ต อ น ที่ ๕ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 50 ผมมคี วามชนื่ ชมยนิ ดตี อ่ สภุ าษติ ฝรงั่ รสู้ กึ วา่ คมคายและ prac- tical (ปฏบิ ตั ติ ามได ้ ไมส่ งู เกนิ ไปสำ� หรบั สามญั ชน) แตพ่ อ่ ผมไมค่ อ่ ย สนใจ พ่อบอกว่าธรรมดาเกินไป สุภาษิตที่คมคายสู้นักปราชญ์ทาง ตะวันออกไม่ได้ พ่อบอกว่า พระพุทธเจ้านั้นเป็นยอดปราชญ์ ใหญ่ ย่ิงกว่าปราชญ์ใดหมดไม่ว่าตะวันออกหรือตะวันตก พ่อคงได้รับการ อบรมมาอยา่ งนจี้ งึ มคี วามเหน็ อยา่ งน ี้ พอ่ สนใจแตเ่ รอื่ งของพระพทุ ธ- เจา้ เรอ่ื งศาสนาพทุ ธ พอ่ ไมส่ นใจคำ� สอนของนกั ปราชญอ์ นื่ บา้ ง จงึ คง ไมม่ ีโอกาสได้เปรยี บเทยี บ เพ่อื จะเตือนพอ่ ในเร่อื งนี้ วนั หน่งึ ผมจงึ คุยกบั พอ่ วา่ “คนทไ่ี ดร้ บั อบรมมาใหส้ นใจแตใ่ นสิง่ ๆ เดยี ว พอ่ วา่ ดไี หม ?” “ก็แล้วแต่ว่าส่ิงน้ันคืออะไร ?” พ่อตอบ “ถ้าส่ิงนั้นดีที่สุดแล้วก็ ไม่เห็นเสียหายอะไร” “ผมวา่ ท�ำให้ความรู้แคบ” ผมพูด “ถา้ มโี อกาสทำ� ใหค้ วามรกู้ วา้ งไดก้ ด็ ”ี พอ่ วา่ “แตถ่ า้ แคบกใ็ หล้ กึ เอาไว้ก็ดีเหมือนกัน อย่างที่ท่านสุนทรภู่ว่า “อันความรู้ รู้กระจ่างแต่ อยา่ งเดยี ว แตใ่ หเ้ ชย่ี วชาญเถดิ จะเกดิ ผล” ความรกู้ วา้ งแตถ่ า้ ไมม่ อี ะไร ลกึ สกั อยา่ งเดยี วกเ็ อาเปน็ ทพี่ งึ่ ไมไ่ ด ้ มนั พรา่ ไปหมด เหมอื นแมน่ ำ้� กวา้ ง และตื้น เข้าลักษณะนทีโทษจะเอาเป็นที่พ่ึงไม่ได้ ทั้งหน้าแล้งหน้าฝน หน้าแล้งน�้ำก็แห้งขอด หน้าฝนก็ท่วมท้นล้นหลากท่วมเรือกสวนไร่นา สนู้ ำ้� บอ่ ซง่ึ แคบแตล่ กึ ไมไ่ ด ้ หนา้ นำ�้ กข็ งั นำ�้ ไวเ้ ตม็ หนา้ แลง้ กย็ งั พอมนี ำ้� ให้อาศยั รอฝน” “สนุ ทรภนู่ กั กลอนตลาดขเ้ี มา เอาตวั ไมร่ อด พอ่ ยงั เลอื่ มใสกลอน ของเขา จนถึงยกมาอ้างองิ เชียวหรอื พอ่ ?” ผมวา่ “ลูกเคยอ่านกลอนของสุนทรภู่หมดหรือ ?” “อา่ นบา้ งครบั แตก่ ไ็ มเ่ หน็ มอี ะไรนา่ สนใจ มนั เทยี บกนั ไมไ่ ดก้ บั
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 51 นักปราชญ์ฝรง่ั เช่น วอลแตร์ หรอื มิลเลย ์ (Millay) และเชคสเปียร์ เปน็ ตน้ ทา่ นเหลา่ นพ้ี ดู คมๆ ท้งั นัน้ ไมเ่ ชยเหมอื นสุนทรภู”่ “ลกู จะยกยอ่ งนกั ปราชญต์ า่ งชาต ิ กไ็ มค่ วรดหู มนิ่ นกั ปราชญช์ าต ิ เดยี วกนั ” พอ่ พดู ทา่ ทางเครยี ด “ลกู เกดิ มาเปน็ คนไทย ลกู จะพยายาม สักเท่าไร ก็เป็นฝร่ังไม่ได้ ถ้าจะเป็นให้ได้ ก็เป็นได้อย่างดีก็เพียง นกแซมขนเท่านั้น “ผมยงั ไม่เขา้ ใจครบั พ่อ” พ่อจงึ เลา่ ว่า กาตัวหน่ึง เห็นนกยูงมีขนสีสวย เห็นขนของตัวสีดำ� ไม่งาม จึง เที่ยวเก็บขนนกยูงมาแซมขนของตัว แล้วเท่ียวปะปนไปกับนกยูง มัน ชน่ื ชมยนิ ดนี กั ทเ่ี ขา้ ฝงู นกยงู ได ้ มนั ดถู กู พวกกาดว้ ยกนั วา่ โงเ่ ขลาไมร่ จู้ กั หาขนมาแซมเชน่ มนั ตอ่ มาไมน่ านนกยงู ทงั้ หลายกจ็ บั ไดว้ า่ ขนทดี่ งู าม นั้นมิใช่ขนแท้ แต่เป็นขนเทียม นกน้ันปลอมเข้ามา จึงช่วยกันจิกต ี ขบั ไลไ่ มใ่ หเ้ ขา้ พวก มนั จงึ กลบั ไปหาพวกกา แตก่ ากไ็ มย่ อมรบั เขา้ พวก เชน่ กนั เพราะมนั ดถู กู พวกกนั เองไวม้ าก มนั จงึ ตอ้ งเทย่ี วระหกระเหนิ ไป กาเฒ่าตัวหน่ึงพูดออกมาว่า “ถ้ากาตัวน้ันไม่เหยียดหยามพวก กันเอง ไม่อยากเป็นในส่ิงท่ีตัวเองเป็นไปไม่ได้ ก็คงไม่ต้องประสบภัย พิบตั ถิ ึงปานน้ี” “พอ่ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ คนไทยเหมอื นกา ฝรงั่ เหมอื นนกยงู ” พอ่ พูดต่อไป “แต่พ่อต้องการให้ลูกรับรู้เอาไว้ว่า คนท่ีดูหมิ่นพวกของตัว หรอื ชาติของตัว กจ็ ะต้องประสบชะตากรรมเช่นเดยี วกบั กาในนทิ าน” “ท�ำไมพ่อจึงไมย่ อมรับวา่ ฝรัง่ เปน็ ชาตทิ ป่ี ระเสริฐ ในเมอื่ สรรพ วชิ าการตา่ งๆ เวลานที้ ว่ั โลกตอ้ งไปเลา่ เรยี นจากฝรง่ั ทง้ั สน้ิ ไมว่ า่ วชิ าการ ในดา้ นใด ?”
ต อ น ที่ ๕ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 52 “พอ่ ไมไ่ ดว้ า่ ฝรงั่ เปน็ ชาตทิ ตี่ ำ่� ตอ้ ย หรอื เลวทราม แตพ่ อ่ กไ็ มเ่ หน็ ฝร่ังเป็นมนุษย์ที่เลิศลอยกว่ามนุษย์ท้ังหลาย พ่อมองฝร่ังเป็นมนุษย์ เหมอื นมนษุ ยท์ งั้ หลายอน่ื ทวั่ โลก พอ่ ไมไ่ ดเ้ หอ่ ภาษาฝรงั่ ชนดิ ทเี่ หน็ ภาษา ไทยเปน็ ภาษาปา่ เถอื่ นจนไมอ่ ยากจะเรยี นร ู้ ฝรง่ั กเ็ ปน็ เพยี งมนษุ ยท์ ยี่ งั มคี วามเกดิ แก ่ เจบ็ ตาย มกี นิ มนี อน มคี วามใครใ่ นการสบื พนั ธ ์ุ ฝรง่ั คนไหนท�ำเลวก็เป็นคนเลว คนไหนท�ำดีก็เป็นคนดี เหมือนกับมนุษย ์ อ่ืนๆ ทว่ั โลก” “พ่อยังไม่ได้ตอบผมว่า ท�ำไมเวลาน้ีทั่วโลกจึงต้องไปเรียนไป เอาความรจู้ ากเมอื งฝรง่ั กนั ทงั้ นนั้ ใครยง่ิ ไปอยเู่ มอื งฝรง่ั นาน กย็ ง่ิ ไดร้ บั ความนับถือมาก จบวิชาการอะไรมาในเอเชีย หรือจากทวีปอ่ืน คนก ็ เฉยๆ มที า่ ทเี หยยี ดเสยี อกี แตพ่ อบอกวา่ จบมาจากองั กฤษ หรอื อเมรกิ า โอโ้ ฮ, ชน่ื ชมกนั เปน็ การใหญ ่ ทำ� ไม ทำ� ไม จงึ เปน็ อยา่ งนน้ั พอ่ ? ผมด ู พ่อไมค่ ่อยยินดยี ินรา้ ยต่อเสียงชื่นชมเหลา่ นัน้ เลย” พ่อเลา่ นิทานใหผ้ มฟังวา่ ชายสองคนพอ่ ลกู ตอ้ นลาไปขายในเมอื ง เมอื่ เขาเดนิ มาไมไ่ กล กไ็ ดพ้ บหญงิ สาวกลมุ่ หนงึ่ เดนิ สวนทางมา หญงิ คนหนงึ่ หวั เราะและพดู กบั เพอ่ื นวา่ ชายสองคนพอ่ ลกู นน้ั โงจ่ รงิ เดนิ ตามหลงั ลาไป ทง้ั ๆ ทมี่ นั พอจะข่ไี ด้ ชายชราผู้เป็นบิดาได้ฟังดังน้ันจึงให้ลูกขึ้นข่ีหลังลา ตัวเองเดิน ตามไป อีกพักหนึ่งมาพบสุภาพบุรุษสูงอายุกลุ่มหนึ่งอีก สุภาพบุรุษ คนหนงึ่ พูดข้ึนวา่ “เห็นไหมล่ะท่าน ข้าพเจ้าพูดมาหยกๆ น่ีเองว่าเด็กสมัยนี ้ ไมเ่ อาใจใสต่ อ่ คนเฒา่ คนแก ่ คนเฒา่ คนแกจ่ ะลำ� บากกไ็ มเ่ ปน็ ไร ขอให ้ ตวั สบายเทา่ นน้ั ดเู ดก็ คนนน้ั ซ ิ นง่ั อยบู่ นหลงั ลาอยา่ งสบาย ปลอ่ ยให้ พ่อซง่ึ แก่แล้วเดินตามต้อยๆ”
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 53 ชายชราได้ยินดังนั้น จึงให้ลูกลงจากหลังลา ตัวข้ึนไปน่ังเอง ให้ลูกเดินตามหลัง อีกครู่หน่ึงเขาท้ังสองมาเจอผู้หญิงและเด็ก ได้มี เสยี งพูดออกมาจากคนกลมุ่ น้นั วา่ “ดเู ถดิ , ดคู นแกเ่ กยี จครา้ น เอาเปรยี บเดก็ ตวั เองนงั่ บนหลงั ลา อย่างสบาย ปลอ่ ยให้เดก็ ตวั เลก็ ๆ เดนิ ตามหลังลา” ชายชราได้ฟังดังนั้น จึงให้ลูกข้ึนมานั่งบนหลังลาข้างหลังตน พ่อลูกจึงน่ังไปบนหลังลาด้วยกัน พอใกล้จะถึงเมืองมีคนคนหนึ่งมา บอกใหห้ ยุดแล้วถามว่า “ขอโทษเถอะครับ ลาตวั นเ้ี ปน็ ของท่านหรือ ?” “ใชแ่ ลว้ ” ชายชราตอบ อาคันตุกะผู้น้ันจึงกล่าวว่า “ท่านใช้งานมันหนักเกินไป ลาตัว นิดเดียว ข้ึนไปข่ีอยู่ได้ทั้งพ่อทั้งลูก ไม่เมตตาสัตว์เลย ท่านควรจะ แบกมนั บ้าง” “เพื่อให้เป็นท่ีพอใจของท่าน ข้าพเจ้าจะแบกลาไป” ชายชรา เจา้ ของลาตอบ วา่ แลว้ เขากเ็ อาเชอื กมามดั ขาลา เอาไมม้ าทอ่ นหนงึ่ สอดเขา้ ไป แล้วหามลาน้ัน วิธีการอย่างน้ีเป็นเร่ืองประหลาดสำ� หรับคนทั่วไป คน ท้ังหลายก็วิ่งตามดูกันเป็นกลุ่มใหญ่ และส่งเสียงเกรียวกราว ขณะที ่ เขาก�ำลังหามลาข้ามสะพานแห่งหนึ่ง ลาซ่ึงไม่ชอบเสียงเอะอะ และ ตัวมันเองก็อึดอัดเพราะถูกมัด จึงดิ้นอย่างแรงจนเชือกขาดและตกลง ไปในแมน่ ้ำ� เจ้าของลารู้สึกตัว และละอายมาก จึงรีบกลับบ้านพลางร�ำพึง ว่า การพยายามทำ� อะไรเพียงแต่ให้เป็นที่พอใจคนทุกคนน้ันไม่เป็นผล ส�ำเร็จ และยังจะต้องสูญเสียลาอีกดว้ ย “พอ่ เลา่ เรอ่ื งนใี้ หผ้ มฟงั ทำ� ไม ? นน่ั เปน็ เรอ่ื งของคนแกโ่ งๆ่ คน
ต อ น ที่ ๕ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 54 หนึง่ กับลูกทไ่ี ม่มมี นั สมอง” ผมว่า “ระวังลกู จะเหมอื นคนแก่โงๆ่ คนน้นั ” พ่อตอบ “ทำ� ไมครบั เป็นไปไมไ่ ด ้ ผมจะเป็นอย่างนั้นไม่ได้” ผมเถยี ง “ลูกไม่มีความเป็นตัวของตัวเองเลย จะนิยมอะไรก็เพราะฝร่ัง เขานยิ ม จะเลอ่ื มใสอยากเปน็ อยา่ งไรกเ็ พราะคนอน่ื เขาเหอ่ กนั คอยฟงั แตเ่ สยี งเขาวา่ ลกู ไมไ่ ดท้ ำ� สงิ่ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ลกู หรอื เหมาะสมแกต่ วั เอง ใครเฮอะไรกเ็ ฮดว้ ย ถา้ ลกู เปน็ ชา้ งกม็ แี ตจ่ ะถกู หลอกเขา้ เพนยี ด เพราะ เดนิ ตามกนั เปน็ โขลงๆ ลกู จะเรยี นวชิ าอะไร เมอื งไหน กไ็ มไ่ ดพ้ จิ ารณา ว่ามันมีคุณค่าอย่างไร แต่ลูกคอยฟังเสียงคนอ่ืนว่า ถ้าลูกเรียนวิชา อยา่ งนนั้ ในเมอื งนนั้ แลว้ คนทง้ั หลายจะนยิ มชมชอบ เทา่ นน้ั เอง คนไทย ทไี่ ปเลา่ เรยี นเมอื งฝรง่ั มาเทา่ ไรแลว้ กล่ี า้ นแลว้ ทก่ี ลบั มาท�ำประโยชน ์ ให้แก่บ้านเมืองของตัวมีสักกี่คน นอกน้ันก็ไปเพ่ือ “ยกตนข่มคนอ่ืน” และเพอ่ื ไดเ้ งนิ เดอื นแพงกวา่ คนอน่ื ใชห่ รอื ไม ่ ?” ถา้ ลกู ศกึ ษาเลา่ เรยี น และท�ำงาน เพียงเพื่อได้เงินมากินมาใช้ให้สุขสำ� ราญเพียงอย่างเดียว แล้ว ลูกจะมปี ัญญาต่างกว่านกอย่างไร เพราะนกมันก็หากนิ ของมนั ไดม้ นษุ ย์เรากน็ า่ จะมีอุดมคตอิ ะไรสงู กว่านน้ั ” “บางคนไปเรยี นเมอื งฝรง่ั มา ๙ เดอื น คยุ ฟงุ้ อย ู่ ๙ ป ี ไมร่ จู้ กั จบ ทำ� ไมคนเอเชยี เราจงึ ดหู มนิ่ พวกกนั เอง ไมน่ ยิ มยกยอ่ งพวกกนั เอง อะไรทฝ่ี รง่ั ท�ำฝรงั่ พดู แลว้ เห็นดีเหน็ งามไปเสียหมด ถึงเราจะยกย่อง ฝร่ังอย่างไร ฝรั่งก็คงไม่ยกย่องพวกเราอยู่น่ันเอง ลูกอย่าหลงฝร่ัง ให้มากไป อย่าดูหม่ินเหยียดหยามคนชาติเดียวกัน สุนทรภู่น้ันเป็น ปราชญท์ คี่ นทงั้ เมอื งยกยอ่ งแลว้ พอ่ เองกเ็ หน็ วา่ สนุ ทรภเู่ ปน็ คนทคี่ วร ยกยอ่ ง ถา้ ลกู ดหู มนิ่ สนุ ทรภ ู่ ลกู กด็ หู มน่ิ คนทงั้ เมอื งวา่ มตี าหามแี ววไม่ ลูกอ่านกลอนของสุนทรภู่ให้จบซิ แล้วจะเห็นว่าสุนทรภู่ได้ท้ิงอะไรไว ้ ให้ชาติไทย”
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 55 ผมยังน่ิงอย ู่ พ่อจงึ พูดตอ่ ไปว่า “บางคน ไม่เคยนึกสนใจพุทธศาสนาซึ่งเป็นศาสนาประจ�ำ ชาติของตัว แต่พอฝรั่งสนใจ และบอกว่าเป็นศาสนาท่ีดีและมีเหตุผล ที่สุดเท่านั้น ก็ต่ืนเต้นใหญ่รีบหาตำ� ราทางศาสนามาอ่าน ข้อความใด ทนี่ กั ปราชญท์ างไทยและฝรง่ั มที รรศนะขดั แยง้ กนั เขาจะเชอ่ื ฝรง่ั และ ท่ีน่าประหลาดใจท่ีสุดก็คือเขาเช่ือฝรั่งมากกว่าเชื่อพระพุทธเจ้าเสียอีก อะไรทพี่ ระพทุ ธเจา้ ตรสั ไว ้ ถา้ เปน็ เรอ่ื งเหนอื ธรรมดาไปหนอ่ ย (แตเ่ ปน็ เรอื่ งธรรมดาของทา่ นผไู้ ดฌ้ านหรอื อภญิ ญา) เขาจะลงั เล และในทสี่ ดุ กป็ ฏเิ สธวา่ เปน็ เรอ่ื งเหลวไหล ไรส้ าระ คนภายหลงั เขยี นขน้ึ เพอื่ หลอก คนโง่ แตจ่ ะหลอกคนชั้นเขาไม่ได้ “แตเ่ รอ่ื งเดยี วกนั นนั้ พอฝรงั่ พดู ออกมาและฝรงั่ เชอ่ื เทา่ นนั้ เขา ก็เชื่อด้วย มีเหตุผลแพรวพราวไปหมด อะไรๆ ที่ไปทางข้างฝรั่งแล้ว ดูมันโก้ไปหมด แม้แต่เร่ืองเลวทรามบางอย่างที่ฝร่ังช้ันดีเขารังเกียจ คนบางพวกกย็ ังเหน็ เป็นเร่อื งโก้ จงึ ประพฤตติ าม” “เรอ่ื งความเจรญิ ทางดา้ นวตั ถ ุ และความมอี ำ� นาจรวมทง้ั วชิ าการ ตา่ งๆ นน้ั พอ่ ยอมรบั วา่ เวลานที้ างฝรง่ั เขาเจรญิ มาก ในเอเชยี กเ็ หน็ แต่ ญี่ปุ่นเท่านั้นท่ีพอสู้ฝร่ังได้ เราควรปรบมือให้ญ่ีปุ่นสักพันครั้ง แต่เรา ต้องไม่ลืมว่าความเจริญทางด้านวัตถุก็ตาม ความมีอ�ำนาจและความ รงุ่ เรอื งทางวชิ าการกต็ าม เปน็ ไปตามสมยั ตามคราว หมนุ ไปสจู่ ดุ ตา่ งๆ ของโลกอยเู่ สมอ ไมม่ ชี าตใิ ดรงุ่ เรอื งอยไู่ ดต้ ลอดไป ในทส่ี ดุ กต็ อ้ งเสอ่ื ม ลง ชาติอื่นก็รุ่งเรืองข้ึนแทน ลูกเรียนประวัติศาสตร์มาแล้วท้ังประวัต ิ ศาสตร์ไทยและต่างประเทศ พ่อไม่ต้องจาระไนก็ได้ว่าชาติใดได้เคย รงุ่ เรอื งมาแลว้ บา้ งในอดตี และเสอื่ มลง เพราะเหตไุ ร ? โดยธรรมดา ชนชาติท่ีเจริญแล้วจะกลายเป็นฝ่ายอนุรักษ์นิยม สกัดกั้นความคิด ใหมแ่ ละหยดุ เจรญิ ครนั้ แลว้ จะลม่ จมดว้ ยนำ�้ มอื ของชนชาตทิ ไี่ มเ่ จรญิ
ต อ น ที่ ๕ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 56 เท่า แต่สามารถพัฒนาความคิดใหม่ข้ึนได้ อาณาจักรและจักรวรรดิ ทง้ั หลายไดเ้ จรญิ ขนึ้ และลม่ ลงตามกฎขอ้ นข้ี องสงั คมมนษุ ย ์ และไมม่ ี ข้อยกเวน้ ดว้ ย “ใครจะเปน็ คนประกนั วา่ ยโุ รปและอเมรกิ าจะเจรญิ รงุ่ เรอื งอย ู่ ไดต้ ลอดไปจนกวา่ โลกจะแตกดบั อเมรกิ านนั้ เปน็ ประเทศใหม ่ มอี ายุ เพยี ง ๒๐๐-๓๐๐ ปเี ทา่ นน้ั ตอ่ ไปอาจมสี ภาพทต่ี รงกนั ขา้ มกบั ปจั จบุ นั กไ็ ด้ “ใครจะกลา้ รบั รองวา่ กรงุ เทพฯ จะเปน็ เมอื งหลวงเมอื งทค่ี บั คง่ั ของประเทศไทยอยู่ตลอดไป อีกไม่ก่ีร้อยปีต่อไปภายหน้ากรุงเทพฯ อาจมสี ภาพเหมือนสโุ ขทยั หรืออยธุ ยาเวลานก้ี ็ได้ “บ้านใด เมืองใด เจริญข้ึนช่ัวคราว คนก็เห่อกันไปพักหนึ่ง อะไรๆ ก็ต้องท่ีน่ัน บ่อน้�ำท่ีคนไปใช้มากนักก็ต้องสกปรกมากข้ึน หนักเข้าก็เน่าเหม็น เป็นพิษเป็นภัย ท�ำนองเดียวกับภัยอันมากมาย ของเมอื งใหญๆ่ ทัว่ โลกทกุ วันน้ี”
๖ต อ น ท่ี ผมมีน้องสาวคนหน่ึงอ่อนกว่าผมสองปี ขณะท่ีผมเรียนมหาวิทยาลัย ปีที่หนึ่ง น้องสาวผมเรียน ม.ศ. ๔ หรือ ม. ๗ เดิม น้องสาวผมช่ือ วรี ด ี พอ่ บอกวา่ มคี วามหมาย “เวน้ ” คอื เวน้ จากบาป พอ่ ผมตง้ั ชอื่ ลกู ต้องมีความหมายทางธรรมเสมอ วรี ดเี ปน็ คนผวิ ขาว รา่ งโปรง่ ปากบาง คอระหง มอื และเทา้ เรยี ว งาม ไมม่ อี ะไรเหมอื นพอ่ หรอื แมใ่ นดา้ นรปู รา่ งลกั ษณะ ผมเคยถามพอ่ ในเร่ืองน้ีว่า ท�ำไมวีรดีมีลักษณะรูปร่างไม่เหมือนพ่อหรือแม่ หรือจะ เหมือนบรรพบุรุษคนใดคนหน่ึงตามหลักชีวะท่ีว่า ลักษณะของปู่ย่าตา ยายอาจมาโผลใ่ น generation ใด generation หนง่ึ ชนั้ หลานเหลน แตพ่ อ่ บอกวา่ เทา่ ทพ่ี อรไู้ ด ้ วรี ดไี มเ่ หมอื นใครเลย ผมวา่ ตอ้ งมใี ครสกั คน
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 59 หนึ่งในอดีตท่ีมีลักษณะเหมือนวีรดี ผมกับพ่อจึงขัดคอกันอีกในทฤษฎ ี ทางชวี ะกับทฤษฎเี ร่ืองกรรมของพอ่ “ทางชีววิทยาได้พิสูจน์นักแล้ว ท้ังเรื่องคน สัตว์และพืช หรือ พฤกษ์ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างได้รับอิทธิพลทางพันธุกรรมไม่ช่วงใดก็ช่วง หน่งึ ” ผมว่า “ลกู วา่ ชวี ติ ของคนเรา ทง้ั รา่ งกายและจติ ใจจะเปน็ อยา่ งไร เพราะ เหตุก่อี ย่าง ?” พ่อถาม “สองอยา่ ง” ผมตอบ “อะไร ?” “คอื พนั ธกุ รรม หรอื ทฝ่ี รง่ั เรยี กวา่ heredity กบั สง่ิ แวดลอ้ ม ท ่ี ฝร่งั เรียกวา่ environment” “ไมต่ อ้ งใสอ่ ยา่ งทฝ่ี รง่ั เรยี กวา่ ไมไ่ ดห้ รอื ถงึ ใสเ่ ขา้ มากไ็ มท่ ำ� ให ้ พอ่ เขา้ ใจดขี น้ึ คำ� วา่ “พนั ธกุ รรม” และ “สง่ิ แวดลอ้ ม” พอ่ กเ็ ขา้ ใจดแี ลว้ ลกู แนใ่ จหรอื ว่าชีวิตจติ ใจคนจะเปน็ อยา่ งไรก็แล้วแต่สองประการนี”้ “ผมแนใ่ จครบั พ่อ” “อะไรท�ำให้ลกู แนใ่ จอย่างน้ัน” “อาจารย์ผมสอน อาจารย์ทุกคนสอนอย่างนี้ทั้งน้ัน” พอมาถึง เรอื่ งนี ้ ผมตอบอยา่ งมน่ั ใจ “ลกู ลองอธิบาย ค�ำว่าพันธุกรรมกบั ส่ิงแวดล้อมให้ฟังหนอ่ ยซิ” “พันธุกรรม หรือกรรมพันธุ์ หรอื ท่ฝี รงั่ เรียกวา่ ...‘’ “ไมต่ ้อง” พ่อขดั ขึน้ “ไมต่ ้องเอาที่ฝร่ังเรียก” “กไ็ ดค้ รบั ” ผมตอบ “พนั ธกุ รรม คอื สง่ิ ทไี่ ดร้ บั จากมารดาบดิ า หรอื บรรพบุรษุ ” “เชน่ อะไรบา้ ง ?” พอ่ ถาม “เชน่ สขี องผวิ หนงั ลกั ษณะดวงตาสขี องดวงตา โครงสรา้ งของ
ต อ น ที่ ๖ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 60 กระดกู คอื คนรา่ งใหญห่ รอื เลก็ และความโนม้ เอยี งบางอยา่ ง เชน่ ความ สามารถทางดนตร ี หรือ development of musical ability “หวั ล้านเปน็ พันธุกรรมหรอื เปล่า ?” พ่อถาม ผมตอบไม่ได้ ไม่รู้จริงๆ ว่าหัวล้านเป็นพันธุกรรมหรือไม่ ผม บอกวา่ จะลองไปถามอาจารย์ดูก่อน แต่พ่อก็เปรยขน้ึ ว่า “ไมเ่ ปน็ พันธกุ รรมกระมงั ” “พอ่ แน่ใจ หรอื พ่อพูดเลน่ ” “ไมร่ ซู้ ี ลกู ไปถามอาจารยข์ องลกู กแ็ ลว้ กนั ” พอ่ วา่ “ลกู วา่ ความ โนม้ เอยี งบางอยา่ งเชน่ ความสามารถทางดนตรเี ปน็ พนั ธกุ รรม กห็ มาย ความว่า ถา้ พอ่ เปน็ นักดนตร ี ลกู กเ็ ป็นนกั ดนตรดี ว้ ยอย่างนัน้ หรือ ?” “สว่ นมากเป็นอย่างน้ัน” ผมตอบ “ถา้ พ่อเปน็ นักปราชญ์ ลกู จะเปน็ ด้วยหรือเปล่า ?” “ส่วนมากจะเปน็ อย่างนัน้ ” ผมตอบ “ลกู ลองนกึ ด ู ลองนกึ ถงึ ชวี ประวตั ขิ องนกั ดนตร ี และนกั ประพนั ธ์ ในเมอื งไทย เวลานที้ ม่ี พี อ่ หรอื แมเ่ ปน็ นกั ดนตร ี หรอื นกั ประพนั ธม์ สี กั ก่ีคน มีมากหรือน้อยกว่าคนที่เป็นเองโดยพ่อแม่และบรรพบุรุษไม่ได้ เป็น” ผมลองนึกและท�ำบัญชีกับพ่อ ก็ต้องประหลาดใจว่านักดนตรี และนักประพันธ์ท่ีพ่อแม่เป็นนักดนตรีและนักประพันธ์มาก่อนนั้นมี จ�ำนวนน้อยเหลือเกิน จนเทียบกันไม่ได้กับคนท่ีเป็นเอง เป็นโดย ตัวของตัวเอง “แต่ผมว่าไม่พ้นหลักที่สอง ซ่ึงทางจิตวิทยาได้วิเคราะห์แล้ว” ผมพูด “อะไรหลกั ทีส่ อง ?” พ่อถาม “เรื่องส่ิงแวดล้อม” ผมตอบ “คนจะเป็นอย่างไรต้องแล้วแต ่
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 61 สิ่งแวดลอ้ มรอบตัว หรือความนิยมของสงั คม” “ถา้ อยา่ งนน้ั คนทอ่ี ยใู่ นสงิ่ แวดลอ้ มเดยี วกนั กค็ วรจะเหมอื นกนั ” “กพ็ นั ธกุ รรมเขาไมเ่ หมอื นกนั จะใหเ้ หมอื นกนั ไดอ้ ยา่ งไร ?” ผม วา่ “ลกู เรไ่ ปหาพนั ธกุ รรมอกี สกั ครนู่ พี้ ดู กนั เรอื่ งพนั ธกุ รรม ลกู ไมร่ ู้ จะออกทางไหน จึงเร่มาอาศัยสิ่งแวดล้อม พอพูดกันถึงสิ่งแวดล้อม ลูกจนอกี ลกู กไ็ ปขอพง่ึ พนั ธุกรรม” “กต็ อ้ งอาศยั กนั ทั้งสองอย่าง” ผมว่า “พูดเรื่องลูกกับยายวีก็แล้วกัน ตัวอย่างใกล้ เห็นง่าย” พ่อว่า “ทงั้ พนั ธกุ รรมและสงิ่ แวดลอ้ มเหมอื นกนั ทกุ อยา่ ง ท�ำไมลกู กบั ยายวจี งึ ไม่มีอะไรเหมือนกันท้ังร่างกายและจิตใจ และความโน้มเอียงทางร่าย กาย ลูกอ้วน ผิวสองสี แต่ยายวี ขาวโปร่ง ทางจิตใจก็ไม่เหมือนกัน อกี ความโนม้ เอยี งกไ็ มเ่ หมอื นกนั อธั ยาศยั ยายวเี ขากป็ ระณตี กวา่ ลกู เพราะอะไร ? ลูกรหู้ รือเปล่า ?” “ผมว่าไม่มีอะไรแล้ว นอกจาก ๒ อย่างน้ี เพราะส่ิงแวดล้อม ย่อมรวมท้งั การอบรมศกึ ษาและ factor ตา่ งๆ ทแ่ี วดลอ้ มชวี ติ อย”ู่ “มซี ี่ ต้องมีอะไรอกี อยา่ งหนึ่ง” “อะไรพ่อ ?” “กรรมของแตล่ ะคนซ่”ี “ผมนกึ แล้ววา่ พอ่ จะต้องออกทางน”ี้ “หรือลกู ว่าไมจ่ รงิ ?” “มันมองไม่เหน็ พ่อ” “เชอ้ื โรคมันก็มองดว้ ยตาเปลา่ ไม่เห็น ทำ� ไมลกู เชอ่ื วา่ ม ี ?” “ใช้กลอ้ งจุลทรรศนม์ องเหน็ น่ีพ่อ” “เรื่องกรรมลูกก็ต้องใช้กล้องปัญญาส่องดูเหมือนกัน ถ้าลูก
ต อ น ที่ ๖ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 62 ไม่มีปัญญาก็ไม่เห็น ต้องมีปัญญาชนิดละเอียดจึงจะเห็นได้ อย่างที ่ พระพุทธเจ้าท่านทรงเหน็ แลว้ ทรงบอกพวกเราไว”้ “พ่อพดู ต่อไปเถอะ” “เช่ือหรือไม่ก็ตาม แต่กรรมที่คนเคยท�ำเคยสะสมมันจะต้อง มีปฏิกิริยาต่อชีวิต เหมือนเช้ือโรคเม่ือเข้าสู่ร่างกายจะต้องมีปฏิกิริยา ต่อร่างกายมากหรือน้อย แล้วแต่กำ� ลังของเช้ือโรคและกำ� ลังต้านทาน ในร่างกาย” “ทเ่ี ขาเรยี กวา่ ‘immunity’ ใชไ่ หม ?” ผมต่อให้ “ไม่รู้” พ่อพูด “จะเรียกว่าอะไรก็ตามใจ แต่หมายถึงก�ำลัง ตา้ นทานโรคในรา่ งกายนนั่ แหละ ใหพ้ อ่ พดู ตอ่ ไปดกี วา่ ลกู นง่ั ฟงั เฉยๆ สกั ๕ นาทไี ด้ไหม ?” “ได้ครบั พอ่ ” “ทกุ คนไดส้ ะสมเชอื้ แหง่ กศุ ลกรรม คอื บารม ี และเชอ้ื แหง่ อกศุ ล กรรม คอื อาสวะมาไมเ่ หมอื นกนั จงึ แตกตา่ งกนั ทงั้ รปู รา่ งและนสิ ยั ใจคอ ตลอดถึงความโน้มเอียงทุกคนเป็นไปตามแรงแห่งกรรมท่ีตนได้สะสม ไว้ วิญญาณของเขาเองได้สร้างรูปของเขา จะสร้างอย่างไรแล้วแต ่ การสนับสนุนแห่งกรรม คนจึงออกมาไม่เหมือนกัน มีความเป็นอยู ่ ไมเ่ หมอื นกนั จติ ใจไมเ่ หมอื นกนั จะสอนอยา่ งไร จะอบรมอยา่ งไร กจ็ ะ ใหค้ นฉลาดเทา่ กนั ไมไ่ ด ้ เพราะทนุ เขาไมเ่ ทา่ กนั ลองใหเ้ ครอ่ื งแตง่ ตวั ทส่ี วยเท่ากัน ตัดเย็บแบบเดียวกันจากร้านเดียวกัน และเนื้อผ้าอย่าง เดยี วกนั ใหค้ นสองคนแตง่ ถา้ ทนุ เดมิ คอื ความสวยงามของคนไมเ่ ทา่ กนั แลว้ จะใหแ้ ต่งอย่างไร คนกส็ วยเท่ากนั ไม่ได้ “พ่อสอนลูกกับยายวี ก็สอนเหมือนๆ กัน แต่ลูกไปอย่างหน่ึง ยายวไี ปอกี อยา่ งหนงึ่ เพราะเชอื้ ดใี นตวั มไี มเ่ ทา่ กนั ทา่ นจงึ วา่ ใหส้ อน คนตามวาสนา อย่าปลูกหญ้าให้เทียมตาล เม่ือมันเกิดมาเป็นหญ้า
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 63 เสยี แล้ว จะท�ำอย่างไรกใ็ หม้ นั สูงเทยี มตาลไม่ได้ แตต่ น้ ตาลถ้าเอามา ปลกู ในกระถางเลก็ ๆ มนั กใ็ หญไ่ มไ่ ดเ้ ชน่ กนั ตอ้ งลงดนิ มนั จงึ จะเจรญิ เตบิ โตไดต้ ามขนาดทม่ี นั ควรจะเปน็ การทเี่ ราสอนคนอบรมคนกด็ ว้ ย หวังว่าเขาอาจเป็นพันธุ์ไม้ใหญ่ ถ้ารู้แน่ว่าเขาเป็นต้นหญ้าก็เล้ียงเขา อบรมเขาอยา่ งตน้ หญา้ จะไปเสยี เวลาปลกู ตน้ หญา้ แขง่ กบั ตน้ ตาลหรอื ตน้ สักท�ำไม ?” “ถ้าอยา่ งนัน้ คนที่เปน็ เหมอื นต้นหญา้ ก็เป็นต้นหญ้าอยตู่ ลอด ไป ทเี่ ปน็ ตน้ ตาลกเ็ ปน็ ตาลอยเู่ สมอไปหรอื พอ่ ? ผมหมายความวา่ คน ทม่ี เี ชอื้ ดมี ปี ญั ญาด ี จะเปน็ อยา่ งนน้ั อยเู่ รอื่ ยไป สว่ นคนทม่ี เี ชอื้ เลวและ ปัญญาทึบ ก็คงโง่อยตู่ ลอดไป ?”
๗ต อ น ที่ พอ่ ผมนงิ่ อยู่ครู่หน่ึงแลว้ กล่าววา่ “ไมใ่ ชอ่ ยา่ งนน้ั ดอกลกู สตปิ ญั ญาของคนเราพฒั นาใหเ้ จรญิ ถงึ ขดี สดุ ได ้ แตต่ อ้ งใชร้ ะยะเวลา แบบเดยี วกนั กบั ทพี่ ระพทุ ธเจา้ เคยทรง ใชม้ าแลว้ กศุ ลกรรมและอกศุ ลกรรมหมดไปได ้ ถา้ คนไมค่ อยท�ำเพมิ่ และเพม่ิ พนู ข้นึ ได ้ หากเขาคอยสะสม แม้ทลี ะนอ้ ย” “ท่ีพ่อเปรียบคนด้วยต้นหญ้าและต้นตาลนั้น พ่อหมายถึงขีด ของความสามารถ และวาสนาในชาตหิ นึง่ ของคน” “แตบ่ างท ี การทสี่ ตปิ ญั ญาของคนไมพ่ ลงุ่ โพลงเทา่ ทคี่ วร กเ็ ปน็ เพราะไปพัฒนาไม่ถูกจุดท่ีสติปัญญาของบุคคลผู้น้ันพุ่งไปหา อย่างนี้ เปน็ ได้ไหมพ่อ ?” “พ่อยงั ไมเ่ ขา้ ใจค�ำพูดของลกู ยกตัวอย่างหน่อยซิ” “คือผมหมายความอย่างน้ี” ผมว่า “บางคนสติปัญญา หรือ อุปนิสัยพุ่งไปทางวิศวกรรม หรือมีแนวโน้มไปทางเคร่ืองยนต์กลไก แต่เอาเขาไปพัฒนาทางเกษตรก็เลยหมดหวัง เหมือนเอาเลื่อยไปใช้
ต อ น ที่ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 66 แทนขวาน” “ลูกเกง่ มาก กตัญญู” พอ่ พูด “ตั้งแต่คุยกนั มาพ่อเพิ่งเห็นเพิง่ ไดย้ นิ ลกู พดู เขา้ เรอ่ื งเขา้ ราว ถกู ตอ้ งตอนนเี้ อง ลกู ฉลาดขนึ้ มาก หรอื ฉลาดอยู่กอ่ นแลว้ แตค่ มในฝกั ?” “ผมลูกพอ่ ครับ” ผมว่า “เอาเถอะ จะลูกพ่อหรือลูกใครก็ตามใจ ถ้าลูกพูดอะไรถูก มันก็ถูก พูดอะไรผิดมันก็ผิดวันยังค่�ำ ไม่ใช่ว่าถ้าลูกเป็นลูกนายก รฐั มนตรแี ลว้ จะพดู อะไรไมผ่ ดิ พอ่ ขอพดู ตอ่ ทล่ี กู พดู คา้ งไว ้ หรอื ลกู จะ พดู ตอ่ เอง” “ผมตอ่ เองกไ็ ดค้ รบั พอ่ , คอื ผมวา่ คนเรานอกจากจะมคี วามสามารถ ประจำ� ตวั ทกุ คนแลว้ ถา้ สามารถพฒั นาใหต้ รงตามความสามารถของเขา แล้วก็จะไปได้ไกลมาก” “พูดส�ำคัญ” พ่อชมเชยผม ย้ิมน้อยยิ้มใหญ่ “ความสามารถ เดิม หรือกรรมเดิมของคนเรา มีความส�ำคัญต่อวิถีชีวิตในปัจจุบัน ไม่นอ้ ยเลย” “กรรมเดมิ ” ผมอทุ าน “อะไรของพอ่ ” “กรรมเดมิ ” ผมวา่ ความ สามารถพเิ ศษในทางใด หรอื tendency หมายถงึ ความโนม้ เอยี งของ คนยอ่ มตดิ มากบั gene แลว้ ทง้ั สนิ้ กรรมเดมิ ของพอ่ หมายถงึ อะไร ?” “เริ่มจะพูดกันไม่รู้เรื่องเสียอีกแล้ว” พ่อพูดหน้าเฉย “ยีนอะไร ของลูก พ่อไมเ่ ขา้ ใจเหมือนกนั ” “gene หมายถงึ สง่ิ หนงึ่ ซงึ่ รวมเอาคณุ สมบตั ิ คณุ ลกั ษณะในตวั คนไว ้ มันมีของมันอยแู่ ล้วในเช้อื ชีวิต” “แลว้ ทำ� ไม เชอื้ ชวี ติ ของคนๆ เดยี วกนั ไอย้ นี มนั จงึ ไมเ่ หมอื นกนั บางยีนออกมาขี้โมโห โทโส เอาแต่ใจตัวเอง ไร้เหตุผล บางยีน ออกมาเรยี บรอ้ ยมเี หตมุ ผี ล พดู อะไรเขา้ ใจงา่ ย เรยี นอะไรรเู้ รว็ บางยนี
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 67 ก็โง่ดกั ดาน ลูกอธบิ ายให้พอ่ ฟงั หน่อยได้ไหม ?” “เอาอยา่ งนดี้ กี วา่ พอ่ คอื พอ่ อธบิ ายเรอื่ ง ‘กรรมเดมิ ’ อะไรของ พ่อให้ผมเข้าใจกอ่ นดกี วา่ ” “กรรมเดิม พ่อหมายถึงกรรมในชาติก่อนๆ ที่คนแต่ละคนเคย สะสมมา เป็นของเฉพาะตนของเขา เช่นเขาเคยสะสมมามากทาง คณิตศาสตร์ พอเกิดมาในชาติน้ีแกก็เรียนคณิตศาสตร์ได้เร็วกว่า คนอื่น สะสมมามากทางไหนเมื่อมาเรียนหรือมาทำ� ส่ิงน้ันเข้าก็ส�ำเร็จ ไดเ้ รว็ บางทเี ขาเรยี กกนั วา่ ม ี ‘พรสวรรค’์ หรอื มที นุ เดมิ มามากและด ี บางคนมีทุนมาทางดนตรี จึงสามารถเล่นดนตรียากๆ ได้ ตั้งแต่อาย ุ ยงั นอ้ ย เรอ่ื งทำ� นองนมี้ ปี รากฏอยทู่ ว่ั ไปทกุ มมุ โลก ในบางรายสบื สาว ขนึ้ ไปหาบรรพบรุ ษุ กไ็ มป่ รากฏวา่ มบี รรพบรุ ษุ คนใดเคยมคี วามสามารถ ทางคณิตศาสตร์หรอื ทางดนตรีเลย” “อาจเป็นเพราะส่งิ แวดลอ้ มจงู ใจก็ได้” ผมวา่ “ท�ำไมคนท่ีอยู่ในส่ิงแวดล้อมเดียวกันจึงไม่เป็นอย่างเดียวกัน หมด ?” พ่อว่า “กรรมเดิม คือสิ่งท่ีเขาสะสมมาหลายชาติย่อมติดมา เป็นอุปนิสัย คือแววของใจ หรือแนวโน้มเมื่อได้รับภาวะอันเหมาะสม ส่งิ นนั้ ยอ่ มเจรญิ เติบโตโดยพลนั ที่คนชอบเรียกกนั ว่าพรสวรรค”์ “ทำ� ไมจงึ เรยี กวา่ ‘พรสวรรค’์ สวรรคป์ ระทานพรนนั้ มา ทำ� นอง เดยี วกบั พรของพระเจา้ อยา่ งนัน้ หรอื ?” ผมถาม “พรสวรรค ์ ไมใ่ ชพ่ รทพี่ ระเจา้ ประทานมา แตเ่ ปน็ พรทแ่ี ตล่ ะคน ไดส้ ะสมของตนไว ้ อาจสะสมหรอื ศกึ ษาขณะทอ่ี ยสู่ วรรคก์ ไ็ ด ้ เมอื่ ลง มาเกดิ ในโลกมนษุ ย ์ สง่ิ ทตี่ นเคยชำ� นาญกม็ ไิ ดส้ ญู หายไป คงสภาพเปน็ อุปนสิ ัยแห่งตนอยู่ ลูกเชื่อสวรรค์มใิ ชห่ รือ ?” “ไม่เชือ่ ครับพ่อ” “งน้ั ฟงั ตอ่ ไป” พอ่ วา่ “ตามทรรศนะทางพระพทุ ธศาสนา พระ-
ต อ น ที่ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 68 พทุ ธเจา้ ทรงรับรองเร่ืองนรกสวรรค์” “สวรรค์ในอก นรกในใจ ใชไ่ หมพอ่ ?” “นน่ั กอ็ ยา่ งหนง่ึ ทค่ี นไทยโบราณกลา่ วพงั เพยไว ้ เพอื่ ใหเ้ หน็ งา่ ย วา่ เวลาใดใจเดอื ดรอ้ น เวลานน้ั เหมอื นตกนรก เวลาใดใจสบาย เหมอื น ไดส้ วรรค ์ แตน่ รกสวรรคจ์ รงิ ๆ ซง่ึ เปน็ อกี ภพหนงึ่ จะตอ้ งมอี ยา่ งแนน่ อน พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ ‘คนบางพวกเกดิ ในครรภ ์ คนทำ� ชว่ั ยอ่ มไปนรก คน ทำ� ดีไปสวรรค ์ ส่วนท่านผู้ส้นิ กเิ ลสแล้วย่อมไปนิพพาน’ ” “และในสวรรค์น้ัน มีการศึกษาเล่าเรียนทุกอย่าง เขาเรียนกัน ด้วยใจรัก ไม่ใช่เรียนเพ่ือประกอบอาชีพ ผู้สอนก็เป็นผู้เช่ียวชาญจริง สอนเพอ่ื สะสมบารมขี องตน มใิ ชเ่ พอ่ื สนิ จา้ งรางวลั ผศู้ กึ ษาจงึ มคี วามร้ ู จรงิ เมอื่ ถงึ วาระทจี่ ะตอ้ งมาเกดิ เปน็ มนษุ ย ์ ความรอู้ นั นน้ั กไ็ มไ่ ดส้ น้ิ สญู ไป เมอื่ ไดภ้ าวะอนั เหมาะสมจงึ เจรญิ งอกงามอยา่ งรวดเรว็ อยา่ งนแ้ี หละ เรยี กวา่ พรสวรรค ์ เหมอื นลกู ทบทวนวชิ าทเี่ พง่ิ จะเลอื นไป ความจำ� ยอ่ ม ฟนื้ ข้ึนเรว็ กว่าคนท่ีไม่เคยผา่ นวชิ านน้ั มาเลย” “พอ่ เปน็ เอามาก” ผมนกึ ในใจ ไมก่ ลา้ พดู ไมใ่ ชเ่ พราะกลวั โดน ตบ แต่เพราะอะไรไม่ทราบ ดูเหมือนในตัวพ่อมีอะไรอยู่อย่างหน่ึงท ี่ ท�ำใหผ้ มและใครต่อใครมคี วามยำ� เกรง เม่อื ผมนิง่ อย่ ู พอ่ จึงพูดตอ่ ไปวา่ “ถา้ ชาตหิ นา้ ม ี นรก-สวรรคก์ ต็ อ้ งม ี นรกสำ� หรบั ลงโทษคนบาป ทย่ี งั ไมไ่ ดช้ �ำระโทษในโลกมนษุ ย ์ หรอื ไดช้ �ำระไปบา้ งแลว้ แตย่ งั ไมส่ ม แก่กรรมที่เขาท�ำ ต้องยกยอดไปลงโทษกันในชาติหน้า หรือในนรก แลว้ แตก่ รณ ี สว่ นสวรรคน์ นั้ สำ� หรบั ใหค้ วามสขุ แกค่ นดมี ศี ลี มธี รรม ซงึ่ บางทียังไม่ได้รับผลแห่งความดีเต็มที่ในโลกมนุษย์ หรือได้รับแล้วแต่ พลงั แหง่ ความดยี งั ไมส่ ดุ สน้ิ จงึ ตอ้ งยกยอดกนั ไปอกี ระยะเวลาในชวี ติ มนษุ ยเ์ พยี งชาตเิ ดยี วสน้ั เกนิ ไป ไมพ่ อใหก้ รรมใหผ้ ลจนหมดสน้ิ ได ้ ไมว่ า่
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 69 กรรมดีหรอื กรรมช่วั ” “ผมมองไมเ่ หน็ วา่ คำ� สอนเรอ่ื งนรก-สวรรคจ์ ะมปี ระโยชนอ์ ะไร ? นอกจากความเพ้อฝัน การปลอบใจตัวเองและหลอกตัวเองให้กลัวใน สิ่งอันไม่มีตัวตน หรือไม่อาจพิสูจน์ได้ คนท่ีเช่ือเรื่องนรก-สวรรค์จึง มักเป็นคนยากจนจมอยู่ในอุดมคติอันล้าหลัง ไม่ช่วยตัวให้ดีขึ้นท้ัง ทางเศรษฐกิจและสงั คม ทำ� อะไรนิดหน่อยกเ็ กรงอาชญาแห่งนรก จงึ เปิดโอกาสให้คนที่ไม่กลัวนรกกอบโกยเอาผลประโยชน์ได้ตามใจชอบ แล้วร่�ำรวยมีหน้ามีตาในสังคม ใครๆ ก็เคารพนบไหว้ มีความเป็นอยู ่ อยา่ งสขุ สำ� ราญ มนษุ ยโ์ ดยทวั่ ไปยอ่ มตดั สนิ คณุ คา่ ของคนจากสงิ่ ทมี่ อง เหน็ ได ้ มเี ครอื่ งวดั ตวั อยา่ งเชน่ นาย ก. มบี า้ นหรหู รา มรี ถยนตค์ นั งาม ราคาเปน็ แสน มที ด่ี นิ มากมาย เปน็ ประธานกรรมการบรษิ ทั ทม่ี รี ายได ้ เดือนละล้านบาท ส่วนนาย ข. ใส่รองเท้าแตะ นุ่งกางเกงปะ เดิน ต๊อกแต๊กๆ อยู่ริมถนน อยู่บ้านเช่าราคาค่าเช่า ๑๐๐ บาท ต่อเดือน ท�ำงานท่ีสุจริต ๑๐๐% รายได้เดือนละ ๔๐๐ บาท ใจบุญสุนทาน ไมฉ่ อ้ โกงใคร แมแ้ ตใ่ นความคดิ เพราะเกรงอาชญาแหง่ นรก เพอ้ ฝนั ถึงความสุขในสวรรค์เม่ือตายแล้ว ส่วนนาย ก. ไม่เคยกลัวนรก ม ี ทางใดทจ่ี ะหาเงินได ้ สรา้ งความมั่งค่งั ได้ นาย ก. เป็นเอาทง้ั น้ัน “ตามตวั อยา่ งน ้ี เมอ่ื พดู ถงึ คณุ คา่ ของจติ ใจแลว้ นาย ข. เหนอื นาย ก. มาก แตค่ ณุ คา่ ทางสงั คม ทางดา้ นความรสู้ กึ ยอมรบั ของสงั คม แล้ว นาย ข. ไม่มที างทาบนาย ก. ไดเ้ ลย หา่ งกนั เหมือนฟ้ากับดนิ “พอ่ ลองเองกไ็ ด ้ พอ่ ลองใสร่ องเทา้ แตะ นงุ่ กางเกงปะ ใสเ่ สอื้ ฮาวายเกา่ ๆ สกั ตวั หนงึ่ แลว้ เขา้ ไปสงั่ อาหารทภ่ี ตั ตาคารไหนสกั แหง่ หนง่ึ เลือกที่หรูๆ น่ังรับประทาน “อีกวันหน่ึงพ่อแต่งกายด้วยเสื้อผ้าราคาแพง ขับรถเบนซ์รุ่น ใหม่เอ่ียมไปจอดหน้าภัตตาคาร แล้วลงไปนั่งรับประทานอาหาร แล้ว
ต อ น ที่ ๗ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 70 พ่อลองสังเกตอาการของบ๋อย พ่อจะเห็นว่าอาการของเขาในวันก่อน กับวันหลังจะห่างกันมาก ท้ังๆ ท่ีท้ังสองวันพ่อมีสตางค์ในกระเป๋า เท่ากัน พร้อมท่ีจะช�ำระค่าอาหารเท่าที่ส่ังมารับประทาน ผมต่อให้ วนั กอ่ นพอ่ มสี ตางคใ์ นกระเปา๋ เปน็ หมนื่ และวนั หลงั มเี พยี ง ๒๐๐ เทา่ นนั้ เขาก็จะต้อนรับพ่อผิดกันลิบลับ นอกจากเขาจะจ�ำพ่อได้เสียแล้วว่า เศรษฐคี นนบี้ างวนั ก็แกล้งทำ� เป็นคนยากจน “คนส่วนมาก ตัดสินคน วัดค่าของคนด้วยสิ่งท่ีมองเห็นได ้ เพราะคนสว่ นใหญย่ งั เปน็ materialist ตกอยใู่ ตอ้ �ำนาจของ material หรอื materialism หมายถงึ นยิ มวตั ถ ุ ทำ� ไมจงึ เปน็ อยา่ งนนั้ ? เพราะ วตั ถสุ ามารถสนองความตอ้ งการของเขาได ้ สามารถแลกเปลย่ี นเอาสง่ิ อนั พงึ ใจได ้ เชน่ พอ่ มเี งนิ มาก พอ่ จะเอาเงนิ ไปแลกเปลย่ี นเอาอะไรกไ็ ด ้ น่ีแหละคือสาเหตุใหญ่ท�ำให้คนหาเงินและชอบเงิน เพราะมันสามารถ ใหค้ วามพอใจ หรอื สงิ่ ทพ่ี อใจทนั ตาเหน็ ทนั อกทนั ใจดนี กั แตค่ ณุ ธรรม ภายในใครเป็นคนเห็น เอาไปแลกหรือข้ึนเป็นส่ิงของที่อ�ำนวยความ สะดวกสบายแห่งชีวิตไม่ได้ ปัญหาความขัดข้องต่างๆ ในชีวิตทุกวันนี้ ขนึ้ อยกู่ บั ‘เงนิ ’ เสยี เปน็ สว่ นมาก ผมวา่ ถงึ ๙๕% มเี งนิ เสยี อยา่ งเดยี ว แก้ปัญหาได้หมด เมื่อเป็นดังน้ี จะไม่ให้คนชอบเงินได้อย่างไร คนจึง กระเสือกกระสนทุกอย่างเพ่อื ให้ไดเ้ งนิ ” “เงินท�ำให้พ่อกลับเป็นหนุ่มได้ไหม ?” พ่อทนฟังผมพูดไม่ได ้ จงึ ขัดแย้งขนึ้ มา ขณะท่ีผมยงั พูดไมจ่ บ “ถงึ พอ่ จะเปน็ หนมุ่ ไมไ่ ดเ้ หมอื น ๒๐ ปกี อ่ น แตพ่ อ่ กห็ าความสขุ ได้ย่งิ กว่าคนหนมุ่ ท่ีไมม่ ีเงนิ เสยี อกี ผมกลา้ ท้าพนันไดเ้ ลย” พอ่ ผมนงิ่ ผมกลวั ความนงิ่ ของพอ่ ผม เพราะคำ� พดู ของทา่ นหลงั จากการน่ิง ทำ� ให้ผมยอมจำ� นนมาหลายหนหลายครงั้ แลว้
๘ต อ น ท่ี หลังจากนงิ่ ไปคร่หู นึง่ แลว้ พอ่ ผมจงึ พูดว่า “ลูกก็เหมือนคนจ�ำนวนมาก ท่ีเห็นเงินเป็นแก้วสารพัดนึก แต ่ ลกู หาเฉลยี วใจไมเ่ ลยวา่ เงนิ เปน็ รากฐานแหง่ ความชวั่ ทง้ั ปวง และมอี ย ู่ เหมือนกันไม่น้อยท่ีเงินไม่สามารถช่วยบ�ำบัดทุกข์ของคนได้ พ่อจะ พดู ใหล้ ูกฟัง ให้ลูกตง้ั ใจฟงั ใหด้ ี อย่ารีบขัดคอพอ่ ก่อนพดู จบ “การคอรัปช่ันซ่ึงระบาดอยู่ท่ัวประเทศ, การปล้น, การลักเล็ก ขโมยนอ้ ย การฟอ้ งรอ้ งในคดแี พง่ และคดอี าญาบางคด ี เชน่ การฆา่ คน ตายเพ่ือชิงทรัพย์, การกลั่นแกล้งชิงไหวชิงพริบกันระหว่างคนมีอาชีพ
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 73 เดียวกัน ใส่ร้ายป้ายสีกัน การที่พ่ีน้องซึ่งเคยรักกันมา ต้องกลายเป็น ศัตรูกันในกรณีแบ่งมรดก การรับจ้างฆ่าคน แม้ท่ีไม่มีความผิด ฯลฯ เหลา่ นี้ล้วนแต่เพ่อื เงนิ หรอื ทรัพย์สมบัตทิ ้งั สิ้น “เงนิ ทำ� ใหค้ นทไี่ มเ่ คยคดิ ทำ� ชว่ั ไมต่ อ้ งการทำ� ชว่ั ตอ้ งทำ� ชว่ั ตอ้ ง ยอมเสียเกียรติยศ เสียศักดิ์ศรี เพ่ือต้องการเงิน เงินท�ำให้ผู้หญิงดีๆ ต้องยอมอุทิศตัวลงไปคลุกเคล้ากับคาวโลกีย์อันโสมม เพ่ือแลกเอา มันมา ผู้หญิงเหล่าน้ันต้องจบชีวิตลงในแหล่งอันเป็นท่ีเส่ือมโทรมทาง จติ ใจ” “เพื่อเงิน ท�ำให้มนุษย์ไม่น้อยต้องละทิ้งมนุษยธรรม ต้องยอม เป็นทาสแห่งอบายมุขคือการพนันขันต่อ เงินท�ำให้มนุษย์ดูหม่ินมนุษย์ ดว้ ยกนั มนั แบง่ แยกมนษุ ยพ์ วกหนง่ึ กบั อกี พวกหนง่ึ ใหห้ า่ งเหนิ กนั และ มองกันด้วยสายตาทีแ่ ฝงไวซ้ ึง่ ความรงั เกียจเหยยี ดหยาม “เงินท�ำให้คนผิดเป็นคนถูก เป็นตัวท�ำลายความยุติธรรมใน สังคม มันท�ำให้มนุษย์ละเมิดกฎหมาย และศีลธรรมจรรยาอันดีงาม ของมนษุ ย ์ นอกจากนม้ี นั ยงั ทำ� ใหม้ นษุ ยต์ กอยใู่ นอาการมนึ เมา ลมุ่ หลง ยง่ิ คนนบั ถอื มนั มากเทา่ ใด มนั ยง่ิ แสดงความทารณุ โหดรา้ ยออกมามาก เทา่ น้ัน ฯลฯ “นค่ี อื เหตผุ ลประกอบคำ� วา่ เงนิ เปน็ รากฐานแหง่ ความชว่ั ทง้ั ปวง เพราะเงินท�ำให้คนโลภ ความโลภเป็นอกุศลมูล ตามพระด�ำรัสแห่ง พระบรมศาสดา” “จรงิ อย ู่ เงนิ ชว่ ยบำ� บดั ทกุ ขไ์ ดบ้ า้ ง แตไ่ มใ่ ชท่ กุ อยา่ งไป ลกู รจู้ กั คณุ หญงิ สขุ มใิ ชห่ รอื เงนิ ของทา่ นมากมายกา่ ยกอง แตม่ นั ไมส่ ามารถ ชว่ ยใหท้ า่ นพน้ จากความทกุ ขท์ รมานเพราะมะเรง็ ในล�ำคอได ้ ขา้ วปลา อาหารจะกนิ สกั เทา่ ไรกไ็ ด ้ ประณตี แคไ่ หนกไ็ ด ้ แตก่ นิ ไมไ่ ดเ้ ลย เพราะ มะเรง็ มนั ดกั อยทู่ ลี่ ำ� คอ มนษุ ยเ์ รานน้ั มเี รอ่ื งทจี่ ะตอ้ งทกุ ขอ์ ยมู่ ากมาย
ต อ น ที่ ๘ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 74 คนท่ีไม่ต้องทุกข์เพราะเรื่องท�ำมาหากินก็ต้องทุกข์เร่ืองอื่น ซ่ึงมีอยู่ อยา่ งนอ้ ยอกี ๙ เรอื่ ง มฉิ ะนน้ั แลว้ เศรษฐบี างคนจะฆา่ ตวั ตายทำ� ไม น ่ี คือเหตุผลประกอบค�ำว่ามีอยู่เหมือนกันท่ีเงินไม่สามารถบ�ำบัดทุกข์ ของคนได้เสมอไป “ส่วนค�ำพูดอันยืดยาวของลูกเรื่องเกียรติยศ เกียรติศักดิ์ของ คนผไู้ มเ่ คยเกรงอาชญานรก และรำ�่ รวย มคี นเคารพนบไหว ้ ตลอดถงึ มคี วามสขุ ความรงุ่ เรอื งอยใู่ นสงั คมนนั้ ค�ำพดู ของลกู เปน็ การดถู กู คน ทง้ั เมอื งวา่ คนทจ่ี ะมง่ั คง่ั และมคี วามสขุ อยใู่ นสงั คมได ้ ตอ้ งเปน็ คนทจุ รติ คดโกง คนสุจริตเป็นคนดีมีศีลธรรมจะต้องยากจน ลูกไม่นึกบ้างเลย หรอื วา่ คนทม่ี ง่ั มศี รสี ขุ อยทู่ กุ วนั น ี้ หรอื ในอดตี เพราะประกอบการงาน โดยสจุ รติ กม็ อี ยมู่ าก เมอ่ื คนทจุ รติ กร็ วยได ้ คนสจุ รติ กร็ วยได ้ ท�ำไมลกู ไมเ่ ลอื กนยิ มคนทร่ี ำ่� รวยโดยทางสจุ รติ และเอาอยา่ งคนเหลา่ นนั้ เปน็ ความรำ่� รวยสขุ สบายโดยไมต่ อ้ งระแวง ไมต่ อ้ งเดอื ดรอ้ นภายหลงั ไม่ ตอ้ งสะดุ้งหวาดเสยี ว “พอ่ เองนน้ั จะพยายามทำ� ใจอยา่ งไร ใหว้ างเฉยและแผเ่ มตตา ให้คนท่ีคอรัปชั่น ก็ท�ำไม่ส�ำเร็จ เมื่อรู้ข่าวว่าคนน้ันคนน้ีร่�ำรวยข้ึนมา โดยการคอรัปช่ัน ก็มีแต่ความเกลียดชัง ไม่เคยนึกว่าคนพวกนั้นเป็น คนมีเกียรติ ไม่เคยยกย่องสรรเสริญ แต่บางทีก็ปลงสังเวชได้บ้างว่า เขาจะต้องประจักษ์และปรากฏด้วยกรรมของเขาเอง ไม่เร็วก็ช้า ไม่ โลกนี้ก็โลกหน้า ลูกเคยนึกบ้างหรือไม่ว่าภาวะสังคมพิการท่ีเกิดขึ้น ในบ้านเมืองของเราหรือเมืองไหนๆ ก็ตามเกิดจากการกระท�ำของคน ที่ไม่ยอมรับเร่ืองกฎแห่งกรรม เร่ืองนรกสวรรค์ และเร่ืองชาติก่อน ชาติหน้าเป็นส่วนใหญ่ เพราะคนพวกน้ีมีความคิดอยู่ว่า ถ้าจับไม่ได้ ไล่ไมท่ นั โทษนัน้ กส็ ูญเปลา่ หรือท�ำความดไี ม่มีคนเหน็ กเ็ ป็นหมัน จึง ไมล่ ะอายบาป ไมเ่ กรงกลวั ตอ่ บาป มกี ารโกงเลก็ โกงนอ้ ยไปถงึ โกงใหญ ่
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 75 ข้าราชการท่ีโกงน้ันหาใช่โกงคนอื่นไม่ แต่โกงพ่อแม่ปู่ย่าตายาย และ ญาติพี่น้องของตัวนั่นเอง เพราะเงินน้ันเป็นเงินภาษีอากรที่พ่อแม่ พี ่ นอ้ ง ปูย่ า่ ตายายของตวั สละหยาดเหง่ือแรงงานเสยี มา “เร่ืองคนม่ังคั่ง แม้เป็นคนไม่ดี ก็เป็นที่ยอมรับของสังคมและ คนยากจน แม้จะเป็นคนดีก็ไม่เป็นท่ียอมรับของสังคมตามท่ีลูกพูด และยกตัวอย่างมามากมายนั้น เป็นการแสดงให้เห็นว่าเงินมีความช่ัว อยเู่ พยี งใด ตามทพี่ อ่ พดู มาแลว้ มนั แยกมนษุ ยอ์ อกจากมนษุ ยด์ ว้ ยกนั มันท�ำให้มนุษย์พวกหนึ่งดูหม่ินมนุษย์พวกหนึ่ง มันท�ำให้ช่องว่าง ระหว่างมนุษย์ด้วยกันกว้างไกลออกไป มันทำ� ให้มนุษย์หลงผิด คิดว่า เงินอยู่กับคนใดแล้วท�ำให้คนน้ันวิเศษเกินคน จนถึงกับบางคนพูด ออกมาอย่างไว้อ�ำนาจว่า “ฉันไม่ได้ใช้คน ฉันใช้เงินของฉันต่างหาก แกต้องท�ำได้ทุกอย่างที่ฉันต้องการ เพราะฉันใช้เงินของฉัน” คน อยา่ งนจี้ ะตอ้ งเอาเงนิ ปาหนา้ แลว้ ตบซำ�้ สกั ๑๐๐ ครง้ั จงึ จะสาสมกบั ท ่ี เขาดหู ม่ินเกยี รตแิ ห่งมนษุ ย์ “จริงอยู่ เงินย่อมมีประโยชน์ ใช้ทำ� ประโยชน์ได้ต่อเมื่อมันอยู่ กบั คนด ี มศี ลี ธรรม เหมอื นมดี เลม่ เดยี วกนั เมอ่ื อยใู่ นมอื โจรยอ่ มนำ� ไป สู่ฆาตกรรม แต่เม่ือมันอยู่ในมือแม่ครัว มันช่วยท�ำอาหารเล้ียงคนได ้ ทางดีและทางเสียของเงินมีอยู่อย่างนี้ ลูกจะเห็นว่า ความสำ� คัญอยู่ที่ คนผ้ใู ชเ้ งินเสยี แลว้ หาใชอ่ ยูท่ เี่ งินไม่ “ท�ำนองเดียวกับการเมือง การเมืองจะไม่ดีในตัวมันเอง ก็ หามไิ ด ้ แตม่ นั จะดหี รอื ไมด่ ี อยทู่ คี่ นผเู้ ขา้ ไปเกยี่ วขอ้ งกบั การเมอื งตา่ ง หาก คือนักการเมืองมีธรรมหรือไม่มีธรรม ดังท่ีท่านมหาตมคานธ ี กลา่ วไว้วา่ “การเมืองท่ีปราศจากหลักธรรมทางศาสนา ก็เป็นเร่ืองของ ความโสมมท่ีประชาชนควรละท้ิงเสียเป็นอย่างย่ิง การเมืองเป็นเร่ือง
ต อ น ที่ ๘ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 76 ของประเทศชาติ และเรื่องท่ีเกี่ยวกับสวัสดิภาพของประชาชนนั้น ตอ้ งเปน็ เรอื่ งของผมู้ ศี ลี ธรรมประจำ� ใจ เพราะฉะนน้ั เราตอ้ งเอาศาสน- จักรไปสถาปนาไว้ในวงการเมอื งดว้ ย” “ลกู จะเหน็ จรงิ ถา้ พจิ ารณาดว้ ยใจทเี่ ปน็ ธรรมวา่ ศลี ธรรมเปน็ รากฐานอนั สำ� คญั ยง่ิ ของความเจรญิ ทง้ั ทางสว่ นตวั และสงั คม เหมอื น รากไม้มีความส�ำคัญต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้ แต่คนมิได้เห็น ส่วนส�ำคัญนี้ทันทีทันใดท่ีเห็นต้น เพราะมันอยู่ในดิน ลองให้รากเน่า ดซู ิ ตน้ ไมน้ น้ั จะทรงตวั อยไู่ ดอ้ ยา่ งไร ท�ำนองเดยี วกนั ความพกิ ารทาง สังคมนั้นไปจากความเสื่อมทางศีลธรรมก่อน และเป็นอย่างนั้นอย่าง แนน่ อน” พอ่ ผมพดู อยา่ งมน่ั ใจทสี่ ดุ คำ� พดู ของพอ่ เปน็ จงั หวะและนมุ่ นวล ถา้ เปน็ ปาฐกถา ปาฐกถาของพอ่ ครง้ั นน้ี า่ ฟงั ทส่ี ดุ ผมเอง ทงั้ ๆ ทมี่ คี วาม เห็นขัดแย้งกับพ่ออยู่ก็ยังอยากฟัง และฟังแล้วก็ใจเอียงไปเหมือนกัน ผมนึกถึงคนที่ใจยังเป็นกลางอยู่ หรือมีแนวโน้มท�ำนองเดียวกับพ่อ จะตอ้ งเชื่อพ่ออยา่ งแน่นแฟน้ แนน่ อน ค�ำพูดพ่อคร้ังน้ีนับว่ามีประโยชน์กับผมมาก อย่างน้อยท่ีสุด ทำ� ใหผ้ มลงั เล ไมแ่ นใ่ จวา่ วตั ถนุ ยิ มทผี่ มหลงยดึ วา่ เปน็ สง่ิ มคี ณุ คา่ สงู นนั้ จะมีค่าจริงหรือไม่ จากค�ำพูดของพ่อคร้ังน้ัน เม่ือผมได้พบเห็น หรือ ไดย้ นิ ไดฟ้ งั เรอ่ื งยงุ่ ยากใดๆ กต็ ามทม่ี เี งนิ เปน็ มลู เหตแุ ลว้ ผมเปน็ ตอ้ ง นกึ ถงึ พอ่ และคำ� พูดของพ่อทุกครั้งไป พ่อผมเกลียดชังการดูถูกเหยียดหยามคน พ่อผมไม่เคยพูด หรือแสดงอาการดูหม่ินคนยากจน ชนชั้นกรรมาชีพเลยแม้แต่น้อย ใครดูหมิ่นให้เข้าหู ท่านเป็นขัดคอทุกที ท่านบอกว่ามนุษย์ไม่ควร ดูหม่ินมนุษย์ด้วยกัน แม้เขาจะยากจนหรือท�ำงานด้วยแรงกายอัน คนบางพวกถือว่าเป็นงานชั้นตำ�่ แต่เขาก็มีความเป็นมนุษย์ และบางท ี
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 77 มคี วามเปน็ มนษุ ยส์ มบรู ณก์ วา่ คนบางคนทชี่ อบเรยี กตวั เองวา่ “ชนั้ สงู ” เสียอีก คนจนส่วนมากมีน�้ำใจเสียสละ เห็นอกเห็นใจเพ่ือนมนุษย์และ ขี้เกรงใจ มีความเจียมเน้ือเจียมตัว ใครให้อะไรก็มักไม่ค่อยกล้ารับ หากรับก็รับแต่พอประมาณ แต่คนมั่งมีต่างหากเล่าที่มักไม่ค่อยรู้จัก เกรงใจคน มคี วามอยากไดไ้ มม่ ที ส่ี นิ้ สดุ ไดร้ บั อะไรไปกไ็ มค่ อ่ ยรจู้ กั พอ คล้ายทะเลที่ไม่ค่อยรู้จักอิ่มหรือเต็มด้วยน�้ำ แต่หลุมเท้าโคนั้นพอม ี นำ�้ ลงไปแมเ้ พียงเล็กน้อยก็เตม็ ล้น พอ่ บอกวา่ ไดส้ งั เกตเหน็ มานกั แลว้ เดก็ ทอี่ ยใู่ นครอบครวั ทม่ี งั่ มี มักเป็นเหมือนทะเล ส่วนเด็กท่ีเกิดอยู่ในครอบครัวท่ียากจน มักเป็น เหมอื นหลุมเท้าโค ดงั ท่ีกลา่ วมาแล้ว ใครทมี่ งั่ มแี ลว้ ไปไหนกม็ กั มคี นตอ้ นรบั ขบั สดู้ ี พอใจใหน้ นั่ ใหน้ ี่ ถา้ ลกู คนใดคบเพอ่ื นทม่ี ง่ั ม ี พอ่ แมก่ ย็ นิ ดสี นบั สนนุ ลกู คนใดคบเพอื่ นท ่ี ยากจนกวา่ ผใู้ หญก่ ม็ กั หา้ มปรามวา่ ไมม่ ปี ระโยชนอ์ ะไรแกต่ วั มแี ตท่ าง เสีย เด็กท่ียากจนอยู่โดยปกติจึงไม่ค่อยได้รับการเอาใจใส่จากใคร เข้าที่ไหนก็ได้พบเห็นแต่ความเฉยเมยของผู้อื่น ถึงกระนั้นเด็กพวกน้ี มกั ประพฤตติ วั ด ี เรยี นเกง่ ทำ� งานไดท้ กุ อยา่ งเพอื่ ใหผ้ ใู้ หญร่ กั และเปน็ ทางพึ่งตัวเองตอ่ ไปภายหน้า พ่อบอกว่าสังคมของเรามักอยู่ในลักษณะ “เถือเนื้อหนูไปใส ่ เนอ้ื ชา้ ง” อยเู่ สมอ คนทจ่ี นอยแู่ ลว้ จงึ ยงิ่ จนหนกั ลงไปอกี คนทมี่ ง่ั มอี ย ู่ แลว้ ก็มงั่ มกี นั ตอ่ ไป จะท�ำอย่างไร ? เราจะทำ� อยา่ งไร ?
๙ต อ น ท่ี วันหน่ึง น้องวีรดีพาเพื่อนสองคนมาเที่ยวบ้านเรา พอเพื่อนกลับแล้ว พอ่ กเ็ รยี กน้องวรี ดมี าคุยด้วย “เพอ่ื นรักกันมากหรอื ?” พ่อถาม “รักกันมากค่ะพ่อ” น้องวีรดีตอบ “เขาดีกับวีทุกอย่าง เขารัก วมี าก” “เพื่อนร่วมโรงเรยี นกนั หรอื ?” “ใช่คะ่ ” “ท่าทางส�ำรวย หยิบโหย่ง คิดแต่จะเท่ียวสนุก เรียนหนังสือ ไมเ่ ก่ง”
ต อ น ที่ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 80 “ท�ำไมพอ่ รู้คะ ?” น้องวีรดีถามอย่างตน่ื เตน้ “ดูการแต่งกาย ดูกิริยา วาจา ท่าทางท่ีแสดงออกมันบอก สง่ิ ภายในของคน” “แตง่ กายอยา่ งไร กริ ยิ าวาจาอยา่ งไรคะ ทแ่ี สดงวา่ เปน็ คนสำ� รวย หยบิ โหยง่ คิดแตเ่ ท่ียวสนุก เรยี นไม่เก่ง ?” “ลกู วดี ทู เี่ พอื่ นของลกู นน่ั แหละ ดกี วา่ ใหพ้ อ่ อธบิ ายเสยี อกี แลว้ ลกู คอยสงั เกตวา่ ทพ่ี อ่ พดู ถกู หรอื ไม ่ ถา้ วนั หลงั ลกู พาเพอื่ นชดุ อนื่ มาอกี ท่ีขยันขันแข็ง เรียนดี พอ่ จะบอกให้ก็ได”้ “ชดุ น ี้ พอ่ ทายถกู แลว้ คะ่ ” นอ้ งวรี ดยี อมรบั “แตเ่ ขาบอกวา่ เขา เป็นเพอื่ นตายของวคี ่ะ” “ทง้ั สองคนหรือ ?” “คนเดียวคะ่ ” “คนไหน ?” “คนขาวสูง ผอม เอวบางร่างนอ้ ยนนั่ แหละคะ่ ” พ่อผมหัวเราะเสียงดัง นานๆ พวกเราจึงจะได้ยินท่านหัวเราะ อย่างนท้ี ีหน่งึ ธรรมดาแม้แต่ยม้ิ ท่านยงั ไมค่ อ่ ยยิ้ม เมอ่ื เห็นพอ่ หวั เราะอย่างน้ัน น้องวีหน้าเสยี “อะไรคะพ่อ ?” “ขันซลิ กู ” พ่อว่า “ขันอะไรคะ ?” “ขนั เพอ่ื นตายของลกู ” “ท�ำไมคะ ?” “คนอยา่ งนน้ี ะ อยา่ วา่ แตจ่ ะเปน็ เพอ่ื นตายเลย ขนาดเพอื่ นเตอื น กไ็ ม่ได้ เขาเคยเตือนลูกเรอื่ งอะไรบ้างหรือเปล่า ?” “ไมเ่ คยเลยค่ะ ก็ลกู ไมเ่ คยท�ำอะไรผดิ น่คี ะ”
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 81 “อย่าหาเพื่อนตายเลยลูกเอ๋ย ในชีวิตคนเรามีเพียงเพื่อนเตือน ก็โชคดีแล้ว วัยอย่างลูกวีน้ีจะมีเพ่ือนเยอะแยะ กตัญญูก็เหมือนกัน เด็กวัยน้ีรักเพ่ือนย่ิงกว่าพ่อแม่เสียอีก โกหกพ่อแม่ก็ได้ หลอกเอาเงิน พ่อแม่ก็ได้ เพ่ือเอาใจเพื่อน ทำ� ตามเพ่ือน ไม่ให้ผิดนัดเพื่อน แต่ไปๆ เพ่ือนเหล่าน้ันก็ค่อยๆ หมดไปทีละคนสองคน จะเลือกคบกันก็เฉพาะ ที่มีประโยชน์ต่อกัน พอพึ่งพาอาศัยกันได้ นอกจากน้ันจะถูกตัดออก ไปหมด” “พอ่ ไมม่ องเพอื่ นวใี นแง่รา้ ยไปหรือคะ ?” นอ้ งวถี ามพอ่ “ไมด่ อกลกู พอ่ พดู ตามความเปน็ จรงิ ลกู โตขนึ้ มวี ยั สงู กวา่ นจี้ ะ มองเหน็ ลกู อยากลองกไ็ ด ้ พอ่ จะรว่ มมอื ลกู ลองบอกเพอ่ื นตายของลกู ว่า พ่อออกจากราชการแล้ว จะไปหางานท�ำต่างจังหวัด แต่วีไปด้วย ไมไ่ ด ้ เพราะยงั เรยี นหนงั สอื อยกู่ รงุ เทพฯ แตไ่ มร่ จู้ ะไปอยไู่ หน ครอบครวั จะต้องไปต่างจังหวัดกันหมด พ่ีชายก็จะเข้าอยู่หอพักชายไปชั่วคราว ก่อน ลองดูซิว่าเขาจะชวนไปอยู่บ้านเขาไหม ? ถ้าเขาไม่ชวน ลองขอ อยเู่ ขาด ู ถา้ เขายนิ ยอม ลองไปอยจู่ รงิ ๆ ดสู กั เดอื นสองเดอื น บา้ นเขา ใหญโ่ ตกว้างขวางอย่มู ิใช่หรอื ?” “เฉพาะหอ้ งของเพอ่ื นหอ้ งเดยี วกอ็ ยไู่ ดถ้ งึ ๓ คนคะ่ ถา้ เจา้ ของ หอ้ งเต็มใจ” นอ้ งวรี ดไี ดท้ ำ� ตามคำ� แนะนำ� ของพอ่ อกี ๒-๓ วนั ตอ่ มานอ้ งวี จึงมาเล่าให้พอ่ ฟงั วันนนั้ เราอยกู่ ันพรอ้ มคุณแม่ด้วย น้องวเี ล่าว่า เบื้องแรกเขาพูดเป็นเชิงต�ำหนิพ่อว่า ลาออกจากราชการเสีย ทำ� ไม เหมอื นไมเ่ หน็ แกอ่ นาคตของลกู เมอื่ ครอบครวั ไปอยตู่ า่ งจงั หวดั แลว้ ลกู ทง้ั สองกต็ อ้ งอยอู่ ยา่ งวา้ เหวแ่ ละล�ำบาก อยกู่ บั ใครจะใหอ้ บอนุ่ สุขสบายเหมอื นอยู่กบั พ่อแม่เปน็ ไมม่ ี
ต อ น ที่ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 82 “เขาพดู มาถงึ ตอนน ้ี วฉี นุ กกึ ขนึ้ มาทนั ท”ี นอ้ งวพี ดู ใหพ้ อ่ แมฟ่ งั “วีบอกว่า วีจะต้องอยู่กรุงเทพฯ เพราะการศึกษาระดับน้ีที่กรุงเทพฯ ดีกว่าตา่ งจงั หวัด แตย่ ังไมร่ ูจ้ ะไปอยทู่ ่ีไหน” “เขาชวนไปอยู่บา้ นเขาไหม ?” พ่อถาม “เขาบอกวา่ ความจรงิ เขาอยากชวนไปอยกู่ บั เขา แตท่ บ่ี า้ นเขา แออดั ยดั เยยี ด หอ้ งทกุ หอ้ งมคี นอยหู่ มด ถา้ จะไปรวมหอ้ งกบั เขา เกรง วจี ะไมไ่ ดร้ บั ความสะดวก อกี ประการหนง่ึ เขาไมร่ วู้ า่ คณุ พอ่ คณุ แมเ่ ขา จะวา่ อยา่ งไร ทา่ นพดู อยเู่ สมอวา่ ทา่ นมลี กู อยหู่ ลายคนแลว้ ไมต่ อ้ งการ ให้คนภายนอกมาอยูร่ วม” “แปลว่าเขาพดู ท�ำนองปฏเิ สธใชไ่ หม ?” พ่อถาม “ใชค่ ะ่ ” นอ้ งวตี อบ “วนี กึ ไมถ่ งึ จรงิ ๆ คะ่ พอ่ , วา่ เพอื่ นของวจี ะ เปน็ อยา่ งนนั้ นีถ่ า้ วีไปอยกู่ ับเขาจรงิ ๆ จะมิแยห่ รือ ?” “คบเพอ่ื นอยา่ หวงั อะไรมากเลยลกู ” พอ่ สอน “เพยี งแตเ่ ขาเปน็ เพ่ือนที่ซื่อสัตย์ต่อเรา ไม่ทรยศคดโกงเรา เม่ือพบกันก็คุยกันได้อย่าง เพลดิ เพลนิ สนกุ สนานกพ็ อแลว้ ใครเปน็ มติ รอปุ การะชว่ ยเหลอื รว่ มสขุ รว่ มทกุ ข ์ แนะประโยชน ์ เรากย็ กยอ่ งเชดิ ชมู ติ รอยา่ งนนั้ วา่ เปน็ มติ รแท ้ ของเรา ใครไมท่ �ำ เรากถ็ ือเปน็ เพียงเปน็ เพื่อนคุยเสีย ก็หมดเรื่อง” แมเ่ สรมิ วา่ “แมก่ ม็ เี พอื่ นมากเหมอื นกนั เมอ่ื สาวๆ แมค่ บเพอ่ื น มีแต่ต้องบริการเขา เพราะมือไว เปิดกระเป๋าเร็ว ไปพักที่บ้านใคร ไม่ได้นานคืนเดียวก็ลา เพราะเกรงใจ แต่เพ่ือนๆ มาพักบ้านแม่ทีละ เดอื นสองเดอื นอยา่ งสบาย ไมต่ อ้ งอาทรรอ้ นใจเรอ่ื งอะไร เดย๋ี วนห้ี า่ ง กนั ไปหมดแลว้ เพราะตา่ งกม็ ภี าระเรอื่ งลกู เรอ่ื งผวั ของตวั นานๆ พบ กันทีก็แสดงท่าทีช่ืนชมต่อกัน พอสักแต่ว่าเป็นกิริยาโดยธรรมเนียม โลก” “เพือ่ นกินหางา่ ย เพอื่ นตายหายาก” ผมว่า
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 83 “อยา่ ไปหาเพอื่ นตายเลย เพยี งเพอื่ นเตอื นกพ็ อแลว้ ” พอ่ ผมพดู บ้าง “อย่าไปหวังอะไรจากใคร เราจะได้ไม่ผิดหวัง เพ่ือนที่กินของ เรา ก็เพราะเรามีจะให้กิน ถ้าเราไม่มี เขาก็ไม่รู้จะกินอะไร หมดไป เอง ไม่ต้องเดือดร้อน” “มกี ินก็กนิ กนั ไป เก็บไวต้ ายแลว้ เอาไปไมไ่ ด้” น้องวีรดวี ่า “จรงิ ตายแลว้ เอาไปไมไ่ ด ้ แตก่ อ่ นตายซจิ ะอด” ผมแยง้ “ใคร เขาจะให้เรากิน ไปพึ่งคนอ่ืนก็มีแต่เขาจะดูหมิ่น ใครจะนึกชมเชยเรา วา่ ‘ดจี รงิ เสยี สละจนหมดตวั ’ แลว้ ฝนเงนิ ฝนทองทตี่ กลงมาเตม็ บา้ น เรา อย่างในนิทาน” “หม่ันท�ำความดีไว้ไม่อดหรอกลูก” แม่ว่า “บุญกุศลย่อมช่วย เรา ลองดเู ถา้ แกก่ มิ หงวนซ ิ ทำ� บญุ ทำ� ทานปหี นงึ่ มากมาย เขากร็ วยขน้ึ เร่ือยๆ เคยบอกแม่ว่าท�ำไปเถอะอย่ากลัวจน ท�ำไปเท่าไร มันจะกลับ มามากกว่าที่ท�ำไป บางทีเขาท�ำจนเงินหมดบ้าน แล้วรุ่งข้ึนก็ได้มา อีกมากมายก่ายกอง “เถ้าแก่กิมหงวนน่ะแม่ เขาเป็นเจ้าของโรงเล่ือย เจ้าของโรง นำ�้ แขง็ เจา้ ของโรงส ี อยใู่ นกรงุ บา้ ง ตา่ งจงั หวดั บา้ ง ไมร่ จู้ กั กโี่ รง เขามี แหลง่ เกดิ ของทรพั ย ์ มบี อ่ เงนิ บอ่ ทองอย ู่ เขากท็ ำ� จนหมดตวั ได ้ รงุ่ ขน้ึ รายได้ก็ไหลมาเทมาอีก และที่เขาว่าท�ำจนเงินหมดบ้านน่ะผมเชื่อ เพราะมันเป็นเพียงเศษเงินของเขา แล้วเงินในธนาคารล่ะ มีไม่รู้จัก ก่ีสิบล้าน อย่างนี้เขาจะกลัวอะไร เราลองท�ำอย่างเขาซิ ผลบุญจะ สนองเราบ้างหรือเปล่า เงินที่เสียสละไปจะกลับมาทันหรือ สมมติว่า เดือนนี้วันน้ีวันที่ ๑๑ มีเงินเท่าไร เราท�ำบุญหมด เหลือเวลาอีก ๑๙ วนั จะสนิ้ เดอื น คณุ พอ่ จงึ จะเบกิ เงนิ เดอื นใหม ่ เราจะเอาเงนิ ไหน ใช ้ ทไี่ หนกนิ ผมวา่ สถานะของคนไมเ่ หมอื นกนั จะทำ� บญุ ใหเ้ หมอื นกนั ไม่ได้ ผมเช่ือว่าคนท�ำบุญ ผลบุญย่อมตอบสนอง แต่ผมเกรงว่าจะ
ต อ น ที่ ๙ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 84 กลับมาไม่ทนั แลว้ เราจะอด” “วีว่าเราต้องท�ำตามฐานะของเรา เท่าท่ีพอจะท�ำได้ ท�ำบุญ ใหท้ านตอ้ งไมใ่ หก้ ระทบตนและผอู้ นื่ คณุ พอ่ เคยพดู อยา่ งนใ้ี ชไ่ หมคะ ?” ภาษาบาลีวจี ำ� ไมไ่ ด้เสยี แลว้ ” พ่อผมยมิ้ กอ่ นพดู ว่า “ไม่ใช่ค�ำพูดของพ่อหรอกลูก, พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า ให้ทาน อย่าให้กระทบตนและผอู้ นื่ ” “หมายความอยา่ งไรคะ ทวี่ า่ ไมก่ ระทบตนและผอู้ นื่ ?” แมถ่ าม “หมายความว่าไม่ให้ตนและผู้อื่นเดือดร้อน ไม่เบียดเบียนตน และผอู้ ่นื ไมท่ �ำเพอ่ื ยกตนข่มผ้อู นื่ ” “พระเวสสนั ดร ทำ� ไมถ่ กู ” ผมวา่ “ทำ� บญุ ทำ� ทานจนตวั เองตอ้ ง เดอื ดรอ้ น ลกู เมยี กเ็ ดอื ดรอ้ น ชาวบา้ นชาวเมอื งกเ็ ดอื ดรอ้ น กระทบตน กระทบครอบครวั กระทบท้งั บ้านท้ังเมอื ง” พ่อไม่ตอบทันที ท่านลุกขึ้นไปค้นหนังสือกุกกักอยู่ครู่หนึ่ง ไดห้ นังสือมา ๒ เลม่ แล้วสง่ ใหผ้ มอา่ น “เอา้ คำ� ตอบอยใู่ นหนงั สอื เลม่ นแี้ ลว้ ” พอ่ วา่ “อา่ นเสยี แลว้ คอ่ ย คุยกันใหม่ ลูกวีอ่านเสียด้วย แม่เขาไม่ต้องอ่านก็ได้ เพราะเคยอ่าน แลว้ ” ผมพลิกดู เล่มหน่ึงเป็นหนังสือนิตยสารรายเดือน ศุภมิตร ประจำ� เดอื นพฤศจกิ ายน ๒๕๑๒ คอลมั นข์ อง พ.อ.ปน่ิ มทุ กุ นั ต ์ เรอื่ ง “ความจริงเร่ืองพระเวสสนั ดร” อีกเล่มหน่ึง เร่ือง ”จากวราถึงนภาพร” ตอนที่ ๒๒ ระหว่าง หน้า ๒๘๔-๒๙๒ ในหัวเร่ืองว่าพระเวสสันดรเห็นแก่ตัวนักหรือ ?” และก็ข้อข้องใจเก่ียวกับพระเวสสันดร ส�ำนักพิมพ์บรรณาคารพิมพ์ จ�ำหนา่ ย
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 85 อีกหลายวันต่อมา น้องวีรดีเล่าให้พ่อแม่และผมฟังว่า เพ่ือน ของเธอพยายามตีตนออกห่างจากเธอ กิริยาอาการผิดไปจากเดิม เหมอื นไมต่ อ้ งการคบเธอ เพราะเกรงเธอจะไปพงึ่ พาอาศยั เขา นข่ี นาด เขาบอกนอ้ งววี า่ เขาเปน็ เพอื่ นตาย “วีดีใจเหลือเกินที่พ่อให้วีทดลองดู มิฉะนั้นวีคงเข้าใจผิดไป อกี นาน” นอ้ งวพี ดู นำ�้ เสยี งฟงั ไมอ่ อกวา่ มคี วามดใี จลว้ นๆ หรอื มคี วาม เสียใจคลกุ เคล้าอยดู่ ว้ ย “เด็กวัยน้ีเหมือนๆ กันทุกคน” พ่อว่า “รักเพื่อนแต่เอาจริงเข้า กช็ ว่ ยอะไรเพอื่ นไมค่ อ่ ยได ้ เพราะไมร่ จู้ ะชว่ ยอยา่ งไร ยงั ไมเ่ คยรบั ภาระ จงึ มกั ใหค้ ำ� มนั่ สญั ญาอะไรงา่ ยๆ ดว้ ยนกึ วา่ จะทำ� ได ้ เอาเขา้ จรงิ ทำ� ไมไ่ ด้ คนที่ไม่คิดจะปฏิบัติตามค�ำม่ันสัญญา มักจะให้ค�ำม่ันสัญญาแก่ใครๆ ไดง้ า่ ยเสมอ ตรงกนั ขา้ ม คนทถ่ี อื คำ� มนั่ สญั ญาเปน็ เรอื่ งผกู พนั ทจ่ี ะตอ้ ง ปฏบิ ตั ติ าม จะสญั ญาอะไรสกั ครงั้ หนง่ึ กค็ ดิ แลว้ คดิ อกี มกั ยนิ ดที ำ� โดย ไม่ตอ้ งมีสัญญาเสยี มากกวา่ ท�ำได้เท่าไร กเ็ ทา่ นัน้ ”
๑๐ต อ น ท่ี พ่อมีญาติอยู่ในกรุงเทพฯ หลายคน แต่ส่วนมากไม่ค่อยได้ไปมาหาสู่ กัน เพราะธุรกิจของแต่ละคนบ้าง เพราะเหตุอื่นบ้าง มีบางคนแม ้ จะเป็นญาติใกล้ชิด แต่สังเกตดูว่า พ่อผมไม่อยากคบ เมื่อผมถามถึง เรอ่ื งน ี้ พ่อได้ชแี้ จงว่า “แมจ้ ะเปน็ ญาต ิ แตไ่ มม่ คี วามเออ้ื เฟอ้ื ตอ่ กนั คดิ เอาแตป่ ระโยชน์ ของตัวเอง ไม่ช่วยเป็นธุระในความจ�ำเป็น ชอบพูดกระแนะกระแหน แต่ให้กระเทือนใจ หยาบคายและเห็นแก่ตัว ก็เหมือนไม่ใช่ญาติ แต ่ คนที่ไม่ใช่ญาติ แต่เอาใจใส่ในทุกข์สุข คอยช่วยเหลือในกาลอันควร เป็นท่ีรองรับทุกข์ได้ในคราวมีทุกข์ น่ันแหละดียิ่งกว่าญาติเสียอีก โรคในกายจะมีประโยชน์อะไร ตน้ ไม้ที่เปน็ ยาแม้อย่ไู กล คนก็อุตส่าห์ ดัน้ ด้นไปหา
ต อ น ีท่ ๑ ๐ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 88 “อัธยาศัยไม่ต้องกัน อย่าคบกันใกล้ชิดดีกว่า คบแล้วมีเร่ือง รอ้ นใจ ไมเ่ ยน็ ใจเมอื่ เขา้ ใกล้” ผมเห็นใจพ่อผมในเร่ืองนี้ คนที่พ่อผมไม่ยอมคบนั้น ต้องเป็น คนทเ่ี หลอื เกนิ จรงิ ๆ แตถ่ งึ กระนนั้ ถา้ เขาบากหนา้ มาหา พอ่ กต็ อ้ งชว่ ย เขาอีก ไม่เคยเว้นได้ ผมจ�ำได้ว่ามีญาติอยู่คนหนึ่ง พ่อช่วยเขามาก คราวหนึ่งพ่อมีงาน ซ่ึงต้องการความช่วยเหลือจากคนจ�ำนวนไม่น้อย คนบา้ นนน้ั ทงั้ ๆ ทร่ี อู้ ย ู่ ไมม่ ใี ครโผลห่ นา้ มาเลยสกั คนเดยี ว ทงั้ ๆ ทเ่ี ขา มคี นอยไู่ มน่ อ้ ยกวา่ ๘ คน และบา้ นอยหู่ า่ งกนั ไมถ่ งึ กโิ ลเมตรกบั บา้ นเรา จรงิ อยทู่ บ่ี า้ นนนั้ มงี านทำ� อาจอา้ งวา่ ไมม่ คี นวา่ ง กใ็ ครเลา่ จะวา่ ง ทกุ คน มีงานของตัวท้ังนั้น คนอื่นๆ ที่เขาไปช่วยเรา ก็สละธุรกิจส่วนตัวไป ทงั้ สน้ิ อยทู่ น่ี ำ�้ ใจตา่ งหาก คนไมม่ นี ำ้� ใจ เปน็ คนทผี่ มเองไมย่ อมคบและ จะไมช่ ว่ ยอะไรเปน็ อนั ขาด แตพ่ อ่ ผมอดไมไ่ ด ้ ครงั้ ใดทเ่ี ขามาขอความ ช่วยเหลือ พ่อก็ช่วยเขาอีก ใครพูดจาให้เจ็บช�้ำน�้ำใจ พ่อผมก็โต้ตอบ ไมท่ นั เขา ไดแ้ ตน่ งิ่ ไว ้ อดั ไว ้ ผมรวู้ า่ บางเรอ่ื งพอ่ เจบ็ ใจมาก แตพ่ อ่ กส็ ู้ ทน ไม่พูดตอบให้ใครเจ็บใจ “ปล่อยไว้มันหายไปเอง” พ่อว่า คนอย่างเราวิเศษสักเพียงใด ขนาดพระพุทธเจ้ายังมีคนด่าว่าเสียดสี, สิ่งช่ัวออกมาจากคนใด มันก็ กลบั เข้าไปหาคนน้ัน ส่งิ ดกี ท็ ำ� นองเดียวกัน” แม่ผมมีปฏิปทาไมผ่ ิดจากพอ่ ผมในเร่ืองน ี้ ตงั้ แต่ผมจ�ำความได้ มาจนบัดน้ี ผมไม่เคยได้ยินแม่พูดจาเกร้ียวกราดหยาบคายกับใครเลย แมแ้ ต่กับคนรบั ใช้ คนทำ� ครัว ผมทราบเมื่อผมเป็นผู้ใหญ่แล้วว่า เรื่องการไม่เกร้ียวกราดกับ คนอยใู่ ต้ปกครองนั้นเป็นเรอื่ งทำ� ยาก เพราะตอ้ งมคี วามอดทน ความ ข่มใจอยู่มิใช่น้อย คนอยู่ใต้ปกครองล้วนมีอัธยาศัยต่างกัน มีจิตใจ ตา่ งกนั ทง้ั การอบรมศกึ ษาและพนื้ เพกต็ า่ งกนั มาจากครอบครวั ทต่ี า่ ง
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 89 ช้ันต่างตระกูล การท่ีจะปรับคนเหล่านั้นให้อยู่ในระดับเดียวกันเป็น การยากเพียงไร ผู้ปกครองจึงต้องมีความอดทน เม่ือเหลือทนเข้าก ็ เกรยี้ วกราดออกไปเสยี ครง้ั หนงึ่ ความเกรย้ี วกราดนนั้ ผอู้ ยใู่ ตป้ กครอง ไม่ต้องการ อาจเกลียดชังหรือเบ่ือหน้า แต่เมื่อผู้นั้นโตขึ้นไปเป็น ผ้ปู กครองคนอนื่ เขา้ บา้ งกจ็ ะหวนระลึกถงึ ผูท้ ่ีเคยดุดา่ ว่ากลา่ วตนมา โดยปกติคนท่ีจะดุด่าว่ากล่าวคนอ่ืนน้ัน จะต้องคิดแล้วคิดอีก จะเตือนใครสักทีก็คิดอยู่นาน เกรงเขาจะโกรธ แล้วเขาจะหาว่าเสือก พูดในส่ิงท่ีมิใช่ธุระของตน ใครกล้าเตือนเราแสดงว่าคนนั้นมีใจสุจริต ต่อเรา ควรขอบคุณเขาอย่างสูง พระพุทธเจ้าตรัสว่า “คนตักเตือน ชี้โทษ เหมอื นคนบอกขมุ ทรัพย์ให้” วา่ กนั ตามความเปน็ จรงิ คนเรากวา่ จะดขี น้ึ มาไดแ้ ตล่ ะคน ลว้ น แต่ต้องผ่านการถูกตักเตือนส่ังสอนกันมาคนละมากๆ พ่อแม่สอน, ครบู าอาจารยส์ อน เหตกุ ารณท์ ไี่ ดป้ ระสบพบเหน็ สอน, หนงั สอื ทเี่ รยี น ทอ่ี า่ นสอน ฯลฯ มฉิ ะนนั้ ดยี าก แมจ้ ะมสี งิ่ ตา่ งๆ สอนอยมู่ ากมายอยา่ งน ้ี แล้ว คนบางคนกย็ งั เอาดีไมไ่ ด้ ค�ำวา่ เอาดไี มไ่ ด้น้นั ผมหมายความวา่ “ไมเ่ ปน็ คนดี” เมอื่ ผมถามพ่อในเรื่องน ้ี พอ่ ตอบวา่ “คนทไี่ มม่ เี ชอื้ ดอี ยใู่ นตวั แลว้ ดยี าก ท�ำนองเดยี วกนั คนทไ่ี มม่ ี เชอ้ื ชั่วอยใู่ นสนั ดาน กช็ ่ัวยากเหมือนกนั ” “คำ� วา่ เชอื้ ดี เช้ือชัว่ นะ่ พ่อหมายถึงอะไรครับ ?” “หมายถงึ บารมี และอาสวะ” “อะไรคือบารม ี อะไรคอื อาสวะ” “บารมี คือกรรมดีที่คนทำ� ไว้ สะสมไว้ มันเป็นเชื้ออยู่ในจิตใจ อาสวะ คอื กเิ ลส หรอื กรรมชวั่ ทคี่ นทำ� ไวส้ ะสมไว ้ มนั เปน็ เชอ้ื อยใู่ นจติ ใจ เชน่ กนั คนมเี ชอ้ื ชวั่ -ชวั่ ไดง้ า่ ย ดยี าก คนมเี ชอื้ ด-ี ดงี า่ ย ชวั่ ยาก ลกู เคย
ต อ น ีท่ ๑ ๐ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 90 รู้เคยเห็นมิใช่หรือ คนท�ำน้�ำตาลเมา ถ้าในกระบอกนำ้� ตาล มีเชื้อเมา อยแู่ ลว้ นำ�้ ตาลกเ็ มาเรว็ ถา้ ไมม่ เี ชอื้ เมาอยกู่ เ็ มาชา้ คนไมม่ นี สิ ยั ทางชว่ั นั้น ช่ัวยากมาก แต่ถ้ามีนิสัยอยู่แล้ว กระทบอะไรนิดอะไรหน่อยก็ชั่ว ได้ทันใจนัก ท�ำนองเดียวกับคนมีนิสัยทางดี ย่อมดีได้เร็วทันอกทันใจ เหมือนกัน เหมือนต้นไม้ท่ีเมล็ดพืชสมบูรณ์ได้ปุ๋ยดี เจริญงอกงาม ได้เร็ว “เพราะฉะนั้น ไม่ควรประมาทยินยอมให้เช้ือช่ัวมันตกหล่นอยู ่ ในสันดานด้วยเห็นว่าเล็กน้อยเพราะมันเจริญเติบโตได้แพร่ได้เหมือน เชอื้ โรค และทำ� นองเดยี วกนั อยา่ ดหู มนิ่ เมลด็ พชื แหง่ กรรมดวี า่ เลก็ นอ้ ย แลว้ เพกิ เฉยเสยี ทางทถ่ี กู กรรมดแี มเ้ พยี งเลก็ นอ้ ยกค็ อ่ ยสะสม มนั จะ กลายเป็นเช้ือดีอยู่ในจิตใจ เม่ือได้โอกาสอันเหมาะสมก็จะแพร่หลาย เจริญเติบโตต่อไปจนถงึ ทสี่ ุด” ค�ำพูดของพ่อท�ำให้ผมนึกถึงคนที่รับการศึกษาดีบางคน แต่ไม่ เป็นคนดี ท�ำไมจึงเป็นอย่างน้ัน ? บางคนมีการศึกษาไม่มาก แต่เป็น คนดีเหลือเกิน น่าเคารพกราบไหว้ ผมถามพ่ออีกว่าการศึกษามีส่วน ช่วยให้คนดีข้นึ มากน้อยเพียงใด ? พ่อตอบวา่ “กม็ ีสว่ นชว่ ยบ้างเหมอื นกนั ถ้ามะม่วงมันไม่เน่า” พอ่ ตอบ “พอ่ หมายความวา่ อยา่ งไรครบั ?” “หมายความวา่ มะมว่ งดองถา้ มะมว่ งมนั เนา่ เสยี แลว้ จะดองดว้ ย นำ�้ เกลอื ราคาเทา่ ไร มนั กไ็ มเ่ ปน็ รสอยนู่ นั่ เอง ทำ� นองเดยี วกนั คนเรา ถงึ ศกึ ษาเลา่ เรยี นมาเทา่ ไร ถา้ นสิ ยั เสยี ใจไมม่ ธี รรมเสยี แลว้ กเ็ หมอื น มะม่วงเน่า เปรียบอีกทีหน่ึง ดินจะดีมีปุ๋ยสมบูรณ์เท่าไร แต่เมล็ดพืช มนั เสยี เสียแล้ว ก็คงไมไ่ ดเ้ ร่อื งเช่นกัน “คนใจไม่มีศีลมีธรรม ยิ่งเล่าเรียนมาก ต�ำแหน่งสูงมากก็ย่ิง เปน็ ภยั แกส่ งั คมมากขนึ้ เปรยี บเหมอื นลงิ ยงิ่ ขนึ้ ตน้ ไมส้ งู ยงิ่ แสดงความ
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 91 เป็นลงิ มากข้นึ เพราะมนั ไม่กลวั คนเตะมนั ” “ถ้าอย่างน้ัน เราใหค้ นเรียนกันทำ� ไมพอ่ ? รฐั บาลลงทนุ ปหี นง่ึ เปน็ รอ้ ยเปน็ พนั ลา้ นเพอื่ การศกึ ษาของชาตกิ ด็ ว้ ยหวงั วา่ ‘โดยการศกึ ษาน ้ี คนจะดขี น้ึ ’ พ่อแมพ่ ยายามอาบเหงอื่ ต่างนำ�้ หาเงนิ ทองมาเพื่อส่งเสยี ให้ลูกเรียน ถ้าการเรียนไม่ทำ� ให้คนดีได้ หรือเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได ้ กจ็ ะเรยี นมันทำ� ไม สบายดีเสยี อกี ” “ลกู ตอ้ งทราบเสยี กอ่ นวา่ คนบางพวกไดศ้ กึ ษาเลา่ เรยี นจงึ จะดี ได ้ บางพวกไดศ้ กึ ษาหรอื ไมไ่ ดศ้ กึ ษากด็ ไี มไ่ ด ้ ทเ่ี ราพยายามใหก้ ารศกึ ษา กเ็ พอื่ บคุ คลประเภทแรก คนประเภทสี่ องจงึ พลอยไดศ้ กึ ษาไปดว้ ย เรา ต้องการดองมะมว่ งท่ยี ังไมเ่ น่าเท่านนั้ ” “อนง่ึ เขม็ แหง่ การศกึ ษาสว่ นใหญ ่ มงุ่ ไปทางประกอบอาชพี เปน็ หลัก มิได้มุ่งไปเพ่ือความเป็นคนดี บางคนก็เลือกอาชีพท่ีพอจะมีทาง โกงได้เสียด้วย เขาคิดจะโกงกันตั้งแต่พอจะเริ่มเข้าเรียน เมื่อสำ� เร็จ ออกมา จึงโกงทันทเี มอ่ื มโี อกาส” “เมื่อเข็มการศึกษาเป็นอย่างนี้ การท่ีคนจะดีหรือไม่ จึงเป็น เรอื่ งสว่ นบคุ คลไป ใครทำ� ผดิ คอ่ ยลงโทษกนั ภายหลงั การศกึ ษาจงึ ชว่ ย คนใหด้ ไี ดเ้ ฉพาะบางคน ไมท่ กุ คนไป เพราะจดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษา เท่าที่กระท�ำกันอยู่ ก็เพื่อให้คนมีความรู้ออกไปประกอบอาชีพได้เป็น หลัก มใิ ช่ม่งุ ความเป็นคนดเี ปน็ หลกั ” “ผมว่าของเขาถูกนะพ่อ” ผมพูด “คนที่มีอาชีพเป็นหลักฐาน มกี นิ มใี ช ้ ไมต่ อ้ งล�ำบากเรอื่ งการครองชพี แลว้ ยอ่ มประพฤตดิ ไี ดง้ า่ ย ความเป็นคนดยี อ่ มตามมาเอง เรื่องอาชีพและการเงนิ เปน็ เรอ่ื งสำ� คญั ของเรา คนยากจนไม่มีอะไรกิน ถึงไม่อยากประพฤติช่ัวบางอย่างก ็ ตอ้ งประพฤตเิ พอ่ื เอาตวั รอดไวก้ อ่ น เพอื่ ปากและทอ้ งของตวั เมอื่ ทอ้ ง หวิ อย ู่ ใครจะไปนง่ั นกึ ถงึ ศลี ธรรม คนทอ้ งอม่ิ ตา่ งหากทพ่ี ดู ถงึ ศลี ธรรม
ต อ น ีท่ ๑ ๐ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 92 ประพฤตติ ามศีลธรรมได้สะดวก” “พอ่ นแี่ หละลกู จะนกึ ถงึ ศลี ธรรม ทง้ั ๆ ทท่ี อ้ งพอ่ หวิ อย ู่ พอ่ จะ ยอมให้หิวจนไส้ขาดไปก็ได้ แต่การท่ีจะไปฉ้อโกงเขามากินน้ันพ่อทำ� ไมไ่ ด ้ พอ่ จะยอมตาย, อยา่ วา่ แตฉ่ อ้ โกงเลยลกู เอย๋ แมแ้ ตจ่ ะไปขอใคร กินพ่อก็จะไม่ยอม พ่อจะยอมอดตาย พ่อจะยอมสละชีวิตเพ่ือธรรม แทนการสละธรรมเพอ่ื ความอยรู่ อด หรอื เพอื่ ชวี ติ อนั เปน็ ของสาธารณ ์ เมอื่ ปราศจากธรรมเสยี แล้ว ชีวิตกเ็ ปน็ ของต�่ำทราม แม้จะสงา่ ผ่าเผย อยทู่ า่ มกลางมนษุ ย ์ แตก่ ถ็ กู เทวดาผมู้ ธี รรมต�ำหน ิ เหมอื นมนษุ ยต์ �ำหน ิ เสอื วา่ เปน็ สตั วโ์ หดรา้ ยขาดความปรานี “การคดิ เอาชวี ติ รอด โดยไมค่ ำ� นงึ ถงึ ความดชี ว่ั ถกู ผดิ นน้ั เปน็ สญั ชาตญาณตำ�่ ๆ ทม่ี อี ยแู่ กส่ ตั วผ์ มู้ ไิ ดอ้ บรมจติ ใจทวั่ ไป ตลอดลงไปถงึ ป ู ปลา กงุ้ หอย หากมนษุ ยค์ นใดมคี วามคดิ เพยี งเพอ่ื เอาตวั รอดโดย มิได้ค�ำนึงถึงศีลธรรมและความถูกต้องแล้ว มนุษย์นั้นจะประเสริฐ ไปกวา่ สตั วท์ ่ัวไป เช่น ป ู ปลา กุง้ หอย ได้อย่างไร “เรอ่ื งทฤษฎที ว่ี า่ ‘เมอ่ื ทอ้ งอม่ิ แลว้ ศลี ธรรมจะมเี อง’ นนั้ ไมเ่ ปน็ จริงเลย ลูกลองคิดดูว่า คนท่ีคอรัปช่ันฉ้อราษฎร์บังหลวงอยู่ทุกวันน้ ี เปน็ คนทอ้ งอม่ิ หรอื ทอ้ งหวิ กนั แน ่ พอ่ วา่ เปน็ คนทอ้ งอมิ่ แต ่ ‘ใจหวิ ’ ตา่ ง หาก แมโ้ จรผรู้ า้ ยในชนบทกม็ ใิ ชเ่ ปน็ โจรเพราะไมม่ อี ะไรจะกนิ แตเ่ ปน็ โจรเพราะสันดานมันเสีย หรืออย่างน้อยก็เพราะผีการพนันมันเข้าสิง ก่อน หมดตัวเป็นหนี้เป็นสินเข้า จึงใช้วิธีหาเงินด้วยการจี้ปล้น ฆ่าคน ชิงทรัพย์ ขโมยวัวควาย ปิดป้าย ขู่เรียกค่าไถ่ต่างๆ จนเดือดร้อนกัน ทวั่ ไปหมด ลกู ลองคิดดใู หด้ ี มันท้องหวิ หรอื ใจหิวกนั แน”่ “ในระบบการศกึ ษา วฒั นธรรมใหม ่ อารยธรรมใหมอ่ นั เอยี งเท ไปทางวตั ถุนิยมจัดอย่างเช่นทเี่ ป็นอยูน่ ้ี มีวันแต่จะท�ำให้จิตใจคนเสือ่ ม ทรามลง ใครจะเป็นคนรับผิดชอบต่อสังคม ในเมื่อคนเป็นอันมาก
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 93 ภาวนาอยแู่ ตค่ าถา ‘ร้รู ักษาตวั รอดเปน็ ยอดด’ี อยเู่ ช่นนี”้ “พอ่ ไดต้ ำ� หนผิ มแตต่ น้ วา่ ไมเ่ ลอ่ื มใสสนุ ทรภ ู่ ปราชญท์ างกวขี อง ไทย แตก่ ลอนรรู้ กั ษาตวั รอดเปน็ ยอดดนี นั้ ผมจำ� ไดว้ า่ เปน็ ของสนุ ทรภ่ ู ในเรอื่ งพระอภยั มณ ี ตอน ฤๅษหี รอื โยคขี ร่ี งุ้ พงุ่ ออกมา มาชว่ ยสดุ สาคร ตอนชีเปลือยผลักลงเหว แล้วเอาข้ึนไปบนบรรพต แล้วสอนสุดสาคร เสยี มากมาย เชน่ ไมใ่ หไ้ วใ้ จมนษุ ยเ์ พราะคดเคย้ี วยงิ่ กวา่ เถาวลั ย ์ และ วา่ ถา้ ใครรักใหร้ ักตอบ ใครชงั ให้ชังตอบ แล้วลงทา้ ยว่า ‘รสู้ งิ่ ใดไมส่ รู้ วู้ ชิ า รรู้ กั ษาตวั รอดเปน็ ยอดด’ี แตม่ าตอนนที้ ำ� ไม พอ่ จึงพูดเป็นท�ำนองต�ำหนิกลอนของสนุ ทรภ”ู่ พ่อผมน่ิง “ผมวา่ กลอนของสนุ ทรภตู่ รงนค้ี มคายด ี และตรงตามคตโิ ลก” “ว่าต่อไป” พอ่ พูด ย้มิ อยา่ งพอใจในคำ� แย้งของผม “ผมว่าคนเราจะมีวิชาความรู้ มียศฐาบรรดาศักด์ิอย่างไร ถ้า เอาตวั ไมร่ อดเสยี แลว้ ใครจะนบั ถอื ตอ้ งเอาตวั รอดกอ่ น เรอ่ื งอนื่ คอ่ ย พดู กนั ทหี ลงั , สาเหตหุ นงึ่ ทผ่ี มไมค่ อ่ ยเลอ่ื มใสกลอนของสนุ ทรภ ู่ กค็ อื ตัวสุนทรภู่เองเอาตัวไม่รอด เขียนกลอนสอนคนอื่นได้ท่ัวบ้านทั่วเมือง พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าฯ ไม่ทรงเลื่อมใสต�ำราเศรษฐศาสตร์ ของอาดัม สมิธ ก็ดว้ ยเหตุเดยี วกนั คือตรัสวา่ ตวั อาดัม สมิธ เองก ็ ไมไ่ ดร้ �่ำรวย” พ่อผมน่ิงอยู่นาน บอกให้ผมพูดต่อไป แต่เม่ือผมบอกว่าไม่ม ี อะไรพูดแล้ว พ่อจึงพดู วา่ “ลกู คิดวา่ สุนทรภ่เู ช่ือจรงิ ๆ หรอื วา่ ‘โยคขี ่รี ุ้ง’ ออกมาได”้
ต อ น ีท่ ๑ ๑ ๑๑ต อ น ที่ “เปน็ ไปไมไ่ ด้นพี่ ่อ ทโ่ี ยคจี ะขี่รุ้งออกมาได”้ ผมตอบ “แลว้ ลกู เชื่อไหมว่า สุนทรภ่กู ็ร้เู หมอื นกนั วา่ โยคีขี่รุ้งไมไ่ ด้ ?” “แนน่ อนครับ, สุนทรภูต่ ้องรูแ้ น่ๆ” “แปลว่า สุนทรภไู่ มไ่ ด้เช่อื วา่ โยคีขร่ี งุ้ ไดอ้ ย่างน้นั ใชไ่ หม ?” “ใชค่ รบั พอ่ ” “แล้วทำ� ไม สนุ ทรภูจ่ ึงเขยี นออกมาไดล้ ่ะ ?” “กเ็ ปน็ เพยี งนยิ ายนคี่ รบั พอ่ จะใหข้ ร่ี งุ้ ขพี่ ระอาทติ ย ์ พระจนั ทร ์ ก็ได้ทั้งนั้น ดูแต่เรื่องรามเกียรต์ิซิครับ ทศกัณฐ์ถอดดวงใจฝากฤๅษ ี โคบุตรไว้ก็ได้ ไม่ตาย แล้วแต่คนเขียนต่างหาก เรื่องอื่นๆ อีกแยะท ่ี เปน็ ไปไมไ่ ด้ แต่ก็สนกุ ดี” “ดี, ลูกเห็นเป็นเรื่องสนุกเสียได้ก็ดี จะได้ไม่คิดฟุ้งซ่านเหมือน คนหวั สมยั ใหมบ่ างคนทเี่ ปน็ เนคกะตฟี ดแี ตป่ ฏเิ สธนน่ั ปฏเิ สธนตี่ ะบนั ไป แต่สรา้ งอะไรไม่เปน็ ”
“พ่อรู้ภาษาฝร่ังเหมือนกันหรือครับพ่อ ?” ผมถามอย่างต่ืนเต้น คยุ กนั มา ไม่เคยได้ยนิ พอ่ พดู ค�ำฝรั่งสกั ทีเลย “เปล่า” พ่อรีบปฏิเสธ, “พ่อได้ยินพระท่านพูด แล้วจำ� เอามา ตา่ งหากละ่ ” “ตกลงเรอ่ื งกลอนสนุ ทรภ ู่ ตอนรรู้ กั ษาตวั รอดเปน็ ยอดดนี ะ่ ตกลง อยา่ งไรครบั พ่อ ? ถกู หรือผดิ กันแน ่ ?” “มนั แลว้ แตว่ ธิ รี กั ษาตา่ งหากละ่ ถา้ รกั ษาตวั รอดโดยไมเ่ บยี ดเบยี น ใคร ไม่ท�ำให้ใครเดือดร้อน ไม่เอาดีใส่ตัว เอาช่ัวใส่คนอ่ืน ก็ไม่เห็น เป็นไร การรักษาตัวรอดที่น่ารังเกียจก็คือ การเอาตัวรอดโดยวิธีช่ัว
ต อ น ีท่ ๑ ๑ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 96 เช่นโยนบาปให้คนอื่น หรืออยู่ในหมู่คณะ เม่ือภัยพิบัติเกิดขึ้นแก่คณะ ก็ไม่คิดหาทางช่วยเหลือ ปล่อยให้หมู่คณะต้องระส่�ำระสายเดือดร้อน เอาแต่ตัวรอดอย่างเดียว หรอื คนท่ีสร้างความร่ำ� รวยจากความยากจน ของผอู้ น่ื ใครจะเดอื ดรอ้ นอยา่ งไรชา่ งเขา ตวั ตอ้ งมง่ั คง่ั และมคี วามสขุ อย่างนี้แหละเป็นการเอาตัวรอดอย่างน่ารังเกียจ เป็นคนอัปรีย์ คน อยา่ งนสี้ กั วันหน่ึงจะปรากฏดว้ ยกรรมของตน “เปรียบไป ก็เหมือนเมื่อไฟก�ำลังไหม้โคนไม้ คนหน่ึงคิดว่าตัว ฉลาด รีบปีนขึ้นไปอยู่เสียบนปลายไม้ ไม่ช่วยดับไฟ ไฟมันไหม้จน รากไม้และโคนไมแ้ ห้งเกรยี ม และล้มลง คนบนยอดไมก้ ็รอดไปไมไ่ ด ้ ตอ้ งลม้ ฟาดลงมาด้วยอยา่ งแน่นอน ฉันใด “คนเราทกุ คนตอ้ งอาศยั สงั คมอย ู่ เราทำ� เองผลติ เองไมไ่ ดท้ กุ อยา่ ง หน้าท่ีประการหน่ึงของคนเราก็คือ การพิทักษ์สังคม มีภัยพิบัติอะไร เกดิ ขนึ้ แกส่ งั คมตอ้ งชว่ ยกนั ขจดั ปดั เปา่ และชว่ ยบำ� รงุ รกั ษาสงั คมใหอ้ ย่ ู ในสภาพเรยี บรอ้ ย หากไมส่ ามารถเชน่ นน้ั กไ็ มค่ วรกอ่ ความเดอื ดรอ้ น แก่สังคม เช่น การทุจริตคดโกง การเบียนเบียน ประหัตประหารซึ่ง กนั และกนั ความเกยี จครา้ น ไมท่ ำ� มาหากนิ ไมท่ ำ� หนา้ ทใ่ี หส้ มกบั เปน็ สมาชกิ ของสงั คม เปน็ ตน้ ไปพกั บา้ นใคร เมอ่ื ไมช่ ว่ ยเขาทำ� ความสะอาด ก็ไม่ควรท�ำสกปรก ทางที่ถูกต้องช่วยเขาท�ำความสะอาด นอกจาก เจ้าของบ้านจะขอร้องไมใ่ หท้ ำ� ก็ชว่ ยเขาบ้างในทางอน่ื ตอ่ ไป “พ่อเชื่อว่า สุนทรภู่คงไม่เจตนาสอนให้เด็กเอาตัวรอดในทาง ผดิ ๆ แมใ้ นเรอ่ื งพระอภยั มณ ี ตอนทโ่ี ยคใี หโ้ อวาทสงั่ สอนสดุ สาคร เรอื่ ง ใหร้ กั ษาตวั รอด กเ็ พราะสดุ สาครถกู ผลกั ลงเหวแลว้ โดยเลห่ ล์ นิ้ ลมลวง ของชีเปลือย ท่ีพ่อเกลียดชังคนรักษาตัวรอด ก็หมายถึงคนที่เอาดีใส ่ ตวั เอง เอาชวั่ ใสค่ นอนื่ เอาตวั รอดโดยการใหโ้ ทษใหท้ กุ ขแ์ กผ่ อู้ น่ื หรอื ไม่มีน�้ำใจเสียสละบ้างเลย เห็นแก่ตัวฝ่ายเดียว ในทางประวัติศาสตร์
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 97 คนทเ่ี อาตวั รอดโดยการขายชาตนิ นั้ ไมเ่ คยรอดจรงิ สกั รายเดยี ว ตา่ งชาต ิ เขารู้เหมือนกันว่าคนอย่างน้ันเล้ียงไม่ได้ ขืนเลี้ยงเข้าจะต้องขายชาต ิ ของเขาอีก เมือ่ เสร็จธรุ ะของเขาแลว้ เขาจงึ มักทำ� ลายเสีย “พ่อเองได้ยินได้ฟังเร่ืองเก่ียวกับความเสียสละ ความกตัญญู เปน็ ตน้ แลว้ ใหป้ ตี ปิ ราโมช แมไ้ มใ่ ชเ่ รอ่ื งคนจรงิ เปน็ เพยี งนยิ าย นทิ าน อะไรกย็ งั เอบิ อม่ิ ใจ พอ่ จะเลา่ ใหฟ้ งั สักเรอ่ื งหนง่ึ สั้นๆ อยากฟงั ไหม ?” “ดีครบั พ่อ” ผมรับ “ลกู คงเคยไดย้ นิ คำ� วา่ สารนาถ ซงึ่ นกั ภาษาศาสตรล์ งความเหน็ กนั วา่ เพย้ี นมาจากคำ� วา่ สารงั คนาถ แปลวา่ เปน็ ทพ่ี ง่ึ ของสารงั คะ คอื กวาง นี่คือสถานท่ีแสดงปฐมเทศนาของพระพุทธเจ้าสมัยนั้น เรียก อิสิปตนะ มิคทายะ ค�ำว่า ‘มิคทายะ’ นั้นแปลว่าป่าเนื้อ นักศึกษา ในเมอื งไทยมกั แปลโอบความ ตามประวตั วิ า่ ปา่ เปน็ ทพี่ ระราชทานอภยั แก่เนื้อ คือหมู่เนื้อท่ีอยู่ในเขตนั้นจะไม่มีใครท�ำอันตราย มีเร่ืองตาม ชาดกวา่ “มีอยู่สมัยหน่ึง เม่ือพระพุทธเจ้าเสวยพระชาติเป็นกวาง และ เปน็ นายฝงู สมยั นนั้ พระเจา้ กรงุ พาราณสที รงโปรดการลา่ สตั ว ์ เปน็ เหตุ ให้สัตว์ ณ ป่านั้นล้มตายลงเป็นจ�ำนวนมาก และก่อความล�ำบากแก ่ หมกู่ วางทว่ั หนา้ ” “กวางโพธสิ ตั วจ์ งึ ทลู พระราชาวา่ อยา่ ตอ้ งทรงลำ� บากในการลา่ เลย พวกตนจะผลดั เปลย่ี นกนั มาใหล้ า่ วนั ละตวั และกไ็ ดท้ ำ� ดงั นนั้ เสมอ มา” “จนกระท่ังถึงวาระของกวางตัวเมียท้องแก่ตัวหนึ่ง แม่กวางได้ ขอร้องหัวหน้าฝูงว่า ถ้าตนจะต้องถูกฆ่าตอนนี้ ลูกในท้องก็จะได้รับ อนั ตรายดว้ ย จงึ ใครข่ อผลดั ไป ใหค้ ลอดลกู เสยี กอ่ น ขอใหก้ วางตวั อนื่ ชว่ ยรบั ภาระอนั นไ้ี ปกอ่ น เมอ่ื คลอดลกู แลว้ วนั ใด จะเดนิ ไปใหพ้ ระราชา ล่าทันที”
ต อ น ีท่ ๑ ๑ พ่ อ ผ ม เ ป็ น ม ห า 98 “กวางโพธสิ ตั ว ์ เหน็ นำ้� ใจของแมก่ วางประเสรฐิ นกั จงึ รบั อาสา ไปตายแทน พระราชาถามหัวหน้ากวางว่า กวางอ่ืนๆ หมดแล้วหรือ จงึ ต้องมาเอง กวางโพธิสตั วจ์ ึงทูลเรอื่ งท้งั ปวงใหพ้ ระราชาทรงทราบ “พระราชาทรงสงั เวชสลดพระทยั และทรงปราโมชในการกระทำ� ของแมก่ วางและหวั หนา้ กวาง ทรงเหน็ นำ�้ ใจอนั ประเสรฐิ ประกอบดว้ ย ความเสยี สละมอี ยแู่ มใ้ นหมสู่ ตั ว ์ จงึ ทรงประกาศพระราชทานอภยั ชวี ติ แก่หมู่เน้ือท้ังมวลที่อาศัยอยู่ในป่าน้ัน ป่านี้แหละคือสารังคนาถหรือ สารนาถ “ลูกจะเห็นว่า ไม่ว่าในหมู่สัตว์หรือในหมู่คน ถ้าได้หัวหน้าที่ ประกอบด้วยความเสียสละแล้ว หมู่ย่อมเจริญและถึงซ่ึงความสวัสดี ทุกแห่งไป กวางหัวหน้าฝูงไม่ยอมรักษาตัวรอด แต่ตรงข้าม ยอมรับ เคราะหแ์ ทนแมก่ วาง จะมหี วั หนา้ สกั กคี่ นในโลกอนั กวา้ งใหญน่ ี้ ทย่ี อม รับเคราะห์กรรมแทนลูกน้อง จะมีนักการเมืองสักก่ีคนที่ยอมตายกับ ผืนแผ่นดินท่ีตนเคยมีอ�ำนาจ ในเม่ือความปราชัยมาถึงตัวส่วนมาก เห็นหนี เตรียมหนี ฝากเงินทองไว้ต่างประเทศ เพ่ือจะได้หนีไปสุข ส�ำราญต่อไปเม่ือคราวคับขัน ไม่ใจนักเลงจริง พูดแต่ปากว่ารักชาต ิ และประชาชน เอาจรงิ เขา้ กห็ น ี ปลอ่ ยใหป้ ระชาชนตอ้ งตอ่ สดู้ น้ิ รนกบั อ�ำนาจแห่งอธรรมต่างๆ สู้กับความอดอยากแร้นแค้น โรคภัยไข้เจ็บ เม่ือครองอ�ำนาจอยู่ก็สร้างความม่ังคั่งร่�ำรวยให้แก่ตนและพวกพ้อง ความม่ังคั่งอันนั้น กม็ าจากหยาดเหง่ือแรงงานของประชาชน แต่พอ ภยั มาถงึ ชาตแิ ละประชาชนหรอื มาถงึ ตวั เขา้ กลบั หนเี อาตวั รอดทง้ิ ชาต ิ ลืมประชาชน แน่จริงอยู่เป็นคนสุดท้ายซิ พูดออกมาอย่างอาจหาญซ ิ วา่ ขอใหป้ ระชาชนหนใี หห้ มดเสยี กอ่ น แลว้ ขา้ พเจา้ จะหนเี ปน็ คนสดุ ทา้ ย นอี่ ะไรได ้ หนเี อาตวั รอดกอ่ นแทบทกุ รายไป ประชาชนจะเปน็ อยา่ งไร ชา่ งมัน
อ . ว ศิ น อิ น ท ส ร ะ 99 “ถา้ โจรเขา้ ปลน้ วดั สมภารยกบรขิ ารหน ี ปลอ่ ยใหล้ กู วดั ตอ่ สจู้ น ชนะโจรแล้ว สมภารนั้นกลับมาครองวัดอีก ถ้าลูกเป็นพระลูกวัด ลูก จะยอมใหส้ มภารอย่างนนั้ ครองวัดอยูต่ ่อไปหรอื ขีข้ ลาด เหน็ แกต่ ัว” “พอ่ พดู อะไรครับ ?” ผมถาม พ่อผมท�ำท่าเหมอื นเพิง่ รสู้ กึ ตัว ยม้ิ ออกมาหน่อยหนงึ่ “เออ, ไมร่ ้เู หมือนกัน ทำ� ไมมนั จึงเถลไถลมาทางนไ้ี ด”้ “ผมฟงั แล้วเหมือนไมใ่ ช่พ่อพดู ” “แล้วเหมอื นใคร ?” “ไมท่ ราบครบั แต่ไม่ใช่พอ่ ” พอ่ หวั เราะชอบใจ มบี างครงั้ เหมอื นกนั ทพ่ี อ่ มอี ารมณร์ นุ แรงเกย่ี วกบั เรอื่ งการบา้ น การเมอื ง ระบอบการปกครองทมี่ แี ตเ่ รอ่ื งขฉ้ี อ้ ตอแหล หาความซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ ไดย้ าก แตไ่ มน่ านนกั อารมณน์ น้ั กส็ งบลง แลว้ พอ่ กเ็ ปน็ คนเยอื ก เยน็ ต่อไปอย่างเดิม ไม่มีใครเข้าใจพ่อผมดีเท่าแม่ผม ครอบครัวอย่างนี้เป็นพื้นฐาน อันดีย่ิงสำ� หรับผมและน้องวีรดีต่อไปภายหน้า ครอบครัวท่ีไม่ระหอง ระแหงกนั มแี ตค่ วามเขา้ ใจอนั ดตี อ่ กนั ถงึ ครอบครวั ของผมจะไมห่ รหู รา ฟู่ฟ่า แต่ผมแน่ใจว่าครอบครัวของผมมีความสุขสงบดี ผมได้เคยอ่าน จดหมายเก่าๆ ท่ีเพ่ือนๆ ของพ่อและของแม่เขียนมา สมัยพ่อและแม ่ แต่งงานใหม่ๆ จดหมายเหล่านั้นล้วนแสดงความหวังว่าชีวิตคู่ของพ่อ และแมจ่ ะตอ้ งเปน็ ไปโดยราบร่นื และมคี วามสขุ ครอบครวั หนึ่งในโลก ท่านเหลา่ นั้นไม่ผดิ หวังเลย ความยากจนน้ันเป็นส่ิงท่ีพอแก้ไขได้ ถ้าคนในครอบครัวเข้าใจ กนั ดี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 458
Pages: