Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ราชภัฎรัฐศาสตร์และรัฐประศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่4

ราชภัฎรัฐศาสตร์และรัฐประศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่4

Published by Sarawut Kedtrawon, 2021-11-08 04:25:02

Description: รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings)
ราชภัฎรัฐศาสตร์และรัฐประศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่4
"การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal"

Keywords: Proceedings

Search

Read the Text Version

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ สารบัญ หน้า สารจากคณบดีคณะรัฐศาสตร์ ข กำหนดการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิชาการระดบั ชาติ ค การประชุมวิชาการเสนอผลงานวชิ าการระดับชาติ ง รายช่ือผเู้ สนอผลงาน กลุม่ ท่ี 1 นำเสนอแบบบรรยาย ฎ กลุม่ ท่ี 2 นำเสนอแบบบรรยาย ฏ กลมุ่ ที่ 3 นำเสนอแบบบรรยาย ฐ สารบญั รวมบทความ ฑ ภาคผนวก คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒใิ นการพจิ ารณาและคัดเลอื กบทความ ในการประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตร์และรฐั ประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครงั้ ที่ 4 คณะกรรมการดำเนินการจดั การประชุมวิชาการระดบั ชาติ ~ก~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ สารจากคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พทิ ักษ์พงศ์ กางการ การประชุมทางวิชาการ “ราชภัฏรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ แห่งชาติ” จัดขึ้นภายใต้ความร่วมมือของหน่วยจัดการศึกษาในสาขาวิชาด้าน รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ ก่อต้ัง ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2557 มีจุดมุ่งหมายในการสร้างความร่วมมือ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาการจัดการเรียนการสอนและการวิจัยที่ปฏิบัติการในสภาพจริงจากพื้นท่ี ร่วมกับชุมชน สังคม ภายใต้กลไกและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำหรับการประชุม ฯ ในคร้ังน้ี นบั เป็นคร้งั ที่ 4 โดยมี “เจ้าภาพ” คือ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏชัยภูมิ ภายใต้หัวข้อ “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมงานครั้งนี้ คือนิสิตนักศึกษา ครู อาจารย์ นักวิจัย และ บุคคลผู้สนใจทั่วไป ได้ร่วมนำเสนอผลงานทางวิชาการให้แพร่ในวงวิชาการให้กว้างขึ้น สะท้อนให้เห็นถึง บทบาทและพันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏกับการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ได้เล็งเห็นถึง ความสำคัญข้างต้น อันเกี่ยวเน่ืองกับการพัฒนาองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาประเทศ ด้วยการพัฒนาคน จึงรับ เป็นผู้จัดดำเนินการหลักสำหรับการประชุมฯ ครั้งนี้ ในลักษณะการประชุมออนไลน์ สอดรับกับหัวข้อการ ประชุมทว่ี ่า “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” การจัดประชุมทางวิชาการ “ราชภัฏรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ” ครั้งที่ 4 นี้ คณะ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ได้รับความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละสาขาวิชา เพ่ือตรวจอ่านและประเมินผลงานในลักษณะของ Peer Review ดังนั้นผลงานท่ีตีพิมพ์ในเอกสารการประชุมน้ี จึงเป็นงานวจิ ัยทมี่ ีคุณภาพและผา่ นการประเมนิ ประกอบกบั การแขง่ ขันทักษะทางวชิ าการในกจิ กรรมการตอบ ปัญหาด้านรัฐศาสตร์และรฐั ประศาสนศาสตร์สำหรับนิสิตนักศึกษาท่ีกำลังศึกษาในระดับปริญญาตรี ท้ายที่สุด คณะรัฐศาสตร์หวังเปน็ อย่างยิ่งว่า การจัดประชุมวชิ าการในครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าร่วมประชุมและผู้ท่ี สนใจทุกท่าน ในการนําไปพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อจะได้นําความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อตนเองและประเทศชาติต่อไป และขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ และบุคลากรทุกท่าน ท่มี สี ว่ นร่วมในการจดั งานในคร้ังน้ี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พิทกั ษพ์ งศ์ กางการ คณบดีคณะรัฐศาสตร์ ~ข~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรฐั ประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 ในหวั ข้อ “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” วนั ท่ี 5 สงิ หาคม 2564 ณ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภูมิ Online Conference วันที่ 5 สิงหาคม 2564 08.00 – 09.00 น. ลงทะเบยี น (Online) 09.00 – 09.30 น. พิธเี ปดิ ณ หอ้ งเรยี นต้นแบบเพื่อผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21 - ประธานในพิธเี ดินทางมาถงึ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริวัฒน์ โพธเิ วชกลุ - พธิ ีกรกล่าวตอ้ นรับ ประธานในพิธี - คณบดีคณะรฐั ศาสตร์ กลา่ วรายงานวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ - อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ กลา่ วเปิดงาน - อธิการบดีมหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ กลา่ วต้อนรบั วทิ ยากร และผรู้ ่วมงาน 09.30 – 12.00 น. เสวนา เร่อื ง “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” โดย ศาสตราจารย์นายแพทย์วนั ชยั วฒั นศพั ท์ รองศาสตราจารย์ ดร.โอฬาร ถ่ินบางเตียว รองศาสตราจารย์ ดร.สถาพร เรงิ ธรรม 12.00 – 13.00 น. รบั ประทานอาหารกลางวนั 13.00 – 17.30 น. การนำเสนอบทความวจิ ยั / บทความวชิ าการของกลมุ่ ยอ่ ย/ ประชมุ เครือข่ายราชภัฏรฐั ศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ การแข่งขนั ตอบปญั หาวชิ าการ 17.30 น. ปดิ การประชมุ วชิ าการ ********************************************************* หมายเหตุ : กำหนดการอาจมีการเปล่ียนแปลงได้ตามความเหมาะสม ~ค~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ โครงการประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แหง่ ชาติ คร้ังที่ 4 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” 1.หลกั การและเหตุผล การระบาดของไวรัสโคโรนา พ.ศ. 2562 – 2564 เป็นการระบาดทั่วโลก โดยมีสาเหตุมาจากไวรัส โคโรนาสายพันธุ์ใหม่ จากเดิมที่เราคิดว่าเรื่องโรคระบาดอาจเป็นเรื่องไกลตัว เราเห็นการแพร่ระบาดของโรค ซาร์สและพบเจอกับวิกฤตต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง แต่เราไม่เคยคิดว่ามันจะมาถึงตัว จนกระทั่งโควิด – 19 มาถึง และก่อให้เกิดผลกระทบไปทั่วโลก วันนี้ทุกคนจงึ ตระหนักเพิ่มขึ้นว่าวิกฤตทีเ่ กดิ ข้ึนเป็นเร่ืองใกล้ตัวที่ทำให้ชีวิต ไม่เหมือนเดิม สังคมจึงต้องเตรียมพร้อมหลายเรื่อง ความไม่เหมือนเดิมหลังต้องเผชิญกับวิกฤตโควิด – 19 เร่ิมต้นจากชีวิตของคนเราท่ีเปลี่ยนแปลงไป ขณะที่หลายหน่วยงาน องค์กร ต่างปรับความคิด พฤติกรรม และ วิถีการทำงานที่มีความยืดหยุ่นมากขึ้น จากเดิมคนทำงานมักให้ความสำคัญกับ Work – Life Balance สร้าง สมดุลระหว่างชีวิตงานและชีวิตส่วนตัวเป็นสำคัญ แต่ปัจจุบันที่เราทุกคนต่าง Work from Home มีสัดส่วน เวลาของการทำงานและชีวิตส่วนตัวเกิดขึ้นพร้อม ๆ กันสลับสับเปลี่ยนกันไปตลอดทั้งวัน เกิด Work – Life Integration ที่ชีวิตการทำงานหลอมรวมกับชีวิตส่วนตัวเป็นหนึ่งเดียว จนเราต้องสร้างวินัยในการทำงาน ท่ามกลางอิสระและความยืดหยุ่นที่เพิ่มขึ้นจาก Work from Home นอกจาก Work from Home ที่สร้าง เศรษฐกิจคนติดบ้าน (From Home Economy) ทำให้ e – Commerce และการทำธุรกรรมทางออนไลน์ เติบโตอย่างก้าวกระโดดแล้ว อีกหนึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัด ในช่วงวิกฤตโควิด – 19 ก็คือคนให้ความ สนใจและมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องสุขภาพและสาธารณสุขมากขึ้น เช่น ให้ความสำคัญกับการล้างมือ การสวม หน้ากากอนามัย หรือแม้แต่การนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ ส่งผลให้เรื่อง Digital Transformations ที่เคยมี การพูดถงึ มาอย่างยาวนานและเกดิ ขึ้นช้ามาก กลับถกู ขบั เคล่ือนได้เร็วข้ึน เมอ่ื วกิ ฤตการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด-19 ระลอกสามเริ่มแพร่ระบาด หลายๆ ภาคส่วนเริ่มพูดถึง “ความปกติใหม่” หรือ “New Normal” ที่ จะตามมา การมาเยือนของวิกฤตโรคระบาดทำใหเ้ กิดคำถามเก่ียวกบั ระบบการศึกษาหลากหลายด้าน เป็นต้น ว่าเราจะออกแบบการเรียนรู้ในยุคโควิด - 19 ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ทักษะและหลักสูตรโลกการศึกษา รูปแบบใหม่หลังจากนี้ควรมีหน้าตาแบบไหน เทคโนโลยีจะเข้ามามีบทบาทด้านการเรียนรู้หรือทำให้ความ เหลื่อมล้ำย่ำแย่กว่าเดิม จริงหรือไม่ที่เราสามารถเปลี่ยนวิกฤตครั้งนี้ให้กลายเป็นโอกาสด้านการศึกษา จาก ความผิดปกติแบบใหม่ที่ไม่เหมือนเดิม (New Abnormal) ที่ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษา ทำให้ สถานศึกษาต้องอยู่ให้รอด ต้องปรับตัว เพราะวิกฤตโควิด – 19 เป็นบททดสอบของความจำเป็นครั้งใหญ่ใน การบริหารจดั การศึกษาที่ตอ้ งปรบั เปล่ียนวธิ คี ิดใหม่ให้สอดคล้องกบั ความปกตใิ หมท่ ี่เกดิ ข้นึ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด – 19 การปิดสถาบันการศึกษาในเวลาต่อมา จนกลายเป็น สาเหตุให้นกั เรียนนักศึกษาไดร้ บั ผลกระทบในกระบวนการเรียนรู้ สำหรับประเทศไทยศนู ย์บริหารสถานการณ์ ~ง~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ โควิด-19 (ศบค.) กำหนดให้มกี ารดำเนินการเพ่ือจดั การศกึ ษา รูปแบบการเรยี นการสอน ใหม้ กี ารดำเนินการท้ัง แบบออนแอร์ผ่าน DLTV ออนไลน์ และออฟไลนใ์ นช้ันเรยี น ซึง่ จะใชว้ ธิ ผี สมผสาน หรืออาจจะเป็นการเรียนรู้ท่ี บ้านกับครอบครัว อย่าง Home School แล้วแต่ความเหมาะสม และบริบทของสถานศึกษาแต่ละแห่ง ซึง สถานศึกษาบางแห่งยังประสบปัญหาเรื่องการเข้าถึงเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทในโลกการศึกษา แล้วจะ ออกแบบการจัดการเรียนรู้อย่างไรให้มีประสิทธิภาพ ทักษะและหลักสูตรของโลกการศึกษารูปแบบใหม่ หลังจากนี้ควรมีหน้าตาแบบไหน เทคโนโลยีจะเข้ามามีบทบาทด้านการเรียนรู้อย่างไร ฯลฯ ผู้บริหาร สถานศึกษาจึงมีความจำเป็นต้องหาวิธีการในการบริหารจัดการศึกษา ซึ่งเป็นกระบวนการที่สำคัญในการ ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ภายใต้ความปกติใหม่ (New Normal) ทั้งด้านการจัดรูปแบบการเรียนการสอน การพัฒนาครูให้พร้อมสู่โลกยุคใหม่ การบริหารหลักสูตร รวมถึงการรับฟังเสียงสะท้อนจากครู ผู้ปกครอง นกั เรียน และชมุ ชน ผเู้ ขียนได้ศึกษาและรวบรวมแนวคดิ ทน่ี ่าสนใจในการปรับกระบวนการบริหารจดั การศึกษา จากองค์กรการศึกษา และนักการศึกษา ท่จี ะเปน็ อกี แนวทางหน่งึ ทจ่ี ะช่วยให้ผ้บู ริหารสถานศึกษาได้แนวคิดใน การบรหิ ารสถานศึกษาในด้านตา่ ง ๆ ดว้ ย เครอื ข่ายราชภฏั รัฐศาสตร์และรฐั ประศาสนศาสตร์ ไดก้ อ่ ต้งั ข้ึน เม่ือ ปี พ.ศ. 2557 ภายใต้ ความ ร่วมมือของหน่วยจดั การศึกษาในสาขาวิชาทางด้านรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยราชภฏั ทั่วประเทศ โดยมีเป้าหมายในการสร้างความร่วมมือเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พัฒนาการจัดการเรียนการสอน และการวิจัยที่มีการปฏิบัติการในสภาพจริงของพื้นที่ร่วมกับชุมชน สังคม ภายใต้กลไกจริงและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง ดังนั้นเพื่อให้ผลงานวิจัยดังกล่าว ได้มีโอกาสเผยแพร่ในวงที่กว้างขวางขึ้น ตามบทบาทพันธกิจของ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกับการพฒั นาท้องถิ่น มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ จงึ เลง็ เห็นความสำคัญต่อการพัฒนาองค์ ความรู้เพื่อการพัฒนาประเทศชาติ ด้วยการพัฒนากำลังคน จึงได้จัด “โครงการประชุมวิชาการราชภัฏ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ ครั้งที่ 4” ในหัวข้อ “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” เพื่อเป็นเวที แลกเปล่ียนเรียนรู้ และ สร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมือทางวิชาการ ของนกั วิชาการ นักวจิ ัย บณั ฑติ วทิ ยาลัย และ ประชาชนทว่ั ไป 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัย งานวิชาการ และส่งเสริมศักยภาพการวิจัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ใน เครือขา่ ย และมหาวทิ ยาลยั ท่วั ประเทศ ที่นาไปสกู่ ารใช้ประโยชน์ตอ่ ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่นและประเทศ 2.2 เพื่อพัฒนาทักษะและสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการให้กับนักศึกษาด้านรัฐศาสตร์และ รฐั ประศาสนศาสตร์ 2.3 นักวิชาการ นักวิจัย นักศึกษา รวมถึงชุมชนได้เสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ใน งานวิจัยและงานวิชาการทางรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ รวมถึงสังคมศาสตร์ในแขนงอื่น ๆ เพ่ือ ยกระดบั คุณภาพงานวจิ ยั และงานวชิ าการสำหรับการพฒั นาท้องถนิ่ ไทย ~จ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ 2.4 เพื่อสรา้ งโอกาสทบทวนงานศึกษา งานวิจัยทสี่ ่งเสริมพฒั นาศาสตร์ทางรัฐศาสตร์ รฐั ประศาสนศาสตร์ โดยเฉพาะงานทส่ี มั พนั ธ์กับการเปลีย่ นแปลงในมิติตา่ ง ๆ ในทอ้ งถน่ิ ภมู ภิ าค ประเทศ และระหว่างประเทศ 3. หนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบ 1) หน่วยงานหลัก คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ 4. ระยะเวลาดาเนนิ งาน วันท่ี 5 สงิ หาคม 2564 ณ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ 5. กลมุ่ เป้าหมาย 1) นักวชิ าการ นักวิจัย อาจารย์ ครู นิสิต นักศกึ ษา 2) ผู้สนใจจากหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน 3) บุคคลทัว่ ไป 6. รปู แบบกจิ กรรม 1) การบรรยายพิเศษทางวิชาการ (Keynote speakers) 2) การนำเสนอผลงานวิจัยและผลงานวชิ าการภาคบรรยาย (Oral Presentation) และภาคโปสเตอร์ (Poster presentation) 3) การแขง่ ขันตอบปัญหาทางวิชาการ (ระดับอดุ มศึกษา) 7. กจิ กรรมและการประชุม 7.1 ภาคการประชุมวชิ าการ 1. การบรรยายพเิ ศษ(Keynote Lecturer) และ การเสวนาทางวิชาการ(Panel Discussion) 2. การเสนอผลงานวิชาการ (Academic article) ผลงานวิจัย (Research article) วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ ระดับบัณฑิตศึกษา จะนำเสนอในภาคบรรยาย ใช้เวลานำเสนอเรื่องละ 15 นาที ซักถาม 5 นาที รวม 20 นาที โดยบทความวิชาการและบทความวิจัยฉบับเต็ม (Full Paper) ที่ผ่านมาการ พิจารณาและนำเสนอตาม กำหนดการจะรวบรวมจัดทำเป็นรายงานการสืบเนื่องการประชุมวิชาการ (Proceedings) เผยแพรผ่ ่านเวบ็ ไซต์ https://pol-sci.cpru.ac.th/polnew/ 3. การเสนอผลงานวจิ ัยภาคโปสเตอร(์ Poster Presentation) ผนู้ ำเสนอผลงานจะต้องยืนอยู่ ประจำที่โปสเตอรข์ องตนในช่วงเวลากำหนด กลุ่มที่ 1 รัฐศาสตร์ ครอบคลุมถึงงานวิชาการและงานวิจัยทางด้านรัฐศาสตร์ การเมืองการ ปกครอง ปรัชญาและทฤษฎีทางการเมือง การมีสว่ นร่วม ประชาธิปไตย การเคลื่อนไหวทางสังคมและการเมือง การปกครองท้องถิ่น การบริหารจัดการท้องถิ่น ธรรมาภิบาลชุมชน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ นโยบาย ~ฉ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ ต่างประเทศ การจัดการความขัดแย้ง ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม ความเป็นพลเมือง คนชายขอบ ชนกลุ่ม น้อย ปัญหาในพนื้ ทจี่ ังหวดั ชายแดน และสาขาอ่ืนท่เี ก่ยี วขอ้ ง กลุ่มที่ 2 รัฐประศาสนศาสตร์ ครอบคลุมถึงงานวิชาการและงานวิจัยทางด้านรัฐประศาสน ศาสตร์ บริหารรัฐกจิ และการจัดการภาครัฐแนวใหม่ นโยบายสาธารณะ การบรหิ ารการพัฒนา ทฤษฎีองค์การ การ บริหารทรัพยากรมนุษย์ การบรหิ ารงานยุติธรรม และสาขาอ่นื ท่เี กย่ี วข้อง กลุ่มที่ 3 มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สหวิทยาการ ครอบคลุมถึง งานวิชาการและ งานวิจัยทางด้านวัฒนธรรมศึกษา ภูมิภาคศึกษา อาเซียนศึกษา ปรัชญาและศาสนา ประวัติศาสตร์ พัฒนา ชมุ ชนและสงั คม สงั คมวทิ ยา จติ วิทยา ภาษา และสาขาอนื่ ท่ีเกี่ยวข้อง กำหนดการดำเนนิ งานภาคการประชุมวชิ าการ 1 ประชาสมั พันธ์การจดั งาน บัดนี้เป็นต้นไป 2 ลงทะเบียนเข้าร่วมงาน และบทความฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) บัดนี้ – 30 ม.ิ ย. 64 3 วนั สดุ ทา้ ยของการรับบทความฉบับสมบูรณ์ 30 มิ.ย. 64 4 ระยะเวลาของการชำระคา่ ลงทะเบียน บัดนี้ – 1 ก.ค. 64 5 ประกาศผลการพจิ ารณาผนู้ ำเสนอบทความ 1 – 5 ก.ค. 64 6 วนั สุดท้ายของการส่งบทความฉบับแก้ไข 16 ก.ค. 64 7 ประกาศกำหนดการการนำเสนอบทความ 23 ก.ค. 64 ประกาศรายชือ่ และกำหนดการ ผ้นู ำเสนอบทความภาคบรรยายและโปสเตอร์ 8 การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตร์และรฐั ประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 4 5 ส.ค. 64 หมายเหตุ : 1. การพิจารณาบทความ ผ่านกระบวนการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Reviews) ที่มีความ เชี่ยวชาญตามสาขาวชิ าทง้ั ภายในมหาวิทยาลัยเครอื ข่ายราชภัฏท่วั ประเทศและสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ 2. การจัดพิมพ์รูปเล่มประกอบการประชุมจะจัดพิมพ์เฉพาะส่วนบทคัดย่อเท่านั้น ส่วนบทความ ฉบบั เตม็ ทตี่ ีพิมพ์เปน็ Proceedings จะเผยแพร่ในรปู แบบออนไลน์ 3. ผู้นำเสนอบทความในการประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 4 จะไดร้ ับเกียรตบิ ัตร ~ช~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ อัตราคา่ ลงทะเบยี นภาคการประชมุ วิชาการ อาจารย์ นักวิชาการ นักวิจยั นกั ศึกษา อัตราค่าลงทะเบยี น นกั ศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา และ ระดบั ปรญิ ญา บุคคลทว่ั ไป ตรี 1. ผนู้ ำเสนอผลงานภาคบรรยาย (Oral Presentation) 1,500 บาท/คน 500 บาท/คน 2. ผู้นำเสนอภาคโปสเตอร์ (Poster Presentation) 1,500 บาท/คน 500 บาท/คน 3. ผเู้ ข้ารว่ มประชุมโดยไม่นำเสนอผลงาน (ได้รับเอกสาร 500 บาท/คน ประกอบการประชุม อาหารกลางวนั อาหารวา่ งและเคร่อื งดมื่ ) 4. ผสู้ นใจทว่ั ไปที่ไมน่ ำเสนอผลงาน (ไม่ไดร้ บั เอกสารประกอบการ ไมเ่ สียคา่ ลงทะเบยี น ประชุม อาหารกลางวนั อาหารวา่ งและเครื่องด่มื ) หมายเหตุ : เมื่อชำระเงนิ ค่าลงทะเบียนแล้ว ทางผู้จัดงานประชุมวชิ าการจะไมค่ ืนเงินค่าลงทะเบียนไมว่ ่ากรณี ใด ๆ ท้ังสิน้ ขนั้ ตอนการลงทะเบยี นและชำระค่าลงทะเบียน 1. ผูส้ มคั รสามารถสมัครไดท้ เี่ ว็บไซต์ https://pol-sci.cpru.ac.th/conference/ 2. ชำระค่าลงทะเบียนภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2564 โดยวิธีโอนเงินผ่านธนาคารกรุงไทย ชื่อบัญชี โครงการพฒั นาฯ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ เลขบัญชี 307 – 0 – 66656 - 6 3. เมื่อผูส้ มคั รทำการกรอกข้อมูลเรียบร้อยแล้ว สามารถส่งใบสมคั รและหลักฐานการชาระเงนิ มาที่ เวบ็ ไซต์ https://pol-sci.cpru.ac.th/conference/ หรอื e-mail : [email protected] ทง้ั น้ี การ ลงทะเบยี นจะสมบรู ณ์กต็ ่อเมื่อผู้จัดงานได้รบั หลักฐาน การชำระคา่ ลงทะเบยี นแลว้ เทา่ น้ัน 4. โปรดกรอกรายละเอียดในการออกใบเสร็จให้ชัดเจน ผู้ลงทะเบียนชำระเงินเรียบร้อยแล้วทางผู้จัด ขอสงวนสิทธใิ์ นการไม่คนื เงินคา่ ลงทะเบียน แต่สามารถส่งผ้แู ทนเข้าร่วมประชุมได้ 7.2 ภาคการแขง่ ขนั ทักษะตอบปัญหาทางวิชาการ (ระดับอุดมศึกษา) 1. กำหนดการการแขง่ ขันตอบปญั หาทางวชิ าการ รอบท่ี 1 การแข่งขนั รอบแรก (คัดใหเ้ หลอื 5 ทมี ) รอบท่ี 2 การแข่งขนั รอบชงิ ชนะเลิศ 2. กรอบขอ้ คำถามในการแข่งขัน การเมืองการปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและอาเซียน การปกครองท้องถิ่น การบริหาร จัดการภาครัฐและนโยบายสาธารณะ กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายในชีวิตประจำวันและ ความรทู้ ่ัวไป 3. กตกิ าการแข่งขัน ~ซ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ มหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ มีสิทธิ์ส่งผู้เข้าแข่งขันได้ สถาบันละ 2 ทีม ทีมละ 3 คน โดยต้องเปน็ นสิ ติ หรือนักศกึ ษาทกี่ ำลังศึกษาอยเู่ ท่าน้ัน 4. รางวลั การแข่งขัน 4.1 รางวลั ชนะเลิศ ได้รับโล่ เกยี รตบิ ัตร ทนุ การศึกษา 5,000 บาท 4.2 รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 1 ได้รบั โล่ เกยี รติบัตร ทนุ การศึกษา 3,000 บาท 4.3 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ได้รับโล่ เกยี รติบัตร ทุนการศึกษา 2,000 บาท 4.4 รางวัลชมเชย ได้รับโล่ เกยี รติบัตร ทนุ การศกึ ษา 500 บาท กำหนดการดำเนนิ งานภาคการแขง่ ขันตอบปัญหาทางวชิ าการ กำหนดระยะเวลา พฤษภาคม 2564 กจิ กรรม 1. ประกาศรายละเอียดของการแข่งขันตอบปัญหาทาง บัดนี้ ถงึ 30 มิถุนายน 2564 วิชาการผา่ นเวบ็ ไซตห์ น่วยงานผู้รับผดิ ชอบ 2. ลงทะเบียนสมัครแข่งขันตอบปัญหาทางวิชาการผ่าน 16 กรกฎาคม 2564 ระบบออนไลน์ที่ 3. ประกาศรายชื่อนักศึกษาและทีมจากมหาวิทยาลัยที่ส่ง 5 สงิ หาคม 2564 เข้ารว่ มการแข่งขนั ตอบปัญหาทางวชิ าการ ท่เี วบ็ ไซต์ รายงานตัว (12.45 – 13.30 น.) 4. การแข่งขันการตอบปญั หาทางวชิ าการและมอบรางวัล รอบที่ 1 (เวลา 14.00 – 15.00 น.) รอบท่ี 2 (เวลา 15.30 – 16.30 น.) 8. รูปแบบและรายละเอียดการสง่ บทคัดย่อและบทความ การนำเสนอผลงานวิจัยและผลงานวิชาการภาคบรรยาย (Oral Presentation) เปิดรับพิจารณา บทความฉบับสมบูรณ์ งานสัมมนานี้จัดทำ Proceedings เป็นไฟล์เอกสาร แก่ผู้เข้าร่วมงาน โดยมี Peer Review ให้ข้อคิดเห็นก่อนนำเสนอ สำหรับผู้ที่ต้องการนำเสนอในการประชุมวิชาการน้ี ในการจบการศึกษา หรือใช้สำหรบั กรณีอน่ื ๆ ควรพิจารณาตรวจสอบเง่ือนไขจากหลกั สตู ร ตน้ สงั กัดของทา่ น 1) สง่ บทคดั ย่อและบทความฉบับสมบรู ณ์ มายัง เวป็ ไซต์ https://pol-sci.cpru.ac.th/conference/ ภายในวันท่ี 30 มิถุนายน 2564 2) บทคัดย่อ ความยาวประมาณ 300 – 500 คำ และคำสำคัญ 3 – 5 คำ กรณีบทความเขียนเป็น ภาษาไทยให้ส่งบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ กรณีเขียนบทความเป็นภาษาอังกฤษให้มีบทคัดย่อเป็น ภาษาอังกฤษเทา่ น้นั 3) เนือ้ หาบทความฉบบั สมบรู ณ์ จำกัดความยาวไมเ่ กิน 15 หนา้ A4 รวมบรรณานกุ รม ~ฌ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ 4) รูปแบบตัวอักษรให้ใช้ TH SarabunPSK ขนาด 16 ตัวเลขใชอ้ ารบกิ ยกเวน้ การคดั ลอกข้อความ มาจากต้นฉบับ 5) รปู แบบการอ้างอิง 1) การอ้างองิ แทรกในเนื้อหาใชแ้ บบ (in-text citation) 2) บรรณานุกรมแบบ APA 6th edition 6) สง่ บทคัดย่อและบทความฉบบั สมบรู ณใ์ นรปู แบบไฟล์.doc หรอื .docx โดยตงั้ ชอ่ื ไฟลต์ ามชอ่ื -สกุล ของตนเอง เช่น นายวาณิช ฝาชยั ภูมิ.doc หรือ นายวาณิช ฝาชัยภมู .ิ docx 9. ข้ันตอนการจดั ประชุม ลกั ษณะบทความวจิ ยั และการนาเสนอผลงานวิจยั 1. บทความวิจัย/บทความวิชาการที่นำเสนอในการประชุมจะต้องเป็นผลงานที่ไม่เคยตีพิมพ์หรือ เผยแพรม่ าก่อน 2. การนำเสนอผลงานให้นำเสนอแบบบรรยาย (Oral Presentation) ในที่ประชุม โดยใช้เวลาในการ นำเสนอไมเ่ กิน 10 นาที ซักถามจากวทิ ยากร 5 นาที (รวมไม่เกิน 15 นาท)ี 3. การนำเสนอแบบโปสเตอร์ (Poster) ผนู้ ำเสนอตอ้ งยนื ประจำจดุ โปสเตอร์ของตนเอง โดยใช้เวลาใน การนำเสนอตอบข้อซกั ถามของกรรมการ รวมไมเ่ กนิ 15 นาที 4. บทความวิจัยฉบับเต็มที่ผู้นำเสนอผลงานได้ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว จะไดต้ ีพิมพเ์ ผยแพร่ใน Proceeding ของการประชุม สอบถามขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ 1. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ เบอรโ์ ทรศพั ท์ 044 – 815 – 111 ต่อ 1300 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วา่ ท่ีรอ้ ยเอกณัฐดนัย แก้วโพนงาม เบอรโ์ ทรศัพท์ 086 – 620 -7169 ~ญ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ รายชอื่ ผลงานที่ไดร้ บั การพิจารณาใหน้ ำเสนอแบบบรรยาย (Oral Presentation) และแบบโปสเตอร์ กล่มุ ที่ 1 (ผูท้ รงคุณวุฒปิ ระจำห้อง: รศ.ดร.ศิวชั ศรโี ภคางกลุ , รศ.ดร.โอฬาร ถ่นิ บางเตยี ว และรศ.ดร.สญั ญา เคณาภมู ิ) วันพฤหัสบดที ่ี 5 สงิ หาคม 2564 การประชมุ แบบออนไลน์ จากคณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ ลำดบั เวลา ชือ่ -สกลุ ช่ือบทความ (นำเสนอ-ถามตอบ) 1 13.00 – 13.15 น. นางสาว ปวณี ภชู ่างทอง การกลอ่ มเกลาทางการเมอื งของสอื่ สังคมออนไลน์ท่มี ตี อ่ นักศกึ ษามหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ กรณศี ึกษา : นักศกึ ษา ช้ันปที ี่ 3 ภาคปกติ ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปี การศึกษา 2563 2 13.15 – 13.30 น. นางสาวพลอยไพลนิ อ่ิมกลาง ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจเลอื กผู้สมคั รนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ชยั ภูมิ ของประชาชนบ้านโป่งเกต ตำบลชลี อง อำเภอเมือง จงั หวัดชัยภูมิ 3 13.30 – 13.45 น. นางสาวอมรรตั น์ หาญสมคั ร การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการจดั การประปา ตำบลทา่ หนิ โงม อำเภอเมือง จงั หวัดชัยภมู ิ 4 13.45 – 14.00 น. นางสาวฤทยั รัตน์ โกตริ มั ย์ ปจั จยั ที่สง่ ผลตอ่ การเลือกตั้งนายกองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั บรุ รี มั ย์ ตำบลเมือง ยาง อำเภอชำนิ จังหวดั บรุ ีรมั ย์ 5 14.00 – 14.15 น. นางสาวอัญชลีพร แดงสกุล ทัศนคติทางการเมืองแบบประชาธปิ ไตยของนกั ศึกษาคณะรฐั ศาสตร์ ภาคปกติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมิ ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 6 14.15 – 14.30 น. นางสาวกาญจนา กอ่ กำลงั ความคาดหวงั ของประชาชนต่อการเลือกต้ังท้องถ่นิ กรณีศึกษา ชมุ ชนโคกนอ้ ย อำเภอเมอื ง จังหวัดชัยภมู ิ 7 14.30 – 14.45 น. นายสุรวุฒิ พมิ พเ์ มอื งเกา่ การจัดการปัญหาขยะชุมชนบ้านขเ้ี หล็กใหญ่ หมูท่ ่ี 9 ตำบลในเมือง อำเภอเมอื ง ชัยภมู ิ จังหวัดชัยภูมิ 8 14.45 – 15.00 น. นายสุรศักด์ิ นาจะหมื่น ความคดิ เห็นของนักศกึ ษา คณะรฐั ศาสตร์ ภาคปกติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ ตอ่ การชมุ นมุ ทางการเมอื งของมอ็ บคณะราษฎร พ.ศ.2563 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 9 15.00 – 15.15 น. นายธีรวฒั น์ ประตาทะกงั ทศั นคติของนักเรยี นระดับชั้นมธั ยมศกึ ษา ต่อการแต่งกายเครื่องแบบนักเรียน กรณศี กึ ษา โรงเรยี นสตรชี ยั ภูมิ ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง จงั หวดั ชัยภมู ิ 10 15.15 – 15.30 น. นางสาวกรรณกิ าร์ คำท้วม สาเหตุการตดิ ยาเสพตดิ และการปอ้ งกันของชาวบ้านนาสีนวล ตำบลนาเสยี ว อำเภอเมอื งชยั ภมู ิ จงั หวดั ชัยภมู ิ 11 15.30 – 15.45 น. นางสาวกงุ้ นาง พวดขุนทด ปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ ความสขุ ในการทำงานของบุคลากรใน องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล หนองเเวง อำเภอเทพารักษ์ จังหวดั นครราชสมี า 12 15.45 – 16.00 น. นายอัษฎาวธุ กณุ า พฤตกิ รรมการซอ้ื ของออนไลนข์ องนักศกึ ษาป1ี -4 สาขารฐั ประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ 13 16.00 – 16.15 น. นายนพรุจ พงษ์โสภา การศกึ ษาปัญหาและแนวทางแกไ้ ขปญั หาในการผลิตเกลือสินเธาว์โดยการใชภ้ ูมิ ปัญญาทอ้ งถน่ิ ของชุมชนบา้ นโนนกอก ตำบลรอบเมอื ง อำเภอเมอื ง จงั หวดั ชัยภูมิ 14 16.15 – 16.30 น. นายณรงค์ สขุ เพ็ชร การมสี ่วนรว่ มทางการเมอื งของนกั ศกึ ษาคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช ~ฎ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ รายชื่อผลงานทไี่ ด้รบั การพิจารณาให้นำเสนอแบบบรรยาย (Oral Presentation) และแบบโปสเตอร์ กลุ่มท่ี 2 (ผทู้ รงคณุ วุฒิประจำหอ้ ง: รศ.ดร.สถาพร เริงธรรม, รศ.ดร.อัชกรณ์ วงศ์ปรดี ี และรศ.ดร.ธานี สขุ เกษม) วันพฤหสั บดีที่ 5 สงิ หาคม 2564 การประชมุ แบบออนไลน์ จากคณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ ลำดับ เวลา ชื่อ-สกลุ ชอ่ื บทความ (นำเสนอ-ถามตอบ) 1 13.00 – 13.15 น. นางสาวสริ าวรรณ ดัชนะแสง พฤติกรรมการสบู บหุ รีข่ องนกั ศึกษา คณะรฐั ศาสตร์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ 2 13.15 – 13.30 น. นางสาวชุตกิ าญจน์ วงศ์ตะลา ปจั จยั ทสี่ ่งผลตอ่ พฤตกิ รรมการใช้เครอื ขา่ ยสังคมออนไลนข์ องนกั ศึกษาคณะครุ ศาสตร์ สาขาวชิ าคณติ ศาสตร์ ช้นั ปีท4ี่ ภาคปกติ ภาคการศกึ ษาท่1ี ปกี ารศกึ ษา 2564 มหาวิทยาลยั ราชภฎั ชยั ภมู ิ 3 13.30 - 13.45 น. นายเฉลมิ ราช เสมาเพชร ประวัติความเป็นมาของหมู่บา้ นหนองบวั นอ้ ย หมูท่ ่ี 9 ตำบลบา้ นเดอ่ื อำเภอเกษตรสมบรู ณ์ จงั หวัดชยั ภมู ิ 4 13.45 – 14.00 น. นางสาวภัสรา พืบขุนทด พฤตกิ รรมการดแู ลสขุ ภาพตนเองของผสู้ งู อายุ บ้านใหมแ่ สนสขุ หม8ู่ ตำบลกดุ พมิ าน อำเภอดา่ นขุนทด จังหวัดนครราชสีมา 5 14.00 – 14.15 น. นางสาวปทติ ตา คงศัตรา ปจั จัยทสี่ ่งผลใหเ้ กิดความสนใจในการเลย้ี งโคพนั ธพุ์ น้ื เมอื งของชาวบ้านคณู หมู่ที่ 8 ตำบลบา้ นเปา้ อำเภอพุทไธสง จงั หวดั บรุ ีรมั ย์ 6 14.15 -14.30 น. นางสาวนราพร กลัดจติ ร การศึกษาความพึงพอใจและแนวทางการพฒั นาของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการคนละคร่งึ 7 14.30 -14.45 น. นางสาวนาตาลี กลั ยาณมติ ร เฟส 1 จังหวดั อตุ รดติ ถ์ 8 14.45 – 15.00 น. นายสพุ ฒั พงศ์ แยม้ อิ่ม การศกึ ษาปญั หาและแนวทางพฒั นาการเรยี นการสอนออนไลนข์ องนักศกึ ษามห 9 15.00 – 15.15 น. นางสาวบุษกร บรุ ี าวทิ ยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถใ์ นชว่ งการเกดิ โรคระบาด Covid-19 10 15.15 -15.30 น. นางสาวสุปรญี า น่นุ เกล้ียง อทิ ธิพลทางการเมอื งภาคประชาชนต่อบทบาทในการขบั เคลื่อนการพฒั นาขบวน 11 15.30 -15.45 น. นางพิมพ์ลภัส จติ ต์ธรรม องคก์ รชมุ ชน ท้องถิน่ จัดการตนเอง 12 15.45 – 16.00 น. นางชนกิ านต์ ใสยเกอ้ื 13 16.00 – 16.15 น. นางสาวชลดิ า แยม้ ศรสี ขุ การศกึ ษาความพึงพอใจของนักศึกษาและบคุ ลากรต่อการดำเนนิ งานมาตรการป้ องกันการแพร่ระบาดไวรสั โคโรนา 2019 ในมหาวิทยาลัยราชภฏั การพฒั นารปู แบบกิจกรรมเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะแบบบรู ณาการของผสู้ ูงอายใุ นเขต เมืองภายใตบ้ รบิ ทพื้นที่ชายแดนใต้ ศกึ ษากรณี เทศบาลนครยะลา จงั หวดั ยะลา การบริหารงานตามแนวทางการจดั การภาครฐั แนวใหม่ขององคก์ ารบรหิ ารส่วนจั งหวดั นครศรีธรรมราช เจตคติของนกั ศึกษาผ้ใู ชบ้ ริการกองทนุ เงนิ ใหก้ ยู้ ืมเพอ่ื การศึกษาต่อหนว่ ยงานท่ีรั บผดิ ชอบของมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช การบริหารกิจการบา้ นเมืองท่ีดีกบั ท้องถนิ่ ~ฏ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ รายช่อื ผลงานที่ได้รบั การพิจารณาใหน้ ำเสนอแบบบรรยาย (Oral Presentation) และแบบโปสเตอร์ กลมุ่ ที่ 3 (ผ้ทู รงคุณวุฒปิ ระจำหอ้ ง: รศ.ดร.ปาริชา มารี เคน, รศ.ดร.ภาสกร ดอกจนั ทร์ และรศ.ดร.วชั รนิ ทร์ สทุ ธศิ ัย) วนั พฤหัสบดที ี่ 5 สิงหาคม 2564 การประชุมแบบออนไลน์ จากคณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ ลำดบั เวลา ชื่อ-สกลุ ช่ือบทความ (นำเสนอ-ถามตอบ) 1 13.00 – 13.15 น. นางสาววไิ ลวรรณ บวั จนั ทร์ ปญั หาการเรียนออนไลน์ช้นั ปีท4ี่ คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภูมิ 2 13.15 – 13.30 น. นางสาววศิ นา แก้วอดุ ร พฤติกรรมการไม่คัดแยกขยะก่อนทงิ้ ของนักศกึ ษาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ 3 13.30 – 13.45 น. นางสาวนพรัตน์ วงค์คำจนั ทร์ การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการจดั การขยะมลู ฝอยของชุมชนบ้านสีมาทอง ตำบลบ้านแท่น อำเภอบา้ นแทน่ จงั หวัดชัยภูมิ 4 13.45 – 14.00 น. นางสาวศริ ภสั สร วงศ์ตะลา ความรู้และแนวทางในการปอ้ งกันการระบาดโรคไวรสั โคโรนา (COVID-19) ของอาสาสมัครสาธารณะสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.).บ้านหนองขนาก ต.สุข ไพบูลย์ อ.เสิงสาง จ.นครราชสมี า 5 14.00 – 14.15 น. นางสาวณฐั ฐา ทนงเู หลอื ม ปญั หาการติดเกมอเิ ลก็ ทรอนกิ สข์ องเด็กโรงเรยี นนาฝายวทิ ยา หมทู่ ี่ 3 บ้านนา ฝาย ตำบลนาฝาย อำเภอเมอื งชยั ภมู ิ จังหวัดชัยภมู ิ 6 14.15 – 14.30 น. นายสนธยา พลเสนา การมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดของประชาชนในเขต ชมุ ชน บา้ นปากคา่ ยชอ่ งแมว หมูท่ 2ี่ ตำบลหนองบัวระเหว อำเภอหนองบวั ระ เหว จังหวัดชยั ภูมิ 7 14.30 – 14.45 น. นางสาวนฐั ยิ าพร จงเทพ ปจั จัยที่มีผลต่อการพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม :กรณีศึกษา บ้านโนนสาธติ ตำบลนางแดด อำเภอหนองบัวแดง จงั หวัดชยั ภูมิ 8 14.45 – 15.00 น. นางสาวนันทิยา โฆษาจารย์ การดำเนินชีวติ ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ 9 15.00 – 15.15 น. น.