Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ่อผมเป็นมหา

Description: พ่อผมเป็นมหา

Search

Read the Text Version

๑๒ต อ น ที่ สถานท่ีซึ่งพ่อผมชอบพาผมไปเสมอคือวัด  ในวันพระบ้าง  วันมหา-  ภลิ กั ขติ กาล เชน่  มาฆะ วสิ าขะ วนั เขา้ พรรษา ออกพรรษาบา้ ง และ  ไปคยุ กบั พระในวนั ปกตบิ า้ ง บางทเี รากไ็ ปกนั หมดทง้ั  ๔ คน คอื ผม พอ่   แม่ และนอ้ งวรี ดี เวลาไปวดั นน้ั  แมแ่ ละนอ้ งวรี ดจี ะตอ้ งแตง่ ตวั เรยี บรอ้ ยเปน็ พเิ ศษ  มิฉะนน้ั พอ่ จะไลใ่ ห้ไปแต่งใหม่ และพดู วา่ “เข้าวัดไปหาพระ  เราต้องให้เกียรติแก่ปูชนียสถานและปูชนีย  บุคคล  วัดนั้นเป็นปูชนียสถาน  พระเล่าก็เป็นปูชนียบุคคล  ผู้หญิงต้อง  แตง่ กายมดิ ชดิ ทง้ั เบอ้ื งหนา้ และเบอื้ งลา่ ง ตอ้ งนง่ั ไดส้ ะดวกโดยไมต่ อ้ ง  มีกระเป๋าหรือกระดาษช่วยปกปิด   บางคนไปวัด  นุ่งกระโปรงส้ันไป 

ต อ น  ีท่ ๑ ๒ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 102 แลว้ กน็ งั่ ดงึ ใหม้ าปดิ เขา่  ดงึ เทา่ ไรมนั กล็ งมาไมไ่ ด ้ เพราะมนั มเี ทา่ นนั้ ” แม่และน้องก็เช่ือฟังพ่อโดยดี  ในบ้านผมมีผมคนเดียวเท่าน้ันท ่ี ขัดคอพ่ออยู่บ้าง  นอกน้ันไม่มีใครขัดเลย  พ่อว่าอย่างไรก็อย่างน้ัน  คำ� พดู ของพอ่ เปน็ ค�ำท่ีทุกคนรบั ฟงั โดยไมต่ ้ังขอ้ โตแ้ ย้ง วนั นน้ั  พอ่ พาพวกเราไปหาพระราชาคณะผใู้ หญท่ า่ นหนงึ่  มสี มณ  ศักดิ์ชั้นหิรัญบัตรหรือช้ันธรรมพิเศษ  เล่ือนอีกครั้งเดียวก็เป็นสมเด็จ  พระราชาคณะ ท่านเป็นพระที่มีศีลาจารวัตรดี  ใครคุ้นเคยเข้าก็เล่ือมใส  ม ี อัชฌาสัยประณีต  อาการของท่านสุภาพเป็นกันเอง  น้องวีรดีบอกว่า  ชอบฟังทา่ นพดู เมอ่ื พวกเราไปถงึ  ทา่ นกล็ กุ ไปหม่ จวี รแลว้ มานงั่ ทขี่ องทา่ น การ  ทท่ี า่ นลกุ ไปหม่ จวี รนน้ั แสดงวา่ ทา่ นใหเ้ กยี รตแิ กแ่ ขกผมู้ าหา เปน็ กริ ยิ า  อนั หนง่ึ ทท่ี ำ� ใหแ้ ขกรู้สกึ ประทับใจตง้ั แตค่ รงั้ แรก อกี ครหู่ นงึ่  คงจะเปน็ พระเวรหรอื พระอปุ ฏั ฐาก กน็ ำ� นำ้� ชามาถวาย  ทา่ น และนำ�้ แขง็ ใสย่ าอทุ ยั มาสำ� หรบั พวกเรา ๔ คน พวกเราไปทกุ ครงั้   จะได้รับการต้อนรับอย่างนี้เสมอมา  ประกอบด้วยอัชฌาสัยไมตรี  ความไมม่ ากไมน่ อ้ ยของทา่ นเจา้ ของถน่ิ เขา้ ดว้ ย ท�ำใหร้ สู้ กึ มคี วามอบอนุ่   และมคี วามสขุ เหมอื นไดเ้ ขา้ ใกลญ้ าตผิ ใู้ หญท่ ม่ี ศี ลี ธรรมและมใี จกรณุ า จากความสังเกตของผมรู้สึกท่านสนิทสนมกับพ่อและกรุณา  พ่อมาก  ในฐานะอย่างไรผมเข้าใจไม่ได้  และความกรุณานั้นก็แผ่มา  ถึงลูกๆ ของพอ่ ดว้ ย การรบั แขกนนั้  มคี วามสำ� คญั อยา่ งยงิ่ ประการหนงึ่  พอ่ ผมสอน  ผมและนอ้ งเสมอ  ใครบกพรอ่ งในเรอื่ งนแี้ ลว้ พอ่ ไมส่ บายใจและตำ� หน ิ มาก จากท่ีผมตระเวนไปหลายวัดกับพ่อ   ผมได้เห็นว่าบางวัด  บาง 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 103 รูปไม่น�ำพาต่อการต้อนรับแขกเลย  อาจเป็นเพราะท่านเห็นไปว่าการ  เอ้ือเฟื้อ  (แม้เพียงเล็กๆ  น้อยๆ)  เป็นหน้าที่ของคฤหัสถ์  ที่จะพึงมีต่อ  พระฝ่ายเดียว  พระไม่จ�ำเป็นต้องแสดงอาการเอื้อเฟื้อทางส่ิงของ  แม ้ เพยี งนำ้� ดม่ื สกั ถว้ ยหนง่ึ แกค่ ฤหสั ถก์ ไ็ ด ้  ดงั นน้ั เมอ่ื พระไปทบี่ า้ นคฤหสั ถ์  ก็เตรียมน้�ำร้อนน�้ำชา  หรือปานะชนิดอื่นๆ  ถวายแล้วแต่กรณี  และ  เมอื่ คฤหสั ถม์ าหาพระทวี่ ดั  กม็ นี ้�ำปานะอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ  หรอื อาหาร  ตดิ มอื ไปดว้ ย  การทคี่ ฤหสั ถท์ ำ� เชน่ นน้ั เปน็ ความชอบของคฤหสั ถ ์ แลว้   ควรหรือไม่ท่ีพระจะแสดงความเอื้อเฟื้อแก่คฤหัสถ์บ้าง  แม้เพียงให้  น�้ำร้อนน้�ำเย็นสักถ้วยหน่ึง  พอระงับความกระหายหากเขาต้องการ  แตถ่ า้ เปน็ การยงุ่ ยากวนุ่ วายนกั จะไมท่ �ำกไ็ ด ้  นเ่ี ปน็ ความคดิ เหน็ ของผม  คนเดยี ว ยังไม่ไดถ้ ามพอ่ พ่อผมย้ำ� เสมอวา่  “น�ำ้ ดืม่  ๑ ไฟหุงต้ม ๑ น้ำ� คำ� อนั ไพเราะ ๑ ย่อมไม่ขาดในบ้านสาธุชน”   พ่อจะเอาค�ำพูดน้ีมาจากไหนผมไม่ทราบ  แตเ่ มือ่ พอ่ ย้ำ� อยเู่ สมอ เรากต็ ้องเห็นส�ำคญั และตอ้ งปฏบิ ัตติ าม แขกท ่ี บ้านเราจึงไม่เคยขาดเลย  ไม่มีเลยสักวันท่ีไม่มีแขกมาหา  ต้องมีอย่าง  น้อย  ๑  ชุด  อย่างมากไม่มีก�ำหนด  แต่ไม่เคยเกิน  ๑๐  ที่แม่รู้สึก  ล�ำบากใจอยู่บ้างมีอยู่ประการเดียว  คือ  แขกแต่ละชุดมักอยู่นาน  เกนิ ไป  เม่อื แม่ปรารภเรือ่ งนก้ี บั พ่อ พอ่ กม็ ักหัวเราะ กลา่ วพลางเล่น  พลางจริงวา่ “เรามเี สนห่  ์  ใครได้คยุ ดว้ ยกอ็ ยากคยุ นาน” แล้วพ่อกับแม่ก็หัวเราะขึ้นพร้อมกัน  แม่ปรารภเร่ืองน้ีทีไร  ผม  จะต้องได้ยินพ่อตอบอย่างน้ีทุกคร้ังเหมือนกัน   แต่พ่อผมไปไหนไม ่ เคยอยู่นาน  เสร็จธุระแล้วก็รีบกลับ  ไม่เคยอ้อยอ่ิง  พูดเพ้อเจ้อ  เม่ือ  หมดเร่ืองจะพูด ความจริงการไปบ้านคนอ่ืนแล้วนั่งนานนั้น  จะต้องก่อความ 

ต อ น  ีท่ ๑ ๒ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 104 รำ� คาญใหเ้ จา้ ของบา้ นอยบู่ า้ งไมม่ ากกน็ อ้ ย เพราะหมดเรอื่ งจะคยุ บา้ ง  เพราะเขาทำ� ธุระอะไรไม่ได้สะดวกบ้าง ต้องเสียเวลาเสียงานบ้าง จะ  อยู่นานก็ได้ในกรณีที่สนิทกันจริงๆ  ซึ่งเจ้าของบ้านไม่ต้องเป็นภาระ  ในการตอ้ นรบั ผู้เปน็ แขก ผมรู้สกึ จะพดู มากไปเสียแลว้  เล่าเร่อื งพ่อผมดกี วา่ วนั นนั้ พอ่ ผมและทา่ นเจา้ คณุ ใชเ้ วลา ๑ ชว่ั โมง คยุ กนั หลายเรอ่ื ง  สว่ นใหญเ่ กยี่ วกบั เรอื่ งศาสนา วฒั นธรรมและประเพณ ี ทา่ นแสดงความ  ยนิ ดที พ่ี วกเปรยี ญสมยั นสี้ กึ ไปแลว้ กไ็ ดท้ ำ� ประโยชนแ์ กต่ น ประเทศชาต ิ และศาสนา ไมล่ มื  ไมท่ อดทง้ิ  ทงั้ นกี้ ด็ ว้ ยมกี ตญั ญกู ตเวทเี ปน็ พนื้ ฐานของ  จิตใจ   ท�ำให้ระลึกถึงพระคุณของศาสนาที่เคยให้ความรู้ให้การอบรม  ในหลักศีลธรรมและการครองชีวิตอันถูกต้อง  คนท่ีมีวัยสูง เคยงาน  เคยการมามาก จงึ จะเหน็ แจง้ วา่ กตญั ญกู ตเวท ี นน้ั มคี ณุ เพยี งไร ผมู้ ี  ความกตญั ญกู ตเวท ี ยอ่ มมคี ณุ ธรรมอนื่ ๆ ตดิ ตามมาอกี มาก และเปน็   คนคบได ้ ไว้ใจได ้  ท่านเจา้ คุณได้กล่าวชา้ ๆ ต่อไปวา่ “ความจริง  หากคิดย้อนหลังไป  ก็จะยิ่งเห็นพระคุณของพระ  ศาสนามากขึ้น  เปรียญส่วนมากเป็นคนต่างจังหวัด  เป็นลูกชาวนา  ชาวสวน เมอื่ บวชอยตู่ า่ งจงั หวดั แลว้  เหน็ วา่ พอเรยี นตอ่ ได ้ อปุ ชั ฌายะ  อาจารยก์ ็สนับสนุนส่งมาให้ศึกษาเล่าเรียนต่อที่กรุงเทพฯ ได้เปรียญ  สูงๆ  ก็มาก  จบจากมหาวิทยาลัยสงฆ์ก็ไม่น้อย  ที่อยู่ในผ้าเหลืองได้  ตลอดกไ็ ดส้ มณศกั ดสิ์ งู ๆ ทเ่ี ปน็ ถงึ สมเดจ็ พระราชาคณะกม็  ี ไดร้ บั การ  บ�ำรุง เคารพยกยอ่ งจากคนโดยท่ัวไป นบั แต่พระมหากษัตริย์ลงมา “บางทา่ นบวชอยไู่ มไ่ ด ้ สกึ หาลาพรตไป กไ็ ปดมี งี านการเปน็ หลกั   ฐาน เป็นข้าราชการชัน้ ผู้ใหญอ่ ย่ใู นเวลาน้กี ็มาก เป็นพ่อค้า นักธุรกจิ   กม็  ี เปน็ อาจารยอ์ ยใู่ นมหาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ กไ็ มน่ อ้ ย ควรจะภมู ใิ จ เพราะ  ไดม้ คี วามรทู้ ง้ั ทางโลกและทางธรรม พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่  เปน็ เหมอื น 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 105 คนมนี ยั ตต์ าดที งั้ สองขา้ ง ความรทู้ างธรรมนน้ั ไมใ่ ชค่ นจะเขา้ ถงึ ไดโ้ ดย  งา่ ย การรธู้ รรมเขา้ ใจธรรมเปน็ ลาภอนั หนง่ึ ของชวี ติ  ทำ� ใหร้ สู้ กึ วา่ ชวี ติ   มีค่าขึ้นกว่าเดิม  เวลาท่ีบวชอยู่เป็นโอกาสอันประเสริฐในการศึกษา  ธรรม  เมื่อสึกหาลาพรตไปแล้วได้มีโอกาสน�ำธรรมนั้นไปใช้ในชีวิต  ประจำ� วนั  การบวชนานนน้ั เปน็ ลาภอนั หนงึ่ ของชวี ติ  นพี่ ระพทุ ธเจา้ ทรง  แสดงไวใ้ นองั คุตตรนิกาย ตอนที่ทรงแสดงถึงลาภ ๑๖ ประการ “การมีความรู้แต่ทางโลกอย่างเดียวน้ัน  อาจใช้เป็นเคร่ืองมือ  ท�ำมาหากินได้  แต่เม่ือมีความทุกข์ทางใจเกิดขึ้น  ก็ไม่อาจแก้ปัญหา  ความทุกข์น้ันได้  นอกจากนี้ยังท�ำความช่ัวได้ง่าย  เพราะแล่นเกินไป  (อตธิ าวนั โต) ปญั ญาทว่ มสต ิ ขาดการยบั ยง้ั ควบคมุ ตน ท�ำใหล้ นื่ ไถล  ไปทางเสื่อมได้ง่าย  สติกับปัญญาจึงต้องควบคู่กันไป  ไม่มากไม่น้อย  กวา่ กนั  คนทม่ี สี ตมิ ากไปขาดปญั ญากม็ กั ตดั สนิ ใจอะไรไมไ่ ด ้ นอี่ าตมา  พูดถึงสติอย่างโลกๆ  ไม่พูดถึงสติปัฏฐาน  คนที่เคยบวชเคยเรียนย่อม  ผา่ นการฝกึ ฝนอบรม การควบคมุ ตนเองมามาก จงึ อาจอดทนตอ่ อ�ำนาจ  ยั่วยวนได้ดี  มีแรงต้านทานทางอารมณ์อันจูงให้โลภให้หลงได้ดี  ม ี ความอดกลนั้ เมอ่ื มสี ง่ิ ไมถ่ กู ใจมากระทบ รจู้ กั หยบิ ยกเอาสง่ิ รอบตวั มา  สอนตัว  เป็นบทเรียนได้ทุกเร่ืองไป  เม่ือพบกับส่ิงสุดวิสัยท่ีจะแก้ได้ก ็ ยกไปใหเ้ วรกรรมซงึ่ ทกุ คนไดเ้ คยท�ำของตวั มา จงึ ไมต่ อ้ งเอะอะโวยวาย  ให้เป็นที่ร�ำคาญแก่ใคร  น่ีคือก�ำไรท่ีได้จากการเคยบวชเรียนศึกษา  พระธรรมของพระพุทธเจ้า “มพี ระผใู้ หญท่ า่ นหนง่ึ เวลานอ้ี ายทุ า่ นสกั  ๗๕ ไดแ้ ลว้  ทา่ นพดู   อยเู่ สมอวา่ เปน็ เปรยี ญนน้ั อยา่ งนอ้ ยปดิ อบายได ้ ๒ อยา่ ง คอื  ไมข่ อทาน  และไม่ติดคุก  (ยกเว้นนักโทษการเมือง)  หมายถึงติดคุกเพราะไป  ประกอบกรรมทำ� ชว่ั  เชน่  ฆา่ คนตาย ลกั ขโมย เป็นตน้ “อน่ึง  การท่ีเคยเป็นเปรียญมา  ท�ำให้มีความละอายบาป  กลัว 

ต อ น  ีท่ ๑ ๒ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 106 บาป อาจปรารภตน ปรารภชาวบา้ น หรอื ปรารภธรรม แลว้ เวน้ ความ  ชั่ว  ประพฤติความดี  นี่ก็เป็นก�ำไรอีกประการหนึ่ง  เพราะการท�ำบาป  นน้ั เปน็ การขาดทนุ ในชวี ติ อยา่ งไมม่ อี ะไรเสมอเหมอื น ตรงขา้ ม กำ� ไร  สทุ ธขิ องชวี ิต กค็ ือการไดท้ �ำความดี “ใครจะวา่ อยา่ งไรกช็ า่ งเถดิ  อยา่ ถอื เปน็ อารมณน์ กั  เราสบายใจ  ของเราก็แล้วกัน นรก สวรรค ์ ลงแทน ขนึ้ แทนกนั ไมไ่ ด”้ ท่านเจ้าคุณพูดจบ  ยกถ้วยน�้ำชาข้ึนจิบ  แล้วมองมาทางผม  และน้องวรี ดี และพูดอกี วา่ “เป็นไงกตัญญู ท่ฉี นั พดู น่ีถูกไหม ?” เม่อื เห็นผมยังนง่ั ย้ิมอย ู่ คุณแม่จงึ กราบเรียนทา่ นว่า “กตญั ญูเป็นคนหวั สมยั ใหม่เจา้ ค่ะ” “ก็ดี  ท่านว่า  “แต่อย่าให้เกินสมัยไปก็แล้วกัน  เด็กๆ  มันกลัว  ไมท่ นั เพอ่ื น ไมเ่ หมอื นเพอื่ น นอ้ ยหนา้ เพอื่ น จงึ ตามสมยั กนั  ลา้ ไมไ่ ด ้ แต่ฟังผู้ใหญ่  เช่ือผู้ใหญ่ไว้บ้าง  เพราะผู้ใหญ่เคยเป็นเด็กมาก่อน  เคย  ผ่านความผิดพลาดบกพร่องมามาก  ย่อมรู้ได้มากว่าทางไหนควรเว้น  ทางไหนควรด�ำเนิน  คุณพ่อของกตัญญูน้ันเป็นคนสุขุม  เช่ือท่านไว้คง ไมพ่ ลาด” “เขาเป็นคนเจ้าเหตุเจ้าผล  ไม่ค่อยเช่ืออะไรง่าย”  พ่อผมพูด  ถึงตวั ผม “กด็ ”ี  ทา่ นเจา้ คณุ วา่  “มา้ ดตี อ้ งพยศบา้ ง คนฝกึ ตอ้ งฉลาดจงึ จะ  ขีห่ ลงั ได ้ แต่เม่อื ฝกึ ได้แลว้ มักใชง้ านไดด้ ีเพราะฉลาด ร้อู ะไรได้เรว็ ” เม่ือกลับมาถงึ บา้ น ผมได้ถามพ่อว่า “สมณศักด์ิ  ท่ีท่านเจ้าคุณพูดถึง  หมายถึงยศของพระใช่ไหม  ครบั พ่อ ?” “ใช่”  พ่อตอบ  “ถ้าเป็นฆราวาสเขาเรียกยศ  เป็นพระเรียก 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 107 ’สมณศกั ด์’ิ “เชน่ อย่างไรครับพ่อ ?” “เชน่  มหา พระคร ู เจา้ คณุ  (พระราชาคณะ) เปน็ ตน้  นแี่ หละ  เรียกว่า  ‘สมณศักดิ์’  ตลอดถึงสมเด็จพระสังฆราช  ศักดิ์เหล่านี้ผู้เป็น  พระเทา่ นั้นจงึ จะเปน็ ได้ ฆราวาสเป็นไมไ่ ด”้ “ถา้ อยา่ งน้นั  พ่อกไ็ ม่ไดเ้ ป็นมหาแล้วซคิ รับ” “ไมไ่ ด้เป็น” “นนั่ ซคี รบั  ผมไมไ่ ดย้ นิ ทา่ นเจา้ คณุ เรยี กพอ่ วา่  มหา สกั ค�ำ แต่  เรียก  ‘คุณ’  ทุกค�ำไป  หรือค�ำพูดถึงมหาท่ีสึกไปแล้ว  ท่านก็ใช้ค�ำว่า  ‘เปรยี ญ’ ทกุ ค�ำไป เปรียญหมายถงึ อะไรครับ ?” “หมายถึง  ประกาศนียบัตรท่ีได้รับจากการศึกษา  เช่น  ป.ธ. ๓  ป.ธ.๙ หมายถงึ เปรยี ญธรรม ๓ เปรยี ญธรรม ๙ เปน็ ชนั้ ของการศกึ ษา  อนั นส้ี กึ แลว้ กย็ งั อย ู่ เพราะเปน็ วฒุ  ิ เหมอื น ป.ม. หรอื วฒุ ทิ างปรญิ ญา  อ่ืนๆ  ลูกเคยอ่านหนังสือธรรมจักษุเคยเห็นมิใช่หรือ  เร่ืองพระสูตร  สงั ยตุ ตนกิ าย โดย น.อ. เมฆ อำ� ไพจรติ  ป.ธ.๙ อยา่ งนเี้ ปน็ ตน้ พอ่ ไมค่ อ่ ยสนใจอธบิ ายเรอื่ งนเ้ี ทา่ ไรนกั  ทา่ นกลบั ไปพดู ถงึ ทา่ น  เจ้าคณุ อกี ว่า “ไปหาท่านเจ้าคุณทีไร  มักได้ฟังอะไรดีๆ  เสมอ  ท่านเป็นพระ  น่าเคารพ   น่ีแหละพระพุทธเจ้าจึงตรัสว่าการได้เห็นสมณะเป็นมงคล  ประการหนึง่ ”

ต อ น  ีท่ ๑ ๓ ๑๓ต อ น ที่ เม่ือพ่อผมมีความสุข  มีเงินทองมาก  ชะตาเฟื่องฟูนั้น  พ่อมักนึกถึง  เพอื่ นฝงู มากหนา้ หลายตา พาเขาไปกนิ เลยี้ ง ชวนมาเลย้ี งทบี่ า้ น แตม่ ี  บางคร้ังบางคราวท่ีถึงวาระตกอับ  เงินขาดมือ  รายได้ไม่พอรายจ่าย  (ซงึ่ สว่ นมากหมดไปกบั เรอ่ื งคนอน่ื ) พอ่ กเ็ กบ็ ตวั เงยี บอยกู่ บั บา้ น ออกไป  กเ็ ฉพาะไปทำ� งานทก่ี รมเทา่ นนั้  แมผ่ มกด็ ใี จหาย ไมเ่ คยสกั คำ� ทจี่ ะตำ� หนิ  ตเิ ตยี นพอ่  ไมว่ ่าตอ่ หน้าหรอื ลับหลัง มสี ง่ิ หนงึ่ ซงึ่ ลกู ๆ ภมู ใิ จไดใ้ นตวั พอ่  คอื พอ่ ไมเ่ คยเปน็ หนเ้ี ปน็ สนิ   มีมากใช้มาก มีน้อยใช้น้อยตามกำ� ลังเงิน พ่อผมอยู่ได้ทุกฐานะ ท่าน  บอกวา่  ปรบั ใจเสยี นดิ เดียวทกุ อยา่ งกเ็ รยี บรอ้ ย เหมือนอย่ใู นห้องทมี่  ี เครอื่ งปรบั อากาศ เหน็ วา่ หนาวมากไปกล็ ดเครอ่ื งทำ� ความเยน็ เสยี  รอ้ น 



ต อ น  ีท่ ๑ ๓ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 110 ไปหนอ่ ยกเ็ พมิ่ ขน้ึ  อากาศกพ็ อดอี ยไู่ ดต้ ลอดเวลา การด�ำเนนิ ชวี ติ อยทู่ ่ ี การรจู้ กั ปรับใจตามเหตุการณ ์ เรือที่ลอยอยูไ่ ด้เพราะมันไม่ฝนื นำ้�  คอื   นำ�้ ข้ึนก็ขึ้นตามน�้ำ น้ำ� ลงกล็ งตามนำ้� เร่ืองการปรบั ใจน ้ี นับถือพอ่ ผมได้จริงๆ เมอ่ื มโี อกาสเหมาะ ผมชวนพอ่ คยุ เรอื่ งสมณศกั ดอ์ิ กี  ผมมคี วาม  เห็นว่า สมณศักดิ์ คือยศพระน้ันไม่เห็นจำ� เป็นต้องมี ผมว่าพระน้ันได้  สละแลว้ ซึ่งทรัพย์สมบัต ิ ลกู เมีย และยศศกั ดอ์ิ ัครฐานทางโลกมาบวช  จำ� เปน็ อยา่ งไรจงึ มารบั สมณศกั ดก์ิ ค็ อื ยศนนั่ เอง ซง่ึ ดเู หมอื นจะรา้ ยเสยี   ยิ่งกว่ายศของชาวบ้าน  อน่ึง  พระก็สอนคนอื่นไม่ให้ยินดีใน  ลาภ  ยศ  สรรเสริญสุขอนั เป็นโลกธรรม ไฉนพระจงึ มาตดิ ในยศศักด์ิกนั เสียเอง “ผมไมเ่ หน็ จำ� เป็น” “แล้วจะให้ทำ� อย่างไร ?” พ่อถาม “ก็บวชแล้วก็จะเป็นพระ  ก.  พระ  ข.  ใครเรียนได้มากเท่าไรก ็ เรยี นไป ไมเ่ หน็ จะตอ้ งแบง่ ชน้ั วา่  นน่ั ทา่ นมหา นท่ี า่ นพระคร ู และโนน่   ทา่ นเจา้ คณุ  โนน่ สมเดจ็  แลว้ กน็ พี่ ระธรรมดา ความจรงิ ควรจะเปน็ พระ  ธรรมดาเหมือนๆ กนั  คอื เปน็ พระ” “ลูกอายยุ งั นอ้ ย” พอ่ ว่า “โตขนึ้ ลกู อาจเปลีย่ นความคดิ กไ็ ด้” “ผมสงั เกตด ู ผใู้ หญพ่ อแกป้ ญั หาอะไรของผนู้ อ้ ย หรอื ของเดก็   ไม่ได้ก็มักเอาอายุมาขู่เสมอ  ผมไม่เห็นเป็นทางออกท่ีดี  ถ้าพูดเหตุผล  กันก็พอฟัง  แต่เอาอายุมาขู่น่ะ  ผมไม่เช่ือ  ผมไม่เชื่อว่าคนอายุมากจะ  มเี หตุผลอะไรดีกว่าคนอายนุ อ้ ยเสมอไป” “แลว้ ลกู คิดว่า การมสี มณศักด์นิ ะ่  เสยี หายอย่างไร ?” “เสยี หายครบั ” ผมตอบหนกั แนน่  “การบวชนนั้ จดุ ประสงคเ์ พอ่ื   ก�ำจัดกิเลส  เพ่ือไปให้ถึงนิพพาน  สมณศักด์ิคือยศพระนั้นเป็นก�ำแพง  อันหนึ่งท่ีขวางก้ัน  และบังพระให้วนเวียนหลงอยู่ในสมณศักดิ์น้ัน 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 111 จนลืมนึกถึงจุดมุ่งหมายเดิม  ติดลาภ  ติดยศกันจนไม่เป็นอันได้ท�ำสิ่ง  ซ่งึ เป็นสมณกิจ” “แลว้ พระทไี่ มม่ สี มณศกั ดลิ์ ะ่  กำ� จดั กเิ ลสไดเ้ ทา่ ไรไดไ้ ปถงึ นพิ พาน  กอ่ี งค ์ ลกู พอยกตวั อยา่ งไดไ้ หม ?” พอ่ วา่ , หนา้ พอ่ เฉยเหมอื นไมย่ นิ ด ี ยนิ รา้ ยวา่ ผมจะพูดอยา่ งไรตอ่ ไปอีก จะวา่ รำ� คาญผมกไ็ มใ่ ช่ “จรงิ ของพอ่ เหมอื นกนั ” ผมคดิ  “จะวา่ สมณศกั ดเ์ิ ปน็ กำ� แพงกน้ั   ไม่ให้พระถึงนิพพาน  ก็พระที่ไม่มีสมณศักดิ์ล่ะ  มีมากกว่าพระม ี สมณศักดิ์เสียอีกหลายสิบเท่าน้ัน  ท่านเหล่าน้ันได้ไปถึงนิพพานกัน  ทุกองค์หรือ  หรือว่าได้ปฏิบัติชอบเป็นพิเศษกว่าพระท่ีมีสมณศักด ์ิ ก็หาไม่ เรอื่ งเหล่านี้น่าจะเปน็ เร่อื งของแต่ละบุคคลเสยี แล้ว” เม่อื เห็นผมนง่ิ อย ู่ พ่อจงึ วา่ “ลูกอายุยังน้อย  และรู้เรื่องทางศาสนา  อาจคิดอะไรเพียงด้าน  เดยี ว จงึ พดู ออกมาอย่างทพ่ี ดู มาแลว้ “ความจริงพระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ก็ดี  พระมหาเถระ  ผู้บริหารพระศาสนาสืบช่วงกันมาก็ดี  คงได้พิจารณาถึงปัญหาอันน้ ี หนกั แลว้   ทรงเหน็ และเหน็ วา่ การมสี มณศกั ดนิ์ น้ั มผี ลดมี ากกวา่ ผลเสยี   จงึ ให้มกี ันตลอดมา “จุดประสงค์ประการหน่ึง  ก็เพื่อสะดวกในการปกครองหรือ  บรหิ ารหมคู่ ณะ ใหร้ จู้ กั ยำ� เกรงกนั , อกี ประการหนง่ึ เพอ่ื ยกยอ่ งพระสงฆ ์ ผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ  เอาภาระธุระพระพุทธศาสนาให้ปรากฏแก่  คณะสงฆ์และประชาชนทั่วไป   ลูกจะเห็นว่าพระท่ีมีสมณศักดิ์สูงๆ  ก็  ลว้ นแตม่ ตี ำ� แหนง่ หนา้ ทบี่ รหิ ารหมคู่ ณะใหเ้ จรญิ รงุ่ เรอื ง เอาใจใสใ่ นการ  ศึกษาและปฏิบัติของพระเณร  ท่านไม่ได้ให้กันสุ่มส่ีสุ่มห้า  ต้องเป็น  พระทเี่ หมาะสม ปฏบิ ตั ชิ อบตามพระธรรมวนิ ยั  แตก่ อ็ าจมบี า้ งทป่ี ฏบิ ตั ิ  ตนไมส่ มควรแกส่ มณศกั ด ิ์ แตม่ ีจำ� นวนน้อย”

พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 112 ว่าแล้วพ่อลุกไปหยิบหนังสือท�ำเนียบสมณศักดิ์  ฉบับท่ีรวบรวม  เมอื่ ธนั วาคม ๒๕๑๒ มาให้ผมด ู และใหอ้ ่านใหฟ้ งั  ผมอ่านให้ฟงั ดงั นี้ จ�ำนวนสมณศกั ด๑ิ์ สมเด็จพระสังฆราช ๑ พระองค์ สมเดจ็ พระราชาคณะ ๔ รปู พระราชาคณะเจา้ คณะรอง ๗ รปู พระราชาคณะชนั้ ธรรม ๒๕ รูป พระราชาคณะชั้นเทพ ๔๒ รูป พระราชาคณะช้ันราช ๑๐๕ รปู พระราชาคณะชั้นสามญั ๒๘๑ รูป ต อ น  ีท่ ๑ ๓ รวมทง้ั สนิ้ ๔๖๕ รปู เมอ่ื ผมอา่ นจบ พอ่ พดู ต่อไปวา่ “ลกู เหน็ แลว้ วา่ ในจำ� นวนพระเณรในเมอื งไทยจำ� นวน ๒ แสนเศษ  และวดั  ๒ หมน่ื กวา่ วดั  มพี ระทมี่ สี มณศกั ดต์ิ งั้ แตพ่ ระราชาคณะขน้ึ ไป  เพยี ง ๔๖๕ เทา่ นนั้  นอกจากนยี้ งั มพี ระเปรยี ญและพระครสู ญั ญาบตั ร  บา้ งอกี  แตถ่ งึ อยา่ งไร เมอ่ื เทยี บจำ� นวนพระทงั้ หมด พระทไี่ ดส้ มณศกั ด์ ิ ก็มีจ�ำนวนน้อย  แสดงว่าท่านมิได้ให้กันสุ่มส่ีสุ่มห้า  ท่านต้องเลือกเฟ้น  และพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงลงพระปรมาภไิ ธยในสญั ญาบตั ร  หรือหริ ญั บฏั  หรือสุพรรณบฏั ทั้งสิ้น “การมีสมณศักด์ินั้น  ท่านมองเห็นแล้วว่าเป็นทางหน่ึงท่ีจะให้  พระรกั ษาเกยี รตแิ หง่ ความเปน็ สมณะของตนไว ้ ดว้ ยสำ� นกึ วา่ เปน็ ผใู้ หญ่  สมณศกั ดสิ์ งู  ควรจะตอ้ งประพฤตติ นใหเ้ หมาะสมแกเ่ พศและภาวะแหง่   ๑ ฉบบั ของกองศาสนูปถมั ภ ์ กรมการศาสนา พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๒  รวบรวมโดยนายสนติ์ แสวงบญุ

