Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ่อผมเป็นมหา

Description: พ่อผมเป็นมหา

Search

Read the Text Version

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 401 พอ่ หัวเราะ “เขารูก้ ันมานานแลว้  เขาด่ากนั มาเหลอื หลายแลว้  แตร่ าชการ  ไทยก็คงเป็นราชการไทยอยู่น่ันเอง”  พ่อว่า  “คนหนุ่มมีพลังมากอยาก  ท�ำงานให้ก้าวหน้ารวดเร็ว  ท้อถอยตามๆ  กันไปหมด  อยากริเร่ิมท�ำ  อะไรใหม่ก็ท�ำไม่ได้  ขัดน่ันติดนี่  ในที่สุดทนไม่ไหว  ถ้าพอมีทางอื่นก ็ ผละออกไป  ถ้ายังไม่มีทางก็ทนทู่ซ้ีเร่ือยไปก่อน  หัวหน้างานส่วนมาก  ไมร่ บั ความคดิ เหน็ ของผนู้ อ้ ยทมี่ ปี ระสบการณใ์ นหนา้ ทข่ี องตนมากกวา่   หัวหน้างาน  หัวหน้ามันงุ่มง่าม  มะงุมมะงาหราอยู่กับทฤษฎีที่มีอยู่ใน ต�ำรา  งานราชการบางอย่างเคยท�ำกันมาอย่างไรก็ท�ำกันไปอย่างน้ัน  ๒๐-๓๐ ปไี ม่มเี ปลี่ยนแปลงให้ดีขน้ึ หรือให้เหมาะสมรวดเร็วข้ึน” “เอาพลังคนไปทุ่มเสียในราชการมากมาย”  น้าประสิทธิ์ว่า  “แรงงานตอ้ งสญู เปลา่  สญู ไปกบั เวลาทล่ี ว่ งไปโดยทรี่ าชการ ไมไ่ ดท้ ำ�   อะไรให้มีคุณค่าสมกบั เงินท่เี สียไป เวลาทีล่ ่วงไป” “นา้ ว่าเกดิ จากอะไรครบั  ?” ผมถาม “เกดิ จากคนล้นงาน ประการหนง่ึ  อีกประการหน่งึ  การจดั คน  ให้ท�ำงานไม่ถูกตามความถนัด  ท�ำให้คุณค่าของเขาลดลงไป  และ  คุณค่าของงานก็พลอยลดลงไปด้วย  ท�ำงานไม่ตรงสาย  ท�ำให้เบ่ือ  หน่าย  ไม่ได้ใช้วิชาความรู้  หมดความภาคภูมิใจ  ข้าราชการส่วนมาก  จึงท�ำงานอย่างจืดชืด  ไม่มีชีวิตชีวา  Red  Tape  และเช้าชามเย็นชาม  คือไปท�ำยังงั้นเอง  เหมือนเคร่ืองจักร  แรงงานเสียเปล่าเสียมากมาย  ไม่ได้ใช้แรงงานให้เหมาะสมหรือให้ได้สัดส่วนกับที่มีอยู่  งานราชการ  บางแห่งหยุดน่ิงเหมือนน้�ำตาย  เป็นความสูญเปล่าทางแรงงานของ  ขา้ ราชการ” “ผมคดิ วา่ ทส่ี ำ� คญั อกี อยา่ งหนงึ่  คอื การใชค้ นไมเ่ หมาะสมกบั งาน”  ผมออกความเห็น “งานบางอย่างคนจบ ป.๗ ก็ทำ� ได้ กลับไปใช้คนม ี

ต อ น  ีท่ ๔ ๕ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 402 ปรญิ ญาทำ�  มผี ลเสยี อยา่ งนอ้ ย ๒ ประการ คอื  ๑. รฐั ตอ้ งจา่ ยเงนิ ให้  มากตามวุฒิของเขา  ๒.  คนมีปริญญาย่อมต้องการงานที่เหมาะสม  แก่ตน เม่ือได้งานท่ีรู้สึกว่าคนจบเพียง ป.๗ ก็ทำ� ได้ จึงรู้สึกด้อยและ  ไมอ่ ยากทำ�  ไมม่ คี วามภมู ใิ จ ความจรงิ ตอนทจี่ ะเขา้ ไปกห็ วงั ไวว้ า่ จะได้  ทำ� งานทเ่ี หมาะสมแกต่ น แตพ่ อเขา้ ไปแลว้  ระบบราชการกส็ ดุ แลว้ แต ่ หวั หนา้ จะโยกยา้ ยใหไ้ ปท�ำ ไมพ่ อใจกจ็ �ำใจทำ� งานกเ็ ลยเซง็  จะลาออก  อย่างนา้ ประสทิ ธกิ์ ไ็ มก่ ล้า เพราะยงั ไมม่ ที ่หี วังอยา่ งอืน่ ” “งานหายากออกจะตาย”  พ่อว่า  “แต่คุณประสิทธิ์ไม่เป็นไร  มีทางมาก” “ที่ผมออกน้ีก็ดีอย่างหนึ่ง  คือเพ่ือนคนหน่ึงก็ไม่สนิทมากนัก  ส�ำเร็จมาจากท่ีเดียวกัน  เข้ามาเป็นลูกจ้างรายวันอยู่เพราะไม่มีอัตรา  ผมออกมานเ่ี ขาคงเขา้ สวมต�ำแหนง่ ผมได ้ ผมพอมที างอนื่ อย ู่ ท�ำไมท่ นั   อยแู่ ลว้  การออกของผมเปน็ การเปดิ ชอ่ งใหเ้ พอ่ื นไดเ้ ขา้ ท�ำ นกึ แลว้ ผม  ก็ปลืม้ ใจ” “คราวก่อนนี้ทีหน่ึงแล้ว”  พ่อพูด  “เพ่ือนมาชวนคุณไปท�ำงาน  คณุ รอู้ ยวู่ า่ มรี นุ่ นอ้ งคนหนงึ่ กลบั จากตา่ งประเทศ ก�ำลงั หางานทำ�  ไมม่ ี  เงนิ สำ� รอง คณุ หลกี ทางใหเ้ ขา ทำ� ทเี ปน็ ปฏเิ สธวา่ ไมต่ อ้ งการ ความจรงิ   คุณต้องการ  แต่คุณเห็นว่ารุ่นน้องที่กลับมามีความจ�ำเป็นเร่งด่วนกว่า  คณุ เองมที างอื่นอยูบ่ ้างแลว้  คุณจึงหลีกทางให้เขา” “ชา่ งรู้ดี” นา้ ประสทิ ธ์พิ ดู พร้อมหัวเราะ “คณุ ไมค่ ดิ วา่ คณุ จะดเี กนิ ไปหรอื ในสงั คมปจั จบุ นั ” พอ่ ถามตอ่   “ดเี กนิ ไปอะไรกนั  ยงั มเี รอ่ื งชว่ั ๆ อยอู่ กี ตง้ั แยะ โลภ โกรธ หลง  ยงั มอี ยพู่ รอ้ ม ยงั ละไมไ่ ดเ้ ลย สว่ นทช่ี วั่ ยงั ละไมไ่ ดห้ มด จะวา่ ดเี กนิ ไป  ได้อยา่ งไร” “จะต้องละช่ัวเสียก่อนหรือครับน้า  จึงจะท�ำความดีได้เต็มท่ี ?” 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 403 ผมถาม “ต้องถามคณุ พ่อของกตัญญูจงึ จะถกู ” “ความจริงน่าจะต้องท�ำพร้อมกันไป”  พ่ออธิบาย  “เพราะมัน  อาศยั กนั  คอื ขณะใดบคุ คลทำ� ชว่ั  ความดยี อ่ มไมป่ รากฏ และขณะใดทำ�   ความด ี ความชว่ั ยอ่ มลดลง เหมอื นอะไร เหมอื นอะไรด ี ?” เหมอื นแสง  สว่างเกิดขึ้นพร้อมกับก�ำจัดความมืด  เหมือนการรับประทานยาพร้อม  กบั การทำ� ลายโรค และพรอ้ มๆ กบั ทโ่ี รคถกู ท�ำลายลง สขุ ภาพดียอ่ ม  ปรากฏขึ้น  เพราะฉะนั้นการละความชั่วและการท�ำความดี  จึงเป็นไป  ด้วยกนั อย่างอัตโนมตั ”ิ “ความสุขของคนเราไม่เหมือนกัน”  น้าประสิทธิ์พูด  “บางคน  มคี วามสขุ จากการเสยี สละ บางคนมคี วามสขุ เมอ่ื ไดม้ าเอาเปรยี บคนอน่ื   ไดม้ ากเทา่ ไรยงิ่ รสู้ กึ วา่ ฉลาดมากเทา่ นน้ั  แตบ่ างคนรสู้ กึ วา่ การเอาเปรยี บ  คนอ่ืน  การท�ำให้คนอ่ืนเดือดร้อนเป็นบาปหนัก  จะรวยก็ไม่กล้ารวย  มาก” “ทำ� ไมเปน็ อยา่ งนน้ั ครบั นา้  ?” ผมถาม นา้ ประสทิ ธ์ิตอบวา่ “การร�่ำรวยม่ังคั่งอย่างมากของคนหนึ่ง  ย่อมหมายถึงความ  ยากจนของคนอนื่ จำ� นวนมาก เพราะทรพั ยส์ มบตั ขิ องโลกซง่ึ มอี ยจู่ �ำกดั   มากองอยทู่ คี่ นๆ เดยี วมากเกนิ ไป ตวั อยา่ งมเี งนิ หมนุ เวยี นอยใู่ นประเทศ  เรา สามพนั ลา้ นบาท (ตวั เลขสมมต)ิ  มาอยทู่ กี่ ตญั ญเู สยี หนงึ่ พนั ลา้ น  บาท  เหลืออีกสองพันล้านบาท  เป็นของผมเสียอีกห้าร้อยล้าน  ของ  คณุ ยมิ้ เสยี หา้ รอ้ ยลา้ นบาท ยงั เหลอื เงนิ อกี เพยี งหนงึ่ พนั ลา้ นสำ� หรบั คน  ทวั่ ประเทศแบง่ กนั คนละนดิ คนละหนอ่ ย ถา้ มคี นอยใู่ นครอบครวั  ๑๐ คน  มเี สอ้ื อย ู่ ๑๐ ตวั  แบง่ กนั ใสค่ นละตวั พอด ี แตถ่ า้ ใครโลภจดั และมอี ำ� นาจ  ดว้ ย ยดึ ครองเสอื้ เสยี คนเดยี วตงั้  ๕ ตวั  เหลอื เสอ้ื อย ู่ ๕ ตวั  ส�ำหรบั  

ต อ น  ีท่ ๔ ๕ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 404 คน ๙ คน ยอ่ มไมพ่ อ เมอ่ื ยดึ ครองคนละตวั  แลว้ เหลอื คนอกี  ๔ คน  ไมม่ เี สอ้ื สวม นค่ี อื  ความรำ�่ รวยของคนหนง่ึ  หมายถงึ ความยากจนของ  คนอกี หลายคน คนทมี่ ภี มู ธิ รรมสงู จรงิ ๆ จงึ ไมต่ อ้ งการความรำ�่ รวย แต่  ต้องการให้มีการกระจายวัตถุเพ่อื ความเป็นธรรมในสังคม” “ความเป็นธรรมในสังคม”  ผมทวนค�ำและหัวเราะอย่างขมข่ืน  “น้าคิดว่าใครจะจัดให้มีความเป็นธรรมในสังคมข้ึนได้  ในเมื่อพวกที่ม ี อ�ำนาจพอจะจัดได้เป็นพวกท่ีมีผลประโยชน์อย่างมหาศาล  จากความ  ไม่เป็นธรรมของสังคม  เขาต้องการรักษาความไม่เป็นธรรมในสังคม  ไวเ้ พอ่ื ผลประโยชนข์ องเขา และพวกพอ้ งของเขาเพยี งไมก่ คี่ น ชาวไร่  ชาวนา  กรรมกรหาเช้ากินค�่ำ  ได้รับความเป็นธรรมอะไรในสังคมบ้าง  ท�ำงานสายตัวแทบขาด  เป็นก�ำลังอันส�ำคัญของสังคม  แต่ไม่มีหลัก  ประกันสังคมเลย  ไม่มีอะไรท้ังนั้น  ไม่มีอภิสิทธ์ิ  อิทธิพล  ไม่มีเงินค่า  รกั ษาพยาบาล ไมม่ เี งนิ คา่ เลย้ี งชพี ในวยั ชรา ตอ้ งดนิ้ รนขวนขวายเลยี้ ง  ปากเล้ียงท้องไปจนตาย  ในขณะท่ีคนอีกพวกหน่ึงกลุ่มหน่ึงมีความ  เปน็ อยอู่ ยา่ งสขุ สบาย มอี ภสิ ทิ ธอิ์ ทิ ธพิ ลรอบดา้ น มหี ลกั ประกนั อนาคต  อย่างมั่นคง ท�ำงานเบา แต่ไดร้ ับประโยชนจ์ ากสงั คมมากที่สดุ ” “แลว้ จะทำ� อยา่ งไร ?” นา้ ประสทิ ธถ์ิ าม “เรากม็ องเหน็ ๆ ปญั หา  อยู่ แตแ่ ก้ไม่ตก” “เราตอ้ งใหใ้ จคนมธี รรมเสยี กอ่ น ความเปน็ ธรรมในสงั คมจงึ จะ  เกิดขึ้นได้”  พ่อคงพูดตามลีลาของพ่ออย่างเดิม  “ความเป็นธรรมต้อง  มาจากจิตใจคนที่มธี รรม” “แลว้ ท�ำอย่างไรให้ใจคนมีธรรม ?” นา้ ประสทิ ธิถ์ าม “เราต้องอบรมส่ังสอนไปตงั้ แต่เล็กๆ” พ่อตอบ “ใครเป็นคนอบรมสง่ั สอน ?” “ก็พ่อแม่ของเด็ก,  ครูบาอาจารย์  รัฐบาล,  พระสงฆ์เป็นต้น 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 405 นน่ั แหละสอน เดก็ เกดิ มาใหมๆ่  เหมอื นผา้ ขาวทง้ั ผนื  จะยอ้ มสใี ดหรอื   เติมแต้มใหม้ ีลวดลายอยา่ งไรก็ทำ� ได้งา่ ย” “สมัยน้ีล�ำบากนะครับพ่อ”  ผมว่า  “พ่อแม่ก็ไม่ค่อยมีเวลามัว  แตท่ ำ� มาหากนิ และทำ� สง่ ใหล้ กู เรยี น คร ู อาจารย ์ กส็ อนแตว่ ชิ าสำ� หรบั   ใหอ้ อกไปทำ� มาหากนิ อยา่ งเดยี ว ไมไ่ ดป้ ลกู ฝงั ศลี ธรรม ทรรศนคตทิ ด่ี ี  และจิตใจเพ่ือส่วนรวม  รัฐบาลก็มัวยุ่งอยู่กับการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ  เพม่ิ เงนิ เดอื นขา้ ราชการ เพมิ่ เทา่ ไรๆ กไ็ มร่ จู้ กั พอ พระสงฆอ์ งคเ์ จา้ ก ็ มวั ยงุ่ อยกู่ บั เรอ่ื งการกอ่ สรา้ ง สมณศกั ด ์ิ กจิ นมิ นต ์ การศกึ ษาอนั กวา้ ง  ขวางไม่มีท่สี ้ินสุด จนไม่มเี วลาส�ำหรับอบรมลูกศษิ ย์” “คนส่วนมาก  คิดแต่จะอบรมคนอ่ืนด้วยการพูดให้ฟัง”  พ่อว่า  “แตค่ วามจรงิ การอบรมทดี่ ที ส่ี ดุ คอื การทำ� ใหด้  ู จรยิ าและปฏปิ ทาอนั งาม  ของพอ่ แม ่ ครบู าอาจารย ์ รฐั บาล และพระสงฆน์ น่ั แหละ คอื การสอน  ทีด่ เี ลิศ”



๔๖ต อ น ที่ เราคุยกันต่อไปถึงเร่ืองมารดา  บิดา  ครู  อาจารย์  รัฐบาล  และพระ  สงฆ์ท่ีจะต้องรับผิดชอบต่อวัยรุ่น  และสังคมของเรา  ความจริงบุคคล  ดังกล่าวมีอิทธิพลต่อชีวิตของเยาวชนหรือแม้ของคนท่ีเป็นผู้ใหญ่แล้ว  เป็นอันมาก ผมติดใจในค�ำพูดของพ่อมาก  คือค�ำพูดท่ีว่า  “คนส่วนมากคิด  แตจ่ ะอบรมผอู้ นื่ ดว้ ยการพดู ใหฟ้ งั แตค่ วามจรงิ แลว้  การอบรมทด่ี ที ส่ี ดุ   คอื การทำ� ใหด้  ู จรยิ าและปฏปิ ทาอนั งามของพอ่ แม ่ ครอู าจารย ์ รฐั บาล  และพระสงฆน์ ่นั แหละ คอื การสอนท่ดี ีเลศิ ” ผมยอมรับว่า  ตัวผมเองได้รับอิทธิพลจากความประพฤติหรือ  จริยาของพ่อแม่เป็นอันมาก  พ่อเป็นคนขยัน  มีเมตตากรุณา  เห็นอก  เหน็ ใจคนทลี่ ำ� บากตำ�่ ตอ้ ยกวา่  ไมด่ หู มน่ิ ใคร แมร่ กั ความสงบ ไมฟ่ งุ้ เฟอ้   เสมอตน้ เสมอปลาย เมอื่ ผมปกั ใจวา่  สงิ่ เหลา่ นเ้ี ปน็ คณุ ธรรมอนั ด ี และ  ไดเ้ หน็ ตวั อยา่ งอยใู่ นบา้ นทกุ เมอ่ื เชอื่ วนั แลว้  ท�ำไมเลา่ มนั จะไมแ่ ทรกซมึ   เข้าไปในนิสัยสันดานของผมบ้าง

ต อ น  ีท่ ๔ ๖ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 408 พอ่ พดู แตเ่ รอื่ งอดุ มคต ิ จรยิ ธรรม การทำ� งานเพอ่ื ประโยชนส์ ขุ   ของส่วนรวม  การยอมทอดตนลงเป็นสะพานให้ผู้อื่นอาศัยข้ามไปสู ่ ความสุข  ความเจริญ  ความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลและสถาบันที่ม ี อุปการะต่อตน  พ่อไม่เคยเปลี่ยนค�ำพูดอย่างน้ีเป็นอ่ืน  ไม่เคยลังเล  ในผลดีของคุณธรรมเหล่านี้  เพราะพ่อถือว่าผลแห่งความดีท่ีเราท�ำ  ไม่จ�ำเป็นจะต้องกลับมาหาเราอย่างเดียว  มันจะไปตกที่ใครก็สร้าง  ความชื่นใจแก่เราทงั้ นั้น ถา้ เราเป็นคนรกั ความดอี ย่างสจุ ริตใจ เด็กที่อยู่ในครอบครัวที่พ่อแม่มีแต่ความระหองระแหง  ความ  ขง้ึ เคยี ดเกลยี ดชงั  โปป้ ดมดเทจ็  พดู จาแตเ่ รอื่ งความดขี องการเอาเปรยี บ  สงั คม และทำ� งานเพอ่ื ชอ่ื เสยี ง เงนิ  และเกยี รต ิ เปน็ ตน้  ไมเ่ คยพดู ถงึ   ความดภี ายในเลย จติ ใจของเดก็ ไดถ้ กู ยอ้ มใหเ้ มาตงั้ แตอ่ ายยุ งั นอ้ ย เมอ่ื   ไปโรงเรียนก็มีแต่เรื่องแข่งดี  ชิงดีชิงเด่นกัน  ได้รับการชุบย้อมในทาง  เมาซำ้� เขา้ อกี  ลองคดิ ดเู ถดิ  เมอ่ื สภาพของบา้ นและของโรงเรยี นเปน็ อย ู่ อยา่ งน ้ี จติ ใจของเยาวชนจะเปน็ อยา่ งไร เยาวชนเสยี ตอ้ งเปน็ ความผดิ   ของผู้ใหญ่ด้วย อย่าโทษแตเ่ ยาวชนข้างเดียว ฝา่ ยครบู าอาจารยเ์ วลาน ี้ สว่ นใหญก่ เ็ ปน็ เสมอื นมคั คเุ ทศกท์ ห่ี ลง  ทาง มงุ่ ทำ� แตเ่ งนิ จนไมค่ อ่ ยมเี วลาไดเ้ อาใจใสก่ บั ศษิ ยอ์ ยา่ งจรงิ จงั  ไมม่ ี  เวลาได้อยู่อย่างสงบเพื่อช�ำระโสรจสรงดวงจิตท่ีหมักหมมด้วย  โลภ  โกรธ หลง ใหท้ เุ ลาเบาบางลง วนุ่ วาย สบั สน วง่ิ หาเงนิ  หาเกยี รตใิ น  สงั คมจนลืมคณุ คา่ ภายใน คือคณุ ค่าแหง่ ความเป็นผ้นู ำ� ทางวญิ ญาณท่ ี จะตอ้ งอยอู่ ยา่ งสงบ เพอ่ื จะไดเ้ อาความสงบนนั้ ไปเผอื่ แผใ่ หแ้ กน่ กั เรยี น  บา้ ง ตรงกันขา้ มกลบั แขง่ กันวา่ ใครจะท�ำเงินไดม้ ากกวา่ ใคร อนศุ าสนาจารยน์ น้ั  เปน็ งานทม่ี เี กยี รต ิ เพราะเปน็ งานประกาศ  ธรรม ดงั ทพี่ ระเจา้ อโศกมหาราชไดท้ รงใหจ้ ารกึ ไวใ้ นศลิ าจารกึ วา่  “ธรรม  ทานเปน็ งานทม่ี เี กยี รตทิ สี่ ดุ  ถา้ ปรากฏวา่ ประชาราษฎรป์ ระพฤตธิ รรม 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 409 และชกั ชวนกนั ประพฤตธิ รรม ตามความมงุ่ หมายของพระองคอ์ ย ู่ จกั   เป็นเกียรตสิ งู สุดสำ� หรบั พระองค์ทัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต” ดงั นน้ั  คนทม่ี งุ่ เขา้ ไปรบั หนา้ ทอ่ี นศุ าสนาจารย ์ จงึ ตอ้ งตงั้ เจตนา  ไวใ้ หส้ งู  เจตนาเพอ่ื ประกาศธรรม รายได ้ เงนิ ทอง ยศศกั ด ์ิ ชอ่ื เสยี ง  นนั้  ถอื เปน็ ผลพลอยไดอ้ นั ไมม่ คี วามสำ� คญั ตอ่ ความรสู้ กึ ของตน ใครท ่ี เขา้ รบั หนา้ ทอี่ นศุ าสนาจารยด์ ว้ ยจดุ มงุ่ หมายเรอ่ื ง ลาภยศ ชอ่ื เสยี งแลว้   อย่าเข้าไปเลย  เจตนาของท่านไม่บริสุทธิ์เสียแล้วตั้งแต่ต้น  ย่ิงถือว่า  อนุศาสนาจารย์เป็นอาชีพอย่างหนึ่งก็ย่ิงหลงทางไปใหญ่  อนุศาสนา-  จารย์เปน็ บคุ คลอกี กล่มุ หน่งึ ท่เี ปน็ ผูน้ �ำทางวญิ ญาณ ท่ีผมพูดมาทั้งหมดน้ี  ผมถ่ายทอดเอาความคิดเห็นของพ่อมา  และผมกเ็ หน็ ดว้ ยกบั พอ่ ในเรอ่ื งน ี้ ตวั ผมเองไมม่ ปี ญั ญาจะพดู อยา่ งพอ่   ได้ พอ่ บอกวา่ งานทกุ สายตอ้ งใหเ้ ปน็ ทส่ี ถติ อยแู่ ละเปน็ ทางเดนิ แหง่   ธรรม  เช่น  งานสายมหาดไทย  (ปกครอง)  เป็นทางเดินแห่งเมตตา  กรณุ าอนั ไพศาล สายตลุ าการเปน็ ทางเดนิ แหง่ ความยตุ ธิ รรม สายการ  ศกึ ษาเป็นทางเดินแหง่ ดวงประทีปคอื ปญั ญา สงิ่ ดงี ามตา่ งๆ ทปี่ รากฏใหเ้ หน็ นนั้ เปน็ ตวั แทนแหง่ คณุ ธรรมทมี่ ี  อยใู่ นใจคน สว่ นสง่ิ ชว่ั รา้ ยทเี่ หน็ กนั อยกู่ เ็ ปน็ ตวั แทนแหง่ อธรรมในใจคน  เหมือนกัน  ตัวอย่าง  การช่วยเหลือกันเป็นตัวแทนแห่งเมตตากรุณา  ความส�ำนึกในหน้าที่  การท�ำร้ายกันเป็นตัวแทนแห่งความเหี้ยมโหด  โทสะและพยาบาท ตน้ ไมส้ กั ตน้ หนง่ึ กเ็ ปน็ ตวั แทนแหง่ คณุ ธรรมได ้ ถา้   ผปู้ ลกู มนั ทำ� ดว้ ยเมตตากรณุ าเปน็ ตวั นำ�  คอื ความหวงั ใหค้ นทง้ั หลายได ้ อาศยั ร่มเงา ได้ดอกไดผ้ ล ครูบาอาจารย์ผู้มีใจหนักแน่น  ตั้งตนไว้ในธรรม  น้อมธรรมไว ้ ในตน ยอ่ มทำ� ตนเปน็ สะพานใหธ้ รรมไดเ้ ดนิ ไปหาศษิ ย ์ เมอ่ื ศษิ ยไ์ ดเ้ หน็  

ต อ น  ีท่ ๔ ๖ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 410 ธรรมในตัวครูบาอาจารย์แล้วจึงเคารพกราบไหว้อย่างสนิทใจ  ได้เห็น  ตัวอยา่ งทดี่  ี ได้แบบท่สี วยงามไม่บดิ เบี้ยว พ่อได้อ้างถึงจริยาของท่านเจ้าคุณพระจันทรโคจรคุณ  วัดมกุฏ  กษัตริยาราม  ผู้เป็นพระกรรมวาจาจารย์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า  กรมพระยาวชิรญาณวโรรส  เม่ือพ.ศ.  ๒๔๒๒๑  ประมาณ  ๙๕  ปี  มาแล้ว  สมเด็จทรงเรียกท่านเจ้าคุณพระจันทรโคจรคุณว่า  “เจ้าคุณ  อาจารย์”  เสมอ  สมเด็จฯ  ทรงนิพนธ์ไว้ในพระประวัติตรัสเล่าตอน  หนึ่งว่า “เหตไุ ฉน เจา้ คณุ จนั ทรโคจรคณุ  ผเู้ ปน็ เพยี งพระราชาคณะยก  จึงเป็นพระกรรมวาจาจารย์ของเรา  มีธรรมเนียมในราชการ  พระ  อุปัชฌายะหลวงเลือก  พระกรรมวาจาจารย์เจ้าตัวผู้บวชเลือก  เรา  เลอื่ มใสอยมู่ ากในเจา้ คณุ จนั ทรโคจรคณุ  เหน็ อาการของทา่ นเครง่ ครดั   และเป็นสมถะดี  มีฉายาอันเย็น  เช่น  พระราหุลคร้ังยังเป็นพระทารก  กลา่ วชมสมเดจ็ พระบรมศาสดาฉะนน้ั  ทำ� ทางผรู้ จู้ กั กบั ทา่ นไวก้ อ่ นแลว้   คร้ันถึงเวลาบวช  จึงเลือกท่านเป็นพระกรรมวาจาจารย์  ต้ังแต่บัดนั้น  มาจนถึงทกุ วนั น้.ี .” “เราขออนุญาตเจ้าคุณอาจารย์  เข้าไปอยู่อุปฐากท่านในกุฏ ิ เดียวกัน  ด้วยปรารถนาจะได้คุ้นเคยสนิทและจะได้เห็นการปฏิบัติของ  ท่านในเวลาอยู่ตามล�ำพังด้วย  ท่านไม่ได้เป็นเจ้าและเป็นเพียงพระ  ราชาคณะสามัญ  เราเป็นเจ้าช้ันลูกหลวงห่างกันมาก  แม้เป็นศิษย์ก็  ยากท่ีจะเข้าสนิท  จึงปรารถนาจะหาช่องผูกความคุ้นเคย  เข้ายากแต่  ในชั้นแรก  พอเข้าสนิทได้แล้วเป็นกันเองดี..เข้าสนิทได้คราวหน่ึงแล้ว  แม้อยู่ห่างจากกันคงสนิทอยู่ตามเดิม  เมื่อเรากลับมาอยู่วัดบวรนิเวศ  ๑ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ ฯ ทรงผนวชเมอื่ วนั ท ี่ ๒๗ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๒๒ - ว.ศ.

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 411 วหิ ารและเปน็ ตา่ งกรม มสี มณศกั ดใ์ิ นพระแลว้  ทา่ นกย็ งั คนุ้ เคยสนทิ สนม  ด้วยตามเดิม” “ต้ังแต่เรามาอยู่กับท่าน  ยังเห็นจรรยาของท่านน่าเลื่อมใสอยู่  เสมอ เมอ่ื เขา้ ไปอยใู่ กลช้ ดิ เหน็ วา่ เปน็ ปกตขิ องทา่ นอยา่ งนน้ั จรงิ  ยงิ่ นา่   เลอ่ื มใสขน้ึ อกี  ปกตขิ องทา่ นรกั ษาไตรทวารใหบ้ รสิ ทุ ธ ิ์ ปราศจากโทษน้ ี เปน็ ลกั ษณะสมณะแท ้ คณุ สมบตั ขิ องทา่ นทค่ี วรระบ ุ เราไปอยใู่ นส�ำนกั   ของทา่ น ๒ ป ี ๒ เดอื น อยอู่ ปุ ฐากเกอื บปเี ตม็  ในระหวา่ งน ี้ ไมป่ รากฏ  วา่ ไดแ้ สดงความโกรธแกผ่ ใู้ ดผหู้ นง่ึ  เปน็ ผมู้ ใี จเยน็  ไมเ่ คยไดย้ นิ คำ� พดู   ของทา่ นอนั เปน็ สมั ผปั ปลาป๒  การณท์ ไ่ี มร่  ู้ ไมเ่ ขา้ ใจ ไมพ่ ดู ถงึ เสยี เลย  จงึ ไมแ่ สดงความเขา้ ใจเขวใหป้ รากฏ ความถอื เขาถอื เรา ทา่ นไมป่ รากฏ  เลย  เป็นผู้มีสติมาก  สมตามค�ำสอนของท่านว่า  จะท�ำอะไรหรือพูด  อะไร จงยง้ั นกึ กอ่ น ขอ้ ทแี่ ปลกกวา่ ผใู้ หญอ่ น่ื โดยมาก คอื ไมด่ หู มนิ่ คน  เกิดทีหลังว่าเด็กและต้ืน  แม้ผู้เป็นเด็กพูด  ท่านก็ฟังโดยฐานะเป็นผู้  มีเมตตาอารี  หาใช่มีใจคับแคบตามวิสัยของพระผู้ตั้งตัวเป็นผู้เคร่งไม ่ เช่นเราเข้าไปขออยู่ด้วยในส�ำนัก  ท่านมีอัธยาศัยเผื่อแผ่พอท่ีจะรับไว้  และอนุเคราะห์ให้ได้รับประโยชน์จริงๆ  อุบายด�ำเนินการของท่าน  ปกครองบรษิ ทั ดว้ ยผกู ใจใหร้ กั และนบั ถอื  แมเ้ ราเปน็ เจา้ นายกป็ กครอง  ไวอ้ ย ู่ ตลอดถงึ ในน้�ำใจ สอนคนดว้ ยท�ำตวั อยา่ งใหเ้ หน็ มากกวา่ จะพดู   เมอ่ื พดู สงั่ สอนอยา่ งใด เหน็ วา่ ทา่ นปฏบิ ตั มิ าอยา่ งนนั้ ดว้ ย เมอ่ื อธกิ รณ ์ เกดิ ขนึ้  ควรจะนคิ คหะ (ลงโทษ) กร็ บี ทำ�  แตช่ โี้ ทษใหผ้ ผู้ ดิ เหน็ เอง ทำ�   อยา่ งทเ่ี รยี กวา่ บวั ไมช่ ำ้�  นำ�้ ไมข่ นุ่  รกั ษาความสมำ�่ เสมอในบรษิ ทั ...ชอบ  ผู้ใดผู้หน่ึงไม่แสดงให้ปรากฏ  ท่านเป็นอันเตวาสิก  (ศิษย์)  ของ  ทูลกระหม่อม  (รัชการท่ี  ๔  เมื่อยังทรงผนวชอยู่)  ได้พระเจ้าลูกเธอ  ๒ เพอ้ เจอ้  ไร้สาระ

ต อ น  ีท่ ๔ ๖ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 412 ของท่าน  เรียกตามโวหารสามัญว่า  ลูกครูมาไว้เป็นศิษย์  น่าจะยินด ี เท่าไร แตท่ า่ นระวงั จรงิ ๆ... ระวงั ไมต่ สี นทิ กบั เราเกนิ พอด ี ทจ่ี ะพงึ เหน็   ว่าประจบหรือเอาใจเรามากเกินไป...ท่านไม่ได้เป็นบาเรียนก็จริง  ถึงอย่างนั้นท่านที่เป็นบาเรียนมีช่ือเสียงมาทุกยุคถึงเราเองในบัดน ี้ นับถือท่านแทบท้ังนั้น เราไม่เคยเสียใจว่ามีอาจารย์วาสนาตำ�่ เลย ยัง เป็นทพ่ี อใจของเราอยจู่ นทุกวันนี”้ ผมถามพ่อวา่  “กรรมวาจาจารย์” หมายถึงอะไร ?” พอ่ ตอบวา่  คอื  พระผสู้ วดในพธิ อี ปุ สมบท สวดประกาศใหส้ งฆ ์ ทราบ  ขอความเห็นจากสงฆ์ พ่อได้พูดให้ฟังต่อไปว่า  จรรยาอันน่านับถือ  น่าเคารพเลื่อมใส  ของอาจารยเ์ ปน็ ทป่ี ระทบั ใจของศษิ ย ์ แมม้ ศี กั ดส์ิ งู ปานนน้ั เพยี งใด ได้ เห็นแล้วจากพระประวัติตรัสเล่าของสมเด็จฯ  อนึ่ง  ท่ีว่าสอนคนด้วย  การทำ� อยา่ งใหเ้ หน็ มากกวา่ จะพดู พลา่ มไปอยา่ งเดยี ว และสอนอยา่ งใด  ปฏบิ ตั อิ ยา่ งนนั้ ดว้ ย ยงิ่ เปน็ ทางเพมิ่ ความเลอ่ื มใสศรทั ธาแกศ่ ษิ ยอ์ ยา่ ง  มาก อกี อยา่ งหนงึ่  ศษิ ยบ์ างคนอาจเคารพอาจารยเ์ ฉพาะเรยี นหนงั สอื   ในหอ้ งเรยี น หรอื เคารพประจบไวเ้ พอื่ เอาคะแนน แตเ่ มอ่ื พบกนั ในทอี่ นื่   กท็ ำ� เปน็ ไมร่ จู้ กั  ไมท่ กั ทาย ไมเ่ คารพ ดว้ ยเหน็ วา่ อาจารยเ์ ปน็ คนยากจน  กวา่ ตนบา้ ง วาสนาตำ่� กวา่ ตน ตนเปน็ ลกู เจา้  หรอื ลกู คนใหญค่ นโต สว่ น  อาจารย์เป็นคนสามัญ มาจากตระกูลชาวไร่ชาวนาบ้าง   อาจารย์เดิน  ถนน ขน้ึ รถเมล ์ สว่ นตนมรี ถยนตน์ งั่ คนั ใหญห่ รหู ราราคาแพงบา้ ง รวม  ความวา่  อาจารยส์ ตู้ นไมไ่ ดใ้ นหลายๆ ทาง แมแ้ ตว่ ชิ าความรอู้ กี สกั หนอ่ ย  ตนกจ็ ะกา้ วลำ�้ อาจารยไ์ ป จงึ นกึ ดหู มนิ่ อาจารยข์ นึ้ ในใจ แตล่ กู ศษิ ยท์ ด่ี  ี ย่อมไม่ท�ำอย่างน้ัน  ลูกศิษย์ที่ดีย่อมเคารพนับถือครูอยู่เสมอ  เห็นคร ู เสมือนเทพผู้ศักดิ์สิทธ์ิ  และไม่เสียใจหรือน้อยหน้าเลยท่ีอาจารย์ม ี

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 413 วาสนาตำ่�  พงึ เหน็ ตวั อยา่ งศษิ ยท์ ดี่ อี กี หลายทา่ น เชน่  พระบาทสมเดจ็   พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั  (ร.๖) ทรงเคยเปน็ ศษิ ยข์ องเจา้ พระยายมราช  (ปน้ั  สขุ มุ  เปรยี ญ ๓ ประโยค) ลกู ชาวนาเมอื งสพุ รรณ ไดท้ รงเตมิ   สรอ้ ยสมญาเจา้ พระยายมราชลงในสพุ รรณบตั รวา่  ฉฏั ฐราชครุ ฐุ านว- โรปการี  แปลว่า  ผู้มีอุปการะฐานเป็นครูของรัชกาลที่  ๖  ไว้เป็น  หลักฐานในความส�ำนึกในคุณครูของพระองค์  และได้เคยมีพระราช  ด�ำรัสว่า  เจ้าพระยายมราชตายเมื่อใด  จะทรงพระภูษาขาวให้เป็น  เกยี รต ิ พระกระแสรบั สง่ั นนั้ กอ่ ใหเ้ กดิ ปตี ปิ ราโมชแตเ่ จา้ พระยายมราช  ผู้เป็นครูอย่างเหลือล้น  แต่พระมหาธีรราชเจ้าสวรรคตเสียก่อน  เจา้ พระยายมราชจงึ ตอ้ งนงุ่ ขาวถวายพระบรมศพ ยงั มอี กี คอื  พระเจา้ พย่ี าเธอ กรมพระจนั ทบรุ นี ฤนาถ, กรมหลวง  ราชบรุ ดี เิ รกฤทธ,ิ์  กรมหลวงปราจณี กติ ตบิ ด ี และกรมหลวงนครชยั ศร-ี   สุรเดช  ได้เป็นศิษย์ของเจ้าพระยายมราชต้ังแต่ยังทรงพระเยาว์  เมื่อ  ทรงเจริญวัยและไปศึกษาต่อในต่างประเทศแล้ว  ก็ยังทรงเคารพเจ้า-  พระยายมราชอยา่ งไมจ่ ดื จาง เมอ่ื เจา้ พระยายมราชปว่ ย ศษิ ยผ์ สู้ งู ศกั ด ์ิ บางพระองค์ก็เสด็จไปรักษาพยาบาล  โดยมิได้ทรงถือว่าเจ้าพระยา  ยมราชเปน็ เพียงลกู ชาวนาเมืองสุพรรณ ส่วนตัวทา่ นเองเป็นลูกเจ้าฟา้   เจา้ แผน่ ดนิ  แตท่ รงสำ� นกึ วา่ พระองคเ์ ปน็ ศษิ ย ์ เจา้ พระยายมราชเปน็ ครู ศิษย์ที่ดี  ย่อมหาช่องทางเชิดชูเกียรติครูของตนให้ปรากฏเด่น  ข้ึนมา  เม่ือตนเป็นคนเด่น  ไม่ใช่เด่นแล้วทับถมครู  เข้าต�ำราศิษย์คิด  ล้างคร ู ศิษย์เชน่ นนั้ ไมม่ ีวนั เจรญิ รงุ่ เรืองไปไดต้ ลอด สว่ นคร ู กไ็ มค่ วรคดิ แตจ่ ะสอนหนงั สอื อยา่ งเดยี ว ควรเหลยี วแล  ถงึ ความประพฤตแิ ละจติ ใจของนกั เรยี นดว้ ย ความพยายามทมุ่ เทกำ� ลงั กาย  ก�ำลังใจ  ก�ำลังความรู้  เพื่อเจียระไนเพชรคือศิษย์ของตนให้งาม  ท่ีสุด  เป็นผู้น�ำทางวิญญาณ  กล่อมเกลาวิญญาณของศิษย์  เปี่ยมไป 

ต อ น  ีท่ ๔ ๖ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 414 ด้วยความหวงั ด ี มีความกรณุ าอยา่ งสงู   ครูที่เพียงแต่สอนศิษย์ให้มีความรู้ประกอบอาชีพได้อย่างเดียว  ไม่แลเหลียวถึงจริยธรรมในใจของศิษย์  ไม่ปลูกฝังอุดมคติอันดีงาม  ให้แก่ศิษย์น้ัน  เหมือนการติดปีกให้เสือ  ให้พิษแก่งูร้าย  มอบอาวุธให้  ในมือโจร  เขารังแต่จะน�ำส่ิงที่ครูให้น้ันไปท�ำความพินาศให้แก่คนอ่ืน  และความพินาศน้ันจะยอกย้อนมาท�ำลายตัวเขาเองในภายหลัง   คนมี  ความรูแ้ ตไ่ ม่มจี ริยธรรม น่ากลวั กวา่ คนไม่มีความรู้มากนัก ลูกศิษย์ที่เป็นเหมือนมหาตมคานธีน้ัน  ค่อนข้างจะหายาก  คือ  ทา่ นไมถ่ อื เอาความบกพรอ่ งของครมู าเปน็ อารมณเ์ สยี เลย ครจู ะทำ� ผดิ   อย่างไร  ท่านก็จะถือว่าเป็นเรื่องของครู  ส่วนการเคารพครูเป็นเรื่อง  ของทา่ นผเู้ ปน็ ศษิ ย ์ คานธถี อื วา่  ศษิ ยไ์ มค่ วรท�ำตวั เปน็ ผพู้ พิ ากษาการ  กระทำ� ของครู พอถึงบทที่คานธีแสดงเป็นครู  ท่านก็เป็นครูชั้นเย่ียม  คือเป็น  โดยท�ำตัวอย่างให้ดู  อะไรดี  คานธีต้องเริ่มท�ำก่อน  อะไรไม่ดี  คานธ ี เว้นก่อน  ด้วยจิตใจท่ีมานะเด็ดเดี่ยว  คานธีจึงเป็นครูของชาวอินเดีย  ท่วั ประเทศ และของชาวโลกด้วย พระพทุ ธเจา้ นน้ั  ทรงเปน็ พระบรมคร ู พรอ้ มดว้ ยพระคณุ สมบตั ิ  อันย่ิงใหญ่  ๓  ประการคือ  พระปัญญาอันสว่างไสว  พระกรุณาอัน  ไพศาล และความบรสิ ุทธิ์ผ่องแผ้ว ปราศจากมลทินทงั้ ปวง ถา้ ชวี ติ คร ู ประกอบดว้ ยคณุ สมบตั  ิ ๓ ประการน ้ี คอื  มปี ญั ญา  ความรดู้ จี รงิ , มคี วามกรณุ าตอ่ ศษิ ยอ์ ยา่ งลกึ ซง้ึ จรงิ  และมชี วี ติ ทบี่ รสิ ทุ ธ ิ์ สะอาดจริง  ครูคนน้ันย่อมก้าวข้ึนสู่แท่นแห่งคุรุฐานิยบุคคล  ปูชนีย  บคุ คล อภวิ นั ทนยี บคุ คล อยา่ งแนน่ อน ไมต่ อ้ งกลวั ความดอ้ ย ไมต่ อ้ ง  เกรงความจน เพราะความดอ้ ยและความจนยอ่ มไมม่ ใี นใจของครเู ชน่ นนั้

๔๗ต อ น ที่ “ได้ชา่ งฝมี ือด ี ดกี ว่าวสั ดกุ ารกอ่ สร้างดี แต่ชา่ งฝมี ือเลว” พอ่ บอกว่า  คตนิ ไี้ ดม้ าจากประสบการณก์ ารกอ่ สรา้ ง เพราะชา่ งกอ่ สรา้ งทฝี่ มี อื เลว  น้ัน  แม้ซ้ือวัสดุอย่างดีมาให้ก็ท�ำป่นปี้หมด  กะไม่เก่ง  วัดไม่พอดี  ท�ำ  ไปแลว้ ใชไ้ มไ่ ดต้ อ้ งรอื้ ท�ำใหม ่ ไมช้ ำ�้  แตก รปู รา่ งเบย้ี วบดู  หมดความ  สลวยสวยงาม แต่ถ้าช่างฝีมือดี แม้วัสดุไม่ค่อยจะดีนัก เขาก็ทำ� ให้ดี  ทส่ี ดุ สวยงามทสี่ ดุ เทา่ ทว่ี สั ดนุ น้ั จะอำ� นวยให ้ ถา้ เขาไดว้ สั ดดุ ดี ว้ ย ไมต่ อ้ ง  สงสยั  สง่ิ ก่อสรา้ งนน้ั จะสวยงามมาก”



อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 417 แมบ่ อกวา่  เหมอื นชา่ งตดั เสอื้  แมผ้ า้ ราคาถกู ๆ แตถ่ า้ ชา่ งฝมี อื   ดีตัดเย็บเรียบร้อยแล้วก็น่าใช้  สวย  สวมใส่สบาย  ตรงกันข้าม  แม้จะ  เอาผ้าเมตรละ  ๕๐๐  บาทไปให้ช่างตัดเส้ือฝีมือเลวท�ำ  เขาก็ห่ันเสีย  ปน่ ปห้ี มด หลวมไปบา้ ง คบั ไปบา้ ง รปู ทรงบดู เบยี้ ว แกแ้ ลว้ แกอ้ กี  ถา้   ชา่ งนน้ั นสิ ยั เลวเขา้ ดว้ ย กห็ นั มาโทษเจา้ ของผา้ วา่  เพราะซอ้ื ผา้ อยา่ งเลว  มาให้เขาทำ�  จึงเปน็ อยา่ งน้ี พอ่ และแมผ่ มสรปุ วา่  ในการก่อสร้างหรอื ตัดเยบ็ เสอื้ ผ้า ขอให้  หาชา่ งดเี ขา้ ไวก้ อ่ น ถา้ เงนิ มนี อ้ ยกใ็ หย้ อมเสยี คา่ ชา่ งใหม้ ากไว ้ ยอมลด  คณุ ภาพของวัสดุเสยี ดกี ว่าท่ีจะหาวัสดดุ ีๆ มาให้ช่างฝมี อื เลวท�ำ พ่อบอกว่า  ความจริงข้อน้ีน�ำไปสู่ความจริงอ่ืนๆ  อีกมาก  เช่น  สถาบนั การศกึ ษา งานราชการ เปน็ ตน้  ในสถาบนั การศกึ ษา ไดค้ รดู  ี สัก  ๒-๓  คน  เสียค่าจ้างให้แพงไว้  ดีกว่าได้ครูช้ันเลว  แม้มากคน  เพราะครูชั้นเลว  ไม่มีความรับผิดชอบ  สอนแต่พอให้พ้นตัว  ถ้าวัสด ุ คือนักเรียนเลวเข้าด้วยก็ย่ิงไปกันใหญ่  สถาบันการศึกษาน้ันมีแต่จะ  ทรดุ ลง หาครูดีๆ ไว้สกั  ๒-๓ คนดกี วา่ ในวงราชการ  หัวหน้าสายงานเปรียบเหมือนนายช่างใหญ ่ ข้าราชการเหมือนลูกน้องช่าง  จะต้องท�ำตามค�ำสั่งของนายช่างใหญ่  ถ้าช่างใหญ่ไม่มีฝีมือ  มีความรู้น้อยรู้ผิด  และไม่รู้จักให้เกียรติลูกน้อง  แล้ว ข้าราชการในลำ� ดับรองลงมา จะมีความรู้ความสามารถปานใด  ราชการน้ันก็ป่นปี้  คนที่มีฝีมือจริงก็ไม่อยากร่วมรับราชการเช่นน้ัน  อยู่ดว้ ย จึงผละออกมาเสยี ตวั อยา่ งในประวตั ศิ าสตร ์ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาแตกครง้ั ท ี่ ๒ พอ  เป็นอุทาหรณใ์ ห้เหน็ ได้ บ้านจะแข็งแรงทนทาน รากฐานและหลักต้องสำ� คัญ หลักคือ  เสา ถ้าเสาหักพ้นื ทรดุ เสียแลว้  ตัวอืน่ ๆ ก็อยู่ไม่ได้ ไมค้ รา่ วซ่ึงเปน็ ตัว 

ต อ น  ีท่ ๔ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 418 ยดึ  ถา้ มันผุไป ฝาก็อย่ไู มไ่ ด้ ในสังคมมนุษย์เราก็เช่นเดียวกัน  ผู้ที่เป็นหลักมีความส�ำคัญ  อย่างย่ิง  เริ่มตั้งแต่พ่อบ้านแม่เรือนซึ่งเป็นหลักของครอบครัว  ถ้าพ่อ  บ้านแม่เรือนเป็นหลักผุเสียแล้ว  ส่ิงอ่ืนๆ  ที่ยึดหลักอยู่ก็อยู่ไม่ได้  ต้อง  พงั ลงมา กลายเปน็ บา้ นแตกสาแหรกขาด พนิ าศกนั ไปหมด วา่ เรอ่ื ยไป  จนถึงหลักของวัดคือสมภาร หลักของหมู่บ้าน ตำ� บล อ�ำเภอ จังหวัด  ภาค และประเทศ ผทู้ เี่ ปน็ หลกั ตอ้ งทำ� ตนเปน็ หลกั อนั มน่ั คง ไมง่ อ่ นแงน่   คลอนแคลน สว่ นพวกฝา พวกระแนงเลก็ นอ้ ย มนั จะผไุ ปบา้ งกเ็ ปลยี่ น  ไดง้ ่าย เมอื งไทยเราเวลานมี้ ปี ญั หาเรอื่ งสงั คมมาก เนอ่ื งจากรฐั บาลได ้ พัฒนานครหลวงคือกรุงเทพฯ  ติดต่อกันมาเป็นเวลานาน  สภาพของ  กรุงเทพฯ  ห่างจากชนบทเป็นอันมาก  ชนบทถูกทอดท้ิงให้แห้งแล้ง  ทรุ กนั ดาร ประชากรในชนบทเพม่ิ มากขน้ึ ทกุ ป ี ทท่ี �ำมาหากนิ ไมพ่ อทำ�   คนชนบทจึงทะลกั เขา้ กรงุ เทพฯ แตใ่ นกรงุ เทพฯ ได้แออดั ไปด้วยผ้คู น  จากสารทิศไปหมดแล้ว  พวกที่ต้องการขายแรงงานใหม่ไม่มีที่อยู่  จึง  ไปรวมกันอยู่ในแหล่งสลัม  บางคนก็หางานท�ำได้  บางคนก็หางานท�ำ  ไมไ่ ด ้ เมอื่ ความอดอยากหวิ โหยบบี คนั้ หนกั เขา้  อาจกอ่ อาชญากรรมได ้ เหมือนกนั ผู้ใช้แรงงานจากชนบทที่เอาแรงงานมาขายในกรุงฯ  นั้น  มัก  จะอยตู่ ามโรงงานตา่ งๆ เชน่  โรงเลอ่ื ย โรงไม ้ โรงงานอตุ สาหกรรมอน่ื ๆ  ความจ�ำเป็นบีบค้ันให้เขาต้องจ�ำใจรับค่าแรงงานถูกๆ  เพียงพอด�ำรง  ชีวิตไปได้วันๆ  เท่าน้ัน  นายทุนส่วนใหญ่ซึ่งเป็นคนจีน  ใช้คนพวกน้ี  อย่างไม่ปรานีปราศรัย  ถือว่าหาได้ง่าย  ท�ำนองเดียวกับครูโรงเรียน  ราษฎร ์ เจา้ ของโรงเรยี นนึกจะไลอ่ อกเม่อื ไรก็ได้ ไลอ่ อกเช้า บ่ายกม็  ี ครูคนใหมม่ าทำ� งานแล้ว ในคา่ จา้ งทถ่ี ูกเชน่ เดยี วกัน