ส.จฑุ ามาศ ชัยอาวธุ การจัดการทรพั ยากรมนษุ ย์ขององคก์ ารบริหารส่วนตำบลบา้ นโสก 10 15.15 – 15.30 น. น.ส.นำ้ ทิพย์ แสงแพง ความคดิ เห็นของนกั ศึกษาต่อมาตรการป้องกนั โคโรนา(Covid-19)ของมหาลัย ราชภัฏชยั ภมู ิ 11 15.30 – 15.45 น. นายทัศรินทร์ คณะแสวง การศึกษาพฤตกิ รรมการขับขข่ี องนักศกึ ษามหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภมู ทิ ี่มผี ลต่อ ความเสย่ี งในการเกิดอุบตั เิ หตจุ ากการใช้รถจักรยานยนต์ 12 15.45 – 16.00 น. นายบรรณสรณ์ วัณณะบุรี การศกึ ษาการบรหิ ารการจดั การการการแพรร่ ะบาดของโควิด 19 ในพ้ืนทบ่ี า้ น หนองขนาก ตำบลสุขไพบลู ย์ อำเภอเสงิ สาง จังหวดั นครราชสมี า 13 16.00- 16.15 น. นางสาวเบญจพร จนั ทรโคตร ปัจจยั ที่สง่ ผลต่อการบริหารจัดการมาตรการเฝ้าระวงั ปอ้ งกัน และควบคุมการ แพร่ระบาดโรคโควิด-19 ของอำเภอลานสกา จงั หวดั นครศรีธรรมราช 14 16.15-16.30 น. นางสาวศศิมา ฮุงสูงเนนิ ปัจจยั ที่มีผลตอ่ การใหบ้ รกิ ารขององค์การบรหิ ารส่วนตำบลหินดาด อำเภอ ด่านขนุ ทด จงั หวดั นครราชสีมา 15 16.30-16.45 น. นางสาวมณรี ตั น์ โพธ์ิจันทรท์ กึ ความเครยี ดและแนวทางจดั การความเครยี ดของประชาชนบา้ นหนองพังโพด ตำบลตะเคยี น อำเภอด่านขุนทด จังหวดั นครราชสีมา ~ฐ~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ สารบญั รวมบทความ ลำดบั ชือ่ -สกลุ ช่ือบทความ หนา้ 1 ศ.นพ. วนั ชัย วัฒนศพั ท์ การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal 1 2 นางสาว ปวณี า ภชู า่ งทอง การกลอ่ มเกลาทางการเมืองของสอ่ื สังคมออนไลน์ท่มี ตี ่อ 11 3 นางสาว นกั ศึกษา : กรณศี ึกษา นักศึกษา ชน้ั ปีที่ 3 ภาคปกติ 27 พลอยไพลนิ อ่ิมกลาง ปจั จัยที่สง่ ผลต่อการตัดสนิ ใจเลือกผู้สมคั รนายกองค์การ 4 นางสาว บริหารส่วนจงั หวดั ชยั ภมู ขิ องประชาชนบ้านโปง่ เกต ตำบล 42 5 นางสาว อมรรัตน์ หาญสมัคร ชีลอง อำเภอเมือง จงั หวดั ชัยภมู ิ 50 ฤทัยรัตน์ โกติรัมย์ การมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการจัดการประปา ตำบล 6 นางสาว ท่าหนิ โงม อำเภอเมือง จังหวัดชยั ภมู ิ 62 7 นางสาว อญั ชลีพร แดงสกุล ปัจจัยทส่ี ่งผลตอ่ การตัดสินใจเลอื กนายกองค์การบรหิ าร 74 8 นาย กาญจนา ก่อกำลัง ส่วนจังหวัดบุรรี มั ย์ ตำบลเมืองยาง อำเภอชำนิ จงั หวัด 89 9 นาย สรุ วุฒิ พมิ พเ์ มืองเก่า บรุ ีรัมย์ 100 สรุ ศกั ด์ิ นาจะหมนื่ ทัศนคตทิ างการเมอื งแบบประชาธปิ ไตยของนกั ศกึ ษาคณะ 10 นาย รัฐศาสตร์ ภาคปกติ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชัยภมู ิ 119 ธรี วฒั น์ ประตาทะกัง ความคาดหวังของประชาชนตอ่ การเลือกต้งั ทอ้ งถิน่ : 11 นางสาว กรณีศึกษาชุมชนโคกน้อย อำเภอเมือง จงั หวดั ชัยภมู ิ 132 12 นางสาว กรรณกิ าร์ คำท้วม การจัดการปญั หาขยะชมุ ชนบ้านขเี้ หล็กใหญ่ หมู่ที่ 9 143 กงุ้ นาง พวดขนุ ทด ตำบลในเมือง อำเภอเมืองชยั ภมู ิ จังหวัดชัยภูมิ 13 นาย ความคิดเห็นของนักศึกษา คณะรฐั ศาสตร์ ภาคปกติ 157 อษั ฏวธุ กณุ า มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ ต่อการชุมนมุ ทางการเมือง 14 นาย ของมอ็ บคณะราษฎร พ.ศ.2563 166 พรุจ พงษ์โสภา ทศั นคตขิ องนักเรียนระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษา ตอ่ การแต่งกาย เครอ่ื งแบบนกั เรยี น : กรณศี ึกษา โรงเรยี นสตรชี ยั ภมู ิ ตำบล ในเมือง อำเภอเมอื ง จังหวัดชยั ภมู ิ สาเหตุการตดิ ยาเสพตดิ และการปอ้ งกนั ของชาวบา้ นนาสี นวล ตำบลนาเสยี ว อำเภอเมืองชัยภมู ิ จงั หวดั ชยั ภมู ิ ปัจจยั ที่มีผลตอ่ ความสขุ ในการทำงานของบุคลากรใน องค์การบริหารสว่ นตำบลหนองแวง อำเภอเทพารกั ษ์ จงั หวัดนครราชสมี า พฤตกิ รรมการซอ้ื ของออนไลนข์ องนกั ศกึ ษาปี 1-4 สาขา รัฐประศาสนศาสตร์ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ การศกึ ษาปัญหาและแนวทางแกไ้ ขปัญหาในการผลติ เกลือ สินเธาว์โดยการใชภ้ มู ปิ ัญญาท้องถิ่น ของชมุ ชนบ้านโนน กอก ตำบลรอบเมอื ง อำเภอเมือง จังหวัดชยั ภูมิ ~ฑ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ สารบญั รวมบทความ ลำดบั ช่ือ-สกลุ ชือ่ บทความ หน้า 15 นาย ณรงค์ สุขเพช็ ร การมีสว่ นร่วมทางการเมอื งของนักศกึ ษาคณะ 176 มนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั 16 นางสาว ศริ าวรรณ ดัชนะแสง ราชภฏั นครศรธี รรมราช 190 17 นาย เฉลิมราช เสมาเพชร พฤติกรรมการสูบบหุ รี่ของนักศึกษา คณะรฐั ศาสตร์ สาขา 204 18 นางสาว ภสั รรา พบื ขุนทด รฐั ประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ 214 ประวตั คิ วามเปน็ มาของหม่บู ้านหนองบวั นอ้ ย หมูท่ ่ี 9 19 นางสาว ปทิตตา คงศัตรา ตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเกษตรสมบรู ณ์ จงั หวดั ชัยภมู ิ 221 พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผสู้ ูงอายุ บ้านใหม่ 20 นางสาว นราพร กลดั จิตร แสนสขุ หมู่8 ตำบลกดุ พมิ าน อำเภอดา่ นขนุ ทด จังหวดั 230 21 นางสาว นาตาลี กลยั าณมติ ร นครราชสมี า 243 ปัจจัยท่สี ่งผลให้เกดิ ความสนใจในการเลย้ี งโคพันธุ์พื้นเมือง 22 นาย สุพฒั พงศ์ แย้มอิ่ม ของชาวบ้านคณู หมู่ที่ 8 ตำบลบา้ นเปา้ อำเภอพทุ ไธสง 255 จังหวดั บรุ รี มั ย์ 23 นางสาว บุษกร บรุ ี การศึกษาความพงึ พอใจและแนวทางการพัฒนาของ 267 ผ้เู ขา้ รว่ มโครงการคนละครง่ึ เฟส 1 จงั หวดั อุตรดิตถ์ 24 สปุ รญี า นนุ่ เกลีย้ ง การศึกษาปญั หาและแนวทางพัฒนาการเรยี นการสอน 280 ออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถใ์ นช่วง 25 นางสาว ประภสั สร สขุ แสน การเกิดโรคระบาด Covid-19 296 อิทธิพลทางการเมืองภาคประชาชนตอ่ บทบาทในการ 311 26 นาย พิษณุ ศรพี ชิ ติ ขับเคลอื่ นการพัฒนาขบวนองคก์ รชมุ ชนท้องถ่นิ จดั การ ตนเอง การศึกษาความพงึ พอใจของนักศึกษาและบุคลากรตอ่ การ ดำเนินงานมาตรการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดไวรัสโคโรนา 2019 ในมหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดติ ถ์ การพฒั นารปู แบบกิจกรรมเสริมสร้างสขุ ภาวะแบบบรู ณา การของผสู้ งู อายใุ นเขตเมืองภายใตบ้ ริบทพน้ื ท่ชี ายแดนใต้ ศึกษากรณี เทศบาลนครยะลา จงั หวัดยะลา การบริหารงานตามแนวทางการจดั การภาครฐั แนวใหม่ ขององค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัด นครศรธี รรมราช เจตคตขิ องนักศกึ ษาผใู้ ชบ้ ริการกองทนุ เงินใหก้ ู้ยืมเพื่อ การศึกษาต่อหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช ~ฒ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ สารบญั รวมบทความ ลำดบั ชอ่ื -สกลุ ช่ือบทความ หน้า 27 นางสาว ชลิดา แย้มศรสี ุข การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองและสงั คมที่ดกี บั ทอ้ งถนิ่ 325 28 นางสาว วิไลวรรณ บัวจนั ทร ปัญหาการเรียนออนไลนข์ องนกั ศกึ ษา ช้ันปที ี่ 4 335 คณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู 345 29 นางสาว วิศนา แก้วอดุ ร พฤติกรรมการไมค่ ดั เเยกขยะก่อนท้งิ ของนกั ศกึ ษาคณะ รัฐศาสตร์ ภาคปกติ ช้ันปีการศกึ ษาท่ี 1-4 มหาวทิ ยาลยั 356 30 นางสาว นพรตั น์ วงค์คำจันทร ราชภฏั ชัยภมู ิ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะ มลู ฝอย 363 31 นางสาว ศริ ภสั สร วงศ์ตะลา ของชุมชนบา้ นสีมาทอง ตำบลบ้านแทน่ อำเภอบา้ นแทน่ จังหวัดชยั ภูมิ 375 32 นางสาว ณฐั ฐา ทนงูเหลอื ม ความรแู้ ละแนวทางในการป้องกันการระบาดโรคไวรสั โคโร นา(covid-19) ของอาสาสมัครสาธารณสขุ ประจำหมบู่ ้าน 386 33 นาย สนธยา พลเสนา (อสม.) บ้านหนองขนาก ตำบลสขุ ไพบลู ย์ อำเภอเสิงสาง จังหวดั นครราชสีมา 395 34 นางสาว นฐั ิยาพร จงเทพ ปัญหาการติดเกมอเิ ล็กทรอนิกส์ของเดก็ โรงเรยี นนาฝาย วทิ ยา หมู่ที่ 3 บ้านนาฝาย ตำบลนาฝาย อำเภอเมอื ง 406 35 นางสาว นันทิยา โฆษาจารย์ ชยั ภูมิ จงั หวดั ชัยภมิ 420 36 นางสาว จุฑามาศ ชยั อาวธุ การมสี ว่ นร่วมในการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพติดของ 433 37 นางสาว นำ้ ทิพย์ แสงแพง ประชาชนในเขตชุมชนบ้านปาก คา่ ยชอ่ งแมว หมู่ 2 ตำบล หนองบวั ระเหว อำเภอหนองบัวระเหว จงั หวัดชัยภมู ิ 433 38 นางสาว นำ้ ทพิ ย์ แสงแพง ปัจจยั ทมี่ ีผลต่อการพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ ม : กรณีศกึ ษาบ้านโนนสาธติ ตำบลนางแดด อำเภอหนองบวั แดง จงั หวัดชัยภมู ิ การดำเนนิ ชวี ิตตามหลักเศรษฐกจิ พอเพียงของนกั ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ การจัดการทรพั ยากรมนุษยข์ ององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบล บ้านโสก อำเภอคอนสวรรค์จังหวดั ชยั ภูมิ ความคดิ เห็นของนักศกึ ษาต่อมาตรการปอ้ งกันการแพร่ ระบาดไวรสั โคโรนา (Covid-19) ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ชัยภมู ิ ความคิดเหน็ ของนกั ศกึ ษาต่อมาตรการปอ้ งกันการแพร่ ระบาดไวรสั โคโรนา (Covid-19) ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ชยั ภูมิ ~ณ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ สารบัญรวมบทความ ลำดับ ช่ือ-สกลุ ช่อื บทความ หนา้ 39 นาย ทศั รินทร์ คณะแสวง การศกึ ษาพฤตกิ รรมการขบั ข่ขี องนักศกึ ษามหาวทิ ยาลยั 445 ราชภฎั ชัยภมู ทิ มี่ ผี ลต่อความ เส่ยี งในการเกิดอบุ ัตเหตจุ าก 40 นาย บรรณสรณ์ วัณณะบรุ การใช้รถจักรยานยนต์ 454 การบรหิ ารการจดั การการแพรร่ ะบาดโรคโคโรนา่ ไวรสั 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุข กรณีศึกษา บ้านหนอง ขนาก ตําบลสุขไพบลู ย์ อาํ เภอเสิงสาง จงั หวัดนครราชสีมา 41 นางสาว วิไลวรรณ คงเสาร์ ปจั จัยทสี่ ง่ ผลต่อการบริหารจัดการมาตรการเฝา้ ระวงั 462 ปอ้ งกนั และควบคุมการแพร่ระบาดโรค โควดิ -19 ของ 42 นางสาว ศศิมา ฮงุ สูงเนิน อำเภอลานสกา จงั หวดั นครศรีธรรมราช 477 43 นางสาว มณรี ตั น โพธิ์จันทรท์ กึ ปัจจัยที่มผี ลตอ่ การใหบ้ ริการขององคก์ ารบริหารสว่ น 485 ตำบลหนิ ดาด อำเภอด่านขุนทด จงั หวดั นครราชสมี า ความเครยี ดและแนวทางจัดการความเครยี ดของ ประชาชนบา้ นหนองพังโพด ตำบลตะเคยี น อำเภอด่านขุน ทด จงั หวัดนครราชสีมา ~ด~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ บทความรับเชิญ การศกึ ษาไทยในยุค New Normal ศ.นพ.วันชยั วฒั นศพั ท์1 หลกั การให้ความรู้ ทเ่ี นน้ ส่ิงที่สามารถนำไปใช้กับปญั หาท่ีเผชิญอยู่ได้ เม่ือตอนเปน็ อาจารย์ทค่ี ณะแพทยศ์ าสตร์ขอนแก่น ได้มีการประเมนิ การสอบของข้อสอบที่ให้นักศึกษา ทำ พบว่า ประมาณ ๘๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ ของขอ้ สอบเปน็ Rote Learning คอื เนน้ ไปในทางท่องจำ ผู้พูดในฐานะท่ี ทำหนา้ ที่ดูแลหน่วยแพทย์ศาสตร์ศึกษา จึงได้เข้าไปเรียนรเู้ รื่อง Pedagogy หรือ วิชาความเป็นครู และได้รู้จัก กับ OLE หรือ Objective/Learning Experiences/ Evaluationเลยได้ร่วมมือกับ หน่วยแพทย์ศาสตร์ศึกษา ที่คณะแพทยศสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปรับหลักสูตรเป็น Problem-based Learning โดยให้ นักศึกษาได้เรยี นจากปัญหา เช่นทำไมคนเราเมือ่ ออกไปวิ่งกลางแดดแล้วจึงตัวแดง แล้วจึงเหงื่อออก ก็ได้ลอง ให้นักศกึ ษาออกไปวง่ิ กลางแดด มีประสบการณ์ตรงแล้วมาอภปิ รายกัน นักศกึ ษาจึงไดค้ วามคดิ วา่ มหี ลายอย่าง ที่เราไม่ไดส้ ่ัง รา่ งกายมกี ลไกท่เี รียกว่าระบบประสาทอตั โนมัติ หรอื Autonomic Nervous System นักศกึ ษา ก็ได้มีแรงกระตุ้นจากความอยากรู้ที่ครูไม่ได้สั่ง ที่จะไปค้นหา เพราะหลักการเรียนรู้ เขาบอกว่า Motivation is the Key และ Learning is individual คือ การเรียนรู้เป็นเรื่องของผู้เรียน และการสร้างให้เกิด แรงจงู ใจเปน็ เร่ืองสำคัญ ดังน้ัน ประเด็นแรกอาจจะเป็นหรอื ไม่เปน็ New Normal แต่เป็นหลกั ที่ปจั จบุ ัน การ จดั การเรียนการสอนทนี่ ักเรียนนักศกึ ษาอยากจะเรียนคือสิง่ ท่ีเขาจะสามารถนำไปใชไ้ ดจ้ ริง เมือ่ มีโอกาส จากการท่ีได้รับมอบหมายจากท่ีประชมุ อธิการบดีทวั่ ประเทศ (ทปอ) ใหเ้ ป็นตัวแทนอยู่ ในคณะกรรมการสมานฉันท์ และได้รับมอบหมายให้เป็นประธานคณะอนุกรรมการรับฟังความคิดเห็นและ สื่อสารสาธารณะ จึงได้ไปรับฟัง นิสิตและอาจารย์คณะนิติศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวืทยาลัย ที่ได้มีโจทย์ ท่ี อาจารย์ของคณะต้งั เพ่ือจะดงึ นิสิตมาเรียนรู้ วชิ าสทิ ธมิ นษุ ยชน เรอ่ื ง How to mob ก็เลยไดไ้ ปฟังทั้งนิสิตและ อาจารยอ์ ธบิ าย เขาเรยี นรกู้ นั ไม่ใช่จะจัด mob อย่างไรแตม่ องเรื่องทเี่ ก่ียวกบั mob เพือ่ นำเขา้ ส่บู ทเรยี นสทิ ธิ มนษุ ยชน และกฎหมายท่ีเกย่ี วข้อง รวมทั้งการใชก้ ฎหมาย ในการลงไปสัมผัสกบั Mob และการจดั การกับMob น่าสนใจมากเปน็ การนำเหตกุ ารณ์ปัจจบุ นั มาสรา้ งความสนใจในการเรียน 1 นกั วชิ าการอิสระ ผบู้ ริหารโรงเรียนพฒั นาผนู้ าและสร้างสนั ติธรรม รักสคลู ขอนแก่น เอกสารประกอบการประชุมทาง วิชาการของราชภฏั รัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ คร้งั ที่ ๔ ~1~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ หลักการเรยี นรูค้ วรมปี ระสบการณ์ตรงในเรื่องที่จะให้เขาเรยี นรู้ ก่อนจะพูดถึงการจัดการ ศึกษาไทยในยุค new normal ต่อ จะขออัญเชิญพระราชดำรัสของ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร์ มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในสมัยท่ีพระองค์ทรงเป็น พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานปริญญาบัตรที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นและ ผู้เขียนเป็นอธิการบดีอยู่ พระองค์ได้มีพระราชปฏิสันถารกับอาจารย์และนักศึกษาหลังจากเสร็จพระราชพิธี พระราชทานปริญญาบตั ร ความตอนหน่งึ พระองค์ไดม้ ีพระราชดำรสั วา่ มีชาวบ้านทก่ี าฬสนิ ธม์ุ าถวายทดี่ นิ ให้ พระองค์ท่าน ซึ่งท่านก็ให้คำแนะนำให้ทำเกษตรทฤษฎีใหม่และพระองค์ได้ส่งข้าราชบริพารไปให้คำแนะนำ อย่างใกล้ชิดเมื่อครบหนึ่งปี พระองค์ท่านก็ได้ให้เจ้าหน้าที่ไปสอบถามถึงผลการดำเนินงาน ก็ได้รับคำบอกเล่า วา่ ประสบผลดีมาก พระองค์ท่านกย็ ังไม่เชื่อ พระองค์ท่านจึงโปรดให้พระกนิษฐาธิราชเจ้าไปตดิ ตามดู สมเด็จ พระเทพรัตนก์ ็กลบั มารายงานวา่ ได้ผลเป็นอยา่ งดี พระองค์จงึ กลา้ นำมาบอก มาสอนให้ครบู าอาจารย์ นกั วิจัย ในมหาวิทยาลัยโดยได้มีพระราชดำรัสว่า ”ก่อนที่ฉันจะมาสอนอาจารย์ในมหาวิทยาลัย ฉันจะต้องแน่ใจว่า ฉันได้ทำเองและได้ผลดี” สิ่งนี้เป็นอุทาหรณ์กับครูบาอาจารย์ว่า เวลาจะสอนอะไรใครต้องแน่ใจว่าได้ ทดลองทำแล้วได้ผล ขนาดพระเจ้าอยู่หัวเองท่านยังเกรงว่าบรรดาอาจารย์และนกั วิชาการจะไม่เชื่อท่าน ถา้ ไมไ่ ด้ทดลองทำเอง ก็ขออนุญาตนำเรยี นเรือ่ งการจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงมี การระบาดของโควิด 19 หรือไม่ก็ตาม ครู อาจารย์ จะต้องได้เคยนำทฤษฎีที่รู้หรือเรียนมาแล้วนำไปปฏิบัติ ดังนั้นผู้พูดเองก่อนท่ีจะสอนอะไรใครก็ต้องได้ทดลองปฏิบัติได้ผลแลว้ โดยเฉพาะอาชีพเดิมผูพ้ ูดเป็นหมอผา่ ตดั ก่อนจะผ่าอะไรใครจำเป็นตอ้ งได้ทำการผ่าตัดกบั อาจารยท์ ี่คอยกำกบั จนม่ันใจก่อน การจดั การเรียนรู้ เร่อื งการจัดการความขดั แย้งจะหาทางออกอย่างไร เรื่องการจัดการความขัดแย้งซึ่งเป็นเรื่องยาก คำถามที่อยากถามอาจารย์และผู้ฟังทั้งหลายว่า อาจารย์คิดว่าเราควรจะทำเรื่องง่ายๆหรือเรื่องยากๆก่อน ลองคิดดูเอง นอกจากนั้นอาจารย์ของผู้พูดคือ ศาสตราจารย์นายแพทย์ประเวศ วะสีให้ข้อแนะนำ ตอนเป็นผู้เขียนเป็นอธิการบดี เสนออยากให้ มหาวิทยาลัยทำการศึกษาค้นคว้าเรื่องการแก้ปัญหาความขัดแย้งและเผยแพร่ เรื่องการจัดการความขัดแย้งนี้ ให้สังคมไทยได้เรียนรู้ เพราะว่าถ้ามหาวิทยาลัยไม่ทำก็จะไม่มีใครทำ แล้วคนไทยครึ่งค่อนประเทศก็จะฆ่ า กันตาย ท่านอาจารย์ได้ให้คำแนะนำในปีพ.ศ 2535 ที่มีเหตุรุนแรงเกิดขึ้นในเดือนพฤษภาคมแล้วก็ได้องค์ พระบาทสมเด็จพระชนกาธิเบศร์ มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร พระองค์ทา่ นในหลวงรัชกาลท่ี 9 มาใหส้ ตกิ ับนายพลที่กำลังเผชิญหนา้ กนั ว่าถ้าขืนเผชิญหน้ากันไปก็จะไม่มใี ครชนะมีแต่แพ้กับแพ้และที่จะแพ้ มากที่สุดคือประเทศชาติและประชาชน จึงทำให้เหตุการณท์ ี่เกือบจะรุกลามไปเป็นสงครามการเมืองยุตลิ งได้ ตั้งแต่นั้นมา ผู้พดก็พยายามศกึ ษาค้นคว้าอ่านหนงั สือแปลหนังสือซ่ึงต้องใชต้ ำราฝรั่ง ทั้งที่ไทยเราเองก็มรี ะบบ ~2~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ เจ้าโคตร แต่ไม่ค่อยได้บันทึกไว้ แล้วก็ไปทดลองจริง ในการแก้ปัญหาความขัดแย้งเพื่อหาทางออกจาก เหตกุ ารณ์ทร่ี นุ แรงครงั้ แรกสุดท่ีระยองจะใช้ New Normal อยา่ งไร จะอธิบายตอ่ ไป บทเรียนเรื่องโรงงานปิโตรเคมีที่เกิดระเบิดอย่างรุนแรงที่ย่านกิ่งแก้วควรจะนำไปสอนในลักษณะ New Normal อยา่ งไร อยา่ งไรคอื การมีส่วนร่วมของประชาชน อยา่ งไรคอื ประชาพิจารณ์ โรงงานปิโตรเคมีขนาดใหญ่ที่เกิดระเบิดครั้งรุนแรงกว่าจะสามารถดับไฟที่เผาผลาญได้ใช้เวลาเป็นวนั หลายวัน โรงงานประเภทเดยี วกันนี้โดยมากมักจะเก็บสารเคมี อันตรายต่อชีวิตและรา่ งกาย ที่เกิดชึ้นเมื่อ 2-3 เดือนที่ผ่านมามักจะมีคำถามว่าทำไมโรงงานอันตรายขนาดนั้นทำไมจึงไปตั้งอยู่กลางหมู่บ้านจัดสรรหลายต่อ หลายหมูบ่ า้ น และกย็ งั ตงั้ อยู่ใกล้โรงพยาบาล แล้วก็นำไปสู่เรื่องของผงั เมืองท่ีจรงิ ๆแลว้ โรงงานอยู่มาก่อนและ หมูบ่ ้านคอ่ ยโตเขา้ มาใกล้ โชคดีทผี่ ูเ้ สียชีวติ มีเพียง 1 คน จึงทำใหน้ ึกย้อนกลบั ไป เม่ือครงั้ พยายามหาพน้ื ท่ี ที่จะ ใช้สิ่งที่ได้เรียนรู้จากทั้งแคนาดาและอเมริกาได้ว่า เมื่อปีพ.ศ.๒๕๕๐ ได้เกิดความขัดแย้งระหว่างโรงงาน อุตสาหกรรมปีโตรเคมี คือ IRPCกับชุมชน ที่เกิดการประท้วงจนมีประชาชนกว่า 25,000 คนปิดล้อมโรงงาน เมื่อปีพ.ศ 2550 โดยชุมชนบ้านแลง เขตเทศบาลเมือง จังหวัดระยองที่อยู่หลังโรงงาน ได้รับผลกระทบจาก มลพิษ ก็เกือบจะมีการทำลายทรัพย์สิน ต่อมาในปีพ.ศ 2551 ผู้พูดได้ขอความสนับสนุนจากสสส.และ มูลนิธิ หัวใจอาสา ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงจนทำให้ทั้งชุมชน พนักงาน โรงงาน ราชการ NGO หันมา พูดคยุ กัน ดว้ ยวิธีการสานเสวนาหาทางออก(Deliberative Dialogue) ผ้พู ดู ไดถ้ อดบทเรียนออกมาเป็นหนังสือ \"อารยะอุตสาหกรรม\"1ที่ผู้สนใจสามารถหาอ่านได้ ทั้งหมดนี้ ผู้ที่เป็นผู้ชำนาญการ การมีส่วนร่วมคือ เจมส์ เครย์ตัน (James Creighton)ที่ผู้พูดวันนี้ได้เรียนรู้ จาก คุณเครย์ตัน ผู้ที่เขียนหนังสือชื่อ A Guide book for Involving Citizens in Community Decision Making ซึ่งผู้พูดได้รับอนุญาตให้แปล โดยใช้ชื่อว่า คู่มือ การมสี ่วนร่วมในการตัดสนิ ใจของชุมชน2 ซ่งึ ผู้พูดได้นำหลักการของ เครยต์ นั ไปใช้ในหลายๆพ้ืนท่ีอย่างได้ผล ไม่ว่าจะเป็นที่เกาะสมุย กับกระทรวงพลังงานในการสร้างความร่วมมือเพื่อร่วมกันในการลดโลกร้อนของ โครงการ Low Carbon Model Town(Tourist Area)ของ APERC หรือ Asia Pacific Energy Research Center สว่ นท่สี ะเดากับการนิคมอุตสาหกรรมในการรว่ มกนั ตัดสนิ ใจสรา้ งนิคมอุตสาหกรรมและกับกระทรวง สาธารณสุขในการแก้ปัญหาการปฏิเสธไม่เอาหัวหน้าพยาบาล ส่วนที่พะเยากับชมรมสื่อท้องถิ่นสถาบัน 1 สุจินนั ท์ หรสิทธ์ิ ภทั รวุฒิ วฒั นศพั ท์ เนสินี ไชยเอีย ศุภณฐั เพิ่มพูนววิ ฒั น์ อนุชาเกตุเจริญ วนั ชยั วฒั นศพั ท์ (2556) อารยะ อตุ สาหกรรม ชุมชนกบั โรงงานอตุ สาหกรรมจะอยดู่ ว้ ยกนั ไดอ้ ยา่ งไร โรงเรียนพฒั นาผนู้ าและสร้างสนั ติธรรม รักสคลู ขอนแก่น 2 วนั ชยั วฒั นศพั ท์ แปลและเรียบเรียง(2543-2556) ค่มู อื การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการตัดสินใจของชุมชน จาก หนงั สือ “A Guide book for Involving Citizens in Community Decision Making” ซ่ึงเขียนโดย Jame L. Creighton โรงเรียน พฒั นาผนู้ าและสร้างสันติธรรมรักสคูล ชอนแก่น ~3~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ ปวงผญาพะเยาในการหาทางออกของความเหน็ ต่างในการแกป้ ญั หากว๊านพะเยา รวมถึงการมีสว่ นรว่ มในการ ตดั สินใจการกอ่ สรา้ งศนู ย์ประชมุ อเนกประสงค์กาญจนาภิเศก มหาวิทยาลัยขอนแกน่ เป็นต้น งานการมีส่วนร่วมเหล่าน้ีต้องขอบคุณ ดร.จมิ เครยต์ นั (James Creighton) ทีถ่ ่ายทอดหลกั การ และ ทักษะรวมถึงอนุญาตให้มีโอกาสได้แปลหนังสือของเขาสองเล่มที่ได้นำมาใช้สอน และปฏิบัติ และโดยเฉพาะ การทำประชาพิจารณ์ หรือ Public Hearing ที่มีคำถามอยู่เสมอว่า เครื่องมือนี้เมืองไทยใช้ไม่ได้ใช่ไหม ก็ต้อง บอกว่า คนที่นำเครื่องมือนี้มาใช้และเผยแพร่ ไม่ได้เข้าใจว่า ความจริงว่าการทำประชาพิจารณ์เป็นส่วนหนึ่ง ตอนท้ายของการมีส่วนร่วมแต่ประเทศไทยเรามักจะขาดส่วนสำคัญคือการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงที่ต้องให้ ประชาชนมามีสว่ นรว่ มในการตัดสนิ ใจ ไม่ ใช่ รัฐหรอื ผมู้ อี ำนาจตัดสนิ ใจกอ่ นแลว้ จึงมาถามประชาชน จึงจะขอ อนุญาตนำแผนภูมิการที่ประชาชนจะต้องมามีส่วนร่วมตลอดทาง ไม่ใช่มา ฟังการตัดสินใจตอนท้ายเท่าน้ัน และยังต้องติดตามตรวจสอบ หลังจากโครงการเริ่มดำเนินการแล้ว ถ้าโรงงานที่กิ่งแก้ว มีการติดตามโดย ประชาชนตลอด โดยเฉพาะติดตามผลของการทำการตรวจผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) และเปิดเผย วัตถุ อันตรายใหป้ ระชาชน ไดต้ รวจสอบ โดยตลอดเหตุการณ์รุนแรงนา่ จะไม่เกิดขน้ึ New Normal ในการดำเนนิ การโครงการขนาดใหญ่ นักบริหาร นกั รฐั ศาสตร์ และนกั วิชาการ ผู้มี ส่วนร่วมที่ให้ความสนใจศกึ ษาเพ่ือสรา้ ง new normal ให้เกิดขึ้นจากป้องกันเหตุการณ์ทีเ่ กิดขึ้นทีถ่ นนกิง่ แก้ว อาจจะสนใจย้อนหลังที่ผู้บรรยาย ได้ร่วมกันหาทางออก ในความขัดแย้ง การก่อสร้างสามโครงการขนาดใหญ่ จนเกิด หนังสือการจัดการโครงการขนาดใหญ่1 กรรมการผู้ชำนาญการนโยบายแกป้ ัญหาความขัดแย้งที่เกิด จากการดำเนินการโครงการขนาดใหญ่ ท่านอาจารย์ ดร.ปริญญา นุตาลัย ผู้ช่วยรัฐมนตรีกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เมอื่ เดือนมนี าคม ๒๕๔๗ ซึ่งเป็นประธาน ได้ เชิญผู้บรรยายให้ไปร่วมเป็น กรรมการด้วยพร้อมทั้งเปน็ ประธานคณะทำงานวิเคราะห์ปญั หาความขัดแย้งใน 3 โครงการขนาดใหญ่เกี่ยวกับ การมีส่วนร่วมของประชาชนตามโครงการนั้นคือโรงไฟฟ้าบ่อนอก โรงไฟฟ้าบ้านกรูดที่ประจวบคีรีขันธ์ และ โครงการท่อก๊าซไทยมาเลเซียที่สงขลา ปัญหาที่พบคือความเข้าใจผิดจึงเกดิ การทำประชาพิจารณด์ ังรูปซึ่งเป็น กระบวนการที่ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนตั้งแต่ต้นที่ทำให้เกิดกลุ่มอาการ DAD Syndrome คือ กลุ่ม อาการ Decide-Announce-Defend คอื ต้องตดั สนิ ใจประกาศและปกป้องว่าทตี่ ัดสินใจนั้นถูกต้องเหมาะสมดี แลว้ กระบวนการน้ีปจั จุบันได้มีผู้เปลี่ยนเป็น D-D-A หรือ decide – discussion และ Announce คืออาจจะ ตัดสินใจเบื้องต้นแล้วต้องมาพูดคุยกันก่อนจะประกาศออกไป ซึ่งจะต้องมาพูดคุยกันและถ้าสามารถทำได้ทำ ตามแผนภาพจะป้องกันผลที่จะเกิดตามมากระบวนการหาท่ีต้ังโครงการหรอื Siting process เป็นศาสตร์และ ศิลปท์ ีจ่ ะตอ้ งรว่ มกนั กับประชาชน 1 วนั ชยั วฒั นศพั ท์ ถวิลวดี บุรีกุล ศุภณัฐ เพ่ิมพมู ววิ ฒั น์ (2547) ปัญหาความขดั แยง้ แนวทางการป้องกนั และแกป้ ัญหาความ ขดั แยง้ ท่ีเกิดจากการดาเนินการโครงการขนาดใหญ่ สถาบนั พระปกเกลา้ นนทบุรี. ~4~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ นอกจากนั้น เมื่อผู้บรรยายได้รับมอบหมายให้ร่วมกันกำหนดนโยบายสำคัญด้านพลังงานของการ ไฟฟ้าฝ่ายผลิตที่จะรว่ มกันกำหนดนโยบายสาธารณะอย่างไรจึงไดใ้ ชก้ ระบวนการสานเสวนา ประชาเสวนากบั ประชาชนโดยการสุ่มตวั อย่างในภูมภิ าคตา่ งๆนำมาหาข้อยุติ เชิงนโยบายวา่ เราจะใชพ้ ลังงานประเภทไหนผลิต ไฟฟ้าดีและได้ถอดออกมาเป็นหนังสือคือ การกำหนดนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงโดย ประชาเสวนาหาทางออกสนู่ โยบายสาธารณะดา้ นพลงั งาน1น่าจะเป็น New Normal อกี บริบทหนึ่งของการ กำหนดนโยบายสาธารณะ ตระหนกั ถึงปัญหา ร่วมรับรู ป้ ญั หา ขยะ พลงั งาน ร่ วมคิดแก้ ปัญหา วางแผนแก้ ปัญหา ร่วมจดั หาทต่ี ้งั ทาโครงการกาจัดขยะ ร่วมพิจารณาบริ ัททปี่ รกึ า ทาโครงการไ ้า ร่ วมตรวจสอบ เสนอความเหนอย่ าง จัดหาทดี่ นิ เปนทางการ สารวจเขตที่ต้ ัง จดั หา ซ้อื ทดี่ ิน ตดิ ตามตรวจสอบ ตดิ ตามตรวจสอบ ทา ไม่ผา่ น ผา่ น ประชาพิจารณ์อย่ างเปนทางการ ไม่ ทา ภาพแผนภูมิ การมีส่วนร่วมของประชาชน ที่จะต้องมีส่วนร่วมตั้งแด่ รับรู้ถึงปัญหาจนถึงการตัดสินใจและ ติดตามตรวจสอบตลอดเส้นทางกระบวนการ ซึ่งการประชาพิจารณ์ในประเทศไทยมักจะขาดขั้นตอน ตั้งแต่ ตน้ ในฐานะที่เคยเป็นคณะกรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิสภาวิจยั แห่งชาติ (National Research Council) และ เคยเป็นคณะกรรมการสาขารัฐศาสตร์พร้อมกับท่านปรมาจารย์ด้านรัฐศาสตร์ คือ ศาสตราจารย์ ดร.ลิขิต ธีร เวคิน ที่กลุ่มกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งโดยมติ ครม.ได้เลือกให้ท่านเป็นประธานสาขาและได้ร่วมงานกับอีก 1 วนั ชยั วฒั นศพั ท์ (2556) คู่มือการกาหนดนโยบายสาธารณะ แบบมีส่วนร่วมอยา่ งแทจ้ ริง ประชาเสวนาหาทางออกสู่ นโยบายสาธารณะดา้ นพลงั งาน ~5~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ หลายๆนักรัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ แม้จะไม่ได้เข้าช้ันเรียนวิชาดังกล่าวแตด่ ว้ ยความสนใจ จนได้รับเชิญ ให้ร่วมในเวทีของมูลนิธิเคทเทอริง (Kettering foundation) ที่รัฐ โอไฮโอ (Ohio) ประธานมูลนิธิ คือ ดร. เดวิด แมทธิวส์ (Dr. David Mathews) อดีตรัฐมนตรีศึกษาและสาธารณสุข และได้ผลักดันแนวคิดเรื่อง Deliberative Democracy หรือ ประชาธิปไตยแห่งการไตร่ตรอง หรือ ที่ผู้เขียนเรียกว่า “ประชาธิปไตยแห่ง การสานเสวนาหาทางออก” หลังจากได้ศึกษาการเมืองของอเมริกาและแปลหนังสือ Politics for People ที่ ผู้เขียนใช้คำว่า “การเมืองภาคพลเมือง”1จนทำให้เข้าใจใหม่ว่าผู้ที่เป็นต้นทางของการพัฒนาการเมืองหรือ ประชาธิปไตยในอเมริกา ต้ังแต่ยงั ไม่มีรัฐธรรมนญู ไมม่ กี ารเลือกต้ัง คือ บาทหลวงที่ชอ่ื ว่า จอห์น มาเวอริค ที่ ไดเ้ ข้าไปแกป้ ญั หาความขัดแย้งของเกษตรกรสองกลุม่ ที่ได้อพยพจากยโุ รป มาอยู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ อเมริกา ที่บริเวณ ดอร์เชสเตอร์(Dorchester) ความขัดแย้งเนื่องจากกลุ่มที่เลี้ยงสัตว์ ปล่อยให้สัตว์ไปเหยียบ ย่ำทำลาย พืชผลในไร่ของอีกกลุ่ม ส่วนกลุ่มเลี้ยงสัตว์ก็กล่าวหาว่ากลุ่มปลูกผลไม้พืชไร่ไปทำลายรั้วปล่อยให้ สัตว์เลี้ยงเตลิดไปจนบาทหลวงต้องนัดมาล้อมวงคุยกัน จนสามารถหาข้อยุติเป็นฉันทามติ (consensus)และ เกิดวัฒนธรรมที่สืบต่อมา มาในกลุ่มคนอเมริกันใหม่ ที่ต่างอพยพโดย เรือเมย์ฟลาวเวอร์ มาสู่โลกใหม่จาก ประเทศต่างๆในยุโรป และได้มี สโลแกน (Slogan)ที่ยังอยู่ในความทรงจำของคนอเมริกา ว่า “we have problems we have to talk” หรือ เรามีปัญหาต้องมานั่งคุยกัน ซึ่ง เดวิด แมทธิวส์ ได้ให้ความเห็นไว้ใน หนังสือ Politics for People ว่าจริงๆแล้วประเทศอเมริกานั้น เริ่มต้นขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1633 (พ.ศ. 2176) ไม่ใช่ ค.ศ. 1779 (พ.ศ. 2319) ที่หลายคนเข้าใจ และเขาก็บอกว่าบิดาของประเทศอเมริกาก็ไม่ ใช่ จอร์จ วอชิงตัน (George Washington ) แต่เป็นพลเมืองที่ไม่ค่อยมีใครรู้จักคือ จอห์น มาเวอริค (John Maverick) ในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเมืองดอร์เชสเตอร์ รัฐแมสซาจูเสท ไม่ไกลจาก เมืองบอสตัน เท่าไหร่ เรื่องราวที่เกิดขึ้นที่กลายมาเป็นเหมือนการประชุมสภาเมือง ที่ไม่ได้มาคุยกันเรื่อง “วัวหลุด” แต่มันได้ กลายเป็นรากฐานของระบบการเมืองของอเมริกา คือการประชุมสภาเมือง เป็นเวทีแห่งการPublic dialogue หรือ การสานเสวนาของประชาชน เวทีนี้ได้กลายเป็นเวทีที่ประชาชนได้มาเข้าร่วม ซึ่งต่อมาได้มี การพฒั นาจนเกิดเปน็ กติกา เป็นรา่ งรฐั ธรรมนูญ ท่ีประชาชนได้มาร่วมกันและตัดสินใจว่าเขาต้องการให้รัฐบาล มอี ำนาจอะไรบา้ ง โดยสรปุ อเมริกาได้มีการพัฒนาเวทีสานเสวนาและการประชาเสวนา หรอื Public dialogue การ สานเสวนาหาทางออกหรือ Deliberation เปน็ กระบวนการที่จำเปน็ อย่างยิ่ง ทคี่ ดิ ค้นหาความห่วงกังวลท่ี กว้างและเป็นความห่วงกังวลที่มีร่วมกัน หากประเทศจะขาดซึ่งการสานเสวนาหาทางออก รัฐบาลจะ ดำเนินไปโดยขาดทิศทางจากสงคราม(อเมริกาได้ผ่านสงครามกลางเมือง)ในการสร้างและมีความชอบธรร ม หากมีแต่การให้มีการลงประชามติ (Referendum) แมทธิวส์ อธิบายว่าอาจจะกลายเป็นการรวบรวมปฏิกิรยิ า 1 ศ.นพ.วนั ชยั วฒั นศพั ท์ แปล “การเมืองภาคพลเมือง” จาก Politics for People เขยี นโดย เดวดิ แมทธิวส์ ~6~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ ของการเคาะหวั เข่า ที่เอามานบั รวมกนั (Collective Knee Jerks) เขาไดส้ รปุ ว่า การเมอื งแบบการสานเสวนา หาทางออก แมอ้ าจจะไม่ใชก่ ารเมอื งอดุ มคติ แตเ่ ปน็ การเมืองที่จำเปน็ อย่างย่ิงของประชาธิปไตย การได้มาซึ่งผู้บริหารมหาวิทยาลัยควรเป็นกระบวนการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งดี อะไร คือ New Normal ระหว่างเป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยได้มีโอกาสเสนอตัวเพื่อรับเลือกเป็นอธิการบดี ในครั้งนั้น กติกาของมหาวิทยาลัยขอนแก่นใช้การหย่อนบัตรเลือกตั้งโดยตรงโดยแบ่งเป็น 3 สาย คือประชากรใน มหาวิทยาลัยเลือกโดยตรงได้มีกล่องที่หย่อนบัตรโดยอาจารย์ กล่องหย่อนบัตรโดยข้าราชการ และกล่อง หย่อนบัตร ของนักศึกษา มีสัดส่วนอาจารย์หนึ่งคนบัตรหนึ่งใบได้ หนึ่ง เสียง ข้าราชการบัตรสองใบ ได้ คะแนน หนึ่ง เสียงและนักศึกษา 3 บัตรได้คะแนนเท่ากับ หนึ่ง เสียง การหาเสียงก็ต้องมีคณะกรรมการ ติดตามดูห้ามด่าห้ามแจกของ ห้ามเลี้ยง ปรากฏว่าคะแนนผู้พูดออกมารวมได้คะแนนชนะทุกสายได้รับเลือก เป็นอธิการบดีโดยสภามหาวิทยาลัยก็ดำเนินการนำเสนอเพื่อโปรดเกล้า โดยไม่มีปัญหาความขัดแย้ง และ บทเรียนตรงนี้ น่าจะช่วยอธิบายว่า การสรรหาบุคคลมาทำหน้าที่เป็นผู้นำ เป็นอธิการบดี หากจะใช้การ เลือกตั้งก็ดำเนินไปเลย หรือถ้าจะสรรหาก็ไม่ควรมีการหย่อนบัตรเพื่อหยั่งเสียง เพราะหลายครั้งกรรมการ สรรหามีความเห็นต่างจากผลการหยั่งเสียงก็จะเกิดปัญหาขึ้นทันทีจนทำให้เกิดการฟ้องร้องและกว่าจะหาข้อ ยุติกว่าจะไดข้ อ้ สรปุ ได้อธกิ ารบดตี ัวจริงก็ใช้เวลาเป็นปี หลายปที เี ดียวสรุปเรื่องน้คี วร เป็นขอ้ สังเกตที่ผู้บรรยาย ในฐานะที่เคยปรึกษาทางศาลปกครองในฐานะที่เป็นผู้บรรยาย เรื่องการไกล่เกลี่ยให้กับตุลาการศาลปกครอง พบว่าท่านตุลาการเสนอว่าเรื่องเหล่านี้ ควรที่จะดำเนินการให้จบเรียบร้อยก่อนจนได้ ฉันทามติเพราะถ้าเข้าสู่ กระบวนการยตุ ธิ รรมแล้วกจ็ ะตอ้ งดำเนินไปจะเร่งรดั อะไรก็จะยาก ประสบการณก์ ารสมคั ร ส.ส. ส.ว. อะไรควรจะเปน็ New Normal ในการเลือกผ้แู ทน จากผลการเลือกตั้งได้เป็นอธิการบดีก็เลยมีคนมาแนะนำให้ลงสมัครส.ว. แต่อาณาเขตของผู้เลือกจะมี ทั้งจังหวัดและไม่เคยลงพื้นที่มาล่วงหน้า การจะใช้เวลาเพียง ไม่กี่เดือนก็เรียกว่าไม่มีทาง แต่คะแนนในเขต เทศบาลทุกแห่งก็ชนะทุกเบอร์ทีไ่ ด้เข้าไปเปน็ อนั ดบั ตน้ ๆ เลยมพี รรคการเมือง 5 พรรคมาเกีย้ วใหล้ งสมัครด้วย ความทไี่ ม่เขด็ เวลาเดินหาเสียงในเขตเทศบาลเมอื งขอนแก่นเขาก็บอกอาจารยล์ งพรรคผิด สรุปคอื สอบไมผ่ ่าน แต่บทเรียนจากการได้เรียนรู้ในการลงเป็นผู้สมัครทำให้เข้าใจและเป็นบทเรียนว่าถ้าไม่มีพรรคสนับสนุนอย่าง จรงิ จังไม่มหี ัวคะแนน และไม่มีเงนิ ก็เรียกวา่ ไมม่ สี ิทธิ์ แต่ถอื วา่ เปน็ ประสบการณ์ท่ีคุ้มค่าก็ไมแ่ นะนำให้อาจารย์ ทง้ั หลายกระโดดลงสมัครโดยขาดปจั จยั ทัง้ หลาย เงนิ ทอี่ ุตสา่ หเ์ กบ็ ไว้ก็หมดครับ แตถ่ อื ว่าเปน็ ประสบการณ์ ที่ ไม่ลงสมัครก็คงจะไม่สามารถคุยกับนักการเมือง ที่มักจะถูกท้าทายว่า นักวิชาการแน่จริงลองมาลงการเมืองดู ไหม เป็นนกั รัฐศาสตรน์ า่ ลองนะครบั แต่อยา่ คาดหวังอะไรนัก ~7~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ สุดท้ายก่อนจะจบ เนื่องจากได้ศึกษาและเขียนหนังสืออีกสองสามเล่มที่มีแง่คิดเกี่ยวกับ การจัดการ ศึกษา ในยุคของการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม จึงขอนำมาเสริมในบทสุดท้าย จากการที่เรามีระบบการศึกษาท่ี ทา่ นศาสตราจารย์ ดร.วจิ ิตร ศรีสอา้ น เรยี กว่า “ระบบแพ้คัดออก” ทำให้เกดิ วฒั นธรรมแห่งการเอาแพ้เอาชนะ กัน และวัฒนธรรมอีกอย่างที่ติดตัวคนไทยมาคือ “ระบบอุปถัมภ์” ทำให้เราไม่อาจหลุดพ้นจาก การต่อสู้กับ การ “ทุจริตคอร์รัปชั่น” “เรียนเน่ ไอสเลอร์” (Riane Eisler) ได้กล่าวไว้ในหนังสือของ มาร์แชล โรเซน เบอร์ก (Marshall Rosenberg) ชื่อ Life Enriching Education ว่า “ เรามีความจำเป็นจะต้องเปลี่ยน รากฐานของการศึกษาอย่างถอนรากถอนโคน” การศึกษาเราไม่ได้เตรียมเด็กเราที่จะเผชิญความท้าทายของ ศตวรรษท่ี 21 น้ี เดก็ ในวนั พรงุ่ นีจ้ ะตอ้ งเกิดมามชี ีวิตอยใู่ นโลกท่ี สงบสันติสขุ ยุติธรรม อยา่ งยั่งยนื ท่ีเขาจะต้อง มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น และตัวของตัวเองด้วย เป็นผู้ที่มีความคิดสรา้ งสรรค์ พร้อม เผชิญกับความเสี่ยง และมี “สมารมย์” (Empathy) หรือความร่วมรู้สึกหรือเข้าใจตัวเอง เข้าใจผู้อื่น ที่ไม่ใช่ เพียงกลุ่มเพื่อนสนิท แตห่ มายรวมถงึ มวลมนุษยชาติทที่ า่ นผอู้ า่ นอาจหาอ่านเพม่ิ เติมไดจ้ ากเอกสารอ้างอิง เรื่องที่เขียนให้ท่านอาจารย์ทีอ่ ่านบทความนี้ที่จะจัดการศึกษายุค New Normal ที่กล่าวมาแล้วเร่ือง จะสอนอะไรควรมีประสบการณ์ในเรื่องนั้นอย่างแท้จริงและตัวอย่างของเรื่องที่จะสอนเมื่อทำไปแล้วควรจะ ถอดบทเรียนและหากสามารถถ่ายทำเปน็ VDO Presentation สั้นๆ ก็จะเป็นประโยชน์ดังนั้นส่วนท้ายนี้ ผู้พูด จะพูดถึงงานท่ไี ดด้ ำเนินการสอนและไปทำมาทั้งหนังสือประกอบและวิดีโอดว้ ย พอสังเขปและควรจะยดึ โยงกับ เรื่องท่เี ป็นปจั จบุ ันที่ผฟู้ ังจะได้นำไปใช้และอาจจะนำไปศกึ ษาต่อได้ ปัญหาการเมืองในประเทศไทยที่เกิดขึ้นจากแนวคิดของการเกิดประชาธิปไตยหรือการพัฒนา ประชาธิปไตยที่แตกต่าง ซึ่งผู้เขียนได้รับมอบหมายจากท่าน ศ.ดร.ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์ อดีตประธาน คณะกรรมการสภาพัฒนาการเมืองของสถาบันพระปกเกล้า ให้ไปอบรมเรื่องประชาธิปไตยแห่งการสาน เสวนาหาทางออกให้กับสมาชิกสภาพัฒนาการเมืองที่มาจากทั่วประเทศเมื่อสิงหาคม 2557 ที่ผู้เขียนได้นำ หลกั การทป่ี ระชาธปิ ไตยไม่ไดห้ ยุดอยู่ เพยี งแค่ การเลอื กตงั้ ผแู้ ทน และ การมีการมสี ่วนร่วมแบบที่เรามักจะใช้ คือ การทำประชาพิจารณ์ที่ขาดการมสี ่วนรว่ มอย่างแท้จริง ที่มักจะนำไปสูค่ วามขดั แยง้ ดังนั้น new normal เพื่อสร้างประชาธิปไตยแห่งการสานเสวนาท่จี ะเป็นแม่บทของประชาธิปไตยทีร่ วมเอาท้ังประชาธิปไตยตัวแทน (Representative Democracy) และประชาธิปไตยแห่งการมีส่วนร่วม(Participatory Democracy) คือ มี การเลือกผู้แทนของประชาชนเข้ามาทำงานแทน แต่ต้องเข้าใจว่า ผู้แทนของประชาชน ก็คือ ผู้แทน ไม่ใช่ ประชาชน หากจะต้องไปตัดสินใจอะไรท่ีไปกระทบกับประชาชนอยา่ งสำคญั ก็ยังจำเป็นต้องกลับมารับฟังเสียง ของประชาชน ทไี่ ม่ใชก่ ารใหผ้ ู้แทนหรือแมแ้ ตป่ ระชาชนลงมติโดยขาดกระบวนการทำความเข้าใจก่อนไปลงมติ ทนั ที แตต่ ้องใช้กระบวนการสานเสวนาหาทางออก หรอื Deliberative Dialogue และการรับฟังความคิดเห็น จากประชาชนด้วยจงึ มคี วามสำคญั อยา่ งย่งิ ~8~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ ในฐานะที่ผู้บรรยายได้รับมอบหมายให้เป็นนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ตามพระบรมราช โองการโปรดเกลา้ ฯ และตอนทมี่ คี ำส่งั คสช.ให้เปลย่ี นทง้ั ผบู้ รหิ ารและกรรมการสภาชดุ เก่านนั้ อาศยั ม 44 ด้วย คำสั่งว่ามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิไม่มธี รรมาภิบาล จึงได้นำปรึกษากับท่านอธิการบดีที่ได้รับโปรดเกล้าฯ และ ผู้บรหิ ารตลอดจนครบู าอาจารย์ เพื่อมารว่ มกันสรา้ งมหาวทิ ยาลยั ที่เป็นมากกวา่ มีธรรมาภบิ าล คอื สรา้ งใหเ้ กิด ความสุจรติ ทางวิชาการ (Academic Honesty) รว่ มกบั มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยการสร้างบัณฑิตที่มีความสุจริตในการเรียน การสอบ และจบออกมาไปเป็น บัณฑิตที่มีธรรมาภิบาล มีความสุจริตอย่างยั่งยืนและเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ ที่จะเหมือนการร่วมกันระหว่าง อาจารย์และนักศึกษาที่จะกำหนดเกณฑ์เกียรติยศหรือ Honor Code เช่นเดียวกับวัคซีนที่จะมาสร้าง ภูมิค้มุ กันร่วมกัน ทน่ี อกจากจะสรา้ งบณั ฑิตมีความสจุ ริตทางวิชาการแลว้ จะไม่ทนต่อความทุจริตของผู้อื่น เป็น เหมือน Herd Immunity ร่วมกัน ทงั้ หมดน้ีเป็น New Normal ทีน่ กั รฐั ศาสตร์หรือนกั วชิ าการจะเดนิ หน้าปรบั การเรยี นการสอนควรจะ มีรูปแบบของหลักสูตรใหม่หรือ New Normal ทั้งกระบวนวิธีและทิศทาง เรื่องสุดท้ายที่หากสนใจในการ ขับเคลื่อนใช้เครื่องมือเชิงบวกเดินไปข้างหน้าด้วย Appreciative Inquiryหรือสุนทรียปรัศนี และใช้ กระบวนการใหม่คือ SONEAR (Strength, Opportunity, Need, Empathy, Aspiration, Result) แทน SWOT(Strength, Weakness, Opportunity, Threat) ที่ผ้ทู ่คี ดิ เคร่ืองมอื น้ีคือ David Coopperrider ได้ถาม ผู้ทเี่ ปน็ ตน้ ฉบับของ SWOT คอื Peter Drucker เขาบอกวา่ ในศตวรรษนี้ทศวรรษน้ีจะเอาเรอื่ ง Weaknesses มาใช้ไม่ได้แล้วจะทำให้หมดพลังจะต้องใช้วิธีการเครื่องมอื ท่ี Coopperrider นำเสนอ ซึ้งผูบ้ รรยายนำมาถอด เป็นแนวทางของการพัฒนาผู้นำที่จะต้องปรับเปลี่ยนมองอนาคตในแนวคิดเชิงบวก ที่ผู้บรรยายได้นำมาเขียน ในหนังสือ ผู้นำ นำการเปลี่ยนแปลง1ที่ไม่มองอดีตที่เปลี่ยนไม่ได้และมักจะนำไปสู่การหาผู้ที่ทำให้เกิดผลเสีย โดยกระบวนการใช้ Root Cause Analysis แบบเดิม นำไปสู่การตำหนิและหาผู้ผิด ส่วนการใช้เครื่องมือ สนุ ทรียปรศั นีย์จะใช้เคร่ืองมือที่แมแ้ ตส่ หประชาชาติกน็ ำไปใช้อย่างไดผ้ ล ท่อี ดตี เลขาธิการสหประชาชาติ โคฟี อันนัน ยังให้คำชมเชยต่อผู้ริเริ่มคือ Coopperrider สุดท้ายที่ผู้บรรยายขอลงเอกสารปกหน้า-หลัง หนังสือท่ี อ้างอิง หากมีผู้สนใจก็ติดต่อได้ที่โรงเรียนพัฒนาผู้นำและสร้างสันติธรรมรักสคูล ที่บทความนี้อาจจะไม่ ครอบคลมุ รายละเอียดและประสงค์จะอา่ นเพิ่มเติม 1 วนั ชยั วฒั นศพั ท์ (2561)หนงั สือผนู้ านาการเปล่ียนแปลง : คู่มือและเครื่องมือการพฒั นาดว้ ยกระบวนการสุนทรียปรัศนี และการส่ือสารอยา่ งสร้างสรรค์ สู่สนั ติธรรม ~9~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ หนงั สอื อา้ งองิ ปัญหาความขัดแย้ง แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ที่เกิด จากการดำเนินการโครงการขนาดใหญ่ เขยี นโดย : ศ.นพ.วนั ชัย วฒั นศัพท์ ดร.ถวลิ วดี บรุ กี ุล และ ศภุ ณัฐ เพมิ่ พนู วิวฒั น์ วัฒนธรรมกับธรรมาภิบาลวัฒนธรรมที่เป็นอุปสรรคและเอื้อให้เกิดการสร้างธรร มาภิบาล เขียนโดย : ศ.นพ.วนั ชยั วฒั นศัพท์ และ สุจินันท์ หรสิทธ์ิ ประชาธิปไตยแห่งการสานเสวนาหาทางออกประชาธิปไตยแห่งการปรึกษาหารือ Deliberative Democracy เขยี นโดย : ศ.นพ.วนั ชยั วฒั นศพั ท์ กลา้ ลม้ เหลว เขยี นโดย : Billi Lim แปลโดย : ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท์ และ วันดี พงศป์ รีดเิ์ ปรม อารยะอุสาหกรรมชุมชนกับโรงงานอตุ สาหกรรมจะอยู่ด้วยกนั ได้อยา่ งไร เขยี นโดย : สจุ นิ นั ท์ หรสทิ ธิ์ ผศ.ภทั รวุฒิ วัฒนศัพท์ รศ.พญ.เนสณิ ี ไชยเอีย ศภุ ณฐั เพิม่ พูนสวสั ด์ิ อนชุ า เกตเุ จรญิ ศ.นพ.วันชัย วฒั นศัพท์ คู่มือการกำหนดนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง : ประชาเสวนา หาทางออกสนู่ โยบายสาธารณะดา้ นพลังงาน เขยี นโดย : ศ.นพ.วนั ชัย วัฒนศัพท์ ดร.ถวิลวดี บุรีกุล สจุ นิ ันท์ หรสิทธิ์ และ รชั วดี แสงหมะหมดั คมู่ อื การมสี ่วนร่วมของประชาชนในการตัดสนิ ใจของชมุ ชน เขยี นโดย : เจมส์ แอล เครตัน แปลโดย : ศ.นพ.วันชยั วัฒนศัพท์ ~ 10 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ การกลอ่ มเกลาทางการเมืองของสอ่ื สังคมออนไลนท์ ่มี ีต่อนกั ศึกษามหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ กรณศี กึ ษา : นกั ศึกษา ช้ันปีท่ี 3 ภาคปกติ ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 ปวีณา ภูช่างทอง1 บทคัดยอ่ การศึกษาวิจัยเรื่อง การกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏชยั ภูมิ กรณศี กึ ษา : นักศึกษา ช้นั ปีที่ 3 ภาคปกติ ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภฏั ชยั ภมู ิ 2) เพ่อื ศึกษาผลกระทบของสื่อสงั คมออนไลนท์ ี่มตี อ่ นักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมแิ ละแนว ทางการแก้ไข ระเบียบวิธีวิจัยรวบรวมจากข้อมูลจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ จำนวน 248 ตัวอย่าง โดยใชส้ ูตรสมุ่ ตัวอย่างแบบสำเร็จของเครซ่ีและมอร์แกน การ วิเคราะหข์ ้อมลู จะใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ ำเรจ็ รูปทางสถิติท่ีใช้ในการประมวลผลของข้อมูล โดยการหาร้อย ละและคา่ เฉลย่ี (µ) คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน (σ) ดงั น้ี ผลการศึกษาพบว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มอี ายุ 20-30 ปี ระดับปริญญาตรี และ ส่วนใหญ่ท้งั เพศชายและหญิงใช้ส่อื สงั คมออนไลน์ในการติดตามข่าวสารทางการเมืองเปน็ ประจำ จากผลการศึกษาพบว่า 1. ปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ได้แก่ 1) พรรคการเมือง 2) ความเชื่อและทัศนคติทางการเมือง 3) ค่านิยมทางการเมือง 3) ชั่วโมงในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ จะเห็นได้ว่า พรรคการเมืองจะอาศัยสื่อสังคม ออนไลนใ์ นการครอบงำทัศนคติของประชาชน โดยเฉพาะนักเรียน นกั ศึกษา ทใี่ ชส้ ่อื สงั คมออนไลน์เป็นประจำ เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ติ้กตอก ซึ่งในเพจเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ติ้กตอก จะมีกลุ่มพรรคการเมืองต่างๆที่ใช้สื่อ เหล่านี้สร้างกระแสแรงจูงใจต่างๆที่ให้ประชาชน นักเรียน นักศึกษา เชื่อใจและไว้วางใจที่สุด โดยไม่รู้ว่าสิ่งที่ เผยแพร่ข้อมูลในสื่อเหล่านี้เป็นจริงหรือเท็จ 2. ผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏชัยภูมแิ ละแนวทางการแก้ไข ได้แก่ 1) ปัญหาทางความสมั พันธข์ องคนในสังคม ทำให้เกิดเป็นสังคมกม้ หน้า และให้ความสำคัญหรือหมกมุ่นก้มหน้าก้มตา และจดจ่ออยู่กับการเสพข่าวสาร การติดต่อการพูดคุยกัน ผ่านสื่อออนไลน์ตา่ งๆตลอดเวลา 2) เป็นเครื่องมือทางการเมือง ทำให้ได้รับค่านยิ มต่างๆทางการเมอื ง เป็นผล 1 นักศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี สาขาวิชารฐั ศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ Corresponding author, E- mail: [email protected] ~ 11 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ มาจากกลุ่มทางการเมืองที่ครอบงำทัศนคติทางการเมือง ได้รับข่าวสารที่เป็นเท็จ โดยไม่รู้จักแยกแยะ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทำให้ตกเป็นเหย่อื ของพรรคการเมืองต่างๆในยุคปัจจุบนั 3) เกดิ ความไม่ค่อยสนใจท่ีจะอ่านหนังสือ ทำให้เกิดความบกพร่องทางการเรียน แต่หันมาใช้สื่อออนไลน์เป็นเวลานาน และเมื่อเลิกใช้สื่อก็เกิดความ กระวนกระวายและต้องการส่ือออนไลนอ์ ย่ตู ลอดเวลา ซง่ึ ผตู้ อบแบบสอบถามได้ให้ข้อเสนอแนะในแนวทางการ แก้ไขไว้ ดังนี้ 1) กำหนดระยะเวลาในการใช้สื่อออนไลน์ในแต่ละวันให้ชัดเจน หรือพัก 20 นาที ทุก 1 ชั่วโมง 2) ต้องเรียนรู้ขอ้ เทจ็ จริงหรือความเป็นมาท่ีแท้จริงของสือ่ ทางการเมืองน้ันๆ 3) กำหนดการใช้เวลาในการอา่ น หนงั สอื ให้มากข้ึน จนเกดิ ความเคยชนิ คำสำคญั : การกลอ่ มเกลาทางการเมือง, สือ่ สงั คมออนไลน์, มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ ~ 12 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชัยภูมิ Political Socialization of Social Media for Chaiyaphum Rajabhat University Students A case study : Third year students, regular semester,second semester, academic year 2020 ABSTRACT Research study Social media politicalization towards students from Chaiyaphum Rajabhat University Case study: 3rd year students, regular semester, second semester, academic year 2020, aims 1) to study the factors affecting the political persuasion of social media. Online to Chaiyaphum Rajabhat University students 2) to study the impact of social media on Chaiyaphum Rajabhat University students and solutions. Research methodology was compiled from data from questionnaires. The samples used in the research were There were 248 samples of students from Chaiyaphum Rajabhat University using Crazy and Morgan's successful sampling formula. Data analysis uses a statistical package of computer programs used in the processing of the data. By finding the percentage and mean (µ), the standard deviation (σ) is as follows The results of the study showed that Most of the respondents were female, 20-30 years old with a bachelor's degree. And most of the men and women use social media to keep up with political news on a regular basis. From the results of the study, it was found that: 1. Factors affecting the political persuasion of social media on Chaiyaphum Rajabhat University students were 1) political parties 2) political beliefs and attitudes 3) political values 3) hours in Using social media, it can be seen that political parties rely on social media to dominate people's attitudes. Especially students who use social media on a regular basis such as Facebook, Twitter, Tik Tok, which in the Facebook page, Twitter, Tik Tok, there will be various political parties that use these media to generate various motivations. Which allows people, students and students to trust and trust the most They do not know whether the information disseminated in these media is true or false. 2. Impact of social media on Chaiyaphum Rajabhat University ~ 13 ~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ students and solutions as follows: 1) Problems in relationships among people in society. Causing a society to bend forward And concentrating or obsessing over And focus on the news addiction Contact and chat through various online media all the time 2) as a political tool. Resulting in various political values It is the result of a political group that dominates political attitudes. Received false information Without knowing to distinguish the facts This makes it a victim of various political parties in the present time. 3) Has no interest in reading. Causing learning disabilities But turned to online media for a long time And when I stop using the media, I get anxious and want it online all the time. The respondents gave suggestions in the solution as follows. 1) Clearly set the time to use online media each day or take a 20-minute break every 1 hour. 2 ) You must learn the facts or the real history of the political media. 3) The spending time reading more books. Until getting used to Keywords: Political Socialization, Social Media, Chaiyaphum Rajabhat University ~ 14 ~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภูมิ บทนำ ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงที่ทันสมัยด้านเทคโนโลยีที่สำคัญเกิดขึ้นทั่วโลก เรียกได้ว่าเป็นกระแส โลกาภิวัตน์ที่เข้ามามีบทบาทสำคัญและผลกระทบที่ดีและร้ายอยู่รวมกัน รวมไปถึงเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ สามารถแพร่กระจายข้อมูลข่าวสารต่างๆได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งสาเหตุใหญ่ๆของโลกาภิวัตน์ที่ได้สร้างเงื่อนไข ใหญ่ๆที่ท้าทายองค์ประกอบ๔ประการของรัฐ ได้แก่ ดินแดน,อำนาจอธิปไตย,ประชาชน และรัฐบาล เช่น การไหลเวียนของเงนิ สินค้า บริการ ที่เหนือการควบคุมของรัฐ รวมไปถึงประชาชนไดร้ บั ทัศนคติใหม่ๆจากส่อื ออนไลน์ เช่น ติ๊กตอก ทวิตเตอร์ เฟซบุ๊ก ในปัจจุบันหลายคนรวมไปถึงนักเรยี นนักศึกษาที่อยู่ในการเติบโตใน ด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัยและค่านิยมต่างๆท่ีสามารถโน้มเอียงไปตามๆกันทำให้ไม่ค่อยได้สนใจและฟังข่าวสาร ทางวิทยแุ ละโทรทศั น์ ซึง่ ไดส้ ังเกตุการณใ์ นเรอ่ื งของการเมืองว่า นักเรียน นักศึกษาหรือเยาวชนไดพ้ ูดเยอะมาก ขึ้น พูดแรงหรือก้าวร้าวเกินไปในบางส่วนบางคน ในขณะที่เขารู้สึกว่าเป็นเรื่องธรรมดาที่สุด ซึ่งจะอธิบายให้ เห็นว่าในปัจจุบันเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ได้เติบโตมาพร้อมกับเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทั้งเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ติ๊กต็อก โดยมากเป็นการกล่อมเกลาในเรื่องทัศนคติทางการเมืองมากยิ่งขึ้น และในรุ่นผู้ใหญ่อายุ 30ขึ้นไป โดยมากจะไม่ค่อยสนใจหรือไม่คิดให้เป็นเรื่องใหญ่ เขาจะฟังข่าวจากวิทยแุ ละโทรทัศน์ การเมืองเป็นเรื่องที่ไม่ ควรจะไปสนใจหรอื รู้มากนักของรนุ่ 30ข้นึ ไป จะเหน็ ไดว้ า่ สื่อโซเซยี ลตา่ งๆสามารถเปน็ เครื่องมือของการจัดการ เยาวชนไดใ้ นเรื่องของทัศนคติ ค่านยิ ม และความโนม้ เอยี งของการเกล่ากลอมทางการเมืองท้ังทางบวกและลบ จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนและเยาวชนที่ได้รับรู้ข่าวสารทางการเมืองและการมีส่วนร่วม ทางการเมือง เช่น การแสดงความคิดเห็นในคอมเม้นเฟซบุ๊ก การออกไปใช้สิทธิ์เลือกตั้งตามระบอบ ประชาธิปไตย ถ้าหากส่วนใหญ่มีวัฒนธรรมทางการเมืองที่เอื้ออำนวยต่อการพัฒนาระบอบการปกครองแบบ ประชาธิปไตย อันเกิดจากการกล่อมเกลาเรียนรู้จากครอบครัว สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะทางสื่อสังคม ออนไลน์อย่างต่อเนื่องจะต้องทำให้ปลุกกระแสให้เกิดเป็นพลังสำคัญทางการเมืองที่มีต่อการพัฒนาระบอบ ประชาธิปไตยในโลกยคุ ใหม่ทงั้ ในปัจจุบนั และอนาคต การเกิดขึ้นของโซเชียลมีเดียหรอื สื่อสงั คมออนไลน์ทาํ ให้เกดิ เครือข่ายการสื่อสารแบบใหม่ ซึ่งกลุ่มผ้มู ี ชื่อเสียง ผู้นําความคิดและผู้ทรงอิทธิพล สามารถชี้นํากลุ่มฝูงชนออนไลน์ให้สนใจติดตามความเห็นของตนเอง โดยตรงไดโ้ ดยไม่จาํ เป็นต้องพึ่งพา หรอื เสนอเนื้อหาทสี่ อดคล้องกบั สื่อมวลชนด้ังเดมิ เสมอไป อยา่ งไรก็ดี ผลที่ เป็นคุณประโยชน์ของโซเชียลมีเดีย อย่างน้อย ๆ ประการแรก คือ การสร้างความมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ของสังคม โดยเฉพาะหากเครือข่ายนั้นเป็นที่นิยมมากถึง ขั้นระดับประเทศดังเช่น เฟซบุ๊ก ไลน์ เป็นต้น การ สื่อสารผ่านสื่อนี้จึงเป็นตัวเลือกที่ดีช่องทางหนึ่ง ประการต่อมา โซเชียลมีเดียยังช่วยให้ผู้ใช้ปลดปล่อยอิสระ (Emancipation) หมายถึง ทําให้หลุดพ้นจากเครื่องพันธการผูกมัดใดๆ ซึ่งเท่ากับว่าประชาชนผู้มีสิทธิออก เสียง สามารถใช้วิจารณญาณเทียบเคียงข่าวสารข้อมูล ความรู้ ความเห็นได้มากมายหลากหลายผ่านการ ถกเถยี ง กอ่ นจะลงคะแนน คุณประโยชนท์ ้งั สองน้ี ทําให้โซเชยี ลมีเดยี เป็นส่อื ที่มขี ้อดีมากกว่าข้อเสีย ในยุคสมัย ~ 15 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ ที่คนไทยส่วนใหญ่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตและมีอัตราการใช้งานสูงมากจนติดอันดับโลก (อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว, 2561) กล่อมเกลาทางการเมืองเป็นกระบวนการที่บุคคลได้มาซึ่งเจตคติและความรู้สึกต่อระบบการเมือง และต่อบทบาทของตนในระบบการเมือง ทั้งนี้รวมถึงการมีความรู้ ความเข้าใจ (Cognition) ความรู้สึก (Feeling) การมีความจงรักภักดีและความสำนึกผูกพันในฐานะเป็นพลเมือง (Sense of Civic Obligation) และความรู้สึกในความสามารถทางการเมือง (Sense of Political Competence) รู้ว่าตนเองมีบทบาททาง การเมืองอย่างไรในฐานะที่ตนเป็นสมาชิกของสังคมการเมืองนั้น การอบรมกล่อมเกลาทางการเมืองเป็น กิจกรรมที่เกี่ยวพันกันระหว่างปัจเจกบุคคลกับหน่วยถ่ายทอดทางสังคม (Socializing agents) โดยการส่ง สาระทางการเมืองซึ่งประกอบด้วยความเชื่อ ค่านิยม ตลอดจนอุดมการณ์ทางการเมืองจากหน่วยถ่ายทอด ทางสังคมไปสู่ปจั เจกบคุ คล ซึ่งถ้ามองในภาพรวมจะเหน็ ว่าการอบรมกล่อมเกลาทางการเมืองเป็นกระบวนการ พัฒนาการด้านการเมืองของปัจเจกบุคคลตั้งแต่วัยเด็ก เกิดอย่างค่อยเป็นค่อยไป กลายเป็นแนวความคิด ความเข้าใจ และพฤติกรรมซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะตัวของแต่ละคน ซึ่งสามารถตอบสนองความต้องการและ คา่ นยิ มทางการเมืองของตนเองและสว่ นรวมได้ (พฤทธสิ าสน์ ชุมพล, 2527) นักศกึ ษาในฐานะเปน็ กลมุ่ ชนชั้นกลางเปน็ กำลังสำคัญของชาติ ซึ่งมวี ฒั นธรรมทางการเมอื งแบบมีส่วน ร่วม ต่างได้เกิดจากการกล่อมเกลาทางการเมืองในสถาบันการศึกษาในมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะในปัจจุบันมี เทคโนโลยีส่ือออนไลน์เข้ามามีผลกระทบต่อประชาชนและเยาวชน รวมไปถึงนักศกึ ษาที่เป็นชนชั้นกลางที่ควร จะเขา้ มามสี ว่ นร่วมทางการเมอื งเพื่อทำหน้าที่เรยี กร้องสิทธิประโยชน์แทนประชาชนท้ังคอยถ่วงดุลอำนาจของ ผู้ปกครองประเทศในประเด็นปัญหาต่างๆ ซึ่งสื่อสังคมออนไลน์เป็นปัจจัยสำคัญในปัจจุบันที่ทำให้นักศึกษา ได้รับรู้ข่าวสารได้รวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นขา่ วเท็จ สื่อเท็จทีส่ ร้างจากนักการเมืองท่ีมอี ิทธิพลทีใ่ ช้เทคโนโลยีในการ ครอบงำทัศนคติทางการเมืองทั้งในแง่คิดที่ถูกและผิด เป็นบ่อเกิดแห่งการกล่อมเกลาทางการเมืองในเรื่อง ทัศนคติ ความโน้มเอียงต่างๆ (มยรุ ี ถนอมสุข,2558) การทำวิจัยครั้งนี้ จะทำการศึกษาวิจัยเฉพาะนักศึกษาปริญญาตรี ทุกคณะ ชั้นปี3 ภาคเรียนที่2 ปี การศึกษา2563 ในมหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ เรื่องการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ โดยจะศึกษาปัจจัยที่มีต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคม ออนไลน์ที่มีต่อนักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภัฎชัยภูมิและศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลนท์ ี่มีต่อนกั ศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฎั ชยั ภมู ิ และแนวทางการแก้ไข น่าจะเปน็ ประโยชน์ต่อการมองภาพในปจั จุบนั และแนวโน้ม ในอนาคตของนักศึกษาที่ได้มกี ารแสดงทศั นคตทิ างการเมืองตามกระแสส่ือสังคมออนไลน์ที่สามารถกระตุ้นให้ นักศกึ ษาได้มีสว่ นรว่ มทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ~ 16 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจยั 1. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อนักศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ 2. เพ่ือศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ท่ีมีต่อนักศกึ ษามหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ และแนวทาง การแก้ไข ประโยชน์ของการวิจัย 1. ประโยชนเ์ ชิงวิชาการ ทำให้นักศึกษาในมหวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิมีทัศนคติและแนวคิดที่กว้างไกลและสามารถใช้สื่อสังคม ออนไลน์ในการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองเอามาใช้ประโยชน์ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองในมหาวิทยาได้ดี ทีส่ ดุ 2. ประโยชน์เชิงนโยบาย เพื่อทราบถึงปัญหาจากผลกระทบที่เกิดจากการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์และ แนวทางการแก้ไขต่างๆเพื่อช่วยปรับทัศนคติในแง่ลบให้เกิดทัศนคติในแง่ดีที่สามารถจะลดความวุ่นวายทาง การเมอื งทร่ี นุ แรงในปจั จบุ ันและอนาคตให้เกิดความโปร่งใสและปรองดองกันได้ สมมติฐานการวจิ ยั 1. ปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภัฏชยั ภมู ิน่าจะเกิดจากพรรคการเมอื ง 2. ปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภฏั ชยั ภมู ิน่าจะเกดิ จากความเชอื่ และทัศนคตทิ างการเมือง 3. ปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภัฏชยั ภูมินา่ จะเกดิ จากค่านิยมทางการเมือง 4. ปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภัฏชัยภมู ินา่ จะเกดิ จากช่วั โมงในการใชส้ ่ือสงั คมออนไลน์ ~ 17 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษา ปัจจัยที่มีต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองและศึกษาผลกระทบที่เกิดจากการ กล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ โดยมุ่งหาคำตอบวา่ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิได้ใช้สื่อออนไลน์ในการรับรู้ข่าวสารทางเมืองอยู่เป็นประจำ และได้มี ทัศนคติ ค่านิยม ความรู้ ความเข้าใจ ต่อการเมืองการปครองไทยอย่างไรในทางสื่อสังคมออนไลน์ ผู้วิจัยได้ กำหนดขอบเขตการวจิ ยั ไว้ ดงั น้ี ขอบเขตดา้ นเนื้อหาทใี่ ช้ในการศกึ ษา การศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 3 ตอน โดยตอนท่ี1 เก่ียวกับข้อมูลของบุคคล ในตอน ท2ี่ เกยี่ วกบั การรับรู้ข่าวสารในการเมือง ในเรือ่ งทัศนคติ ความรู้ ความเขา้ ใจ เกยี่ วกับพรรคการเมือง การ เลือกต้ัง ประชาธปิ ไตย และในตอนที่3 ขอ้ เสนอแนะและข้อคิดเหน็ เพม่ิ เติม เปน็ ต้น ขอบเขตดา้ นพ้ืนที่ ผู้วจิ ัยใช้พ้ืนที่ในการศึกษาคือ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ อำเภอเมอื ง ตำบลนาฝาย จังหวดั ชยั ภูมิ ขอบเขตด้านเวลา การวิจัยในครัง้ นไ้ี ด้เรม่ิ ดำเนนิ การศึกษาในช่วงเดือนธนั วาคม พ.ศ.2563-เดือนกมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2564 ขอบเขตดา้ นประชากร การวิจัยในคร้ังนีเ้ ปน็ นักศกึ ษาในมหาวิทยาลัยราชภฎั ชยั ภูมิ ทุกคณะ ชั้นปีที่3 ภาคการศึกษาที่ 2 ใน ปีการศกึ ษา 2563 จำนวน 700 คน โดยใช้สูตรของเครซี่และมอร์แกน ในการหากลุ่มตวั อยา่ ง ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 248 คน วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย การวจิ ัยครงั้ น้ี ผ้ทู ำการศึกษาเรอื่ ง “การกลอ่ มเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ทมี่ ีต่อนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ กรณีศึกษา : นักศึกษา ชั้นปีที่3 ภาคปกติ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563” ผู้วิจัยได้กำหนดข้ันตอนและวิธีการศึกษาค้นคว้าเกีย่ วกับประชากรและกลุ่มตัวอย่าง โดยมีการดำเนินการตาม ข้ันตอน ดังนี้ 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 2. ขอบเขตท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย 3. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ~ 18 ~

การประชุมวชิ าการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 4. การตรวจสอบขอ้ มูล 5. การวิเคราะห์ข้อมลู ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการทำวจิ ัยครงั้ นี้ เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีทุกคณะ ทุกช้นั ปที ่ี 3 ภาคการศึกษา ท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 รวมจำนวนท้งั หมด 700 คน โดยในการทำวิจยั คร้ังนี้ใช้สูตรหากลุ่มตวั อย่างแบบสำเร็จ ของเครซแี่ ละมอรแ์ กน ไดก้ ลุม่ ตัวอย่าง 248 คน การเกบ็ รวมรวมขอ้ มลู แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. การเก็บข้อมลู เชิงคณุ ภาพ -เครอ่ื งมือท่ีใช้ไดแ้ ก่ แบบสังเกตพฤติกรรมของผตู้ อบแบบสอบถาม 2. การเกบ็ ข้อมูลเชิงปรมิ าณ - เครอ่ื งมือท่ใี ช้ได้แก่ แบบสอบถาม เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ผู้ทำการศึกษาได้ใช้เครื่องมือในการทำวิจัยที่สร้างขึ้นจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เปน็ แบบสอบถาม 3 ตอน คอื ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลบุคคลทั่วไปเกี่ยวกับ เพศ คณะที่สังกัด อายุ ที่อยู่อาศัย เป็น แบบสอบถามลกั ษณะปลายเปดิ ให้เลือกตอบ โดยใส่เคร่อื งหมายถูกต้องตามความเปน็ จรงิ ตอนที่ 2 แบบสอบถามปลายปิดและปลายเปิดเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมือง ของสอ่ื สงั คมออนไลน์ทมี่ ีต่อนักศึกษาทุกคณะ ในชนั้ ปที ี่ 3 ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะและข้อคดิ เหน็ เพ่ิมเตมิ การตรวจสอบข้อมูล ผู้วิจยั ดำเนนิ การสรา้ งตรวจคณุ ภาพเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ัย ได้ดำเนินการตามลำดบั ข้นั ตอน ดังน้ี 1. ศึกษาจากแนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวิจยั ต่างๆที่เก่ยี วข้องกับปจั จัยทีม่ ีตอ่ การกล่อมเกลาทางการเมอื ง ~ 19 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ 2. กำหนดกรอบแนวคิดและเนอ้ื หาตามวตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั นำมาใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการสร้างแบบสอบถาม ท้งั ชนดิ ปลายปิดและปลายเปิด รนุ แรงในปจั จุบนั และอนาคตให้เกิดความโปร่งใสและปรองดองกันได้ สรุปผลของการวิจยั 1. ปจั จัยท่ีมผี ลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสงั คมออนไลน์ท่ีมตี ่อนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภฏั ชยั ภมู ิและผลกระทบของสอื่ สงั คมออนไลน์และแนวทางการแก้ไข ซงึ่ ดำเนินการหาคา่ รอ้ ยล่ะจากข้อมูลส่วน บุคคล ซึ่งพบว่า เพศชาย 98 คน คิดเป็นร้อยละ 39.5 เพศหญิง 150 คน คิดเป็นร้อยละ 60.5 รวมทั้งหมด จำนวน 248 คน คณะรัฐศาสตร์ 64 คน คิดเป็นร้อยละ 25.0 คณะครศุ าสตร์ 50 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 20.2 คณะ บริหารธรุ กจิ 33 คน คดิ เป็นร้อยละ 13.3 คณะพยาบาลศาสตร์ 44 คน คดิ เป็นร้อยละ 17.7 คณะศลิ ปะศาสตร์ 41 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 16.5 คณะวิศวกรรมศาสตร์ 18 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.3 รวมทัง้ หมด 248 คน มีอายุ 20- 30 ปี 248 คน คิดเป็นร้อยละ 100.0 รวมทั้งหมด จำนวน 248 คน มีสถานภาพโสด 248 คน คิดเป็นร้อยละ 100.0 รวมท้งั หมด จำนวน 248 คน มรี ะดับการศึกษาปริญญาตรี 248 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100.0 รวมทั้งหมด จำนวน 248 คน การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการติดตามข่าวสารทางการเมืองเป็นประจำ 232 คน คิดเป็นร้อย ละ 93.5 ไม่ใช้เลย 16 คน คิดเป็นร้อยละ 6.5 รวมทั้งหมด จำนวน 248 คน อาศัยอยู่ต่างจังหวัดชัยภูมิ 152 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 61.3 ในจงั หวัดชัยภูมิ 96 คน คิดเปน็ ร้อยละ 38.7 รวมทั้งหมด จำนวน 248 คน คน มีการ ชอบแสดงความคิดเห็นทางการเมืองตามกระแสสื่อสังคมออนไลน์ด้วยทัศนคติต่างๆ 185 คน คิดเป็นร้อยละ 74.6 ไม่ชอบ 63 คน คิดเป็นร้อยละ 25.4 รวมทั้งหมด จำนวน 248 คน การใช้สื่อสังคมออนไลน์วันละ 2 ชว่ั โมงตอ่ วัน 18 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 7.3 วนั ละ 3-4 ชัว่ โมงต่อวัน 73 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 29.4 วนั ละมากกวา่ 4 ชัว่ โมงแต่ไม่เกนิ 10 ชัว่ โมง 157 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 63.3 รวมทัง้ หมด จำนวน 248 คน 1.1 ปัจจยั ทม่ี ีผลตอ่ การกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสงั คมออนไลน์ที่มตี ่อนักศึกษามหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ ปจั จยั ท่ีมผี ลตอ่ การกล่อมเกลาทางการเมอื งของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อนักศึกษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ชัยภูมคิ อื พรรคการเมือง ในภาพรวมผูต้ อบแบบสอบถามได้แสดงความคดิ เหน็ ใช่ 208 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 83.9 ไม่ใช่ 40 คน คิดเป็นร้อยละ 16.1 รวมทั้งหมด จำนวน 248 คน เมื่อพิจารณาการแสดงความคิดเห็นว่าใชเ่ ป็น รายข้อพบว่า พรรคการเมือง เปน็ อันดบั ท่ี4 เปน็ ลำดบั สดุ ทา้ ยทมี่ ีผู้ตอบว่าใช่มากว่าไม่ใช่รวมทง้ั หมด 208 คน ปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ การกล่อมเกลาทางการเมอื งของสอ่ื สังคมออนไลน์ท่ีมตี ่อนักศึกษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏ ชัยภูมิคือความเชือ่ และทัศนคติทางการเมือง ในภาพรวมผูต้ อบแบบสอบถามได้แสดงความคิดเหน็ ใช่ 245 คน คิดเป็นร้อยละ 98.8 ไม่ใช่ 3 คิดเป็นร้อยละ 1.2 รวมทั้งหมด จำนวน 248 คน เมื่อพิจารณาการแสดงความ คิดเห็นว่าใช่เป็นรายขอ้ พบว่า ความเช่ือและทัศนคติทางการเมือง เป็นอันดับที่1 เป็นลำดับแรกทีม่ ีผูต้ อบว่าใช่ มากกวา่ ไมใ่ ช่รวมทง้ั หมด 245 คน ของนักศกึ ษา 248 คน ~ 20 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชยั ภมู ิ ค่านิยมทางการเมือง แสดงความคิดเห็นใช่ 241 คน คิดเป็นร้อยละ 97.2 ไม่ใช่ 7 คิดเป็นร้อยละ 2.8 รวมทั้งหมด จำนวน 248 คน เมื่อพิจารณาการแสดงความคิดเห็นว่าใช่เป็นรายข้อพบว่า ค่านิยมทางการเมือง เป็นอันดับท่ี2 เป็นลำดับที่รองลงมาจากอันดับแรกที่มีผู้ตอบว่าใช่มากกว่าไม่ใช่รวมทั้งหมด 241 คน ของ นกั ศกึ ษา 248 คน ชั่วโมงในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ แสดงความคิดเห็นใช่ 219 คน คิดเป็นร้อยละ 88.3 ไม่ใช่ 29 คน คิดเป็นร้อยละ 11.7 รวมทั้งหมด จำนวน 248 คน เมื่อพิจารณาการแสดงความคิดเห็นว่าใช่เป็นรายข้อพบว่า ชั่วโมงในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ เป็นลำดับที่3 รองลงมาจากอันดับที่2 เป็นอันดับที่สามที่มีผู้ตอบว่าใช่ มากกว่าไมใ่ ช่รวมท้ังหมด219 คน ของนักศึกษา 248 คน จะเห็นได้ว่า พรรคการเมืองจะอาศัยสื่อสังคมออนไลน์ในการครอบงำทัศนคติของประชาชน โดยเฉพาะนักเรียน นักศึกษา ที่ใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นประจำ เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ติ้กตอก ซึ่งในเพจ เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ติ้กตอก จะมีกลุ่มพรรคการเมืองต่างๆที่ใช้สื่อเหล่านี้สร้างกระแสแรงจูงใจต่างๆที่ให้ ประชาชน นักเรียน นักศึกษา เชื่อใจและไว้วางใจที่สุด โดยไม่รู้ว่าสิ่งที่เผยแพร่ข้อมูลในสือ่ เหล่านี้เป็นจริงหรอื เทจ็ 2. ผลกระทบของสือ่ สังคมออนไลน์ทีม่ ตี ่อนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏชยั ภูมิ จากแบบสอบถามปลายปิดและเปิดพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบของ สื่อออนไลน์ตรงกัน คือ มีปัญหาทางความสัมพันธ์ของคนในสังคม ทำให้เกิดเป็นสังคมก้มหน้า และให้ ความสำคัญหรือหมกมุ่นก้มหน้าก้มตา และจดจ่ออยู่กับการเสพข่าวสาร การติดต่อการพูดคุยกันผ่านส่ือ ออนไลน์ต่างๆตลอดเวลา ก่อให้เกิดผลลบต่อชีวิตประจำวัน และความสัมพันธ์ของคนในสังคมอย่างชัดเจน ยิ่งขึ้น เป็นเครื่องมือทางการเมือง ทำให้ได้รับค่านิยมต่างๆทางการเมือง เป็นผลมาจากกลุ่มทางการเมืองท่ี ครอบงำทัศนคติทางการเมือง ได้รับข่าวสารที่เป็นเท็จ โดยไม่รู้จักแยกแยะข้อเท็จจริง ทำให้ตกเป็นเหย่ือของ พรรคการเมอื งตา่ งๆในยุคปัจจุบนั การเกิดความไม่ค่อยสนใจท่จี ะอา่ นหนังสือ ทำใหเ้ กิดความบกพร่องทางการ เรียน แต่หันมาใช้สื่อออนไลน์เป็นเวลานาน และเมื่อเลิกใช้สื่อก็เกิดความกระวนกระวายและต้องการสื่อ ออนไลนอ์ ยตู่ ลอดเวลา แนวทางการแก้ไขผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ซึ่ง นกั ศึกษากลุม่ ตวั อย่างมีความคดิ เหน็ ตรงกนั ในการให้ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา ดังน้ี 1. กำหนดระยะเวลาในการใช้สื่อออนไลน์ในแต่ละวันให้ชัดเจน หรือพัก 20 นาที ทุก 1 ชั่วโมง หรือ หัดใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่น การไปวิ่งออกกำลังกายในตอนเย็น การไปสังสรรค์กับเพื่อนๆในเวลาว่าง เพอื่ ท่จี ะไม่เป็นสงั คมก้มหน้าหรอื หมกมนุ่ กบั ส่ือออนไลนม์ ากเกินไป 2. ต้องเรียนรู้ข้อเท็จจริงหรือความเป็นมาที่แท้จริงของสื่อทางการเมืองนั้นๆ โดยฝึกตนเองให้รู้ จัก แยกแยะขอ้ เท็จจรงิ หรอื รจู้ กั พูดคุยกับอาจารยห์ รือผู้ใหญ่ทีม่ ีความรูค้ วามเข้าใจในดา้ นการเมืองที่แทจ้ ริง ~ 21 ~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ 3. กำหนดการใชเ้ วลาในการอา่ นหนงั สือให้มากขึ้น หรอื ตง้ั เวลาในการอ่านหนงั สือวันละครึ่งชั่วโมงต่อ วัน เพอ่ื ทีจ่ ะทำใหม้ กี ารเรยี นไมบ่ กพร่องและหดั ฝกึ แบบนีใ้ นทุกวันจนเกิดความเคยชิน 3. การทดสอบสมมตฐิ านการวจิ ัย สมมติฐานข้อที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิน่าจะเกิดจากพรรคการเมือง แสดงความคดิ เห็นว่าใช่ จำนวน 208 คน คิดเป็นร้อย ละ 83.9 ไม่ใช่ 40 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16.1 ดังน้นั เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน สมมติฐานข้อที่ 2 ปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิน่าจะเกิดจากความเชือ่ และทัศนคตทิ างการเมือง แสดงความคิดเหน็ ว่าใช่ 245 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 98.8 ไม่ใช่ 3 คดิ เป็นร้อยละ 1.2 ดังนน้ั เป็นไปตามสมมติฐาน สมมติฐานข้อที่ 3 ปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภูมนิ ่าจะเกิดจากคา่ นยิ มทางการเมือง แสดงความคิดเหน็ ว่าใช่ 241 คน คิดเป็นร้อยละ 97.2 ไมใ่ ช่ 7 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.8 ดงั นั้น เป็นไปตามสมมตฐิ าน สมมติฐานข้อที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิน่าจะเกิดจากชั่วโมงในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ แสดงความคิดเห็นว่าใช่ 219 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 88.3 ไม่ใช่ 29 คน คิดเปน็ ร้อยละ 11.7 ดงั น้นั เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน อภปิ รายผลการวิจยั ผลการวิจัยเรื่องการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภัฏชัยภูมิ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ และศึกษาผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏชัยภมู ิ และแนวทางการแก้ไข ผูว้ จิ ัยไดอ้ ภปิ รายผลได้ดงั น้ี 1. ปัจจยั ท่มี ผี ลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของส่ือสงั คมออนไลนท์ ่ีมตี ่อนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภฏั ชยั ภมู ิ ปจั จัยท่ีมผี ลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของส่อื สังคมออนไลนท์ ี่มตี ่อนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ ชัยภูมิ คือ ความเชื่อและทัศนคติทางการเมือง ค่านิยมทางการเมือง ชั่วโมงในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ และ พรรคการเมือง ในภาพรวมมผี แู้ สดงความเห็นดว้ ยว่าใชใ่ นระดบั มาก ทง้ั นอี้ ันเนือ่ งมาจากในปัจจุบันมีเทคโนลียี ทท่ี ันสมัย เรยี กได้ว่า เปน็ ยุคโลกาภวิ ัตน์ ทีม่ กี ารไหลบ่าข่าวสารข้อมูลต่างๆจากประเทศเพื่อนบ้านไม่ว่าจะใกล้ หรือไกลก็สามารถรับรู้ได้รวดเร็ว ซึ่งทำให้เด็กหรือเยาวชน นักเรียน นักศึกษา ได้ใช้เทคโนโลยีเหล่าน้ี โดยเฉพาะโทรศัพท์ ในอดีตจะเห็นได้วา่ โทรศัพท์มีไว้เพื่อโทรสื่อสารกัน แต่ต่างจากปัจจบุ ันน้ีที่โทรศัพทไ์ ม่ได้มี ไว้เพื่อโทรสื่อสารอย่างเดียว แต่สามารถหาข้อมูลข่าวสารต่างๆนานาได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในกระแส ~ 22 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครั้งที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ ติ้กตอกที่กำลังมาแรงจะมีข้อมูลที่เป็นสาระและข้อมูลฮาๆที่ไร้สาระและเชื่อมโ ยงมุกต่างๆไปโยงกับการเมือง โยงกับดาราบางคนทีม่ ขี ่าวชบุ ชปิ ออกมาอาจจะเท็จบ้างจริงบ้าง ซ่ึงทำใหเ้ ยาวชนบางกลุ่มหมกมุ่นในส่ือโซเซียล โดยอาจจะไม่ทราบถึงข้อเท็จจริง และทำให้เกิดความโน้มเอียงเกี่ยวกับการรับรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อของ บคุ คล เกิดทัศนคติ ทัศนคตติ า่ งกัน ความคิดเหน็ กต็ า่ งกนั ไปด้วย หรอื ทัศนคติเปน็ ความรู้สึก ความคิดเห็น ซึ่งมี อารมณ์เป็นส่วนประกอบ และพร้อมที่จะมีปฏิกิริยาต่อสถานการณ์ภายนอก ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ (สวัสดิ์ สุคนธรังษี, 2517) ที่แบ่งองค์ประกอบของทัศนคติ แยกออกเป็น 3 ส่วน คือ 1. องค์ประกอบด้าน ความคิด ความเข้าใจ ทัศนคติทางด้านนี้จะแสดงออกมาในลักษณะที่เช่ือวา่ อะไรถูกอะไรผิด ซึ่งประกอบด้วย เหตุผล 2. องค์ประกอบด้านความรู้สึก ทัศนคติด้านนี้จะแสดงออกมาในลักษณะความชอบหรือไม่ชอบ สนับสนุนหรือไม่สนับสนุน โดยมีอารมณ์เป็นส่วนประกอบ 3. องค์ประกอบด้านพฤติกรรม ทัศนคติด้านนี้จะ แสดงออกในรูปของการยอมรับหรือปฏิเสธ ที่มีแนมโน้มในทางปฏิบัติ และสอดคล้องกับแนวคิดของ (สมบัติ ธำรงธัญวงศ์,2540) ในแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางการเมือง ที่ได้พิจารณาจากความโน้มเอียง 3 ลักษณะ คือ 1. ความโน้มเอียงเกี่ยวกับการรับรู้ เป็นความรู้ ความเข้าใจ และความเชื่อของบุคคลที่มี่ต่อ ระบบการเมือง และส่วนต่างๆ ของระบบการเมือง 2. ความโน้มเอียงเกี่ยวกับความรู้สึก เป็นความรู้สึกของ บุคคลที่มีต่อระบบการเมืองและส่วนต่างๆของระบบการเมือง 3. แนวโน้มเกี่ยวกับการประเมินค่า เป็นการใช้ ดุลยพินิจ และการตัดสินใจในการให้ความเห็นต่างๆ เกี่ยวกับกิจกรรมทางการเมืองและปรากฎการณ์ทางการ เมือง 2. การอภิปรายผลการทดสอบสมมติฐานการวจิ ัย สมมติฐานข้อที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิน่าจะเกิดจากพรรคการเมือง แสดงความคดิ เห็นว่าใช่ จำนวน 208 คน คิดเป็นร้อย ละ 83.9 ไม่ใช่ 40 คน คิดเป็นร้อยละ 16.1 ดังนั้น เป็นไปตามสมมตฐิ าน ทั้งนี้อันเน่ืองมาจากสื่อโซเซียลตา่ งๆ ในปัจจุบันเป็นสื่อที่สามารถงอบงำในเรื่องทัศนคติของประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มนักศึกษา ที่มีพรรคการเมือง ต่างๆที่ใช้สื่อออนไลน์เป็นเครื่องมือในการงอบงำทัศนคติทางการเมืองในรื่องเหตุการณ์บ้านเมืองในแง่ดีและ รา้ ยทั้งจริงและเท็จตลอดเวลา สมมติฐานข้อที่ 2 ปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิน่าจะเกิดจากความเชือ่ และทัศนคติทางการเมือง แสดงความคิดเหน็ ว่าใช่ 245 คน คิดเป็นร้อยละ 98.8 ไม่ใช่ 3 คิดเป็นร้อยละ 1.2 ดังนั้น เป็นไปตามสมมติฐาน ทั้งนี้อันเนื่องมาจากประชาชน และกลุ่มนักศกึ ษาอาจจะมีความเชือ่ สว่ นตวั หรือความเชื่อจากสิ่งแวดล้อมที่พบเจอในปัจจบุ ันทำใหม้ ีความเช่ือ ด้ังเดิมหรอื ความเช่ือทเี่ ปลี่ยนแปลงไปจากการไดร้ บั ข้อมลู ข่าวสารจากสอ่ื โซเซยี ลต่อๆกันมา สมมติฐานข้อที่ 3 ปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิน่าจะเกิดจากคา่ นยิ มทางการเมือง แสดงความคดิ เหน็ ว่าใช่ 241 คน คิดเป็นร้อยละ 97.2 ไม่ใช่ 7 คิดเป็นร้อยละ 2.8 ดังนั้น เป็นไปตามสมมติฐาน ทั้งนี้อันเนื่องมาจากในปัจจุบันมีสื่อโซเซียลที่ ~ 23 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภมู ิ ทันสมัย ซึ่งโดยเฉพาะเยาวชนรุ่นใหม่และนักศึกษาที่ใช้สื่อโซเซียลเป็นประจำ ซึ่งในทั้งนี้จะมีกลุ่มที่มีค่านิยม ทางการเมืองที่อยากให้มผี ู้นำทีเ่ กง่ ทำใหป้ ระเทศชาตเิ จรญิ รงุ่ เรอื งไม่จำเปน็ ต้องมคี ุณธรรม และจะมีทงั้ กลุ่มคน ดียึดค่านยิ มความดี เป็นค่านิยมระหว่างความเก่งกับความดี ซึ่งในประเด็นนี้อันเปน็ สาระที่นำมาถกเถียงกนั ใน ส่ือต่างๆทัง้ ในตก้ิ ตอก เฟซบุ๊ค อยตู่ ลอดเวลา ทำใหเ้ ยาวชนและนักศึกษาเกิดความน่าสนใจมากในปจั จุบนั สมมติฐานข้อที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมืองของสื่อสังคมออนไลน์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิน่าจะเกิดจากชั่วโมงในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ แสดงความคิดเห็นว่าใช่ 219 คน คิดเป็นร้อยละ 88.3 ไม่ใช่ 29 คน คิดเป็นร้อยละ 11.7 ดังนั้น เป็นไปตามสมมติฐาน ทั้งนี้อันเนื่องมาจากใน ปัจจุบันเป็นโลกแห่งเทคโนโลยีและสื่อต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดผลดีและเสีย เช่น เรื่องสุขภาพจิตที่เป็นบ่อเกิดแห่ง ความหมกมุ่นทั้งในเรื่องการเมืองและสื่อยั่วยุต่างๆนานๆและในเรื่องสุขภาพร่างกาย เช่น สายตา ที่จดจ่ออยู่ หนา้ จอมอื ถอื ตลอดเวลา ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะการนำผลวิจัยไปใช้ จากผลการศึกษาพบว่า เกดิ ปญั หาทางความสัมพันธ์ของคนในสังคม ทำใหเ้ กดิ เป็นสงั คมก้มหน้า และ ให้ความสำคัญหรือหมกมุ่นก้มหน้าก้มตา และจดจ่ออยู่กับการเสพข่าวสาร การติดต่อการพูดคุยกันผ่านส่ือ ออนไลน์ต่างๆตลอดเวลา ก่อให้เกิดผลลบต่อชีวิตประจำวัน และความสัมพันธ์ของคนในสังคมอย่างชัดเจน ยิ่งข้ึน จนกลายเป็นประเด็นทางสังคม โดยเฉพาะกับกลุ่มนักเรียนนักศึกษาที่ใช้เวลาไปกับสื่อออนไลน์วันละ หลายช่วั โมง ซึง่ อาจนำไปสู่ความขัดแยง้ ทะเลาะวิวาท ทำร้ายร่างกาย กำหนดระยะเวลาในการใช้สื่อออนไลน์ ในแต่ละวันให้ชัดเจน หรือพัก 20 นาที ทุก 1 ชั่วโมง หรือหัดใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่น การไปวิ่งออก กำลังกายในตอนเย็น การไปสังสรรค์กับเพื่อนๆในเวลาว่าง เพื่อที่จะไม่เป็นสังคมก้มหน้าหรือหมกมุ่นกับสื่อ ออนไลน์มากเกินไป 2. ข้อเสนอแนะการทำวจิ ัยครงั้ ตอ่ ไป จากการศึกษาพบวา่ ปจั จัยที่มีผลต่อการกล่อมเกลาทางการเมอื งของสื่อสังคมออนไลนท์ ี่มีต่อนักศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ นนั้ มาจาก ชั่วโมงในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ผู้จดั ทำวจิ ัย จงึ ได้ทำข้อเสนอแนะ เพื่อเป็นประโยชนท์ เ่ี กย่ี วข้อง ดงั น้ี 1.ควรมีการหาเวลาในการจะใชส้ ือ่ สังคมออนไลน์ใหน้ ้อยลงและไมใ่ ชม้ ากจนเกนิ ไป 2.ควรเข้ากจิ กรรมต่างๆในมหาวทิ ยาลัยใหม้ ากขึน้ เพื่อเปน็ การฝกึ การมีแงค่ ิดและไดม้ ีข้อคิดดๆี ใน การรบั รเู้ รอ่ื งราวตา่ งๆ ~ 24 ~

การประชุมวิชาการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภูมิ บรรณานกุ รม 1. ภาษาไทย โกวิทย์ คุณรัตน์. (2541). การกล่อมเกลาทางการเมืองของนกั เรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลาย. เชยี งใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ชำนาญ จันทรเ์ รอื ง. (2559). วฒั นธรรมทางการเมอื งไทย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. ณรงค์ บุญสวยขวัญ. (2552). การเมืองภาคพลเมือง บทวิเคราะห์ แนวคิด และการปฏิบัติท้าทายอำนาจ การเมอื งในระบบตวั แทน. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอดิสนั เพรส โปรดกั ส์ จำกดั . ดารณี พานทอง. (2542). ทฤษฎกี ารจงู ใจ. กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ดวงรัตน์ โกยกิจเจรญิ . (2558). ผลกระทบจากการใชเ้ ครือข่ายสงั คมออนไลน์ของนักเรียนนกั ศกึ ษา ในจังหวดั ภูเกต็ . วารสารวชิ าการมหาวทิ ยาลัยราชภัฏภูเก็ต,11(1), 20-25. ถวลิ วดี บรุ กี ุล. (2550). การมสี ว่ นรว่ ม แนวคดิ ทฤษฎี และกระบวนการ. กรงุ เทพมหานคร : บรษิ ัทพาณิช ไพบูลย์ โพธิ์หวังประสิทธ์. (2559). การกล่อมเกลาทางการเมืองในสังคมการเมืองไทย. วารสารเทคโนโลยี ภาคใต้,6(1), 23-28. พฤทธิสาส์น ชุมพล. (2527). การอบรมการกล่อมเกลาทางการเมือง. เอกสารประกอบการบรรยาย. คณะ รัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั จุฬาลงกรณ์. มานติ ตา ชาญชัย. (2554). ผลกระทบของกระแสโลกาภวิ ัตน์ต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกจิ การเมืองในประเทศ. วารสารมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์,7(1), 9-11. มยุรี ถนอมสุข. (2558). การรับรู้ข่าวสารทางการเมืองของนิสิตภาคพละศึกษาและกฬี า. คณะศึกษาศาสตร์ และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. วรากรณ์ เทพสัมฤทธิ์พร. (2560). ทัศนคติการมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎ ภูเก็ต. วารสารวิชาการมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏภูเกต็ ,3(2), 4-8. วัลลภ รัฐฉัตรานนท์. (2562). พฤติกรรมการรับรู้ข่าวสารทางการเมืองผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ของ ประชาชนในเทศบาลปตั ตานี. วารสารรัฐศาสตรป์ รทิ รรศน์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์,6(2), 9-15. สนุ ทร เฉลิมเกยี รติ. (2540).ปจั จัยทีม่ ีผลต่อการฝา่ ฝนื กฎจราจรของผู้ใชร้ ถยนต์ส่วนบคุ คลใน กรุงเทพมหานคร. กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลยั จุฬาลงกรณ์. ~ 25 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ สมบัติ ธำรงรัญวงศ์. (2540). ทัศนคติทางการเมืองของเยาวชนไทยในเขตกรุงเทพมหานคร . กรุงเทพมหานคร : รายงานการวิจัย, สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชน แหง่ ชาติ. สวัสด์ิ สุคนธรงั ษี. (2517). การวดั ในการจัดงานบคุ คล. สำนกั พิมพ์. กรุงเทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานชิ . อัมฤตา สารธิวงศ์. (2552). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนกั ศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่หลังรัฐประหาร วนั ที่ 19 กนั ยายน 2549 ถงึ พ.ศ.2551. เชยี งใหม่ : มหาวิทยาลัยชัยงใหม่. อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว. (2561). โซเซียลมีเดียกับการแข่งขันทางการเมือง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.matichon.co.th. (วันทีส่ ืบค้นข้อมลู : 8 มกราคม 2564) 2. ภาษาองั กฤษ Almond and Verba. ( 1963) . The Civic Culture : Political Attitudes and Democracy in Five Nations. London : SAGE Publications, p14. Almond and Verba. (1980). The Civic Culture. Boston : Little Brown and Company. Almond and Powell. (1966). Aspect of Political Development. Boston : Little. ~ 26 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปัจจัยที่สง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจเลอื กผู้สมัครนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดชยั ภูมิ ของประชาชนบา้ นโป่งเกต ตำบลชลี อง อำเภอเมอื ง จังหวดั ชัยภูมิ พลอยไพลิน อิ่มกลาง (Ployphailin Imklang )1 บทคดั ย่อ การศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภมู ิชอง ประชาชนบ้านโป่งเกต ต.