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 113 ตน จะเลน่ เสเพลอยา่ งเดก็ กระไรอย ู่  สว่ นมากทา่ นจงึ ประพฤตดิ ปี ฏบิ ตั  ิ ชอบ กด็ ว้ ยส�ำนึกดงั ว่ามานี้ “อน่ึง  พระพุทธรูปน้ัน  จะวางที่ใด  เราก็กราบได้  แต่ถ้าวางไว้  บนแท่นอนั สูงพอควร ก็ท�ำให้ดูสง่าขึน้  และกราบสะดวก “พระสงฆ์ก็เช่นกัน  ท่านมีศีล  ๒๒๗  เสมอกัน  ทั้งสมเด็จพระ  สังฆราชและพระบวชเพียงปีเดียว  แต่ท�ำไมใจคนทั้งหลายจึงน้อมไป  ในการเคารพเล่ือมใสสมเด็จพระสังฆราชย่ิงกว่าพระสามัญ  พระองค ์ ท่านนา่ จะมีคณุ ความดีอนั ควรแกต่ �ำแหน่งของพระองค์ทา่ นเป็นแนแ่ ท้ “คำ� พดู อยา่ งเดยี วกนั  ถา้ พระ ก พดู  คนชนั้ รฐั มนตรอี าจไมเ่ ชอื่   ถอื  แตถ่ า้ เปน็ พระดำ� รสั ของสมเดจ็ พระสงั ฆราช เขากย็ นิ ดนี ำ� ไปปฏบิ ตั ิ  ตาม  ประโยชน์ก็ตกแก่ท่านรัฐมนตรีนั่นเอง  หากค�ำนั้นเป็นค�ำชอบ  เป็นธรรม เปน็ วนิ ัย “สมณศักด์ิเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่โลกและแก่ธรรมอยู่อย่างนี้  จงึ ยงั จำ� เปน็ ตอ้ งม”ี “แล้วพ่อว่า  พระท่ีได้รับสมณศักดิ์น่ะ  ยินดีพอใจในสมณศักดิ์  ไหม ?”  ผมถาม “พอ่ ก็ไมร่ เู้ หมือนกนั  ส่ิงท่อี ยูใ่ นใจท่าน พอ่ จะร้ไู ดอ้ ยา่ งไร” “แต่ผมวา่ ต้องม”ี “ลกู เอาอะไรไปวดั ” “ผมเหน็ ทา่ นฉลองกนั ออกเอกิ เกรกิ  ยง่ิ กวา่ ชาวบา้ นทเ่ี ขาไดย้ ศ  เสยี อกี ” พ่อผมนั่งก้มหน้าน่ิง  ถอนหายใจยาวๆ  ๓  ครั้ง  สีหน้าของท่าน  หม่นหมองจนผมรู้สึกสงสาร  ครู่หนึ่งพ่อผมลุกข้ึนหยิบธูปและเทียนไป  นั่งคุกเข่าลงตรงหน้าท่ีบูชา  จุดธูปเทียนแล้วกราบลง  ๓  คร้ัง  แล้วนั่ง  จอ้ งมองพระพทุ ธรปู นงิ่ อย ู่ อกี ครหู่ นง่ึ จงึ กราบพระอกี  ๓ ครง้ั  แลว้ ลกุ  

ต อ น  ีท่ ๑ ๓ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 114 ขึ้นมาน่งั ทเ่ี ดิม “พ่อไมต่ ้องตอบผมก็ได้” ผมพูดอย่างสงสารและเหน็ ใจพอ่ “ลูกรู้ไหม  เวลาพระท่านฉลองยศหรือสมณศักดิ์นั้น  ท่านท�ำ  อยา่ งไรบ้าง ?” “ผมเหน็ ทา่ นมสี วดมนตเ์ ยน็  โดยนมิ นตพ์ ระผใู้ หญท่ เ่ี ปน็ กรรมการ  มหาเถรสมาคม  ซ่ึงมีหน้าท่ีพิจารณาสมณศักดิ์ไปสวดมนต์  แล้ววัน  รุ่งข้ึนก็มีเล้ียงเพลพระชุดน้ันและพระในวัด  และต่างวัดท่ีคุ้นเคย  ข้าว  ปลาอาหารกไ็ ดม้ าจากอบุ าสกอบุ าสกิ า และศษิ ยานศุ ษิ ยผ์ คู้ นุ้ เคย คนละ  หมอ้ สองหมอ้  แลว้ แตใ่ ครจะทำ� เทา่ ไร ถา้ อยตู่ า่ งจงั หวดั นมิ นตก์ รรมการ  เถรสมาคม ไมไ่ ดก้ น็ มิ นตพ์ ระผใู้ หญใ่ นจงั หวดั นนั้ ” ผมตอบ เพราะเคย  ไปฉลองสมณศักดิก์ ับพ่อมาหลายคร้งั แลว้ “ลูกเห็นหรือไม่ว่าทั้งหมดเป็นงานบุญงานกุศลของพระผู้นั้น  และชักชวนให้ญาติโยมมาท�ำบุญกันตามแต่ก�ำลังแห่งศรัทธาและไทย  ธรรม พระผนู้ ้นั มกี ัปปยิ ภณั ฑ์ (เงิน) เทา่ ไรก็มักท�ำบุญหมดในงานน้ี “ชาวบา้ นเขาฉลองยศกัน เขาทำ� อยา่ งไร ลูกรไู้ หม ?” “ผมเห็นเลีย้ งกนั มากเหมอื นกนั ” ผมตอบ “เลยี้ งอะไร ?” พ่อถาม “เล้ียงเหล้า  เมากันน่าดู  ถ้าย่ิงเป็นคนใหญ่คนโตก็ยิ่งเมากัน  มาก” “น่ันลูกเข้าใจถูก,  ตอบเท่าท่ีรู้เห็น  ลูกลองคิดทบทวนดูว่า  พระฉลองสมณศักดิ์ด้วยการทำ� บุญกุศล กับชาวบ้านฉลองยศ ฉลอง  วนั เกดิ ดว้ ยการเมาจนคลาน อยา่ งไหนนา่ ทำ� กวา่  ความจรงิ พระพทุ ธเจา้   ตรัสว่า  การปรารภเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วท�ำบุญ  หรือชักชวนให้  ผอู้ นื่ ทำ� บญุ นน้ั  เปน็ วสิ ยั ของบณั ฑติ  ไมท่ รงตำ� หน ิ  การทป่ี รารภการ  ได้สมณศักด ์ิ แล้วมาบำ� เพ็ญกศุ ลกไ็ ม่น่าขัดกบั ธรรมอะไร

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 115 “ชาวบา้ นเรา ชอบตำ� หนพิ ระโดยทไ่ี มค่ อ่ ยไดค้ ำ� นงึ ถงึ ศลี าจารวตั ร  ของตนเอง จะใหพ้ ระเปน็ พระทด่ี สี มควรอย ู่ แตค่ วรสำ� รวจตนเองบา้ ง  วา่ เราเป็นชาวพทุ ธท่ดี ีเพียงใดหรือไม”่ “แต่ชาวบ้านเขาฉลองยศ  เขาออกทุนของเขาเองนะครับพ่อ  สว่ นพระฉลองยศ ฉลองศกั ด ิ์ หรอื ท�ำบญุ วนั เกดิ กต็ อ้ งรบกวนชาวบา้ น  ขา้ วหมอ้ แกงหมอ้ เสยี เรอ่ื ยไป” ผมเถยี งพอ่ เพราะมชี อ่ งใหเ้ ถยี งอยบู่ า้ ง  อกี “พระออกทุนของท่านเองเลี้ยงพระ  เลี้ยงอุบาสกอุบาสิกาตั้ง  ๒๐๐-๕๐๐ คน ทา่ นจะเอาเงนิ ทไ่ี หนมา ถา้ องคไ์ หนทำ� ไดค้ นกจ็ ะตำ� หนิ  ไดอ้ กี เหมอื นกนั วา่ พระรวย คงมเี งนิ เปน็ หมน่ื เปน็ แสนกระมงั  จงึ ทำ� ได้  อยา่ งน ้ี ครน้ั ทา่ นไปขอความอนเุ คราะหเ์ ลก็ ๆ นอ้ ยๆ กต็ ำ� หนทิ า่ นอกี วา่   รบกวนชาวบ้าน  จะเอาอย่างไรกนั ดี “ว่ากันความเป็นจริงแล้วข้าวหม้อหน่ึงราคาไม่เกิน  ๖  บาท  หมายถงึ ขา้ วทเ่ี ราหงุ เอง แกงหมอ้ หนงึ่ กป็ ระมาณ ๒๐ บาท กป็ ระมาณ  ๒๕-๒๖ บาทเทา่ นนั้  เทา่ กบั เบยี ร ์ ๒ ขวดไมร่ วมกบั แกลม้  ราคาทว่ี า่ นี้  คอื  ๒๕-๒๖ บาทนนั้  อาจลดลงหรอื เพม่ิ ขน้ึ บา้ งเลก็ นอ้ ย ตามคณุ ภาพ  และปริมาณของข้าวหรือแกง  พิจารณาดูแล้วก็ไม่กระไรนักมิใช่หรือ  ลกู  อนงึ่  พระทา่ นกข็ อคนทม่ี ฐี านะพอจะขอได ้ ไมใ่ ชท่ า่ นบอกขอคนที่  ไม่มแี มจ้ ะกินเอง นานทปี หี นลกู เอ๊ย ไม่นา่ จะคิดอะไรมาก” ผมและพอ่ นง่ิ กันไปครู่หน่งึ  พอ่ จงึ พูดต่อไปว่า “เก่ียวกับการฉลองสมณศักด์ิน้ี  บางทีพ่อก็ไม่ค่อยสบายใจอยู่  บา้ ง เฉพาะบางแหง่ ทท่ี า่ นฉลองกนั เสยี สามวนั สามคนื  มมี หรสพหลาย  ชนดิ  โฆษณาเอกิ เกรกิ ไปหลายคงุ้ นำ�้  แมจ้ ะทำ� ในนามของศษิ ยานศุ ษิ ย์  พ่อก็เห็นว่ามากเกินไปหน่อย   การกระท�ำบางอย่างแม้จะควรแต่เม่ือ  มากเกนิ ไปก็เกนิ ควร ไม่ดเี หมือนกัน”



๑๔ต อ น ท่ี ผมบอกแล้วว่า  พ่อเป็นคนมีเพื่อนมาก  และเพื่อนๆ  ถือพ่อเป็นจุด  ศูนย์กลางในการพบปะ มอี ยู่เสมอท่ีพอ่ ให้ผมรว่ มวงสนทนาดว้ ย และ  ผมจะได้รับความรู้จากการฟังทุกครั้งไป   พ่อคงมีจุดประสงค์อย่างนี้  จงึ ยอมใหผ้ มนง่ั ฟังอยดู่ ว้ ยและออกความเห็นไปดว้ ย ผมจำ� ได ้ เยน็ วนั อาทติ ยว์ นั หนง่ึ ในเดอื นเมษายน มเี พอื่ นพอ่ มาหา  พอ่ สองคน หญงิ หนงึ่ ชายหนงึ่ มาคนละครงั้  นงั่ คยุ อยปู่ ระมาณ ๒ ชว่ั โมง  เศษ  เริ่มตัง้ แต ่ ๑๗.๐๐ น. จนถึง ๑๙.๐๐ น. เศษ สตรีคือน้าสายสวาท ทา่ นสุภาพบรุ ษุ คือนา้ โกเมน

ต อ น  ีท่ ๑ ๔ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 118 นา้ โกเมนเปน็ นกั ศกึ ษา สว่ นนา้ สายสวาทเปน็ นกั สงั คมสงเคราะห์ “material เปน็ สง่ิ สำ� คญั ในชวี ติ มนษุ ย”์  นา้ สายสวาทพดู ในตอน  หนง่ึ แหง่ การสนทนา “ปญั หาชวี ติ ของแตล่ ะคนอยทู่ วี่ ตั ถ ุ ถา้ วตั ถเุ พยี ง  พอ ปัญหาทุกอย่างก็แก้ได้  ศลี ธรรมกต็ ามมาเองด้วย” คำ� พดู อย่างน้ถี ูกใจผม “การสังคมสงเคราะห์น้ัน  สงเคราะห์วัตถุส่ิงของไปอย่างเดียว  หรอื มีการสบื ไปหาต้นตอดว้ ย ?” นา้ โกเมนถาม “เราแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้  ใครมคี วามทกุ ขค์ วามเดอื ดรอ้ นเรอื่ ง  อะไร เรากช็ ว่ ยเร่ืองนัน้ ไป” น้าสายสวาทตอบ “ผมวา่ มนั จะเป็นการแก้ทปี่ ลายเหตุ” นา้ โกเมนพูด “เราไมม่ เี วลาสบื หาตน้ เหต ุ วจิ ยั ตน้ เหตหุ รอื อะไร เรอื่ งอยา่ งนนั้   ปลอ่ ยใหเ้ ปน็ หนา้ ทข่ี องฝา่ ยอนื่  เรามหี นา้ ทช่ี ว่ ยเหลอื ทางเสอื้ ผา้  อาหาร  เราก็ช่วยเหลือเทา่ ที่พอจะชว่ ยได”้  นา้ สายสวาทตอบ “ถ้าเราจะแก้ปัญหาสังคม  เราควรแก้ที่อะไรก่อนถึงจะถูกจุด  ไมเ่ สียแรงเปลา่  ?” น้าโกเมนถาม “ดฉิ นั วา่  เราสามารถทำ� ใหค้ นพอกนิ พอใชไ้ ดท้ วั่ หนา้ กนั  ปญั หา  สังคมกเ็ ปน็ อันตก เราตอ้ งแก้กันท่ี material” น้าสายสวาทตอบ พอ่ ผม : “เทา่ ไรจงึ จะพอ แตล่ ะคนไดจ้ ำ� กดั ความตอ้ งการของ  ตนเองไว้หรอื เปล่า ?” นา้ โกเมน : “นนั่ ซ ิ ดๆู  ความตอ้ งการทางวตั ถขุ องคนไมค่ อ่ ยมี  ขอบเขตเสยี ดว้ ย พอไดเ้ ทา่ นนั้ แลว้ ตอ้ งการเทา่ น ี้ พอไดเ้ ทา่ นแี้ ลว้ พอใจ  หรอื  ? ความอยากความตอ้ งการวง่ิ ออกหนา้ ออกไปอกี จงึ ตอ้ งวง่ิ ตาม” พอ่ ผม : “ผมวา่ ทวี่ ตั ถไุ มพ่ อนนั้  เพราะวตั ถมุ นั ไมก่ ระจายเทา่ ท่ ี ควร มนั ไปกองอยทู่ ใี่ ดทหี่ นงึ่ มากเกนิ ไป บางทจี่ งึ มนี อ้ ยเกนิ ไป ไมพ่ อ  ความจ�ำเป็น

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 119 “เงนิ หมนุ เวยี นกต็ าม ทด่ี นิ ทส่ี วนกต็ ามมจี ำ� กดั  เมอื่ ไปอยทู่ บี่ คุ คล  หนึ่งมากเกินไป  จ�ำนวนที่เหลือก็น้อยลงทุกที   เมื่อจ�ำนวนที่เหลือซ่ึง  มนี ้อยนั้นตอ้ งมาแบ่งใหค้ นเป็นอันมาก ของนน้ั จงึ ไม่พอ คนรวยก็รวย  เกนิ ไป เหลอื กนิ เหลือใช้ คนจนจึงจนเกินไป ไม่พอกินพอใช้” น้าโกเมน : “วิธกี ารของคอมมวิ นิสต์แกป้ ญั หาน้ีไดไ้ หม ?” พ่อผม : “ไมด่ ี จะยง่ิ ลำ� บากหนกั เข้าไปอีก” น้าสายสวาท  :  “ถ้าอย่างนั้นวิธีแก้ปัญหาสังคม  ควรจะแก้ที่  อะไรก่อน ?” พอ่ ผม : “ตอ้ งแกท้ จี่ ิตใจกอ่ น” นา้ สายสวาท : “คณุ ยม้ิ เปน็  idealist ตรงขา้ มกบั  materialist” พ่อผม  :  “ผมว่า  idealist  จะเป็นภาษาทางปรัชญา  ไปใช้ค�ำ  วา่  spiritualist น่าจะเหมาะกวา่   หรือคณุ โกเมนวา่ อยา่ งไร ?” นา้ โกเมน : “ผมกว็ า่ อยา่ งนนั้  ความจรงิ กถ็ กู ดว้ ยกนั ทงั้ สองค�ำ  แต่ดูเหมอื น spiritualist จะเหมาะกวา่ ” ผมรู้สกึ งงๆ ตอ่ ค�ำพูดของทา่ นทงั้  ๓ และผมย่ิงงงหนกั ข้นึ เมือ่   ได้ยินพ่อท้วงติงการใช้ภาษาอังกฤษทางวิชาการของน้าสายสวาทว่า  เป็นภาษาปรชั ญาไป  พ่อผมพดู ตอ่ ไปวา่ “จติ ใจเปน็ รากฐานของความเจรญิ อนั มนั่ คง เหมอื นรากตกึ  ถา้   คนมั่งคั่งรู้จักจ�ำกัดความต้องการของตัวเสียบ้าง  วัตถุท่ีเหลืออยู่ก็  กระจายไปยงั คนทย่ี ากจนในราคาทไ่ี มแ่ พงเกนิ ไป หรอื คนทมี่ ง่ั คงั่ นน้ั เอง  มจี ติ ใจเสยี สละเพอื่ ประโยชนส์ ขุ สว่ นรวม กระจายวตั ถนุ น้ั เสยี เอง ชอ่ ง  วา่ งระหวา่ งคนจนกบั คนรวยกจ็ ะไมม่ ากเกนิ ไป วธิ กี ารนเ้ี ปน็ หลกั คำ� สอน  ของพระพุทธเจ้า  ผมเห็นว่าเป็นการแก้ปัญหาสังคมที่ดีที่สุด  แม้เร่ือง  ทดี่ นิ ทแ่ี พงอยลู่ บิ ลวิ่ เวลาน ี้ กเ็ พราะคนมอื ยาวสาวไดม้ ากเกนิ ไป แลว้ เอา  มาตดั ขายคนยากจน คณุ ลองคดิ ดใู นขณะทคี่ นหนง่ึ มที ดี่ นิ เปน็ พนั ๆ ไร่ 

ต อ น  ีท่ ๑ ๔ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 120 คนจำ� นวนลา้ นไมม่ แี มแ้ ตท่ ด่ี นิ สกั  ๑ ตารางวา เพยี งพอหมาดนิ้ ตายได้  คุณเหน็ หรือไม่ว่าที่วัตถไุ ม่พอก็เพราะมนั ไมก่ ระจาย” “แลว้ จะท�ำอยา่ งไรใหม้ ันกระจายออกได้” น้าสายสวาทถาม “ถา้ คนทมี่ ที ด่ี นิ มากๆ จะมจี ติ ใจเสยี สละทเ่ี หลา่ นน้ั  ใหร้ ฐั บาลหรอื   องค์การสาธารณกุศลแห่งใดแห่งหน่ึงช่วยจัดสรรให้คนยากจนซึ่งไม่ม ี ที่จริงๆ ได้อยูอ่ าศัยก็จะชว่ ยไดม้ ากทีเดยี ว” พอ่ ผมว่า “กลัวจะเหมือนอาคารสงเคราะห์บางแห่งล่ะซี”  น้าโกเมนพูด  พลางหัวเราะ   ผมสนใจมากจึงถามว่า “เปน็ อย่างไรครบั  นา้  ?” “น้าเห็นอาคารสงเคราะห์บางแห่งมีคนอยู่  ๕๐  กว่าครอบครัว  มรี ถยนตจ์ อดเกอื บรอ้ ยคนั  รถพรเี มยี รก์ ม็  ี เบนซก์ ม็  ี สงเคราะหใ์ ครกนั ” ทุกคนหัวเราะ แต่ผมหวั เราะไม่ออก น้าโกเมนพดู ต่อไปวา่ “พอรฐั บาลหรอื องคก์ ารสาธารณกศุ ล จดั สรรทด่ี นิ ราคาถกู จรงิ ๆ  ขน้ึ มา เชน่ ตารางวาละ ๒ บาท ผมกลวั คนทไี่ ดร้ บั จะเปน็ คนรวยเสยี อกี   เพราะคนรวย มอื ยาว ตนี ยาว หไู ว ตาไว ไปไหนเขา้ ไหนคลอ่ งแคลว่ ” “เลกิ พดู กนั ดกี วา่ ” พอ่ ผมวา่  “เสยี เวลา เปลอื งสมอง เราคดิ ได ้ แตท่ ำ� ไมไ่ ด ้ คอื ไมส่ ามารถไปจดั อะไรได ้ คนทพ่ี อจดั ไดก้ ไ็ มค่ ดิ  เพราะ  สบายเสยี แลว้  อยา่ คดิ เลย มานง่ั ดคู นขายของกบั คนเลน่ ละครกนั ดกี วา่   เราทำ� แตพ่ อมพี อกนิ  ตายแลว้ เอาอะไรไปไมไ่ ด ้ ใครจะวา่ ความคดิ อยา่ งนี้  ทำ� ใหป้ ระเทศชาตไิ มเ่ จรญิ กช็ า่ งหวั มนั  คนทโี่ กงจนมง่ั มที �ำบญั ชสี มบตั ิ  ไมไ่ หวกก็ นิ เทา่ นน้ั นอนเทา่ น ี้ แกสขุ ส�ำราญอยไู่ ดไ้ มก่ ปี่ หี รอก ตายแลว้   ยมบาลคิดบัญชกี บั แกเอง” “หมายความอยา่ งไรครบั  ผมสนใจคำ� วา่  ‘คนเลน่ ละครกบั คนขาย  ของ’ เขา้ ใจวา่ คงมคี วามหมายอยา่ งอน่ื ไมต่ รงตวั ทเี ดยี ว” นา้ โกเมนพดู

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 121 “ชวี ติ มนษุ ยเ์ หมอื นงานนกั ขตั ฤกษ ์ บางคนกไ็ ปแสดง บางคนก็  ไปขายของ มอี กี พวกหน่ึง ไปดูเพื่อให้รวู้ า่ มีอะไรกัน คนเล่นละครคอื   พวกทะเยอทะยานอยากหาชื่อเสียง  คนขายของคือพวกต้ังหน้าตั้งตา  กอบโกยแต่เงินทอง  ส่วนพวกไปดูนั้น  คือพวกนักปรัชญาแสวงหาแต ่ ความจรงิ แหง่ ชีวิต” ทกุ คนน่งิ ตรึกตรอง พอ่ ผมจงึ พดู ตอ่ ไปวา่  “ไมใ่ ชว่ าทะของผมหรอกคณุ โกเมน คณุ   ไพเทคโครสั  (Pythagoras) เขาพดู ไวน้ านมาแลว้  ถงึ จะไมร่ สู้ กึ อะไรนกั   แต่พอสะกดิ ใจเราไดบ้ ้างเทา่ นัน้ ” “ไพเทคโครัส  คือใครครับพ่อ”  ผมถาม  ผมประหลาดใจว่า  ไฉนวันน้ีพ่อจึงมีท่าทีว่ารู้อะไรๆ  น่าทึ่งอยู่ส�ำหรับผม  เพราะผมไม่เคย ไดย้ ินพ่อคุยทำ� นองน้ี “ไพเทคโครสั เปน็ นกั ปรชั ญาชาวกรกี  สมยั กอ่ นยคุ ทองของกรกี   เขามชี วี ติ อยรู่ ะหวา่ ง ๔๗๐-๕๐๐ ปกี อ่ น ค.ศ กอ่ นพระพทุ ธเจา้ นพิ พาน  ๒๗ ป ี ถงึ หลงั พทุ ธปรนิ พิ พาน ๔๓ ป ี ขณะทเี่ ขาเพงิ่ เกดิ นน้ั พระพทุ ธเจา้   มพี ระชนมายถุ งึ  ๕๓ พรรษา เทย่ี วเสดจ็ จารกิ สงั่ สอนประชาชนอยแู่ ลว้   พ่อไม่อยากพูดถึงเขามากกว่าน้ี    เอาแค่น้ีพอในฐานะท่ีลูกถามแล้ว”  พอ่ ผมพูด “ท�ำไมพ่อจึงไม่เห็นด้วยกับการกระจายวัตถุตามวิธีการของ  คอมมวิ นสิ ต ์ ?” ผมยงั ตดิ ใจเรอ่ื งกระจายวตั ถอุ ย ู่ จงึ ชวนวกไปหาเรอื่ งเกา่   อกี   ทัง้ ๆ ท่พี ่อบอกวา่ เลิกกนั ดกี วา่ “พ่อไม่ค่อยมีความรู้เร่ืองคอมมิวนิสต์  แต่พ่อยังไม่เช่ือว่าลัทธ ิ คอมมิวนิสต์จะแก้ปัญหาความทุกข์ของประชาชนได้   มนุษย์ควร  มเี สรภี าพพอสมควรในการเลอื กศกึ ษา ประกอบอาชพี  และการอยอู่ ยา่ ง  สุขสงบหากเขาต้องการ  ตัวอย่างเช่น  พ่อท�ำงานไว้มาก  เม่ือพ่อตาย 

ต อ น  ีท่ ๑ ๔ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 122 แล้วทิ้งมรดกไว้ให้ลูก  ๕  แสนบาท  ลูกเอาเงินนั้นไปฝากธนาคาร  แล้วเอาดอกผลเป็นรายปีมาเลี้ยงชีพ  ในระหว่างนั้นลูกก็ศึกษาแต่พระ  ธรรม นงั่ สมถะ-วปิ สั สนา ท�ำบญุ กศุ ลตามโอกาส ลกู กอ็ ยไู่ ดโ้ ดยสงบ  สุข  ชีวิตไม่เร่าร้อนเกินไป    แต่ในระบอบคอมมิวนิสต์  พ่อเกรงลูกจะ  ท�ำอย่างนั้นไมไ่ ด”้ “เสรีภาพนั้นมีค่าท่ีสุดในชีวิตมนุษย์  แต่มนุษย์มักจะรู้ค่ามัน  จรงิ ๆ ต่อเมอื่ มนั ได้สญู เสียไปแล้ว” “พ่อชอบเสรีภาพ  ถ้ามันจะต้องสูญเสียไป  พ่อจะเอาชีวิตแลก  มนั คนื มา เพราะชวี ติ ทไี่ มม่ เี สรภี าพนนั้  ยงิ่ นานวนั กย็ งิ่ ทรมานมากขน้ึ ” “คณุ ยมิ้ เลอ่ื มใสการดำ� เนนิ ชวี ติ  หรอื การมชี วี ติ อยแู่ บบใด” นา้   โกเมนถาม “ตอบงา่ ยมาก” พอ่ วา่  “มชี วี ติ อยดู่ ว้ ยปญั ญาซคิ รบั  แลว้ กค็ รอง  ชีวิตอยู่แบบชาวพุทธท่ีดี  ข้อความในวรรคแรกของพระพุทธเจ้า  ทรง  ตอบไวเ้ อง คอื มผี มู้ าถามวา่ มชี วี ติ อยอู่ ยา่ งไรจงึ จะประเสรฐิ  ตรสั ตอบวา่   มชี วี ติ อยู่ดว้ ยปัญญา ประเสรฐิ  (ปญฺ าชีว ิ ํ ชีวติ มาห ุ เสฏ)ํ   “อยูอ่ ยา่ งไรคะ เรยี กว่าอยู่ด้วยปัญญา ?” น้าสายสวาทถาม “อย่อู ย่างคนไปดลู ะคร หรอื ยืนอยูบ่ นฝ่ังทะเล” พ่อตอบ “ส่วนการครองชีวิตแบบชาวพุทธน้ันคือการหัดตนให้เป็นคน  มชี วี ติ อยอู่ ยา่ งงา่ ยๆ เสยี บา้ ง พยายามตดั สงิ่ ฟมุ่ เฟอื ยไมจ่ �ำเปน็ ออกให ้ มากทสี่ ดุ  แสวงหาความสงบสขุ ทางจติ ใจแทนการแสวงหาความสำ� ราญ  ทางวัตถุ  โดยวิธีน้ีมนุษย์เราจะมีความสุขเพิ่มขึ้นทันที  และนอกจากน้ ี การอวดศักดากันว่าใครแน่กว่าใครนั้นไม่ควรให้เกิดข้ึนในจิตใจเลย  การอวดศกั ดากนั นน้ั  อยทู่ กี่ ารเปรยี บเทยี บคณุ สมบตั แิ ละความสามารถ  ของคนนน้ั กบั คนนใี้ นบางแหง่ เทา่ นน้ั  เลกิ เปรยี บเทยี บเสยี  (มนั ผดิ หลกั   ความจรงิ ) เพราะความจรงิ แลว้ ไมม่ ใี ครจะเกง่ กวา่ ใครไปหมดทกุ ดา้ น 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 123 ทำ� และดำ� เนนิ ในสงิ่ อนั เหมาะสมแกต่ วั  ถา้ จะเปรยี บเทยี บกเ็ ปรยี บเทยี บ  ระหวา่ ง อดุ มคต ิ กบั  คณุ สมบตั  ิ ของตนวา่ ยงั อยหู่ า่ งกนั เทา่ ไร ถา้ เหน็   ว่ายังอยู่ห่างกันมาก  ก็พยายามสร้างคุณสมบัติเพ่ิมเติม  ให้ใกล้ชิด  อดุ มคติเข้าไปเข้าไปทุกท”ี พอ่ ผมพูดฟงั ยากขึ้นทกุ ที



๑๕ต อ น ที่ วันหนึ่งผมนั่งคุยกับพ่อเรื่องตลาดหนังสือในเมืองไทย  ค�ำว่า  “ตลาด  หนงั สอื ” นนั้  นา่ จะรวมบคุ คลตอ่ ไปน ้ี คอื  ผเู้ ขยี น ผขู้ าย ผพู้ มิ พ ์ และ  ผซู้ อ้ื อา่ น ผขู้ ายกบั ผพู้ มิ พน์ น้ั รวมเปน็ พวกเดยี วกนั ได ้ คอื สว่ นมากกม็ กั   บอกไวว้ า่  “สำ� นกั พมิ พ.์ .. จดั พมิ พจ์ ำ� หนา่ ย” ถา้ มอี กี พวกหนงึ่ กค็ อื คนเดนิ   ตลาดซึ่งรับหนังสอื จากส�ำนักพมิ พ์ไปเดนิ ขายไดเ้ ปอรเ์ ซ็นต์ ผทู้ ค่ี วรพดู ถงึ จรงิ ๆ กม็  ี ๓ พวก คอื  คนเขยี น คนพมิ พข์ าย และ  คนซ้ืออ่าน  ผมปรารภถึงว่าคนเขียนหนังสือไม่เห็นรวย  อย่างดีก็พอมี  พอกิน  มิฉะน้ันก็ไส้แห้ง  แต่พวกส�ำนักพิมพ์รับพิมพ์หนังสือรวยตามๆ  กัน  ท�ำไมจึงเป็นอย่างน้ัน  เม่ือส�ำนักพิมพ์รวย  คนเขียนก็ควรจะ 

ต อ น  ีท่ ๑ ๕ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 126 รวยดว้ ย “ลกู เคยเหน็ ชาวนาในเมืองไทยรวยหรอื  ?” พ่อผมถามยอ้ น “หายากมากพ่อ”  ผมตอบ “แตค่ นรับซ้ือและขายข้าวสารรวยได้ใชไ่ หม ?” “มากทเี ดยี วครบั ” ผมตอบ “ทง้ั ๆ ทไ่ี มไ่ ดผ้ ลติ เลย ไมต่ อ้ งเหนอ่ื ย  มาก” “เรอ่ื งคนเขยี นหนงั สอื  หรอื นกั ประพนั ธ ์ กบั คนซอ้ื ตน้ ฉบบั แลว้ ไป  พิมพ์ขาย  หรือส�ำนักพิมพ์ก็เหมือนกัน”  พ่อตอบ  “ราคามันสมองใน  เมืองเรายังตำ่� มาก นักประพันธ์ส่วนมากมีความรู้สึกว่าสำ� นักพิมพ์เอา  เปรียบ  บางคนเจ็บแค้นจนต้องเขียนเองพิมพ์เอง  ไม่ยอมให้ส�ำนัก พมิ พ”์ “แตส่ ำ� นกั พมิ พก์ ต็ อ้ งลงทนุ มากเหมอื นกนั  เทา่ ทผี่ มทราบ เลม่   หนงึ่ ตอ้ งลงทนุ ถงึ  ๒-๓ หมนื่ บาท และเงนิ ทไ่ี ดม้ ากไ็ ดม้ าอยา่ งคอ่ ยๆ ได้  ไมเ่ ปน็ กอบเปน็ กำ�  เขาตอ้ งเหนด็ เหนอื่ ยเรอ่ื งการจดั พมิ พจ์ ดั ขายไมน่ อ้ ย  เขาตอ้ งได้ก�ำไร มฉิ ะน้นั เขาจะทำ� ไปท�ำไม” “ก็ถูกเหมือนกัน”  พ่อว่า  แต่เม่ือคิดละเอียดแล้ว  ส�ำนักพิมพ ์ ยงั ไดก้ ำ� ไรมากกวา่ ผเู้ ขยี นมาก สมมตวิ า่ หนงั สอื เลม่ หนง่ึ ราคาขายตาม  หน้าปกเล่มละ  ๔๐  บาท  ผู้เขียนช้ันฝีมือดีแล้วได้ค่าเขียนประมาณ  ๘,๐๐๐  บาท  ส�ำนักพิมพ์พิมพ์  ๓,๐๐๐  เล่ม  เล่มละ  ๔๐  บาท  เมื่อ  ขายหมดส�ำนักพิมพ์ถึงจะได้เงินถึง  ๑๒๐,๐๐๐  บาท  (หน่ึงแสนสอง  หมน่ื บาท) ถา้ ทนุ ในการพมิ พ ์ ๓๐,๐๐๐ บาท สำ� นกั พมิ พก์ ย็ งั ไดก้ ำ� ไร  ถงึ  ๙๐,๐๐๐ บาท (เกา้ หมนื่ บาท) ผดิ กนั มาก สมมตวิ า่ ขาย ๒ ปหี มด  สำ� นกั พมิ พก์ ย็ งั ไดก้ ำ� ไรถงึ เดอื นละ ๓,๗๕๐ เขาไมไ่ ดพ้ มิ พห์ นงั สอื เรอื่ ง  เดยี ว เขาพมิ พเ์ ปน็ รอ้ ยๆ เรอื่ ง สมมตวิ า่ วางขายอยใู่ นตลาดรอ้ ยเรอ่ื ง  ถ้วน แต่ละเรอ่ื งเขาไดก้ ำ� ไรเดอื นละ ๓,๗๕๐ บาท เอารอ้ ยคณู  เพิ่ม 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 127 ศนู ยอ์ กี  ๒ ตวั  เปน็ เงนิ  ๓๗๕,๐๐๐ (สามแสนเจด็ หมน่ื หา้ พนั บาท) คดิ   เปน็ ปยี งิ่ ไปกนั ใหญ ่ จะไดถ้ งึ สลี่ า้ นเศษ แตค่ า่ ใชจ้ า่ ยรายเดอื นกไ็ มน่ อ้ ย  เหมือนกัน  แม้จะหักค่าใช้จ่ายไปแล้ว  ส�ำนักพิมพ์ก็ยังมีก�ำไรสุทธิอยู่  ไมน่ ้อย  มิฉะนน้ั จะตง้ั อยู่อยา่ งสงา่ ผ่าเผยไดอ้ ย่างไร “พอ่ ไมเ่ คยทำ� งานเกย่ี วกบั สำ� นกั พมิ พ ์ อาจมขี อ้ ผดิ พลาดบา้ งใน  เร่ืองตัวเลข   แต่ที่พูดนี้คิดให้ดูแนวทางว่าเป็นอย่างไร  ส�ำนักพิมพ์จึง  รวยได ้ คนเขียนจงึ รวยยาก” “เม่ือมองเห็นทางอยู่อย่างนี้  ท�ำไมคนจึงไม่ตั้งส�ำนักพิมพ์กัน  ใหม้ ากกว่านี้นะพอ่  ?” “แม้จะมองเห็นทางแต่ไม่ใช่ท�ำได้ทุกคน  ผู้จะประสบผลส�ำเร็จ  ทางการคา้  ตอ้ งมหี วั ทางการคา้  มฉิ ะนนั้ ทำ� ไปกข็ าดทนุ  นกั การคา้ ตอ้ ง  คลอ่ งแคลว่ วอ่ งไว ไหวพรบิ ด ี เขา้ กบั คนเกง่  นอกจากนยี้ งั ตอ้ งอาศยั โชค  วาสนาในการคา้ อกี ดว้ ย คนแตล่ ะคนมใิ ชจ่ ะทำ� อะไรขน้ึ ไปเสยี ทกุ อยา่ ง  ท�ำอยา่ งหนึ่งส�ำเร็จ ไปทำ� อกี อยา่ งหนึง่ อาจไมส่ �ำเรจ็ ก็ได้” “นกั เขยี นเวลานเ้ี ป็นอยา่ งไรบา้ งครบั พ่อ ?” “ในดา้ นไหนล่ะ” พ่อถาม “การครองชีพ และอดุ มคต”ิ “บางคนก็พอครองชีพไปได้  บางคนก็สร้างฐานะได้พอสมควร  แตบ่ างคนกย็ งั ทลุ กั ทเุ ลเตม็ ท ี นพ่ี ดู เทา่ ทพี่ อสงั เกตเหน็  สว่ นอดุ มคตนิ นั้   พอ่ รสู้ กึ วา่ นกั เขยี นเดยี๋ วนส้ี เู้ มอ่ื กอ่ นไมไ่ ด ้ และมขี อ้ นา่ สงั เกตอยา่ งหนงึ่   ว่า  คนเขียนหนังสือลามกเพ่ิมข้ึนทุกวัน  แม้หนังสือพิมพ์ช้ันดีที่คนผู้ได ้ รับการศึกษาดียกย่องแล้วในสมัยหน่ึง  มาบัดน้ีมีเร่ืองลามกประดัง  ประเดกนั เขา้ มาทกุ สปั ดาห ์  เหมอื นจะแขง่ กนั ลามก วา่ ใครจะเขยี นได ้ ลามกเกง่ กว่าใคร” “น่าจะมีสาเหตุอะไรสักอย่างหน่ึง  ที่ท�ำให้เกิดตลาดหนังสือ 

ต อ น  ีท่ ๑ ๕ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 128 ท�ำนองนีข้ น้ึ ” ผมวา่ “เทา่ ทพี่ อ่ พอจะนกึ ไดเ้ วลานกี้ ม็ อี ย ู่ ๒-๓ อยา่ ง คอื  ประการแรก  บรรณาธกิ าร หรอื ใครกต็ ามทท่ี ำ� หนา้ ทเ่ี สมอื นบรรณาธกิ าร จดั เรอ่ื งลง  ควบคมุ การจดั สรรเรอ่ื งเปน็ คนชอบทางนนั้  ประการทสี่ อง มคี นเขยี น  เรื่องลามกอันถูกใจผู้จัดท�ำส่งมาให้  และประการท่ีสาม  ได้รับการ  สนับสนุนจากคนอ่าน  คือยังมีคนซื้ออ่านอยู่  ถ้าไม่มีคนซ้ืออ่านก็เลิก  ไปเอง” “เขาอาจเหน็ เป็นศิลปะกไ็ ด้นะครับพ่อ” ผมวา่ “ศลิ ปะกบั อนาจารหรอื ลามกนนั้  มนั หา่ งกนั เพยี งเสน้ ยาแดงเดยี ว  เหมอื นพนื้ ทส่ี องอำ� เภอทอี่ ยตู่ ดิ ตอ่ กนั  เพยี งมคี ลองเลก็ ๆ คน่ั อยเู่ ทา่ นน้ั   คนอา่ นยอ่ มรวู้ า่ อนั ไหนเปน็ ศลิ ปะ อนั ไหนเปน็ ลามก ศลิ ปะยอ่ มเตม็ ไป  ดว้ ยภาษาและลลี าทลี่ ะเมยี ดละไม แตภ่ าษาสมยั นขี้ องนกั เขยี นบางคน  มันหยาบคายเกินไป  พ่อเห็นว่าการท�ำอย่างนี้เป็นการโปรยยาพิษไป  ท่วั เมอื ง มีผลในทางทำ� ลายอยา่ งเดียว” “ท�ำลายอะไรครับ ?” “ทำ� ลายจติ ใจคนซลิ กู  จติ ใจทยี่ งั ไมเ่ ขม้ แขง็ พอ เมอื่ ถกู ยอ้ มดว้ ย  สง่ิ ลามก มนั กจ็ ะโสมมขน้ึ ทกุ วนั  จากการเสพคนุ้ ยอ่ มเหน็ สง่ิ ลามกเปน็   ของธรรมดา  ต่อจากนั้นก็จะท�ำกรรมอันลามกได้โดยเห็นเป็นกรรม  ธรรมดา จติ ใจทคี่ นุ้ กบั สงิ่ ลามก ความลามก โดยไมร่ สู้ กึ รงั เกยี จนนั้ เปน็   สภาพจติ ทนี่ า่ กลวั  เพราะมนั ไดถ้ กู ท�ำลายคณุ คา่ เสยี แลว้  หากจะกลบั ส ู่ สภาพเดมิ กต็ อ้ งมกี ารบำ� บดั ทางวญิ ญาณกนั เปน็ การใหญ ่  ตอ่ จากนน้ั   จะต้องมกี ารพกั ฟื้น และใหว้ ิญญาณได้รับอาหารใหม่คือธรรม” “พอ่ พดู เหมือนวิญญาณหรอื จติ มกี ารเจ็บปว่ ยเหมอื นร่างกาย” “อาการปว่ ยทางวญิ ญาณ นา่ กลวั กวา่ การปว่ ยทางรา่ งกายมาก”  พ่อตอบ  “เพราะท�ำให้คนท�ำความช่ัว  เห็นบาปเป็นเรื่องธรรมดา  ก่อ 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 129 ความวุ่นวายแก่สังคมโดยเห็นเป็นเรื่องโก้  อาการป่วยทางจิตหรือ  วิญญาณของคนน้ัน  แสดงออกในรูปที่ต่างกัน  บางคนแสดงออกทาง  กอบโกยสมบตั ไิ มร่ จู้ กั อมิ่  บางคนโหดรา้ ยทารณุ  พอใจแตก่ ารประหตั   ประหารกัน  บางคนหมกมุ่นแต่เร่ืองลามกอนาจารอันน่าบัดสี  สังคม  มนุษย์จึงรุงรังไปด้วยมนุษย์ท่ีจิตพิการพวกน้ี  สางได้ยาก    คนดีจึง  พลอยไดร้ ับความกระทบกระเทือนไปด้วย” “ท�ำไมคนดีจึงต้องกระทบกระเทือน  ในเม่ือเขาไม่ได้ก่อกรรม  ทำ� ชว่ั นน้ั   พอ่ ยำ้� อยเู่ สมอวา่ คนทำ� ดยี อ่ มไดร้ บั ผลดแี ละมคี วามสขุ  คน  ท�ำชว่ั ยอ่ มได้รับผลชว่ั และมีความทุกข์” ผมพดู “สงั คมมนษุ ยเ์ หมอื นตาขา่ ย” พอ่ ตอบ “เมอื่ เอาฆอ้ นตลี งจดุ ใด  จดุ หนง่ึ  ยอ่ มกระเทอื นไปหมด หรอื เหมอื นทง้ิ กอ้ นหนิ ลงในสระ แมก้ อ้ น  หนิ จะลงเพยี งจดุ เดยี ว แตแ่ รงกระเพอื่ มของนำ�้ ยอ่ มไปทวั่ สระ เราไมไ่ ด้  ท�ำใหห้ มแู พง แต่เรากพ็ ลอยไดร้ บั ความกระทบกระเทือนดว้ ย” “ผมว่าเรามสี ว่ นท�ำให้หมูแพงด้วยเหมอื นกัน” “ท�ำไม ?” พอ่ ถาม “เพราะเรากนิ หม”ู  ผมตอบ “คนกนิ หมทู กุ คนมสี ว่ นทำ� ใหห้ มแู พง  ท้ังน้นั   เลิกกนิ หมูกันใหห้ มด เอาหมูมาให้เปลา่ ก็ไมม่ ใี ครเอา” “ลกู พดู อยา่ งนีเ้ หมอื นพูดให้เลกิ มีต�ำรวจ” “ทำ� ไมครับ ?” “มไี ว้ทำ� ไม ?” พ่อวา่ “ไว้จับขโมยซคิ รบั ” “จับเขาท�ำไมล่ะ ?” “กเ็ พราะเขาไปขโมยของคนอ่นื ” ผมตอบ “ถ้าไม่มีของไม่มีสมบตั ิ แกจะขโมยอะไร” พ่อว่า “คิดอยา่ งนัน้ ก็ไมถ่ ูก” ผมว่า

ต อ น  ีท่ ๑ ๕ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 130 “กท็ ำ� นองเดยี วกนั กบั เรอ่ื งคนกนิ หมขู องลกู  เรานา่ จะมเี หตแุ ละ  มาตรการแกไ้ ขทดี่ กี วา่ อา้ งวา่  เพราะคนกนิ หม ู หมจู งึ แพง อา้ งอยา่ งน้ี  อะไรแพงข้ึนมาก็อ้างได้ทุกอย่าง  บางคนยังอ้างว่าที่มีการคอรัปชั่น  ก็เพราะมีคนให้สินบนหรือมีของให้คอรัปชั่นได้   ลูกลองคิดดู  พูด  อยา่ งนถี้ กู หรอื  มนั ท�ำนองเดยี วกบั พดู วา่  ไปตหี วั ใครกไ็ มผ่ ดิ เพราะเขา  มหี วั ใหต้  ี ทบ่ี ตั รดภู าพยนตแ์ พงขนึ้ ใจหายกเ็ พราะมคี นดภู าพยนต ์ ชวน  กนั เลิกดูให้หมด มนั กถ็ กู ลงเอง อย่างนีเ้ ปน็ ตน้ ” “ภาพยนตเ์ ดยี๋ วนเ้ี ปน็ อยา่ งไรบา้ งครบั  ? ตามความเหน็ ของพอ่ ” “ภาพยนตไ์ ทยหรือฝรง่ั  ?” “ทัง้ สองครับ” “ภาพยนต์ไทยก็ดีข้ึนกว่าแต่ก่อน  ข้อเสียท่ีแก้ไม่หายก็คือตลก  เสียเร่ือยไป  ที่ไม่ควรตลกก็ตลก  ตลกเปรอะไปหมดท้ังเร่ือง  อยาก  หวั เราะก็ดูภาพยนตไ์ ทย ด”ี “แลว้ หนงั ฝรงั่ ละ่ ครบั  ?” ผมถาม “หนงั ไทยผมมคี วามเหน็ เหมอื น  พอ่ ” “หนงั ฝรง่ั กเ็ หน็ มแี ตก่ ารตรี นั ฟนั แทง ยงิ กนั อตุ ลดุ ทงั้ เรอ่ื ง แยง่   สมบัติกัน  ทรยศหักหลังกัน  ตลอดไปจนถึงโป๊จนหมดยางอาย  พอมา  ถงึ เมอื งไทยกถ็ กู ตดั ออกเสยี แยะ ทนี่ า่ สนใจกม็ หี นงั ทเี่ อาชวี ติ สตั วม์ าทำ�   เอาคนเปน็ ตัวประกอบ”  พ่อถอนหายใจยาวลึก แล้วพูดตอ่ ไปว่า “จะหาหนังดู  ที่เห็นแล้วดูแล้วท�ำให้คนใจสงบเยือกเย็น  เห็น  คุณค่าของศีลธรรมจรรยา  และปรารถนาท�ำดีหนีช่ัวนั้น  หายากเหลือ  เกนิ  นึกไมอ่ อกว่าได้เคยดูหนงั เรื่องใดท่ีอยูใ่ นลกั ษณะดังกลา่ วแลว้ ” “อยากได้อย่างนั้นจะไปดูหนังทำ� ไมล่ะครับพ่อ ไปฟังเทศน์ ไป  นง่ั โบสถ ์ หรอื โคนตน้ โพธขิ์ องวดั ใดวดั หนง่ึ มดิ กี วา่ หรอื  เงนิ กไ็ มต่ อ้ งเสยี   ยังจะได้ดมื่ นำ้� ร้อนน้ำ� เย็นฟรีเสยี อีก

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 131 “จะใหส้ มใจพอ่  ผมวา่ ตอ้ งไปถา่ ยภาพโบสถม์ าใหห้ มดทวั่ ประเทศ  เอาเสยี งสวดมนตแ์ ทนดนตร ี เอาบทพระธรรมทพี่ ระเทศนม์ าเขยี นเปน็   บทพากย์  จะมีคนอย่างพ่อเพียงไม่ก่ีคนเข้าดู  โรงหนังก็เจ๊งกันไปหมด  แลว้ ดดั แปลงเป็นเวทีปาฐกถาธรรมทุกเสารอ์ าทติ ย์ “ผมวา่  พอ่ คดิ มากไปเอง โรงหนงั เขามไี วส้ ำ� หรบั เจา้ ของไดก้ ำ� ไร  สำ� หรบั ใหค้ นดรู น่ื รมยเ์ พลดิ เพลนิ และตนื่ เตน้  และสำ� หรบั ใหห้ นมุ่ สาวท ่ี เพ่งิ รักกนั ใหม่ๆ ใชเ้ ป็นทีพ่ กั ผอ่ นหยอ่ นใจบ้างตามสมควร”

ต อ น  ีท่ ๑ ๖ ๑๖ต อ น ท่ี “ผมและพอ่ ตน่ื เกอื บจะพรอ้ มกนั ในเชา้ วนั หนงึ่  เมอื่ อาบนำ้� เสรจ็ แลว้ ก ็ ออกมายนื รับลมอยู่ทางชอ่ งหนา้ ต่าง ทอดสายตาลงไปยังถนน เช้าวันน้ันมีรถยนต์หลายคันมาจอดริมถนนด้านตรงข้ามกับ  หนา้ บา้ นเรา มรี ถเบน็ ซ ์ ๒ คนั  นอกนน้ั เปน็ รถอน่ื ๆ ประมาณ ๕-๖ คนั   ทกุ คนแตง่ ชดุ สากล อกี ครหู่ นง่ึ มรี ถ BMW สขี าวมาจอดตอ่ ทา้ ยรถเบน็ ซ ์ แตต่ รงนนั้   เปน็ ปา้ ยรถเมล์พอดี  พอ่ ช้ีให้ผมดแู ลว้ พดู วา่ “คนยงิ่ สบาย ยงิ่ เหน็ แกต่ วั  ขาดความเหน็ อกเหน็ ใจ คดิ เอาแต่  ความสะดวกของตัวเป็นที่ตงั้  ไมอ่ ดทน



ต อ น  ีท่ ๑ ๖ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 134 “พอ่ หมายถงึ เจ้าของรถ BMW คันน้ันใชไ่ หมพอ่  ?” “รวมท้ังคนอ่ืนที่อยู่ในลักษณะเดียวกันกับเจ้าของรถคันน้ันด้วย  ท่ียังมีอีกถมเถไม่จอด  ไปจอดตรงป้ายรถเมล์พอดี  ถ้าไม่มีที่จอดก็ยัง  พอเห็นใจกนั ได้บา้ ง หนา้ รถเบน็ ซน์ นั่ กจ็ อดรถไดอ้ ีกสกั  ๒ คนั ” “ท�ำไมพอ่ จึงไปสนใจเร่ืองน ี้ ?” “พ่อไม่ชอบคนเห็นแก่ตัว  คนบางคนยิ่งรวยยิ่งเห็นแก่ตัว  ท�ำ  อะไรตามใจชอบ ไม่นึกถึงความขัดข้องลำ� บากของคนอื่น ใครจะเป็น  อย่างไรก็ช่าง  ฉันสบายก็แล้วกัน  ลูกดูคนน้ันขับรถมาซิ”  พ่อชี้ให้ผม  ดรู ถคนั หนง่ึ บบี แตรดงั ลน่ั  ไมย่ อมจอดใหค้ นขา้ มถนนทท่ี างมา้ ลาย เขา  จะไปของเขาท่าเดยี ว “ยงิ่ คนรวยทำ� ตวั อยา่ งน ี้ กย็ งิ่ เปน็ ทเี่ กลยี ดชงั  เจบ็ แคน้ ของคนจน  มากขึ้นทุกวัน  คนที่สุภาพและขี้เกรงใจคนอ่ืนน้ันมักเป็นคนจน  ดูเด็ก  ในวยั เดียวกันกร็ ู”้ “ทำ� ไมคนมง่ั คง่ั ซง่ึ มโี อกาสดกี วา่ ในการทำ� ความดตี อ่ เพอ่ื นมนษุ ย์  จึงไมอ่ าศัยโอกาสนน้ั ทำ�  ?” ผมถาม “ความลืมตัวซิลูก”  พ่อตอบ  “อาจถือตัวว่าเป็นมนุษย์พิเศษ  คนละชั้นกับคนอ่ืน  ย่ิงมีรถยนต์คันยาวมากเท่าไรก็มักยิ่งแสดงตัว  ผดิ มนุษย์มากขนึ้  ด้วยใจหกึ เหิม หลงตัว เมาตัว” “ความจริงรถยนต์ในเมืองไทยแพงมากนะพ่อ  เราท�ำมาหากิน  อย่างไรจึงมีรถราคาแสนสองแสนได้   รถพวกน้ันผมทราบว่าซ่อม  ทีหนง่ึ เปน็ หมื่น” รถประเภทนนั้ มกั เปน็ ของคน ๓ พวก พวกใดพวกหนง่ึ  คอื รถ  ประจำ� ตำ� แหนง่ ขา้ ราชการชน้ั ผใู้ หญ ่ (ใหญม่ ากๆ) หรอื พอ่ คา้ ใหญ ่ หรอื   มิฉะนั้นก็พวกขี้โกง  โกงรายใหญ่ๆ  ท�ำความล�ำบากยากเข็ญแก่ผู้อื่น  กอบโกยความสุขใส่ตวั ”

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 135 “ดพู ่อจะเปน็  Pessimist (มองในแง่ร้าย) ไป” “เม่อื ก่อน พ่อเป็น Optimist (มองในแงด่ )ี  มากทีเดียว” “อะไรทำ� ให้พอ่ เปลยี่ นไปครับ ?” “เหตุการณ์และสิ่งที่ได้เห็น”  พ่อตอบ  “แต่ถึงกระนั้นพ่อก็ยัง  อยเู่ พยี งกลางๆ ยังไมถ่ งึ  Pessimist ทีเดียว  ควรเรยี ก Rationalist  (เหตผุ ลนยิ ม) มากกวา่  คอื พดู และวจิ ารณไ์ ปตามเหตผุ ล  ทำ� อยา่ งไร  จงึ จะกวาดลา้ งความทุจรติ คดโกงในวงการตา่ งๆ ใหห้ มดไป” “ใครจะท�ำอย่างไรก็ตาม  แต่อย่างน้อยพ่อก็สุจริตอยู่คนหน่ึง  แลว้ ” “ตอ่ ไปเมอื่ ทำ� งานทำ� การ ลกู ตอ้ งสจุ รติ ดว้ ย เพอ่ื ตวั ลกู เอง เพอ่ื   ครอบครวั  สังคมและชาตขิ องเรา จะได้ไมเ่ ปน็ ข้ขี ้าใคร” “อยใู่ นโลกจะใหส้ จุ รติ  ๑๐๐% นะ่  ยากมากนะครบั พอ่  หากผม  ตกอยใู่ นหมคู่ นทจุ รติ  หากผมจะท�ำงานทน่ี น่ั ตอ่ ไป ผมกต็ อ้ งทจุ รติ บา้ ง  อย่างน้อยถ้าพอตกเย็นก่อนเลิกงานเขาเอาเงินมาแจก  ผมก็ต้องเอา  ผมจะไปเปน็ แกะขาวในหมู่แกะด�ำได้อย่างไร” “ถา้ ลกู ไมช่ อบความทจุ รติ คดโกง ลกู ตอ้ งเรม่ิ จากตวั ลกู เองกอ่ น  ตอ้ งปราบตวั เองใหอ้ ยกู่ อ่ น ถา้ ทกุ คนคดิ แตจ่ ะเปน็ คนดคี นสดุ ทา้ ยของ  โลก  โดยเกี่ยงให้คนอื่นดีให้หมดเสียก่อนแล้ว  โลกเราจะขาดแคลน  คนดีเป็นอันมาก    เรามัวคิดกันแต่ว่าเม่ือคนเป็นอันมากทุจริตกันอยู ่ เราจะสจุ รติ ไปทำ� ไม เสยี เปรยี บคนอน่ื  ทำ� ไมเราไมค่ ดิ ในทางตรงขา้ ม  บ้างว่าคนสุจริตก็มีอยู่เหมือนกัน  ท�ำไมเราไม่เป็นคนหนึ่งในบรรดา  คนสจุ รติ ท้ังหลาย” “เมอื่ ผมเรยี นสำ� เรจ็ แลว้ ออกทำ� งาน ผมอยากมรี ถยนตใ์ ชส้ ว่ นตวั   สักคันหนึง่ ” “ลูกก็เก็บหอมรอมรบิ เอาได้”

ต อ น  ีท่ ๑ ๖ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 136 “สกั กป่ี คี รบั พอ่  ? ปรญิ ญาตรเี งนิ เดอื นพนั กวา่ บาท รวม พ.ค.ว.  (เงนิ เพมิ่ คา่ วชิ า) ดว้ ย เกบ็ โดยไมใ่ ชเ้ ลยกต็ อ้ งถงึ  ๖ ป ี จงึ จะซอื้ รถยนต ์ ขนาดพอใชไ้ ดส้ กั คนั หนง่ึ  ถา้ เกบ็ ครง่ึ ใชค้ รง่ึ กต็ อ้ ง ๑๒ ป ี แตใ่ ครจะเกบ็   ไดถ้ งึ ครงึ่  ในเมอื่ เงนิ เดอื นเพยี งพนั กวา่ บาทเลก็ นอ้ ย พอใชเ้ ดอื นกด็ ถี มเถ  แลว้  สว่ นมากไมพ่ อ แลว้ จะเอาเงนิ ทไี่ หนมาซอื้ รถยนตน์ ง่ั  อยนู่ านไปก ็ ตอ้ งมเี มยี มลี กู เพมิ่ มาอกี  ตอ้ งหาเลย้ี งเมยี และลกู  อกี อยา่ งหนงึ่  รถยนต์  ไม่ใช่เติมน�้ำประปาแล้วขับได้  หรือเกิดเสียข้ึนมาแล้วซ่อมทีละ  ๔-๕  บาทเหมือนหลอดไฟฟ้าขาดเสียเมื่อไร  เพราะฉะนั้นคนจึงต้องหาเงิน  พิเศษนอกจากเงินเดือน เงินพิเศษท่หี าได้งา่ ยก็คือ...พอ่ ทราบอยูแ่ ลว้ ” “คอรัปชั่น”  พ่อต่อให้ “ความจรงิ รถยนตม์ นั กไ็ มแ่ พงเทา่ ไร” ผมพดู ตอ่  “แตท่ แี่ พงเพราะ  ภาษถี งึ  ๑๑๐% สมมตวิ า่ ราคารถยนตท์ ส่ี ง่ั มาจากตา่ งประเทศ ๓๐,๐๐๐  บาท เมอื่ มาถงึ เมอื งไทยบวกภาษอี กี  ๓๓,๐๐๐ บาท ยงั มคี า่ อะไรตอ่   อะไรอกี  พอ่ คา้ เอากำ� ไรบา้ งอกี  รถกต็ ก ๗ หมนื่ บาทแพงมาก รฐั บาล  ทา่ นบอกวา่ รถยนตเ์ ปน็ สง่ิ ฟมุ่ เฟอื ย จงึ ตอ้ งเกบ็ ภาษหี นกั  แตท่ บี่ า้ นทา่ น  ผใู้ หญม่ รี ถยนตบ์ า้ นหนง่ึ ตงั้  ๔-๕ คนั  คนั ใหญๆ่  ทงั้ นน้ั  แถมคา่ น้�ำมนั   หลวง คนขบั หลวง ใชก้ นั ทงั้ ลกู ทงั้ เมยี  รถตำ� แหนง่  รถหลวงสว่ นกลาง  เรียกใช้ได้ทุกคัน  ไปส่งลูกเรียนหนังสือ  ส่งเมียดูหนัง  เล่นม้า  เสาร์-  อาทติ ยพ์ าเทย่ี วเมอื งชายทะเล รถหลวงนำ�้ มนั หลวง กค็ อื รถและนำ้� มนั   ของพอ่ ผมน่ีเอง เพราะเอาเงินภาษอี ากรไปซือ้  พูดแลว้ เจ็บใจนะพอ่ ” “คณุ ประยรู  จรรยาวงษ ์ แบกปา้ ยอยใู่ นสยามรฐั สปั ดาหว์ จิ ารณ ์ จนลน้ิ หอ้ ยมา ๓ ปแี ลว้  วา่  ‘การใชร้ ถหลวงปา้ ยด�ำเปน็ การฉอ้ ราษฎร์  บงั หลวง เจา้ ขา้ ’ ทำ� นองนแ้ี หละ เขาเปลยี่ นคำ� ของเขาไปเรอ่ื ยแตค่ วาม  หมายท�ำนองนี้แหละ  พ่อดูฉบับล่าสุดน้ีซิครับ  คุณประยูรฯ  ยกป้าย ว่า  ‘รถราชการป้ายด�ำคือหนามต�ำอกคนไทย’  แต่ไม่เห็นมีใครสะดุ้ง 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 137 สะเทือนอะไร   ราชการไม่เคยสนใจกับป้ายของคุณประยูรเลย  ผมด ู ทุกสัปดาห์ สงสารแกจบั อกจบั ใจ” “อยา่ ไปต�ำหนริ ฐั บาลทา่ นเลยลกู ” พอ่ พดู เสยี งเบา “ทา่ นอาจม ี เหตุผลอะไรของท่านสักอย่างหนึ่ง  จึงไม่ยอมเปล่ียนป้ายรถประจำ�   ต�ำแหนง่ หรอื รถราชการ” “เหตผุ ล! เหตผุ ล!” ผมระเบดิ เสยี งลน่ั ออกมาพรอ้ มกบั หวั เราะ  แต่เสียงหัวเราะของผม  ใครฟังก็รู้ว่ามันเป็นเสียงของความคั่งแค้น  มากกวา่ ความเบิกบานใจ คุณแม่และนอ้ งวรี ดวี ิ่งออกมาจากในห้อง “อะไรกตัญญู ?”  แม่ถาม  “แม่ไม่เคยได้ยินเสียงลูกหัวเราะ  อยา่ งน”้ี น้องวีรดีก็มาจับแขนข้างหนึ่งของผม  ถามเหมือนกัน  แต่ผม  และพ่อได้ยืนเหม่อมองออกไปข้างนอก  น่ิง,  สงบ  ไม่เคล่ือนไหวเลย  จนแม่และน้องวีรดีถอยห่างออกไป ครหู่ นึง่ ผ่านไป พอ่ จึงเอย่ ข้ึนวา่ “ขงจ๊ือกล่าวว่า  คนท่ีมีความรู้  แต่ไม่รู้จักใช้ความคิดนั้น  ไม ่ สามารถท�ำอะไรให้ส�ำเร็จได้  ส่วนผู้มีความคิดแต่ไม่มีความรู้นั้นเป็น  อันตรายมาก”   พ่อขอต่อค�ำขงจ๊ือสักประโยคหนึ่งว่า  “คนที่มีอ�ำนาจ  แตข่ าดสตปิ ัญญานน้ั มแี ตจ่ ะพาชาติไปสู่ความลม่ จม” “ผมไมเ่ ขา้ ใจครบั พอ่ ” “หมายความวา่ ” พอ่ อธบิ าย “คนบางคนเปน็ นกั ร ู้ ถอื แตท่ ฤษฎี  เปน็ สำ� คญั เกนิ ไป โดยไมพ่ จิ ารณาถงึ สภาพแวดลอ้ มและความเหมาะสม  ทางกาลเทศะ  ส่วนคนบางพวกชอบคิดเอาเอง  คิดแก้ปัญหาเฉพาะ  หน้า  เช่ือในความฉลาดของตัวโดยไม่ต้องอาศัยหลักวิชาหรือทฤษฎ ี อย่างหนงึ่ อยา่ งใด และดหู มิน่ นกั วิชาการวา่ มีแต่ทฤษฎี

ต อ น  ีท่ ๑ ๖ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 138 “คนพวกแรกจะไมส่ ามารถประสบผลสำ� เรจ็ ได ้ สว่ นคนพวกหลงั   เป็นอนั ตรายท้ังแก่คนและบ้านเมือง “นกั ปกครองจะตอ้ งเปน็ คนมที ง้ั ความรดู้ แี ละความคดิ ด ี ประสม  ประสานกัน จึงจะพาบ้านเมอื งไปสู่ความมัน่ คงสมบูรณไ์ ด”้ “ผมจนใจจรงิ ๆ ครบั  พอ่  ผมเปน็ คนคดิ มาก แตค่ ดิ แลว้ กต็ อบ  ไมไ่ ดว้ า่  ทำ� อยา่ งไรประเทศบา้ นเมอื งและประชาชน จงึ จะมคี วามเจรญิ   ผาสุกอยา่ งแท้จรงิ ” “ต้องมีรฐั บาลทด่ี จี รงิ ติดต่อกันไปสักร้อยป”ี  พ่อตอบ “รอ้ ยปีเชียวหรือครบั พอ่  ?” “อย่างน้อยต้องร้อยปี”  พ่อยืนยัน  “และต้องมีติดต่อกันด้วย  จะดีบ้างไม่ดีบ้างไม่ได้  เพราะงานสร้างสังคมสร้างจิตใจคนน้ันต้อง  อาศัยการท�ำต่อเนื่องกัน รับช่วงกันไปเป็นทอดๆ  ต้องให้การอบรม  ในท�ำนองเดียวกัน  สิ่งนั้นจึงจะเข้าสู่สายเลือดอย่างเหนียวแน่นมั่นคง  ลกู ลองนกึ เทยี บสถาบนั กษตั รยิ ใ์ นเมอื งเรา มนั่ คง ประชาชนจงรกั ภกั ด ี อย่างไม่เส่ือมคลาย  ไม่ต้องพูดถึงในชนบทห่างไกล  แม้ในพระนคร  นเี่ อง ประชาชนกไ็ มอ่ ม่ิ ไมเ่ บอื่ ในการทจี่ ะเฝา้ ชมพระบารมขี องพระบาท  สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ พระบรมราชนิ นี าถ เพราะ  เหตใุ ด ? เพราะพระมหากษัตรยิ แ์ ห่งราชวงศจ์ ักรที กุ พระองค์ล้วนทรง  เป็นพระมหากษตั รยิ ์ทด่ี ที ัง้ นั้น ตดิ ต่อกันมาถึง ๑๘๘ ปีแลว้ “ถา้ เราไดร้ ฐั บาลทดี่ จี รงิ สกั  ๑๐๐ ป ี เมอื งไทยจะตอ้ งเปน็ เมอื ง  สวรรคอ์ ยา่ งแนน่ อน ประชาชนคนไทยนนั้ หวั ออ่ น พรอ้ มทจี่ ะด�ำเนนิ ตาม  ผ้นู �ำคอื รฐั บาล  ขอแตใ่ หร้ ัฐบาลเปน็ รัฐบาลที่ดีเท่ากัน” “อย่างไรเรียกวา่ รัฐบาลทีด่ ี ?” “คือรัฐบาลที่มีความซ่ือสัตย์สุจริต  ประชาชนเช่ือสนิทในความ  ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ  มคี วามเทย่ี งธรรม ไมเ่ อาแตใ่ จตวั  ถอื เหตผุ ลมากกวา่ ทฏิ ฐิ 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 139 ผิดๆ และเหน็ แกส่ ว่ นรวม “ถ้าเราได้รัฐบาลดีร้อยปีจริง  ต่อจากน้ันทุกสิ่งทุกอย่างก็เรียบ  ร้อย  ศีลธรรมของพลเมืองจะดี  ความเป็นอยู่ของพลเมืองจะผาสุก  ร่มรนื่ ” “เร่ืองรัฐบาลดีร้อยปีน้ี  เป็นความคิดความเข้าใจของพ่อ  หรือ  มีต�ำราอยา่ งไร ?” “เปน็ คำ� พูดของขงจื๊อนะ่ ลูก” พ่อตอบ พอ่ กลา่ วต่อไปว่า “ขอจื๊อ  นักปราชญ์จีนน้ันไม่เพียงแต่จะพูดเป็นอย่างเดียว  แต่  เป็นผู้ปฏิบัติได้ด้วย เมื่อขงจื๊อดำ� รงต�ำแหน่งเป็นเจ้าเมืองชุงตูนั้น เขา  พยายามทำ� ทกุ อยา่ งทผี่ ปู้ กครองทดี่ จี ะพงึ ทำ�  และกไ็ ดผ้ ลทำ� ใหบ้ า้ นเมอื ง  เรยี บรอ้ ย คนรกั  นยิ มมาก จนเจา้ นครล ู้ (เมอื งชงุ ตอู ยใู่ นแควน้ ล)ู้  เหน็   คุณความดี  เลื่อนต�ำแหน่งข้ึนสู่ต�ำแหน่งเสนาบดีกระทรวงอาชญา  เขาทำ� งานไดผ้ ลดมี าก โจรผรู้ า้ ยราบคาบ ศลี ธรรมของพลเมอื งดยี งิ่ ขนึ้   จนเขาไดเ้ ลอ่ื นขนึ้ เปน็ อคั รมหาเสนาบดแี หง่ แควน้ ล ู้ เขาย้�ำแตเ่ รอื่ งความ  สุจรติ เที่ยงธรรม ความบรสิ ุทธ์ิออ่ นหวาน ไมใ่ ช่สอนคนอ่ืนอย่างเดียว  ตัวเขาเองก็ท�ำก่อนด้วย  ท�ำให้ดูเป็นตัวอย่าง  จนถึงกับถือเอาทีเดียว  วา่  ชีวิตคือความซื่อสัตย์ คนทีไ่ ม่ซ่อื สัตว์ถึงมีชวี ติ อยู่กเ็ หมอื นตายแลว้ “เกี่ยวกับเร่ืองเกียรตินั้น  ขงจื๊อกล่าวว่า  คนมีเกียรตินั้นคือคน  ท่ีไม่ยอมให้ตัวเป็นเครื่องมือของใคร  มีชีวิตอยู่โดยไม่ต้องพึ่งพาอาศัย ใคร  เป็นคนเช่ือถือได้ทุกสถาน  ทุ่มเทความพากเพียรลงในการศึกษา  หาความรแู้ ละยดึ มน่ั ในความดจี นกระทง่ั ดบั จติ  ผมู้ เี กยี รต ิ เมอื่ ตอ้ งการ  อะไร  เขาจะต้องเอาจากตัวของเขาเอง   ส่วนผู้ที่ไม่มีเกียรติต้องการ  อะไรขนึ้ มา กพ็ ยายามเอาจากคนอนื่ “ขงจ๊ือพอใจในการเป็นคนของประชาชน  ไม่ใช่เอาประชาชน 

ต อ น  ีท่ ๑ ๖ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 140 เป็นเคร่ืองมือแสวงหาความยิ่งใหญ่  หรือเป็นบันไดพาดข้ึนสู่อ�ำนาจ  ราชศักด์ิ  เขาย้�ำเสมอว่า  ‘การนั่งในหัวใจคน‘  นั้นเป็นความสุขสบาย  ที่สดุ สำ� หรบั เขา ‘การนั่งบนหัวคน‘ นน้ั  เป็นสิ่งทข่ี งจือ๊ ไม่ปรารถนา “ขงจ๊ือเกิดเมื่อ  ๘  ปีก่อน  พ.ศ  หมายความว่าเขาเกิดหลัง  พระพทุ ธเจา้  ๗๒ หรอื  ๗๓ ป ี (พระพทุ ธเจา้ นพิ พานแลว้  ๑ ปเี ตม็  จงึ   นบั เปน็  พ.ศ ๑) และสนิ้ ชพี เมอื่  พ.ศ ๖๔ มอี ายยุ นื ถงึ  ๗๒ ป ี แตผ่ เู้ ปน็   ปราชญ์ท้ังสองมีความเห็นในการปกครองบ้านเมืองท�ำนองเดียวกัน  พระพุทธเจ้าทรงย้�ำอยู่เสมอว่า  ถ้าผู้ครองรัฐเป็นคนดีมีศีลธรรม  ประชาชนก็จะอยู่เย็นเป็นสุข  ไม่อยู่ร้อนนอนทุกข์   ทรงสอนคนไว้  ทกุ ประเภท ดไู ดจ้ ากทศิ  ๖ คอื หนา้ ทข่ี องคน ๑๒ จำ� พวก หรอื  ๖ คทู่  ี่ พงึ ปฏบิ ัตติ ่อกนั “ขงจอ๊ื ไดว้ างหลกั ส�ำหรบั ผปู้ กครองไวว้ า่  ‘ถา้ อยากใหค้ นเคารพ  นับถือ  ต้องมีเมตตาจิตต่อเขาอย่างแท้จริง  ถ้าอยากให้คนจงรักภักด ี ต้องซ่ือตรงต่อหน้าที่ของเรา  ถ้าอยากให้คนอื่นมีก�ำลังใจช่วยเหลือ  เราต้องประพฤติตัวเป็นคนดีท่ีสุด   ค�ำสอนของขงจื๊อเป็นค�ำสอนท ่ี เขา้ ใจงา่ ย และทำ� ตามไดไ้ มย่ ากสำ� หรบั ผทู้ เี่ ตม็ ใจและตง้ั ใจปฏบิ ตั ติ าม”  พอ่ กล่าวในทสี่ ุด

๑๗ต อ น ที่ เก่ียวกับพิธีกรรมทางศาสนานั้น  พ่อผมมักสอนผมด้วยวิชาการเท่าที่  ปรากฏในต�ำราอยา่ งหนงึ่  และพาผมไปดพู ธิ นี นั้ จรงิ ๆ อยา่ งหนง่ึ  รวม  ความว่าให้ได้ทราบในภาคทฤษฎีก่อน  แล้วพาไปดูการปฏิบัติจริงอีก  ต่อหนงึ่  ทง้ั นี้เพ่ือให้ผมได้ทั้งรแู้ ละเห็น เมอื่ ผมเปน็ นกั ศกึ ษาปสี ดุ ทา้ ย ผมอาย ุ ๒๑ ป ี เพอ่ื นทเ่ี คยเรยี น  ม.๖ มาดว้ ยกนั คนหนง่ึ  บวชในพรรษา และตง้ั ใจจะสกึ เมอื่ ออกพรรษา  แล้ว ปนี นั้ พ่อพาผมไปดูพิธีกรรมการเขา้ พรรษาและออกพรรษาของ  พระ

ต อ น  ีท่ ๑ ๗ พธิ กี รรมของพระมกั เรมิ่ ตน้ ดว้ ยการสวดมนตเ์ สมอ และกจ็ บลง  ด้วยการสวดมนตเ์ ช่นกัน วนั เขา้ พรรษานน้ั พระเจา้ จะตอ้ งขอขมาซง่ึ กนั และกนั เปน็ ทำ� นอง  ที่ว่าเคยล่วงเกินกันมาด้วยกาย  วาจา  ใจ  อย่างใดอย่างหนึ่ง  ก็ขอให ้ ให้อภัยกัน   ผู้น้อยจะขอผู้ใหญ่ก่อน  ผู้ใหญ่บอกให้อภัย  แล้วก็ขอให ้ ผ้นู อ้ ยใหอ้ ภัยตนด้วย ถา้ หากมีกรรมที่เคยล่วงเกิน ผู้ท่ีพรรษามากอยู่ต้นแถวก็ไม่สู้กระไรนัก  ส่วนผู้พรรษาน้อย  เพงิ่ บวชในพรรษานนั้  หรอื สามเณรกต็ อ้ งเทยี่ วคลานขอขมาผอู้ นื่ ทกุ รปู   ไป  เหน็ดเหนอ่ื ยไมน่ ้อย

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 143 วิธีท�ำก็คือ  จะขอขมาพระรูปใด  ก็เอาพานดอกไม้คลานเข้าไป  หาพระรปู นัน้   กราบลงสามครง้ั  แล้วกลา่ วว่า “อายสมฺ นเฺ ต ปมาเทน ทวฺ ารตเฺ ยน กตํ สพพฺ ํ อปราธํ ขมต ุ เม ภนฺเต  แปลว่า  ความผิดพลาดท้ังปวงท่ีข้าพเจ้าได้เคยกระท�ำต่อท่าน  ดว้ ยทวารทง้ั  ๓ (กาย วาจา ใจ) โดยความประมาท  ขอทา่ นไดโ้ ปรด  ให้อภยั แก่ข้าพเจา้ ด้วย” พระผู้รับขมากล่าวว่า  อหํ  ขมามิ  ตฺยาปิ  เม  ขมิตพฺพํ  แปลว่า  ขา้ พเจ้าให้อภยั แก่ทา่ น ขอทา่ นไดใ้ ห้อภยั แก่ขา้ พเจา้ ดว้ ย” รูปที่ขอขมาจะกล่าวอีกว่า  ขมามิ ภนฺเต แปลว่า ข้าพเจ้าให้  อภัยท่าน แลว้ กราบลงอกี  ๓ ครงั้  คอ่ ยถอยออกมา เปน็ เสรจ็ ไปรปู หนง่ึ สมมตวิ า่ ในวดั นนั้ มพี ระและเณรอย ู่ ๑๐๐ รปู  สามเณรทพ่ี รรษา  น้อยท่ีสดุ จะต้องทำ� อย่างน้ถี งึ  ๙๙ ครง้ั ตามล�ำดับลงมา เพอื่ ยน่ เวลาบา้ ง ทา่ นมกั จะรวมกลมุ่ กนั เปน็ กลมุ่ ละ ๕ บา้ ง ๑๐  บ้างไปรวมขอขมา  เช่น  ขอขมาเจ้าอาวาสเสร็จแล้ว  รวมกันขอขมา  รองเจา้ อาวาส และลงมาตามล�ำดบั พระพุทธประสงค์ในเรื่องน้ี  น่าจะต้องการให้พระท่ีมาอยู่รวม  กันในวัดเดียวกัน  หมดความกินแหนงแคลงใจซ่ึงกันและกัน  เคย  ประพฤติล่วงเกินกันมาบ้างเพราะประมาทพลาดพลั้งก็ได้ขอขมาแล้ว  ยกโทษให้กันแล้ว   เป็นวิธีการท่ีดีมาก ต่อไปก็จะมีแต่ความสามัคค ี เป็นเบื้องหนา้  มองกันด้วยสายตาท่ีแสดงไมตรีจิต ท้ังหมดนผี้ มจำ� จากท่พี ่ออธิบายใหฟ้ งั แต่เท่าที่ผมสังเกตเห็นรู้สึกว่า พอท่านทำ� ไปนานๆ เข้า เหน็ด  เหน่ือยมากขึ้น  รูปหลังๆ  จะปวดเข่าเพราะคลานอยู่ตลอด  อาการ  ของท่านกระวนกระวาย  ต่อจากนั้นก็ท�ำเพียงสักแต่ว่าท�ำให้สิ้นเรื่อง 

ต อ น  ีท่ ๑ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 144 ส้ินราวไป มิได้มีจิตใจอ่อนโยนเย่ียงผู้ขอขมา  รับขมาด้วยความรู้สึก จากจิตใจจรงิ ๆ ผมถามพ่อในเรื่องนี้ว่าจะมีวิธีการอย่างใดหรือไม่ท่ีจะให้พระ  ท�ำไดต้ รงตามพระพุทธประสงค์ในการขอขมารบั ขมาน้ี พอ่ ผมไม่ตอบ ผมจงึ แสดงความเหน็ วา่  ไมน่ า่ ทำ� กนั พรำ�่ เพรอื่  หรอื โดยขอขมา  ไปทั้งท่ีเคยล่วงเกินและไม่เคยล่วงเกิน  ทางท่ีดีควรให้ทุกรูประลึก  ส�ำรวจว่าตนได้เคยล่วงเกินท่านผู้ใดบ้าง  แล้วขอขมาเฉพาะรูปน้ัน  อย่างนี้อาจท�ำท่ีกุฏิก็ได้จะได้มีเวลาคุยกัน   หากเคยมีเรื่องกันมาจริง  ก็จะได้ปรับความเข้าใจกันได้จริงๆ  ไม่เพียงแต่สักว่าท�ำตามพิธีการ  แลว้ ยงั โกรธยงั ตงึ กนั อยอู่ ยา่ งเดมิ   อยา่ งนไี้ มส่ ำ� เรจ็ ประโยชนต์ ามพทุ ธ  ประสงค์ พธิ กี ารทม่ี อี ายเุ ปน็ พนั ๆ ปนี น้ั  นา่ จะไดร้ บั การพจิ ารณาปรบั ปรงุ   แกไ้ ขไดบ้ า้ งตามควรแกก่ าลเทศะและความเหมาะสมแกส่ ภาพแวดลอ้ ม  ที่ส�ำคัญคือเพื่อเข้าให้ถึงจุดประสงค์อันแท้จริงของพิธีการนั้นๆ ดีกว่า  ท�ำไปอยา่ งเถรสอ่ งบาตร พ่อผมน่ิง ในวันออกพรรษา  เป็นวันที่ทางศาสนาพุทธเรียกว่า  วันมหา ปวารณา พ่อได้พาผมไปดพู ธิ กี ารปวารณาของพระอกี พ่ออธิบายว่า  ปวารณาน้ันหมายถึงเปิดโอกาสให้ตักเตือนว่า  กลา่ วกนั ได ้ เพราะไดเ้ หน็  ไดฟ้ งั  หรอื รงั เกยี จสงสยั ในการกระทำ� อยา่ ง  ใดอย่างหนึง่ ของพระดว้ ยกนั  อนั สอ่ ไปในทางเสือ่ มเสีย มขี อ้ ความว่า สงฺฆมฺภนฺเต  ปวาเรมิ  ทิฏฺเน  วา  สุเตน  วา  ปริสงฺกาย  วา วทนฺตุ  มํ  อายสฺมนฺโต  อนุกมฺปํ  อุปาทาย  ปสฺสนฺโต  ปฏิกริสฺสามิ แปลว่า  ข้าพเจ้าขอปวารณาต่อสงฆ์  หากท่านทั้งหลายได้เห็น  หรือ 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 145 ไดย้ นิ ไดฟ้ งั หรอื รงั เกยี จสงสยั  (ในกายกรรมเปน็ ตน้ ของขา้ พเจา้ ) ขอจง  วา่ กลา่ วขา้ พเจา้  เพอ่ื อนเุ คราะหแ์ กข่ า้ พเจา้  ขา้ พเจา้ เหน็ อย ู่ จกั ทำ� คนื (หมายความวา่  งดเว้นการกระทำ� อยา่ งนัน้ ) วา่ อย่างน้ ี ๓ คร้ัง ทุกรูปไป พธิ กี รรม เมอื่ พระในวดั พรอ้ มแลว้  สวดมนตเ์ บอื้ งตน้ เสรจ็ แลว้   พระก็ลุกขึ้นนั่งกระโหย่งประนมมือ  วิธีน่ังกระโหย่งคือคุกเข่าลงจรด  พนื้   นว้ิ เทา้ ทง้ั สบิ  ยนั พนื้ และรบั นำ้� หนกั ตวั  (คนทม่ี นี ำ�้ หนกั มากเพราะ  อว้ นจะเหนด็ เหนอื่ ยมากเปน็ พเิ ศษในวนั น)้ี  เรม่ิ ปวารณาตง้ั แตเ่ จา้ อาวาส  ซึ่งมอี าวุโสสูงสดุ  ลงไปจนถงึ พระรปู สดุ ทา้ ย พิธสี ามเณรไม่ตอ้ งทำ� ผมสังเกตดู  ท่านกระวนกระวายมากกว่าวันเข้าพรรษาเสียอีก  เพราะตอ้ งนง่ั อยทู่ า่ เดยี วนต้ี ลอด ยงิ่ นานเขา้ อาการปวดทนี่ ว้ิ เทา้ กร็ นุ แรง  ขน้ึ  ทำ� ใหห้ งดุ หงดิ  โกรธงา่ ย และพอไปปลายแถว พระพรรษานอ้ ยบา้ ง  เพิ่งบวชใหม่บ้างว่าไม่ค่อยถูกเพราะประหม่าบ้าง  กระวนกระวายบ้าง  ตกใจเพราะถูกดุบ้าง    ดูเป็นเรื่องชุลมุนมากกว่าเรียบร้อยอันเป็นเหต ุ ก่อความเลอ่ื มใส  ดูท่านปวารณาให้เสรจ็ ไปโดยเรว็ ทสี่ ุด กลับมาถึงบ้านผมลองน่ังดูเพียง  ๑๐  นาที  แทบแย่ทนไม่ไหว  อีกตอ่ ไป เข่าส่ัน ตวั ส่นั ผมถามพอ่ วา่  ทำ� ไมพระทา่ นจงึ ไมเ่ ปลยี่ นแปลงพธิ กี ารใหท้ รมาน  น้อยกว่านี้  น่ังคุกเข่าประนมมืออยู่ตั้ง  ๑๐-๔๐  นาที  (สุดแล้วแต่ว่า  พระน้อยหรือมาก) ไม่ใช่เร่ืองสบาย สมมตวิ า่ พระ ๖๐ รปู  คดิ เฉลย่ี   รูปละนาทีก็ต้องใช้เวลาถึง  ๖๐  นาที  เท่ากับ  ๑  ชั่วโมงพอดี  ผม  ทราบว่าพระวัยชราบางรูปเป็นลมก็มี   เม่ือทรมานอย่างน้ี  กุศลจิตใน  การประกอบพิธีกรรมจะมไี ด้อย่างไร พ่อผมนิ่ง ผมจึงแสดงความคดิ เห็นต่อไปวา่

ต อ น  ีท่ ๑ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 146 “นา่ จะนงั่ คกุ เขา่ ประนมมอื เฉพาะรปู ทป่ี วารณาเทา่ นนั้  นอกนน้ั   นั่งพับเพียบประนมมือก็พอ  พอถึงวาระท่ีตนจะปวารณาจึงค่อยลุกขึ้น  นง่ั กระโหยง่ ประนมมอื  ดเู ดน่ ดดี ว้ ยซำ�้ ไป เรอ่ื งอยา่ งนนี้ า่ จะเปลย่ี นแปลง  ได้บา้ งตามสมควร พ่อไมอ่ อกความเห็นอะไรบ้างหรือ ?” “โบราณทา่ นวา่ ” พอ่ ผมพดู  “ไมม่ ผี า้ เหลอื ง อยา่ เจรจาความวดั   ไม่มสี ัญญาบตั ร อยา่ เจรจาความเมอื ง” “ไมม่ ากเกนิ ไปหรอื ครบั พอ่  ?” ผมถาม “สภุ าษติ อยา่ งนน้ี า่ จะรนุ่   เดียวกับ  ‘ไม่เป็นสมภารอย่าริอ่านวินัย  ยังไม่เป็นใหญ่อย่าริสอนคน’  น่าจะพน้ สมัยแล้ว” “ลกู รไู้ หมวา่  ทำ� ไมเมอ่ื ยงั ไมเ่ ปน็ สมภารทา่ นจงึ หา้ มอา่ นวนิ ยั  ?”  พอ่ ถาม “ทราบครับ,  ก็พ่อเคยพูดให้ผมฟังเองว่า  สมัยก่อนน้ีสมภาร  หวงหนังสือวินัย  ได้มาเล่มหน่ึงก็ไม่ยอมให้ใครอ่าน  เพราะกลัวพระ  ลกู วดั จะรเู้ ทา่ ตวั  เมอื่ ตวั ไปทำ� ผดิ พลาดขน้ึ  ลกู วดั จะรวู้ า่ สมภารผดิ วนิ ยั   อีกประการหนึ่งถ้าพระลูกวัดอ่านรู้เสียแล้ว  สมภารก็ไม่มีอะไรสอน  หมดความนา่ ทง่ึ   ท�ำนองการหวงวชิ าของคนสมัยโบราณ” “หนังสืออาจหายากในสมัยน้ัน  เมื่อวัดหนึ่งมีเพียงเล่มเดียว  ถ้าเป็นอย่างนี้ก็ควรที่สมภารจะหวง  หากให้ใครต่อใครยืม  ถ้าหายไป  สมภารกไ็ มม่ คี มู่ อื  จงึ ไวท้ สี่ มภารองคเ์ ดยี ว ใครอยากรกู้ ม็ าถามสมภาร  มาตอนหลังหนงั สือมากขึ้น ท่านกไ็ มห่ วง ยงั ส่งเสรมิ ใหอ้ า่ นเสียอกี ” “ผมยังไม่เช่ือเหตุผลของพ่อ”  ผมว่า  “พ่ออาจหาทางออกให้  สมภารใจแคบก็ได้  เรื่องหาทางออกให้คน  ผมยอมแพ้พ่อ  แต่ผมจะ  เชื่อไม่เชื่อนั่นอีกเร่ืองหน่ึง  และในประโยคที่สองว่า  ยังไม่เป็นใหญ่  อยา่ รสิ อนคนกเ็ หมอื นกนั  เปน็ เรอื่ งทผ่ี ใู้ หญก่ ลา่ วไวเ้ พอื่ ผกู ขาดการสอน  ไวเ้ ฉพาะตวั  เพอ่ื ผนู้ อ้ ยจะไมไ่ ดส้ อนตวั เมอื่ ทำ� ผดิ  อกี อยา่ งหนงึ่ ทว่ี า่  ยงั  

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 147 ไม่เป็นใหญ่อย่าริสอนใครนั้น  ผมสงสัยว่าแค่ไหนจึงเรียกว่าเป็นใหญ ่ ขนาดพ่อน้ ี เรียกวา่ เปน็ ใหญห่ รอื ยัง ?” “พ่อก็เป็นใหญ่แต่ในครอบครัวของเรา  พ่อสอนได้แต่คนใน  ครอบครัว  คนอื่นพ่อไม่กล้าสอน  กลัวเขาหมั่นไส้เอา  ลูกเอ๊ย  มนุษย ์ เราน้ันโดยปกติไม่อยากให้ใครสอนหรอก  เขาอาจเห็นเป็นเร่ืองเสีย  เกียรติ เสียศักดิ์ศร ี อะไรกไ็ มร่ ูแ้ หละ “เก่ียวกับเรื่องน้ีมีค�ำที่พ่อไม่ชอบอยู่ค�ำหน่ึงซึ่งชาวบ้านชอบ  ใชค้ อื คำ� วา่  ‘ถกู เทศน‘์  เชน่ พอ่ แมเ่ รยี กไปด ุ หรอื ผใู้ หญเ่ รยี กไปสง่ั สอน  ในเม่อื ตนทำ� ผดิ  ก็กลบั มาบอกเพ่อื นวา่  ‘วันนีถ้ ูกหัวหน้ากองเทศน์เสยี   กัณฑ์ยาว’ หรือ ‘วันน้ีคุณแม่เทศน์ผมเสียยกใหญ่’   ความหมายไป  ในทำ� นองถูกดุดา่ ว่ากล่าวทง้ั สิน้ คำ� วา่  เทศน ์ นน้ั  ทา่ นใชส้ ำ� หรบั  พระแสดงธรรมของพระสมั มา  สมั พทุ ธเจา้  ฆราวาสทปี่ าฐกถาธรรม ทา่ นยงั ไมใ่ ชค้ ำ� วา่ เทศน ์ ชาวบา้ น บางคนทไี่ มเ่ ขา้ ใจ แตเ่ ขา้ ใจวา่  ตวั เกง่ และเขา้ ใจ มกั ใชค้ �ำนเ้ี สมอ ค�ำ  เทศน ์ จงึ มคี วามทางเสยี ไป (โดยปรยิ ายหนงึ่ ) ยงั มอี กี คำ� หนงึ่  คอื คำ�   วา่  ‘แกว่ ดั ’ ซง่ึ ชาวบา้ นบางคนนำ� มาใชก้ บั เดก็ ทเ่ี กเร รหู้ ลบเลยี่ งไมท่ ำ�   สง่ิ ทค่ี วรทำ�  คำ� วา่ แกว่ ดั  จงึ เสยี ไปอกี คำ� หนงึ่ อยา่ งนา่ เสยี ดาย  พอ่ รบั วา่   ไดย้ นิ คำ� เหลา่ นท้ี ไี รแลว้ ไมส่ บายใจทนี น้ั  วดั นน้ั เปน็ ปชู นยี สถานของชาว  พุทธ  พระสงฆ์ท่ีบวชนานแก่วัดเป็นเถระก็เป็นที่เคารพสักการะของ  มวลพุทธศาสนกิ  ไฉนจึงเอาค�ำ ‘แก่วัด’ มาเรยี กคนเกเร ฝืนระเบียบ  วนิ ยั   จะวา่ พระบวชนาน รหู้ ลบเลยี่ งวนิ ยั เกง่  กเ็ ปน็ การดหู มน่ิ พระสงฆ ์ ที่ท่านบวชนานและเคร่งอยู่ในศีลาจารวัตร  ทางที่ควรคือเลิกใช้เสีย  ดกี วา่  มีคำ� อื่นให้ใช้มากมายอยูแ่ ลว้ ”



๑๘ต อ น ท่ี พอ่ พดู กบั ผมเสมอวา่  เรยี นรอู้ ะไรตอ้ งใหร้ จู้ รงิ อยา่ งนอ้ ยสกั อยา่ งหนงึ่   ให้เป็นความรู้หลักเอาไว้  นอกน้ันให้รู้ไว้บ้างเพ่ือเป็นความรู้ประกอบ  เหมอื นเครอื่ งทองเครอ่ื งเพชรเปน็ สง่ิ ประกอบเครอ่ื งแตง่ กายคอื เสอื้ ผา้ พอ่ อา้ งวาทะของสวาม ี สตั ยานนั ทบรุ  ี วา่  “ผมู้ คี วามรจู้ รงิ  ไมน่ า่   กลวั  เพราะมคี วามเขา้ ใจถกู ตอ้ ง (ลกึ ซงึ้ ตามความเปน็ จรงิ ) ผไู้ มม่ คี วามร ู้ กไ็ มน่ า่ กลวั เหมอื นกนั  เพราะไมร่ อู้ ะไรเลย สว่ นผทู้ ร่ี คู้ รงึ่ ๆ กลางๆ คอื   ฉลาดแกมโงน่ นั่ แหละ เปน็ ผทู้ น่ี า่ กลวั ทสี่ ดุ  เพราะไมเ่ ขา้ ใจกไ็ มใ่ ช ่ เขา้ ใจ  ถกู กไ็ มเ่ ชงิ   มแี ตเ่ ขา้ ใจถกู ๆ ผดิ ๆ เหมอื นอยา่ งวา่  เมอื่ มคี วามสวา่ งก็  ไมเ่ หน็ ผ ี มคี วามมดื ถงึ กลวั กไ็ มเ่ หน็ ผ ี แตท่ ไี่ หนความสวา่ งกบั ความมดื   ปนกัน ทนี่ นั้ แหละ เราสร้างตวั ผีข้ึนหลอกตวั เราเองบอ่ ยๆ”๑ ๑ จากหนงั สอื  ปมดอ้ ย หน้า ๘๔ โดยสวาม ี สัตยานันทบรุ ี