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 419 สภาพของผู้ใช้แรงงานในเมืองไทย  น่าสงสารสังเวชเป็นท่ีสุด  ถกู บดิ เบยี้ วคดโกงเบยี ดบงั อยา่ งเหลอื หลาย คนมง่ั ม ี คนชน้ั สงู ไดอ้ าศยั   แรงงานของคนพวกนร้ี ำ�่ รวยอยา่ งมหาศาล แมเ้ จา้ ของโรงเรยี นราษฎร ์ ก็เหมือนกัน  อาศัยแรงงานของครูต่างๆ  ท่ีผลัดเปลี่ยนหน้ากันเข้ามา  สรา้ งฐานะจนร่�ำรวยไปตามๆ กนั  แตส่ ภาพของครโู รงเรยี นราษฎรย์ งั   เหมือนเดิม  ย่ิงนานวันย่ิงแย่  เพราะก�ำลังลดน้อยถอยลง  เหมือนม้า  แก่ๆ  ตัวหน่ึงซึ่งลากรถมาจนต้นคอเป็นแผลและด้าน  ในท่ีสุดก็ล้มลง  ตายเพราะหมดกำ� ลงั และชรา ผลกำ� ไรต่างๆ เป็นของเจา้ ของมา้  เขา  อยดู่ ขี นึ้  กนิ ดขี น้ึ  แตม่ า้ ยงั คงตอ้ งอยอู่ ยา่ งเดมิ  กนิ อยา่ งเดมิ  หรอื อาจ  อย่เู ลวกว่าเดมิ เสียอีก ชาวนากับพอ่ คา้ ขา้ ว กรรมกรผใู้ ชแ้ รงงานกับนายทุน ครูโรงเรยี นราษฎร์กบั เจ้าของโรงเรียน อยู่ในสภาพเดียวกันท้ังน้ัน  พวกแรกแย่  พวกหลังรวย  ทั้งๆ  ที ่ รอู้ ยา่ งนน้ั  พวกแรกกจ็ �ำต้องทำ�  เพราะไมม่ ที างเลือก ไม่มีใครเถียง  ถ้าจะกล่าวว่า  พวกหลังมีประโยชน์กับพวกแรก  อยู่เหมือนกัน  คือชาวนาต้องอาศัยพ่อค้าข้าว,  กรรมกรผู้ใช้แรงงาน  ต้องอาศัยนายทนุ  และครโู รงเรยี นราษฎรต์ ้องอาศัยโรงเรยี น แต่เมื่อ  ตอ้ งอาศยั ซง่ึ กนั และกนั แลว้  เมอื่ กจิ การเจรญิ ขน้ึ  กค็ วรจะเจรญิ ไปดว้ ย  กนั  รวยกร็ วยดว้ ยกนั  ขาดทนุ กแ็ ยด่ ว้ ยกนั  อยา่ งนจ้ี งึ จะเรยี กวา่ มคี วาม  เปน็ ธรรมในสงั คม แตส่ ภาพทเ่ี ปน็ อยใู่ นปจั จบุ นั หาเปน็ เชน่ นนั้ ไม ่ ฝา่ ย  หน่ึงอ้วนขึ้นๆ  แต่อีกฝ่ายหนึ่งผอมลงๆ  นักเขียนอาชีพกับส�ำนักพิมพ ์ กเ็ หมือนกนั ใครจะช่วยแก้ปัญหาน ้ี ? ใครจะช่วยบันดาลให้ความเป็นธรรม  ในสังคมเกิดข้ึน  ค�ำตอบก็คือต้องช่วยกันทุกฝ่าย  โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 

ต อ น  ีท่ ๔ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 420 รฐั บาล และเจ้าหนา้ ทขี่ องรฐั บาล ผู้ก่อการร้ายในเมืองไทยนั้น  ส่วนหนึ่งเกิดขึ้นเพราะได้รับการ  กดขี่ข่มเหงจากข้าราชการฝ่ายปกครองในท้องท่ีต่างๆ  ในชนบท  เม่ือ  เหลอื ทนเขา้ กท็ ำ� รา้ ยเจา้ หนา้ ทเ่ี อาบา้ ง และแลว้ กถ็ กู ตามจบั ในฐานเปน็   ผู้ร้ายฆ่าคนตาย  และคนที่ตายน้ันเป็นเจ้าหน้าที่ทางบ้านเมืองเสียอีก  จึงมีโทษหนัก  เขาหนีการจับกุมไปอยู่ในป่าเขาล�ำเนาไพร  ในท่ีสุดก ็ กลายเปน็ ผู้กอ่ การรา้ ยไป ราชการ คอื การปกครองโดยธรรม, พพิ ากษาโดยธรรม เพม่ิ พนู   ความสขุ ใหแ้ กร่ าษฎรโดยธรรมและการพทิ กั ษโ์ ดยธรรม รวมความวา่   ราชการต้องเป็นงานโดยธรรมไม่ใช่อธรรม  ต้องอาศัยธรรม  พึ่งพิง  ธรรม ใหธ้ รรมเขา้ ไปดำ� เนนิ การในสายงานตา่ งๆ ของรฐั บาล นน่ั แหละ  ความเป็นธรรมในสังคมก็จะเกิดข้ึน  แต่ราชการในเมืองไทยเป็นไป  โดยธรรมพอสมควรหรอื ไม ่ ? กลมุ่ ขา้ ราชการในเมอื งไทย เปน็ กลมุ่ บคุ คลทม่ี ที งั้ อำ� นาจ อภสิ ทิ ธ์ิ  และอทิ ธพิ ล สำ� นกึ ของคนไทยสว่ นใหญม่ องเหน็ วา่  ตอ้ งเปน็ ขา้ ราชการ  เทา่ นน้ั จงึ จะมเี กยี รต ิ ขา้ ราชการจงึ ทำ� ตวั เปน็ นายเหนอื ประชาชนตลอด  มา  และคนส่วนมากก็มุ่งมองงานราชการเป็นงานอันดับหน่ึง  แม้จะ  ได้เงินน้อย  แต่ก็ท�ำงานสบาย  มีเกียรติ  (ในส�ำนึกของคนท้ังหลาย)  และมีหลักประกันอนาคต  รวมท้ังอภิสิทธ์ิที่ลูกเมียพ่อแม่จะได้รับด้วย  นอกจากนี้เมื่อเป็นใหญ่เป็นโตขึ้น  ยังมีสิทธิ์ใช้คนของราชการและ  ทรพั ยส์ นิ ของทางราชการ ในกจิ การสว่ นตวั ไดด้ ว้ ย บรษิ ทั บรวิ ารมาก  เพราะมอี ำ� นาจทางราชการทจ่ี ะใหค้ ณุ ใหโ้ ทษแกค่ นในอาณารศั มขี องตน  เม่ือมีอ�ำนาจมากขึ้น  คนสอพลอใกล้ชิดก็มีมากขึ้นด้วย  ท้ังยก  ทั้งยอ  ทงั้ ลอ่  ทงั้ หลอก ผใู้ หญก่ ต็ ดิ ลม เหลงิ ไป ลงสดุ ทา้ ยกเ็ สยี คน ขา้ ราช-  การชั้นผู้ใหญ่ท่ีเป็นคนดีจริงๆ จึงค่อนข้างจะหายาก  อ�ำนาจเป็นของ 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 421 หวานยอ้ มใจใหเ้ มาไดง้ า่ ย คนมอี ำ� นาจ คนใหญค่ นโต ไมค่ อ่ ยมโี อกาส  ได้รู้จักตัวเองท่ีแท้จริง  ประการหนึ่ง  เพราะไม่ค่อยมีคนกล้าเสนอ  ความจริง,  ประการท่ีสอง  เพราะผู้ใหญ่นั่นเองไม่อยากฟังความจริง  อนั ไมถ่ ูกอารมณ ์ หาว่าผูน้ ้อยผหู้ วงั ดีเสือกไมเ่ ขา้ เรอ่ื ง ราชการบางแห่งมีพฤติการณ์  หรือมีค�ำส่ังออกมาเสมือนหน่ึง  สนบั สนนุ ใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชารายงานเทจ็ ยกเมฆ เหมอื นพอ่ แมโ่ งๆ่  ให ้ ลูกรายงานว่ากินข้าววันละกี่เม็ด  ลูกก็ต้องรายงานยกเมฆเพราะใคร  เลา่ จะมวั นบั เมด็ ขา้ วอยใู่ นการกนิ  แตเ่ มอ่ื ลกู รายงานแลว้  พอ่ แมก่ เ็ ชอื่   ตามน้ัน อย่างน้ีจะไม่เรียกว่าสอนให้ลูกโกหก จะเรียกว่าอะไร ทำ� ไม  จะตอ้ งรายงานว่ากนิ ข้าวก่เี มด็ ขา้ ราชการบางคน ละอายใจที่จะต้องรายงานเทจ็ อยูท่ ุกวนั  จงึ   ลาออกไปเสีย  โดยเอาเหตุผลอื่นมาอ้าง  เช่น  เพื่อประกอบอาชีพอื่น  เปน็ ตน้  แตค่ วามจรงิ เขารงั เกยี จระบบราชการทจี่ ะตอ้ งรายงานเทจ็ อย ู่ ตลอดเวลา พ่อบอกว่า  ข้าราชการบางคนท่ีเป็นหัวหน้ากอง  เจ้ากรม  หรือ  อธิบดีข้ึนมาได้  หรือเป็นผู้อ�ำนวยการกองขึ้นมาได้  ก็ไม่ใช่มีความรู้  ความสามารถดีวิเศษอะไรนักหนา  เป็นได้เพราะมีอายุราชการสูงกว่า  คนอื่น อยใู่ นกรมน้ันมานานเท่านัน้ เอง ทำ� นองเดยี วกบั สมภารบางวดั   เปน็ สมภารเพราะอยนู่ าน จริงอยู่ท่านอาจมดี ีอยู่บ้าง แตด่ ีไม่ถงึ ขนาด  ทจี่ ะอย่ใู นต�ำแหนง่ สูงอย่างนั้น ผมตอ้ งขออภยั ขา้ ราชการทดี่ ๆี  ซง่ึ มอี ยเู่ หมอื นกนั  แตน่ า่ เสยี ดาย  ทค่ี นดีๆ อย่างนน้ั กด็ ีไปได้ไม่ตลอด เพราะคนสว่ นมากเขาไมไ่ ดท้ ำ� กัน  ท่านจะทำ� ไปคนเดียวได้อย่างไร คนส่วนมากเขาไม่ได้ทำ� ราชการเพื่อ  ราชการหรือเพ่ือประชาชนผู้เป็นสปอนเซอร์ของราชการ  แต่เขาท�ำ  เพ่ือตัวของเขาเอง  เพ่ือพ่อแม่ลูกเมียของเขาเอง  เขาเห็นผิดไปว่า 

ต อ น  ีท่ ๔ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 422 สปอนเซอร์เป็นบุคคลท่ีต้องพึ่งพาอาศัยพวกเขา  ทั้งน้ีสาเหตุหนึ่งมา  จากคนบ้านนอกส่วนใหญย่ ังไมร่ ู้จักสิทธแิ ละอำ� นาจของตนจึงยอมเปน็   ลูกน้องเขา  ทั้งๆ  ที่ความจริงตนเป็นนายจ้างของเขา  คนไทย  ๙๐%  ยังมีการศึกษาน้อย  พออ่านออกเขียนได้จริง  แต่พื้นฐานนั้นไม่พอที ่ จะศึกษาค้นคว้าให้กว้างขวางออกไปเพื่อให้รู้จักสิทธิ์และหน้าท ี่ อันแท้จริงของตน  ข้อนี้เป็นช่องให้คนใจทรามผู้มีหน้าที่ปกครองได ้ แสวงหาประโยชน์เพื่อตนและพวกพ้องของตน  อธรรมจึงยังคงแผ ่ อ�ำนาจครอบคลมุ ในวงการปกครองทั่วไป พ่อบอกว่า  เราต้องเปล่ียนทรรศนคติของข้าราชการกันใหม่  ต้องอบรมส่ังสอนและท�ำตัวอย่างให้ดู  จนเขาได้ตระหนักเห็นแจ้งว่า  พวกเขาเป็นลูกจ้าง  เป็นผู้รับใช้ประชาชนอย่างแท้จริง  ไม่ใช่เป็นกัน  เพยี งปาก แตใ่ นพฤตกิ ารณต์ า่ งๆ หาไดเ้ ปน็ ไม ่ ยงั คงเปน็ เจา้ ขนุ มลู นาย  กดขป่ี ระชาชนอยู่ ความทุกข์ทรมานอันเกิดจากความขาดแคลน  เส้ือผ้า  อาหาร  ทอ่ี ยอู่ าศยั  ยารกั ษาโรค และความทกุ ขท์ รมานจากโรครา้ ยเบยี ดเบยี น  ยังคงครอบง�ำคนไทยส่วนใหญ่อยู่  ข่าวหน้าแรกของหนังสือพิมพ์แทบ  ทกุ ฉบบั  รายงานถงึ ความทกุ ขย์ ากแรน้ แคน้ ของประชาชน และปญั หา  สังคมอันสลับซับซ้อน  แต่หน้ากลางๆ  เป็นข่าวสังคมของคนมั่งมีใน เมืองหลวง  หรือเมืองใหญ่ๆ  การเล้ียงส่ง  เล้ียงรับรอง  เลี้ยงเพื่อน่ัน  เพื่อน่มี ากมาย ในสถานทท่ี โ่ี อ่อา่  ต้องจา่ ยเงินเป็นหมืน่ ๆ พอ่ เลา่ วา่  เมอ่ื ไมก่ วี่ นั มานไี้ ปงานเลย้ี งแตง่ งานรายหนง่ึ  ทส่ี โมสร  แหง่ หนงึ่  พอ่ บอกวา่  อาหารด ี แตม่ องดสู ภาพแวดลอ้ มแลว้ กนิ ไมค่ อ่ ย  ลง  กลับมาบ้านปรารภกับแม่และลูกๆ  ว่า  อยากจะเลิกไปกินเล้ียงใน  งานร่นื เริงตา่ งๆ “ทำ� ไมครับพ่อ ?” ผมถาม

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 423 “เหน็ พวกเดก็ จนๆ ไมใ่ สเ่ สอื้  เพราะไมม่ เี สอ้ื ใส ่ นงุ่ กางเกงขาด  ว่นิ มานง่ั ดกู นั หนา้ สลอน แลว้ มนั กลืนไม่คอ่ ยลง” “ท�ำไมเขาปลอ่ ยให้เขา้ มาได้คะ ?” แมถ่ าม “ก็ท่ีสโมสรน้ันตามปกติเด็กแกมาเล่นกันท่ีสนามอยู่เป็นประจ�ำ  สนามกวา้ ง เหมาะสำ� หรบั เดก็ เลน่  สโมสรเปน็ ตกึ ชน้ั เดยี ว มชี ายคายน่ื   ออกมาสำ� หรบั ตงั้ โตะ๊ เลย้ี งแขกเมอื่ มงี าน ถา้ แขกมากกข็ ยายออกไปถงึ   สนามได ้ พวกเดก็ แกเลน่ อยแู่ ถวนนั้  เมอ่ื มงี านเลยี้ งแกกม็ านง่ั ด ู ดเู จา้ บา่ ว  เจ้าสาว  ดูคนแต่งตัวสวยๆ  มาในงาน  ดูเขากินอาหารราคาแพงๆ  ซึ่ง  พวกแกไมม่ โี อกาสไดล้ ม้ิ รสแมแ้ ตเ่ ศษของมนั  พอ่ เหน็ แลว้ กนิ ไมค่ อ่ ยลง  และตอ้ งรบี ถอดเส้อื นอก (ชดุ สากล) ออก” “เกย่ี วอะไรกับเสื้อชุดนอกของพ่อครับ ?” “กเ็ ดก็ พวกนนั้ เสอ้ื จะใสส่ กั ตวั กไ็ มม่  ี เราใสเ่ สยี  ๓ ตวั  เสอ้ื กลา้ ม  เสื้อเช้ิตแขนยาว  (แถมผูกคอเสียอีก)  แล้วเสื้อนอกหนาๆ  อีกหนึ่งตัว  พวกเราแต่งกันมากเกินไปกระมังเด็กจึงขาด  ผู้หญิงก็นุ่งเสียยาวลาก  พน้ื  พวกทนี่ งุ่ สน้ั กส็ นั้ เตอ่ พอปดิ ตะโพก พวกผหู้ ญงิ นห่ี าความพอดยี าก  เสยี จรงิ ๆ” ผมแอบช�ำเลืองดูแม่  เห็นแม่อมย้ิมในท่วงท�ำนอง  “ฉันเข้าใจ  คุณดคี ะ่  พูดไปเถอะ” “แตเ่ รอ่ื งทคี่ ณุ จะงดไปทานเลย้ี งในงานมงคลตา่ งๆ นน้ั  เหน็ จะ  ยังท�ำไม่ได้”  แม่ออกความเห็น  “เพราะคุณมีเพื่อนมาก  เพื่อนที ่ สนทิ สนมรกั ใครก่ นั จรงิ ๆ กม็ หี ลายคน ลกู ชายหรอื ลกู สาวเขาแตง่ งาน  คุณก็ต้องไปทานเล้ียง  ไปรดน้�ำ  หลีกเลี่ยงได้ยาก  งานสังคมพวกนี้  เกือบจะกลายเป็นของจำ� เปน็ ในสงั คมไทยไปแลว้ ” “กน็ า่ คดิ เหมอื นกนั  แตบ่ อกตรงๆ ใจจรงิ ไมอ่ ยากไปแลว้  อยาก  จะท�ำเพยี งสง่ ของขวญั ให้เขาแลว้ กลับบา้ น ไมต่ อ้ งทานเลย้ี ง”

ต อ น  ีท่ ๔ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 424 “คดิ อยา่ งคณุ พอ่ กนั มากๆ เขา้  กไ็ มต่ อ้ งสง่ การด์ เชญิ ใคร” นอ้ ง  วรี ดพี ดู ขนึ้  “เพราะเกรงใจเขา ตา่ งคนตา่ งกเ็ อาของขวญั มาใหแ้ ลว้ กลบั   บ้าน  ส่งการ์ดเชิญไปก็เหมือนกับขอของขวัญหรือขอเงินเขา  โดย  เจา้ ของงานไมต่ อ้ งเสยี อะไร มแี ตท่ างได ้ คนเชญิ กก็ ระดากไมก่ ลา้ เชญิ   การสมาคมกันก็หดส้ันเข้าทุกที  จนหมดไปในท่ีสุด  หนูคิดว่าคนไทย  สว่ นใหญย่ งั ทำ� ไม่ไดค้ ่ะ” “และคนส่วนใหญ่ก็ยังคิดท่ีจะจัดงานให้ใหญ่ที่สุดเท่าท่ีก�ำลัง  ความสามารถของตนจะท�ำได้  เป็นการอวดกันไปในตัวด้วย”  ผมว่า  “หรืออย่างน้อยก็บอกว่า ทางฝ่ายหญงิ เขาตอ้ งการอย่างนัน้ ” “ลูกลองนึกถึงว่าเราเป็นเจ้าภาพฝ่ายหญิงบ้าง”  แม่พูด  “การ  ทเี่ ขาจดั การแตง่ งานเปน็ พธิ ใี หญโ่ ต เรายอ่ มถอื วา่ เปน็ การใหเ้ กยี รตแิ ก่  เจ้าสาวของเรา และมีเพยี งครง้ั เดยี วในชีวิตทีล่ กู ผหู้ ญิงจะจดจ�ำไว้เปน็   เร่ืองภาคภูมิใจ  บางคนหลวมตัวไปแล้ว  ฝ่ายชายเขาไม่มีก�ำลังจัดให้  สมใจได้ ฝา่ ยหญงิ จงึ รว่ มกนั จัดเสยี เอง” “ความจริงหญิงท่ีมีการศึกษา  ควรจะคิดกันบ้างว่าอาการแห่ง  ความหรูหราฟุ่มเฟือยเหล่าน้ันไม่มีประโยชน์อะไร  ส้ินเปลืองเปล่าๆ  ไมใ่ ชว่ า่ ชวี ติ สมรสจะอยเู่ ยน็ เปน็ สขุ เพราะการจดั งานหรหู รา แตม่ นั อย่ ู ทค่ี วามเขา้ ใจกนั ” “เขาคดิ กนั ไม่เป็นหรอกคะ่ คณุ ” คุณพ่อหัวเราะชอบใจค�ำสั้นๆ  ของคุณแม่  แต่มีความหมายดี  พ่อจึงว่า “จริงซ ี ฉนั มักจะลืมไปเสมอ” “คุณนึกว่า   คนท้ังหลายจะคิดเป็นและคิดได้อย่างคุณหรือ ?  เขาคดิ กนั ไมค่ อ่ ยเปน็ หรอกคะ่  คนสว่ นมากถงึ จะมคี วามรดู้ ปี รญิ ญาสงู   แต่ไม่ได้หมายความว่าจะคิดเป็นและคิดถูกไปด้วย  เขาคิดได้แต่เร่ือง 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 425 ความก้าวหน้า  ความสุข  ความรุ่งเรือง  ความส�ำราญ  และโก้  ของ  ตวั เขาเองเรอ่ื งทไี่ ปทานเลยี้ ง เหน็ พวกเดก็ จนๆ มานงั่ ดแู ลว้ ทานไมล่ ง  ต้องรีบถอดเส้ือนอกเพราะเด็กไม่มีเส้ือสวมน้ัน  ใครเขาคิดกันบ้าง  เวลานั้นเขาคิดแต่เร่ืองอาหารในจาน  ดนตรี  เจ้าสาว  เจ้าบ่าว  ชุด  ของหญิงผู้แต่งกายประกวดกันมาในงานเช่นน้ันว่าใครแต่งอย่างไร  เพอื่ จะไดเ้ อาอยา่ งไปใชบ้ า้ ง หรอื มฉิ ะนน้ั กน็ งั่ นนิ ทาคนอน่ื พอหอมปาก  หอมคอแล้วแยกย้ายกันกลับ  พวกผู้ชายก็ม่ัวสุมจับกลุ่มกันกินเหล้า  เฮฮาไปตามเร่อื ง การสมาคมท่มี องเหน็ หรูหรา ก็มีเพียงเทา่ น้”ี “อันที่จริง  เนคไท  (ผ้าผูกคอ)  และเส้ือนอกนั้น  ผมว่าเป็น  เคร่ืองแต่งกายส่วนเกินของคนเมืองร้อนอย่างพวกเรา  มันเหมาะ  ส�ำหรบั คนเมืองหนาว เสอื้ นอกกค็ ือเส้ือหนาวนัน่ เอง ทำ� ไมจะตอ้ งเอา  มาใส่ในหน้าร้อน  และทุกคนก็บ่นว่าร้อน  พวกที่ใส่ชุดสากลท�ำงาน  ก็ต้องเปลืองเงินค่าเครื่องปรับอากาศ  (Air  Conditioned)  อีก  มัน  อะไรกนั  ถา้ คนจนในเมอื งไทยมวั ตามคนมงั่ มใี นเรอ่ื งเหลา่ นแ้ี ลว้  พวก  คนจนนนั่ แหละจะตายกอ่ น คนมง่ั มเี ขาไมค่ อ่ ยเดอื ดรอ้ น เขามรี ถปรบั   อากาศนงั่ โฉบไปโฉบมา แตค่ นจนไปงานแลว้ เอาอยา่ งคนมงั่ ม ี นงุ่ ยาว  ขนึ้ รถเมลไ์ มไ่ ด ้ ใสช่ ดุ สากลนงั่ รถเมลไ์ มไ่ ดต้ อ้ งนงั่ แทก็ ซ ี่ แทนทจ่ี ะเสยี   ค่ารถ  ๓  บาท  กลายเป็น  ๓๐  ไปมา  ๖๐  ค่าของขวัญอีก  ๗๐-๘๐  บาท  รวมแล้วร้อยกว่า  เดือนหน่ึงถูกเข้าสัก  ๕  รายก็เดือดร้อน”  ผม  พดู เสียยาว “ความจริงก็เดือดร้อนกันอยู่ทั้งน้ัน”  แม่ว่า  “คนจัดงานก็เดือด  รอ้ น กลวั เสรจ็ งานแลว้ ไมม่ เี งนิ ใชห้ น ้ี บางรายตอ้ งเปน็ หนเ้ี ขาไป ๒-๓  ปี  จึงเปลื้องหมด  คนไปก็เดือดร้อนเพราะต้องเจียดเงินที่มีไม่ค่อย  พอกนิ พอใชอ้ ยแู่ ลว้  ไปชว่ ยงานตามภาระหนา้ ทท่ี สี่ งั คมบญั ญตั ไิ ว ้ แตก่  ็ ต้องยิ้มแย้มแจ่มใส  แสดงความยินดีกันไปตามเรื่อง  บางคนลูกป่วย 

ต อ น  ีท่ ๔ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 426 จะพาไปหาหมอสักทีก็ผัดแล้วผัดอีก  หายากินพอประทังไป  แต่พอ  การด์ งานสงั คมมา ตอ้ งรบี ควกั กระเปา๋ ใหไ้ ป ๑๐๐-๒๐๐ ไมร่ วู้ า่ จะไป  เอาความผดิ กับใคร” “รายลูกป่วยพอผัดเพ้ียนได้ก็ผลัดไป  แต่งานสังคมเขาก�ำหนด  วันและเวลามาเลย  ผัดเพ้ียนไม่ได้  ถ้าผัดเพ้ียนได้คงผลัดกันเหมือน  ท�ำนองเดียวกับค่าเทอมลูก  ถ้าเจ้าของโรงเรียนบอกว่า  เม่ือไรก็ได้  ไม่ก�ำหนดวัน  หรือภายในก�ำหนดน้ันแล้ว  คงมีคนไม่เสียค่าเทอมกัน  มากมายเพราะคนไทยส่วนมากเวลาน้ี  เปิดเทอมทีก็ต้องเป็นหน้ีเขา  ทกุ เทอม” พอ่ นงิ่ อยู่ครหู่ นึง่ แลว้ พดู ตอ่ ไปว่า “ความทกุ ขย์ ากของประชาชนเทา่ ทเี่ รารเู้ หน็ นเ้ี ปน็ เพยี งสว่ นนอ้ ย  สว่ นทเ่ี ราไมเ่ หน็ มมี ากมาย หลายสบิ หลายรอ้ ยเทา่  เหมอื นน�้ำแขง็ กอ้ น  ใหญท่ ลี่ อยอยใู่ นแมน่ ำ�้  สว่ นทเ่ี ราเหน็ เพยี งเลก็ นอ้ ยเทา่ นน้ั  สว่ นทจี่ มอย่ ู ในน�้ำมากกว่าหลายเท่า   ความทุกข์อันมหึมาของคนเราน้ันมาจาก  การท่ีเราคิดถึงแต่ตัวเอง  ไม่เหลียวดูความทุกข์ของคนอื่นบ้าง  ซ่ึงม ี อยมู่ ากมาย และอาจทกุ ขม์ ากกวา่ เราตงั้ หลายรอ้ ยเทา่  การชว่ ยบำ� บดั   ทกุ ขข์ องผอู้ น่ื มหี ลายวธิ  ี แตว่ ธิ ที ที่ �ำไดท้ นั ทคี อื การเหน็ แกต่ วั ใหน้ อ้ ยลง”

๔๘ต อ น ที่ ผมพดู กบั พอ่ วา่  ความจรงิ ทรพั ยส์ มบตั ใิ นโลกนน้ั มมี ากมาย เชน่  อาหาร  เสื้อผ้า  ยารักษาโรค  ที่อยู่อาศัย  ยวดยานพาหนะ  และถนนหนทาง  แต่สิ่งเหล่านั้นมันไม่ได้เป็นของเรา  ผมออกไปบ้านนอกทีไรก็บังเกิด  ความคดิ อยา่ งน ี้ เพราะไดเ้ หน็ วา่ มนั มมี ากจรงิ ๆ ตวั อยา่ ง รถยนตร์ าคา  แพงเป็นเงินแสนก็ยังมีอยู่เกล่ือน  ที่ดินก็มีอยู่มากมายทั่วประเทศ  ทว่ั โลก แตไ่ มเ่ ปน็ ของเราเลยแมแ้ ตต่ ารางฟตุ เดยี ว เสอื้ ผา้ อาหารจะซอ้ื   สกั เทา่ ไรกไ็ ด ้ แตเ่ ราไมม่ เี งนิ ซอ้ื  เราเปน็ คนจนเพราะไมม่ สี ง่ิ เหลา่ นเ้ี ปน็   สมบตั ขิ องตัว “ทำ� ไมจะไมใ่ ชข่ องเรา” พอ่ วา่  “มนั เปน็ ของเราเหมอื นกนั  มฉิ ะนนั้   เราจะใชม้ นั ไดอ้ ยา่ งไร เชน่  รถยนตค์ นั ใหญๆ่  คนั หนง่ึ  ราคาหลายแสน 



อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 429 เราเสียเงินเพียง  ๗๕  สตางค์  เขาก็พาเราไปถึงที่หมายได้  เขามีคน  ขบั ใหเ้ สรจ็ และเกบ็ รถลา้ งรถให ้ มนั เสยี  เขากซ็ อ่ มให ้ หรอื มนั เกดิ เสยี   ระหวา่ งทาง เรากข็ นึ้ คนั ใหมซ่ ง่ึ เขา้ มาจอดเทยี บรบั เราทนั ทหี รอื เกอื บจะ  ทนั ท ี ฝนตกเขากป็ ดิ หนา้ ตา่ งให ้ แถมยงั ใหเ้ พอ่ื นนงั่ แกเ้ หงาไปอกี จำ� นวน  มาก  เราใช้รถเหล่านี้ได้ตลอด  ๒๔  ชั่วโมง  รถไฟ  เครื่องบินก็เป็น  ของเรา เพราะเราขน้ึ ได้ เขาจะพาเราไปสูท่ ี่หมายเหมือนกนั  เรามีได ้ จำ� นวนไมจ่ ำ� กดั  ถนนหนทางกเ็ ปน็ ของเรา สนามหญา้  สวนสาธารณะ  แมน่ ำ�้ ลำ� คลองทงั้ หลาย ลว้ นเปน็ ของเราทงั้ นน้ั  เพราะเราใชส้ อยมนั ได้  เทา่ ที่จ�ำเป็น ลูกตอ้ งคำ� นึงถึงจดุ ประสงคข์ องการมี วา่ เพอื่ อะไร ?” “แลว้ พ่อวา่  เพือ่ อะไร ?” “กเ็ พอื่ ใชส้ อย เพอื่ บรโิ ภค ของเหลา่ นนั้ ทา่ นเรยี กวา่ เครอื่ งอปุ โภค  บรโิ ภค เมอ่ื เรามจี ะใชส้ อยและบรโิ ภคอยแู่ ลว้  จะตอ้ งไปเดอื ดรอ้ นทำ� ไม  การท�ำนาก็เพ่ือให้มีข้าวมาบริโภค  ท่ีจ�ำเป็นต้องเป็นเจ้าของท่ีนาด้วย  กเ็ พอ่ื จะไดผ้ ลผลติ เตม็ เมด็ เตม็ หนว่ ย ไมต่ อ้ งถกู แบง่ ไปใหน้ ายทนุ หรอื   คนกลาง  แต่เม่ือเราไม่ได้ท�ำนา  แต่มีข้าวบริโภคเท่าที่ต้องการตาม  หลักของการแลกเปลี่ยนแล้ว  จ�ำเป็นอย่างไรที่เราจะต้องด้ินรนเพ่ือ  เป็นเจ้าของท่ีนาอันมหาศาล  การไปไหนมาไหนก็เพื่อให้ถึงท่ีหมาย  เมื่อรถยนต์ส่วนกลางหรือรถของบริษัทท่ีเรียกกันทั่วไปว่ารถเมล์คอย  บริการให้ถึงท่ีหมายอยู่แล้ว  จ�ำเป็นอย่างไรนักหนาที่จะต้องมีรถยนต ์ สว่ นตัว นอกจากผู้มกี ิจธรุ ะมากท่ีจำ� เป็นต้องใชม้ นั เพือ่ ความสะดวกใน  ธุรกิจหรือผู้หลักผู้ใหญ่,  หรือผู้มีเงินพอที่จะมีมันได้โดยไม่เดือดร้อน  แต่ถ้ามีแล้วเดือดร้อนอยู่เสมอเพราะความมีนั้น  ก็อย่ามีมันเลยดีกว่า  ใชว้ ธิ เี ชา่ เปน็ คราวๆ คอื บรกิ ารรถเมล ์ หรอื รถแทก็ ซจ่ี ะดกี วา่  แมม้ นั จะ  ส่งไม่ถึงท่ีทีเดียว  ก็เดินต่อเอาบ้างนิดหน่อย  ได้ออกก�ำลังไปในตัว  รวมความตามความเห็นของพ่อว่า  ถ้ามีแล้วเดือดร้อนก็อย่ามี  ถ้า 

ต อ น  ีท่ ๔ ๘ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 430 ไมเ่ ดอื ดรอ้ นกไ็ มเ่ ปน็ ไร” “ตามหลกั ของพระพทุ ธเจา้  เราอยใู่ นโลกอยา่ งผอู้ าศยั โลก ไมใ่ ช่  เป็นเจ้าของโลก  เราเพียงแต่อาศัยมันชั่วครั้งช่ัวคราว  อยู่อย่างผู้มีทุก  สง่ิ ทกุ อยา่ ง แต่ไม่มีอะไร” “ไม่เข้าใจครับพอ่ ” “ลูกดูตัวอย่างความเป็นอยู่ของพระพุทธเจ้า  หรือของพระสงฆ ์ สาวกของพระองค์  มีกุฏิอยู่อาศัย  มีวัดที่สวยงาม  แต่ไม่มีกุฏิใดเป็น  ของพระองค์ใดโดยเฉพาะ  ท่านเพียงแต่อาศัยอยู่  ของเหล่านั้นเป็น  สมบตั สิ ่วนกลาง เป็นของคนทกุ คน” “แตฆ่ ราวาสทำ� อยา่ งนนั้ ไมไ่ ด”้  ผมวา่  “ถา้ อยากอยอู่ ยา่ งพระก็  ต้องบวชเป็นพระ ทรัพย์สมบัติของฆราวาสตอ้ งมเี จา้ ของ” “กข็ องรฐั นนั่ ไง ทเี่ ปน็ สมบตั สิ ว่ นกลางของคนทกุ คน เชน่  สถานที ่ ราชการ  ถนนหลวง  เคร่ืองสาธารณูปโภคต่างๆ  แต่ท่านต้ังเจ้าหน้าท ่ี ไวเ้ พอ่ื คมุ้ ครองรกั ษา ทรพั ยส์ มบตั ขิ องรฐั ทง้ั หลายนน่ั แหละทเี่ รามสี ว่ น  เป็นเจ้าของอยู่ด้วย  และเราควรต้องถนอมใช้เหมือนอย่างเป็นสมบัติ  ส่วนตัวของเราเอง  เช่น  ถนน,  ไฟฟ้า  ประปา  ซึ่งท่านทำ� ไว้ให้เป็น  ของสาธารณะ รวมทัง้ ของอนื่ ๆ ดว้ ย เชน่  โรงเรยี น, สวนสาธารณะ  หอ้ งนำ�้ สาธารณะ เปน็ ตน้  ถา้ ของเหลา่ นน้ั ตอ้ งสญู เสยี ไป เรากพ็ ลอย  เสียประโยชนไ์ ปดว้ ย” “เขาคดิ อยา่ งนกี้ นั ไมค่ อ่ ยเปน็ หรอกคะ่ คณุ ” แมพ่ ดู ดว้ ยอารมณ์  ราบเรียบอยา่ งเดมิ  “ในเมืองเราคนสว่ นมากหวงแหนแต่สมบัติของตวั   สว่ นสมบตั ขิ องสาธารณชน เขาไมค่ อ่ ยรจู้ กั คณุ คา่  เขาพดู แตว่ า่  ‘ชา่ งมนั   ไมใ่ ชข่ องเรา’ เพราะคดิ กนั อยา่ งน ้ี การทำ� ลายสาธารณสมบตั ขิ องชาต ิ จึงมอี ยอู่ ยา่ งมากมายดาษด่ืน เหน็ แลว้ ใจหาย” “อาจเข้าหลักไม่ยึดมั่นถือมั่นในสิ่งท้ังปวง  กระมังครับแม่” 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 431 ผมพดู “ไมร่ ู้ซี ต้องถามพอ่ เขาด”ู “ไอค้ วามเลวทรามทส่ี ดุ  กบั ความดที ส่ี ดุ  มนั มกั จะใกลเ้ คยี งกนั   คดิ ไมด่ อี าจทำ� ใหเ้ ขา้ ใจผดิ ไดง้ า่ ยๆ เหมอื นเสน้  ๒ เสน้ ทโ่ี คง้ เขา้ หากนั   ปลายสุดของทั้งสองเส้นก็อยู่ชิดกันมาก  คนอัจฉริยะกับคนบ้าก็ใกล ้ เคียงกัน  เพียงแต่เขาไม่ยอมก้าวต่อไปอีกเท่านั้น  เหมือนคนปีนขึ้นไป  ถึงยอดเขาแล้ว  (คนอัจฉริยะ)  เบ้ืองหน้าของเขามีแต่ความว่างเปล่า  ทางทเ่ี ขาเดนิ สดุ สายแลว้  ถา้ เขากา้ วอกี กา้ วเดยี วกจ็ ะตอ้ งตกภเู ขา แต ่ เขาไม่ยอมกา้ วอกี  เขาจึงยืนสง่าอยู่บนยอดเขา เป็นอัจฉริยะ” “คนท�ำลายสมบัติของชาติโดยไม่มีเหตุผลนั้น  เป็นคนทราม  ทำ� ไปเพราะมอี สั มมิ านะจดั  ‘ฉนั จะทำ�  ใครจะทำ� ไม’ สว่ นคนไมย่ ดึ มนั่   ถือมั่นจะรักษาทรัพย์สมบัติของชาติหรือส่วนกลางอย่างดีที่สุด  เพราะ  ใจเขาสงู  เขาเหน็ วา่ เขาไมม่ สี ทิ ธอิ ะไรทจ่ี ะทำ� ลายทรพั ยส์ มบตั สิ ว่ นรวม  ของมหาชน  เขาจะอาศัยใช้สอยอย่างถนอม  เพ่ือคนอ่ืนจะได้ใช้ต่อไป  ถา้ เปน็ สทิ ธสิ ว่ นตวั ของเขาเสยี อกี  เขาอาจท�ำลายมนั ไดง้ า่ ยกวา่  ความ  แตกต่างระหวา่ งคนใจทรามกบั คนใจสูง มีอยดู่ ังนี้” “พระพุทธเจา้ ทรงส่งั สอนและทรงบญั ญัติพระวนิ ยั ให้สาวกของ  พระองค์ใช้ของกลางคือของสงฆ์อย่างถนอมที่สุด  เช่น  เตียงจะนอน  ลงไปเฉยๆ  โดยไม่มีเครื่องปูลาด  เช่น  ผ้าปู  เป็นต้น  ไม่ได้  ไม่ให้น่ัง  พงิ ฝาใหเ้ ปน็ รอย ของสงฆใ์ ชแ้ ลว้ ตอ้ งเกบ็ งำ� ใหด้  ี อยใู่ นทปี่ ลอดภยั  ถา้   ช�ำรุดต้องซ่อมแซม  อันที่จริงพระองค์ทรงเป็นยอดของผู้ไม่ยึดม่ันถือ  ม่ัน  ทรงสอนให้บริโภคใช้สอยปัจจัยอย่างเห็นโทษและมีปัญญา  สลัด  ออก (อาทนี  วทสสฺ าว ี นสิ สรณปญโฺ  ปรภิ ญุ ชฺ ต)ิ ๑ แตเ่ พราะเหตทุ มี่ ี  พระทยั บรสิ ทุ ธย์ิ ง่ิ  ทรงเหน็ แกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวมยง่ิ กวา่ ประโยชนส์ ว่ นตวั   ๑ อริยวงสิกสตู ร ทรงสอนถึงการบรโิ ภคปจั จยั แบบวงศข์ องพระอริยะ

ต อ น  ีท่ ๔ ๘ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 432 จึงทรงกวดขันเร่ืองการรักษาทรพั ยส์ มบตั สิ าธารณะดังกล่าวแล้ว” “คนส่วนมากเขาไม่ได้เห็นอย่างนั้น”  คุณแม่พูด  “เขายึดมั่น  ถือมั่นส่วนที่เป็นของเขา  และมีอัสมิมานะในการท�ำลายทรัพย์สมบัติ  สาธารณะ และคนสว่ นมากเหน็ กนั วา่  เรอ่ื งความไมย่ ดึ มน่ั ถอื มน่ั นน้ั น�ำ  มาใชใ้ นชีวิตการงานและชวี ิตประจำ� วันไม่ได”้ “ทำ� ไมจะใชไ้ มไ่ ด”้  พอ่ วา่  “แตข่ อใหใ้ ชใ้ หถ้ กู เรอื่ งเถอะ คณุ ลอง  คดิ ด ู คนทต่ี อ้ งทะเลาะกนั กเ็ พราะความยดึ มน่ั ถอื มน่ั วา่  เขาดา่ เรา เขา  นินทา  เขาดูหมิ่นเรา  ถ้าไม่ยึดม่ันก็ไม่ต้องทะเลาะกัน  คนท่ีแก่งแย่ง  กนั กเ็ พราะมอี สั มมิ านะจดั วา่  เราตอ้ งอยา่ งนน้ั อยา่ งน ้ี เราตอ้ งเกง่ กวา่   ใครหมด สงิ่ นนั้ ควรตอ้ งเปน็ ของเรา เรา เรา และเรา ลทั ธอิ โี กอสิ ซมึ่   (Egoism) น้นั  ทางปรชั ญาถือวา่ เลวทสี่ ุด” “การยอมรบั วา่ ตนยงั ปฏบิ ตั ไิ มไ่ ด ้ เพราะเปน็ หลกั ธรรมทคี่ อ่ นขา้ ง  สูงนั้น  ยังน่ารัก  น่าเอ็นดู  และน่านับถือกว่าการเหยียบย่�ำธรรมที่ตน  เข้าไม่ถึงว่าเป็นของไร้ประโยชน์  การเหยียบย่�ำธรรม  ดูหม่ินธรรมท ี่ ตนปฏิบัติไม่ได้ว่าไร้ค่าน้ัน  เป็นโมหจริตอย่างหนึ่งของผู้อ้างตนว่าม ี ปัญญา” “เรม่ิ หนกั เข้าทุกทแี ล้วครบั พอ่ ” “ก็หาเร่ืองเบาๆ  มาคุยซิ  พ่อก็ชอบเหมือนกัน  คุยหนักนานๆ  ไมค่ ่อยไหว” “มีผู้หญิงคนหน่งึ เขาบอกว่าคุยกับพอ่ เหมอื นน่ังคยุ กบั ยมบาล” คุณแมส่ ะดุง้ ร้องขน้ึ วา่  “อะไรกนั  ? ใครเปน็ คนพดู  ?” “ก็น้าอู๊ดไงละ่ ครับ แม”่ “ออ๋ ” คณุ แมร่ อ้ งอยา่ งโลง่ อก “เขาเคยเปรยกบั แมเ่ หมอื นกนั วา่   ฟังค�ำพูดของพ่อบางค�ำเขาขนลุก  เพราะนึกถึงยมบาลที่ปลอมมาเป็น  มนษุ ยใ์ นเร่ืองเงาของคุณโรสลาเรนใชไ่ หม ?”

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 433 “ใช่ครับ,  น้าอู๊ดบอกว่าพ่อพูดธรรมเหมือนยมบาลในเรื่องน้ัน  นา้ อู๊ดเลยกลัวๆ บอกว่าพ่อเหมือนไมใ่ ช่คนธรรมดา” พอ่ หวั เราะและบอกวา่  “กลวั อะไรกนั  เหน็ เขามาคยุ กบั พอ่ บอ่ ย  และคยุ ได้นานๆ” “เป็นไปได้หรือครบั พ่อ ที่ยมบาลจะมาในโลกมนษุ ย์” “ไมร่ ซู้  ี แตเ่ คยเหน็ หนงั สอื เลม่ หนง่ึ  พระทา่ นเขยี นเลา่ ไวว้ า่  ทา่ น  ประสบการณด์ ้วยตนเองสมยั เป็นคฤหสั ถ์ เหน็ ดงั น้ันจงึ ออกบวช” พอ่ ลกุ ขนึ้ ไปหยบิ หนงั สอื ในตเู้ ลม่ หนงึ่ มาสง่ ใหผ้ ม พลางกลา่ ววา่   “น่ีไง” เปน็ หนังสอื เล่มบางๆ เพยี ง ๔๐ หน้าขนาด ๑๖ หนา้ ยก “เอาไปอา่ นเสยี กอ่ น” พอ่ บอก “เชอื่ หรอื ไมเ่ ชอื่ กต็ ามใจลกู  เชอ่ื   กด็  ี ไมเ่ ชอื่ กแ็ ลว้ ไป เรอื่ งทค่ี นสลบไปพบยมบาลนนั้ มมี ากมายเหลอื เกนิ   แต่รายน้ียมบาลท่านเอาตัวมาส่งเอง  จึงมีโอกาสได้คุยกับพี่ชายและ  ญาตมิ ติ รของผเู้ ลา่  อา่ นกแ็ ลว้ กนั  เชอ่ื หรอื ไมเ่ ชอ่ื อกี เรอ่ื งหนง่ึ ตา่ งหาก”



๔๙ต อ น ท่ี เร่ืองกฎแห่งกรรม  สังสารวัฏ  และการเกิดใหม่เป็นเร่ืองที่เราคุยกัน  มากทส่ี ดุ เรอื่ งหนงึ่  รสู้ กึ วา่ พอ่ ชอบคยุ  และมคี วามสขุ จากการคยุ เรอ่ื งนี้  ดว้ ยเหมอื นกนั  ท�ำใหผ้ มไดร้ บั ความรเู้ พมิ่ เตมิ มาก การคยุ ใหฟ้ งั บอ่ ยๆ  คราวละเลก็ คราวละนอ้ ย เปน็ อบุ ายซมึ ซาบสง่ิ ใดสง่ิ หนงึ่ ลงไปในใจของ  เยาวชนได้ดยี ิง่  จนในทีส่ ดุ ก็เชอ่ื ไปเอง พ่อบอกว่า  เร่ืองกฎแห่งกรรม  สังสารวัฏ  และการเกิดใหม่นั้น  แยกกันไม่ได้ ต้องไปด้วยกันเสมอ ขาดอย่างใดอย่างหน่ึง ย่อมทำ� ให้  อกี อยา่ งหนงึ่ ไมส่ มบรู ณแ์ ละอาจลม้ ลงไดโ้ ดยงา่ ย เชน่  เรอื่ งกรรม ถา้   ไมม่ เี รอ่ื งสงั สารวฏั กอ็ ธบิ ายกรรมใหแ้ จม่ แจง้ ไมไ่ ด ้ เรอื่ งสงั สารวฏั กค็ อื   เร่ืองการเวียนว่ายตายเกิดนั่นเอง  ซึ่งพุทธศาสนิกควรสนใจเป็นพิเศษ 

ต อ น  ีท่ ๔ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 436 พ่อได้น�ำพระราชปรารภของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมา  อา้ งอิงว่า “สำ� หรบั พระพทุ ธศาสนานน้ั  ขา้ พเจา้ มคี วามเหน็ วา่ สงิ่ ทค่ี วรสอน  ใหเ้ ขา้ ใจและใหเ้ ชอื่ มนั่ เสยี ตง้ั แตต่ น้ ทเี ดยี ว คอื สง่ิ ทเี่ ปน็ หลกั สำ� คญั ของ  พระพุทธศาสนา น่นั คือ วัฏฏสงสาร การเวียนวา่ ยตายเกดิ และกรรม  ท�ำดีได้ดี  ท�ำชั่วได้ช่ัว  เป็นหลักส�ำคัญของพระพุทธศาสนา  เพราะ  หนทางปฏบิ ตั ขิ องพทุ ธศาสนกิ กเ็ พอื่ พน้ จากวฏั ฏสงสารอนั เปน็ ทกุ ข ์ แต ่ สงิ่ ทดี่ ปี ระเสรฐิ ยงิ่ นนั้ คอื ความเชอื่ ในกรรม แตจ่ ะสอนเรอ่ื งกรรมอยา่ ง  เดยี ว ไม่สอนเร่อื งวัฏฏสงสารก็ไม่สมบูรณ์”๑  “ความเช่ือในกรรม  ข้าพเจ้าเห็นว่าเป็นของประเสริฐยิ่ง  ควร  เพาะใหม้ ขี นึ้ ในใจของคนทกุ คน และถา้ คนทง้ั โลกเชอื่ มน่ั ในกรรมแลว้   มนษุ ยใ์ นโลกจะไดร้ บั ความสขุ ใจขนึ้ ไมน่ อ้ ย โดยทไี่ มท่ �ำใหร้ สู้ กึ ทอ้ ถอย  อยา่ งไร” “ขา้ พเจา้ เหน็ วา่  เราควรพยายามสอนเดก็ ใหเ้ ขา้ ใจและใหเ้ ชอ่ื มน่ั   ในกรรมเสยี แตต่ น้ ทเี ดยี ว ยง่ิ ใหเ้ ชอ่ื ไดม้ ากเทา่ ไรยง่ิ ด ี ควรใหฝ้ งั เปน็ นสิ ยั   ทีเดียว” ผมถามพอ่ ว่า มีวธิ พี ิสจู น์อยา่ งไรหรือไม่ว่าคนตายแลว้ เกดิ ชาติ  หนา้ มจี ริง ? พ่อตอบว่า “กม็ อี ยบู่ า้ ง เชน่  เรอ่ื งเดก็ ระลกึ ชาตไิ ด ้ ซง่ึ มอี ยทู่ กุ ทวปี ในโลก” “แตก่ ็เป็นเฉพาะบางคนครับพ่อ, ส่วนใหญ่ระลึกไม่ได”้ “ท่ีระลึกไม่ได้น้ัน เพราะอยู่ในโลกแห่งวญิ ญาณเสยี นาน” พอ่ ตอบ “ถา้ เราอา่ นประวตั ขิ องคนทรี่ ะลกึ ชาตไิ ด ้ มขี อ้ สงั เกตอยอู่ ยา่ งหนง่ึ   ๑ เกบ็ ความจากพระราชปรารภของพระบาทสมเดจ็ ปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั  ทรงปรารภเมอื่    ๑๖ พ.ค. ๒๔๗๒

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 437 วา่  ทา่ นเหลา่ นนั้ มไิ ดใ้ ชช้ วี ติ อยใู่ นโลกแหง่ วญิ ญาณนาน แตพ่ อตายได ้ ไมน่ านเท่าไร กไ็ ปเกิดเปน็ มนษุ ยอ์ ีก อย่างน้แี ทบทุกคน” “เป็นยงั ไงครับ อยใู่ นโลกแห่งวิญญาณ ?” “คืออยู่ในโลกทิพย์  อาจเป็นเทวดา  หรือโลกแห่งโอปปาติกะ  อย่างอื่น เชน่  นรก เปรต อสุรกาย เปน็ ตน้ ” “อันที่จริงเรื่องที่จ�ำไม่ได้นั้น  ไม่ต้องระยะไกลถึงพันๆ  ปี  แม้  เพยี งปเี ดยี วสองป ี เรากจ็ ำ� รายละเอยี ดอะไรไมค่ อ่ ยได ้ เราจำ� ไดแ้ ตส่ าระ  ส�ำคัญเท่าน้ัน  เมื่อวานนี้  เราพูดอะไรไปเท่าไร  เราก็จ�ำได้ไม่หมด  เพียงแต่จ�ำได้บ้างเท่าน้ันเอง  ไม่ต้องพูดถึงชาติก่อนๆ  ซ่ึงใช้เวลานาน  และมบี างสิง่ บางอยา่ งบงั อย”ู่ “อะไรครบั  บางสง่ิ บางอย่าง ?” “กจ็ ะอะไรเสยี อกี เลา่  กเิ ลส โลภ โกรธ หลง นน่ั เอง โดยเฉพาะ  ตวั โมหะ ซง่ึ เปน็ ตวั มดื  เหมอื นมขี องอยใู่ นหอ้ งนม้ี ากมาย แตพ่ อมดื เรา  กม็ องไมเ่ หน็ อะไร ของอยแู่ คม่ อื เออื้ มกม็ องไมเ่ หน็  การทเ่ี รามองไมเ่ หน็   ไม่ได้หมายความว่าของน้ันไม่มี แต่เพราะความมืดมาบังไว้ ทำ� นอง  เดียวกัน  ใจเรามีความมืดคือโมหะมาบังไว้  ท�ำให้มองไม่เห็นอดีต  อนาคตและแมใ้ นชวั่ โมงหนา้  เรากม็ องไมเ่ หน็ วา่ อะไรจะเกดิ ขนึ้ แกช่ วี ติ   เรา พอโลภ โกรธ หลง หายไปจากใจ โลกกส็ วา่ งไสวข้นึ ทนั ท”ี “บางคนเขาวา่  ตายแลว้ เกดิ เปน็ เรอ่ื งทเ่ี ปน็ ไปไมไ่ ด ้ ไมเ่ ปน็ จรงิ   เพราะอะไรจะไปเกิด  ในเม่ือพฤติกรรมต่างๆ  ของมนุษย์มีแต่สมอง  เป็นผู้บญั ชางาน” ผมถาม “พ่อเชื่อว่ามันสมองมีความส�ำคัญ  แต่มันสมองไม่ใช่จิต  หรือ  วญิ ญาณ มนั สมองเปน็ เพยี งเครอ่ื งมอื ของวญิ ญาณ เหมอื นเครอื่ งดนตรี  เปน็ เครอื่ งมอื ของนกั ดนตร ี เครอ่ื งกำ� เนดิ ไฟฟา้ และอปุ กรณแ์ หง่ ไฟฟา้   ทง้ั มวลมใิ ชต่ วั ไฟ มนั เปน็ เพยี งเครอ่ื งอปุ กรณใ์ หไ้ ฟปรากฏขน้ึ  และตอ้ ง 

ต อ น  ีท่ ๔ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 438 ทำ� ถกู วธิ ดี ว้ ยจงึ จะปรากฏ อนง่ึ  นกั เขยี นจะมคี วามสามารถปานใดกต็ าม  เม่ือไม่มีเครื่องมือในการเขียน  เช่น  กระดาษ  ปากกา  เป็นต้น  เขาก ็ เขยี นอะไรออกมาไมไ่ ด ้ มนั สมองเปน็ เพยี งเครอื่ งมอื ของวญิ ญาณ ตวั   มันสมองเองไม่ได้คิดอะไรเลย  ผู้ท่ีคิด  เก็บ  ระลึก  สะสม  อารมณ ์ และความช่ัว  ความดีต่างๆ  ก็คือจิตหรือวิญญาณ  เคร่ืองจักรไม่เคย  บันทึกอะไรไว้  แต่เจ้าของเคร่ืองจักรนั่นต่างหาก  ท่ีเป็นผู้บันทึกเร่ือง  ราวตา่ งๆ อนั เกย่ี วกบั เครอื่ งจกั ร แตท่ ง้ั สองอยา่ งตอ้ งอาศยั กนั  คอื ทง้ั   สมองและจติ  บางคนมนั สมองดแี ตจ่ ติ ไมด่  ี จงึ น�ำเครอ่ื งมอื คอื มนั สมอง  ไปคิดเร่ืองเสียหายร้ายแรง  บางคนมันสมองไม่ค่อยดีแต่จิตดี  จึงท�ำ  ประโยชนไ์ ดเ้ ทา่ ทเ่ี ครอื่ งมอื จะอำ� นวย พอ่ วา่ มนั สมองกบั จติ หรอื วญิ ญาณ  เปน็ คนละอยา่ ง แต่อาศยั กนั ” “อีกอย่างหนึ่งที่พอเป็นข้อพิสูจน์ว่าคนตายแล้วเกิด  อดีตชาต ิ มจี รงิ  คอื ความแตกตา่ งกนั ของบคุ คล แมแ้ ตใ่ นวยั ตน้ ๆ แมจ้ ะมมี ารดา  บิดา  สิ่งแวดล้อม  และการศึกษาอย่างเดียวกัน  แต่เด็กก็มีความโน้ม  เอียงในเร่ืองต่างๆ  ไม่เหมือนกัน  เพราะความเคยชินในอดีตของแก  ตา่ งกัน ตามประวตั ิแห่งคนสำ� คัญในโลก แสดงวา่ คนส�ำคัญในทางใด  มักมีท่าทีในทางน้ันมาต้ังแต่วัยต้นแห่งชีวิตทีเดียว  เด็กฝาแฝดแท้ๆ  ยังสนใจในส่ิงต่างๆ  ไม่เหมือนกัน  ร่องรอยแห่งอดีตยังติดมาจนถึง  ปัจจุบัน  สิ่งที่ตนท�ำไว้ด้วยกาย  วาจา  ใจ  จึงไม่สูญไปพร้อมกับการ  สลายของรา่ งกาย” “พันธุกรรม  ส่ิงแวดล้อม  และการอบรม  ย่อมมีส่วนท�ำให้คน  แตกตา่ งกนั ” ผมว่า “ขอ้ น ี้ พอ่ ไมเ่ ถยี ง แตม่ ขี อ้ นา่ คดิ อยบู่ า้ งเหมอื นกนั วา่  เดก็ บางคน  พอ่ แมด่ เี หลอื เกนิ  แตล่ กู ดไี มไ่ ด ้ พยายามอบรมสง่ั สอนอยา่ งไรกไ็ มไ่ ดผ้ ล  เด็กบางคนพ่อแม่ไม่ดี  แต่ตัวเด็กเองแสดงอุปนิสัยอันดีเลิศออกมา 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 439 ข้อน้ีแสดงว่าคนทุกคนได้น�ำเอา  คุณสมบัติทางใจของตนในอดีต  มาในปจั จุบันด้วย” “เดก็ ด ี ทำ� ไมจงึ ไมไ่ ปเกดิ กบั พอ่ แมท่ ดี่  ี หรอื วา่ เลอื กเกดิ ไมไ่ ด ้ ?”  ผมถาม “เลอื กเกดิ ได้กม็ ี เลือกไม่ได้ก็มี” พ่อตอบ “คืออยา่ งไรครับ ?” “คือวิญญาณท่ียังต�่ำอยู่  เลือกเกิดไม่ได้  ต้องสุดแล้วแต่กรรม  กรรมมอี ำ� นาจพเิ ศษในการสำ� รวจอดตี ของวญิ ญาณ แลว้ กำ� หนดหมาย  ให้ใครไปเกิดท่ีใดอยา่ งเหมาะสมท่ีสดุ กับกรรมในอดีตของเขา เพ่ือให ้ เขาได้มีโอกาสเรียนรู้สิ่งต่างๆ  ตามสมควร  ไม่มีสิ่งใดยุ่งยากสับสน  เท่ากับใยชะตาชีวิตมนุษย์  ส่วนคนท่ีเลือกเกิดได้  คือผู้ที่พัฒนาจิตใจ  ของตนจวนจะสมบูรณ์อยู่แล้ว  อย่างเช่น  พระโพธิสัตว์  เมื่อจะลง  มาเกดิ เพอ่ื ตรสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้  พระองคท์ รงเลอื กพระมารดา และ  สถานทอ่ี นั เหมาะสมแกจ่ ดุ มงุ่ หมายในการมาเกดิ ของพระองค ์ วญิ ญาณ  ชน้ั สงู เหล่านัน้ ลงมาเกดิ ด้วยจุดม่งุ หมายอันแนน่ อน” “ท�ำไมบางคนซึ่งเป็นวิญญาณช้ันสูง  จึงไปบังเกิดกับมารดาที ่ ทุกข์ยากลำ� บาก ในหมูบ่ า้ นทีแ่ ร้นแคน้  ?” “รู้ไดอ้ ย่างไร ?” พอ่ ถาม “สังเกตท่ีเขาเป็นคนดี  และเมื่อเติบโตขึ้นได้ท�ำประโยชน์แก่  ประเทศชาติมากมาย แสดงว่าเปน็ วญิ ญาณชน้ั สงู มาเกิด” “อนั นเ้ี ขา้ ใจไดง้ า่ ย” พอ่ ตอบ “เขาถกู สง่ ไปหรอื ไดร้ บั การขอรอ้ ง  ให้ไปเกิด  เพ่ือหาประสบการณ์ในสภาพสังคมเช่นนั้นชั่วคราว  แล้วก ็ กลบั สสู่ ังกดั เดิม” “ยังไมค่ ่อยเข้าใจครบั พ่อ ?” “เปรียบเหมือนข้าราชการที่สังกัดอยู่ในกรม  หรือกระทรวง 

ต อ น  ีท่ ๔ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 440 ในกรุงเทพฯ  แล้วถูกส่งไปอยู่ในแดนธุรกันดารชั่วคราว  เพ่ือศึกษาข้อ  เทจ็ จรงิ บางอยา่ ง หรอื เพอื่ ถา่ ยถอนโทษบางประการของตน หรอื อาจ  เปน็ เพราะความสมคั รใจของตนเองทจ่ี ะหาประสบการณใ์ นสภาพอยา่ ง  นัน้ ชั่วคราว แลว้ กลับเข้าสังกดั เดมิ ” “เปรียบอีกอย่างหนึ่งเหมือนนักเรียนทหารท่ีออกฝึกภาคสนาม  เมื่อปิดเทอมปลาย  เพ่ือหาประสบการณ์ในภูมิประเทศและใช้ชีวิต  ทหารของตนใหแ้ ข็งแกรง่ ” “แล้วคนที่ตรงกันขา้ มเล่าครับ ?” “อยา่ งไร ?” “คือวิญญาณช้ันต่�ำ  แต่ไปเกิดกับมารดาบิดาท่ีดีมีศีลธรรม  มี  ทรัพย์สินมาก  สังเกตได้ว่าเป็นวิญญาณช้ันต�่ำก็คือ  เขาประพฤติแต ่ เร่อื งต่ำ� ทราม และท�ำตวั ต�ำ่ ลงเรือ่ ยๆ จนเป็นคนเลวในทส่ี ุด” “พวกนค้ี งเคยทำ� ความดบี างอยา่ งอนั เปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ในทอ่ี ยา่ งนน้ั   แตบ่ ญุ ทจ่ี ะคมุ้ ครองตนไวไ้ มม่  ี จงึ อยใู่ นทส่ี งู ไมไ่ ด ้ ใหเ้ ดอื ดรอ้ นร�ำคาญ  ตอ้ งลงมาเกลอื กกลว้ั กบั ความตำ�่ ทรามตามสนั ดานของตน เราจะเลย้ี ง  หมไู วบ้ นบา้ นทส่ี วยงาม ใหอ้ าหารอยา่ งด ี มนั กค็ งไมพ่ อใจเหมอื นไดไ้ ป  เกลือกกล้ัวกับโคลนตมและกินอุจจาระ  สันดานของมันเป็นอย่างน้ัน  การพัฒนาวิญญาณเพ่ือให้รักความดี  จึงมีความหมายมากในความ  กา้ วหนา้ ของชีวิตวญิ ญาณ” “คนทที่ อ่ งเทยี่ วอยใู่ นสงั สารวฏั  ยอ่ มตอ้ งเกดิ เปน็ หญงิ บา้ ง เปน็   ชายบ้างใชไ่ หมครบั  ?” “ใช”่ “ท�ำไมจึงเป็นอย่างนั้น ?  ท�ำไมไม่เกิดเป็นเพศเดียวให้ตลอดไป  เลย เพอ่ื พฒั นาคณุ สมบตั ขิ องตนใหเ้ จรญิ ถงึ ขดี สดุ อยา่ งรวดเรว็ เหมอื น  คนทำ� งานดา้ นเดยี ว”

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 441 “เรื่องน้ีค่อนข้างจะพูดยาก”  พ่อว่า  “แต่ก็พอพูดได้  คือ  การ  ทต่ี อ้ งเกดิ เปน็ ชายบา้ งหญงิ บา้ งนนั้  เปน็ ความจำ� เปน็ เพอื่ ใหเ้ รามปี ระสบ  การณ์ด้านต่างๆ  และเพ่ือให้การพัฒนาของเราเป็นไปได้สัดส่วน  เรา  จะเห็นได้จากประวัติบุคคลส�ำคัญของโลก  ผู้ท�ำประโยชน์อันย่ิงใหญ ่ ใหแ้ กโ่ ลก ยอ่ มมคี ณุ ธรรมทง้ั แบบชายและแบบหญงิ ผสมกลมกลนื กนั   อย่างดี  เช่น  ความเข้มแข็งทนทาน  ความกล้าหาญ  ความเสียสละ  อันเป็นคุณธรรมของชาย  และความอ่อนหวานนุ่มนวล  ความเห็นอก  เห็นใจ  ความรักครอบครัว  เป็นต้น  อันเป็นคุณสมบัติของหญิง  เม่ือ  คุณธรรมทั้งสองฝ่ายมาผสมผสานกันก็ท�ำให้บุคคลผู้นั้นมีอุปนิสัยอัน  ดีเลิศ  สมควรเป็นตัวแทนของส่ิงดีงามทั้งหลาย  คือเขาเป็นท่ีสถิตอยู ่ แห่งส่ิงดีงาม  ใครอยากรู้ว่าความดีเป็นอย่างไร  ดูได้ท่ีบุคคลอย่างนั้น  เขาเกดิ มาเพอื่ เป็นโลกนายก ผู้นำ� โลก” ผมถามพ่อว่า  “เมื่อคนที่เกิดมาต้องรับผลกรรมบางอย่างท่ีเขา  เคยท�ำเหตุไว้  แต่เขาระลึกไม่ได้ว่าเขาได้ท�ำผิดอะไร  จึงต้องมาทน  ทุกข์ทรมานอยู่ในสภาพอย่างนั้น  วิญญาณของเขาไม่มีทางพิจารณา  ผลเทียบเคียงกับเหตุได้  การเกิดใหม่ก็ไร้ความหมาย  ผลดีหรือชั่วท่ ี เกิดขึ้นในระยะหลัง  เป็นเหมือนการลงโทษหรือให้รางวัลแก่คนที ่ ไมร่ เู้ รอื่ งอะไรเลย สว่ นคนทเ่ี กดิ มาด ี อยดู่  ี กนิ ด ี กร็ สู้ กึ ตวั แตเ่ พยี งวา่   ตนเกิดมาโชคดี  ไม่รู้สึกในคุณค่าของความดีแต่ประการใด  ฝ่ายคนที่  เกิดมาไม่ดีก็ก่นแต่ลงโทษส่ิงแวดล้อมและโชควาสนาของตัว  ดูจะไม ่ เปน็ ประโยชน์อะไร” “ความจริงไม่มีใครลงโทษ  และไม่มีใครให้รางวัล  แต่มันเป็น  ไปตามผลแห่งกรรมของเขาเอง  เป็นความยุติธรรมสากลที่ไม่มีอะไร  ยตุ ธิ รรมยงิ่ กวา่ , เจา้ ตวั จะรหู้ รอื ไมร่ เู้ ปน็ เรอ่ื งของเจา้ ตวั  แตก่ ารใหผ้ ล  เปน็ หนา้ ทขี่ องกรรม ผทู้ ำ� กรรมบางคน พอดวงตาคอื ปญั ญาแจม่ ใสขน้ึ  

ต อ น  ีท่ ๔ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 442 จิตสะอาด วิญญาณสงบ ก็รู้ได้ด้วยตนเอง ว่าตนได้ทำ� กรรมอะไรมา  จงึ ไดร้ บั ผลอยา่ งน ี้ เมอื่ มแี สงสวา่ งกม็ องเหน็ รปู  ไมม่ แี สงสวา่ ง แมร้ ปู   มีอย่กู ็มองไมเ่ หน็  อนง่ึ  คนตาบอดถึงมแี สงสว่างอย่กู ห็ าเห็นส่ิงใดไม”่ “เขาจ�ำไม่ได้  เล่าไม่ได้ก็จริง  แต่ท่าทีของจิตหรือวิญญาณท่ ี แสดงออก เหมอื นจำ� ไดใ้ นสาระสำ� คญั  นน่ั คอื มนษุ ยเ์ ราเกลยี ดกลวั และ  นยิ มชมชอบสง่ิ ตา่ งๆ ไมเ่ หมอื นกนั  เชน่  บางคนรงั เกยี จการฆา่  บางคน  รงั เกยี จการขโมย บางคนรงั เกยี จกาเมสมุ จิ ฉาจาร บางคนรงั เกยี จการ  กล่าวเท็จ  และบางคนรังเกียจการเสพสุราเมรัย  บางคนรังเกียจหมด  ทุกอยา่ ง นั่นแสดงว่าเขาเคยไดร้ ับผลร้ายแห่งการลว่ งธรรมอยา่ งนน้ั ๆ  มาแลว้  จนจติ ของเขาหวาดหวนั่ ตอ่ ผลชวั่ อนั นน้ั  รอ่ งรอยเกา่ ยงั เหลอื มา  จนถึงชาติปัจจุบัน  ในทางตรงกันข้ามคือความนิยมชมชอบก็ท�ำนอง  เดยี วกนั  รอ่ งรอยแหง่ ความทรงจ�ำในอดตี ทเี่ หน็ ไดช้ ดั ทสี่ ดุ คอื เรอ่ื งเดก็   อัจฉริยะ  ซ่ึงเด่นออกมาโดยที่หลักแห่งพันธุกรรมอธิบายไม่ได้  ความ  จริงอันนี้  แสดงว่ามนุษย์จ�ำอดีตของตนได้  แต่จ�ำอยู่ลึกๆ  แสดงออก  ทางความโนม้ เอยี ง หรืออปุ นิสัยท่ีได้สั่งสมมาเปน็ เวลานานในอดีต” “มนุษย์ทุกคนย่อมได้รับผลชั่วจากเหตุช่ัวซึ่งเราได้สร้างไว้เอง  เขายอ่ มเกดิ สะดงุ้ กลวั ตอ่ การทำ� เหตชุ วั่  เพราะจากประมวลความจำ� ใน  อดีต  บอกเขาว่าเหตุชั่วก่อให้เกิดทุกข์  ความรู้นี้ท�ำให้พลังใจของเขา  แขง็ ขึน้ และเร่ิมงดเวน้ การท�ำชวั่ ทลี ะนอ้ ย “มนุษย์เวียนว่ายอยู่ในโรงเรียนโลก  เกิดชาติแล้วชาติเล่า  ได ้ ผา่ นความสขุ บา้ ง ทกุ ขบ์ า้ ง ความสำ� เรจ็ บา้ ง ลม้ เหลวบา้ ง เปน็ บทเรยี น  เพอื่ พฒั นาวญิ ญาณใหร้ จู้ กั ผดิ ชอบชวั่ ด ี และกา้ วสงู ขนึ้ ไป ในโรงเรยี น  โลกก็เหมือนในโรงเรียนธรรมดา คือมีวิญญาณช้ันสูงซ่ึงกำ� ลังจะออก  จากโลกไป และมีวิญญาณซง่ึ ยงั อ่อนไต่เตา้ ตามข้ึนมาไม่มที สี่ ิน้ สดุ ” “มนุษยชาติทั้งสิ้น  ก�ำลังเดินขบวนข้ึนสู่บันไดอันยิ่งใหญ่  ส่วน 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 443 ลา่ งสดุ ของขบวนกำ� ลงั โผลอ่ อกมาจากจดุ เบอ้ื งตน้ อนั มดื สลวั  สว่ นบนสดุ   ของขบวนก�ำลังหายเข้าไปในแสงสว่างอันเรืองรองของทิพยภาวะ  (Divinity)” “อะไรครบั พอ่  ทิพยภาวะ ?” “ความเป็นทิพย์” “อะไรครบั  ความเป็นทิพย ์ ?” “ความประเสรฐิ สงู ส่ง ความละเอียดออ่ น” “เราจะเขา้ ถึงความเปน็ ทพิ ย์ในชีวติ นไ้ี ดห้ รอื ไม่ ?” “ได้”  พ่อตอบ  “ความจริงเราเข้าถึงภาวะอันเป็นทิพย์กันออก  บ่อย แต่เราไม่รจู้ ัก” “อย่างไรครับ ?” “ลูกลองนึกถึงอย่างนี้  เม่ือเราดูหนัง  ละคร  ฟังดนตรี  อ่าน  นวนิยาย  หรือกวีนิพนธ์ที่ตรงกับความรู้สึกของเรา  เรารู้สึกด่ืมด่�ำใน  รสของสิ่งน้ันๆ  มีปีติสุขซาบซ่าน  เรารู้สึกเสมือนว่า  วิญญาณของเรา  ไดล้ อ่ งลอยออกจากกายเนือ้ ไปแนบสนทิ อยกู่ ับสง่ิ นัน้  น่เี พยี งแต่เราได ้ ลม้ิ รสปลอมแหง่ ทพิ ยภาวะ ยงั ใหค้ วามสขุ ความเบกิ บานแกเ่ ราถงึ ปานน ้ี ถ้าเราไดล้ ิ้มรสทพิ ยภาวะจรงิ ๆ โดยตัวของเราเองเป็นผ้สู ร้างข้นึ  จะมี  ความสุข ปตี ซิ าบซา่ นสกั ปานใด “ชายหนมุ่ หญงิ สาวทร่ี กั กนั มากๆ รกั กนั อยา่ งซาบซง้ึ ตรงึ ใจ ใน  เวลานั้น  ใจของเขาทั้งสองแนบสนิทอยู่ด้วยกัน  เหมือนดวงเดียวกัน  ความรกั ทเี่ อบิ อาบดวงใจทงั้ สองอยนู่ น้ั  สามารถเพกิ ถอนเครอื่ งกดี ขวาง  หยาบๆ  คือร่างกาย  แล้วไปช่ืนชมอยู่ด้วยกัน  เป็นความรักที่ละเอียด  อ่อน  ประณีตกว่าความรักทางร่างกาย  กล่าวให้สั้นก็คือ  ความรัก  เป็นเรอื่ งของใจตอ่ ใจ สว่ นกายต่อกายน้ันเปน็ เร่อื งของความใคร”่ “ความรักท่ีมีแต่ใจต่อใจนั้น  จะมีประโยชน์อะไรครับพ่อ ?  ผม 

ต อ น  ีท่ ๔ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 444 เหน็ ตอ้ งเลกิ รา้ งกนั ไปทกุ ราย ถา้ ไมม่ เี รอื่ งของกายตอ่ กายเขา้ มาเกยี่ ว  ขอ้ งด้วย” “สว่ นมากกเ็ ปน็ อยา่ งนนั้ ” พอ่ วา่  “เพราะคนสว่ นใหญย่ งั ตอ้ งการ  ทง้ั สองอยา่ ง คอื ทง้ั รกั และใคร ่ เมอื่ ไดพ้ รอ้ มทง้ั สองอยา่ ง ความรกั จงึ   ดำ� เนนิ ไปดว้ ยดี บางคนตอ้ งการเพยี งความใครอ่ ยา่ งเดียวเสยี ดว้ ยซ�ำ้   ไป แตก่ จ็ ดื จางเรว็ และอาจกลายเปน็ เกลยี ดไดง้ า่ ย ความรกั ของหนมุ่   สาวที่ย่ังยืนม่ันคง  สูงส่งเป็นทิพย์อยู่เสมอก็คือความรักท่ีไม่สมหวัง  โดยท่ีทั้งสองยังรักกันอยู่  แต่มีอุปสรรคไม่ให้เขาใกล้ชิดสนิทสนมกัน  ได ้ ไมล่ ว่ งเกนิ ทางกายกนั  ความรกั อยา่ งนแี้ หละ สงู สง่ ละเมยี ดละไม  นกั  แตพ่ อสมหวงั  แตง่ งานกนั แลว้  กเ็ ปน็ ธรรมดาไป คนทร่ี กั กนั อยา่ ง  ดูดด่ืมมักถูกชักน�ำให้พบกันชาติแล้วชาติเล่าในลักษณะต่างๆ  เช่น  เป็นพ่อ  แม่  พี่  น้อง  เป็นคนรัก  เป็นเพ่ือน  ท้ังนี้เพื่อให้ความรัก  สมบูรณท์ ุกๆ ด้าน” “ระหวา่ งเวลาจากชาตหิ นง่ึ ถงึ อกี ชาตหิ นงึ่  จะใชเ้ วลานานเทา่ ใด  ครบั  ?” “อันน้ีไม่แน่,  ถ้าวิญญาณก้าวหน้ามาก  มีคุณธรรมสูงมาก  จะ  อยใู่ นโลกทพิ ยน์ าน เพอื่ ยอ่ ยประสบการณต์ า่ งๆ ลงสอู่ ปุ นสิ ยั  ทา่ นวา่   มนษุ ยส์ ามญั  เวลาระหวา่ งชาตอิ ยใู่ นระหวา่ ง ๕ ป ี แตว่ ญิ ญาณชน้ั สงู   จะมเี วลาระหวา่ งชาตถิ งึ  ๒,๓๐๐ (สองพนั สามรอ้ ย) ป ี แลว้ มาเกดิ อกี   เพ่ือหาโอกาสเรียนบทเรียนท่ียังเหลืออยู่บางบท  และสมัครใจกลับมา  เกดิ เพอื่ ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ ครสู อนจรยิ ธรรมแกม่ นษุ ย,์  หรอื ชว่ ยเหลอื มนษุ ย ์ ในการพัฒนาจิตใจ  การตายแล้วเกิด  เป็นกระบวนท่ีส้ินสุดได้  ถ้าเรา  สามารถพฒั นาวิญญาณให้สมบรู ณจ์ นไมม่ ีความชว่ั หลงเหลืออย่เู ลย” “แตต่ ้องเกดิ หลายชาต ิ ?” “ใช ่ ตอ้ งเกดิ หลายชาต”ิ  พอ่ ตอบ, “ชวี ติ เพยี งชาตเิ ดยี วไมเ่ พยี งพอ 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 445 ที่จะหาประสบการณ์ให้แก่วิญญาณได้ และไม่พอที่จะพิสูจน์ผลแห่ง  กรรม  เหมือนนักเรียนมาโรงเรียนเพียงวันเดียว  จะได้ทันเรียนรู้อะไร  และจะได้ทันพิสูจน์สติปัญญาความสามารถอย่างไร  เรียกว่าเกือบจะ  ไรค้ วามหมายเอาทเี ดยี ว เดก็ ทเ่ี กดิ ในแหลง่ สลมั ในนครใหญๆ่  นน้ั  จะ  มีประโยชน์อะไร  ถ้าเขาเกิดมาเพียงชาติเดียว  หรือเด็กท่ีเกิดมาแล้ว  ตายเสียภายในปีสองปีแรกจะมีประโยชน์อะไร  แต่เพราะเหตุท่ีไม่มี  อะไรสูญ  ไม่มีอะไรถูกลืม  ไม่ว่าชีวิตจะสั้นเพียงใด  ย่อมมีบางสิ่งบาง  อย่างอันมีคุณค่าควรแก่ความทรงจ�ำของวิญญาณ  หรือมิฉะน้ันก็เป็น  การใชห้ นีเ้ กา่ บางอย่างที่เคยทำ� มาในชาตอิ ดตี ” “คนส่วนมากมักตีคุณค่าของชีวิตด้วยลาภผลที่หาได้  เช่น  ความสขุ สำ� ราญใจ ตำ� แหนง่  ยศ ความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ ในโลกยิ า-  รมณ์  รัชนียารมณ์  ความจริงแล้วส่ิงเหล่านี้มีคุณค่าแก่ชีวิตน้อย  ส่ิงท ่ี มคี ณุ คา่ แกช่ วี ติ จรงิ ๆ คอื  สง่ิ ทที่ ำ� ใหเ้ ราสามารถพฒั นาจติ ใจของเราให ้ ขน้ึ สรู่ ะดบั สงู  เชน่  ความทกุ ขย์ าก และความลม้ เหลว ซงึ่ ทำ� ใหเ้ รารจู้ กั   โลกและชีวิตดีข้ึน  มันมีคุณค่าในฐานะเป็นบทเรียนให้เราระมัดระวัง  มากข้ึนเพื่อจะได้มีความผิดพลาดน้อยลง  และความทุกข์ก็จะน้อยลง  ดว้ ยเหมอื นกนั  ประสบการณท์ กุ ชนดิ ไมว่ า่ เลก็ หรอื ใหญ ่ เปน็ สว่ นหนงึ่   แหง่ บทเรยี นของเรา แตค่ นสว่ นมากมกั ลมื ความจรงิ อนั นเี้ สยี  จงึ เศรา้   โศกอย่างมากเม่ือผดิ หวงั  และดีใจจนลมื ตัวเม่อื สมหวงั ” “ความเชอื่ เรอ่ื งตายแลว้ เกดิ  กรรม และสงั สารวฏั  มผี ลดอี ยา่ งไร  ครับพอ่  ?” “อยา่ งนอ้ ยทสี่ ดุ  ทำ� ใหเ้ ราเชอ่ื มนั่ วา่ ในโลกนมี้ กี ฎแหง่ จรยิ ธรรม  อนั เทย่ี งตรง ไมม่ อี ะไรเกดิ ขน้ึ โดยบงั เอญิ  สงิ่ ทเ่ี รยี กกนั วา่  ‘โชคชะตา’  นนั้  ทแ่ี ทก้ ค็ อื ผลรวมแหง่ กรรมในอดตี ของเขาเอง สงิ่ ตา่ งๆ ทเ่ี ราไดร้ บั   อยู่และเป็นอยู่ในบัดน้ี  ไม่ว่าเป็นสภาพทางกายหรือทางจิต ย่อมเป็น 

ต อ น  ีท่ ๔ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 446 ผลแหง่ กรรมในอดตี ของเรา ถา้ เปน็ ทางดกี เ็ ปน็ ผลแหง่ ความปรารถนา  ความคิดและความตั้งใจของเราเองในอดีต  โชคชะตามิใช่สิ่งที่ใคร  จะหยบิ ยน่ื ใหใ้ ครไดง้ า่ ยๆ ความตอ้ งการในอดตี ของเรา เปน็ ผกู้ ำ� หนด  โอกาสในปัจจุบันให้เรา  คนที่เห็นว่าเขามีโอกาสดีน้ัน ความจริงเขา  ทำ� ไวเ้ อง คอื เขาสรา้ งไวเ้ องในอดตี  เหมอื นนกั เรยี นทส่ี อบไดค้ ะแนนดี  มีโอกาสได้รับทุนไปเล่าเรียนเมืองนอก ก็เพราะการหมั่นสั่งสมความรู ้ ของเขาเอง โอกาสจึงเปิดให้เขา  ถ้าเขาท�ำดีย่ิงข้ึนไป  โอกาสก็ย่อมม ี มากขึ้น” “ความเชอ่ื เรอ่ื งตายแลว้ เกดิ  ท�ำใหบ้ คุ คลมนั่ คงในความด ี ไมท่ อ้   ถอยงา่ ย เขาอาจเปน็ คนทไ่ี มม่ ใี ครรจู้ กั  ตายอยา่ งเงยี บเชยี บ แตเ่ ขาจะ  ไดร้ บั การตอ้ นรบั อยา่ งมโหฬารในโลกทพิ ย ์ โลกทเ่ี มลด็ พชื แหง่ ความด ี ทเ่ี ขาสะสมไวจ้ ะผลดิ อกออกผลอยา่ งเต็มที ่ ไมม่ อี ะไรกดี กนั ไว้ได”้ “ผทู้ ฝี่ กึ สมาธจิ นไดญ้ าณพเิ ศษทเี่ รยี กวา่  ปพุ เพนวิ าสานสุ สตญิ าณ  แล้วนั้น  จะสามารถสอบสวนชีวิตของตนและของคนอ่ืนในอดีตได้เป็น  อยา่ งด ี เรอื่ งชาตกิ อ่ นชาตหิ นา้ มใิ ชข่ องประหลาดสำ� หรบั บคุ คลเชน่ นน้ั   แตม่ นั เปน็ ความจรงิ ที่แนน่ อน”

๕๐ต อ น ที่ พ่อเตือนพวกเราเสมอว่า  ปากมนุษย์อย่าไปเอานิยมนิยายอะไรมาก  นกั  เมอื่ ใครไดด้ มี สี ขุ กส็ รรเสรญิ เจรญิ พรกนั ไปพกั หนงึ่  แตพ่ อโชครา้ ย  ได้ทุกข์ก็หาทางซ้�ำเติมนานาประการ  หน้าที่ของเราคืออย่าประมาท  เมอื่ เราเซ คนจะซ้�ำ และเมอื่ เราลม้ ลง เขาจะกระทบื เรา ระวงั อยา่ ให ้ เซและล้ม  ให้ทรงอยู่ได้โดยวิธีใดวิธีหน่ึงอันชอบธรรม  มีชีวิตอยู่อย่าง  สงบ ประกอบสัมมาชีพ  คนส่วนมากจะตัดสินเราจากผลได้ทางวัตถุ  ของเรา  ไม่ได้ตัดสินเราจากเจตนาของเรา  หรือตัวการกระท�ำของ เราจรงิ ๆ 



อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 449 ตวั อยา่ ง เราทำ� งานอะไรสกั อยา่ งหนง่ึ  ดว้ ยความมานะพยายาม  คนทง้ั หลายกจ็ ะคอยดผู ล ถา้ ผลออกมาดเี ขากจ็ ะสรรเสรญิ เยนิ ยอ แต ่ ถ้าผลออกมาเสีย  เขาก็จะต�ำหนิติเตียนนินทาว่าร้ายว่าเพราะอย่างนั้น  อย่างน้ี เพราะฉะนั้นเราจงึ ควรท�ำสงิ่ ทีเ่ หมาะสมกบั ตัวเรา พ่อยกตัวอย่างน้าประสิทธ์ิซ่ึงลาออกจากราชการไปประกอบ  อาชีพอ่ืน  ถ้าน้าประสิทธ์ิเจริญรุ่งเรืองในอาชีพใหม่น้ัน  คนทั้งหลายก ็ มองเห็นน้าประสิทธิ์เป็นคนสายตาไกลตัดสินใจอะไรถูกต้อง  เก่ง  แต่  ถ้าน้าประสิทธิ์ล้มเหลวในอาชีพใหม่  ล�ำบากจนต้องไปออกปากขอ  ความช่วยเหลือเพื่อนฝูง,  เพื่อนฝูงหรือคนส่วนมากก็จะต�ำหนิติเตียน  นินทาว่าร้าย ว่าท�ำราชการดีๆ  อยู่แล้ว  ออกเสีย  ถ้าอยู่  เวลาน้ีก็คง  เป็นหัวหน้ากอง  เป็น...ไปแล้ว  น่ีคือปากคนซึ่งเอาแน่นอนอะไรไม่ได ้ คนบางคนมปี ากเพยี งไวน้ นิ ทาคนอน่ื กบั กนิ ขา้ วกนิ เหลา้ เทา่ นนั้  สรรเสรญิ   ยกย่องใครไม่เป็น  ให้ก�ำลังใจใครไม่เป็น  ท�ำเป็นแต่ท�ำลายก�ำลังใจ  เพื่อนฝงู เร่ืองการประกอบอาชีพน้ัน  พ่อย�้ำมากว่าขอให้พิจารณาเลือก  ท�ำอาชีพที่เหมาะสมกับตัวเรา ท่ีเราถนัด  ไม่ใช่งานท่ีคนทั้งหลายนิยม  ชมชอบ  เพราะงานเช่นน้ัน  เมื่อเราไม่ถนัดแล้วก็จะประสบผลดีไม่ได ้ รงั แตจ่ ะกอ่ ความรำ� คาญใหค้ นอนื่ และลำ� บากใจตนเอง ตวั อยา่ ง อาชพี   สอนหนังสือ  คนท่ีไม่ถนัดทางการสอน  ไม่มีศิลปะทางการถ่ายทอด  วิชา  แม้จะมีปริญญาสูงก็ท�ำการสอนให้เป็นที่พอใจของนักเรียนไม่ได ้ นักเรียนไม่ชอบครูอย่างน้ัน  ครูก็เกิดไม่พอใจนักเรียน  บรรยากาศใน  ห้องเรียนตึงเครียด ไม่มีความเป็นกันเอง  ช่ัวโมงการสอนกลายเป็น  ชั่วโมงแห่งความทรมานทั้งสองฝ่าย  เพราะฉะน้ัน  จึงควรเลือกอาชีพ  ท่ีเราถนัดพอใจ  แม้จะมีรายได้น้อย  หรือต่�ำต้อย  ไม่มีเกียรติอะไรใน  สายตาของสงั คม แตเ่ รามคี วามสขุ  ความสขุ ใจของเรา ทำ� ใหเ้ รารสู้ กึ