ชีลอง อ.เมือง จ.ชัยภูมิ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เลอื กตง้ั การตดั สนิ ใจในการเลือกต้ังนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั ประชาชนบา้ นโป่งเกต ต.ชลี อง อ.เมอื ง จ. ชยั ภมู ิ (2) เพื่อศกึ ษาปญั หาและอปุ สรรคในการใช้สิทธิเลือกตั้งนายกองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดประชาชนบ้าน โป่งเกต ต.ชีลอง อ.เมือง จ.ชัยภูมิและหาแนวทางแก้ไข ได้ทำการศึกษาประชากรกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 254 คน โดยไดใ้ ช้แบบสอบถามเปน็ เคร่ืองมือในการวิจยั ด้งั น้ี ผลการศกึ ษา พบว่าตอบแบบสมั ภาษณเ์ ป็น เพศหญิงมากกว่าเพศชาย อายุ 46-60 ปี ประกอบ อาชีพ เกษตรกรรมมากที่สุด ส่วนใหญ่ มีรายได้ 15,000-20,000 บาท/เดือน ส่วนมากจะไม่เรียนหนังสือมาก ท่าน เลอื กใครส่วนใหญจ่ ะเลือก นายอรา่ ม โลว่ รี ะ มากท่ีสดุ จากผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ชอง ประชาชนบ้านโป่งเกต ต.ชีลอง อ.เมือง จ.ชยั ภมู ิ ไดแ้ กค่ วามสนิทสนม สว่ นตวั เพราะรู้จกั นิสยั ใจคอกันมาก่อน ไม่ต้องคิดมากเพราะรู้จักกันเป็นอย่างดี นโยบายของผู้สมัครส่วนใหญ่ ไม่ค่อยจะรู้เรื่อง ดูแล้วเป็นเรื่องที่ไม่ น่าจะเป็นไปได้ แต่ก็ขอให้นโยบายเป็นประโยชน์กับหมู่บ้านของเรา และขอให้ทำได้จริงตามที่หาเสียงไว้ก็พอ หัวคะแนนมีผลกับการเลือกนายกององค์การบริหารส่วนจังหวดั ชัยภูมิ เพราะเราอาจจะไม่รู้จักผู้สมัครเป็นการ ส่วนตัว แต่เรารู้จักกับหัวคะแนนเพราะเคยช่วยเหลือกันมาก่อนทำให้ตัดสินใจเลือกผู้สมัครง่ายขึ้นการเลือก ผู้สมัครนั้นโดยส่วนตัว จะไม่ใช่เหตุผลในการตัดสินใจเลือก เพราะมีคนที่เลือก อยู่ในใจแล้ว ไม่มีอะไรทีจะมา เปล่ยี นแปลงการตัดสินใจได้ จากกลุ่มตัวอย่างได้เสนอแนะว่าให้ภาครัฐหรือหนว่ ยงานต่างๆทเ่ี ก่ียวข้อง ต้องให้ การศึกษาและความรู้แก่ประชาชนในกลุ่ม ที่เลือกผู้สมัครที่ช่วยเหลืองานประเพณีต่างๆของชาวบ้าน คำสำคัญ: นายกองคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั ชัยภมู ิ, การเลอื กตัง้ , หวั คะแนน 1 นกั ศึกษาระดบั ปริญญาตรี สาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ Corresponding author, E-mail: [email protected] ~ 27 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครั้งท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชยั ภมู ิ Factors Affecting the Decision to Elect the President of the Provincial Administrative Organization of Chaiyaphum Province of the people of Ban Pong Ket, Chilong Sub-district, Mueang District, Chaiyaphum Province. Abstract Subject education Factors Affecting Candidate Decision Making: President of Chaiyaphum Provincial Administrative Organization, Ban Pong Ket Province, Cheelong District, Muang District, Chaiyaphum Province, aims to (1 ) to study the factors affecting the election. Election of the President of the People's Administrative Organization of Ban Pong Ket, Cheelong Sub-district, Muang District, Chaiyaphum Province (2 ) to study problems and obstacles in the exercise of the President of the People's Administrative Organization of Ban Pong Ket, Cheelong District, Muang District Chaiyaphum and find solutions A sample population of 254 people was studied by using questionnaires as a research tool. The results of the study showed that the interviewed responses were More females than males aged 46-60 years old are most active in agriculture. Most earn 15,000-20, 000 baht / month. Most of them do not study much. Who do you choose? Most will choose Mr. Aram Lo Veera the most. From the results of the study, it was found that the factors affecting the decision of the candidate, the President of the Chaiyaphum Provincial Administrative Organization, Ban Pong Ket Province, Cheelong District, Muang District, Chaiyaphum Province were personal intimacy because they had known their quirks before You don't have to think too much, because you know each other very well. Most applicants' policies I don't know much about it. It seems that it is not possible. But let the policy benefit our village. And wish that he could actually do it as he did the campaign Hua Kan Finance affects the selection of Provincial Administrative Organization Division officers. Because we may not know the applicant personally But we know about finance because we have helped each other before making it easier to decide on the candidate Will not be a reason for making a choice Because there are people who make ~ 28 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ ห่งชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ choices in their hearts, nothing can change their decisions. The sample group suggested that the government or various agencies involved. Key words: President of Chaiyaphum Provincial Administrative Organization, election, election campaigner ~ 29 ~

การประชุมวชิ าการราชภฏั รัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ท่ี 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศึกษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภมู ิ 1. บทนำ ระบอบประชาธิปไตย (Democracy) หมายถึงระบบการปกครองที่ประชาชนเป็นใหญ่ดังนั้นการ ปกครองที่เป็นประชาธิปไตยก็คือการปกครองที่ยึดถืออำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนลักษณะสำคัญของการ ปกครองแบบประชาธิปไตยสามารถพิจารณาได้จากรัฐบาลการเลือกตั้งและการปกครองโดยเสียงข้างมาก ประเทศที่เปน็ ประชาธปิ ไตยจำเป็นตอ้ งมีการเลือกตง้ั เพ่อื เปิดโอกาสใหบ้ ุคคลสามารถเสนอตวั เข้ารับใช้สว่ นรวม โดยการรับสมัครเลือกตั้งและเปิดโอกาสให้ประชาชนใช้สิทธิในการที่จะเลือกบุคคลที่ตนต้องการให้เป็น ผู้ปกครอง หรอื เปน็ ผู้ใช้สทิ ธเิ ป็นปากเปน็ เสยี งแทนตนในสภาในระบอบประชาธิปไตยนนั้ การมสี ทิ ธิเลือกต้ังพียง อย่างเดียวยังไม่เพียงพอต้องมีหลักประกันในการใช้สิทธินั้นด้วยว่าสามารถใช้ได้อย่างเสรีเต็มที่และมีโอกาส เลือกสรรตัวบุคคลที่ต้องการจริงๆ คือต้องเป็นการลงคะแนนลับ (Secret Ballot) การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยมีลักษณะสำคัญ ดังนี้ 1. ลักษณะทางสังคม คือ ความเสมอภาคในการดำเนินชีวิต ทุกคนมีส่วน เทา่ เทยี มกนั 2. ลกั ษณะทางเศรษฐกจิ คือ ประชาชนมีโอกาสทจ่ี ะไดร้ บั ประโยชนส์ ขุ ทางเศรษฐกิจ 3.ลกั ษณะ ทางการเมือง คอื ประชาชนมีสิทธิทางการเมือง เช่น การออกเสยี งเลอื กตัง้ (ประจกั ษ์ พนั ธช์ เู พชร, 2543) การปกครองที่เป็นประชาธิปไตย คือ รูปการณ์ปกครองที่ยึดอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนไม่ว่าจะ เป็นระบบประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดี(Presidential Democracy) หรือแบบรัฐสภา (Parliamentary Democracy) ถ้าอำนาจสูงสุดในการกำหนดการปกครองอยู่ที่ประชาชนแล้วก็เป็นการปกครองแบบ ประชาธปิ ไตยท้ังส้ิน ประเทศที่เป็นประชาธปิ ไตยน้ันจำเป็นต้องมีรฐั ธรรมนูญแบบลายลักษณ์อักษรหรือไม่เป็น ลายลักษณ์อักษรก็ได้เพราะประชาธิปไตยคือการปกครองโดยกฎหมาย (Rule by law) อย่างไรก็ตาม รัฐธรรมนูญนั้นเป็นเพียงกติกาการปกครองไม่ใช่เครื่องหมายแสดงความเป็นประชาธิปไตยเพราะฉะนั้นการท่ี ประเทศใดมรี ัฐธรรมนูญจึงมิได้หมายความวา่ รปู แบบการปกครองของประเทศนัน้ เปน็ ประชาธิปไตยเพราะบาง ประเทศ เชน่ สหภาพโซเวียตสาธารณรัฐประชาชนจีนซึ่งเปน็ ท่ยี อมรบั กันว่ามีระบบการปกครองแบบเบ็ดเสร็จ ต่างก็มีรัฐธรรมนูญเช่นเดียวกับประเทศเสรีนิยมอื่นๆเหมือนกันการที่จะพิจารณาว่าประเทศใดเป็น ประชาธิปไตยหรือไม่จึงต้องดูว่ารัฐธรรมนูญของประเทศนั้นกำหนดให้ประชาชนเป็นเจ้าของอธิปไตยหรือไม่ (โกวิท วงสุรวฒั น์, 2540) การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นรูปแบบการปกครองตามหลักการกระจายอำนาจมีวัตถุประสงค์ให้ ประชาชนในท้องถิ่นได้มีโอกาสตัดสินใจเรื่องในท้องถิ่นเองและมีอำนาจปกครองกันเองเพื่อให้สามารถแก้ไข ปัญหาและตอบสนองความต้องการของชุมชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และตรงกับความต้องการของชุมนุม นน้ั ๆ โดยไม่ต้องอาศยั องค์กรจากสว่ นกลางเปน็ ผู้นำในการแก้ไขปัญหาทกุ เรื่องรูปแบบขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นของประเทศไทยแบ่งออกเป็นองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) เทศบาลเมืองพทั ยาและกรุงเทพมหานครซ่ึงโดยหลักทกุ องค์กรจะมีการเลือกตงั้ ตามวาระของตวั เองคือทกุ 4 ปี แต่เนื่องจากมีการรัฐประหารของ คสช ทำให้การเลอื กตั้งท้องถิ่นตอ้ งถูกและเว้นว่างไปนานกว่า 6 ปี หรือบาง ~ 30 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจดั การศกึ ษาไทยในยุค New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ พื้นที่เป็นเวลากว่า 8 ปีเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2563 คณะกรรมการการเลือกตั้งได้ประกาศกำหนดให้มีการ เลือกตั้ง อบจ ทั่วประเทศขึ้นเป็นครั้งแรก โดยกำหนดให้วันที่ 20 ธันวาคม 2563 เป็นวันเลือกตั้ง อบจ เป็น หน่วยงานของรัฐที่มีความเกี่ยวพันและสำคัญกับชีวิตของคนในท้องถิ่นมากที่สุด อบจ. เปรียบเสมือนหัวหน้า ห้องที่คอยดูแล บำบัดทุกข์ บำรุงสุขให้กับเพื่อนนักเรียนในห้องทั้งความใกล้ชิดและสนิทสนมของคนในพื้นท่ี ย่อมทำให้การบริการสาธารณะด้านตา่ งๆตรงกับความต้องการของคนในท้องถิ่นนัน้ ได้อยา่ งแทจ้ ริงการได้มาซ่ึง นายกอบจ.และ ส.อบจ. นั้นมาจากเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน โดยที่การเลือกนายกจะใช้จังหวัดเป็นเขต เลือกตั้งและ ส.อบจ. ใช้อำเภอเป็นเขตเลือกตั้งโดยแต่ละจังหวัดจะมี ส.อบจ. จำนวนเท่าใดขึ้นอยู่กับจำนวน ราษฎรในจงั หวดั นัน้ (โกวิทย์ พวงงาม. 2550) ภารกิจของอบจ. คือ การจัดทำบริการสาธารณะให้กับคนในท้องถิ่นเริ่มตั้งแต่การดูแลถนนเส้นทาง คมนาคมต่างๆ สาธารณูปโภคทั้งการประปา ไฟฟา้ ไปจนถึงการสนบั สนนุ ด้านการศึกษาและบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณีภูมิปัญญาท้องถิ่นรวมทั้งมีหน้าที่จัดเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ รายได้หลักของ อบจ มาจากการ เก็บภาษีต่างๆ ในจังหวัด เช่น ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีป้าย เป็นต้น รวมถึงเงินอุดหนุนท่ี ได้รับจากรัฐบาลในทุกปงี บประมาณโดยงบประมาณดังกลา่ วจะต้องถกู นำมาจัดสรรเพื่อนำไปพัฒนาจังหวัดใน ด้านต่างๆ อย่างเท่าเทียมกัน นายกอบจ มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปีนับแต่วันเลือกตั้งและจะดำรง ตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ในส่วนของ ส.อบจ. ก็มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปีนับแต่วันเลือกตั้ง เช่นเดียวกนั (ยทุ ธพร อิสระชัย, ม.ป.ป.) การเลือกตั้งเป็นวิธีที่ดีที่สุดหรือเลวน้อยที่สุดที่จะให้คนส่วนใหญ่ได้มีส่วนร่วมหรือบทบาทในการ ปกครองประเทศตามระบอบประชาธปิ ไตยทถี่ ือว่าอำนาจอธปิ ไตยเปน็ ของประชาชนแตป่ ระชาชนทกุ คนไม่อาจ ที่จะมีส่วนร่วมโดยตรงทั้งหมดเพราะแต่ละชาติแต่ละรัฐมีจำนวนประชากร มากเกินกว่าที่จะดำเนินการแบบ ประชาธิปไตยโดยตรงได้ จึงต้องกำหนดให้มีการเลือกผู้แทนราษฎรจำนวนหนึ่งขึ้นทำหน้าที่แทนตนการ เลือกตั้งเป็นกระบวนการสรรหาผู้ปกครองหรือรัฐบาลโดยสันติวิธีและมีคุณประโยชน์สองประการคือประการ แรก สร้างความชอบธรรมให้กับอำนาจรัฐบาลหรือผู้ปกครองที่มาจากการเลือกตั้งสามารถกระทำการต่างๆใน นามประชาชนได้อย่างเต็มที่และมีประสิทธิเพราะได้รับอำนาจโดยความยินยอมจากประชาชนและประการ ต่อมาเป็นกลไกลแห่งการสืบทอดอำนาจโดยสันติการเลือกตั้งแต่ละครั้งอาจทำให้มีการเปลี่ยนแปลง นายกรัฐมนตรีหรือเปลี่ยนกลุ่มการเมืองที่เข้าทำหน้าที่เป็นรัฐบาลแต่การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากผลของการ เลือกตั้งย่อมเป็นการเปลี่ยนตามครรลองและกระบวนการที่รัฐธรรมนูญกำหนดเป็นปรากฎการณ์ธรรมชาติที่ เกดิ ขน้ึ โดยสันติวธิ ี ไม่ทำใหม้ ปี ญั หาหรอื วิกฤตการณใ์ ดๆ เกิดขึน้ ( สญั ญา เคณาภูมิ, ม.ป.ป.) จากความสำคัญข้างต้นทำให้การเลือกตั้งเป็นกิจกรรมสำคัญในระบอบประชาธิปไตยสิ่งที่น่าสนใจ เกี่ยวกับการเลือกตั้งก็คือใครบ้างที่ไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งเพศชายหรือเพศหญิงอาศัยอยู่ในเขตใดมีอาชีพ รายไดห้ รือระดบั การศึกษาอย่างไรบคุ คลที่มีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมแตกต่างกันดังกล่าว มีปัจจัยอะไรใน การเลอื กใครพรรคใดแตกต่างกันหรือเหมือนกันตดั สินใจว่าจะเลือกใครเม่ือใดดว้ ยเหตุผลอย่างไรระหวา่ งบุคคล ทีม่ ีฐานะทางเศรษฐกจิ และสังคมแตกต่างกนั มกี ระบวนการตัดสินใจแตกต่างกันหรือไม่ มีปัจจยั สำคัญอะไรบ้าง ~ 31 ~

การประชุมวิชาการราชภัฏรัฐศาสตรแ์ ละรัฐประศาสนศาสตรแ์ หง่ ชาติ ครัง้ ที่ 4 (ออนไลน)์ ประจาปี 2564 “การจัดการศกึ ษาไทยในยคุ New Normal” คณะรัฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชัยภูมิ ทเ่ี ปน็ ตวั กำหนดต่อกระบวนการเหล่านนั้ ดว้ ยเหตุนผี้ ้วู ิจัยจึงสนใจท่จี ะศึกษาวิจยั ถงึ ปัจจัยทมี่ ีผลต่อการตัดสินใจ เลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวดั การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารสว่ นจังหวัด เป็นส่วนหนึ่งของการ ให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมทางการเมืองตามอำนาจรัฐธรรมนูญได้กำหนดไว้ด้านสิทธิในการปกครองตนเองขอ ง ประชาชนผ่านการเลือกตัวแทนมาใช้อำนาจในการปกครองแทน โดยการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ เลอื กผสู้ มคั รนายกองค์การบริหารส่วนจงั หวัดชัยภมู ชิ องประชาชนเทศบาลเมืองชยั ภูมิเป็นการให้ความสนใจใน ด้านแนวความคิดของคนรุ่นใหม่ท่ีมีต่อการเลอื กตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในครั้งนี้ ซึ่งถือว่าเป็นครั้ง แรกในการใช้สิทธิ์เลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดของประชาชนบ้านโป่งเกต ต.ชีลอง อ.เมือง จ.ชัยภูมิ จงึ นา่ สนใจในการศึกษาถงึ ความคิดสง่ ผลตอ่ การตดั สินใจเลือกนายกองคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด 2. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกตั้งการตัดสินใจในการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ประชาชนบ้านโปง่ เกต ต.ชลี อง อ.เมือง จ.ชยั ภูมิ เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการใช้สิทธิเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดประชาชนบ้าน โป่งเกต ต.ชลี อง อ.เมือง จ.ชยั ภูมิและหาแนวทางแก้ไข 3. ประโยชนข์ องการวจิ ยั เพื่อให้ทราบถึงปัญหาและอุปสรรคต่อการตัดสินใจเลือกผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ชยั ภมู ิของประชาชนบ้านโป่งเกต ต.ชีลอง อ.เมอื ง จ.ชยั ภูมิ และแนวทางแก้ไขปัญหา เพื่อที่จะส่งเสริมให้ประชาชนบา้ นโป่งเกต ต.ชีลอง อ.เมือง จ.ชัยภูมิ มีส่วนรว่ มต่อการเลือกผู้สมัครนายก องค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ โดยการเสนอให้กับองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ เกี่ยวกับแนวทางการ สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนได้มีส่วนร่วมมากข้นึ และแกไ้ ขปญั หาเก่ียวกบั การออกมาใช้สทิ ธเิ์ ลือกต้งั 4. สมมตฐิ านของการวจิ ยั 1. การตัดสินใจเลือกผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ของประชาชนบ้านโป่งเกต ต.ชีลอง อ.เมือง จ.ชยั ภูมิ น่าจะเกิดจาก ความสมั พนั ธส์ ว่ นตวั กบั ผสู้ มคั ร 2. การตัดสินใจเลือกผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ของประชาชนบ้านโป่งเกต ต.ชีลอง อ.เมือง จ.ชยั ภูมิ น่าจะเกิดจาก คุณสมบตั ิของผูส้ มคั ร 3. การตัดสินใจเลือกผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ของประชาชนบ้านโป่งเกต ต.ชลี อง อ.เมือง จ.ชัยภมู ิ นา่ จะเกดิ จาก นโยบายของผูส้ มคั ร ~ 32 ~


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook