของชาวตะวันตก อีกท้ังในเวลาน้ันเราเอง ก็มีอันต้องสูญเสียดินแดนท่ีแต่เดิมเคยเป็นประเทศราช ยอมรับในพระ ราชอ�ำนาจของกษัตริย์แห่งสยามไป ทั้งเมืองลาวและกัมพูชา พระองค์ จึงทรงริเริ่มให้มีการจัดระเบียบหรือรูปแบบการปกครองเสียใหม่เป็นรูป ของกระทรวง โดยให้รวมอ�ำนาจเข้าไว้ท่ีส่วนกลาง ท้ังน้ีก็เพื่อตัดข้ออ้าง ของชาติตะวันตกที่ว่าดินแดนท้ังหลายต่างก็มีอิสระแก่ตัวเองที่จะขึ้น ตรงต่อใครกไ็ ด้ การปฏิรูปการปกครองของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัวน้ี เป็นการแสดงให้เห็นถึงพระราชอ�ำนาจหรือพระราชอาณา จักรของพระมหากษัตริย์สยาม เพื่อให้ชาติมหาอ�ำนาจรับรู้และยอมรับ ในพระราชอ�ำนาจทช่ี ัดเจนของพระองค์ เพียงเท่าน้ีไม่ได้เพียงพอที่จะขวางกั้นความปรารถนาอันแรง กลา้ ของมหาอ�ำนาจตะวันตกที่มีเหนอื สยามแต่อยา่ งใด เหน็ ได้จากความ พยายามในหลากลายรูปแบบท่ีชาตติ า่ งๆ เหล่านีไ้ ดก้ ระทำ� ดว้ ยข้อค�ำอา้ ง ดังเชน่ เดิมทีว่ ่าบ้านเมืองหรือดนิ แดนแถบนย้ี งั คงเป็นบา้ นปา่ เมืองเถอ่ื น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ทรงต้องพยายาม ท�ำลายความเป็นบ้านป่าเมืองเถื่อนดังท่ีว่านี้ลงให้ได้ ด้วยการสร้างรัฐ สยามในรูปแบบใหม่ให้กลายเป็นบ้านเมืองท่ีศิวิไลซ์หรือบ้านเมืองที่ เจริญทัดเทยี ม “นานาอารยประเทศ” 38

ประวัติศาสตรป์ ระชาธปิ ไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี ทรงเห็นความส�ำคัญของการพัฒนาประเทศ และการปฏิรูป การปกครองท่ีเป็นกระทรวง ๑๒ กระทรวง แต่ละกระทรวงก็ให้มี เสนาบดีเป็นผู้รับผิดชอบตามอ�ำนาจหน้าที่ของตนเองไปท่ัวทั้งพระราช อาณาจักร เสนาดีแต่ละกระทรวงก็จะต้องเข้าประชุมปรึกษาหารือเพ่ือ แก้ไขปัญหารวมถึงหาแนวทางพัฒนาร่วมกัน โดยที่พระองค์ทรงน่ังอยู่ ในฐานะอัครมหาเสนบดีหรือหากว่าจะเปรียบเทียบกับปัจจุบันก็อาจ เทียบได้กบั นายกรฐั มนตรี หากพิจารณาอย่างน้ีก็จะพบว่า รูปแบบดังกล่าวข้างต้น แม้ว่า จะไม่ได้เป็นรูปแบบของประชาธิปไตยโดยแท้ แต่ก็ได้แสดงให้เห็นแล้ว ว่า สมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้มีการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ที่ เปลี่ยนแปลงไปแล้ว และท่ีส�ำคัญผู้ท่ีน�ำในการปรับตัวนั้นเป็นพระมหา กษัตริย์แห่งสยามประเทศเอง ท่ียอมลิดรอนพระราชอ�ำนาจที่มีอยู่แต่ เดมิ ของพระองค์ โดยมีจุดมงุ่ หมายท่ีตง้ั ไวค้ ือคงความเป็นเอกราชใหก้ ับ สยามประเทศ นอกจากน้ี รูปแบบการเรียนร้เู พอื่ การปรับตวั และปรบั ประเทศ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเองก็ทรงเห็นความส�ำคัญ อย่างมาก เห็นได้จากทรงเปดิ กว้างทจ่ี ะเรียนรวู้ ิทยาการใหมๆ่ ทเ่ี ป็นของ ชาวตะวันตก แม้กระทั่งทรงส่งพระบรมวงศานุวงศ์และขุนนางชั้นสูงไป เรียนต่อต่างประเทศจ�ำนวนมาก ท้ังน้ีก็เพ่ือให้มีการน�ำเอาความรู้ใหม่ๆ เหล่าน้ันกลับมาเร่งพัฒนาประเทศให้ทันสมัย ทรงปรับพัฒนาประเทศ ในด้านต่างๆ อย่างเร่งด่วน ท้ังสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครอง จนกล่าวกนั ว่า การพฒั นาประเทศของพระองค์เปน็ ด่งั “พลกิ ฝ่ามอื ” กล่าวคือ เราไดเ้ ห็นความเปล่ยี นแปลงมากมายเกิดขน้ึ ใน สยามประเทศแห่งนี้ในรัชสมยั ของพระองค์ คร้ันเม่ือถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ หัว พระองค์ทรงด�ำเนินพระบรมราโชบายในการพัฒนาประเทศตาม 39

ประวัตศิ าสตรป์ ระชาธิปไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี อย่างพระราชบิดา ทรงสร้างความเป็นรัฐชาติ สร้างความรู้สึกชาตินิยม ให้เกิดขนึ้ กับราษฎร แม้ว่าเร่ืองความพยายามของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัวในเร่ือง “รัฐชาติ” จะเป็นประเด็นเล็กๆ ทว่ากลับมาความน่า สนใจสูงมาก ในมุมท่ีว่า พระองค์ทรงมองในเรื่องของอ�ำนาจการเมือง การปกครองว่าไม่ได้อยู่ท่ีพระมหากษัตริย์เหมือนดังเดิมแล้ว ทว่าใน ความรสู้ ึกน้นั ทกุ คนตา่ งกม็ ีสว่ นรว่ มในความเปน็ “ชาติ” น้ีรว่ มกัน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าจ้าอยู่หัวทรงเป็นผู้น�ำสยาม ประเทศเข้าสู่ความเป็นนานาอารยประเทศด้วยการเข้าร่วมสงครามโลก คร้ังท่ี ๑ ที่แม้ว่าจะไม่ได้เป็นมหาสงครามท่ีเกี่ยวเนื่องกับสยามประเทศ โดยตรง แต่อย่างน้อยก็เป็นการประกาศตนเองให้โลกได้รับรู้ว่า สยาม ประเทศคอื หนงึ่ ในรัฐชาติทีม่ าตัวตนอยบู่ นโลกใบนี้ สงครามโลกครั้ง ๑ ดูจะเปน็ จุดหลกั ของการผ่อนคลายอ�ำนาจ ของชาวตะวันตกลงจากดินแดนแถบนี้ รวมถงึ สถานะของสยามประเทศ ก็ได้รับการยอมรับจากนานาอารยประเทศข้ึนมาเมื่อฝ่ายสัมพันธมิตรได้ รับชัยชนะ สยามได้รับการเข้าเป็นสมาชิกชุดแรกของสันนิบาติชาติ พระองค์ทรงให้มีการเจรจาขอแก้ไขสนธิสัญญาต่างๆ ที่ท�ำกับนานา อารยประเทศในลักษณะที่เราเสียเปรียบได้เป็นผลส�ำเร็จ แม้ว่าในช่วง ระยะเวลาที่พระองค์ทรงครองราชสมบัตินั้น จะเกิดมีปัญหาทางด้าน อื่นอยู่บ้าง แต่ก็ทรงน�ำพารัฐนาวาสยามแห่งน้ีก้าวหน้าให้ทัดเทียมกับ นานาอารยประเทศได้เปน็ อยา่ งดี คร้ันถึงในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่ี แม้ว่าจะทรงเป็นช่วงระยะเวลาท่ีไม่นานนัก ทว่าพระองค์ก็ทรงด�ำเนิน พระราชาโชบายตามอย่างพระเชษฐาและพระราชบิดาอย่างเคร่งครัด ทรงพัฒนาประเทศและแก้ไขสถานการณ์บ้านเมืองด้วยพระปรีชา สามารถ 40

ประวัติศาสตรป์ ระชาธิปไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี ด้านการเมืองการปกครอง พระองค์ทรงเป็นนักประชาธิปไตย โดยแท้ เห็นได้จากพระราชภารกิจมากมายที่ทรงกระท�ำ ท้ังการแต่งตั้ง คณะอภิรฐั มนตรสี ภาเมือ่ แรกทีเ่ สดจ็ ข้ึนครองราชสมบัติ ทแ่ี ม้วา่ จะไม่ใช่ รูปแบบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ทว่ารูป แบบที่ให้มีการปรึกษาหารือเพื่อหาข้อสรุปในเรื่องใดเรื่องหนึ่งนั้น ก็เป็น รูปแบบท่ีแสดงให้เห็นถึงการยอมรับและลดบทบาทพระราชอ�ำนาจใน ฐานะพระมหากษตั รยิ ล์ งด้วยพระองคเ์ อง ต่อมาพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวก็ได้ทรงแสดงให้ เห็นถึงความเป็นกษัตริย์นักประชาธิปไตยด้วยทรงให้มีการร่างรัฐ ธรรมนูญขึ้นมาโดยลดพระราชอ�ำนาจของพระมหากษัตริย์ลงมา ให้การ ปกครองน้ันเป็นแบบประชาธิปไตย แม้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวจะ ไม่ได้มีการประกาศใช้ เน่ืองจากว่าไม่ได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะอภิ รัฐมนตรีสภา ทว่าก็เป็นเครื่องหมายท่ีแสดงให้เห็นว่าพระมหากษัตริย์ ของสยามไม่ได้ทรงยึดม่ันในพระราชอ�ำนาจอย่างเข้มข้น ทว่าทรงมองที่ ความเป็นรัฐชาติ มองท่ีประชาชนเป็นหลัก กล่าวได้ว่า ภายใต้การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอ�ำนาจสูงสุดของสยามประเทศแห่งนี้ ได้ มีการเปล่ียนแปลงในเร่ืองพระราชอ�ำนาจเร่ือยมา จากความสมบูรณ์ใน พระราชอ�ำนาจและได้มีการผ่อนคลายและปรับตัวตามสถานการณ์ แวดล้อมท่ีเปลีย่ นแปลงไป พระมหากษัตริย์ต้ังแต่ครั้งอดีตได้ใช้พระราชอาญาสิทธิ์ใน ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้กับพระราช อาณาจกั รและอาณาประชาราษฎร์เร่ือยมา ทั้งเอกราชและความรุง่ เรอื ง พระมหากษัตริย์พระราชวงศ์จักรีที่ครองแผ่นดินกรุงรัตน- โกสินทร์ท่ีผ่านมา ทุกพระองค์ได้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าทรงมุ่งม่ัน ท่ีจะสร้างความรุ่งเรืองและความเป็นเอกราชให้กับสยามประเทศแห่งนี้ 41

ประวัตศิ าสตร์ประชาธปิ ไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี ให้ม่ันคง กล่าวได้ว่าคนไทยเป็นหนี้บุญคุณพระมหากษัตริย์แห่งพระ ราชจักรีวงศ์อย่างยากที่จะตอบแทนได้หมด ทรงปกป้องคุ้มครองคน ไทยให้รอดพ้นจากมหาอ�ำนาจในอดีต ท้ังการรุกรานด้วยพละก�ำลังจาก อ�ำนาจใกล้เคียงไปจนถึงมหาอ�ำนาจตะวันตกท่ีรุกรรานไปท่ัว เซอร์โจ ไซห์ ครอสบี้ อดีตอัครราชทูตอังกฤษก่อนสงครามมหาเอเชียบูรพา ผู้ รอบรู้เร่อื งของสยามอย่างมากยงั ไดก้ ล่าวไวว้ า่ “ประชาชาติสยามได้เป็นหนี้อย่างเหลือท่ีจะ คณานับได้ต่อพระปรีชาสามารถของเจ้านายในราชวงศ์ จักรีอย่างแท้จริง ทั้งนี้เน่ืองจากการด�ำรงรักษาสถานภาพ อธิปไตยโดยอาศัยนโยบายอย่างฉลาดในการยอมรับ ความก้าวหน้าของอารยธรรมตะวันตก แทนที่จะต่อต้าน อารยธรรมน้ันดังท่ีพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวทรงริเร่ิม และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้า อยู่หัวทรงด�ำเนินสืบต่อมา นอกจากยังเป็นหน้ีอย่างท่ี คณานับมิได้ต่อพระราชกิจของพระองค์ ในฐานะที่เป็น หัวหน้าท่ีทรงคุณธรรมอันประเสริฐที่ทรงสามารถและ ก้าวหน้าอย่างยิ่ง มาตรฐานของพระปรีชาสามารถดังที่ พระราชวงศ์สยามได้แสดงไว้ในระยะร้อยปีท่ีแล้วมาสูง มาก และยอ่ มจะเป็นเกียรติแกป่ ระเทศใดๆ ได้ทั้งสิน้ ” ๘ เรามักมองรูปแบบการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิ ราชย์ในสยามว่าเป็นเรื่องของอ�ำนาจผูกขาดที่ผูกติดไว้กับบุคคลช้ันสูง ดังน้ันความเจริญก้าวหน้าหรือล้าหลัง ความส�ำเร็จหรือล้มเหลวของ ประเทศก็ขึ้นอยู่กับผู้ท่ีมีอ�ำนาจ ทว่าที่ผ่านมาพระมหากษัตริย์กับพระ ราชอ�ำนาจในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ก็ได้แสดงให้เห็นแล้วว่า 42

ประวตั ิศาสตร์ประชาธิปไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี ระบอบดงั กล่าวและพระมหากษตั ริย์ผใู้ ช้อ�ำนาจในระบอบนนั้ ไม่ไดน้ �ำพา รัฐนาวาสยามล�ำน้ีล่องลอยไปอย่างไร้จุดหมายหรือไม่มีทิศทางเลย ตรง กันข้าม กษัตริย์สยามกับพระราชอ�ำนาจในระบอบสมบูรณาญาสิทธิ- ราชย์ ได้นำ� พาสยามประเทศสคู่ วามเจริญรุ่งเรอื งตามลำ� ดบั แมว้ ่าการเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ ที่เกิดขึ้น จะ เป็นการเปล่ียนผ่านการใช้อ�ำนาจอย่างพลิกฝ่ามือ ทว่าความส�ำคัญของ พระมหากษัตริย์กลับไม่ได้ลดบทบาทและความส�ำคัญต่อราษฎรสยาม ลงเลย ตรงกันข้ามความส�ำคัญกลับทวีมีมากข้ึนเร่ือยๆ ไม่ใช่พระราช อ�ำนาจท่ีทรงใช้หากแต่เป็นเรื่องของจิตวิญญาณและความรู้สึกศรัทธา ที่มีต่อองค์พระมหากษัตริย์เสียมากกว่า แม้ว่าปัจจุบันประเทศไทยจะมี การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น พระประมุข ทว่าพระมหากษัตริย์ก็ยังคงความส�ำคัญต่อประชาชนอย่าง มาก 43

ประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี เชงิ อรรถ ๑ อ้างจาก ส�ำราญ ผลดี. แผ่นดินสยามกับพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธนบุรี. ๒๕๕๔, หน้า ๑๔๖ ๒ มีผู้รู้บางท่านกล่าวไว้ว่าหากแปลความหมายตามรูปศัพท์ แล้ว ค�ำว่า “อยุธยา” น้ี หมายถึง เมืองที่ไม่มีใครสามารถตีหรือมีชัย เหนอื ได้ เพราะคำ� ว่า “อ” อา่ นว่า “อะ” นั้น หมายถงึ “ไม”่ และ “ยุธ” นี้หมายถึงการสงคราม อย่างไรก็ตามก็ยังมีข้อถกเถียงทางประวัติ- ศาสตร์อยู่ว่า เราเสียกรุงศรีอยุธยาให้กับพม่าถึง ๒ คร้ัง ซึ่งหากไป พิจารณารายละเอียดทางประวัติศาสตร์แล้วก็จะพบว่า การเสียกรุงศรี อยุธยาทั้ง ๒ ครั้งท่ีผ่านมาเป็นการเสียกรุงศรีอยุธยาจาก “คนใน” ไมใ่ ชก่ ารสงครามโดยตรงทง้ั ส้นิ ๓ นักประวัติศาสตร์กล่าวไว้ไม่ตรงกันถึงจ�ำนวนพระมหา กษัตริย์ท่ีครองกรุงศรีอยุธยา บ้างก็ว่ามี ๓๓ พระองค์ และบ้างก็ว่ามี ๓๔ พระองค์ ฝ่ายที่กลา่ ววา่ มี ๓๔ พระองคน์ ้นั ก็ใหน้ ับรวมเอาขุนวรวง ศา ซึ่งประวัติศาสตร์กล่าวไว้ว่าเป็นชู้รักของแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์รวม เข้าไปด้วยเนื่องจากขุนวรวงศาเองก็ท�ำหน้าท่ีในฐานะพระมหากษัตริย์ เชน่ กัน แมจ้ ะเป็นเพียงระยะเวลาส้นั ๆ กอ่ นที่สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา จะท�ำการยึดอ�ำนาจแล้วถวายให้กับสมเด็จพระมหาจักรพรรดิในเวลา ต่อมา ส่วนฝ่ายท่ีกล่าว่าไม่ให้นับนั้นก็มีเหตุผลว่าขุนวรวงศาในเวลานั้น แม้ว่าจะได้ท�ำหน้าท่ีในฐานะกษัตริย์ ทว่าก็เป็นแต่เพียง ผู้ส�ำเร็จราชการ ซ่ึงก็ได้รับการสนับสนุนมาจากท้าวศรีสุดาจันทร์อีกทอดหนึ่ง ส่วนตัวผู้ เขียนเองเห็นว่าการท�ำหน้าท่ีอย่างครบสมบูรณ์ในฐานะกษัตริย์ของขุน วรวงศาก็น่าจะสามารถนับรวมเข้าไว้ในฐานะกษัตริย์พระองค์หนึ่งของ 44

ประวัตศิ าสตร์ประชาธปิ ไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี กรุงศรีอยุธยาได้ อีกท้ังขุนวรวงศาเองก็สืบเช้ือสายราชวงศ์อู่ทอง ความ ชอบธรรมกน็ า่ จะพอมอี ยู่ ๔ รอง ศยามานนท์. ประวตั ิศาสตรไ์ ทยในระบอบรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทสำ� นักพิมพ์ ไทยวฒั นาพานิช จำ� กดั . ๒๕๒๐, หนา้ ๑ ๕ อ้างจาก บัณฑิต ลิ่วชัยชาญ. “ภยั ฝรงั่ ” สมัยพระนง่ั เกล้าฯ. กรงุ เทพฯ : มตชิ น. ๒๕๕๐, หนา้ ๔๙ ๖ ค�ำกล่าวถวายสดุดีของนายเทาน์เซน ฮาซีส (Townsend Harris) ทูตอเมริกันท่ีเข้ามาเข้าเฝ้าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว. อ้างจาก รอง ศยามานนท์. ประวัติศาสตร์ไทยในระบอบ รฐั ธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช. ๒๕๒๐, หน้า ๓ ๗ พระราชด�ำรัสในรัชกาลท่ี ๕ แถลงพระบรมราชาธิบายแก้ไข การปกครองแผน่ ดิน. อา้ งจาก รอง ศยามานนท.์ ประวัตศิ าสตร์ไทยใน ระบอบรฐั ธรรมนญู . กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ . ๒๕๒๐, หนา้ ๓ ๘ อ้างจาก รอง ศยามานนท์. ประวัติศาสตร์ไทยในระบอบ รัฐธรรมนูญ. กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ . ๒๕๒๐, หน้า ๕ 45

ประวัตศิ าสตร์ประชาธปิ ไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี ๐๓ แนวคิดเรื่อง “ประชาธิปไตย” ในสยาม ความจริงแล้วแนวคิดเรื่องประชาธิปไตยนั้นเข้ามาพร้อมกับ สภาพความเปล่ียนแปลงทางด้านอนื่ ๆ ทัง้ เศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม และก็เช่ือได้ว่า มีความชัดเจนมากก็ในตอนต้นของรัตนโกสินทร์ หรือ พรอ้ มกบั ยุคลา่ อาณานิคมตะวนั ตก การเปลี่ยนแปลงการปกครองสยามใน พ.ศ. ๒๔๗๕ น้ัน ถือ เป็นการเริ่มศักราชใหม่ในการใช้อ�ำนาจทางการเมืองของประเทศ และท่ี ส�ำคัญการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นการเปล่ียนแปลงการปกครองที่ทั่ว โลกต้องตื่นตะลึง เมื่อรูปแบบของการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองที่เกิดข้ึน น้ันเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ไร้ซึ่งการเสียเลือดเนื้อระหว่างคนสยาม ด้วยกันเอง ซ่ึงต่างกันกับอีกหลายประเทศ ท้ังฝรั่งเศส รัสเซีย หรือ แม้แต่จีนเองท่ีกว่าการเปล่ียนผ่านจะเกิดขึ้น ความวุ่นวายภายใน ประเทศกไ็ ดส้ รา้ งความเสียหายให้อยา่ งมากมาย การเปล่ียนผ่านทางการเมืองท่ีเป็นไปได้อย่างเรียบร้อยในครั้ง น้ี สิ่งส�ำคัญคือเป็นไปด้วยความยินยอมและความร่วมมือเป็นอย่างดี 46

ประวัตศิ าสตรป์ ระชาธิปไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่ียอมรับการมีรัฐธรรมนูญ ที่ส่งผ่านอ�ำนาจไปสู่ประชาชน ความจริงแล้วเร่ืองการใช้รัฐธรรมนูญใน การปกครองน้ี ไม่ได้เป็นเรื่องใหม่หรือเร่ืองที่เหนือความคาดหมายของ พระองค์แต่อย่างใด ซึ่งก่อนหน้านี้เร่ืองการน�ำรัฐธรรมนูญการปกครอง ประเทศเข้ามาใช้ ก็เป็นหน่ึงในแนวพระราชด�ำริของพระองค์จนถึงข้ันที่ ว่ามีการจัดท�ำร่างรัฐธรรมนูญเสร็จส้ินแล้ว ทว่าเพียงแต่ยังต้องมีการ ปรบั ปรุงแกไ้ ขและยังไมไ่ ดม้ กี ารนำ� มาใชเ้ ท่านัน้ เอง สิ่งที่น่าสนใจคือ แต่เดิมนั้นประเทศสยามมีการปกครองใน รูปแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาต้ังแต่คร้ังอดีต ผ่านมาหลายร้อยปี ระบอบดังกล่าวก็ยังคงเหนียวแน่นอยู่ในสังคมสยาม เหตุใดแนวคิด เรอ่ื งระบอบประชาธปิ ไตยจึงเข้ามาเปลี่ยนรปู แบบความคดิ ของคนสยาม ได้ จนน�ำมาซ่งึ การเปลยี่ นแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ แน่นอนว่าแนวความคิดลักษณะดังกล่าวไม่ได้เป็นฐานความ คิดเริ่มต้นจากภายในสังคมสยามเอง หากแต่เป็นแนวความคิดท่ีได้รับ อิทธิพลมาจากต่างประเทศ ที่มาพร้อมกันกับความเจริญรุ่งเรืองในยุค ล่าอาณานิคม ความแตกต่างด้านความรุ่งเรืองท่ีได้เห็นอย่างชัดเจน ท�ำให้กลุ่มคนในภูมิภาคดังกล่าวได้เกิดฉุกคิดรวมถึงได้มีการน�ำมา วิเคราะห์ถึงสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลให้ชาติตะวันตกเหล่านี้มีความ รุ่งเรืองอย่างเห็นได้ชัด แน่นอนว่าเร่ืองการเมืองการปกครอง หรือการมี ส่วนร่วมในความส�ำเร็จหรือความล้มเหลวจากการพัฒนาย่อมต้องเป็น หน่ึงในปัจจยั ขา้ งต้น นอกจากน้ี รอง ศยามานนท์ ได้วิเคราะห์ไว้ว่าสาเหตุส�ำคัญ ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ น้ันมาจาก ๑. ความก้าวหน้าในการศึกษาแบบตะวนั ตก ๒. การเปลี่ยนแปลงการปกครองในญี่ปุ่นและการปฏิวัติใน ประเทศเปอร์เซยี หรืออหิ ร่านปจั จุบัน ประเทศตุรกแี ละประเทศจีน 47

ประวัติศาสตรป์ ระชาธิปไตยในสยาม ส�ำราญ ผลดี ๓. การริเร่ิมเคลื่อนไหวของกลุ่มนักเรียนไทยในประเทศ ฝรง่ั เศส ๔. ดลุ ยภาพข้าราชการและเศรษฐกจิ ตกต่ำ� และ ๕. พระราโชบายของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอย่หู ัว ๑ ทั้ง ๕ สาเหตขุ ้างต้นตา่ งกเ็ ปน็ ปัจจัยที่ประกอบกันและเช่อื ได้ว่า เปน็ เหตุทน่ี �ำมาซ่งึ การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ ในทส่ี ุด ความกา้ วหน้าในการศกึ ษาแบบตะวนั ตก ความจริงแล้วรูปแบบการศึกษาแบบตะวันตกนี้เพิ่งจะเข้ามาสู่ สยามอย่างชัดเจนเม่ือคร้ังรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้า อยู่หัว รัชกาลที่ ๔ นีเ้ อง แต่เดมิ สงั คมสยามมีรูปแบบการเรยี นการสอน ท่ีเป็นแบบสหวิทยาการ กล่าวคือ เป็นการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ผู้เรียน ตัวอย่างเช่น ชายขาวสยามจะต้องเรียนรู้ถึงวิชาการอาชีพ การ ก่อสรา้ ง งานโยธา ปรัชญา ศาสนา รวมถงึ เร่ืองการสงคราม โดยมสี ถาน ทีเ่ รียนหลักๆ ในสังคม อยทู่ ี่ บ้าน วดั และวงั ในขณะท่กี ารศึกษาแบบ ตะวันตก เป็นการศึกษาแบบแยกส่วน ท่ีเน้นความรู้ความช�ำนาญใน เรื่องใดเรือ่ งหนึง่ เป็นสำ� คญั ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ ต้องถือว่าอิทธิพลตะวันตกเป็น ปัจจัยส�ำคัญท่ีส่งผลให้ระบบการศึกษาของสยามจ�ำเป็นต้องมีการปรับ ตัวเพ่ือให้เท่าทันต่อการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน ในรัชสมัยของพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๔ พระองค์ทรงเห็นถึงความ ส�ำคัญของวิทยาการใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของภาษาอังกฤษ ทรงเล่าเรียนภาษาอังกฤษกับมิชชันนารี ทรงริเร่ิมให้มีการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษในพระราชวังหลวง ทรงจ้างนางแอนนา เลียวโนเวนส์มา เป็นครูสอนเจ้านายในพระราชวัง นอกจากน้ีพระองค์ยังทรงพยายามท่ี 48

ประวตั ิศาสตรป์ ระชาธปิ ไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี จะให้มีการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้กับราษฎร ทว่าพระราช ประสงค์ดังกลา่ วยังไมส่ �ำเรจ็ ก็สิ้นรชั กาลเสียก่อน มาถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เรื่องระบบการศึกษาแบบตะวันตกจึงมีความชัดเจนมากข้ึน มีการจัดตั้งโรงเรียนสอนภาษาขึ้นในพระบรมมหาราชวัง ให้ตั้งโรงเรียน พระต�ำหนักสวนกุหลาบ กระทรวงธรรมการก็มีการริเริ่มการฝึกหัดครู การจัดการศึกษาสตรี รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในสมัยของพระองค์น้ี แตก ต่างกนั อย่างสิ้นเชิงกบั สมยั อดตี มีการแบ่งระดบั ช้ันการเรยี นการสอนไว้ อย่างช้ันเจน เป็นมูลศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา นอกจากนี้ก็ยังมีรูปแบบการเรียนการสอนพิเศษหรือเรียกว่าเป็นการ ศึกษาเพ่ือความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เฉพาะเร่ือง เช่น การเรียนวิชาครู แพทย์ กฎหมาย วิศวกรรม เป็นต้น ท่ีส�ำคัญมีผู้ที่รับผิดชอบเรื่องนี้ อยา่ งชัดเจนนัน่ ก็คอื กระทรวงธรรมการ ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการยกโรงเรียนมหาดเล็กหลวงขึ้นเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และต่อมาคือจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย นอกจากนยี้ ังทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้มีการประกาศ ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษาขึ้น เมื่อวันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๖๔ ทมี่ ีสาระเกีย่ วกบั การจัดการศกึ ษาให้กับพลเมือง ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ ก็ทรงให้ความส�ำคัญกับเร่ืองของการศึกษาแบบตะวันตกอย่างมาก ทรง ให้จ่ายเงินแผ่นดินถึงปีละ ๓ ล้านบาท เป็นค่าใช้จ่ายส�ำหรับการศึกษา แม้วา่ ในรัชสมยั ของพระองคจ์ ะมีปญั หาเรื่องเศรษฐกจิ ตกตำ�่ ก็ตาม จะเห็นได้ว่าพระมหากษัตริย์แห่งสยามประเทศทุกพระองค์ ทรงให้ความส�ำคัญกับการศึกษาของพลเมืองอย่างมาก ทรงพยายาม 49

ประวัตศิ าสตร์ประชาธิปไตยในสยาม สำ� ราญ ผลดี พัฒนาและกระจายระบบการศึกษาไปสู่พลเมอื งของพระองค์ ซงึ่ ก็ไดผ้ ล เป็นอย่างดี ด้วยว่าเมื่อระบบการศึกษาแพร่กระจายออกไปความรู้ความ เข้าใจรวมถึงการพัฒนาอื่นๆ ก็ตามมา รวมถึงความสนใจในเร่ืองการ บริหารจัดการบ้านเมืองหรือรูปแบบการปกครองประเทศ ซึ่งเห็นได้จาก ปริมาณของหนังสือพิมพ์ที่มีเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีจ�ำนวนหนังสือพิมพ์ท้ังท่ี เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษอยู่ ๑๔ ฉบับ รัชสมัยของพระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีจ�ำนวนหนังสือพิมพ์ไทยท่ีออกใหม่ อยู่ ๑๕ ฉบับ และในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีจำ� นวนหนงั สือพิมพ์ท่เี พมิ่ ข้นึ ถึง ๕๗ ฉบบั จ�ำนวนของหนังสือพิมพ์ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ืองนี้ ช้ีให้เห็นถึง ความสนใจของประชาชนต่อข่าวสารบ้านเมือง ความเปลี่ยนแปลงและ เป็นไปของสังคม และที่ส�ำคัญมันได้สะท้อนให้เห็นถึงศักยภาพในการ เรยี นร้แู ละรบั รู้ขอ้ มลู ข่าวสารของประชาชนได้เปน็ อยา่ งดี นอกจากนี้ส่ิงท่ีน่าสนใจ คือ การน�ำเสนอข้อมูลข่าวสารใน หนังสือพิมพ์นั้น นอกจากจะเป็นการกระจายเร่ืองราวต่างๆ ออกไปใน วงกว้างแล้ว สาระส�ำคัญบางเรื่องท่ีน�ำเสนอก็ได้แสดงถึงมุมมองหรือ แนวคิดใหม่ๆ ใหก้ ับสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเร่ืองรูปแบบการเมอื งการ ปกครอง มีท้งั ท่ีสะทอ้ นความลม้ เหลวของระบอบเกา่ รวมไปถงึ แนวทาง ใหม่ๆ ในการปกครองด้วย เช่นหนังสือพิมพ์สยามรีวิว ฉบับวันท่ี ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๗๐ ที่ได้ลงบทความเร่ือง “ราษฎรตื่นแล้ว” อันมี เนื้อหาเรียกร้องให้รัฐบาลคิดท่ีจะจัดตั้งรัฐสภา ให้มีผู้แทนราษฎรได้ เข้าไปมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการประเทศ ต่อมาหนังสือพิมพ์ไทย ใหม่ได้ลงบทความเรียกร้องการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดย พรรณนาถงึ สรรพคณุ ของระบอบดังกล่าว เปน็ ตน้ ๒ อย่างไรก็ตามส่ิงท่ีน่าสนใจไม่ได้อยู่ที่จ�ำนวนของหนังสือพิมพ์ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook