Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ่อผมเป็นมหา

Description: พ่อผมเป็นมหา

Search

Read the Text Version

ต อ น  ีท่ ๒ ๔ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 200 มรณภาพจงึ จะทรงสถาปนาพระเถระอนื่ ขนึ้ รบั สมณศกั ดนิ์ นั้ แทนตอ่ ไป” “สมณศักดิ์สมเด็จ ๔ รูป มีใครบา้ งครบั  ?” “มี ๑. สมเด็จพระวนั รตั ๒. สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ ๓. สมเด็จพระพฒุ าจารย์ ๔. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ “ทงั้  ๔ น ้ี เปน็ ทำ� เนยี บสมณศกั ดชิ์ นั้ สมเดจ็ พระราชาคณะ ซงึ่ จะ  ไดร้ บั เลือกสถาปนาเป็นสมเด็จพระสงั ฆราชต่อไป” “สมเดจ็ พระสงั ฆราชมพี ระนามเหมอื นกนั ทกุ พระองค ์ หรอื ตา่ งกนั   อยา่ งไรบา้ งครับ ?” “ที่ไม่ทรงเป็นเช้ือพระวงศ์  คือมาจากตระกูลธรรมดาสามัญ  เมอื่ ไดร้ บั สถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระสงั ฆราชจะมพี ระนามเหมอื นกนั หมด  คือ สมเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ พระสังฆราช ส่วนท่มี เี ช้ือพระวงศ์  จะมีพระนามแตกต่างกันไป  เช่น  สมเด็จพระวชิรญาณวงศ์  พระ-  สังฆราช,  หรือสมเด็จพระสังฆราชเจ้า  กรมหลวงวชิรญาณวงศ์  หรือ  สมเด็จพระมหาสมณเจา้  กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ฯลฯ” “พระนามของสมเดจ็ พระสงั ฆราชทมี่ ไิ ดเ้ ปน็ เชอ้ื พระวงศน์ นั้  ผม  เห็นมีใชอ้ ย ู่ ๒ อยา่ ง คือ สมเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช และ สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ พระสงั ฆราช อยา่ งไหนถกู ตอ้ ง ? “พอ่ วา่ อยา่ งหลงั ถกู  คอื อยา่ งขอ้ ทสี่ อง แตด่ เู หมอื นประกาศของ  กรมการศาสนาจะให้ใช้อย่างที่หน่ึง  มีสมเด็จสองค�ำ  พ่อว่าอย่างหลัง  นา่ จะถกู  เพราะค�ำวา่  สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณนนั้ เปน็ สมณศกั ด์ ิ ส่วนค�ำหลังที่ตามมาคือ  พระสังฆราช  เป็นต�ำแหน่งการบริหารคณะ 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 201 สงฆข์ องพระองคท์ า่ น ไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งมคี ำ� วา่  สมเดจ็  นำ� หนา้ อกี  สว่ นที่  เราเรียกกันติดปากว่า  สมเด็จพระสังฆราช น้ัน  เป็นการน�ำเอาค�ำว่า  สมเดจ็  คำ� หนา้  อรยิ วงศาคตญาณ มาตอ่ กบั คำ� วา่  พระสงั ฆราช ดงั นน้ั   ถา้ จะเขยี นใหถ้ กู ตอ้ งเขยี นวา่  สมเดจ็ ฯ พระสงั ฆราช ละนามอนั เปน็ สมณ  ศกั ดไิ์ ว ้ (คอื อรยิ วงศาคตญาณ) ดเู หมอื นในหนงั สอื หลกั ภาษาไทยของ  พระยาอุปกิตศิลปสาร๑ก็แนะให้เขียนแบบอย่างท่ีสอง  ลูกอยากรู้แน่ก ็ ไปคน้ หาเอาเอง” เมอ่ื ผมนงิ่ อย่ ู พอ่ จึงพูดต่อไปวา่ “พดู เรอ่ื งพระสงฆเ์ สยี นาน จนเกอื บลมื เรอ่ื งความส�ำคญั ของวนั   วสิ าขบชู า  ความจรงิ เปน็ เรอื่ งเกา่ แตฟ่ งั ไมเ่ บอื่  พดู แลว้ ท�ำใหร้ ะลกึ ถงึ   พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ ทำ� นองเดียวกับพ่อถึง  วนั ท ี่ ๒๓ ตลุ าคม ทกุ ป ี ชาวไทยกน็ ำ� เอาพระประวตั ติ อนนน้ั บา้ งตอนน ี้ บา้ ง ของพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัวมาเลา่ ส่กู นั ฟังเพ่ือ  เทอดพระเกยี รติ “พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ พระองคน์ น้ั ลงสพู่ ระครรภพ์ ระมารดาใน  เดอื น ๘ (อาสฬหะ) ประสตู  ิ ตรสั ร ู้ และ ปรนิ พิ พานในกลางเดอื น ๖  (วสิ าขะ)  ทา่ นประพนั ธเ์ ป็นคาถาไว้ดังนี้ ‘อาสาฬหฺ ปุณณฺ ํ โอกกฺ นโฺ ต วสิ าเข เอว นกิ ฺขมิ วสิ าขปณุ ณฺ ม ี สมพฺ ทุ โฺ ธ วิสาเข ปรินิพพฺ โุ ต’ “เปน็ การยากเหลอื เกนิ ทบี่ คุ คลจะเกดิ  ประสบผลสำ� เรจ็ อยา่ งสงู   และตาย ในวนั เดยี วกนั  เดอื นเดยี วกนั  ครบทงั้ สามกาล เชน่ พระสมั มา-  สัมพุทธเจ้า วันเพ็ญกลางเดือน ๖ น้ันมีความหมายแก่พระองค์ถึง  สามวาระ และล้วนแต่เป็นวาระส�ำคัญทั้งแก่พระองค์เองและแก่โลก  ๑ หลักภาษาไทย หนา้  ๑๖๒ ของพระยาอุปกิจศลิ ปสาร

พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 202 ทัง้ มวล “พระพุทธเจ้าน้ันมีพระคุณแก่โลกหาท่ีสุดมิได้  ไม่มีใครเสมอ  เหมือน “ในวันวิสาขบูชาเช่นน้ี พวกเราจึงควรระลึกถึงพระคุณของ  พระองคเ์ ปน็ พิเศษ” ต่อจากนั้น พอ่ ไดพ้ รรณนาพระคุณของพระพุทธเจ้าใหพ้ วกเรา  ฟังอกี ยืดยาวประมาณ ๑ ชัว่ โมง ต อ น  ีท่ ๒ ๔

๒๕ต อ น ที่ พอ่ ผมเอาสภุ าษติ เยอรมนั มาพดู เสมอวา่  “สญั ชาตลิ งิ  ยง่ิ ปนี สงู ขน้ึ ไป  เพยี งไร กย็ งิ่ แสดงวา่ เปน็ ลงิ มากขน้ึ ทกุ ท”ี  เมอื่ อยบู่ นทสี่ งู  มนั แสดงความ  เปน็ ลงิ ไดถ้ นดั  ไมต่ อ้ งกลวั ใครทำ� รา้ ยมนั  เวลาอยบู่ นพนื้ ดนิ มนั อาจซอ่ น  หวั จกุ หาง หรือท�ำกริ ิยาอาการคลา้ ยสัตว์สกุลสูง แต่พอปนี ขึ้นยอดไม้  ความเป็นสัญชาติลิงของมันก็แสดงออกชัดเจน  ท�ำนองเดียวกับเสือ  ยง่ิ โต ยิง่ เหน็ ลาย มนษุ ยเ์ ราทคี่ ลา้ ยลงิ นนั้ กม็ อี ย ู่ เมอื่ ยงั ตำ�่ ตอ้ ย นอ้ ยทรพั ย ์ อบั ยศ  อยกู่ เ็ สงย่ี มเจยี มตน แตพ่ อมากทรพั ย ์ มากยศ มากวาสนา มตี ำ� แหนง่   ฐานะสูงข้ึน กไ็ ดเ้ ห็นกนั ตอนนน้ั ว่าสญั ชาตหิ รือสันดานเป็นอยา่ งไร



อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 205 คนทไ่ี มไ่ ดร้ บั การศกึ ษาเพยี งพอ ไมไ่ ดร้ บั การอบรมเพยี งพอ เมอื่   ขนึ้ สฐู่ านะสงู โดยเหตใุ ดเหตหุ นง่ึ  จะเพราะวาสนาหรอื เพราะเหตกุ ารณ์  บ้านเมืองผันผวน  พลอยติดร่างแหขึ้นสู่ที่สูงกับเพื่อนฝูงไปด้วยก็ตาม  ย่ิงอยู่ต�ำแหน่งสูงก็ย่ิงแสดงความต�่ำช้า  และความโง่เขลามากข้ึน  ย่ิง  ต้องการจะอวดฉลาด ความโงก่ ย็ ิ่งปรากฏใหเ้ หน็ มากขึ้น พอ่ บอกวา่  เรารจู้ กั ตน้ ไมโ้ ดยผลและใบของมนั ฉนั ใด เรากร็ จู้ กั   คนโดยการกระท�ำและค�ำพูดของเขาฉันน้ัน  แม้เขาจะปิดบังซ่อนเร้น  ไว้บ้างเป็นบางคราวแต่ก็ต้องแสดงตัวแท้ของมันออกมาจนได้   พ่อย้�ำ  พระพทุ ธภาษติ ทใ่ี กล้เคียงกบั เรอื่ งน้วี า่ “เราจะรูจ้ กั ปกติของคนดว้ ยอยูร่ ว่ มกัน “รู้จกั ความสะอาดของคนด้วยการงานของเขา “รู้จักปญั ญาของคนดว้ ยการสนทนา “รู้จกั ความกลา้ หาญของคนเมื่อมีอนั ตราย ทง้ั หมดนตี้ อ้ งประกอบดว้ ยกาล คอื ใชเ้ วลานาน, ตอ้ งมคี วามใสใ่ จ  และมปี ญั ญากำ� กบั จึงจะได้” มนุษย์เรานั้นมีความสลับซับซ้อนทางอารมณ์และจิตใจ  ย่ิงกว่า  สตั วโ์ ลกประเภทอนื่ ใดทง้ั สนิ้  จงึ ดยู าก หยงั่ ยาก พอ่ ยกธรรมบทในคมั ภรี  ์ ทางพระพทุ ธศาสนามาอา้ งอิงสนับสนนุ มตินีว้ ่า “มนษุ ยน์ รี้ กและลกึ  สว่ นสตั วด์ ริ จั ฉานนน้ั ตน้ื  เขา้ ใจไดง้ า่ ย บาลวี า่   คหนํ เหตํ ยททิ ํ มนสุ ฺสา อตุ ฺตานํ เหตํ ยททิ ํ ปสโว” พวกสัตว์จึงไม่มีอาการอย่างหน่ึง  ใจอย่างหน่ึง  คือ  มันแสดง  อาการตามทม่ี ันรูส้ กึ  ส่วนมนษุ ย์นัน้ มนั ปากอย่างใจอย่าง “กเ็ พราะสตั วม์ นั ไมไ่ ดร้ บั การศกึ ษา มนษุ ยไ์ ดร้ บั การศกึ ษานะ่ ซ-ี   พอ่  มนษุ ยเ์ ราจงึ รวู้ า่ อะไรควรพดู  อะไรไมค่ วรพดู  แตส่ ตั วม์ นั ไมร่  ู้ มนษุ ย์  เรารจู้ กั ควบคุมกาย วาจา แม้รู้อย่างหน่ึง กแ็ สดงอกี อยา่ งหนงึ่ ได้”

ต อ น  ีท่ ๒ ๕ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 206 “นนั่ นะ่ ซ”ี  พอ่ พดู  “มนษุ ยจ์ งึ เขา้ ใจยาก คบยาก เพราะรสู้ กึ อยา่ ง  หนงึ่ แสดงอกี อยา่ งหนง่ึ ได ้ ใจจงึ คดิ แตก่ ารเอารดั เอาเปรยี บ ชงิ ดชี งิ เดน่   เปน็ ศตั รกู นั  แตพ่ อพบกนั กย็ มิ้ แยม้ แจม่ ใสเขา้ หากนั  จบั มอื กนั อยา่ งแนน่   และพดู จากนั เสมอื นวา่ ฉนั รกั คณุ เหลอื เกนิ  ไปงานศพกต็ อ้ งตหี นา้ เศรา้   ไปงานแตง่ งานข้ึนบา้ นใหมก่ ต็ อ้ งทำ� ร่นื เรงิ เบิกบาน” “ทางจติ วทิ ยาสอนเรอื่ งน้นี กั มใิ ช่หรอื ครบั  ?” “แตจ่ ติ วทิ ยาไมไ่ ดส้ อนใหเ้ ราขาดความสจุ รติ ใจ” พอ่ ตอบ “ตรง  ขา้ ม พอ่ วา่ การแสดงความสจุ รติ ใจเปน็ จติ วทิ ยาอยา่ งสงู  แตข่ อเพยี งให ้ รจู้ กั กาลเทศะ และเลอื กใชค้ ำ� พดู ใหเ้ หมาะเจาะเทา่ นน้ั  เพราะคำ� เตอื น  เพยี งเลก็ นอ้ ยดว้ ยความสจุ รติ ใจไดท้ ำ� ใหช้ วี ติ คนเปลยี่ นแปลงไปในทางดี  มานักต่อนักแล้ว  พระด�ำรัสของพระพุทธเจ้าที่ตรัสแก่อหิงสกมานพ  เป็นตัวอย่างหน่ึง  พระองค์ตรัสว่า  ‘เราหยุดท�ำบาปแล้ว  แต่ท่านยัง ไม่หยุด’ ท�ำให้อหิงสกะรู้สึกตัวและกลับตัว  เปลี่ยนจากโจรองคุลีมาล  มาเป็นพระองคลุ มี าลผู้ประเสริฐ บางทีก็ทรงน�ำเอาค�ำพูดจ้วงจาบของผู้อ่ืนนั้นเอง  ส่งกลับไป  ให้เขาด้วยการดัดแปลงเพียงเล็กน้อย  เช่นทีฆนขปริพพาชก  ญาติ  พระสารีบุตร  เท่ียวตามหาพระสารีบุตร  เม่ือพบว่ามายอมตนเป็น  ศิษย์ของพระพุทธเจ้าเสียแล้วก็ไม่พอใจ  กล่าวเป็นเชิงรวนว่า  ‘ทุกสิ่ง  ทุกอย่างขา้ พเจา้ ไม่พอใจหมด’ “มองตามทรรศนะทางตรรกศาสตร์  ค�ำพูดอย่างน้ีย่อมหมาย  รวมถงึ พระพทุ ธเจา้ ดว้ ย เพราะมไิ ดท้ รงแยกออกจาก ‘ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง’  รวมความว่าเขาไมช่ อบพระพุทธเจ้า “พระพทุ ธองคต์ รสั ตอบวา่  ‘ถา้ อยา่ งนน้ั  ทา่ นกค็ วรไมช่ อบความ  เห็นอย่างนน้ั ของทา่ นเสียดว้ ย” “ความเห็นอย่างน้นั หมายถึงอะไรพอ่  ?”

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 207 “หมายถงึ ความเหน็ ว่า ‘ทุกส่ิงทุกอย่าง ขา้ พเจ้าไม่พอใจหมด” “คมคายจรงิ ๆ” ผมชม “ทรงมีพระปฏิภาณในการโต้ตอบปัญหาอย่างผู้เสมอเหมือน  ได้ยาก” พอ่ พดู อยา่ งอิ่มอกอม่ิ ใจ “คำ� ‘ปฏภิ าณ’ มคี วามหมายอยา่ งไรพอ่  ?” “เปน็ ความรอู้ ยา่ งสงู ” พอ่ ตอบ “สงู กวา่  empirical knowledge  และ  Scientific  Knowledge” พอ่ อธบิ ายตอ่ ไปวา่ “Empirical Knowledge นน้ั หมายถึงความรทู้ ไ่ี ด้จากประสาท  สมั ผสั ทง้ั  ๕ เชน่  ตาไดเ้ หน็  หไู ดฟ้ งั  เปน็ ความรขู้ นั้ มลู ฐาน ซง่ึ คนมตี า  มหี  ู ยอ่ มจะรบั รไู้ ดเ้ ทา่ ๆ กนั  เชน่  เหน็ รถสแี ดงวงิ่ มา คนทม่ี ตี าดที กุ คน  จะตอ้ งรเู้ ท่ากันวา่  รถนนั้ สีแดง เปน็ ตน้ ” “Scientific Knowledge หมายถึงความรู้ท่ีเป็นศาสตร์  ท่ีจัด  ระบบแลว้  ตอ้ งศกึ ษาเลา่ เรยี นจงึ จะรไู้ ด ้ เชน่  นติ ศิ าสตร ์ อกั ษรศาสตร ์ หรอื แพทยศาสตร์ เปน็ ตน้ ” “สว่ นความรขู้ นั้ ทส่ี าม ซง่ึ สงู กวา่ สองประการแรกนน้ั  ทา่ นเรยี ก  วา่  Intuitive Knowledge อนั นแ้ี หละคอื ปฏภิ าณ ความหมายวา่  ให้  นกึ รขู้ นึ้ เองวา่  คำ� พดู อยา่ งนนั้  ควรจะตอบอยา่ งไร เหตกุ ารณอ์ ยา่ งนน้ั   ควรแกไ้ ขอยา่ งไร มเี รอ่ื งรา้ ยแรงเกดิ ขนึ้ เฉพาะหนา้ ควรกระทำ� อยา่ งไร  จงึ จะคลค่ี ลายเหตรุ า้ ยใหก้ ลายเปน็ ดไี ด ้ ค�ำทางพระพทุ ธศาสนาทเี่ รยี ก  วา่  ‘ปฏภิ าณปฏสิ มั ภทิ า’ นน้ั  หมายถงึ  การเขา้ ใจท�ำใหส้ บเหมาะทนั ท ี ในเม่ือมีเหตุฉกุ เฉนิ เกดิ ขนึ้ “พระนเรศวรมหาราชทรงเอาพระองค์รอดได้  ในขณะที่ทรง  ขับช้างทรงเข้าไปในวงล้อมของข้าศึก  คือคณะของพระมหาอุปราชา  แหง่ พม่าได้ ก็ดว้ ยพระคณุ สมบตั ิคอื ปฏิภาณนี้

ต อ น  ีท่ ๒ ๕ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 208 “ค�ำปฏิภาณน้ี  น่าจะตรงกับค�ำไทยว่าไหวพริบ  แต่พ่อเข้าใจว่า  ไหวพรบิ เปน็ เพยี งสว่ นหนง่ึ ของปฏภิ าณเทา่ นนั้  ปฏภิ าณยงั มคี วามหมาย  กวา้ งออกไปอกี หลายแง่ ซง่ึ ไหวพรบิ เออ้ื มไปไม่ถงึ คำ� วา่ ปฏภิ าณนนั้ ตรงกบั คำ� องั กฤษวา่  Intuition ซงึ่ มคี วามหมาย  ว่า  The  power  of  the  mind  to  know  something  without  conscious reasoning or study แปลวา่  อำ� นาจทางใจอยา่ งหนงึ่ ซง่ึ   สามารถรบู้ างสิ่งบางอย่างไดโ้ ดยไมต่ ้องศกึ ษาเลา่ เรียน “ปฏภิ าณน้ันเป็นสิ่งตดิ ตัวคนมาแตก่ ำ� เนดิ  สอนกนั ไม่ได้ เทยี บ  ค�ำทางพระพุทธศาสนาน่าจะตรงกับค�ำว่า  สชาติกปัญญา  แปลว่า  ปญั ญาทตี่ ดิ มาแตเ่ กดิ  สว่ น Scientific Knowledge นนั้ เทยี บกบั  โยค- ปญั ญา แปลวา่  ปญั ญาทเี่ กดิ จากการประกอบหรอื การศกึ ษาเลา่ เรยี น “ลูกจะสังเกตว่า  เหตุไรคนเรียนเท่ากัน  ความแตกฉานจึงไม่  เท่ากัน” “แต่ปฏิภาณก็พอปลูกกันได้บ้าง  ท่านว่าวิธีปลูกนั้นคือพยายาม  จ�ำค�ำสุภาษิตไว้มากๆ  แต่จะให้คล่องแคล่วว่องไวเหมือนคนซ่ึงมีมา  แตก่ ำ� เนดิ นนั้ ไม่ได้” “คนมีปฏิภาณมาแต่กำ� เนิดนั้นเป็นคนโชคดีมาก เพราะมันเป็น  ปัญญาอันดีเลิศ สามารถแทงทะลุปรุโปร่ง  เห็นความจริงที่ซ่อนเร้น  อยู่ ซึ่งคนธรรมดามองไม่เห็น รู้เทา่ ถึงการ, เป็นคุณธรรม หรือคณุ -  สมบตั ิอนั ประเสริฐแท้จริงอย่างหน่งึ “พ่อได้บอกแล้วว่า  พระพุทธเจ้าน้ันทรงสมบูรณ์ด้วยปฏิภาณ  อนั เลศิ  ทรงอาศยั พระคณุ สมบตั นิ ป้ี ระดษิ ฐานพระพทุ ธศาสนาไดอ้ ยา่ ง  มั่นคง และแผอ่ อกอยา่ งกว้างไกล ทรงเป็นประทีปของโลก” “ประทปี ต้องเปน็ ไฟ ใชไ่ หมพอ่  ?” ผมถาม “ใช”่  พ่อตอบ

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 209 “ธรรมดาไฟเปน็ ของรอ้ นใช่ไหมพอ่  ?” “ใช”่ “เม่ือพระพุทธเจ้าทรงเป็นประทีปของโลก  พระพุทธเจ้าก็ต้อง  เป็นไฟซ่ึงเป็นของร้อน  แต่ท�ำไมจึงว่าเม่ือเข้าใกล้พระพุทธเจ้าจึงมีแต่  ความเยอื กเยน็ เปน็ สขุ  ?” ผมถามพอ่ แลว้ ยม้ิ ชอบใจ นกึ วา่ สอบปฏภิ าณ  ของพ่อเลน่  ความจรงิ ผมถามไมเ่ ข้าเรอื่ ง” “หอ้ งแอร์คอนดชิ ่นั  ท�ำดว้ ยไฟฟ้าใชไ่ หม ?” พอ่ ถาม “ใชค่ รบั ” “ไฟฟา้ ร้อนหรอื เย็น ?” “รอ้ นครับ” “ทำ� ไมหอ้ งแอรค์ อนดชิ นั่ จงึ เยน็  ?” พอ่ ถาม “ท�ำไมตเู้ ยน็ จงึ เยน็   ท้งั ๆ ทต่ี ้องมไี ฟฟ้าเป็นตวั ส�ำคญั  ?” “ไมท่ ราบเหมอื นกันครบั ” ผมตอบ “ท�ำไมเตาไฟฟ้าจึงไม่เย็นเหมือนตู้เย็น  ทั้งๆ  ที่ต้องเสียบปลั๊ก  ไฟฟา้ เหมือนกัน” “นา่ แปลก” ผมพดู “นั่นซี”  พ่อพูดแล้วยิ้มชอบใจและพูดต่อไปว่า  “พระพุทธเจ้าก็  ทรงเปน็ ไฟชนดิ หนง่ึ  ทา่ นเรยี กวา่  อาหเุ นยยคั ค ิ  ไฟคอื  อาหเุ นยยบคุ คล  อาหเุ นยยบคุ คล คอื คนทค่ี วรเคารพบชู า ใครปฏบิ ตั ชิ อบตอ่  กเ็ ปน็ คณุ   มากแก่คนนั้น  ใครปฏิบัติผิดต่อก็เป็นโทษมาก  ท�ำนองเดียวกับไฟ  ธรรมดา    คนที่ไปเล่นกับไฟคือพระพุทธเจ้าโดยอาการมิชอบนั้น  ได ้ ประสบภยั พบิ ตั มิ ามากแลว้  และคนทบ่ี ชู าไฟดวงเดยี วกนั นนั้  ไดป้ ระสบ  ความสขุ ความเจริญมานักหนา จำ� นวนนับไม่ไดแ้ ล้วเช่นกนั ” ขณะที่คุยมาถึงตรงนี้  ก็พอดีรถของพ่อมาติดไฟแดงตรงสี่แยก  มุมสวนจิตรลดาด้านสนามม้าข้างวัดเบญจมบพิตร  มีรถคันหนึ่งมา 

ต อ น  ีท่ ๒ ๕ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 210 จอดเทียบทางเลนขวา  เจ้าของรถชะโงกคอออกมาเรียกช่ือพ่อ  ต่อ  จากน้ันพ่อและท่านผู้นั้นก็คุยกันได้  ๔-๕  ค�ำก็พอดีสัญญาณไฟเขียว  ซึ่งจะต้องไป  ท่านผู้น้ันเลี้ยวขวา  ส่วนรถของเราพุ่งตรงมาทางหน้า  อนุสาวรยี ์พระบรมรูปทรงม้า “ใครครบั พอ่  ? ทา่ ทางนา่ นบั ถอื จงั ” ผมถามพอ่ เมอื่ รถพน้ สแ่ี ยก  มาแลว้ “ทวปี  เพอื่ นพอ่ เอง, ลกู เคยเหน็  หรอื เคยอา่ นเรอ่ื งของ ‘เกาะ  กลางน�ำ้ ’ มิใช่หรอื  ?” “เคยครับ เขม้ ขน้ ดี” “นั่นแหละ  เขาละ  ทวีปใช้นามปากกา  ‘เกาะกลางน�้ำ’  เขียน  นวนิยายก็ได้  บทวิจารณ์การเมืองก็เผ็ดร้อนถึงพริกถึงขิงดี  เป็นนัก- ประพนั ธท์ ม่ี อี ดุ มคต ิ ‘เพอื่ เมอื งไทย’ เขาเปน็ คนอยงู่ า่ ยกนิ งา่ ย ไมช่ อบ  ความฟุม่ เฟือย นสิ ยั น่าคบมาก” “ไม่ชอบความฟุ่มเฟอื ย ทำ� ไมจึงมรี ถยนต์ครับพ่อ ?” “บางคนกม็ รี ถยนตเ์ พราะความจำ� เปน็ บงั คบั ใหม้  ี ไมใ่ ชม่ เี พราะ  ต้องการหรูหราฟุ่มเฟือยอะไร  เช่นทวีปเป็นตัวอย่าง  เขาใช้ชีวิตอย่าง  คนธรรมดาทส่ี ดุ  แมร้ ถทใ่ี ชก้ เ็ พยี งพอใชไ้ ดส้ ำ� เรจ็ ประโยชนเ์ ทา่ นนั้  เสอ้ื ผา้   ทใ่ี ชก้ เ็ ลอื กทม่ี รี าคาถกู  อาหารกเ็ หมอื นกนั  แตค่ วามคดิ สงู มาก และมี  การกระทำ� ทสี่ งู สง่ นา่ สรรเสรญิ  เขา้ หลกั  plain living, high thinking  หรือ  plain  living  high  doing  โดยแท้” “หมายถึงอะไรครับพอ่  plain living, high thinking ?” “แปลว่า อยู่อย่างตำ่�  ท�ำหรือคิดอย่างสูง” พ่อตอบ “คำ� ว่าอยู ่ อยา่ งตำ�่ นนั้  หมายความวา่  อยอู่ ยา่ งงา่ ยๆ อยงู่ า่ ย กนิ งา่ ย กนิ อยอู่ ยา่ ง  พนื้ ๆ ไม่พิถีพิถัน ค�ำว่า plain ถ้าเป็นค�ำพูดคุณศัพท์ของค�ำพูด เช่น  plain  speech  ก็หมายความว่า  ค�ำพูดที่เข้าใจได้ง่าย  ความอยู่ง่าย 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 211 กินง่ายน้ัน  เป็นคุณสมบัติส�ำคัญอย่างหนึ่งของคนส�ำคัญ  ที่เคยท�ำ  ประโยชน์แก่โลกมาแล้ว  คนส�ำคัญนั้นมักมีนิสัยมุ่งท�ำอะไรให้ส�ำเร็จ  ประโยชนม์ ากกวา่ เพ่ือความหรูหรามีหน้ามีตา   บทประพันธ์ของทวีป  จึงมเี ข็มอนั ตรงดิ่ง ‘เพอ่ื เมืองไทย’ โดยมไิ ด้หวนั่ เกรงอะไรทั้งส้ิน” “แตก่ ารทที่ วปี มรี ถยนตน์ นั้  นอกจากเพอ่ื ใชป้ ระโยชนแ์ ลว้  อาจ  เพ่อื เหตบุ างประการทางสังคมด้วยกไ็ ด้” “ท�ำไมจึงเป็นอย่างน้ันครับพ่อ  ไหนว่าเป็นคนมีอุดมคติอัน  สูงส่ง ?” “การมีรถยนต์แต่พอใช้น้ันไม่เห็นท�ำให้เสียอุดมคติตรงไหน  อีกประการหน่ึง  ทวีป  หรือ  ‘เกาะกลางน�้ำ’  เป็นนักประพันธ์  ไม่ใช ่ ปรัชญาเมธี  นักประพันธ์ยังต้องวิจารณ์โลก  และด�ำรงตนอยู่ในโลก  ตามแง่ของคนท่ัวไป  ความสุข  ความทุกข์  ความงาม  และความข้ีริ้ว  ปรากฏแก่คนท่ัวไปอย่างไร  ก็ปรากฏแก่นักประพันธ์อย่างนั้น นัก  ประพันธ์ยังต้องยอมรับมาตรฐานเทียบของโลก  หรือของคนทั่วไป  จึงยังยดึ เหนี่ยวสง่ิ ภายนอกเปน็ ทางดำ� เนินอยเู่ หมอื นกัน “ส่วนปรัชญาเมธีน้ัน  วิจารณ์โลกตามแง่ของความรู้แต่อย่าง  เดยี ว ส�ำหรบั ปรชั ญาเมธนี น้ั  มนษุ ยจ์ ะเปน็ อยา่ งไรคอื  ดี หรอื ชวั่  สงู   หรอื ตำ�่  กแ็ ลว้ แตจ่ ติ  ปรชั ญาสอ่ งใหเ้ หน็ วา่  การเหนยี่ วรง้ั อยใู่ นรปู กาย  เปน็ การไมถ่ กู ตอ้ ง มใิ ชท่ างไปสคู่ วามจรงิ  ดงั นนั้ ปรชั ญาเมธจี งึ ไมแ่ คร์  ต่อมติของโลก  แต่จะด�ำเนินในทางท่ีตนเห็นว่าชอบ  และเป็นทาง  ของตน” “ค�ำว่ามาตรฐานเทยี บของโลก พ่อหมายความเพียงใด ?” “หมายความถึงส่ิงท่ีชาวโลกเขาน�ำมาวัดคน  ว่าใครสูง  ต�่ำ  ดี  ไม่ดี เช่น ปริญญาบัตร, ตำ� แหน่งการงาน, เงิน และความอยู่ดีกินด ี ตวั อยา่ ง นาย ก. อาจเคารพนบนอบตอ่  นาย ข. เพราะรสู้ กึ วา่ นาย ข. 

พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 212 เปน็ ถงึ รฐั มนตร ี แตไ่ มไ่ ดแ้ สดงอาการเชน่ นนั้ แกน่ าย ค. เพราะรสู้ กึ วา่   นาย ค. เปน็ เพยี งเสมยี นแกๆ่  คนหนงึ่ ในกระทรวง นแ่ี สดงวา่  นาย ก.  ได้เอาต�ำแหน่งทางการเมืองมาเป็นมาตรฐานเทียบ  ส�ำหรับผู้ที่ตน  จะแสดงความเคารพนบนอบ  หากยกเอามาตรฐานอย่างอื่นมาเทียบ  นาย ก. อาจเคารพนบั ถอื  นาย ค. มากกวา่ นาย ข. กไ็ ด ้ เชน่  นาย ค.  อาจมีจิตใจบริสุทธ์ิสะอาดกว่านาย  ข.  เม่ือเอาจิตใจมาเป็นมาตรฐาน  เทียบ นาย ค. ยอ่ มน่าเคารพยกย่องกว่านาย ข. เป็นธรรมดา” “ฉะนน้ั เมอ่ื ลกู ไดย้ นิ ใคร พดู วา่  คนนน้ั ดกี วา่ คนน ี้ กน็ า่ จะสอบเขา  ตอ่ ไปว่า ทีพ่ ูดเช่นนน้ั  เอาอะไรมาเป็นมาตรฐานเทียบ” ต อ น  ีท่ ๒ ๕

๒๖ต อ น ที่ ในระยะหลงั ๆ น ี้ ผมไดฟ้ งั พอ่ เปน็ สว่ นมาก เพราะเลอื่ มใสพอ่  เคารพ  พอ่ มากเสยี แลว้  ประกอบดว้ ยอายมุ ากขน้ึ  มองเหน็ พระคณุ ของมารดา  บดิ าชัดเจนยิ่งขน้ึ ในชวี ติ มนษุ ย ์ มสี งิ่ นา่ ประหลาดอยมู่ ากมาย, หนงึ่ ในหลายอยา่ ง  คือ  ยิ่งตาเน้ือของคนเรามืดมัวลงเพราะชรามากเท่าใด  ดวงตา  คือ ปัญญาก็ยิ่งแจ่มใสขึ้น  มองเห็นอะไรบางอย่างที่เมื่อสมัยเด็กเรามอง เห็นไม่ได้  ท่ีผมพูดน้ีหมายเฉพาะคนแก่ที่รู้จักใช้ความแก่ของตนให ้ เป็นประโยชน์ในทางธรรม  ไม่ใช่คนแก่ชนิดย่ิงแก่ย่ิงโลภมาก  อยาก  ใหญ ่ หรอื ใช้สาวๆ วยั รนุ่ เปน็ เครือ่ งชลอความแกข่ องตน



อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 215 พอ่ ใหข้ อ้ คดิ แกผ่ มวา่  เมอ่ื อาย ุ ๑๐-๒๐ ป ี รสู้ กึ วา่ เปน็ การงา่ ย  เหลอื เกนิ ทจี่ ะรวู้ า่ อะไรดอี ะไรชวั่  และตดั สนิ ไดง้ า่ ยวา่ ใครเปน็ คนด ี ใคร  เป็นคนช่ัว  แต่พออายุ  ๖๐  ปีแล้ว  ปัญหาเร่ืองน้ีกลับเป็นของยากแก ่ การตัดสิน “ทำ� ไมจงึ เปน็ อย่างนัน้ ครบั พ่อ ?” ผมถาม “เพราะชวั่ ลว้ นๆ หรอื ดลี ว้ นๆ หายาก” พอ่ ตอบ “มกั จะมชี ว่ั ปนด ี ดปี นชว่ั อยเู่ สมอ ทำ� ใหแ้ ยกลำ� บาก ยงิ่ ศกึ ษาวเิ คราะหถ์ งึ เจตนาเบอ้ื งหลงั   การกระท�ำด้วยแล้ว  ก็ยิ่งล�ำบากมากขึ้น  การกระท�ำบางอย่างของคน  บางคน มองเผินๆ ก็เหมือนพอจะตัดสินได้ว่าดี แต่พอสำ� รวจลึกซ้ึง  ลงไปถงึ เจตนาเบอ้ื งหลงั การกระทำ�  กลายเปน็ มชี วั่ มาปนเสยี แลว้  ในการ  ที่คนบางคนท�ำช่ัวบางอย่างก็เหมือนกัน  ส�ำรวจดีๆ  อาจมีความดีปน  อยดู่ ว้ ย  ฉะนัน้ จึงเป็นการยากแกก่ ารตดั สิน” “เรามีอะไรเป็นเครอ่ื งวัดว่าอะไรดอี ะไรชวั่  ?” ผมถาม “ปญั หานตี้ อบยาก” พอ่ วา่  “ถา้ ตอบตามตำ� ราทพี่ อ่ เคยศกึ ษาเลา่   เรยี นมากว็ า่  การใดๆ ทที่ ำ� ใหต้ นเองเดอื ดรอ้ น ผอู้ น่ื เดอื ดรอ้ น ทงั้ ตนเอง  และผอู้ น่ื เดอื ดรอ้ นและไมม่ ปี ระโยชน ์ การนน้ั เรยี กวา่  ความชวั่  ตรงกนั   ข้ามเปน็ ความดี” “ฟงั คำ� จ�ำกัดความของพ่อแลว้  ผมมีปัญหาเยอะ” “อย่าถามดีกว่า  มันเป็นปัญหาทางปรัชญา  พูดสัก  ๑๐  วันก ็ ไมจ่ บ” พอ่ บอก “เอางา่ ยๆ กอ่ น คอื อะไรทเ่ี ราเหน็ วา่ ดกี ท็ ำ� ไป อะไร  ท่ีเห็นว่าช่ัวก็เว้นเสีย  เอาแค่นี้ก่อน  เมื่อท�ำได้หมดแล้วจึงค่อยเสาะ  แสวงหาใหม่ว่า  อะไรหนอความชั่วที่ยังไม่ได้ละ  อะไรหนอความดี  ท่ีเรายังไม่ไดท้ ำ� ” ผมจงึ เปลย่ี นไปถามปญั หาใหมว่ า่  ทำ� ไมเมอื่ พอ่ ไดท้ ราบถงึ ความ  ทุกขย์ ากลำ� บาก จงึ พดู เสมอว่า ล�ำบากเสียบา้ งกด็ ีเหมือนกนั

ต อ น  ีท่ ๒ ๖ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 216 “เพราะความทุกข์  ความล�ำบากน้ัน  เป็นสิ่งท่ีมนุษย์หลีกเลี่ยง  ไม่ได้” “ไม่ยกเว้นใครเลยหรอื พอ่  ?” “ไมย่ กเวน้ ” พอ่ ตอบหนกั แนน่  “ในมรรคาแหง่ ชวี ติ  ทกุ คนตอ้ ง  พบกบั ความทกุ ข์ความลำ� บาก” “แมแ้ ตพ่ ระราชามหากษตั ริย์ พระสงฆ์องคเ์ จ้าหรอื พ่อ ?” “ไม่ยกเว้นใครทั้งน้ัน”  พ่อยืนยัน  “จะต่างกันบ้าง  ก็ท่ีแบบของ  ความทุกข์  และปริมาณเท่าน้ัน” “อนง่ึ  พอ่ เหน็ วา่ ความทกุ ขย์ ากนำ� มาซง่ึ ความเคยชนิ  ความเคยชนิ   น�ำมาซ่งึ ความอดทน และความอดทนนำ� มาซ่งึ ชัยชนะในที่สดุ ” “ยง่ิ กวา่ นน้ั อกี  ความทกุ ข ์ ทำ� ใหค้ นคดิ , ความคดิ ทำ� ใหค้ นฉลาด  ความฉลาดท�ำให้คนมีความสุข  ความสุขท�ำให้คนเพลิน,  ความเพลิน  ทำ� ใหค้ นประมาท ความประมาททำ� ใหค้ นทำ� ผดิ , ความผดิ ทำ� ใหค้ นเปน็   ทกุ ข์ ความทุกขท์ �ำให้คนคิด“... “ก็เวียนอยูอ่ ย่างเดมิ  ?” ผมว่า “ถ้าคนฉลาดจริงเขาก็ตัดตอนเสียแค่ความฉลาดท�ำให้คนม ี ความสขุ  เอาเพยี งแคน่ น้ั  ไมต่ อ่ มาถงึ ความเพลินและความประมาท” “ความเพลิดเพลินเป็นส่ิงประสงค์อย่างย่ิงประการหน่ึงของ  ชีวิตฆราวาส  กิจกรรมของฆราวาสนั้นต้องมีความเพลินแทรกอยู่ด้วย  เสมอ  เช่น  ดนตรี  การกินเลี้ยง  สนุกสนาน  เฮฮาและอะไรอ่ืนๆ  ทำ� นองนนั้  มฉิ ะนนั้ กแ็ หง้ แลง้ ไมม่ ใี ครอยากไปรว่ ม หรอื พอ่ วา่ อยา่ งไร ?” “ความเพลิดเพลินของฆราวาสเรา  ส่วนมากมักเอียงไปในทาง  ฟมุ่ เฟอื ย สรุ ยุ่ สรุ า่ ย ถา้ ไมอ่ ยา่ งนน้ั แลว้  เขาไมร่ สู้ กึ วา่ เพลนิ  บางทเี ขา  ลมื นกึ ไปวา่  คนสรุ ยุ่ สรุ า่ ยนน้ั  โกงลกู หลานโดยไมร่ สู้ กึ ตวั  บา้ นเมอื งหรอื   รัฐบาลที่สุรุ่ยสุร่ายก็เหมือนกัน  เป็นการก่อหน้ีสินไว้ให้ลูกหลาน  ส่วน 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 217 คนตระหนเ่ี หนยี วแนน่ เปน็ ผโู้ กงตนเอง เพราะท�ำตนใหล้ ำ� บากแรน้ แคน้   โดยไม่จ�ำเป็น  คนทนล�ำบากเพราะไม่มีจะกินก็ควรอยู่  แต่คนท�ำตน  ใหแ้ รน้ แคน้  ทงั้ ๆ ทม่ี พี อจะจบั จา่ ยใชส้ อยนนั้  เปน็ ผเู้ บยี ดเบยี นตนเอง  อย่างทารณุ ” พ่อพดู “ความตระหนี่  กับประหยัด  และมัธยัสถ์ต่างกันอย่างไรครับ  พ่อ ?” พ่ออธบิ ายว่า “ความตระหน ี่ คอื จำ� เปน็ กไ็ มย่ อมใช ้ ทงั้ ๆ ทที่ รพั ยก์ ม็ อี ย ู่ บางคน  เกบ็ ของไว ้ ไม่กนิ ไมใ่ ชเ้ พราะเสยี ดาย พอจะเสียแล้วจงึ เอาออกมากนิ   มาใช ้ เปน็ กรรมอะไรของเขากไ็ มร่  ู้ จงึ ไมน่ อ้ มใจไปเพอ่ื บรโิ ภคใชส้ อย  ทรพั ยส์ มบตั ิทม่ี ี” “ฟมุ่ เฟอื ย คอื ไมจ่ ำ� เปน็ กใ็ ช ้ ถา้ จะถามวา่ อะไรคอื สง่ิ จำ� เปน็ อะไร  คือส่ิงไม่จ�ำเป็น  ก็ตอบยาก  เพราะความจ�ำเป็นของคนไม่เหมือนกัน  แต่ความจริงแล้ว  ในจิตส�ำนึกของคนทุกคน  ย่อมส�ำนึกรู้อยู่ด้วย  ตนเองว่าอะไรจ�ำเป็นแก่ตนหรือไม่จ�ำเป็น  ที่ท�ำไม่ได้  เพราะยอมแพ้  แก่ความตอ้ งการอันฟมุ่ เฟือยตา่ งหาก “มธั ยสั ถ ์ นน้ั คอื ใชท้ รพั ยเ์ มอื่ จำ� เปน็ , ไมจ่ ำ� เปน็ กไ็ มใ่ ช ้ เดนิ สาย  กลาง ไม่ตงึ เกินหยอ่ นเกิน” “ส่วนประหยัด คือการใชข้ องไมใ่ ห้เสยี เปลา่  ไม่กนิ ครึง่ ทิ้งคร่งึ   ท�ำนองหุงข้าวประชดหมา ปิ้งปลาประชดแมว หรือตำ� น�้ำพริกละลาย  แม่น้ำ�  ตายประชดปา่ ชา้ “คนมนี สิ ยั ประหยดั  ยอ่ มหาชอ่ งทางอยเู่ สมอวา่  จะเอาของชน้ิ น ้ี ไปท�ำประโยชนอ์ ะไรตอ่ ไปได้บา้ ง เช่นเสือ้ ผ้าเก่าแทนท่ีจะทงิ้ เสยี เฉยๆ  เขาเอาไปให้เด็กที่ยากจน  หรือมิฉะน้ันก็ใช้จนกว่าจะใช้ไม่ได้อีก  แล้ว  เอาท�ำผ้าปูนอน  ผ้าขี้ริ้ว  หรืออ่ืนๆ  เท่าท่ีพอจะท�ำได้ต่อไป  เครื่องใช้ 

ต อ น  ีท่ ๒ ๖ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 218 ในบ้านในเรือนที่ช�ำรุดก็รู้จักซ่อมแซมใช้  อย่างน้ีเรียกว่าประหยัด  ใชข้ องคุ้มราคาและค่าของมนั ” “ทางทดี่ ที ส่ี ดุ ในการสอนใหล้ กู หลานเปน็ คนประหยดั กค็ อื  พอ่ แม่  หรือผู้ใหญ่ประหยัดให้ดู  เช่นกินข้าวเกลี้ยงจานไม่ให้เหลือท้ิง  น้�ำอาบ  น้ำ� ใชก้ ็ใชอ้ ย่างประหยัด ไมท่ ง้ิ เสยี เปลา่ มากมาย” พ่อพูด “ถ้ากนิ ไม่หมดจริงๆ ท�ำอย่างไรครับพอ่  ?” ผมถาม “ถ้ากินไม่หมดจริงๆ  ก็ต้องทิ้ง  ท�ำอย่างไรได้  หรือใครมีหมา  มแี มว กใ็ หห้ มาใหแ้ มวไป แตถ่ า้ กนิ ขา้ วทบ่ี า้ นเขากม็ วี ธิ ปี ระหยดั งา่ ยขน้ึ   คือตักทีละน้อย หากไม่อ่ิมก็ตักใหม่ ไม่ใช่กำ� ลังหิว ตักทีเดียวล้นจาน  พอกนิ ไปไดส้ กั ครงึ่ จานกร็ สู้ กึ อม่ิ  กนิ ไมล่ งอกี  อยา่ งนแี้ หละเขาเรยี กวา่   กนิ ครงึ่ ทง้ิ ครง่ึ  ไมป่ ระหยดั  ธรรมดาคนก�ำลงั หวิ  เหน็ อะไรนอ้ ยไปเสยี   หมด ทา่ นจงึ วา่  ใหค้ นหวิ หงุ ขา้ ว ๑ ใหค้ นโลภครองเมอื ง ๑, ใหค้ นโง ่ เปน็ ทูตเจรจาการเมอื ง ๑ มแี ต่ทางฉิบหาย” “บางคน  บางพวกถือว่าการกินข้าวให้เหลือไว้หนึ่งในสี่ส่วนนั้น  เปน็ สมบตั ผิ ดู้  ี การถอื อยา่ งนน้ั ไมถ่ กู  ผดู้ คี วรจะตอ้ งรแู้ ละส�ำเหนยี กวา่   อะไรเปน็ ทางเสอ่ื ม อะไรเปน็ ทางเจรญิ  จรงิ อยบู่ างคนรวยมาก จะกนิ   หน่ึงส่วนทิ้งสามส่วนก็มีเหลือกินเหลือใช้ไปตลอดชาติ  แต่ถ้าจิตใจ  ของเขาเป็นผู้ดีด้วยแล้ว  เขาควรจะระลึกถึงเพื่อนร่วมชาติหรือเพื่อน  ร่วมโลกท่ีก�ำลังอดอยากหิวโหยอยู่บ้าน  คนยากจนเหล่านั้นท�ำงาน  เหน็ดเหนื่อยตลอดวัน ได้รับความบอบชำ้� ท้ังร่างกายและจิตใจ เพียง  เพอื่ ไดอ้ าหารมาเลยี้ งตนและครอบครวั พออมิ่ ไปวนั ๆ เทา่ นน้ั  ทอ่ี ดมอื้   กนิ มื้ออยูก่ ็จำ� นวนไมน่ อ้ ย” “การสอนคนโดยการทำ� ใหด้ นู นั้  มผี ลมากกวา่ การสอนดว้ ยปาก  ตามหลักวิชาการมากมายนัก  ไม่ว่าในทางดีหรือทางเสีย  โรงเรียนจะ  สอนเด็กให้ประพฤติดี  มีศีลธรรมสักปานใดก็ตาม  จะเพ่ิมช่ัวโมงวิชา 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 219 ศลี ธรรมขน้ึ เปน็ สปั ดาหล์ ะ ๗ ชว่ั โมงกต็ าม ยอ่ มจะไมไ่ ดผ้ ลอะไรหาก  การกระท�ำของผู้ใหญ่ครูอาจารย์ที่เด็กเห็นอยู่ทุกเมื่อเช่ือวันนั้นเป็นไป  ในทางขี้ฉ้อตอแหล  เอารัดเอาเปรียบ,  โรงเรียนราษฎร์ท่ีคิดแต่จะ  ขนึ้ เงนิ แป๊ะเจ๊ียะในรูปของการบ�ำรุงน่ันบ�ำรุงนี่ อาศัยครูผู้ยากจนเป็น  เครื่องมือสร้างความร่�ำรวยให้แก่ตนอย่างมหาศาล  แล้วบ่นทุกปีว่า  ขาดทุน  แต่พอส้ินปีการศึกษาทีไรก็ไปเที่ยวต่างประเทศกันเหมือนไป  ซือ้ ของบางลำ� พู “ครูสอนศีลธรรมให้เด็กประพฤติดี  มีศีลธรรม  สละประโยชน ์ สว่ นตวั เพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นรวม แตส่ ง่ิ ทเ่ี ดก็ ไดเ้ หน็ ในโรงเรยี น นทิ รรศ-  การเส้นสายในการเข้าเรียน  การสอบเข้าที่ต้องมีเงินช่วยสติปัญญา  เปน็ อนั มากนนั้  จะใหเ้ ดก็ มคี วามรสู้ กึ อยา่ งไรตอ่ โรงเรยี นนนั้  อยา่ งนจ้ี ะ  ไมใ่ ห้สงสารครูสอนศลี ธรรมกระไรได้ “เพราะเหตุน้ีด้วยเหมือนกันที่ท�ำให้เด็กสมัยน้ีไม่รักโรงเรียน  ของตน  ไม่ภูมิใจในโรงเรียนของตน  เพราะเห็นโรงเรียนเป็นแหล่ง  การค้า  มีคนตั้งหน้าต้ังตาแต่จะตักตวงผลประโยชน์จากตนไปให้ได้  มากท่สี ดุ “พวกครูโรงเรียนราษฎร์น้ัน  เป็นลูกจ้างที่น่าสงสารท่ีสุดพวก  หน่ึง  แล้วแต่นายจ้างจะกรุณา  จะขึ้นเงินเดือนให้หรือไม่ขึ้นให้ก็ต้อง  ทำ� งานไป เพอ่ื ปากทอ้ งของตนและครอบครวั  ไมท่ �ำ ไมม่ กี นิ  หางาน  ใหมไ่ มใ่ ชข่ องงา่ ย กวา่ จะไดอ้ าจหวิ ตายเสยี กอ่ น ระหวา่ งทอี่ ยกู่ ต็ อ้ งทน  ถูกสับถูกโขกจากเจ้าของและผู้จัดการโรงเรียนก็ต้องทนเอา  ต้องทน  เหน็ดเหนื่อยกายและเจ็บช้�ำใจไปตลอดชีวิต  โดยเฉพาะครูที่มีวุฒิ  นอ้ ยหรอื ไมม่ วี ฒุ ทิ างครเู ลยยงิ่ ถูกหนกั “ครูท้ังหลายเลยกลายเป็นเคร่ืองมือให้เจ้าของโรงเรียนขูดรีด  นกั เรยี นตาดำ� ๆ ไปโดยไมร่ ตู้ วั  อยา่ งนแ้ี ลว้ จะท�ำอยา่ งไรตอ่ ไป ใครจะ 

ต อ น  ีท่ ๒ ๖ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 220 เป็นคนรับผิดชอบในเร่ืองน้ี  ในเมื่อโรงเรียนได้ประทับตราแห่งความ  เห็นแก่ตัวไว้ให้นักเรียนต้ังแต่เริ่มแรก  เม่ือเด็กไทยพวกนี้โตขึ้น  ม ี อำ� นาจวาสนาขน้ึ ในเมอื งไทยตอ่ ไป เขาจะเปน็ อยา่ งไร เขาจะมดิ �ำเนนิ   รอยตามสงิ่ ทเี่ ขาไดร้ ไู้ ดเ้ หน็ เมอื่ ตอนเปน็ เดก็ นกั เรยี นหรอื  ? นน่ั คอื ความ  เหน็ แกต่ วั  เหน็ แกไ่ ดอ้ นั ไมม่ ขี อบเขต และไมค่ �ำนงึ ถงึ ความควรไมค่ วร  ประเทศไทยชาตไิ ทยจะเป็นอยา่ งไร” พ่อพูดจบหยิบแก้วน้�ำข้ึนจิบ  แล้วเอนศีรษะลงพิงพนักเก้าอี ้ เปน็ อาการของผเู้ หนอื่ ยใจ ผมสงสารพอ่ เปน็ ทส่ี ดุ  ขณะนนั้ บงั เอญิ มรี ถ  แห่กฐินผ่านมาทางหน้าบ้านเรา  ป้ายผ้าอันติดอยู่ข้างรถด้านซ้ายบอก  วา่ เปน็ กฐนิ ของทางราชการแหง่ หนง่ึ ไปทอดตา่ งจงั หวดั  มรี ถตำ� รวจนำ�   คอยบอกให้รถอ่ืนๆ  ชิดซ้าย  ผมบอกให้พ่อทราบถึงหัวหน้าหน่วยส่วน  ราชการน้นั   พ่อถอนหายใจใหญ่ ยาว และลกึ แลว้ พดู วา่ “โกงเขามาทงั้ ป ี พอถงึ ปกี ไ็ ปทอดกฐนิ ลา้ งบาปเสยี ทหี นง่ึ จะไหว  หรือ ?”

๒๗ต อ น ท่ี พอ่ ผมมเี พอื่ นคนหนง่ึ ชอื่  นวล เปน็ คนชา่ งแยง้  ชอบขดั คอ โดยเฉพาะ  ขัดคอพ่อผม  เพราะรู้ว่าขัดคอแล้วพ่อไม่โกรธ  อายุรุ่นราวคราวเดียว  กับพอ่  แตค่ งจะแกก่ ว่าสกั ปสี องปี เพราะพอ่ สอนใหผ้ มเรยี กลุง แม้จะเป็นคนช่างแย้ง  ชอบขัดคอ  แต่ลุงนวลก็เป็นคนใจดีกับ  พวกเรา เราจงึ รักและนับถือลงุ นวลกันทุกคน เรอ่ื งหนง่ึ ทล่ี งุ นวลชอบขดั แยง้ พอ่ และใครๆ เสมอ คอื เรอื่ งตาย  แล้วเกิด  ชาติก่อน  ชาติหน้า  ลุงนวลเป็นคนหัวสมัยใหม่  และมีท่าที  ไมค่ ่อยชอบพระเทา่ ไรนกั



อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 223 “สมัยใหม่เกินไป  พระสมัยนี้”  ลุงนวลพูดในวันหน่ึงขณะมา  เยย่ี มพ่อ “เช่นอย่างไร ?” พอ่ ถาม “เรียนทางโลกมากไป  ท�ำตัวเป็นคนทันสมัย  ทันโลก  กลัว  ชาวบ้านจะหาว่าครึ  ว่าไม่รู้อะไร  จึงอยากจะเรียนทุกอย่างท่ีชาวบ้าน  เขาเรียนกนั  เช่น คณิตศาสตร ์ ภาษาองั กฤษ ชีววทิ ยา ยังมีอย่างอืน่   อกี เยอะแยะ ไม่เหน็ เก่ยี วข้องกับวชิ าของพระตรงไหน” “แลว้ จรงิ หรือเปล่าละ่  ?” พ่อถาม “อะไร จริงหรือเปลา่  ?” ลุงนวลย้อนถาม “ท่ีชาวบ้านชอบว่าพระครึ,  ไม่รู้อะไร  รู้แต่  สัตถา  อันว่าพระ  ศาสดาน่ะ  จริงหรือเปล่า”  น้�ำเสียงของพ่อเป็นท�ำนองชวนลุงนวลพูด  เล่นมากกว่าเป็นจริงเปน็ จัง “ก็เคยไดย้ ินบ้างเหมอื นกนั ” ลุงนวลยอมรับ “ส่วนมากจากคนที่ได้รับการศึกษามาก  หรือได้รับการศึกษา  นอ้ ย ?” พ่อถาม “จากคนมีการศกึ ษามากซิ คนมกี ารศกึ ษาน้อยไม่ค่อยเอาใจใส่  เร่อื งนี้” ลงุ นวลวา่ “คุณนวลเองก็เคยพูดมใิ ช่หรอื  ?” พอ่ ถาม “พดู อะไร ?” “พดู วา่ พระไมม่ คี วามรอู้ ะไร รแู้ ตภ่ าษาบาล ี ธรรมะกไ็ มร่ จู้ รงิ ” ลุงนวลนง่ิ พอ่ จงึ พดู ตอ่ ไป “พอทา่ นจะเรยี นเพอื่ รอู้ ะไรๆ ขน้ึ มาบา้ ง คนกว็ า่ ทา่ นอกี  วา่ ไป  เรยี นอะไรกไ็ มร่  ู้ ไมเ่ หน็ เกย่ี วกบั พระ ทา่ นไมเ่ รยี นกห็ าวา่ ทา่ นโงง่ มอย่ ู แต่นักธรรมบาลี  พอท่านเรียนอย่างอื่นบ้าง  ก็หาว่าท่านออกนอกลู ่

ต อ น  ีท่ ๒ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 224 นอกทาง แลว้ จะใหท้ ่านทำ� อยา่ งไรละ่  คุณนวลลองเสนอมาซิ” “ผมวา่ ทา่ นเรยี นเพอื่ เตรยี มตวั สกึ มากกวา่ ” ลงุ นวลขดั คอตอ่ ไป  “ไม่ใช่เพ่ือเผยแผ่ศาสนา  หรือจรรโลงพระศาสนาอะไรหรอก  พอ  เรียนได้แล้วก็สึกมาประกอบอาชีพมาแย่งอาชีพชาวบ้าน  ที่เขาเรียน  ต้องเสียเงินเสียทองมากมายกว่าจะได้ปริญญา  หรือประกาศนียบัตร  สกั แผ่นหนงึ่ มาประกอบอาชพี ” “คุณพูดเหมือนพระไม่ใช่คนไทย”  พ่อผมพูดพร้อมกับเอนหลัง  พิงพนกั เก้าอี้ “ทำ� ไม ?” ลุงนวลถาม “ถึงท่านจะเป็นพระ  ท่านก็เป็นคนไทย  เกิดในเมืองไทย  พูด  ภาษาไทยและรักชาติไทย  รวมความว่าเป็นพ่ีน้องชาวไทยของเราเอง  ทา่ นมสี ทิ ธเิ ทา่ เทยี มกบั คนไทยทกุ อยา่ ง ทำ� ไมคณุ จงึ เหน็ เปน็ วา่ ทา่ นมา  แย่งอาชีพชาวบ้าน  ในเมื่อขณะท่ีท่านประกอบอาชีพนั้น  ท่านก็เป็น  ชาวบ้านเหมือนผมเหมือนคุณแล้วเหมือนกัน  ทีคนต่างด้าว  ท้าวต่าง-  แดนมาประกอบอาชีพในเมืองไทย  ร�่ำรวยกันจนจะซ้ือประเทศไทย  ทั้งประเทศได้อยู่แล้ว  มิหน�ำซ้�ำหอบเงินในเมืองไทยส่งไปเลี้ยงญาต ิ พี่น้องในบ้านเกิดเมืองนอนของเขา  ปีหน่ึงๆ  มากมาย  ทำ� ไมคุณจึง  ไมเ่ หน็ เปน็ เรอื่ งสำ� คญั  กลบั มากระแนะกระแหนเอากบั พระซงึ่ สว่ นมาก  เคยเป็นลูกชาวนาชาวสวนท่ียากจน   บางคนพ่อแม่ไม่มีทุนรอนจะส่ง  ใหเ้ ลา่ เรยี นได ้ และรฐั บาลไทยกย็ งั ยากจนมากอย ู่ ไมอ่ าจใหก้ ารศกึ ษา  เล่าเรียนแก่เด็กไทยทั้งชาติโดยท่ัวถึงได้  องค์กรทางศาสนาจึงรับเด็ก  เหลา่ นนั้ ไวอ้ ปุ ถมั ภใ์ หศ้ กึ ษาเลา่ เรยี นธรรม-บาล ี และศลี ธรรม จรรยา  ระเบยี บประเพณอี ันดงี าม ในเพศแหง่ สามเณรบ้าง ภกิ ษุบ้าง  “การศึกษาเล่าเรียนและความเป็นอยู่ของภิกษุ  สามเณร  ทั้งหลายน้ัน  ได้อาศัยชาวบ้านผู้ใจบุญช่วยอุปถัมภ์เลี้ยงดู  ด้วยจิตใจท่ ี

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 225 เปี่ยมด้วยเมตตากรุณา  หวังบุญ  และต้องการค้�ำชูพระศาสนาไว้  ใน  การอุปการะน้ัน  เขามิได้ท�ำจนตัวเขาต้องเดือดร้อน  แต่เขาท�ำอย่าง  สบายใจ มีความสขุ ใจเปน็ ผลตอบแทนมาทกุ ครัง้ “ผู้ที่อยู่ในเพศบรรพชิตได้ตลอดชีวิตก็ได้บ�ำเพ็ญประโยชน์แก ่ สังคม  ประเทศชาติ  ผู้ที่อยู่ไม่ได้  สึกออกมาก็ได้มีวิชาความรู้มาช่วย  เหลอื ตนเอง สงั คม และประเทศชาตติ อ่ ไป ถา้ พระมคี วามรดู้ ขี นึ้  หาก  สึกออกไปประกอบอาชีพดี  มีรายได้ดี  เป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม  คน  เหล่านั้นคือใคร ? คือคนไทยใช่หรือไม ่ ? เมื่อคนไทยมีการศึกษาดีข้ึน  พงึ่ ตวั เองไดม้ ากขนึ้  สงั คมไทยกด็ ขี น้ึ  คณุ กร็ อู้ ยแู่ ลว้ วา่  บคุ คลเปน็ หนว่ ย  หน่ึงของสังคม  มันเร่ืองเรือล่มในหนองแท้ๆ  ไปเอะอะโวยวายท�ำไม  เรามีเรือ่ งอ่นื ๆ ทจี่ ะตอ้ งชว่ ยกนั ปรับปรงุ แกไ้ ขอย่างเร่งด่วนอีกมาก” “คุณพดู เหมือนยวั่ ยใุ หพ้ ระสึก” ลงุ นวลว่า “ไม่ใช่อย่างนั้น”  พ่อปฏิเสธ  “ท่านจะสึกหรือจะอยู่เป็นเรื่อง  ส่วนตัวของท่าน  ปากผมไม่ศักด์ิสิทธิ์ขนาดพูดให้คนเชื่อได้ทุกอย่าง  หรอก  ผมจะพูดหรือไม่พูด  องค์ท่ีจะอยู่ท่านก็อยู่  องค์ที่จะสึก  ท่าน ก็สึก” “ทำ� ไมพระบวชแลว้ จะตอ้ งสกึ  ไม่สกึ ไมไ่ ดห้ รอื  ?” ลุงนวลถาม “ไมส่ กึ กไ็ ด ้ อยา่ งทท่ี า่ นไมส่ กึ กนั ถมเถไป มรณภาพในผา้ เหลอื ง  แต่ใครจะสึก  พระพุทธเจ้าหรือพระเถระในสมัยนี้ก็ไม่ห้าม  อยู่ตาม  สมัครใจไปตามสบาย” “เห็นวัด  เห็นศาสนา  เป็นศาลาพักร้อนไปได้”  ลุงนวลเถียง  “เดือดร้อนข้ึนมาก็มาพึ่งพาอาศัย  พอสบายเอาตัวรอดได้  ก็โผผิน  บินหนกี นั ไปหมด” พอ่ ผมนงิ่ “หรือคณุ ย้มิ มขี ้อแกว้ า่ อยา่ งไร ?”

ต อ น  ีท่ ๒ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 226 “ไม่ต้องแก”้  พอ่ พูด “ท�ำไม ?” “ก็คณุ พูดถูกแล้ว จะต้องแกท้ ำ� ไม” “ถกู ในขอ้ ไหน ?” “ข้อวา่  ศาสนาและวดั  เปน็ ศาลาพักร้อน” “ผมพดู อย่างนี้ ท�ำไมคนบางคนจงึ โกรธผม” ลุงนวลพูดตอ่ ไป “ไมร่ เู้ หมอื นกนั ” พอ่ วา่  “แตส่ ำ� หรบั ผมเอง ใครเหน็ ผมเปน็ ศาลา  พักรอ้ น ผมภูมใิ จ” “ท�ำไม ?”  ลุงนวลถาม “คุณเห็นอาชีพหมอเปน็ อาชีพทีม่ ีเกยี รตไิ หม ?” พ่อถาม “มซี ,ิ  ผมสง่ ลูกใหเ้ รยี นหมอส�ำเรจ็ ไปคนหนึง่ แลว้ ” “คณุ เคยเหน็ คนไมป่ ว่ ย ไมเ่ จบ็ ไมไ่ ขม้ าใหห้ มอรกั ษาบา้ งหรอื  ?” “ไมเ่ คย” ลงุ ตอบ “คนเจบ็ พอหายแลว้ กไ็ มเ่ หน็ หนา้  ปว่ ยอกี จงึ   เห็นอกี ” “คณุ วา่ เขาเหน็ โรงพยาบาล หรอื คลนี คิ ของลกู ชายคณุ เปน็ ศาลา  พกั ร้อนของเขาหรือเปล่า เขารอ้ นจึงมา ไม่รอ้ นไมม่ า” “ฮือ นา่ คิด” ลุงนวลพูดเสยี งอยู่ในล�ำคอ “หนา้ ทก่ี ารบำ� บดั ทกุ ขข์ องเพอื่ นมนษุ ยน์ น้ั เปน็ หนา้ ทอ่ี นั มเี กยี รติ  สงู สง่ ” พอ่ ผมพดู  “การทค่ี นทงั้ หลายเคารพปชู นยี สถาน วดั วาอาราม  และเคารพนับถือพระสงฆ์  ก็ด้วยเห็นว่าวัดและพระสงฆ์เป็นศาลา  พักร้อน  ผ่อนคลายความตึงเครียดได้  เขาได้เห็นคุณค่าของวัดและ  พระ ตน้ ไมใ้ ดไมม่ รี ม่ เงา ใครเลา่ จะเขา้ พกั ใตต้ น้  วดั ไดช้ ว่ ยคนมามาก  ท้ังช่วยบรรเทาความเศร้า  และช่วยสร้างความเจริญให้แก่คน  สิ่งท ี่ มีค่าในชีวิตคน  คือสิ่งท่ีสามารถช่วยเหลือได้ในยามต้องการความ  ช่วยเหลือ  ช่วยบรรเทาได้ในยามทุกข์  ใครจะเรียกว่าศาลาพักร้อน 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 227 หรือเรียกอะไรก็ตามใจ “อีกประการหนึ่ง  ถ้าพระที่บวชแล้วไม่สึกบ้าง  วัดจะไม่พออยู่  หรือมิฉะน้ันก็จะไม่มีใครบวชเลย  จะมีบวชก็เฉพาะคนแก่ท่ีจะเข้าโลง  อยแู่ ลว้  แตเ่ พราะมคี นบวช มพี ระสกึ อยอู่ ยา่ งนแี้ หละ คนรนุ่ หลงั จงึ ได้  ผลดั เปลยี่ นกนั เขา้ ไปบวชไมข่ าดสาย เหมอื นกระแสน�้ำทไี่ หลอยตู่ ลอด  เวลา โอกาสทจี่ ะเนา่ เหมน็ เกอื บไมม่ เี ลย ถา้ นำ�้ ตาย ไมไ่ หล อะไรตกลง  ไปกเ็ นา่ เหมน็ อยใู่ นนนั้   เพราะเมอื งไทยเรา พระบวชไดส้ กึ ไดน้ แี่ หละ  จงึ ยงั มพี ระทอ่ี ดุ มดว้ ยสลี าจารวตั รใหเ้ รากราบไหวอ้ ยไู่ ดจ้ นกระทงั่ บดั น”้ี “คุณย้ิมมองคนในแง่ดีเกินไป” ลุงนวลพูด “คุณอาจต้องชำ้� ใจ  เพราะเร่ืองนี้สักครัง้ หนึ่ง” “เมอ่ื ยงั มดี ใี หม้ องอยกู่ ต็ อ้ งมองไวก้ อ่ น” พอ่ ตอบ “ผมยงั ตดิ ใจ ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ตรสั สอนไวถ้ งึ วธิ รี ะงบั ความไมพ่ อใจตา่ งๆ ถา้ เราไมร่ จู้ กั   ระงับเสียบ้าง  เราก็เดือดร้อนเอง  เหมือนเอาขยะทั้งเมืองมาสุมไว้บน  หวั เรา” “พระพุทธเจ้าตรัสไว้อย่างไรบา้ ง ?” “พระองคส์ อน๑ ใหเ้ จรญิ เมตตา ปรารถนาดตี อ่ เขา ใหม้ กี รณุ า  ปรารถนาจะชว่ ยเขา มอี เุ บกขา วางเฉย วางใจเปน็ กลางเสยี บา้ ง หรอื   อย่าเอาใจใส่ถึงบุคคลนั้น  และประการสุดท้ายให้ท�ำในใจว่าคนทุกคน  มกี รรมเปน็ ของตวั  ใครทำ� ไวอ้ ยา่ งไร กย็ อ่ มไดร้ บั อยา่ งนน้ั  เขาจะตอ้ ง  รบั มรดกแหง่ กรรมอย่างแนน่ อน” “น่าคดิ ดเี หมือนกนั ” ลงุ นวลพดู  “มอี ะไรเพมิ่ เติมอกี ไหม ?” “วิธีของพระพุทธเจ้าเป็นวิธีที่ดีเสมอ  ถ้าเราปฏิบัติตามได้เรา  ก็มีความสุขสงบเอง  พระสารีบุตรก็ได้แสดงวิธีระงับความไม่พอใจ  ๑ นยั  อังคตุ ตรนกิ าย ปญั จกนบิ าต พระไตรปฎิ กเล่ม ๒๒ หนา้  ๒๐๗

ต อ น  ีท่ ๒ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 228 หรอื ความอาฆาตพยาบาทไวเ้ หมอื นกนั  ทา่ นสอนใหม้ องหาแงด่ ขี องคน  ชาวบา้ นทว่ั ไปนน้ั มกั มองคนในแงร่ า้ ยกอ่ น เมอ่ื หารา้ ยไมไ่ ดแ้ ลว้ จงึ มอง  ความดี  แต่พระท่านสอนให้มองหาดีให้พบเสียก่อน  เม่ือหาไม่ได้แล้ว  จึงค่อยตำ� หน”ิ “พระสารีบตุ รวา่ อยา่ งไร ?” “พระสารีบุตรโอวาทพระทั้งหลาย  ท�ำนองว่า  คนที่จะดีพร้อม  ทุกทาง  คือทั้งกาย  วาจา  ใจ  นั้นหาได้ยาก  บางคนท�ำไม่ดี  แต่พูดด ี บางคนท�ำดี  แต่พูดไม่ดี  บางคนท�ำและพูดไม่ดี  แต่ใจดี  บางคนดี  ทกุ อย่าง บางคนไม่ดสี ักอยา่ ง ท่าน๒สอนว่า  คนฉลาดต้องพยายามนึกถึงส่วนท่ีดี  ที่บริสุทธ ์ิ ของคนอืน่  ตัดสว่ นที่ไม่ดอี อกไป ๑. เปรียบเหมือนพระถือผ้าบังสุกุลเป็นวัตร  เห็นผ้าคลุกฝุ่น  ต้องการน�ำมาเป็นผ้าบังสุกุล  เมื่อดึงออกมาแล้ว  เห็นส่วนไหนยังดีอยู่  กถ็ ือเอาสว่ นนั้น ทงิ้ ส่วนทเ่ี สยี ไป ๒. เปรยี บเหมอื นคนเดนิ ทางไกลกระหายนำ�้  มาพบนำ้� มจี อกแหน  ลอยคลุมอยู่ คนฉลาดพงึ แหวกจอกแหนออกแลว้ ดืม่ น�้ำ ๓. เปรียบเหมือนคนกระหายน�้ำ  มาพบน้�ำในหลุมเท้าโคอัน  นอ้ ย ครน้ั จะวกั ขน้ึ ดม่ื ดว้ ยมอื กเ็ กรงนำ�้ กระเพอ่ื ม ตะกอนจะลอยขน้ึ มา  จะนงั่ คกุ เขา่ กม้ ลงดื่มน�้ำนั้น ๔. ถ้ายังท�ำใจไม่ได้อีกก็ให้นึกเสียว่าเหมือนพบคนท่ีก�ำลังป่วย  หนักในระหว่างทางท่ีไกลจากหมู่บ้าน  จะท้ิงเขาไว้ก็จะเป็นคนขาด  มนุษยธรรม จึงช่วยเหลอื เขา เพอ่ื อนเุ คราะหเ์ ขา” ๒ นัย ปัญจกนิบาต องั คตุ ตรนิกาย พระไตรปฎิ ก เลม่  ๒๒ หนา้  ๒๐๗-๒๑๒

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 229 “พระพทุ ธเจา้ เอง ยงั เคย๓ตรสั เรอื่ งพระเทวทตั วา่  ถา้ พระเทวทตั   จะพงึ มสี ว่ นดอี ยบู่ า้ งเพยี งเลก็ นอ้ ย กจ็ ะไมท่ รงพยากรณว์ า่  พระเทวทตั   จะต้องตกนรก  แต่เพราะมองไม่เห็นส่วนดีของพระเทวทัตแม้เพียง  เล็กน้อย  แม้เพียงเท่าน้�ำที่สลัดออกจากขนทราย  จึงทรงพยากรณ์  ว่า  พระเทวทัตจะต้องตกนรกแน่นอน  เปรียบเสมือนหลุมอุจจาระ  ลกึ ประมาณทว่ มหวั คน เตม็ ดว้ ยอจุ จาระเสมอขอบปากหลมุ  บรุ ษุ หนงึ่   ตกลงไปในหลุมน้ันจนมิดศีรษะ  คนบางคนมุ่งประโยชน์  อยากช่วย  เหลือ  ได้เดินเวียนหลุมคูถอยู่  ก็ไม่เห็นอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งท่ี  ไม่เปื้อนคูถ  พอจะจับยกขึ้นมาได้  พระองค์ก็เหมือนกัน  ถ้าเห็นส่วนดี  ของพระเทวทัตแม้เพียงเล็กน้อย  ก็จะไม่ทรงพยากรณ์ว่าพระเทวทัต  จะตอ้ งตกนรกอย่างแนน่ อน” “ท�ำไมคนช่วยเหลือจึงไม่ยอมเปื้อนบ้าง  ถ้ายอมเปื้อนคูถเสีย  บา้ ง กน็ า่ จะชว่ ยคนตกในหลมุ คถู ได ้ อยา่ งหมอผา่ ตดั คนไขต้ อ้ งยอมให ้ มอื เปอื้ นเลือด จะชว่ ยคนตกน�้ำก็ตอ้ งยอมเปียกนำ้� ” ลงุ นวลพูดแยง้ “จะให้ช่วยคนช่ัวโดยวิธีร่วมท�ำช่ัวด้วยอย่างนั้นหรือ ?”  พ่อถาม  “เมื่อคนนั้นเปื้อนอุจจาระ  คือความชั่วแล้ว  มีคนบอกแล้วว่าให้ข้ึนมา  เสยี จากหลมุ อจุ จาระ และชำ� ระรา่ งกายใหส้ ะอาด แตเ่ จา้ ตวั ไมย่ อมขน้ึ   จะลงทุนถึงกับกระโดดลงไปในหลุมอุจจาระด้วย  เพ่ืออุ้มเขาขึ้นมา  กระน้นั หรอื ” “ถา้ มคี วามกรณุ าจริง ก็นา่ จะท�ำอยา่ งน้ันได”้  ลงุ นวลพดู “ไม่ใช่วิสัยของพระพุทธเจ้าท่ีจะท�ำช่ัวเพื่อช่วยเหลือคนชั่ว  เรา  ๓ เรอื่ งนพ้ี ระศาสดาตรสั กบั พระอานนท ์ เมอื่ พระอานนทม์ าทลู วา่  มภี กิ ษรุ ปู หนงึ่ ถาม  ทา่ นว่า พระศาสดาทรงกำ� หนดรเู้ หตุทงั้ ปวงแลว้ หรือ จึงพยากรณ์พระเทวทตั วา่ จะ  ตอ้ งตกนรก (นัย อังคุตตรนกิ าย ฉกั กนิบาต เลม่  ๒๒/๔๔๙)

ต อ น  ีท่ ๒ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 230 จะสอนคนใหเ้ ลกิ ทจุ รติ โดยวธิ ที เ่ี ราเลกิ ทจุ รติ กอ่ น มใิ ชว่ ธิ กี ระโดดลงไป  คลุกคลกี ับความทุจรติ นั้นเสยี เองดว้ ย” “พระพุทธเจา้  บางทกี ต็ รัสอะไรท่ีไมค่ วรจะตรัส” ลุงนวลพดู “ไมอ่ าจเออ้ื มเกนิ ไปหรอื  ?” พอ่ ถาม แตส่ หี นา้ ยงั คงปกตเิ หมอื น  เดิม “ไม่ใช่อาจเอื้อม  แต่ผมรู้สึกอย่างน้ันจริงๆ พระพุทธเจ้าเป็น  บคุ คลทผ่ี มเคารพเลอื่ มใส แตบ่ างอยา่ งผมเหน็ วา่ พระองคไ์ มค่ วรตรสั ” “เชน่ อย่างไร” พอ่ ถาม “เชน่  ตรสั ดา่ นางมาคนั ทยิ าวา่  รา่ งกายเตม็ ไปดว้ ยมตู รและกรสี   ไม่ปรารถนาแตะต้องแมด้ ้วยเท้า” “วา่ กนั วา่ ทรงมงุ่ ประโยชนแ์ กพ่ ราหมณแ์ ละพราหมณผี เู้ ปน็ บดิ า  มารดาของนางมาคนั ทยิ า” พอ่ ตอบ “มุ่งประโยชน์แก่นางมาคันทิยาบ้างไม่ได้หรือ ?”  ลุงนวลเถียง  “จริงอยู่พระด�ำรัสนั้นส�ำเร็จประโยชน์แก่พ่อแม่ของนางมาคันทิยา  แต่นางมาคันทิยาต้องพินาศวอดวาย  ต้องถูกฆ่าตายอย่างทารุณท่ีสุด  ในภายหลงั  ไม่ตายคนเดยี วยงั พาญาติพี่น้องไปตายเสยี มากมายด้วย” “ที่นางมาคันทิยาถูกฆ่าตายอย่างทารุณน้ัน  เป็นคนละเร่ืองกับ  เรื่องท่ีพระพุทธเจ้าตรัส  คุณต้องแยกแยะตัดตอนให้ถูกด้วย  มิฉะน้ัน  เร่อื งมันจะยุ่งกันหมด สางไม่ออก วา่ อะไรเปน็ อะไร” พ่อตอบ “ถ้าอย่างนั้น  นางมาคันทิยาถูกฆ่าตายเพราะอะไร ?”  ลุงนวล  ถาม “เพราะไปจดุ ไฟเผาปราสาทของพระนางสามาวดี” พอ่ ตอบ “ทำ� ไมจึงเจาะจงจุดไฟเผาปราสาทของพระนางสามาวด ี ?” “เพราะเคยี ดแคน้ ชงิ ชงั พระนางสามาวด ี ทยี่ อมเปน็ สาวกอปุ ถมั ภ์  บ�ำรงุ พระพทุ ธเจา้  เป็นพวกของพระพทุ ธเจา้ ”

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 231 “ทำ� ไมจึงเคยี ดแคน้ ชิงชงั พระนางสามาวด ี ในเมอ่ื พระนางยอม  เปน็ สาวกของพระพทุ ธเจา้  ?” “เพราะนางเกลยี ดชังพระพทุ ธเจ้า” “ทำ� ไมจงึ เกลยี ดชงั พระพทุ ธเจา้ ” “เพราะพระพุทธเจ้า  นอกจากไม่ต้องการนางแล้ว  ยังตรัส  ค�ำแรงๆ  ให้นางเจ็บช้�ำน้�ำใจ  เช่น  ร่างของนางเต็มไปด้วยอุจจาระ  ปสั สาวะน ้ี ไมท่ รงต้องการ ไมป่ รารถนาถกู ต้องแม้ดว้ ยเท้า” “นั่นเห็นไหมว่าเรื่องมันเก่ียวกันอยู่”  ลุงนวลพูด  “คุณจะว่า  เรอ่ื งการตายของนางมาคนั ทยิ า ไมเ่ กยี่ วกบั พระดำ� รสั ของพระพทุ ธเจา้   อย่างไร  แม้ความตายของพระนางสามาวดีกับพวกพ้องถึง  ๕๐๐  คน  กม็ สี าเหตมุ าจากเรอื่ งเดยี วกนั  ผมวา่ อยา่ งน ้ี คณุ ยม้ิ จะวา่ อยา่ งไร ? อนง่ึ   ที่ว่าทรงมุ่งประโยชน์แก่พราหมณ์และพราหมณี  พ่อแม่ของนาง  มาคันทิยา  เพราะฟังแล้วได้ส�ำเร็จเป็นอนาคามีบุคคลน้ัน  ก็ยังฟัง  ไม่สนิท  พระธรรมเทศนาอย่างอื่น  ค�ำพูดอย่างอ่ืนท่ีเหมาะสมกว่าน ้ี ไม่มีอีกแล้วหรือ จึงต้องตรัสคำ� อันให้คุณแก่ฝ่ายหน่ึง และให้โทษแก่  อีกฝ่ายหนึ่ง  ไหนชมเชยกันนักหนาว่า  พระพุทธเจ้าทรงเป็นสัพพัญญู  ทรงประกอบด้วยธรรมเทศนาโกศล  ฉลาดในการแสดงธรรม  ทรง  ประกาศธรรมเปน็ อเนกปรยิ าย เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ประโยชนแ์ กบ่ คุ คล ทกุ เพศ  ทุกวัย  ทุกวรรณะ  พระธรรมเทศนาเป็นประโยชน์เกื้อกูล  แม้แก่สัตว์  ดิรัจฉาน แตไ่ ฉนจงึ ใหโ้ ทษแก่นางมาคนั ทยิ าถึงปานนี้” “พดู นา่ ฟัง” พ่อชมลุงนวล “นา่ ฟังแลว้ ถูกหรือเปลา่ ล่ะ ?” ลุงนวลถาม “ไม่รู้ซิ”  พ่อตอบ  “ผมจะไปรู้ดีกว่าพระพุทธเจ้าได้อย่างไรว่า  คำ� ไหนควรพดู  คำ� ไหนไมค่ วรพูด” นงิ่ กนั ไปคร่หู น่งึ

ต อ น  ีท่ ๒ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 232 พ่อจงึ พูดวา่ “ถ้าพิจารณาเร่ืองท�ำนองเดียวกับท่ีคุณว่ามานี้  ก็ยังมีเร่ืองอ่ืน  อกี มาก ทจี่ ะตอ้ งพจิ ารณาโทษของพระพุทธเจา้ ” “เช่นอะไร ?” ลงุ นวลถาม “เช่นเรื่องที่พระเทวทัตต้องประกอบกรรมหนัก  ท�ำร้ายพระ-  พุทธเจ้า  ท�ำลายสงฆ์ให้แตกกัน  และยุยงให้พระเจ้าอชาตศัตรูปลง  พระชนมพ์ ระเจา้ พมิ พสิ าร กเ็ พราะพระพทุ ธเจา้ มพี ระพทุ ธเจา้ เปน็ เหต”ุ “ทำ� ไมอย่างนัน้  ?” ลงุ นวลถาม “กเ็ พราะพระพทุ ธเจา้ ทรงยอมใหพ้ ระเทวทตั บวชนะ่ ซ”ี  พอ่ ตอบ “และทรงใหอ้ ปุ สมบทเองเสียอกี ด้วย” “ไหนว่าหากพระเทวทัตไม่ได้บวชจะท�ำกรรมหนักกว่านี้อีก  และไม่มีความดีติดตัวเลย  ได้บวชบ้างยังดี  ยังเคยได้ฌานโลกีย์  และ  ยงั ได้ถงึ พระพุทธเจา้ เป็นทพ่ี ึ่งเม่อื แผ่นดินกำ� ลงั สบู ” “ใครวา่  ?” พอ่ ถาม “พระพทุ ธเจ้าตรัส” ลงุ ตอบ “เอา้  ทอี ยา่ งน ้ี ทำ� ไมเชอ่ื พระองคท์ า่ นได ้ ?” พอ่ พดู  “วา่ ทรงเหน็   กาลไกลเพียงใด  จึงทรงยอมให้พระเทวทัตบวช  ถ้าพูดกันแบบเร่ือง  พระนางมาคนั ทยิ าแลว้  แมแ้ ตเ่ รอื่ งทพี่ ระเจา้ อชาตศตั ร ู ปลงพระชนม์  พระเจ้าพิมพิสาร  พระราชบิดา  ก็มีสาเหตุมาจากพระพุทธเจ้าเหมือน  กนั ” “อย่างไร ?”  ลุงถาม “พระเทวทัตไปยอุ ชาตศัตรทู ำ� ไม ?” พอ่ ถามบ้าง “เพอ่ื ให้อชาตศัตรเู ป็นใหญท่ างอาณาจักร” ลุงตอบ “เพ่ืออะไร” พอ่ ถาม “เพอ่ื สนบั สนนุ ตน เปน็ กำ� ลงั ของตนในการปลงพระชนม ์ พระ- 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 233 พทุ ธเจ้า และตนจะเป็นพระพุทธเจ้าเสียเอง” “ท�ำไม ?”  พ่อถาม “เพราะไม่ชอบพระพุทธเจ้า  ไม่ชอบอุบาสกอุบาสิกาที่เคารพ  เลือ่ มใสในพระพทุ ธเจ้า และพระสาวกผูใ้ หญอ่ ่นื ๆ” ลงุ ตอบ “ท�ำไมจงึ ไม่ชอบเขา ?” พอ่ ถามอีก “เพราะทา่ นเหลา่ นัน้ ไม่เอาใจใสต่ ่อพระเทวทตั เทา่ ท่ีควร” “เห็นไหมว่าเรื่องพัวพันมาถึงพระพุทธเจ้าอีก  พระเทวทัต  คงนึกว่า  พระพุทธเจ้ายุยงอุบาสกอุบาสิกาไม่ให้ท�ำบุญกับตน  ไม่ให ้ เอาใจใสต่ น  แมส้ มยั ปจั จบุ นั ลว่ งมา ๒๕๑๓ ปแี ลว้  บางคนยงั ลงโทษ  พระพุทธเจ้าว่า  ที่เมืองไทยยากจนก็เพราะพระพุทธเจ้า  คือทรงสอน  เรื่องสันโดษ  และคนไทยเช่ือ  ปฏิบัติตามค�ำสอนของพระองค์  เมือง  ไทยจึงจน” พ่อพดู เสยี ยาว “ท่ีมันข้ีเกียจ  และโกงกันสะบั้นห่ันแหลกท�ำไมไม่พูดบ้าง  ว่า  นั่นแหละคือผู้ก่อการร้ายในเมืองไทย  และท�ำให้คนไทยจน”  ลุงนวล  ระเบดิ ออกมา

ต อ น  ีท่ ๒ ๘ ๒๘ต อ น ที่ ชีวิตการแต่งงานของลุงนวลนั้นไม่สู้จะราบร่ืนนัก  เพราะเหตุพ่ีน้อง  ฝา่ ยเมยี ของแกยุ่มยา่ มเกินไป เมียลงุ นวลชอื่ ปา้ นิ่ม รวม ๒ คน เป็น  “นิ่มนวล”  แต่ชีวิตสมรสของท่านทั้งสองนี้มิได้  “น่ิมนวล”  สมชื่อเลย  เส้นทางชีวิตบนความผูกพันของครอบครัวมักเป็นเส้นทางที่ขรุขระ  เต็มไปด้วยหัวหลักหัวตออันจะต้องสะดุดอยู่เสมอ  ลุงนวลบ่นให้ฟัง  บ่อยๆ  ว่ารู้อย่างน้ีไม่แต่งงานดีกว่า  อยู่คนเดียวแสนสบาย  หาเงินได้  มาใชม้ นั ไดอ้ ยา่ งเตม็ ไมเ้ ตม็ มอื  ไมต่ อ้ งเจยี ดเพอื่ นนั่ เพอื่ น ี่ ไปไหน นอน  ที่ไหนได้ทุกแห่ง ไม่ตอ้ งเป็นหว่ งใครและไม่ต้องให้ใครเป็นหว่ ง “คนแต่งงานแล้วร้อยคู่  ๙๙  คู่บ่นอย่างนี้ท้ังนั้น”  พ่อผมพูด  “จะมีสักคู่หน่ึงเท่านั้นท่ีรู้สึกว่ามีความสุขพอสมควรและไม่อยากออก  นอกนั้นอยากออก” “คนโบราณพดู ถูก” ลุงนวลเปรย



ต อ น  ีท่ ๒ ๘ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 236 “คนในอยากออก คนนอกอยากเข้าใชไ่ หม ?” พอ่ ถาม “ใช่,  เร่ืองเงินน่ีเองเป็นสาเหตุแห่งความยุ่งทั้งหลายของ  ครอบครวั ” “มีส่วนอยู่มาก”  พ่อยอมรับ  “แต่คนที่ไม่ยุ่งเร่ืองเงินก็ต้องยุ่ง  เรื่องอนื่ อกี   เกิดมาเปน็ คนไมพ่ น้ ยุ่ง” “เรื่องอะไร ?” ลุงนวลถาม “ผมเหน็ แต่เรอ่ื งเงินเท่านั้นท่ีทำ� ให้  สามีภรรยาต้องทะเลาะกัน  เส่ือมคลายความเคารพนับถือกัน  แตก  จากญาตพิ นี่ อ้ งของฝา่ ยหญงิ บา้ งฝา่ ยชายบา้ ง ถา้ มเี งนิ  ปญั หาอน่ื ๆ ก ็ ระงบั ได้” “คนจนย่อมเห็นเงินเป็นเร่ืองส�ำคัญเสมอ  เพราะชีวิตประจ�ำ  วนั ของเขากระเสอื กกระสนหาแตเ่ งนิ  เพอื่ เงนิ  อปุ สรรคตา่ งๆ ในชวี ติ   ของเขาอยู่ท่ีไม่มีเงิน  ถ้ามีเงินก็สามารถแก้อุปสรรคน้ันได้  เหมือน  น้�ำแก้วเดียวส�ำคัญเหลือเกินในแหล่งที่ขาดน�้ำ  เงินส�ำคัญอย่างยิ่ง  ส�ำหรับผู้ไม่มีเงินขาดแคลนเงิน  แต่คุณนวลไม่ใช่คนยากจนขนาดน้ัน ท�ำไมจึงให้ความส�ำคัญแก่เงินนัก  คุณนวลไม่เคยเห็นคนมั่งมีต้อง  หย่าร้างต้องแตกแยกกนั บ้างหรือ ? ทง้ั ๆ ทีป่ ัญหาเรือ่ งเงนิ ไม่มีเลย” “ไม่รู้เพราะอะไร  โง่จังเลย”  ลุงนวลพูด  “ถ้าเรามีเงินมาก  ขนาดมง่ั ม ี ผมคดิ วา่ ปญั หาอนื่ ๆ คงแกไ้ ดห้ มด แตต่ วั อยา่ งทเี่ หน็  อยา่ ง  คุณว่า ทำ� ไมจึงเปน็ อยา่ งนั้นไปได้” พอ่ ผมจงึ กลา่ ววา่ “คนจน  มีแต่จิตคิดหาเงินมาบ�ำบัดทุกข์ของครอบครัว  จึง  ไม่มีเวลาคิดถึงปัญหาอย่างอ่ืน  ส่วนคนมั่งมี  เมื่อไม่ต้องยุ่งกับเรื่อง  เงินเท่าไรนักแล้ว  จิตใจก็ส่ายไปหาเร่ืองอ่ืน  เช่นความทะยานอยาก  ในกามารมณ์ให้ย่ิงขึ้นไป  ความปรารถนาในเกียรติ  ในอ�ำนาจ  สาม ี ภรรยาไม่ง้อกัน  มีทิฏฐิแรงด้วยกันท้ังสองคน  มีเร่ืองอะไรนิดอะไร 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 237 หน่อยก็หัวแข็งเข้าหากัน  ผู้หญิงฟุ้งเฟ้อ  เสริมแต่ความงาม  เย่อหย่ิง  ถอื ตวั  นกึ อยเู่ สมอวา่ จะหาผวั สกั วนั ละกค่ี นกไ็ ด ้ ฝา่ ยชายกม็ เี หมอื นกนั   มเี งนิ อยใู่ นมอื มาก กห็ าความสขุ นอกบา้ น ตำ� แหนง่ ฐานะดเี ปน็ ทยี่ วั่ ตา  ย่ัวใจของสาวอ่ืนๆ  เห็นเมียตัวเก่าแล้วเก็บเข้าอู่  ไปไหนก็อยากมีสาว  เลก็ ๆ เดก็ นอ้ ยๆ ควง พอชนื่ ตาชน่ื ใจ ปญั หาครอบครวั กเ็ กดิ ขนึ้  นคี่ อื   เรอ่ื งของคนมงั่ ม ี ยงั มปี ญั หาอนื่ ๆ อกี แยะ รวมลงในปญั หาครอบครวั ” “ผมไมช่ อบมากๆ อกี อยา่ งหนงึ่  คอื เรอื่ งญาตพิ น่ี อ้ งของผหู้ ญงิ   มายุ่มยา่ มในชวี ติ สว่ นตัวของเรา” ลงุ นวลระบาย “ท�ำให้สามีภรรยาแตกแยกกันมานักต่อนักแล้ว  ควรต้องระวัง เรื่องนี้  เรื่องของเรื่องก็คือญาติฝ่ายหญิงเห็นภรรยาของเราเป็นเด็ก  อยู่เรื่อยไป  คอยพูดน่ันพูดน่ี  ธรรมดาผู้หญิงชอบฟังเสียง  “เขาว่า”  เปน็ นสิ ยั อย่แู ลว้  พอไดร้ บั ความทกุ ขย์ ากลำ� บากอะไรข้นึ มา และญาต ิ คนน้ันพูดอย่างนั้นที  ญาติคนนี้พูดอย่างน้ีทีก็หวั่นไหว  ตัดสินใจอะไร  ไม่ได ้ ทำ� อะไรไมถ่ ูก” “ความจรงิ แลว้ ปญั หาตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ แกค่ รอบครวั นนั้  สามภี รรยา  มักแก้ไขได้เสมอ  หากมีความอดทนพอสมควร  และญาติของฝ่ายใด  ฝ่ายหน่ึงไม่ยุ่มย่าม  ท�ำตัวเป็นนักปราชญ์คอยแนะนั่น  น�ำน่ี  พูดโน่น  ใหร้ กหู รำ� คาญใจ จนสามีภรรยาเขาตอ้ งมีปากมีเสียงกัน” “ผมก็ว่าอย่างน้ัน”  ลุงนวลคล้อยตาม  “เม่ือสามีเขายังรับผิด  ชอบอยู่  ไม่เห็นจ�ำเป็นที่จะต้องมีใครมายุ่ง  การเข้ามายุ่งของญาต ิ พ่ีน้องนั่นแหละท�ำให้ครอบครัวเขายุ่งโดยไม่จ�ำเป็น  เม่ือครอบครัวยุ่ง  ขึ้นมา  ญาติพี่น้องเหล่านั้นเกิดช่วยอะไรไม่ได้  เรียกว่ารู้แต่ก่อแต่ไม่รู ้ ทางดับ  ทางท่ีดีอย่าไปยุ่งกับเขาดีกว่า  นอกจากเมื่อเขาล�ำบากก ็ ช่วยเหลอื ไปหากช่วยได้ ชว่ ยไมไ่ ด้ก็แล้วไป “คิดๆ  ดูแล้วไม่น่าแต่งงาน  ไม่น่ามีครอบครัว  แต่คนที่คิดได้ 

ต อ น  ีท่ ๒ ๘ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 238 อยา่ งนกี้ ็มักจะแตง่ งานเสยี แลว้ ทกุ คนไป” ลุงนวลพดู ในทสี่ ุด “คนในอยากออกคนนอกอยากเข้า”  พ่อผมเปรย  “ดูเหมือนจะ  ทุกเรื่องไป  ไม่เพียงแต่เรื่องการแต่งงานเร่ืองเดียว  คนบวชไม่ได้ก ็ อยากบวช  (เช่นผู้หญิงชอบพูดว่า  ถ้าบวชอย่างพระได้จะไม่สึก)  คน  ที่บวชแล้วก็อยากสึก  คนไม่ได้งานก็ว่ิงหางานท�ำ  คนมีงานท�ำแล้วก็  พยายามเลี่ยงงานไม่อยากท�ำงาน  (แต่อยากได้เงิน)   ภวตัณหา  และวิภวตัณหาของคนเรามีมากเกินไป  จึงไม่อาจเอาใจให้ถูกได ้ แมแ้ ตใ่ จของตนเอง” “ปัญหาครอบครัวเป็นเรื่องมากและยืดเย้ือ”  ลุงนวลย้อนมา  ทางปัญหาครอบครัวอีกตามหลักที่ว่าคนมีอะไรอัดอยู่ในใจมาก  หาก  มีโอกาสระบายก็จะระบายสิ่งน้ันออกมา  “มีความทุกข์ยากล�ำบาก  มากกว่าความสบาย  มีความทุกข์มากกว่าความสุข  ผมเคยได้ยิน  ใครพูดก็ไม่รู้ว่า  เม่ือก่อนนี้มีแต่ผู้ชาย  โลกน้ีมีแต่ความสนุกสนาน  เพลิดเพลิน  ไม่มีความทุกข์แต่ประการใด  เม่ือไม่มีความทุกข์  พวก  ผู้ชายก็เพลิดเพลินหลงระเริงไปจนลืมนึกถึงพระเจ้า  พระเจ้าจึงส่ง  ผู้หญิงลงมาเพ่ือให้มนุษย์ผู้ชายมีความทุกข์เสียบ้าง  เพ่ือจะได้ระลึก  ถึงพระเจ้า  (น่ีก็เป็นธรรมดาของคนอีก  คือไม่ทุกข์ก็ไม่ค่อยนึกถึง  พระ ถงึ กฎแหง่ ศลี ธรรมจรรยาตา่ งๆ) เมอ่ื ผหู้ ญงิ ลงมาแลว้ อยรู่ วมกบั   ผู้ชาย ความย่งุ เหยงิ ความทุกขต์ ่างๆ จงึ เกดิ ตามขึน้ มาไม่ขาดสาย” “คุณนวลก็เลยโยนกลองไปว่า  ความทุกข์ท้ังหลายของโลก  เกิดขึน้ เพราะมผี หู้ ญิง ?” พ่อผมถาม “ผมกว็ า่ อยา่ งน้ัน” ลงุ นวลรบั “ถ้าผู้หญิงเขาพูดบ้างว่า  ความทุกข์ท้ังหลายมีขึ้นเพราะม ี ผชู้ าย คุณจะว่าอย่างไร ?” “กไ็ ม่ว่าอยา่ งไร เพราะจรงิ เหมือนกัน” ลงุ นวลว่า

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 239 “มนุษย์เรามีเคราะห์กรรมด้วยกันทุกคน”  พ่อพูด  “แต่คน  ฉลาด  เม่ือประสบเคราะห์กรรมก็จะหาบทเรียนว่า  ได้อะไรบ้างจาก  เคราะห์กรรมอันนี้  เพราะเหตุการณ์ทุกอย่างมันสอนให้มนุษย์ฉลาด  ขน้ึ  ความผดิ พลาดยอ่ มเปน็ บทเรยี นอนั สำ� คญั ของชวี ติ  ในการปรบั ปรงุ   แก้ไขการกระท�ำคราวต่อไป  เพ่ือมิให้ผิดพลาดอีก  ความผิดพลาด  ทั้งหลายส่วนมากมาจากการคาดไม่ถึงว่าจะเป็นอย่างนั้น แต่พอทำ� ไป  แล้วมันจึงเป็นจนแก้ไขไม่ทัน  เหตุการณ์ทุกอย่างอาจเป็นผลดีกับเรา  หากเรารู้จักคิด  ก�ำไรสุทธิของเรา  คือเราได้เรียนรู้  ก�ำหนดจดจ�ำ  และท�ำให้เราฉลาดขึ้น  ส่ิงท่ีดีท่ีสุดน้ันมักจะได้มาอย่างล�ำบากที่สุด ความล�ำบากในเบอื้ งตน้ จงึ อาจเปน็ บนั ไดหรอื พน้ื ฐานใหเ้ ราไดร้ บั สงิ่ ทด่ี ี  ทสี่ ดุ ในภายหนา้  ทา่ นจงึ สอนไมใ่ หเ้ รากลวั ความล�ำบาก เพราะมนั เปน็   สตู รประการแรกแห่งความสำ� เร็จในอนาคต” “จนเสียอย่างเดียว  ท�ำให้ได้รู้รายละเอียดแห่งความทุกข์อ่ืนๆ  แทบทุกอย่างในโลก เพราะความจนย่อมนำ� ปัญหาทุกข์ยากต่างๆ มา  สู่ชีวิต  และน�ำชีวิตไปสู่ปัญหาทุกข์ยากต่างๆ  อีกด้วย  ความทุกข ์ ท้ังทางกายและทางใจ  กายและใจของคนจนน้ัน  ไม่เคยขาดแคลน  ความทุกข์ยากเลย  มองในทางไหนก็มีแต่ความมืด  ท�ำอะไรก็มีแต่  เรื่องติดขัด  คนจึงเกลียดความจน  ถึงกระน้ันคนจนก็ยังมีอยู่เกล่ือน  กล่น เต็มบ้านเต็มเมอื ง” ลงุ นวลพดู “ครอบครัวที่ยากจน  น่าสงสารมาก”  พ่อว่า  “คนท่ีไม่เคยจน  เดก็ ทไี่ มเ่ คยรจู้ กั ความขดั ขอ้ ง ทำ� ใหข้ าดความรใู้ นเรอื่ งนไ้ี ปอยา่ งสำ� คญั ” “ผมว่าไม่จ�ำเป็นต้องรู้เองหรอก”  ลุงนวลแย้ง  “เห็นคนอ่ืนเขา  จนก็พอรู้ว่ามันเป็นของทุกข์ยาก  เหมือนเห็นคนอยู่ในตะรางก็พอรู้ว่า  ไม่สบายเหมือนคนอยนู่ อกตะราง” “คนส่วนมากเข้าใจว่า”  พ่อพูด  “ถ้ามีรายได้เพิ่มข้ึน  ปัญหา 

ต อ น  ีท่ ๒ ๘ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 240 ความทุกข์เรื่องการเงินจะสิ้นสุดลง  เรื่องน้ีเป็นความจริงส�ำหรับบาง  รายเทา่ นั้น แตโ่ ดยทัว่ ๆ ไปแลว้  ไมจ่ ริง” “ทำ� ไมไม่จริง ?” ลุงนวลรีบถาม “ถ้ามีรายจ่ายเพิ่มขึ้นด้วยก็จะยิ่งท�ำให้ปวดหัวมากข้ึน  เพราะ  ส่วนมากรายจ่ายมักเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็วกว่ารายได้  ย่ิงท�ำให้เสียดาย  ว่ารายได้มากถึงเพียงนี้แล้วยังไม่พออีก  คนส่วนมาก  (ไม่ใช่ทุกคน)  ต้องประสบปัญหาเรื่องทุกข์ทางการเงินเพราะไม่รู้จักประมาณในการ  ใช้เงินที่ตนได้มา  แล้วมาน่ังบ่นว่าเงินไม่พอใช้  ทั้งน้ีเพราะจ่ายเงิน  โดยไมม่ แี ผนการจา่ ยโดยคำ� นงึ ถงึ รายได ้ ไมร่ จู้ กั เกบ็ ออม เพราะดหู มนิ่   เงินว่าน้อยเกินไป  เก็บอย่างนี้สักเท่าไรจึงจะได้พันได้หม่ืน  อาจตาย  เสียก่อน สู้เอาเงินน้ันมาใช้จ่ายหาความสำ� ราญไปวันๆ ดีกว่า เวลา  ล่วงไป  เมื่อมีความจ�ำเป็นเกิดข้ึนเป็นครั้งคราว  และต้องจ่ายเงินก้อน  เขาไม่มีจึงต้องกู้หน้ียืมสิน หน้ีน้ันพอกพูนข้ึนเร่ือยๆ ตามความจำ� เป็น  ท่ีเกิดข้ึนเป็นครั้งคราว ความลำ� บากทางการเงินของเขาจึงเป็นปัญหา  ท่ีแก้ไมต่ ก เพราะประมาทในเบอ้ื งตน้ น่นั เอง” “แม้บางคนจะไม่ประมาท”  ลุงนวลพูด  “แต่เขาถูกเอารัดเอา  เปรียบเรื่องแรงงานมากเกินไปก็ไม่อาจตั้งตัวให้มีหลักฐานมั่นคงได้  ต้องสู้ทนกับความยากจนต่อไป  และมองไม่เห็นว่ามันจะสิ้นสุดลงได ้ อยา่ งไร เมอื่ ใด โดยวธิ กี ารใด แมเ้ ขาจะออกแรงอยา่ งมาก แตเ่ ขาไมม่  ี สิทธิแม้เพียงต้ังค่าแรงงานของเขาเอง  กลับเป็นว่าแล้วแต่ผู้มีเงิน  จะก�ำหนดให้  พวกเขาเป็นคนน่าสงสาร  แต่คนส่วนมากเห็นแก่ตัว  พยายามแต่จะรวบรวมกอบโกยเอาความสุขท้ังหลายมาใส่ตัว  รู้สึก  ว่าความไม่ผาสุกและความผาสุกของตัวน้ันเป็นความส�ำคัญยิ่งใหญ่  กว่าอะไรหมดในโลกนี้  คอยตั้งหน้าต้ังตาแต่จะปล้นความสุขอันเป็น  สิทธิทีผ่ ้อู ืน่ พงึ ไดม้ าเปน็ ของตวั แต่ผู้เดยี ว”

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 241 “คนท่ีตรงกันข้ามกับคนอย่างนั้นก็มี”  พ่อออกความเห็น  “คือ  สละหมดทุกอย่าง  ค�ำนึงถึงแต่ความต้องการและความสุขของผู้อ่ืน  หาคดิ ถึงความสุขของตวั ไม”่ “เช่นใคร ?” “เช่นพระพุทธเจ้า  มหาตมคานธี  และมหาบุรุษผู้มีใจสูงอื่นๆ  อกี มาก” พ่อพูด “แตเ่ ราไมใ่ ชค่ นขนาดนน้ั ” ลงุ นวลแยง้  “เราทำ� อยา่ งทา่ นไมไ่ ด”้ “แตก่ ารทเี่ รานกึ ถงึ ทา่ นเสมอ ยอ่ มดกี วา่ นกึ ถงึ แตค่ นเหน็ แกต่ วั ” “ท�ำไม ?” “เพราะถ้าเรานึกถึงแต่คนเห็นแก่ตัว  เราก็จะเห็นแก่ตัวไปด้วย  ถ้าเรามีอนุสสติระลึกถึงคนเสียสละอยู่เสมอๆ  อัธยาศัยของเราก็น้อม  ไปในทางเสียสละเช่นกัน  มันเกี่ยวกับการอบรมและเสพคุ้น  ใครมอง  ส่ิงใดมากก็จะเห็นส่ิงนั้น  เสพคุ้นกับสิ่งนั้น  หนักเข้าก็จะเป็นอันหนึ่ง  อันเดียวกับสิ่งน้ัน  ทางพระพุทธศาสนาจึงสอนให้เพ่งธรรม  ระลึกถึง  ธรรม เพอื่ จะไดน้ กึ ถงึ ธรรม เปน็ อันหนง่ึ อันเดยี วกับธรรม” ท่านได้อ่านบันทึกเรื่องพ่อผมมา  ๒๘  ตอนแล้ว  บางท่านอาจ  หม่ันไส้ผมและพ่อ  บางท่านอาจเฉยๆ  หรือบางท่านอาจเคารพนับถือ  ยกย่องชมเชย  แต่ท่านจะรู้สึกอย่างไรก็ตาม  ผมได้เขียนเล่าตาม  เปน็ จรงิ แลว้  คือพ่อผมเปน็ อย่างนั้น มลี กั ษณะนิสยั อยา่ งนน้ั ผมเคารพนับถือพ่อ  รักพ่อ  และผมสงสารและรักแม่  ท่าน  อาจพูดอย่างเย้ยผมว่า  เจ้ากตัญญูน่ีเป็นบ้าหรือไรจึงพูดออกมา  อยา่ งน้ีได้ กพ็ ่อแม่ของใคร ใครก็ตอ้ งรักเคารพนบั ถือ ถกู ละ่  ใครก ็ เคารพนับถือ ถ้าอยา่ งน้นั ผมขอร่วมดว้ ยคนหน่ึง



๒๙ต อ น ท่ี ผมได้เคยบอกไว้ว่า  หากมีโอกาสผมจะเล่าเร่ืองพ่อผมสู่กันฟังอีก  ตอนนผี้ มมเี วลาบา้ งแลว้  จงึ ขอน�ำเรอื่ งของพอ่  เรอ่ื งทเ่ี กยี่ วของกบั พอ่   และผมมาคุยกันตอ่ ไป วันหนงึ่  ผมจ�ำได้ว่าเป็นวันพระกลางเดอื นตอนเย็น พ่อชวนผม  ไปหาทา่ นเจา้ คณุ สมณศกั ดส์ิ งู รปู หนง่ึ   เวลาทเ่ี ราไปถงึ มแี ขกนง่ั คยุ กบั   ท่านอยู่แล้ว  ได้ยินท่านเรียกหญิงคนน้ันว่าคุณหญิง  มาฝากลูกชาย  คนหน่ึงให้บวชเรียน  ลูกชายน่ังอยู่ใกล้ๆ  แม่  ผมยาว  ใส่เสื้อแขนยาว  สชี มพรู ดั พอดตี ัว กางเกงคับต้วิ ขาบานตามสมยั นิยม

ต อ น  ีท่ ๒ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 244 “ไม่ไหวเจ้าค่ะ  ขืนเอาไว้คงเสียคนแน่  ไม่เอาเร่ืองเอาราวกับ  การเรยี น การงาน เอาแต่เทย่ี ว คบเพ่ือนสนุกไปวันๆ ถ้าอยูไ่ ด้นานๆ  หรือตลอดชีวติ ไดย้ ่งิ ดเี จ้าคะ่ ” คณุ หญิงกราบเรยี นทา่ นเจา้ คุณเป็นเชิง  ตำ� หนิลูก แต่สายตายังบอกว่า “แมร่ ักลกู ” อยนู่ ัน่ เอง ทา่ นเจา้ คณุ ยมิ้ นอ้ ยๆ มองเดก็ หนมุ่ หนอ่ ยหนง่ึ เปน็ เชงิ ตรวจตรา  ทั่วไป  ก่อนจะถามว่า “คุณหญิงมลี ูกกี่คนนะ เจริญพร อาตมาลืมไป ?” “มี ๔ เจ้าคะ่ ” “เขาอยทู่ ี่ไหนกันบ้าง ?” “อยอู่ เมรกิ า ๒ คนเจา้ คะ่  คนนค้ี นท ่ี ๓ เรยี นอะไรกไ็ มเ่ อา ลกู   หญิงคนหนึ่งเรยี นอยู่มหาวทิ ยาลัยป ี ๒ เจา้ คะ่ ” “ท�ำไมไม่สง่ แกไปอเมริกาเสยี ดว้ ย ?” “หมายถึงคนไหนเจ้าคะ ?” “คนนีแ้ หละ คนทน่ี ง่ั อยูน่ แ่ี หละ” “ไม่ไหวเจ้าค่ะ  คนน้ีอยากให้บวช  เพราะแกไม่อยากเรียน  ไม่  อยากท�ำงาน  เหลวไหล  พระเดชพระคุณช่วยสงเคราะห์ฝึกฝนอบรม  หน่อยเถอะเจา้ ค่ะ” “คุณหญิงเห็นวัดเป็นที่เก็บรวมรวมคนไม่อยากเรียน  ไม่อยาก  ท�ำงาน  คนเหลวไหล  อย่างนั้นหรือ ?”  ท่านเจ้าคุณพูดเชิงเล่นเชิงจริง  เสยี งของทา่ นอ่อนโยน จนใครๆ ฟงั ก็โกรธไม่ลง คณุ หญิงกม้ หน้ายิ้มเจื่อนๆ เหมอื นรูส้ ึกละอาย ผมเหลยี วดพู อ่  เหน็ รอยยมิ้ ของพอ่ ทนี่ านๆ จะไดเ้ หน็ สกั ครงั้ หนงึ่   เปน็ รอยยิ้มแห่ง “ความสะใจ” ครูหน่ึงผา่ นไป ท่านเจ้าคุณจึงวา่ “แตเ่ อาเถอะ อาตมาจะลองพยายามฝึกฝนอบรมให้ แตผ่ ูบ้ วช 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 245 ต้องช่วยตัวเองด้วย  ว่าแต่ว่าเต็มใจบวชหรือเปล่าล่ะ”  ท่านหันมาถาม  เด็กหนมุ่ “บวชก็ได้ครับ”  เขาตอบอ้อมแอ้ม “ความจรงิ  ถา้ รกั พระศาสนา อยากใหพ้ ระศาสนาเจรญิ  กค็ วร  จะใหล้ กู ทเ่ี รยี นดมี คี วามประพฤตดิ มี าบวชกนั บา้ ง เพราะพระกม็ าจาก  คน” ทา่ นเจา้ คณุ พดู ยม้ิ ๆ อยา่ งเคย “อยา่ งพระเจา้ อโศก ทา่ นใหโ้ อรส  องคด์ ีๆ บวชช่วยพระศาสนา” เม่ือคุณหญิงและลูกชายกลับไปแล้ว  พ่อผมคุยกับท่านเจ้าคุณ  อยู่อกี พักหน่งึ ก็กราบลาท่านกลบั กนิ ขา้ วกนั เสรจ็ แลว้  พอ่  ผม แม ่ และนอ้ งวรี ดกี น็ งั่ คยุ เรอ่ื งตา่ งๆ  เรอื่ งการบ้านการเมืองบ้าง เรอ่ื งศาสนาบา้ ง เรือ่ งการครองชีพบา้ ง “กตัญญูเคยอยากจะบวชบ้างหรือเปล่า ?”  ตอนหนึ่งคุณพ่อ  ถามผม “เฉยๆ ครบั ” ผมตอบอยา่ งจรงิ ใจ “ถ้าแกบวชแล้วไม่สึกจะท�ำอย่างไร”  คุณแม่พูดพร้อมกับวาง  เข็มโครเชท๑์  และด้ายถกั ลงบนตกั “ก็ดี  ไม่สึกก็ดี  จะได้อยู่ช่วยพระศาสนาอย่างท่ีท่านเจ้าคุณ  ท่านวา่ ” พ่อพดู อยา่ งพอใจ “เรามลี กู ชายอยคู่ นเดยี วนะคะคณุ  แลว้ กเ็ รยี นดคี วามประพฤต ิ ด ี ควรใหอ้ ยเู่ จรญิ ทางโลก ถา้ แกไมเ่ อาถา่ นกอ็ กี เรอื่ งหนงึ่  จบั บวชเสยี   กไ็ ม่ว่าอะไร” “มาอกี คนหนง่ึ แลว้ ” พอ่ พูดพลางหวั เราะ “เหมอื นคุณหญงิ ” แมท่ ำ� หนา้ สงสยั  ผมจงึ เลา่ ใหค้ ณุ แมฟ่ งั ถงึ เรอื่ งทที่ า่ นเจา้ คณุ คยุ   ๑ เข็มสำ� หรบั ถกั ด้ายใหเ้ ปน็ กระโปรง หรอื เสอื้  หรอื อะไรก็ไดท้ ี่ต้องการ

ต อ น  ีท่ ๒ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 246 กับคณุ หญงิ ตอนเยน็ ท่เี ราไปวัด “ก็น่าจะอย่างน้ัน”  แม่พูดเม่ือฟังผมจบ  ยกเข็มโครเชท์ขึ้นถัก  ต่อไป เมอื่ คุยกนั ในครอบครัวหรือดทู วี ี แม่จะมีเข็มนี้อย่ใู นมอื เสมอ “อย่างไหนครับแม ่ ?” ผมถาม “คือคนท้ังหลายเห็นว่า  วัดเป็นท่ีดัดนิสัยคน  อบรมฝึกฝนคน  ท�ำคนร้ายให้เป็นคนดี  เหมือนโรงพยาบาลท�ำคนป่วยให้หาย  เม่ือ  คนไหนดีอยู่แล้วก็ไม่ต้องให้ไปบวชเรียนก็ได้  ถ้าบวชก็ท�ำพอเป็น  ประเพณี ทโี่ บราณว่าบวชโปรดพ่อโปรดแม”่ “ผมกว็ า่ อยา่ งน้นั ” ผมเสรมิ “กม็ สี ว่ นถกู เหมอื นกนั ” พอ่ วา่  “แตถ่ า้ เรามคี วามเหน็ กนั อยา่ งนี ้ เราต้องเห็นใจพระให้มากๆ  เพราะใครมีลูกไม่ดีก็เอาไปให้พระท�ำให้  ดี  ใครมีลูกสกปรกก็เอาไปให้พระล้าง  ไม่ใช่วันสองวันจะดีได้สะอาด  ได้  ต้องใช้เวลานาน  ระหว่างฝึกฝนอยู่ก็ต้องเท่ียวท�ำอะไรเลอะเทอะ  ตามสันดานเดิมบ้าง คนที่ได้เห็นก็เหมาเอาว่า “พระ” ทำ� ช่ัวอย่างนั้น  ทำ� ไมด่ อี ยา่ งน ้ี  รวมเอา “พระ” ทง้ั หมดเขา้ ไวใ้ น “พระ” องคเ์ ดยี วท ่ี ไดเ้ หน็  บางคนความชว่ั เกาะจนหนาแนน่ เสยี แลว้  ช�ำระลา้ งขดั ถเู ทา่ ไร  กไ็ มส่ ะอาดขน้ึ  จงึ เปน็ พระเลอะเทอะอยตู่ ลอดชวี ติ  เลอะเทอะมาแลว้   ตงั้ แตเ่ ปน็ ฆราวาส บางคนตดิ เฮโรอนี  มาบวชดว้ ยคดิ วา่ จะเลกิ เฮโรอนี   หยุดได้  ๒-๓  วัน  ทนไม่ไหวต้องสูบอีก  สูบท้ังเป็นพระ  เอาผ้าเหลือง  ออกไม่ทัน  คนเห็นเข้าก็ว่า  “พระสมัยน้ีสูบเฮโรอีนยังมี  เสื่อมเสีย  สถาบนั สงฆห์ มด” อะไรท�ำนองนี้ คนไมใ่ ชป่ ลาท่ีจะใส่ตะแกรงล้างน้�ำ  ให้หายคาวได้  ถ้าคนดีมีความรู้มาบวชกันมากๆ  หรือบวชกันบ้างก็จะ  ท�ำให้หมู่สงฆ์สง่างามขึ้น  ไม่ใช่เอาแต่คนท่ี  “ไม่ไหวแล้ว”  มาบวช  คนที่มีลูกชายหลายๆ  คน  เป็นคนดีทุกคน  ลองส่งเสริมให้เอาทางดี  ทางศาสนาบ้าง  (ถ้าเขามีอุปนิสัยทางน้ี)  พ่อแม่จะชื่นใจไม่น้อย 

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 247 เหมอื นกนั  บางทอี าจชนื่ ใจกวา่ ทเี่ หน็ ลกู เปน็ ใหญเ่ ปน็ โตทางโลกเสยี อกี   เพราะความเป็นใหญ่เป็นโตทางโลกน้ันอาจแปดเปื้อนด้วยบาป  ส่วน  ความรุ่งเรืองทางศาสนา หมายถงึ การไมแ่ ปดเปือ้ นดว้ ยความช่วั “แต่คนอนื่ เขาไมไ่ ดค้ ดิ อย่างพอ่ ” ผมวา่ “พอ่ กไ็ มไ่ ดบ้ งั คบั ใหใ้ ครมาคดิ อยา่ งพอ่  ใครคดิ อยา่ งพอ่ กถ็ อื วา่   บงั เอญิ มาตรงกนั ” “ผมไมเ่ หน็ ใครสง่ เสรมิ ใหล้ กู หลานดๆี  มาเอาดที างศาสนา เหน็   เขาส่งเสรมิ ใหไ้ ปทางโลกกนั ทงั้ นนั้ ” ผมเปรย “มบี า้ งเหมอื นกนั ” พอ่ พดู  “ทา่ นเปน็ ผปู้ ระเสรฐิ มสี ายพระเนตร  ไกลและกวา้ ง ทรงมองอะไรลกึ ซงึ้  รอบคอบ ไมท่ รงมองแตเ่ พยี งดา้ น  เดียว” “ใครครบั พอ่  ?” “พระปิยมหาราช”  พ่อพูดพร้อมด้วยยกมือประนมข้ึนเสมออก  “ทรงส่งเสริมให้พระองค์เจ้าชายมนุษยนาคมานพทรงผนวช  ซึ่งต่อ  มาก็คือ  สมเด็จพระมหาสมณเจ้า  กรมพระยาวชิรญาณวโรรส  ทรง  ต้ังพระทัยให้พระองค์เจ้ามนุษยนาคมานพ  พระอนุชาต่างพระมารดา  รุ่งเรืองทางศาสนาจรงิ ๆ เพ่อื ชว่ ยราชการ๒ ในดา้ นศาสนจกั ร” ต่อจากน้ัน  พ่อเล่าให้ผมฟังโดยย่อว่า  พระองค์เจ้าชายมนุษย  นาคมานพนั้น  ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า  เจ้าอยู่หัว  และเจ้าจอมมารดาแพ  พระสนมเอก  ทรงมีพระอัธยาศัย  น้อมไปในทางธรรมตั้งแต่ทรงพระเยาว์  พระบาทสมเด็จพระจุลจอม-  เกลา้ เจา้ อยู่หัว ทรงเกล้ยี กล่อมใหท้ รงผนวช ๒ สมเด็จพระมหาสมณเจา้  กรมพระยาชิรญาณวโรรส : พระประวตั ติ รสั เลา่  : มหา  มกฏุ ราชวทิ ยาลยั พิมพ ์ ๒๕๐๗

ต อ น  ีท่ ๒ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 248 พ่อได้เปิดหนังสือพระประวัติตรัสเล่าตอนหนึ่งและบอกให ้ ผมอา่ น ขอ้ ความดงั นี้ “ต้ังแต่เข้ารับราชการแล้ว  เราปลงใจว่าจักหาได้บวชเลยไป  ไม่  ถ้าท�ำอย่างน้ันดูเป็นทิ้งราชการ  เห็นแก่ประโยชน์ตัวมากเกินไป  ในเวลาน้ันเสียงพวกสยามหนุ่มค่อนพระสงฆ์ว่า  บวชอยู่  ไม่ได้ท�ำ  ประโยชน์อย่างใดอย่างหน่ึงให้แก่แผ่นดิน  ข้ีเกียจ  กินแล้วก็นอน  รับ  บำ� รงุ ของแผน่ ดนิ เสยี เปลา่  ฝา่ ยเราไมเ่ หน็ ถงึ อยา่ งนนั้  เหน็ วา่ พระสงฆ์  ยงั ตงั้ ใจจะทำ� ดแี ตเ่ ปน็ เฉพาะตวั  เพราะไมม่ กี ารอยา่ งอน่ื เชน่ เรา เทา่ นน้ั   ก็จะจัดว่าเป็นคนดี  จึงไม่อาจปฏิเสธค�ำท่ีว่าไม่ได้ท�ำประโยชน์อย่างใด  อย่างหนึ่งให้แก่แผ่นดิน  ยังไม่มีญาณพอจะเห็นกว้างขวางไปว่า  พระสงฆ์ได้ท�ำประโยชน์แก่แผ่นดินมากเหมือนกัน  มีส่ังสอนให้ ประพฤติดี  เอาธุระในการเล่าเรียนของเด็กบุตรราษฎรเป็นอาทิ  ขอ้ สำ� คญั คอื  เปน็ ทางเชอ่ื มใหส้ นทิ  ระหวา่ งรฐั บาลกบั ราษฎร ในครงั้   ก่อน  พระสงฆ์ยิ่งเป็นก�ำลังของแผ่นดินมากกว่าเด๋ียวน้ี  ญาณเช่นน้ี  ไม่ผุด  จึงกระดากเพ่ือจะละราชการไปบวชเสีย  แต่ยังคงไปเฝ้า  สมเดจ็ ฯ๓ พระอปุ ัชาฌายะ และเรียนภาษามคธอยู่เดิม แตช่ ะตาของ  เราเปน็ คนบวชกระมงั  วนั หนงึ่ เผอญิ กรมพระเทววงศว์ โรปการทรงลอ้   เราว่า  เป็นผู้เข้าวัดต่อหน้าพระท่ีน่ัง  แต่ล้นเกล้าฯ๔  หาได้ทรงส�ำรวล  ตามไม่  ทรงถือเอาเป็นการทรงเกล้ียกล่อมจะให้เราสมัครบวช  เรากราบทูลความเห็นว่าเกรงจะเป็นท้ิงราชการ  พระราชทานกระแส  พระราชด�ำรัสว่า  ถ้าเราบวชจักได้ราชการเพียงไร  ไม่เป็นอันทิ้ง  จนเราหายกระดากใจเพ่ือจะบวช  ตรัสปลอบอย่าให้เราห่วงถึงยาย  เพราะทา่ นชราแลว้ กค็ งตายมอ้ื หนงึ่  ตรสั ขอปฏญิ ญาของเราวา่ จะบวช  ๓ สมเด็จกรมพระยาปวเรศวรยิ าลงกรณ์ ๔ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั

อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 249 เราเกรงจะไปไม่ตลอด  เพราะยังไม่ไว้ใจตัวเองอันเปลี่ยนเร็วเม่ือครั้ง  รุ่นหนุ่ม  จึงไม่กล้าถวายปฏิญญา  เป็นแต่กราบทูลว่าถ้าจะสึก  จะสึก  เมอ่ื พ้นพรรษาแรกแลว้  พ้นนนั้ เป็นอนั จะไม่สกึ  พระราชทานปฏิญญา  ไว้วา่  บวชได ้ ๓ พรรษาแล้ว จักทรงต้ังเปน็ ตา่ งกรม ทรงอา้ งสมเดจ็   กรมพระปรมานุชิตชิโนรส  ครั้งเป็นกรมหม่ืนนุชิตชิโนราสเป็น  ตวั อยา่ ง ครง้ั นน้ั เจา้ นายพวกเราไดเ้ ปน็ ตา่ งกรมแลว้ เพยี ง ๔ พระองค ์ เป็นเจ้าพ่ีช้ันใหญ่ท้ังน้ัน  และเราจะมาเป็นท่ี  ๕  เหลือที่จะคิดเอ้ือม  ไปถึง จงึ ไมไ่ ด้เอามาเป็นอารมณเ์ สยี เลย” ผมอ่านมาถึงตรงนี้  พ่อก็บอกว่าพอแล้ว  และท่านพูดต่อไป  วา่  “สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้  กรมพระยาวชริ ญาณวโรรสพระองคน์ น้ั   ได้ทรงท�ำประโยชน์แก่พระศาสนามากเพียงใดสุดท่ีจะกล่าวให้หมด  สิ้นได้  ลูกลองนึกอย่างน้ีก็ได้  ทางฝ่ายบ้านเมืองพระบาทสมเด็จ  พระจลุ จอมเกลา้ ไดท้ รงวางรากฐาน รเิ รมิ่ งาน วางแผนการศกึ ษาชาต ิ ฯลฯ  มากมายยิ่งใหญ่เป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติ  ท้ังในเวลาน้ัน  และกาลตอ่ มาอยา่ งไร ทางฝา่ ยศาสนา สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้  กรม  พระยาวชิรญาณวโรรส  ก็ได้ทรงบ�ำเพ็ญพระกรณียกิจมากหลาย  อัน  เป็นประโยชน์แก่พระศาสนาท้ังในเวลานั้นและในกาลต่อมาอย่างน้ัน  ทงั้ ในดา้ นการปกครอง การศกึ ษา และแบบธรรมเนยี นอนั ด ี ทรงแตง่   ต�ำราไว้มาก  ที่พระเรียนอยู่เวลานี้ก็ได้อาศัยต�ำราของท่านเป็นส่วน  ใหญ่และเปน็ หลัก” “ลูกจะเห็นว่าเม่ือคนดีเข้ามาบวช  ได้ประโยชน์ท้ังทางพระ  ศาสนาและทางราชการเพียงใด” พอ่ พูดในทีส่ ุด “แล้วพระดีๆ  ท�ำไมถึงสึกเสียล่ะ ?  ควรจะอยู่ช่วยพระศาสนา”  คณุ แมเ่ งยหนา้ ขนึ้ ถาม น้�ำเสยี งและทา่ ทางมไิ ดม้ คี วามจรงิ จงั อะไร ผม  คดิ วา่ พ่อคงหาค�ำตอบได้ยาก