Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังใหญ่

Description: หนังใหญ่

Search

Read the Text Version

ก หนงั ใหญ่ [NANG YAI] คมสันต์ สุทนต์ โครงการวจิ ัยนไี้ ดร้ บั ทุนสนบั สนุนจาก กรมสง่ เสริมวัฒนธรรม

ข บทคัดย่อ หนังใหญ่เป็นศิลปการแสดงยิง่ ใหญอ่ ลังการของไทย ประเภทห่นุ แสงเงาโดยสว่ นใหญ่ใช้หนังวัว ขนาด เกอื บ ๒ เมตร จานวนหลายรอ้ ยแผน่ วาดลวดลายแต้มสีสลักอย่า งวจิ ิตรเมอ่ื ยามสอ่ งไฟแสงเงาทาบทบั จอ โดย หนงั ใหญเ่ ป็นมหรสพหลวง ในราชูปถมั ปแ์ ละเปน็ เครอ่ื งราชูปโภคของพระมหากษตั รยิ ์ ปรากฏหลกั ฐานสบื มา แตค่ รัง้ ตน้ สมัยอยุธยา มีขนบความเชอ่ื ผีพราหมณ์พทุ ธ ภมู ปิ ๎ญญาวถิ ไี ทยสอดแทรกอยมู่ ากมาย อาทิ เปน็ มหรสพท่ีแสดงลาดับแรกก่อนโขนละคร ผูช้ ายเปน็ ผูแ้ สดง และมีพธิ เี บกิ หน้าพระ เปน็ ต้น หนงั ใหญ่ไดร้ วมศิลปะหลายแขนงไว้ด้วยกันอยา่ งลงตัวได้แก่ นาฏศลิ ปและดนตรีคอื การเชดิ ดนตรีป่ี พาทย์ บทเพลงประกอบการแสดง การพากย์เจรจา จิตรกรรมและปฏิมากรรม คอื การวาดลวดลายสลักตัว หนัง วรรณกรรมคือการประพนั ธฉ์ ันทลักษณเ์ รื่องรามเกยี รติ์ และสถาปัตยกรรม คือการสรา้ งจอหนังบงั เพลิง การแสดงหนังใหญม่ ีจดุ มงุ่ หมายเปน็ การละเล่นเพอ่ื ยอยศพระเจ้าแผน่ ดนิ ทีเ่ ปน็ สมมตุ เิ ทพดจุ นารายณอ์ วตาร ตามความเช่อื ในลัทธพิ ราหมณ์ เป็นส่ือทรงพลังท่ีครองใจใหค้ วามสขุ ระหว่างราชสานักกับประชาราษฎร์ พร้อมแทรกหลกั ตาราพชิ ัยสงคราม เม่อื หนังใหญถ่ า่ ยเทมาส่ชู ุมชนบ้าน วดั ไดเ้ สริมให้เปน็ อปุ รากรสอนหลัก พุทธธรรม ควบขนานไปกบั ความบนั เทิง ผลการสารวจขอ้ มลู ศิลปการแสดงหนงั ใหญใ่ นชมุ ชน ๙ จงั หวดั ของประเทศไทยประกอบดว้ ย ราชบรุ ี ระยอง สิงห์บรุ ี กรงุ เทพมหานคร อยธุ ยา ลพ บุรี อา่ งทอง สมุทรสงคราม และเพชรบุรี ในชว่ งสมยั รัตนโกสินทรพ์ บว่า มคี ณะหนังใหญต่ งั้ อยูใ่ นชมุ ชนจานวนไม่นอ้ ยกว่า ๒๐ แหง่ ไดร้ บั สบื ทอดมาจากในราช สานักต้งั แตส่ มัยอยธุ ยาตอ่ เนอ่ื งมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ โดยมวี ัดเป็นศนู ยก์ ลางชมุ ชนและมเี จ้าอาวาสเปน็ เจ้าผู้ อุปภมั ปห์ รอื ก่อต้งั ซ่ึงหนงั ใหญ่ในชมุ ชนได้รับความนยิ มต้งั แต่สมยั รชั กาลท่ี ๕ จนถงึ สมัยรัชกาลที่ ๘ จึงยตุ ิลง และเร่มิ ฟืน้ ฟูการแสดงหนงั ใหญ่ อีกครัง้ ในปี พ.ศ.๒๕๑๘ ชว่ งสมัยรัชกาลที่ ๙

ค Abstract Nang Yai is a spectacular arts of Thailand. Type shadow puppet primarily Leather nearly ๒ meters, hundreds of sheets ornately carved paint color when light shines light shadow over the screen. The shadow is the entertainment capital In's Patronage of Brampton and a royal crown. Evidence dating to the time of the Ayutthaya period. A faith tradition Brahmin Buddhist ghost Wisdom Way of Thailand depictions such as theater showing first before pantomime theater. Men's Show The issue before the ceremony, and so on. Nang Yai has included various fields of art are together seamlessly. Dramatic Arts and gamelan music is dance music. Theme song for the drama Convection lies, as negotiations overs Painting and Sculpture Paint film is etched. Literature is the literary poetics Ramayana. and architecture The movie is creating a shield of fire. Nang Yai is an entertainment to celebrate the King. The imaginary gods like Vishnu incarnate. According to Hindu belief in pacifism A powerful media that dominate the pleasure. The court with Rama The main intervention strategy When puppets transplant community to measure teaching opera to be a Buddhist inn parallel with entertainment. As a Survey results of Nang Yai performances in the community of ๙ provinces of Thailand consists of Ratchaburi, Rayong, sing Buri, Ayutthaya Bangkok Lop Buri, ang thong, Samut songkhram and Phetchaburi. During the Rattanakosin period found that the puppets are located in the community of at least ๒๐ have been inherited from the royal court from the Ayutthaya period and continued in the Rattanakosin period. The temple is a community center and a pastor as a prince of Host sites or establishment. Nang Yai in the community have been popular since the reign of King Rama ๕ to ๘, so settle down and begin to restore the shadow again in ๒๕๑๘ during the reign of the ninth.

ง กิตตกิ รรมประกาศ โครงการรวบรวมและจดั เก็บมรดกภมู ิปญ๎ ญาทางวฒั นธรรม “หนังใหญ”่ สาเรจ็ ลุล่วงได้ดี ผวู้ ิจยั ขอบพระคณุ กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ผู้บริหารตลอดเจา้ หน้าท่ีทกุ ทา่ น คณะกรรการ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ อาทิ รศ.ณรงค์ชัย ปฎิ กรชั ต์ , ผศ.เรณู อรรฐาเมศร์ อ.กุลวดี เจรญิ ศรี อ.ชพู ินจิ เกษมณี รศ. ชชั ชัย โกมารทัต และอ.บญุ ชยั ทองเจริญบวั งาม เปน็ ต้น ทใี่ ห้ท้ังคาปรกึ ษาแนะนาพร้อมให้โอกาสยิง่ ใหญ่ และงบประมาณสนับสนนุ การจัดเก็บข้อมูลในคร้ังน้ี ขอกราบขอบพระคณุ ท่ีปรึกษาโครงการ ครวู ีระ มเี หมอื น ผ้เู มตตาใหค้ วามรู้เปิดโลกกวา้ งหนงั ใหญ่ และช่วยเหลือทุกกระบวนการอยา่ งมีเมตตาสงู ยง่ิ ขอบพระคณุ อาจารย์อานันท์ นาคคง , อาจารย์ชนะ กร่ากระ โทก, ครูน้อย-อภิเชษฐ์ เทพคีรี กราบขอบพระคุณ ศาสตราจารยส์ ุกัญญา สุจฉายา, อาจารยเ์ อนก นาวิกมูล, รศ.อมรา กลา่ เจริญ หมอ่ มหลวงวลั ยว์ ิภา จรญู โรจน์ บรุ ษุ รัตนพนั ธุ์, ครูกานนั สาราญ เกดิ ผล ศิลปนิ แห่งชาติ, ครูสงัด ใจพรหม, ครูสมพร เกตุแกว้ ,ครูอาไพ บุญรอด,พันเอก อานาจ พุกศรีสุข ขอบพระคณุ ผศ. ดร. อนุกลู โรจนสขุ สมบรู ณ์, อาจารยร์ ตั นพล ช่ืนคา้ , อาจารยพ์ ิชชาณฐั ตูจ้ ินดา ขอบพระคณุ ผู้ใหข้ อ้ มูล อาทิ ลุงกรุ่น นาควลี, ครูหมู-จฬรรณ์ ถาวรนกุ ูลพงศ์ , รศ.บญุ เสริม ภูส่ าลี, ลุงเปรม หาเรอื นชีพ, ครูพิศ ภูมิจติ รมนัส, ลงุ อีด๊ -รตต.วชั ระ พจนีย์, ครูวลั ลภ แสงอรณุ , ลงุ หนอม-ครูอาวุธ ศภุ นคร, ครูอานาจ มณีแสง, ครูเสถียร มณแี สง ขอบพระคุณผูค้ นในชมุ ชนหนงั ใหญ่อาทิ วดั ขนอน วัดคงคาราม ราชบุรี, วดั บ้านดอน ระยอง, วัดสว่าง อารมณ์ สิงหบ์ รุ ี, วดั บา้ นอฐิ อา่ งทอง, วดั สาราญ วัดตะเคียน วั ดโบสถ์ โกง่ ธนู ลพบุรี, วัดพระญาตกิ าราม วัด กษตั ราธิราชวรวิหาร, วดั ตะกู ครวู น เกิดผล อยธุ ยา , วัดพระเชตุพนฯ กรงุ เทพฯ, วัดบางนอ้ ย สมุทรสงคราม วดั พลบั พลาชัย เพชรบุรี และชมุ ชนออนไลน์ ชุมชนตามรอยหนงั ใหญ่ และชมุ ชนคนรักหนังใหญ่ ๙ แผน่ ดนิ เป็นตน้ กราบขอบพระคณุ คุณบิดามารดาครบู าอาจารย์, กัลยาณมติ ร ญาตพิ ี่นอ้ งครอบครวั ผู้มพี ระคณุ ที่ สนับสนุนช่วยเหลือเออื้ เฟ้ือทุกท่าน หากงานวิจัยหนงั ใหญน่ ี้มีสิ่งดีงามยงั ประโยชน์อนั ใด ผู้วิจัยขอมอบอทุ ิศให้พระวิญญาณและดวง วิญญาณของพระมหากษตั รยิ ์ พระราชวงศท์ ุกยคุ สมัย ครูเทพครมู นุษย์ พระครสู มภารครบู าอาจารย์ นายหนัง คนหนงั ทกุ ผู้ทกุ นาม ที่ไดส้ ืบสานการละเลน่ หนงั ใหญ่มาสูบ่ รรพชน

จ คานา หนงั ใหญ่ในประเทศไทยมีแค่ ๓ แห่งคือวัดขนอน ราชบรุ ี วัดบา้ นดอน ระยอง และวดั สว่างอารมณ์ สงิ หบ์ รุ ี เท่านั้นหรือ? จากความอยากรวู้ ่า หนังใหญ่ มหรสพหลวงที่ ยง่ิ ใหญ่ ในราชูปถมั ป์ ทถ่ี ่ายเทมาเป็นมหรสพราษฎร์ใ ต้ความดแู ลของสมภารเจา้ วัดในชมุ ชน มีอยทู่ ่ีไหนบา้ ง และงานวิจัยหนงั ใหญค่ ร้งั นี้ คือคาตอบ และเป็นจดุ เรมิ่ ต้นของการแสดงหาคุณค่าของมรดกภมู ปิ ญ๎ ญาทาง วฒั นธรรม ตลอดชีวติ ถึงแม้ว่างานวจิ ัยครงั้ น้ีจะรวบรวม ความเป็นมาของชมุ ชนหนังใหญใ่ นอดตี และป๎จจุบัน ไวไ้ ด้มากที่สุด เทา่ ที่เคยมีมาก็ตาม แตก่ ารเรยี นรู้ศึกษาหนงั ใหญ่ยังไม่สน้ิ สุด หากแตเ่ ป็นเพียงจดุ เริม่ ในการมองภาพกวา้ งของ หนงั ใหญ่ เปน็ หมดุ ป๎กแผนทีใ่ ห้ผ้สู นใจ รวมถงึ ผู้วิจยั เอง ได้แสวงหา ความรู้เชิงลึกในแต่ละชุมชนหนังใหญ่และ สารตั ถะองค์รวมที่มีคุณค่ามหาศาล เพ่อื ยงั ประโยชนใ์ นการเปน็ คลงั มรดกภูมปิ ๎ญญาทางวัฒนธรรม และคืน ความร้สู ู้ชุมชนอยา่ งเรง่ ดว่ น ทงั้ นี้ผ้วู จิ ยั ไดเ้ สนอแนะประเดน็ งานวิจยั หนังใหญ่จานวนหนึ่งเพอื่ เป็นแนวทาง และ พร้อมให้คาแนะนา หรอื ร่วมสนบั สนนุ ไม่มากกน็ ้อยตามกาลงั ความสามารถ เพอื่ ใหก้ ารแสดงหนงั ใหญ่รวมถึงศิลปการแสดงไทยทกุ แขนงในแต่ละชมุ ชน ยืนหยัดอยไู่ ดอ้ ยา่ งยืนยาว เท่าทัน และมีศกั ดศ์ิ รี การวิจัยครัง้ นจ้ี งึ เปน็ จุดสาคัญทีภ่ าครัฐคือ กรมส่งเสรมิ วฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม ได้ตระหนัก ถึงความสาคญั มอบโอกาสและทนุ สนบั สนนุ ให้ผู้วจิ ยั ได้ ส่งต่อความรูเ้ รื่องหนงั ใหญ่ทั้งหมดใหแ้ กส่ าธารณะชน คมสันต์ สุทนต์ ผ้วู จิ ัย

ฉ สารบญั บทคดั ย่อภาษาไทย หนา้ บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ ก กติ ติกรรมประกาศ ข คานา ค สารบัญ ง สารบัญตาราง จ-ฏ สารบญั แผนภูมิ ฐ สารบัญภาพ ฑ ฒ-ท บทที่ ๑ บทนาหนังใหญ่ 1 ๑.๑ หลักการและเหตุผล ประวตั คิ วามเปน็ มา นยิ ามของมรดกภมู ิปญ๎ ญา 1 หลกั การเหตุผล 3 ประวัตคิ วามเป็นมาหนังใหญ่ 8 ประวัตหิ นังใหญ่ในประเทศไทยและต่างประเทศ 20 นิยามของมรดกภูมปิ ญ๎ ญา 21 ๑.๒ วัตถปุ ระสงค์ และส่ิงทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 21 ๑.๓ ขอบเขตในการดาเนนิ โครงการ 22 ๑.๔ สถานภาพองคค์ วามรู้/งานวิจยั /ทฤษฎีทเี ก่ียวข้อง 28 แนวคิดหรือทฤษฎีทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 33 แนวคิดจากคาวา่ “เตียว” ในการแสดงหนงั ใหญ่ 34 เอกสารอ้างอิงการวิจัย 35 ๑.๕ คาถามในการดาเนินโครงการ 36 ๑.๖ ชุมชนทเ่ี ก่ยี วข้อง 40 ๑.๗ การกระจายตวั ของมรดกภมู ปิ ๎ญญาหนังใหญ่

ช 41 42 บทที่ ๒ ประวตั ิความเปน็ มาหนังใหญ่ 43 44 ข้อมลู พนื้ ฐาน สภาพทว่ั ไปทางสังคมและวัฒนธรรม 45  หนังใหญม่ หรสพหลวงในวงั เป็นราชปู โภค ราชปู ถัมปพ์ ระเจ้าแผน่ ดิน 45  หนงั ใหญอ่ ุปรากรสอนธรรม ท่ีสมภารวดั อุปถัมป์  47  ตัวละครหนังใหญ่ อปุ กรณส์ อนธรรมะ 48  หนงั ใหญ่ บ้านโตโ้ ผมหรสพ 50  หนงั ใหญ่ในวิถเี กษตร 50 ความรู้ของมรดกภูมปิ ๎ญญา 50 ๒.๑ ชื่อท่ปี รากฏในท้องถิน่ หรือชอ่ื เทียบเคียง 52 ๒.๒ ลกั ษณะการแสดง 54 ๒.๓ ประเภท 57 ๒.๔ พัฒนาการ 62 ๒.๕ ขนบ 64 ๒.๖ ความเชอ่ื 81 ๒.๗ ลาดบั ขนั้ ตอนการแสดง 83 ๒.๘ รูปแบบการจดั การแสดง 84 ๒.๙ ดนตรี บทเพลง บทละคร 91 ๒.๑๐ อุปกรณ์ เครอื่ งประกอบการแสดงหนงั ใหญ่ 93 ๒.๑๑ กระบวนการเชดิ และพากย์เจรจา 99 ๒.๑๒ การแบง่ ประเภทตวั หนงั ใหญ่ 101 ๒.๑๓ คุณค่า ๒.๑๔ การถา่ ยทอดและการสบื ทอดหนงั ใหญ่ 103 ๒.๑๕ ขอ้ มลู ของผูบ้ อกรายละเอยี ด 107 ๒.๑๖ ผเู้ กบ็ ข้อมลู และวันเวลาท่เี ก็บ บทท่ี ๓ เงื่อนไขภาวะ ป๎จจยั คกุ คามของหนังใหญ่ สภาพป๎จจุบนั ป๎จจยั คุกคาม

ซ บทท่ี ๔ การสงวนรักษาหนังใหญ่ 111 การดาเนินงานของผ้วู จิ ัยกบั ชมุ ชน 111 114 ๑. หนงั ใหญค่ นเพชร ตามรอยหนงั ใหญ่หมายเลข ๑ และ เสวนาครึกครน้ึ “ฟน้ื ชวี ิตหนงั ใหญ่ 116 ๒. สือ่ สังคมออนไลน์ เฟสบคุ๊ กลุ่ม ตามรอยหนังใหญ่ และ ชมุ ชนคนรักหนังใหญ่ ๙ แผน่ ดิน 119 ๓. วารสารเชิดสยาม 120 ๔. เทศกาลหุ่นโลก กรุงเทพฯ ๒๐๑๔ 120 ๕. พิพธิ ภณั ฑ์หนังใหญ่ ครูสงดั ใจพรหม จงั หวัดสมทุ รสงคราม 121 ๖. พิพิธภัณฑ์หนงั ใหญ่ ครวู ีระ มีเหมือน จังหวัดอา่ งทอง 125 ๗. สรุปกระบวนการมีส่วนรว่ มในชุมชน “หนงั ใหญ่” แบง่ เปน็ ๙ จงั หวัด แผนงานในการสงวนรกั ษา 125 ๑.มีการฟน้ื ฟูหนงั ใหญ่ ๙ แผน่ ดิน 126 ๒.รวมตัวตัง้ ชมุ ชนหนังใหญ่ 126 ๓.ผลติ สารคดีโทรทัศนแ์ ละภาพยนตร์สารคดี 127 ๔.กิจกรรมเสวนาตามรอยหนงั ใหญ่ ๙ แผ่นดนิ 128 ๕.สรา้ งสรรคเ์ ขยี น เรียบเรียง รวบรวมหนงั สือทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับหนังใหญ่ 128 ๖.ศกึ ษาเรอ่ื งของหนงั ใหญท่ ่นี ่าสนใจเชิงลึก บทท่ี ๕ ประวัติความเปน็ มาและการลงพืน้ ทส่ี ารวจ ชุมชนหนังใหญ่ ๙ จงั หวดั 130 134 หนังใหญว่ ัดขนอน ราชบรุ ี 140 หนงั ใหญ่วัดบา้ นดอน ระยอง 143 หนังใหญ่วัดสวา่ งอารมรณ์ สิงห์บรุ ี หนงั ใหญ่กรงุ เทพมหานคร

ฌ 143 143 ชุมชนหนงั ใหญแ่ ละส่ิงทีเ่ ก่ียวข้องกบั หนังใหญ่ ในกรงุ เทพมหานคร 148 ๑ หนงั ใหญ่วงั หลวง “กรมมหรสพสกู่ รมศลิ ปากร” 155 ๒ หนังใหญ่ ชดุ พระนครไหว 156 ๓ หนงั ใหญ่วังหน้า รัตนโกสนิ ทร์ 160 ๓ สลกั หนงั ใหญ่ รอบพระอุโบสถ วดั พระเชตพุ นฯ 161 ๔ หนังใหญ่มหาวิทยาลยั เกษมบัณฑิต ๕ หนังใหญเ่ ล่นทว่ี ัดอินทารามวรวิหาร 162 162 หนงั ใหญ่อยุธยา 163 ชุมชนหนังใหญ่ท่ปี รากฏหลกั ฐาน 167 170 ๑.หนงั ใหญ่วัดพระญาติการาม 172 ๒.หนงั ใหญว่ ดั กษัตราธิราชวรวิหาร 174 ๓.หนังใหญ่วดั ตะกู 174 ๔.หนังใหญค่ รวู น เกิดผล 175 ชุมชนหนงั ใหญท่ ย่ี งั รอการสืบคน้ 175 ๕.หนังใหญ่วดั โคกเสือ 175 ๖..หนังใหญ่บางประหัน (หนั สงั บงั เพลิง) 176 ศิลปนิ หนังใหญแ่ ละเร่อื งเลา่ หนงั ใหญ่อยุธยา 177 ๗.ครแู ข พยัฆคนิ ครชู า่ งหนังใหญ่ บ้านหนา้ วดั พระเมรุ พระนครศรีอยุธยา 177 ๘.หมอ่ มราชวงศ์ จรญู สวัสด์ิ ศขุ สวัสด์ิ 177 ๙.ครปู นุ เวชาคม ครูโขนหนังอยุธยา 179 ๑๐.ครูเปยี อยุธยา-ครหู นงั คนแรกของวดั สวา่ งอารมณ์ สิงห์บรุ ี 179 ๑๑.การแสดงหนังใหญท่ ่ีวดั ตะโหนด นครหลวง –สมั ภาษณ์ รศ.บุญเสรมิ ภสู่ าลี 179 หนงั ใหญ่ลพบรุ ี 182 ชุมชนหนงั ใหญ่และสถานทเี่ ก่ยี วข้องกับหนังใหญ่ในลพบรุ ี 184 ๑.หนังใหญ่วัดโบสถ์ โก่งธนู ๒.หนงั ใหญว่ ัดตะเคยี น ๓.หนงั ใหญ่วดั สาราญ

ญ 185 186 ๔.พิพธิ ภัณฑ์สถานแห่งชาติ สมเดจ็ พระนารายณ์ 186 หนงั ใหญ่อ่างทอง 188 ๑.ชุมชนวดั บ้านอิฐ อา่ งทอง 190 ๒.พพิ ิธภัณฑ์หนงั ใหญ่ครูวีระ มีเหมอื น 191 หนงั ใหญส่ มทุ รสงคราม 193 ๑.หนังใหญ่วดั บางน้อย อ.บางคนฑี 194 ๒.หนงั ใหญ่วดั ราษบูรณะอ.อมั พวา 194 ๓.หนงั ใหญ่วัดกุฏที องภมุ รินทร์ 195 ๔.หนังใหญ่อทุ ทยาน รัชกาลท่ี ๒ 197 ๕.พิพธิ ภัณฑห์ นงั ใหญ่ครสู งัด ใจพรหม 198 ๖.ครสู มพร เกตุแกว้ บา้ นพญาซอ อ.บางคนฑี หนงั ใหญว่ ัดพลับพลาชยั เพชรบุรี สารวจภาคสนาม 204 213  สารวจภาคสนาม การแสดงหนงั ใหญ่วัดขนอน รายการไทยโชว์ 216  สารวจภาคสนาม ออกรา้ นรปู หนังใหญ่ งานวันมรดกโลก  217  สารวจภาคสนาม วดั คงคาราม ราชบุรี  220  สารวจภาคสนาม หนังใหญว่ ัดบ้านดอน อ.เมอื ง จ.ระยอง  224  สารวจภาคสนาม พพิ ธิ ภัณฑห์ นงั ใหญ่วดั สวา่ งอารมณ์ สงิ หบ์ รุ ี  225  สารวจภาคสนาม วัดหนงั อ.พรหมบรุ ี จ.สิงห์บรุ ี 228  สารวจภาคสนามวดั พระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร  229  สารวจภาคสนาม หนงั ใหญม่ หาวิทยาลยั เกษมบณั ฑิต กรงุ เทพมหานคร  230  สารวจภาคสนาม หนงั ใหญ่ครูวน เกิดผล อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยธุ ยา 232  สารวจภาคสนาม หนงั ใหญว่ ัดตะกู อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา  234  สารวจภาคสนาม หนงั ใหญ่วัดกษัตราธริ าชฯ พระนครศรีอยธุ ยา  237  สารวจภาคสนาม ชมุ ชนหนงั ใหญ่วดั พระญาติการาม อยุธยา 239  สารวจภาคสนาม วดั โบสถ์ โกง่ ธนู อ.เมอื ง จ.ลพบรุ ี  สารวจภาคสนาม วัดสาราญ อ.เมอื ง จ.ลพบุรี

ฎ  สารวจภาคสนาม วดั ตะเคียน อ.เมือง จ.ลพบุรี 240  สารวจภาคสนาม พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช  242  สารวจภาคสนาม หนงั ใหญ่วัดบา้ นอิฐ อ.เมอื ง จ.อ่างทอง  244  สารวจภาคสนาม พพิ ิธภัณฑ์หนังใหญบ่ ้านครวู รี ะ มเี หมอื น 246  สารวจภาคสนาม พธิ ไี หวค้ รูชา่ งหนังใหญโ่ ขนละคร อ.แสวงหา จ.อา่ งทอง  251  สารวจภาคสนามวดั บางนอ้ ย สมุทรสงคราม 253  สารวจภาคสนามพพิ ธิ ภณั ฑ์หนงั ใหญ่ครูสงัด ใจพรหม  257  สารวจภาคสนามวดั พลับพลาชัย เพชรบุรี  260  สารวจภาคสนาม ไหวค้ รูหนังใหญ่ วดั พลบั พลาชยั เพชรบรุ ี  266  สารวจภาคสนาม การแสดงหนังใหญเ่ บิกโรง จบั ลงิ หัวคา่  269 พกิ ดั ทางภมู ิศาสตร์ ชมุ ชนหนังใหญ่ ๙ จังหวัด 271 แผนที่ชุมชนหนังใหญ่ในประเทศไทย 272 บทที่ ๖ บทสรุปและอภิปรายผล 273 273 ผลสารวจ 274 ๖.๑ ชมุ ชนหนงั ใหญ่ ทป่ี รากฏหลักฐาน 274 ๖.๒ ชมุ ชนหนงั ใหญ่ ทหี่ ลกั ฐานยังไม่ปรากฏชดั 274 ๖.๓ ชมุ ชนหนงั ใหญ่ ทค่ี ้นพบเพิม่ เตมิ หลังจากสารวจภาคสนาม 275 ๖.๔ ชมุ ชนหนงั ใหญ่ทค่ี ้นพบใหม่นอกจากงานวจิ ัย 277 ๖.๕ การเคล่ือนยา้ ยตัวหนังใหญ่ ในชว่ งสมัยรตั นโกสินทร์ 278 ๖.๖ ชว่ งเวลา ของชุมชนหนังใหญ่ ๙ จังหวัด ในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ 279 ๖.๗ จานวนตัวหนังใหญ่ในสมยั รัตนโกสินทรข์ องเกา่ สรา้ งกอ่ นรชั กาลท่ี ๙ 281 ๖.๘ เจา้ ของคณะ ผู้อปุ ภมั ป์ ผู้กอ่ ตั้ง และครูหนงั นายหนัง ของชมุ ชนหนังใหญ่ 282 ๖.๙ การจานวนตวั หนังใหญข่ องเก่า สมยั กรุงรตั นโกสินทร์ 283 ๖.๑๐ การแบ่งสัดสว่ น สถานะตัวหนงั ใหญ่ สมัยรัตนโกสนิ ทร์ 283 ๖.๑๑ องคป์ ระกอบหนงั ใหญ่ แบ่งตามรูปแบบ วิจติ รศลิ ป์ 284 ๖.๑๒ องค์ศิลปการแสดงไทยท่ีเกีย่ วขอ้ งกับหนังใหญ่ ๖.๑๓ ศิลปการแสดงไทยทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั หนังใหญ่

ฏ บรรณานกุ รม 287 วีดที ศั นก์ ารแสดงหนังใหญ่ทางสือ่ ออนไลน์ 290 ส่วนท่ี ๒ กระบวนการมสี ่วนรว่ มของชมุ ชน 296 ๑. กอ่ นการทาวิจยั 297 ๒. การเกบ็ ขอ้ มลู พ้ืนฐาน 299 ๓. การวางแผนทมี งาน ทปี่ รกึ ษา และทีมงานวจิ ัย 301 ๔. การลงภาคสนาม รอบแรก 311 ๕. การพฒั นากระบวนการ 313 ๖. ลงภาคสนาม รอบท่ีสอง 318 ๗. การติดตามผลและรวบรวมผล 321 ๘. สรุปการสังเกตและการบันทกึ ความเปลี่ยนแปลงท่ีชมุ ชนเกิดจิตสานึก 322 ๙. การตอ่ ยอดงานวจิ ยั 322 ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะอืน่ ๆ จากทีมวิจยั และชมุ ชนหนังใหญ่ 324 ภาคผนวก  ใบแสดงความยินยอม 325  แบบบนั ทึกขอ้ มูลรายงานมรดกภมู ิปญ๎ ญาทางวฒั นธรรม 334 ทป่ี รกึ ษางานวิจยั  ข้อมลู ผใู้ ห้ขอ้ มลู (ชอื่ -นามสกุล/ท่อี ยู่/โทรศพั ท์ ท้งั หมด) 336 ประวัตผั ูว้ ิจัย  ข้อมลู ผเู้ ก็บขอ้ มลู (ช่ือ-นามสกลุ /ท่ีอยู่/โทรศพั ท์ ทัง้ หมด) 336 337

ฐ หนา้ สารบญั ตาราง 44 ตาราง 2.1 ตวั ละครหนงั ใหญ่ อปุ กรณ์สอนธรรมะ 69 ตาราง 2.2 ตวั อยา่ งเพลงหนา้ พาทย์ทใี่ ช้สาหรับการแสดงหนังใหญ่ ตาราง 2.3 แนวทางการสบื ทอดถ่ายทอดการแสดงหนงั ใหญใ่ นชมุ ชน 95 ตาราง 2.4 สถานท่ีวันเวลาการเกบ็ ขอ้ มลู ภาคสนามหนังใหญ่ 101 ตาราง 4.1 สรปุ กระบวนการมสี ่วนร่วมในชมุ ชน “หนงั ใหญ”่ แบ่งเป็น ๙ จังหวดั 121-124 ตาราง 4.2 ตัวอยา่ งการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร หนงั ใหญ่ 125 ตาราง 4.3 เสวนาตามรอยหนังใหญ่ ๙ แผ่นดนิ 127 ตาราง 4.4 สร้างผลงานหนังสอื หนังใหญ่ 128 ตาราง 4.5 ตัวอยา่ งหัวข้อการศึกษาหนังใหญท่ ีน่ า่ สนใจ 129 ตาราง 5.1 ลาดบั กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ 155 ตาราง 5.1 พกิ ดั ทางภมู ิศาสตร์ ชมุ ชนหนังใหญ่ ๙ จังหวัด 271 ตาราง 6.1 แสดงการเคลือ่ นย้ายตวั หนงั ใหญ่ ในชว่ งสมัยรัตนโกสนิ ทร์ 275-276 ตาราง 6.2 แสดงช่วงเวลา ของชมุ ชนหนังใหญ่ ๙ จงั หวดั ในสมัยรัตนโกสินทร์ 277 ตาราง 6.3 ประมาณจานวนตวั หนงั ใหญ่ในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ สร้างกอ่ นรัชกาลท่ี ๙ 278 ตาราง 6.4 เจา้ ของคณะผอู้ ปุ ภมั ป์ ผู้กอ่ ตั้ง และครหู นงั นายหนัง ของชุมชนหนังใหญ่ 279 ตาราง 6.5 ประมาณการจานวนตัวหนังใหญข่ องเก่า สมัยกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ 281 ตาราง(ภาคผนวก) วดี ที ศั นก์ ารแสดงหนังใหญ่ทางส่ือออนไลน์ 290 ตาราง 7.1 สรุปการสงั เกตและการบนั ทกึ ความเปล่ียนแปลง 321 ตาราง 7.2 สรปุ การอุปสรรคป๎ญหาของชุมชนท่พี บและแนวทางแก้ปญ๎ หารว่ มกนั 321

ฑ หนา้ สารบัญแผนภมู ิ 41 272 แผนภมู ิ 2.1 บริบทหนงั ใหญ่ ตามแนวคดิ “เตียว” ของผู้วจิ ยั 282 แผนภูมิ 5.1 ชุมชนหนังใหญ่ในประเทศไทย 283 แผนภูมิ 6.1 การแบ่งสดั ส่วน สถานะตวั หนังใหญ่ สมัยรัตนโกสินทร์ 283 แผนภูมิ 6.2 องคป์ ระกอบหนงั ใหญ่ แบ่งตามรปู แบบ วิจติ รศิลป์ 286 แผนภมู ิ 6.3 องค์ศลิ ปการแสดงไทยทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับหนังใหญ่ 312 แผนภมู ิ 6.4 หนังใหญ่ ๙ จังหวัด แผนผัง 7.1 การพัฒนากระบวนการมีสว่ นร่วมของชุมชนหนงั ใหญ่

ฒ สารบญั ภาพ หนา้ ภาพท่ี 1.1 หนังของอนิ เดยี 13 ภาพท่ี 1.2-1.3 หนงั ของจีน 14 ภาพท่ี 1.4 หนังชวา อินโดนีเซยี 15 ภาพท่ี 1.5 หนงั มลายู 18 ภาพที่ 1.6 หนังเขมร 18 ภาพท่ี 1.7-1.8 หนงั อียปิ 19 ภาพท่ี 1.9 หนังตุรกี 19 ภาพที่ 1.10-1.11 หนังฝรั่งเศส 19 ภาพที่ 2.1 ตวั อย่างบทพากย์หนงั ใหญ่ เรอ่ื งรามเกยี รต์ิ 80 ภาพที่ 4.1 ใบปลวิ ประชาสมั พันธ์ พิธีไหวค้ รู และ ตามรอยหนงั ใหญ่ เพชรบรุ ี 112 ภาพท่ี 4.2 ใบปลวิ เสวนาครึกครนึ้ ฟนื้ ชวี ิตหนงั ใหญ่ เพชรบุรี 114 ภาพที่ 4.3 สงั คมออนไลน์ กลมุ่ ตามรอยหนงั ใหญ่และชุมชนคนรกั หนงั ใหญ่ ๙ แผ่นดนิ 115 ภาพท่ี 4.4 ปกหน้า-ปกหลังและเนอ้ื หาด้านใน วารสารเชิดสยาม 116-118 ภาพที่ 4.5 สื่อออนไลน์ประชาสัมพันธ์ เทศกาลห่นุ โลก กรงุ เทพฯ ๒๐๑๔ 120 ภาพที่ 5.1 หมอ่ มราชวงศ์จรูญสวสั ดิ์ ศุขสวัสดิ ขณะผูป้ ระกอบพิธีไหว้ครโู ขนละคร 176 ภาพที่ 5.2 พิธีเบิกหน้าพระ : ไหว้ครูกอ่ นการแสดงหนังใหญ่ 204 ภาพท่ี 5.3 พิธีเบกิ หนา้ พระ หัวหน้าคณะดนตรีป่พี าทยไ์ หว้ครูกอ่ นบรรเลงโหมโรงหนงั ใหญ่ 204 ภาพท่ี 5.4 พธิ ๊เบกิ หนา้ พระ : หนังครูหรือหนังเจ้าทัง้ สามองค์ 205 ภาพที่ 5.5 ชือ่ คณะหนงั ใหญว่ ัดขนอน ภาษาไทยและภาษาอังกฤษบนจอหนัง 205 ภาพที่ 5.6 วงป่พี าทย์เครอื่ งคู่ นกั ดนตรีโรงเรยี นวดั ขนอน กาลังเตรียมพรอ้ มบรรเลงโหม 206 ภาพที่ 5.7 วงป่ีพาทย์จะหนั หน้าเข้าจอหนังใหญ่ ตามขนบธรรมเนียมเดมิ 206 ภาพที่ 5.8 สาธิตการเชิดหนงั ใหญห่ นา้ จอหนัง แบบใช้แสงไฟดา้ นหลังเน้นแสงเงา 207

ณ ภาพท่ี 5.9 สาธิตการเชดิ หนังใหย่หนา้ จอหนัง แบบใชแ้ สงไฟดา้ นหนา้ และดา้ นหลัง 207 ภาพท่ี 5.10 การเรยี นเชิดหนังของเยาวชนวดั ขนอน เรมิ่ ฝึกจากการเต้นกบั ไม้คาบหนัง 208 ภาพท่ี 5.11 การเรียนเชิดหนังของเยาวชนวดั ขนอน จะอยใู่ นความดขู องทา่ นเจ้าอาวาส 208 ภาพท่ี 5.12 สาธติ การเชดิ หนงั ใหญข่ ึน้ ลอย เป็นช่วงสาคญั ทสี่ ร้างความตนื่ ตาให้กับผ้ชู ม 209 ภาพที่ 5.13 สาธติ การเชิดหนังใหญข่ ้ึนลอย ทีม่ าจากศิลปะปอู งกันตัวกระบ่ีกระบอง 209 ภาพท่ี 5.14 พระครูศรทั ธาสุนทร อดตี เจ้าอาวาสวดั ขนอน ผรู้ เิ ร่ิมสรา้ งหนังใหญ่ 210 ภาพท่ี 5.15 พระครพู ิทักษ์ศิลปาคม(นชุ ติ วชิรวุฑโฺ ฒ) เจา้ อาวาสวดั ขนอนรปู ป๎จจุบัน 210 ภาพที่ 5.16 พิพิธภัณฑห์ นังใหญ่วัดขนอน ราชบุรี 211 ภาพท่ี 5.17 ตวั หนังใหญ่ ในพพิ ธิ ภัณฑห์ นงั ใหญว่ ดั ขนอน ราชบรุ ี 211 ภาพที่ 5.18-19 พระฉลาด ถาวรนุกูลพงศ์ คุณพ่อของ ครูหมู-จฬรรณ์ ถาวรนุกลู พงศ์ 212 ภาพที่ 5.20 ครหู มู-จฬรรณ์ ถาวรนุกลู พงศ์ นายหนงั วดั ขนอน ราชบรุ ี 212 ภาพที่ 5.21 แผ่นปาู ยใหญ่ประวตั คิ วามเป็นมาหนงั ใหญว่ ัดขนอน งานวนั มรดกโลก 213 ภาพที่ 5.22 พื้นที่ในการเรยี นรู้หนังใหญน่ อกตาราและห้องเรียน งานวันมรดกโลก 213 ภาพที่ 5.23 ตัวหนังใหญ่ ท่ีชมุ ชนหนังใหญว่ ัดขนอน งานวันมรดกโลก 214 ภาพท่ี 5.24 ตวั หนงั ใหญท่ กี่ าลงั อยู่ในขัน้ ตอนการสลัก งานวันมรดกโลก 214 ภาพท่ี 5.25 ตวั อย่างอปุ กรณ์.ในการสลักตวั หนังใหญง่ านวนั มรดกโลก 215 ภาพท่ี 5.26 ร่องรอยสกึ หรอของเขียงไม้ ทีร่ องรับการตอกสลักหนังใหญ่มาอยา่ งโชกโชน 215 ภาพท่ี 5.27 ภาพ จติ รกรรมฝาผนงั มโหรีเครอ่ื งส่นี กั ดนตรหี ญิง 216 ภาพท่ี 5.28 ซ้ายมอื พิพธิ ภณฑพ์ น้ื บา้ น เป็นเรอื นไทยขนาดใหญ่ 216 ภาพที่ 5.29-30 ปาู ยช่อื ด้านหน้าโรงละคร จอหนงั ใหญ่ในโรงละครหนงั ใหญ่วัดบ้านดอน 217 ภาพที่ 5.31-32 ตัวหนงั ใหญ่ของเก่า ทีเ่ จา้ เมอื งระยองท่านแรก ซื้อมาจากเมอื งพัทลุง 217 ภาพท่ี 5.33-38 สาธติ การสืบทอดหนงั ใหญแ่ บบพีส่ ู่นอ้ ง หนังใหญ่วัดบ้านดอน จ.ระยอง 218 ภาพท่ี 5.39 พระครบู ุรเขตวฒุ กิ ร อดีตเจา้ อาวาสวดั บา้ นดอน ผ้อู ปุ ถัมภห์ นงั ใหญ่ 219 ภาพท่ี 5.40 การสาธติ เชิดหนงั หน้าจอของเยาวชนในชมุ ชนวัดบา้ นดอน 219 ภาพท่ี 5.41 หลวงพอ่ เรือง พระครูสิงหมุนี อดีตเจา้ อาวาสวัดสว่างอารมณ์ สงิ หบ์ ุรี

ด ภาพท่ี 5.42 จอหนังใหญ่ วัดสว่างอารมณ์ สิงห์บุรี 220 ภาพที่ 5.43 หนงั เจา้ หรือหนังครู พิพธิ ภณั ฑ์หนงั ใหญ่ วดั สว่างอารมณ์ สิงห์บรุ ี 221 ภาพที่ 5.44 ภายในพิพิธภณั ฑห์ นังใหญ่ ตงั้ อยบู่ นชน้ั บนศาลาการเปรยี ญ วัดสว่างอารมณ์ 221 ภาพที่ 5.45 ตัวหนังใหญใ่ นพิพธิ ภัณฑห์ นงั ใหญ่ วดั สวา่ งอารมณ์ สงิ ห์บรุ ี 222 ภาพที่ 5.46 ตัวหนังใหญ่ในพิพธิ ภัณฑ์หนงั ใหญ่ วดั สว่างอารมณ์ สงิ หบ์ รุ ี 222 ภาพที่ 5.47 ตัวหนงั ใหญใ่ นพิพิธภณั ฑ์หนังใหญ่ วัดสวา่ งอารมณ์ สิงห์บุรี 223 ภาพที่ 5.48 ตัวหนังใหญ่ในพพิ ธิ ภัณฑ์หนงั ใหญ่ วดั สวา่ งอารมณ์ สิงห์บรุ ี 223 ภาพท่ี 5.49 ศาลเจา้ พอ่ วดั หนงั เดมิ เปน็ ทีต่ ้งั ของวดั หนัง 224 ภาพท่ี 5.50 บริเวณตลิ่งท่ีพ้นื ท่วี ดั หนงั อ.พรหมบุรี ท้ังหมดทรดุ ลงไปในแม่นา้ เจา้ พระยา 224 ภาพท่ี 5.51 พระพุทธเทวปฏิมากร วัดพระเชตุพนวมิ ลมงั คลารามราชวรมหาวิหาร 225 ภาพท่ี 5.52 ยกั ษ์วดั โพธ์ิ พญาสทั ธาสรู เจา้ เมอื งอัสดงค์ ในเรอ่ื งรามเกยี รติ์ 225 ภาพที่ 5.53-.5.56 เร่อื งรามเกยี รต์สิ ลักหินออ่ นตน้ แบบตวั หนังใหญ่สมัยอยุธยา 226 ภาพที่ 5.57 ตัวหนงั ใหญช่ ดุ การแสดงจบั นาง มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต 228 ภาพท่ี 5.58 อาจารย์ชนะ กรา่ กระโทก อาจารยป์ ระจามหาวทิ ยาลัยเกษมบณั ฑิต 228 ภาพที่ 5.59 ผใู้ หข้ อ้ มลู คณุ ครูสาราญ เกิดผลศลิ ปินแห่งชาติ หลานปุคู รวู น 229 ภาพท่ี 5.60 ครวู ีระ มเี หมือน กบั ครสู าราญ เกดิ ผล ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ 229 ภาพท่ี 5.61 รูปป๎้นหลวงพอ่ ฤาษเี ป็นที่เคารพศรัทธาของศลิ ปิน สร้างโดยหลวงพอ่ เกลยี้ ง 230 ภาพที่ 5.62 ครวู ีระ มเี หมือนกบั บรรดาผู้ใหข้ อ้ มูลชาวชมุ ชนวดั ตะกู อ.บางบาล 230 ภาพท่ี 5.63 รปู ภาพและรปู เหมือน หลวงพอ่ เกล้ยี ง ผอู้ ปุ ถัมภห์ นังใหญ่ อ.บางบาล 231 ภาพที่ 5.64 กุฏิไมข้ องหลวงพอ่ เกลยี้ ง อดตี เจา้ อาวาส ถกู น้าทว่ มใหญห่ ลายครง้ั 231 ภาพที่ 5.65 พระอุโบสถและพระวิหาร วัดกษตั ราธิราชฯ 232 ภาพท่ี 5.66 พระวิสุทธาจารเถร หลวงพอ่ เทยี ม อดตี เจ้าอาวาส ผู้อปุ ถัมปห์ นงั ใหญ่ 232 ภาพที่ 5.67 ผู้ใหข้ ้อมลู ครูเปรม หาเรือนชีพ ศิลปนิ ชมุ ชนวัดกษัตราธิราชฯ 233 ภาพท่ี 5.68 บรรยากาศภายในวัดพระญาตกิ าราม ในอดตี เปน็ แหลง่ รวมศลิ ปะ 234 ภาพที่ 5.69 ซ้ายมอื ภาพปนู ป๎้นพระนารายณ์สกี่ ร แต่มพี ระหตั ถ์ที่ถอื กระบอง 234 ภาพท่ี 5.70-71 ซ้ายมือรปู เหมือนหลวงพอ่ กล่นั อดีตเจ้าอาวาสเกจิอาจารยเ์ ลอ่ื งชอ่ื 235

ต ภาพท่ี 5.72-73 ซา้ ยมอื ซ้มุ ประตูทางดา้ นคลองข้าวเม่า 235 ภาพท่ี 5.74 ผใู้ หข้ ้อมลู รอ้ ยตารวจตรีวชั ระ พจนีย์ (ลงุ อด๊ี ) ทายาทศิลปินหนังใหญ่ 236 ภาพที่ 5.75 ซา้ ยมืออดีตเป็นบา้ นของครูฉิ่ง พจนีย์ หัวหน้าคณะหนังใหญ่วัดพระญาติ 236 ภาพที่ 5.76 โบสถเ์ กา่ ตง้ั อยูใ่ กล้แม่น้าลพบรุ ี เป็นทม่ี าของชือ่ วดั โบสถ์ วัดโบสถ์ โกง่ ธนู 237 ภาพท่ี 5.77 หลวงพอ่ พร้งิ อดตี เจา้ อาวาส วัดโบสถ์ โก่งธนู อ.เมือง จ.ลพบุรี 237 ภาพที่ 5.78 ผู้ให้ขอ้ มลู ครอู อ๋ สุขคล้าย ครูโขนพากย์ วดั โบสถ์ โก่งธนู เมอื งลพบุรี 238 ภาพท่ี 5.79 ครูอนนท์ สมพงษ์, ครูออ๋ สขุ คลา้ ย และครวู รี ะ มเี หมือน 238 ภาพท่ี 5.80 โบสถ์วดั สาราญ ด้านข้างมเี สาหงส์ วัดสาราญ อ.เมอื ง จ.ลพบุรี 239 ภาพที่ 5.81 ซา้ ยมอื วิหารหลวงพ่อหิน พระศักด์ิสทิ ธ์ผิ ูค้ นในชุมชนให้ความนับถืออยา่ งสงู 239 ภาพที่ 5.82 โบสถ์วัดตะเคยี น อ.เมือง จ.ลพบรุ ี 240 ภาพท่ี 5.83-84 ซา้ ยมือสถปู บรรจอุ ัฐฐหิ ลวงพ่อป้น๎ วัดตะเคียน เมอื งลพบรุ ี 240 ภาพที่ 5.85-86 ผ้ใู ห้ขอ้ มูล หลวงตาใจ ป่ินเงิน ทายาทศิลปินหนงั ใหญ่ 241 ภาพที่ 5.87 ศาลาหลังใหญ่ สร้างทดแทนหลังเดิมทเ่ี กิดไฟไหม้วดั เมอื่ พ.ศ.๒๕๔๙ 241 ภาพที่ 5.88 ภายในบริเวณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเดจ็ พระนารายณ์ จ.ลพบุรี 242 ภาพที่ 5.89 ผู้เช่ียวชาญโบราณคดีชาวอติ าลี ให้ข้อมูลเกย่ี วกบั ตวั หนงั ใหญ่ 242 ภาพที่ 5.90 แผ่นปูายอธบิ ายประวัตคิ วามเปน็ มาของตกึ พระประเทยี บ 243 ภาพที่ 5.91-92 ครวู รี ะ มเี หมือน กบั ตู้ลายรดน้า เรื่องรามเกยี รติ์ 243 ภาพท่ี 5.93 หลวงพ่อดา พระศกั ด์สิ ิทธ์คิ ูก่ บั วัดบ้านอิฐ ประดษิ ฐานในวิหาร 244 ภาพท่ี 5.94 พื้นหญา้ หนา้ ศาลาการเปรยี ญ ชมุ ชนหนังใหญ่ วัดบา้ นอฐิ จ.อา่ งทอง 244 ภาพที่ 5.95-96 ละครแก้บนเจ้าทเี่ จา้ ทาง กาลงั แสดงทบ่ี ้านลงุ กรุ่น นาควลี 245 ภาพท่ี 5.97 ครูวีระ มีเหมอื นทีป่ รึกษางานวจิ ัย กบั ผใู้ ห้สมั ภาษณ์ ลงุ กรุ่น นาควลี 245 ภาพที่ 5.98 ครูวีระ มเี หมอื น สาธิตการตอกหนงั สลกั หนังใหญ่ 246 ภาพท่ี 5.99-100 เครื่องมอื ตอกหนังสลกั หนงั ใหญ่ 246 ภาพที่ 5.101 สาธติ การพากยเ์ จรจาหนังใหญ่ 247 ภาพท่ี 5.102 สาธติ การพากย์เจรจาหนังใหญ่ ถ่ายทอดความรสู้ ู่ศษิ ย์ 247

ถ ภาพท่ี 5.103 สาธติ การเชิดหนงั ใหญ่ การจบั ไม้คาบหนงั 248 ภาพท่ี 5.104 สาธติ การเชดิ หนงั ใหญ่ ถ่ายทอดความรู้สศู่ ิษย์ 248 ภาพที่ 5.105-107 เรอื นไทยปรงุ ใหม่ หนังใหญท่ บี่ ้านครูวีระ วเี หมือน 249 ภาพท่ี 5.108 ซ้ายมอื บนั ไดทางขน้ึ เรอื นไทย เหน็ หลงั คามงุ โปรง่ เพ่ือใชแ้ สงธรรมชาติ 249 ภาพที่ 5.109 การตั้งหนังครูจะอยูส่ ูงสดุ ไมว่ า่ จะเป็นพิธหี ลวงหรอื พิธรี าษฏรก์ ต็ ามฯ 251 ภาพท่ี 5.110 การราเพลงหนา้ พาทยข์ องประธานพิธผี ู้อา่ นโองการไหวค้ รู 251 ภาพที่ 5.111 กตี าร์ ซอสามสาย จัดวางในพิธีไหว้ครู 252 ภาพท่ี 5.112 การใสเ่ สอ้ื รูปพระนารายณส์ ีก่ ร 252 ภาพท่ี 5.13 ด้านหนา้ วดั บางนอ้ ย สมุทรสงคราม 253 ภาพท่ี 5.14 ศาลารมิ น้าเก่าขนาบขา้ งกบั ศาลาฤาษี ตรงด้านหนา้ วัดบางนอ้ ย 253 ภาพที่ 5.15 พระพุทธไสยาสนโ์ บราณ ในวดั บางน้อย สมทุ รสงคราม 254 ภาพท่ี 5.16 ใบเสมาและลกู นมิ ติ รโบสถ์หลังเกา่ ในวดั บางน้อย สมุทรสงคราม 254 ภาพท่ี 5.17 รอยพระพทุ ธบาทงดงามขนาดใหญ่สมัยอยุธยา ในวัดบางนอ้ ย สมทุ รสงคราม 255 ภาพที่ 5.118 ตวั หนังใหญว่ ดั บางน้อย ทเี่ หลอื รอดจากไฟไหม้ ขนาดใหญ่จานวน ๓ ตัว 255 ภาพท่ี 5.19 หลวงพอ่ อยู่ ปํฺญโค อดีตเจา้ อาวาสวัดบางนอ้ ย 256 ภาพท่ี 5.120 เสวนากลุม่ ย่อยหนังใหญว่ ัดบางนอ้ ย 256 ภาพท่ี 5.121 ครูสงดั ใจพรหม ครชู า่ งหนงั ใหญ่ วัดบางนอ้ ย สมุทรสงคราม 257 ภาพที่ 5.122 ครูสงัด ใจพรหมครชู า่ งหนังใหญใ่ นอดีต 257 ภาพท่ี 5.123 ครูสงดั ใจพรหม ครูชา่ งหนงั ใหญ่ กับพิพิธภัณฑ์หนงั ใหญ่ 258 ภาพท่ี 5.124 ครสู งดั ใจพรหม กบั ด้านในพิพธิ ภัณฑ์หนังใหญ่ 258 ภาพท่ี 5.125 ตัวหนงั ใหญ่วดั บางนอ้ ย ที่นามาศกึ ษาท่บี า้ นครสู งัด ใจพรหม 259 ภาพท่ี 5.26 ตวั หนังใหญว่ ดั บางน้อย ทถ่ี กู ไฟไหม้ ยยู้ น่ ยากตอ่ การเยียวยาซอ่ มแซม 259 ภาพที่ 5.127 หลวงพอ่ ฤทธิ์ อดีตเจ้าอาวาสวัดพลับพลาชัย ผสู้ ร้างหนังใหญ่ 260 ภาพที่ 5.128 ครูเจย๊ี บ-กติ ติพงษ์ พ่ึงแตง ผใู้ หข้ อ้ มลู และพาชมรอบวัดพลบั พลาชัย 260 ภาพท่ี 5.129 แกะสลกั ศลิ ปะชา่ งเมอื งเพชรฯ วดั พลบั พลาชัย เพชรบรุ ี 261 ภาพที่ 5.130-132 ปนู ป๎้นศิลปะช่างเมืองเพชรฯ หน้าบันพระอโุ บสถ วัดพลบั พลาชยั 261

ท ภาพที่ 5.133 ซุ้มโคมไฟทาเปน็ รูปหนุมาน วดั พลบั พลาชยั เพชรบรุ ี 263 ภาพที่ 5.134 แมน่ า้ เพชรบุรี วัดพลับพลาชัย เพชรบุรฝ่๎งตรงขา้ มตลาดเพชรบุรี 263 ภาพท่ี 5.135 ช่างเมอื งเพชรฯ ลกู ศิษยห์ ลวงพอ่ ฤทธิซ์ งึ่ ในจานวนนนี้ ่าจะมชี ่างสลักหนงั ใหญ่ 264 ภาพที่ 5.136 นทิ รรศการประวัติผลงานราชาเรอ่ื งส้ัน ครมู นัส จรรยงค์ 264 ภาพที่ 5.137 หนงั ใหญใ่ นพพิ ิธภัณฑ์ วหิ ารพระคนั ธารราฐวัดพลบั พลาชยั เพชรบรุ ี 265 ภาพที่ 5.138 หนังใหญใ่ นพพิ ิธภณั ฑ์ วหิ ารพระคันธารราฐวดั พลบั พลาชยั เพชรบุรี 265 ภาพท่ี 5.139-5.142 พธิ ไี หว้ครหู นังใหญ่ วัดพลับพลาชยั เพชรบรุ ี 266 ภาพท่ี 5.143 ตัวหนังใหญ่ของเกา่ ของสมยั ของหลวงพอ่ ฤทธิ์ 268 ภาพที่ 5.144 ตัวหนังใหญ่ของเกา่ ของสมยั ของหลวงพ่อฤทธ์ิ 268 ภาพท่ี 5.145-5.145 การแสดงหนงั ใหญเ่ บกิ โรง จับลิงหัวค่า ของเยาวชนกลุ่มลูกระนาด 269 ภาพที่ 5.146 การแสดงหนังใหญเ่ บกิ โรง จับลงิ หัวคา่ ของเยาวชนกลุม่ ลูกระนาด 269 ภาพท่ี 5.147-5.148 การแสดงหนงั ใหญ่เบิกโรง จบั ลงิ หวั คา่ วดั พลบั พลาชยั เพชรบรุ ี 270

1 บทที่ ๑ บทนาํ หนังใหญ่ ๑.๑ หลักการและเหตผุ ล ประวัติความเป็นมา นยิ ามของมรดกภูมปิ ๎ญญา หลักการเหตุผล หนงั ใหญค่ อื ศิลปะการแสดงไทย ทม่ี คี วามยิง่ ใหญอ่ ศั จรรย์สบื เนื่องมาแต่ครง้ั บรรพกาล มีหลกั ฐานว่า เปน็ มหรสพหลวงด่งั เครื่องราชปู โภค ภายใต้ราชปู ถมั ป์ของพระมหากษัตรยิ ์ ปรากฏในหลกั ฐานต้งั แต่ครง้ั ต้น กรุงศรีอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร์ ครัน้ อยู่ในราชสํานกั ก็เปน็ การละเล่นเพอ่ื ยอยศพระเจ้าแผน่ ดิน ที่เปน็ สมมุติ เทพดจุ นารายณ์อวตาร ตามความเชอ่ื ในลัทธิพราหมณ์ เปน็ สื่อทรงพลงั ท่คี รองใจให้ความสุข ระหว่างราชสํานัก กับประชาราษฎร์ ให้ได้ บนั เทิงเริงใจ พร้อมแทรกหลกั ตาํ รา พิชยั สงคราม จัดทพั จับแมไ่ ม้กระบ่ีกระบองเพอ่ื เตรียมพร้อมสรรพยุทธ เมื่อหนังใหญถ่ ่ายเทมาสู่ทวยราษฏร์ บ้านและวัด พระครูสมภารทา่ นเสรมิ สือ่ อปุ รากร สอนหลักพุทธรรม ควบขนานไปกับความบนั เทงิ หนงั ใหญ่ จาํ แนกอย่ใู นการละเลน่ หนุ่ แสงเงา ทอ่ี าศัย แรงผชู้ ายเชิดเตน้ เอนไหว มแี สงสอ่ งสวา่ งจากไฟ กะลามะพร้าว คบไต้ หรือตะเกียงลาน เกดิ เงาต้องกระทบจอผา้ ขาวขอบขลิบแดง ผืนหนงั ส่วนใหญท่ ําจากหนงั วัว สงู ใหญ่ราว ๑-๒ วา ฉลปุ รสุ ลกั ลวดลายตวั ละครรามเกยี รต์ิ พระนางยกั ษ์ลิง สงิ สาพลับพลาปาุ เมอื งเปน็ ปฐม แต้มหลากหลายสเี บญจรงค์ แซมปิดทองเรียกวา่ หนงั กลางวนั เล่นงานมงคล หากแตม้ เพียงสขี าวดาํ เขม่า หมอ้ ขา้ วเรยี กวา่ หนงั กลางคนื เล่นงานอวมงคล มที ัง้ หนงั เฝูา หนงั คเนจร หนังโก่ง หนังแผลง หนงั เมือง หนัง จับ หนงั รถ หนังเตียวฯลฯ คนพากยเ์ จรจาตะโกนกอ้ งสองฟากจอ ปีพ่ าทย์ ระนาด ฆอ้ ง ตะโพน กลองทัด กลองตง๋ิ ฉิ่ง โกรง่ ปกี่ ลาง เคล้าคลอประจนั หนา้ ประเลงโหมโรงตอนคาํ่ นายหนังเบกิ หนา้ พระ ตระหนังเจา้ อศิ วร นารายณ์ ฤาษี แล้วเบิกโรง เฉกเช่น จบั ลิงหวั ค่ํา ลิงขาวลิงดํา จึงเข้าเรื่อง ศึกกภุ กรรณ อนิ ทรชิต ศึกวิรญุ จาบัง ศึกวิรญุ มุข ศกึ ทศกรรณฐ์ ฯลฯ ตอนนางลอย พระรามลงสรง ฯล ฯ จะศึกใดตอนใดแลว้ แตเ่ หล่าคณะ ชาวหนงั และโอกาสเอือ้ อํานวย ขนบแต่กาลกอ่ น เร่มิ เล่นมหรสพหลวงหรอื ราษฏรค์ ราใด หนงั ใหญจ่ ะเลน่ เป็นลาํ ดบั แรกแล้วถงึ ต่อ ดว้ ยโขน ละคร อกี ทงั้ แฝงปรชั ญาความเชื่อศรัทธา เรื่องสมมุติเทพของพระมหากษัตรยิ ์ ด่ังการอวตารของพระ นารายณ์เพอื่ มาปราบทกุ ขบ์ ํารุงสขุ ทวยราษฏรต์ ามลัทธพิ ราหมณ์ภายใต้ราชปู ถัมป์พระเจ้าแผน่ ดนิ ครั้นหนัง

2 ใหญ่อยใู่ ต้การดแู ลของบ้านวัด กเ็ ปน็ มหรสพธรรม และอุปรากรสอนธรรม เครอื่ งมือสื่อชั้นเลศิ ในการเผยแผ่ หลักธรรมะ ทาํ ดีละชัว่ ศีลหา้ ฆราวาสไปถงึ มรรคาปรมัตถ์ จากหนงั วัวสิน้ ขัยในวิถพี ทุ ธเกษตรของทวยราฏร์ ถวายใหว้ ัดจดั สรา้ งสลักเปน็ ตัวหนงั หวงั บุญ หนงั เหลา่ นีอ้ ัศจรรย์ได้รับเกยี รติ์จําแลง สําแดงใหเ้ จา้ ฟูาเจา้ แผน่ ดนิ ทอดพระเนตร รวมท้งั ชาวประชาทกุ ยอ่ มหญา้ ไดร้ ่ืนรมย์ หนังใหญแ่ ต่ละตัวหากรกั ษาดอี ยู่ได้หลายชวั่ อายคุ น จงึ เปน็ ศิลปท์ ผ่ี ู้สร้างตงั้ ใจสง่ ทอดตอ่ ใหบ้ รรพชน หนงั ใหญจ่ ึงไม่ใชม่ หรสพท่ใี หแ้ ค่ความบันเทงิ รืน่ เริงแค่เพียงภายนอกเท่าน้ัน แตบ่ รรพชนได้ รังสรรค์มรดกภูมิปญ๎ ญาซอ่ นขา้ งในไวอ้ ยา่ งอศั จรรย์ ปัจจุบนั ประเทศไทย มีหนังใหญ่ ๓ คณะ ทไี่ ดร้ ับการอปุ ภัมป์ฟ้ืนฟูจากชมุ ชนและนกั วิชาการคือ วดั ขนอน จงั หวดั ราชบุรี วดั บ้านดอน จงั หวัดระยองและวดั สวา่ งอารมณ์ จงั หวดั สิงห์บรุ ี ทีย่ งั คงเปิดการแสดง ในวาระพิเศษบา้ งบางคร้งั และสาธติ ใหน้ กั ทอ่ งเที่ยวช่ืนชมอยา่ งย่นย่อในวันหยุดเสาร์ หรืออาทิตย์ รวมถึงเปิด เป็นพิพธิ ภัณฑห์ นังใหญใ่ ห้เยี่ยมชม ถงึ แม้จะมีการศึกษาคน้ คว้าวจิ ยั หนงั ใหญ่ ท้ัง ๓ ชมุ ชนในประเด็นสาระ ตา่ งๆอยา่ งต่อเนอื่ ง ซ่งึ ล้วนเปน็ ประโยชนม์ หาศาล หากแตย่ งั ไมม่ ีการรวบรวมอย่างเป็นระบบครบถ้วน เพอื่ ประโยชนใ์ นการศกึ ษาองคร์ วม จากการค้นคว้าเบ้ืองตน้ ของผู้วิจัยฯ พบว่าแหล่งขอ้ มูลความรู้เรอ่ื งหนังใหญ่ เบ้ืองตน้ ไมไ่ ดม้ ี เพียงแค่ ๓ ชุมชนข้างต้นเท่าน้ัน แตย่ งั มีท้ังผู้คนและชมุ ชนจํานวนกวา่ ๓๔ แหง่ ใน ๙ จังหวัด อาทิ ชุมชนหนัง ใหญ่วัดพลับพลาชัย เพชรบุรี, หนงั ใหญว่ ัดบางนอ้ ย หนงั ใหญ่(ครูด)ี วัดราษฎร์บูรณะ สมทุ รสงคราม , หนังใหญ่ วัดโบสถ์ โก่งธนู, หนังใหญ่วัดตะเคยี น ลพบุรี, หนังใหญ่วดั บา้ นอฐิ อา่ งทอง, หนังใหญว่ ดั พระญาตกิ าราม-หนัง ใหญ่วัดตะกู-หนังใหญค่ รูวน อยุธยา เป็นตน้ ซง่ึ ลว้ นมีความเกยี่ วขอ้ งกับเร่ืองราวของหนังใหญ่ มากบ้างนอ้ ย บ้าง ตามท่ีพอจะเหลือร่องรอยปรากฏอยู่ ทงั้ นี้จะต้องเรง่ ดว่ นในการไปสํารวจขอ้ มูลภาคสนาม เพอ่ื ใหไ้ ด้ขอ้ มลู มากทีส่ ดุ

3 ทัง้ นี้ “หนังใหญ่” เป็นศิลปะการแสดงสาํ คัญลาํ ดับต้น ในรายการมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม ทีอ่ ยู่ ภายใต้ขอบเขตครบถว้ นทุกระดับความสําคัญ กล่าวคือ หนังใหญเ่ ป็นมหรสพหรอื ศิลป ะการแสดง มรดกภมู ิ ปญั ญาทางวัฒนธรรมของไทย ทสี่ ุ่มเสีย่ งตอ่ การสูญหาย กาํ ลังเผชิญกบั ภัยคุกคาม ถูกฉกฉวยนาํ ไปใช้ประโยชน์ อยา่ งไมเ่ หมาะสม ดังปรากฎตามข่าวสารทสี่ อื่ มวลชนนาํ เสนอ รวมถงึ กําลังขาดแคลนผู้รบั สบื ทอด ด้วยคา่ นยิ ม ของคนรุ่นใหม่ทีแ่ ปรเปล่ยี นไปตามกระแสนยิ ม ท้ังทหี่ นังใหญ่เปน็ มหรสพทสี่ ะท้อนถึงอตั ลกั ษณข์ องชมุ ชน ชาติ พนั ธ์ุ ภูมิภาค หรอื รากเหง้าเอกลกั ษณข์ องชาติ รวมถงึ เปน็ เร่ืองท่ียงั มีการสบื ทอดและยงั ปฏิบตั ิอยใู่ นชมุ ชน ซึ่ง มีศักยภาพในการสรา้ งสรรคป์ ระโยชนต์ อ่ การพัฒนาวิถชี ีวิตท่ยี ั่งยนื ทงั้ หมดท่กี ล่าวมาลว้ นเปน็ เหตุผลสาํ คัญ เรง่ ดว่ นในการวิจยั ครงั้ นี้ ความเปน็ มาหนงั ใหญ่ หนงั ใหญ่เป็นศิลปการแสดงท่เี รยี กขานตามขนาดของรูปตวั ละครรามเกยี รติ์ ปรุสลักหนงั วัวที่นาํ มา เชดิ มองเห็นได้ชัดว่ามขี นาดใหญ่ราว ๑-๒ เมตร ในพจนานกุ รม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ กล่าววา่ “หนงั ใหญ่คอื การมหรสพอยา่ งหนึ่ง ใช้หนังสลกั เป็นรปู ภาพขนาดใหญ่ กว่าหนังตะลุงมาก คบี ดว้ ยไมต้ บั ๒ อันสําหรับจบั เชิด เชดิ ได้ทง้ั หลงั จอ และหนา้ จอ ใช้ป่ีพาทย์และเกราะบรรเลงประกอบ ผ้เู ชดิ กบั ผพู้ ากยเ์ ปน็ คนละคนกัน” หนังใหญเ่ ปน็ มหรสพชน้ั สูง ทร่ี วมพธิ กี รรมและศิลปะไทยหลายแขนงตามหลักชา่ งสิบหมู่ เขา้ ไว้ ดว้ ยกนั และมีกระบวนการถา่ ยทอดทีเ่ ปน็ ระบบครบวงจร ประกอบด้ วย หัตถศิลป์ การสรา้ งสรรค์วาด สลัก ปรุลวดลายบนแผ่นหนงั นาฏศลิ ป์ การเชดิ หนงั แต่ละตัว พระ ยักษ์นาง ลงิ ฯ สหวิชารว่ มกับโขน คตี ศลิ ป์ การ พากย์ เจรจา ทตี่ ้องจดจาํ อยา่ งแมน่ ยําและมีปฏภิ าณในการด้นสดใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ ดุริยางคศลิ ป์ การบรรเลงเพลงปี่พาทย์ประกอบการแสดงอยา่ งสอดคลอ้ งต้องอารมณ์ และ วรรณศิลป์ เรอ่ื งราวแต่ละตอน ของรามเกียรต์ิ โบราณจารยห์ นังใหญ่มงุ่ เนน้ ให้ศิษยห์ รอื ศลิ ปินแตล่ ะคน ได้ศึกษา แบบเน้นการปฏิบตั อิ ยา่ ง เป็นกระบวนการ ครบถ้วนทุกแขนง แบบองค์รวมทีค่ รบวงจร ทาํ ใหเ้ ขา้ ใจในศาสตรอ์ ยา่ งลึกซง้ึ แตกฉาน หนังใหญ่ เ ปน็ มหรสพหลวง ที่มหี ลกั ฐานการแสดงหนังใหญ่ครง้ั สมัยกรงุ ศรอี ยุธยา อาทเิ ช่น ในสมัย ของสมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ ๑ (พระเจา้ อทู่ อง) และสมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดใหพ้ ระมหาราชครแู ต่ง

4 สมทุ รโฆษคําฉันท์ เพอ่ื ใช้แสดงหนงั ใหญ่ ตอ่ มาในสมยั รัตนโกสนิ ทร์ในสมยั สมเดจ็ พระพุทธยอดฟาู จุฬาโลก มหาราช ทรงพระราชนพิ นธบ์ ทละครเรือ่ งอิเหนา เพ่อื ใชแ้ สดงเพ่มิ จากเรอื่ งรามเกยี รติ์ สว่ นสมยั สมเด็จพระ พุทธเลิศหล้านภาลยั มีหลักฐานการสร้างตัวหนงั ใหญ่ชดุ พระนครไหว เป็นตน้ ทัง้ นี้นักวชิ าการ ผเู้ ชีย่ วชาญด้านศลิ ปการแสดงหลายทา่ นกลา่ วถงึ ประวัตคิ วามเป็นมาและค วามหมาย ของหนังใหญไ่ ว้อยา่ งนา่ สนใจ มนตรี ตราโมท กล่าววา่ “...เทาทพ่ี บเห็นมาหนงั ของชาตอิ น่ื จะมีขนาดเล็กอยางหนังตะลงุ ทง้ั ส้นิ นอกจากชวาซง่ึ มีผูเลาใหขาพเจาฟงวา เคยเหน็ หนังชวาขนาดเท าหนังใหญของเรานีต้ ิดไวเปนเคร่ือง ประดบั บ านของเจานายและขาราชการผูใหญของชาวชวาบางทาน แต การแสดงที่มอี ยูในปจจบุ ันลวนแลวแตเปนหนงั เล็ก ๆ ขนาดเท าหนงั ตะลุงทัง้ สนิ้ จึงพอสนั นษิ ฐานได วาชวาคงเคยมีหนังใหญ ทแ่ี สดงมาแตโบราณแลว หมด ความนยิ มจนสูญไป เพราะฉะนัน้ นอกจากการรบั แบบแผนเรือ่ งฉลุหนังเป นภาพเชดิ ซึ่งไม ทราบแนวามาจาก ไหนแลวการแสดงเฉพาะหนังขนาดใหญนี้จะมกี ารเอาอยางกันก็เหน็ จะเปนระหวางไทยกับชวา...” ส่วน ผะอบ โปษะกฤษณะ มีความคิดเห็นวา่ “...มหรสพหนงั ใหญนีไ้ ทยเราจะไดมาจากไหนหรือชาติ อืน่ รับไปจากเรา หรอื จะได มาจากอนิ เดยี แลวตางก็มาปรับเปนของตน ไม มีหลกั ฐานปรากฏแนชัด นอกจากท่ี ปรากฏวาการแสดงอยางนีม้ ีในชวาซ่ึงคลายคลงึ กันกับหนงั ใหญของไทยเรามาก แม จนทุกวนั นกี้ ็ยังมีการเล นหนงั ใหญอยู คนพากยหนงั ชวาเรียกวา “ดาหลงั ” การเลน สาํ คัญอยู ทีต่ ัวดาหลงั จอของหนงั ชวาโตกวา หนงั ตะลุงเล็กนอย การแสดงหนงั ชวานน้ั คนเชิดก็เชดิ หนาจอเชนเดยี วกับคนไทย แตตวั หนงั สูงประมาณ ๑ เมตร ไม มใี หญกวานน้ั แต การเชอ่ื มไมทจ่ี ับนนั้ เขาสามารถทาํ ใหตวั หนังเคลือ่ นไหวได แสงไฟสองขางหลังทําใหเห็นสี สวยงามขณะเชิดออนไหวเหมอื นมีชวี ติ ทําใหเกดิ ความเพลดิ เพลินไปตามลลี าของการแสดง...” ปญญา นิ ตยสุวรรณ มหรสพของไทยทขี่ ึ้นช่อื วา “หนงั ” มอี ยู ๒ ประเภท คือ หนงั ใหญ และหนัง ตะลงุ ทีเ่ รียกวาหนัง กเ็ พราะใชแผนหนังววั บางทานวาใชหนงั ควายก็ได แตหนังวัวจะบางและโปรงใสสวยงาม กวาหนงั ควาย เมื่อไดแผนหนงั แลวนาํ มาฉลสุ ลกั ลายเปนภาพตัวละครตามทองเรอื่ งการเลนหนังไทยในสมยั อยธุ ยา มไิ ด ระบวุ า “หนงั ใหญ คงเรียกวา “หนงั ” ดงั เช นวรรณคดีเรอ่ื งปุณโณวาทคาํ ฉันท ของพระมหา นาค วดั ท าทราย ทแ่ี ต งไวในสมยั พระเจาบรมโกศ ประมาณ พ .ศ. ๒๒๙๔ - ๒๓๐๑ บรรยายถึงมหรสพท่แี สดง สมโภชพระพุทธบาทในเวลากลางคืนวา

5 ครั้นสรุ ยิ เสด็จอัษฎงค เล้ียวลบั เมรลุ ง ชรอุมชรอ่ําอมั พร สนองพระทรงศร พากยเพยเสยี งกลอง บัดหนังตงั้ โหกาํ ธร ชูเชิดพระนารายณ ฉลกั เฉลมิ เจมิ ทอง ปลอยวานรพนั ปละปลอยวานร เทียนตดิ ปลายศรศรสอง กท็ มุ ตะโพนทาทาย สามตระอภวิ นั ทนบรรยาย นรินทรเรมิ่ อนุวัน บดั พาลาสองสองขยนั ธนาก็เตาเตยี วจร ถวายโคบตุ รบมมิ รณ นิวาสสถานเนาดง” พจิ ารณาจากขอความในกาพยฉบงั ทพ่ี ระมหานาค วดั ท าทราย แต งตามท่ยี กอางนีจ้ ะเหน็ วาหนงั ก็คอื การแสดงหนังใหญนัน่ เอง และก็ได อธิบายวธิ ีเลนไวดวยวา มกี ารพากย สามตระซ่ึงเปนการเบกิ หนาพระ และ การแสดงเบกิ โรงชดุ จับลงิ หวั ํค่า ตามวิธกี ารแสดงหนังใหญทีน่ ิยมแสดงกันมาแตสมัยโบราณ สน สมี าตรงั นิยามความหมายของหนังใหญ่ไว้ว่า “หนังใหญ หมายถึง การแสดงประเภทหน่ึง โดยเอา ภาพทสี่ ลักจากหนังมาเชดิ ประกอบดนตรีและคาํ พากยเจรจาใหเปนเร่อื งเปนราว มักมีลกั ษณะคลายหนงั ตะลุง การแสดงนี้มกั ใชจัดเพอื่ ความบันเทิง ในพระราชพิธี และพิธตี างๆ เสมอ เช น ให ความบนั เทิงในพระราชพิธี หรอื พธิ เี กีย่ วกับการตาย และยงั ได รบั การยกยองใหเปนมหรสพช้ันสูง ทง้ั น้ีเน่อื งจากหนงั ใหญ ไดรวมคุณค าศิลปะหลายแขนงเขาไวดวยกนั ได แกคุณคาความงามอันเกิดจากลกั ษณะศิลปะออกแบบของชางตลอดจนช างสลกั ตัวหนงั ประกอบกบั คุณคาทางนาฏศิลปท่ีใชแสดง อันเปนความงามทเ่ี กิดจากทวงทาทํานองลลี าของคน เชิด และบทพากย บทเจราจา ตลอดจนการดําเนินเรื่องในเชงิ วรรณกรรมซึ่งมีบทบาท ทาํ ให หนงั ใหญมีคณุ คา ทางศิลปะมากย่ิงข้นึ ประการสุดทาย ไดแก คณุ คาความไพเราะของดนตรี โดยเฉพาะอยางยิ่งการบรรเลงเพลง ของวงปพาทย ทีใ่ ชเลนหนังใหญ ” “...หนงั ใหญ สันนิษฐานไววาคงเปนคาํ ท่ใี ชเรียกกนั ในสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รชั กาลท่ี ๕ เปนตนมา ทงั้ น้ี เพราะก อนหนานี้ปรากฏหลักฐานวา การเรยี กการแสดงหุนเงาเพียงคาํ วา “หนงั ” คําเดียว ประกอบกับมกี ารเรียกการละเล นชนดิ น้ีวา“หนังใหญ ในแหลงทยี่ ังมกี ารแสดงและสะสมตวั หนงั ประเภทน้ไี ว นั่นคือ วดั ขนอนซง่ึ ตามประวัติแลว วดั นเ้ี ริ่มสรางหนังใหญในสมัยรัชกาลที่ ๕ นัน่ เองจากหลักฐาน เทาท่ปี รากฏพบวาการสรางตวั หนัง และการแต งประพนั ธวรรณคดเี พอื่ ใชในการเลนหนงั ใหญไดปรากฏมาและ

6 ส้ินสุดลงในรัชกาลท่ี ๕ พนจากน้ีแลวไมปรากฏหลกั ฐาน เกีย่ วกับการสรางหนังทแี่ นชัด อยางไรก็ตาม กจ็ ะเหน็ ไดวาตัง้ แตสมัยกรุงศรอี ยุธยาเปนตนมาจนถงึ ยคุ รัตนโกสินทรในรัชสมัยรัชกาลท่ี ๑ จะปรากฏเพียงหลกั ฐานท่ี เปนลายลกั ษณอักษรเทานั้น ซึ่งถือว าเปนเพียงขอมลู ภาคเอกสารเทานน้ั ส วนหลักฐานท่เี ปนตัวหนงั ซ่ึงใช แสดงนัน้ ไมปรากฏวายังเหลืออยู เพื่อจะไดนาํ มาอางยนื ยนั ไดเลย ดังที่สมเดจ็ พระเจ าบรมวงศเธอกรมพระยา ดาํ รงราชานภุ าพ ได ทรงอธิบายไวในคํานาํ หนังสือประชุมบทพากย รามเกยี รตฉิ์ บบั พิมพครัง้ แรกวา “สําหรับ ตัวหนงั ใหญทีพ่ บในปจจุบนั ลวนเปนหนังใหญท่มี ีอายุ ๑๕๐ ป หรอื จะกลาววาสรางขน้ึ สมยั กรุงรตั นโกสินทรมา นเ่ี องจากเอกสารตางๆดังกลาวขางตน อาจสรปุ ไดการเลนหนงั ปรากฏในประเทศตางๆ ในเอเชยี โดยเฉพาะ อยางย่ิงเอเชียอาคเนยมาแตโบราณ อาจเป นไดวาการเลนหนงั เกิดข้นึ ในทต่ี างๆและมีความคลายคลงึ กันโดย บังเอิญ เนอ่ื งจากการเลนเงานนั้ เปนความคิดสรางสรรคของมนุษย จึงทาํ ใหคลายคลึงกนั ไดโดยบังเอญิ เชนเดยี วกับการถอื กําเนดิ ของเคร่อื งดนตรตี ามแนวทฤษฏี “นานากาํ เนิด” (Polygenesis) และมีความเปนไป ไดวาหนังของวฒั นธรรมหนงึ่ อาจสงผลใหเกดิ หนงั ในวฒั นธรรม อ่นื ตามแนวคิดทฤษฏี “การถายโยงทาง วัฒนธรรม” (Diffusion) กไ็ ด และในการรับเอาแบบอยางภายนอกเขามานนั้ ผูรับสามารถปรับปรงุ ดัดแปลง แตงเตมิ ใหดงู ามกวาเดมิ หรือแปลกออกไปจากเดมิ ตามคติความเชอื่ รสนิยม และฝมือทางศลิ ปะของตนๆก็ได สาํ หรับกรณหี นังใหญของไทยน้นั ไมปรากฎหลกั ฐานแนชัดวาไดแบบอยางมาจากท่ีใดแตเขาใจวานาจะปรับปรงุ จากหนงั ธรรมดาๆท่ีชาวบานเลนกันอยใู หมขี นาดใหญโตขึ้น สวยงามข้ึ นเปนประณตี ศลิ ป รวมทง้ั การใชดนตรี และทวงทีการเชดิ ใหเหมาะสมกบั การเปนมหรสพในราชสาํ นกั ก็เปนได” ประทุม ชุ มเพ็งพันธุ กลาวว่า “...จากหลกั ฐานทีป่ รากฏเลนหนังมีตนกาํ เนดิ อยูในแถบเอเชยี แต ไมมี หลกั ฐานที่แนชัดวาเปนชนชาตใิ ดในเอเชียที่เปนตนความคิดในการเลนหนัง อย างไรก็ดไี ดมผี ูคนพบหลกั ฐาน เกีย่ วกบั หนงั ซ่ึงเป นศิลปวัตถุท่เี ชื่อกนั วาเปนอุปกรณการเลนหนงั ในภาคเหนือ และภาคใต ของ จนี มีอายเุ ก าแก ประมาณครสิ ตศตวรรษที่ ๑๑ ทัง้ สองภาพเปนภาพคนในวรรณคดจี ีนแต ไมทราบวาเปนวรรณกรรมเรอ่ื ง ใด ศิลปวัตถุที่พบในภาคเหนอื เปนแผนภาพเลาเรอ่ื งทที่ ําจาก หนังลา สวนท่ีพบในภาคใตเปนแผนภาพเลาเรื่อง ท่ที ําจากหนังแกะลักษณะของตัวหนงั ทที่ ําจากหนงั สัตวดังกลาว จะตากแห งกอนแลวขูดลอกขนออกหมดแผ นหนงั จะโปรงแสง ตัดเปนภาพแลวฉลุลวดลาย ระบายสีตกแตง ซ่ึงเขาใจกันวาในตอนแรกจนี ใชผา ไหม หรือผ าแพรวาดตดั เปนรูปหนงั ภายหลังจงึ เปล่ยี นไปใช หนังสัตวแทนเพราะคุณสมบัติทนทาน และดกี ว า นอกจากนต้ี วั หนงั จนี ยังมแี ขนขาที่ขยบั เขยอื้ นได มีกานไมผกู ตดิ กบั แขนขาเพ่ือใชบังคับไดเม่ือตองการ ลกั ษณะ ตัวหนังดังกลาวทีพ่ บในจนี มลี กั ษณะคลายคลึงกบั ตวั หนังทพี่ บในเอเชยี แถบอ่ืน ๆ นอกจากนีย้ ังพบหลกั ฐาน เพมิ่ เติมอกี วา การเลนหนงั ของจนี จะนยิ มเลนเรื่อง “ตํานานราชวงศฮัน่ ” (Han Dynasty) เร่ืองตาง ๆ ใน วรรณคดีจนี โบราณ เร่อื งนกั รบในยุทธจกั ร เรอื่ งผู ทรงวิทยาคุณ (Professor) เร่ืองพอคาวานชิ ตลอดจนเร่ื อง เกย่ี วกับครอบครัวและภรรยาของชนชน้ั สูง และผู มงั่ คง่ั หนงั จีนส วนใหญแพรหลายในหมูนางในราชสํานัก นอกจากนห้ี นงั จีนยงั เคยเขามาเลนในเมืองไทยคร้ังหน่งึ ดังความทป่ี รากฏในจดหมายเหตุคร้งั พระเจากรงุ ธนบรุ ี เม่อื คราวฉลองพระแกวมรกต พุทธศกั ราช ๒๓๒๒

7 นอกจากประเทศจีนแลวในประเทศอนิ เดยี ยงั ปรากฏหลักฐานเก่ียวกับการเลนหนงั อยเู ชนกัน โดยมีผู พบวาชาวอินเดยี รูจกั การเลนหนงั มาตงั้ แตสมยั ดึกดาํ บรรพ ซงึ่ กําหนดระยะเรมิ่ ตนไมได แตมีหลกั ฐานปรากฏ ในหนงั สอื ภาษาสันสกฤตโบราณของอินเดีย เรยี กว า “ฉายานาฏกะ” เกดิ ข้นึ ประมาณชวงตน ๆ ของครสิ ต ศักราชและการเลนหนังของชาวอนิ เดียมหี ลายรูปแบบแตกตางกนั ซึง่ ส วนใหญไดเลิกสาบสูญไปหมด แต แบบ เกาทส่ี ดุ แบบหนึง่ ตกทอดมาจนถงึ ปจจุบนั มชี อ่ื วา “โฮลลอมมาลาตะ” (Tholulommalata) ซง่ึ มเี ลนอยูใน ภาคตะวนั ออกเฉยี งใตของแควนอนั ธระประเทศใกลเมอื งมัทราส ตัวหนงั ทําจากแพะเร่ืองราวที่นยิ มเล น คือ เรอ่ื งมหาภารตะและรามเกียรติ์ มีผู รูหลายทานเชื่อวาอินเดียเปนแบบการเลนหนังใหกับชาวเกาะชวาโบราณ และชาวเกาะชวาก็ถายทอดใหกับชาวเกาะบาหลใี นครสิ ตศตวรรษที่ ๑๕ เมอ่ื ชาวเกาะชวาเปลยี่ นการนับถอื ศาสนาพทุ ธไปนบั ถอื ศาสนาอสิ ลามแลว แตการเลนหนังก็ยังคงความนิยมสืบมา…” โดยรวมแล้วนกั วิชาการผูเ้ ช่ียวชาญด้านประวัตศิ าสตร์หนงั ใหญห่ ลายท่านตา่ งมคี วามเหน็ คล้ายกันว่า หนังใหญข่ องไทย อาจมีท่มี าจาก ๓ แหลง่ ซึ่งอาจเปน็ ทั้งโดย ทางตรงหรือโดยทางผ่าน คือ อินเดยี ทเ่ี ป็น ตน้ แบบแม่บทนาฏศิลปะ ดนตรี วรรณกรรมท่เี ผยแพร่มา ยงั เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ส่งผา่ นมาทางวฒั นธรรม ชวา จากดนิ แดนทะเลใต้ ในสมยั ศรีวิชัย และผสมผสานวฒั นธรรมเขมร ในราวพทุ ธศตวรรษที่ ๒๐ แผนผงั แนวคดิ ทมี่ าของหนังใหญ่ อินเดีย [ต้นแบบ] ชวา เขมร [สง่ ผา่ น] [ผสมผสาน] ไทย หนังใหญ่

8 ประวตั ิความเป็นมาของหนังใหญใ่ นประเทศไทย ถึงแมใ้ นสมัยสุโขทยั ไมม่ ีหลกั ฐานใดๆ ปรากฏจนเป็นท่ีประจักษ์ว่ามีมหรสพหนังใหญ่ แตจ่ ากเค้า โครงจากพระราชพธิ ี ๑๒ เดือน ท่ีไดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจากศาสนาพร าหมณป์ รากฏพระราชพธิ ีจองเปรยี งลด ชุด ลอยโคมลงน้าํ ในกฎมณเฑยี รบาล สมัยพระเจ้าอ่ทู อง (พ.ศ.๑๘๙๓ - ๑๙๑๒) หากยอ้ นกลบั ไปสมัยอาณาจกั รสุโขทัยในเวลาใกล้กนั น้ัน พระยาลิไท (พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ พ.ศ. ๑๘๙๐ – ๑๙๑๙)นั้น มกี ารแต่งต้ังพ ราหมณใ์ นราชสาํ นกั ในตําแหนง่ พระศรมี โหรสถพระ มหาราชครปู ุโรหิต เพอื่ ถวายความรู้ คาํ ปรกึ ษาราชการตา่ ง ๆ และมีการพระราชพธิ ีตามคาํ ภีร์พระเวท และพระราชพธิ สี ิบสอง เดือนและสมยั นม้ี สี รา้ งเทวรูปสมั ฤทธิ์ข้นึ หลายองค์ เชน่ พระอิศวร ..พระนารายณ์ เปน็ ต้น แลว้ ถ้าย่ิงยอ้ นกลับไปถึงต้นทางที่ประเทศอินเดียนนั้ ชาวฮินดู-พราหมณ์ มีเทศกาลงานสาํ คัญและประเพณี ตา่ งๆทม่ี าจากเร่อื งของพระรามที่ยงั คงมอี ยู่จนทกุ วันนเี้ ช่น เทศกาลวิชยั ทศมี (Vijayadashami) หรือ ทุศเศห์ รา(Dussehra) เปน็ งานเฉลมิ ฉลองใหญใ่ นช่วงประมาณเดอื นตุลาคม จดั ข้ึนเพ่อื ระลกึ ถึงชัยช นะของพระรามที่ มีต่อราพณาสรู หรือทศกณั ฐ์ ในช่วงเทศกาลนี้จะมกี ารแสดงทกุ ๆค่ําคนื เรยี กวา่ รามลลี า (Rama leela) จนกระทัง่ วันสุดท้ายเรือ่ งท่ีแสดงจะเปน็ ตอนทพ่ี ระรามสังหารทศกัณฐซ์ ง่ึ ตรงกับวนั วิชยั ทศมีพอดี ถดั จากนัน้ อกี เดอื นหนึ่งเชื่อวา่ เปน็ วนั ที่พระรามเดนิ ทางกลับถึงเมอื งอโยธยา ก็มีเทศกาล ทวิ าลี (Diwali) หรือเทศกาลลอย ประทปี คล้ายๆกับลอยกระทงในบ้านเรา ซึ่งในช่วงนชี้ าวอินเดียจะลอยดวงไฟหรือประทีปในแม่น้ํา และ ตกแต่งบ้านดว้ ยดวงไฟประทีปประดับพรอ้ มกันทัง้ เมอื งเพอ่ื เป็นการเฉลิมฉลอง และตอ้ นรับการกลับมา ของพระราม นอกจากน้ยี ังมีการให้รูปเคารพเทพเจ้าทน่ี บั ถือ และขนมมงคลแกก่ นั และกัน 1 จากข้อมลู ข้างต้น จะเหน็ ถึงความเก่ยี วเน่ืองเชื่อมโยงกนั ของพระราชพธิ ี ๑๒ เดือน ในสมัยอยธุ ยา และสุโขทัยทีม่ ีเค้าลาง จากเทศกาลของชาวฮินดู-พราหมณใ์ นประเทศอนิ เดยี ซ่ึงจะสงั เกตวา่ เทศกาลต่างๆเกดิ จากความศรัทธาในเรือ่ งของราม ซง่ึ เป็นตวั เอกในวรรณกรรมเรือ่ งรามเกยี รต์ขิ องไทย การแสดงหนงั ใหญ่ใน ชว่ งแรกทกี่ ล่าววา่ เปน็ การแสดงกงึ่ พิธีกรรม หรือการแสดงประกอบพิธีกรรม จงึ น่าจะมีเค้าโครงทม่ี าจากพระ ราชพิธีเดอื น ๑๒ พระราชพิธีจองเปรยี งลด ชุด ลอยโคมลงน้าํ ตงั้ แตค่ ร้งั สมัยสโุ ขทัย อยธุ ยา จนมาถึงสมยั รัตนโกสนิ ทร์ 1Jay Chanon, รามายณะ มหากาพย์ที่เขา้ ไปนั่งในหัวใจผคู้ นจากภารตวรรษสูส่ วุ รรณภูมิ [ออนไลน์],16 ธนั วาคม 2556. แหล่งทีม่ า http://jaychanon.blogspot.com

9 ประวัตหิ นงั ใหญส่ มยั อยุธยา พ.ศ.๑๙๐๑ สมัยพระเจา้ อทู่ อง พระราชพิธีจองเปรียงลดชดุ ลอยโคมลงนํ้า ในกฎมณเทียรบาลอยุธยา กลา่ วถึงหนงั ระบํา และหนงั กลางคืน สมัยสมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ ๑ (พระเจา้ อู่ทอง : พ.ศ.๑๘๙๓ - ๑๙๑๒) พระราชพธิ จี องเปรยี งลด ชุด ลอย โคมลงนํา้ ในกฎมณเทยี ร บาลอยธุ ยา“เดือน ๑๒ การพิทธีตรองเปรยี ง ลดชดุ ลอยโคมลงน้า ตงั้ ระทาดอกไม้ในพระเมร์ุ ๔ ระทา หนงั ๒ โรง เสดจล์ งเรอื เบญจา ๕ ชนั้ พระธีน่ ั่งช้นั ๔ ชัน้ สมเดจ์พระอรรคมเหษีแม่หยวั เจา้ เมอื งช้นั ๓ ลกู เธอ ชน้ั ๒ หลานเธอช้นั หน่ึง พระสนมหม่ ชมภุใส่สกุ หร่าประธบี ทัง ๕ ชัน้ เรอื ปลาลกู ขุนเฝูาหนา้ เรือเบญจา เรือตะเขแ้ นมทงั สองข้ าง ซา้ ย ดนตรีขวามโหรี ตั้งเรือเอนเปนตง้ั แพนโคมทกุ ลา ถ้าเสดจ์ ลงเปาุ แต โห่ ๓ ลา เลน่ หนงั ระบา เลี้ยงลูกขุนแลฝาุ ยในคร้ันเล้ยี งแล้วตดั ถมอแก้ เอนโห่ ๓ ลา เรือเอนตั้งแพนเห่ตดั ถมอลอบเรือพระธี่น่งั ลอ่ ง ลงไปสง่ นา้ ครั้นถงึ วดั พทุ ไธสวรรค2 จุดดอกไม้ เลน่ หนงั เสดจล์ งเรือสมรรถไชย กับ สมเดจ์พระภรรยาเจา้ ทัง ๔ ลูกเธอหลานเธอพระสนม ลงเรือประเทยี บ ขน้ึ มาขา้ งเกาะแก้ว” ประมาณ พ.ศ.๒๒๐๐ สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระราชนิพนธ์ สมทุ รโฆษคําฉันท์ และอนริ ุทธ์คาํ ฉันท์ (ศรปี ราชญ์แตง่ ) ใชเ้ ปน็ บทพากย์หนัง หนงั สอื จินดามณี พระโหรธบิ ดีแต่ง กลา่ วถึงช่ือบทพากย์หนงั อยธุ ยา3 รามเกยี รต์ิคําฉันท์ ๑.บทตอนทพ่ี ระอนิ ทรใ์ หพ้ ระมาตุลีนํารถมาถวายพระรามในสนามรบ ๒.ตอนพระรามกับพระลกั ษมณ์ครา่ํ ครวญตดิ ตามนางสดี า ๓.ตอนพรรณนาถงึ มหาบาศลกู ทศกณั ฐ์ ๔.บทตอนพิเภกครวญถึงทศกัณฐเ์ มือ่ ทศกัณฐ์ล้ม ประมาณพ.ศ.๒๒๗๕-๒๒๓๐ สมัยสมเด็จพระบรมโกศ ปณุ โณวาทคาํ ฉันท์ ของพระมหานาค กลา่ วถงึ เล่นหนงั เร่อื งรามเกยี รตต์ิ อนศกึ ไมยราพ งานสมโภชพระพทุ ธบาท 2สร้างเม่อื พ.ศ. ๑๘๙๖ 3 แตง่ ขนึ้ ระหวา่ งรัชกาลสมเดจ็ พระเพทราชากบั สมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั บรมโกศ, รามเกียรติ์คาฉนั ท์ คาดวา่ พระโหราธิบดีน่าจะมาจากบทพากย์ เก่า ซ่ึงไดส้ ูญหายไปแลว้ เหลือเพียงทีน่ ามาเป็นตวั อยา่ งในหนงั สือจินดามณีแค่ ๓ ถงึ ๔ บทเทา่ น้ัน

10 ในรชั สมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ พ .ศ. ๒๐๙๙ – ๒๑๓๑) โปรดเกล้าฯให้กวี สําคญั ราชสาํ นกั แต่งวรรณกรรมข้นึ เพือ่ ใชเ้ ปน็ บทแสดงหนังซึ่ง มผี ู้สันนิษฐานว่า น่าจะมีพระราชประสงคใ์ หจ้ ัด แสดงในการพระราชพธิ เี บญจาพิศ หรือ ฉลองพระชนมายุครบ ๒๕ พรรษา ดงั ปรากฏในวรรณกรรมสมทุ รโฆษ คาํ ฉันท์ ซึง่ มที ่ีมาจากสมุทรโฆษชาดก แตง่ โดยพระมหาราชครู ดงั น้ี พระบาทกรงุ ไทธ้ รณี รามาธิบดี ประเสริฐเดโชไชย เดชะอาจผโอนท้าวไท ทั่งทง้ั ภพไตร ตระดกด้วยเดโชพล พระบาทกมลนฤมล ท้าวทั่วสากล มาถวายบงั คมเคารพ สบศลิ ปน์ เรศวรพบ ธรรมาคมสบ ปการรู้รสธรรม์ พระปรีโชบายอนนั ต์ บรกิ ษสรร- พการสุดลงกา พระราํ ฤกยศพระศาสดา ปางเป็นราชา สมทุ รโฆษอาดรู เสดจ็ เสวยสรุ โลกพบิ ลู ย์ เสรจ็ เสดจ็ มาพลู ในมรรคทรงธรณี แสดงศลิ ปธ์ นูศรศรี ผจญคณกษตั รยิ ์ อันโรมในรณควรถวลิ ได้ไทเ้ ทพชี อื่ พณิ - ทมุ ดี เจยี รจิน-

11 จํานองโดยกล ตโฉมอนงคพมิ ล เป็นบรรพบรุ ณะ พระใหก้ ล่าวกาพย์นพิ นธ์ กลเล่นโดยการ ตระการเพลงยศพระ ฯลฯ ให้ฉลักแสบกภาพอันชระ นเรนทรราชบรรหาร ให้ทวยนกั คนผชู้ าญ ยเปน็ บําเทงิ ธรณี นอกจากนย้ี ังมีหลักฐานท่ีพบในปุณโณวาทคําฉันท์ แต่งโดยพระมหานาค วดั ท่าทราย กล่าวถึง การแสดงหนงั ตอนกลางคืน เรือ่ งรามเกียรติ์ ในการสมโภชพระพุทธบาททส่ี ระบรุ ี ในรัชสมยั พระเจา้ อย่หู วั บรมโกศ ซ่งึ เปน็ พระราชประเพณีสาํ คัญของพระมหากษัตรยิ อ์ ยุธยา ดงั นี้ ครนั้ สรุ ยิ เสดจ็ อัษฎางค์ เลยี้ วลบั เมรุลง ชรอุม่ ชรอ่ําอัมพร บดั หน้งตงั้ โห่กาํ ธร สองพระทรงศร ฉลกั เฉลิมเจิมจอง เทยี นติดปลายศรศรสอง พากยเ์ พย้ เสียงกลอง กท็ มุ่ ตระโพนทา้ ทาย สามตระอภิวนั ทบ์ รรยาย ชูเชิดพระนารายณ์ นรินทรเริ่มอนุวัน บัดพาลาสองสองขยนั ปล่อยวานรพัน- ธนาก็เตา้ เตียวจร

12 ปละปล่อยวานร ถวายโคบุตลบมใิ ห้มรณ์ สะกดอมุ้ องค์ นิวาสสถานเทาคง ฯลฯ เริม่ เรือ่ งไมยราพฤทธิรงค์ นเรศดลบาดาล หนังใหญส่ มัยธนบรุ ี สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช พระราชนิพนธร์ ามเกยี รต์ิ ๔ ตอน ใช้ แสดงหนัง ละคร และโขน พ.ศ.๒๓๑๓ ๑ ตอนพระมงกฎุ ๒ ตอนหนมุ านเก้ียวนางวานรนิ พ.ศ.๒๓๒๒ ๓ ตอนท้าวมาลีวราชว่าความ จนทศกณั ฐเ์ ข้าเมอื ง ๔ ตอนทศกัณฐ์ตั้งพธิ ีกรวดทราย ฉลองสมโภชรับพระแก้วมรกตกลา่ วถงึ หนัง(ไทย)ท่ีจดั แสดงระหวา่ งระทา ๙ โรง, หนงั จีนและหนงั กลางวนั ในสมยั กรุงธนบรุ ี แม้จะอยใู่ นยคุ ฟ้นื ฟบู ้านเมอื งหลังจากเผชิญกับหายนะภัยหลงั การเสียกรงุ แต่ ปรากฏหลักฐานในวาระเฉลิมฉลองครั้งสําคัญคอื เมอ่ื พ .ศ. ๒๓๒๒ คราวรบั พระแกว้ มรกตที่เจ้าพระยามหา กษัตรยิ ศ์ กึ อัญเชิญมาจากกรุงเวยี งจนั ทร์ สมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ มหาราชโปรดเกล้าฯให้จัดการมหร สพสมโภช อยา่ งย่งิ ใหญน่ บั แตโ่ ปรดใหพ้ ระเจา้ ลูกยาเธอ เจ้าฟาู กรมขนุ อนิ ทรพทิ กั ษ์ เสด็จขน้ึ ไปรับพระแกว้ ที่ท่าเจ้าสนุก จงั หวัดสระบรุ แี ละเม่อื พระแก้วมรกตมาถึงกรุงธนบรุ ี และประดิษฐานอยู่ ณ วดั อรณุ ราชวราราม โปรดเกลา้ ฯ ใหก้ ระทาํ “...มหันตสกั การสมโภชเปน็ อันมาก”ตลอดพ้นื ท่ีสองฝง่ั แม่นา้ํ เจ้าพระยาต่อเน่ืองเปน็ เวลาหลายวนั จากเอกสารหมายรับส่งั กรงุ ธนบรุ ี (จ.ศ. ๑๑๓๘ เลขท่ี ๒) กล่าวถงึ งานมหรสพคราวน้นั วา่ ในบางคนื มีหนังท่ีจัด แสดงระหวา่ งระทาดอกไมไ้ ฟ พร้อมกนั ถงึ ๙ โรง โดยระบวุ า่ เป็นหนังไทย เพราะยังมีหนังจีน แสดงประชนั อกี ๒ โรง รว่ มกั บการแสดงตา่ งๆทกุ ประเภท นอกจากน้ียังปรากฏว่ามีการแสดง หนงั กลางวนั ในบางวนั อกี ดว้ ย ส่วนหนึ่งไทยท่ีมไิ ด้จดั แสดงในพ้ืนที่ระหวา่ งระทาก็มกี ารแสดงทุกวนั โดยระบไุ ว้ว่าเป็นหนงั ไทยโรงใหญ่

13 ทั้งนสี้ ามารถอ่านเพิ่มเตมิ ประวัติความเป็นมาเรอ่ื งราวทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับหนังใ หญ่ ชว่ งสมยั ต้น รัตนโกสินทร์จนถึงปจ๎ จุบัน ได้ในบทที่ ๕ เพือ่ ใหม้ องเห็นภาพรวม เข้าใจเร่อื งราวความสมั พันธ์ พัฒนาการของการแสดงหนงั ในภมู ิภาคเอเซียและ บางประเทศทีม่ คี วามน่าสนใจ จึงขอนําเสนอไวเ้ บื้องต้นดังน้ี หนังอินเดีย ตามหลกั ฐานที่ปรากฏในหนังสอื ภาษาสนั สฤตโบราณของอินเดยี เรียกการแสดงเชิดหนังใหเ้ กิดเงา ว่า “ฉายานาฏกะ” เกดิ ตงั้ แต่ตอนตน้ ๆของครสิ ตศกั ราช การเลน่ หนงั ของชาวอนิ เดียมีหลายรูปแบบแตกตา่ ง กนั และส่วนใหญส่ ญู หายไปหมดแล้ว แต่แบบท่เี กา่ ทส่ี ุดแบบหนง่ึ ซง่ึ ยังคงเหลือตกทอดมาจนถงึ ปัจจบุ ันมชี ่ือ เรียกวา่ “โธลลุ อมมาลตะ”(THOLULOMMALATA) มีเล่นกันอยใู่ นภาคตะวันตกเฉียงใต้ของแคว้นอันธระ ประเทศใกลก้ บั เมืองเชนไน ตวั หนงั มคี วามสูงกวา่ ๑ เมตร ทาํ จากหนงั แพะระบายสอี ยา่ งสวยงาม จอหนงั กวา้ ง ประมาณ ๗ เมตร ใช้คนเชดิ คนพากย์ ๒ – ๓ คน ภาพ ๑.๑ หนงั ของอินเดีย ที่มาของภาพ : http://en.wikipedia.org/wiki/Shadow_play

14 หนังจีน เกดิ ขึน้ ไมต่ ่ํากว่า ๑,๕๐๐ ปีมาแลว้ ในตอนแรกจีนใช้ผ้าไหมและผา้ แพรวาดตัดเปน็ ตัวภาพ ภายหลงั จึงเปล่ยี นใชห้ นังสตั วเ์ พราะคุณสมบตั ิดีกว่า ตัวหนังจีน ทาํ ข้นึ จากหนงั แพะ สว่ นใหญแ่ สดงกันแต่ใน ราชสาํ นกั เร่ื องท่นี ิยมแสดงมาจากวรรณคดมี ชี ่ือเสียงของจีนโบราณ เกยี่ วกบั นักรบในยทุ ธจักร เรอื่ งผทู้ รง วิทยาคณุ เรอื่ งพ่อค้าวาณชิ นกั เดนิ ทาง ฯลฯ ส่วนหวั และตัวหนังทําแยกกัน เวลาเล่นจงึ สามารถเปล่ียนหัวและ ตัวหนังได้เม่อื ตอ้ งการ มหี นังจนี เคยเขา้ มาแสดงในเมอื งไทยหลายครง้ั และครั้ งหนงึ่ ปรากฏในเอกสารหมาย รบั สั่งคร้งั สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช เมอื่ คราวฉลองพระแกว้ มรกตพทุ ธศกั ราช ๒๓๒๒ ภาพ ๑.๒-๑.๓ หนงั ของจนี ท่ีมาของภาพ : http://en.wikipedia.org/wiki/Shadow_play หนังชวา เปน็ หนังท่มี ีมานานแลว้ เช่นกนั อาจจะกอ่ นศาสนาฮนิ ดูจะแพรส่ ูเ่ กาะชวา หนงั ชวามหี ลายแบบ แต่ท่ี ขึน้ ชือ่ รู้จักกันดคี ือ วายังปูรวา ซึ่งยังคงไดร้ ับความนยิ มมากจนถึงปจั จบุ นั เป็นมหรสพท่เี ลน่ กันอยใู่ นชวาและ บาหลมี ักแสดงเร่ือง รามายณะ มหาภารตะ และปนั หยี ตวั หนงั มหี ลาย ขนาด ความสงู เฉลย่ี ประมาณ ๑ เมตร หนงั ชวาทาํ ตวั หนงั มลี กั ษณะแบบบาง แขนเลก็ ยาว ตัวเรยี วผอม คอยาว จมูกยาวง้มุ ทรงผม หน้าตาแปลกตา

15 ภาพ ๑.๔ หนงั ชวา อนิ โดนเี ซยี ท่มี าของภาพ http://en.wikipedia.org/wiki/Shadow_play หนงั มลายู หนังมลายคู ล้ายกับหนงั ชวามากเพราะรับแบบอยา่ งมาจากชวาโดยตรง แตท่ ีน่ ่าสนใจคอื มีการ เล่นหนังอกี ชนดิ หน่ึงพวกมลายเู รยี ก “วายังเสียม” (WAYANG SIAM) หรอื หนังสยาม นยิ มเล่นกันในรัฐกลัน- ตัน ตรังกานู ไทรบุรี ตลอดจนถึงนราธิวาส ยะลา ปัตตานี นอกจากน้ี สราวุฒิ เดชกมล นักวชิ าการศกึ ษา จา กสถาบันวัฒนธรรมศกึ ษากัลยาณวิ ัฒนา ไดข้ ยาย ความเป็นมาของหนังของมลายู และหนังของชวา ไวว้ า่ “การแสดงแบบเลน่ เงาหรอื หนังในภาคใต้ของ ประเทศไทยเปน็ ที่แพรห่ ลาย โดยเฉพาะพื้นทที่ างใตท้ ตี่ ิดกบั ประเทศเพอื่ นบ้านอย่าง มาเลเซยี ช่ือเรียกการ เลน่ เงาแบบนี้มหี ลายช่อื ที่ปรากฏ เ ชน่ วายงั กลู ะ วายังกลู ติ วายงั ชวา วายงั ยาวอ วายงั เซยี ม วายงั กเู ลต็ ยาวอ วายงั กูเละยาวอ โดยคําว่า “วายงั ” เป็นภาษาชวา “วา” แปลวา่ รปู รา่ ง ความคล้ายคลึงหรอื เงา “ยงั ” แปลวา่ เทวดา ดงั น้ันคาํ ว่า วายัง จงึ มคี วามหมายถงึ การละเลน่ ทเ่ี กยี่ วกบั เรื่องราวของเทพ หนงั ชวา หรอื วายงั ปุรว จึงนยิ ม เลน่ แตเ่ รอ่ื งราวรามายณะและมหาภารตะ อันเป็นความเช่อื แต่ดงั้ เดิมที่ไดร้ ับมาจากอนิ เดีย

16 เนื่องจากดนิ แดนในสามจังหวดั ชายแดนภาคใตเ้ ป็นดนิ แดนที่เปน็ เขตอิทธพิ ลของวฒั นธรรมอินเดยี ซ่งึ เป็นเขตวัฒนธรรมที่มีพนื้ ความเชอ่ื ด้ังเดมิ เดยี วกับอินโดนีเซยี และมาเลเซีย จึงส่งผลให้วัฒนธรรมทางดา้ น ศลิ ปะการแสดงทเี่ ป็นพ้ืนบา้ นแบบดง้ั เดิมจึงมคี วามคลา้ ยคลงึ กนั การปรากฏตัวของตัวหนังเริม่ มหี ลกั ฐานในการพบเห็น เช่นรูปตวั หนังท่ปี รากฏอย่ใู นเหรียญเงินของ ชวาสมัยอาณาจกั รมัชปาหติ รุ่งเรืองระหวา่ งปี ๑๘๓๖-๒๐๖๓ ซ่ึงรว่ มสมยั กับอาณาจกั รสโุ ขทัยถงึ อยุธยา ตอนตน้ ซึง่ ปรากฏรปู หนงั ชวาหรอื ตวั วายงั หนังชวาเขา้ สกู่ รงุ รัตนโกสนิ ทร์ในปี พ .ศ.๒๓๒๙ เมอ่ื สมเด็จพระ บวรราชเจ้ามหาสุรสงิ หนาถรับสง่ั ใหอ้ พยพครอบครวั ชาวปัตตานเี ขา้ มาตง้ั รกรากอยู่บรเิ วณริมคลองมหานาค และแถบหนา้ วัดชนะสงคราม ครัน้ ถงึ สมยั พระบ าทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจา้ อยู่หวั กวีในราชสาํ นักไดถ้ ่ายทอด ภาพพจน์ตวั หนงั ชวาออกมาเปน็ ตวั อกั ษรคร้ังแรก ในหนงั สือขุนช้างขุนแผน ตอนทําศพนางวันทอง ความว่า “ เหลา่ เจา้ พวกหนังแขกแทรกเข้ามา พศิ ดหู น้าตามนั ปอหลอ รปู รา่ งโสมมผมหยิกงอ จมกู โด่งโกง่ คอเหมอื นเปรตยืน” ซึง่ ผู้ประพันธ์กลอนบทน้ีคอื ขนุ สนุ ทรโวหาร (ภู)่ จงึ มีการตั้งสันนิษฐานว่า สนุ ทรภูค่ งนําเอา ประสบการณ์จากการไดร้ บั ชมหนังชวามาจากงานถวายพระเพลงิ พระศพสมเด็จพระศรสี ุลาลยั พระบรมราช ชนนี พระบา ทสมเดจ็ พระนั่งเกล้าเจา้ อยหู่ วั ในปี ๒๓๗๙ มาประพนั ธเ์ ปน็ กลอนเสภาข้นึ อีกท้งั ในพงศา วดาร เมอื งสงขลากล่าวว่าในงานถวายเพลิงพระศพครัง้ นี้ พระยาสงขลาไดน้ าํ พระยาตานี พระยายริ งิ พระยาสายบรุ ี พระยาระแงะ พระยายะลาและพระยารามามนั ห์ เข้าเฝาู จึงเป็นไปได้ว่านา่ จะมีทา่ นใดทา่ นหน่ึงไดน้ าํ เอาการ แสดงหนงั ชวามาแสดงถวายหรือไม่ก็หา “ดาหลัง” หนงั ชวาท่อี พยพเข้ามาอยูใ่ นกรุงเทพฯ มาแสดงถวาย ในสมัยเดียวกนั พระมหามนตรี(ทรพั ย์) ก็ได้กลา่ วถึงหนงั ชวาไว้ในหนังสอื บทละครเรอ่ื งระเด่นลนั ได ว่า

17 “นงุ่ กางเกงเขม็ หลงอลงกรณ์ ผา้ ทพิ ย์อาภรณพ์ ้นื ขาว จาระเบยี ดเสมยี รละว้ามาแตล่ าว ดรู าวกบั หนงั แขกเมอื่ แรกมี” ซงึ่ เมื่อมกี ารสืบหาตน้ ตอของการเล่นนายดาลงั ชาวปัตตานี กเ็ ล่าว่า ครอบครวั ตนอพยพมาจากชวา มี อาชีพเล่นหนัง เข้ามาปัตตานีนั้นเม่อื ใดกจ็ ําไมไ่ ด้ ซงึ่ วา่ กันว่าหนังชวาน้ันเป็นตน้ แบบของวายงั เซยี ม เช่นเดยี วกบั หนังตะลุง ทเ่ี ปน็ ท่ีนยิ มเลน่ กนั ของคนไทยในภาคใตข้ องไทยซงึ่ เป็นการเอาเร่ืองราวหนงั ชวามาเล่ น เปน็ เรอื่ งราวของไทย และตอ่ มามกี ารเล่นทแี่ พร่หลายไปในหลายพนื้ ท่ี ซ่งึ จะปรากฏในรปู ของการเล่นหนังใหญ่ และหนงั ตะลงุ โดยทบี่ างครงั้ เน้อื เรอ่ื งทแ่ี สดงกไ็ ม่ไดจ้ ํากัดอย่แู ตเ่ รอ่ื งราวของอิเหนา จึงเป็นที่มาของคาํ วา่ “วา ยงั เซยี ม” หรือหนังไทย ท่ีเรยี กวา่ วายังเซยี ม เพร าะเพราะเร่ืองราวท่ปี รากฏในหนงั น้นั เป็นเร่ืองราวไทย แตผ่ ู้ เล่นหนังกม็ ีการแทรกเรื่องราวบางตอนของหนังชวาใสล่ งไปและบางครากเ็ ป็นตํานานนทิ านของทอ้ งถน่ิ เขา้ ไป ดว้ ยเพ่ือผสมกับตน้ เรื่องเดมิ ด้วยและปรากฏเรือ่ งราวในรปู แบบนีไ้ ปท่วั นอกจากวายังกูเละจะมรี ายละเอียดท่ี แตกตางไปจาก วายงั แบบชวา แล วยอมแตกตางไปจากการเลนหนงั ตะลุงแบบไทยอยางมีนยั สาํ คัญดวยท้งั นม้ี ี คาํ ทเ่ี กี่ยวของซงึ่ ชวนใหสบั สนเพม่ิ ขึ้นอกี ๑คํานั่นคอื “วายังเซยี ม”ซง่ึ เปนการใหความหมายในลักษณะเดยี วกบั วายังยาวอโดยในกรณีน้ีมุงหมายถึง วายงั แบบ “เซียม” หรือวายงั แบบท่เี ลนกันอยูในเขตประเทศสยาม ซึง่ ออกเสียงตามแบบมลายูวา “เซยี ม”นัน่ เอง แต คาํ นมี้ ีความหมาย ๒ นัยซอนกันตามแตวาพูดจากที่ใด ใน ความหมายของพนื้ ที่ ๓ จงั หวัดชายแดนใต “วายังเซียม” จะหมายเฉพาะถึงหนังตะลงุ ในรปู แบบของไทยพทุ ธ แตสําหรบั ความหมายท่ีใชในประเทศมาเลเซยี แลว “วายงั เซยี ม” จะหมายถึงการเลนหนังทั้งแบบไทย มสุ ลมิ หรอื ท่ีเรียกว าวายังกเู ละและแบบของไทยพทุ ธรวมความกันไปทงั้ หมด สาํ หรับคําทีช่ าวมลายูใน ๓ จงั หวดั ภาคใตใชระบเุ จาะจงถึงหนงั ตะลุงแบบไทยพทุ ธโดยตรง เช น “วายงั ฆอื แดะ” หรอื “วายงั กลู ติ ซือแย” โดยคําวา “ซอื แย” นีห้ มายถึงสยาม หรือไทยเชนกัน “วายงั กูลิตซอื แย” จึงแปลความไดวา หนังตะลุงใน รูปแบบของไทยพทุ ธเชนเดียวกนั

18 รูปหนังวายงั กูเละสามารถแบงรปู หนังของวายังกูเละไดเปน ๔ ประเภท คือรูปทไ่ี ด อทิ ธพิ ลจากหนัง ชวา, รปู ทเี่ ขยี นข้นึ เพ่ือใชแสดงเรอื่ งโบราณหรือรามเกียรต์ิ (ศรรี ามอ), รูปหนงั ทมี่ าจากหนงั ตะลงุ ไทยภาคใต, และรปู ตัวละครพนื้ บาน4 ภาพ ๑.๕ หนังมลายู ทีม่ าของภาพ : http://www.asiaeducation.edu.au หนังเขมร หนงั เขมรมีมานานกวา่ พนั ปีแล้ว และมขี ้อสันนิษฐานวา่ ไทยรับแบบอย่างการเลน่ หนัง มาจาก เขมรเมื่อประมาณพทุ ธศตวรรษที่ ๒๐ หนงั เขมรมี ๒ ชนิด คือ “หนงั สเบค็ ” หรือ แสบกทม คอื หนังใหญเ่ ขมร นั่นเอง อย่างทีส่ องเรียก “อยอง” (AYONG) คือ หนังตะลุงเขมร เป็นหนงั เลก็ เล่นเร่อื งรามเกียรต์ิ หนังใหญ่ เขมรมคี วามสูงโดยเฉล่ียของตัวหนงั ประมาณ ๑.๕ เมตรสว่ นหนังตะลุงเขมรมคี วามสูงประมาณ ๖๐ เซนตเิ มตร ภาพ ๑.๖ หนังเขมร ทีม่ าของภาพ : http://www.isleofflora.com 4 สราวฒุ ิ เดชกมล, สถาบนั วัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา, วายังเซียม [ออนไลน์], ม.ป.ป. แหลง่ ทีม่ า www.culture.pn.psu.ac.th

19 รปู หนังของอียิป ตุรกี และฝร่ังเศส ภาพ ๑.๗-๑.๘ หนังอียิป ท่ีมาของภาพ : http://www.puppetring.com ภาพ ๑.๙ หนงั ตุรกี ท่ีมาของภาพ : http://www.puppetring.com ภาพ ๑.๑๐-๑.๑๑ หนงั ฝรง่ั เศส ท่มี าของภาพ : http://en.wikipedia.org/wiki/Shadow_play

20 นยิ ามของมรดกภูมิป๎ญญา โดยอนุสญั ญาวา่ ด้วยการปกปูองคมุ้ ครองมรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรมได้กําหนดนิยามคาํ ว่า “มรดก ภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรม” (intangible cultural heritage) ไวด้ งั นี้ การปฏบิ ัติ การเป็นตวั แทน การแสดงออก ความรู้ ทกั ษะ ตลอดจนเครอื่ งมอื วัตถสุ ง่ิ ประดษิ ฐ์ และพื้นทที่ างวัฒนธรรม ที่เกี่ยวเนอื่ งกบั ส่งิ เหล่าน้ัน ซึง่ ชุมชน กลุ่มชน และในบางกรณปี ัจเจกบคุ คล ยอมรบั วา่ เป็นสว่ นหนึง่ ของมรดกทางวัฒนธรรม ของตน มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมซงึ่ ถา่ ยทอดจากรนุ่ หนึ่ง ไปยังคนอกี รนุ่ หนง่ึ นี้ เปน็ สง่ิ ซ่งึ ชมุ ชนและกลมุ่ ชน สร้างขึน้ ใหม่อย่างสมาํ่ เสมอเพ่อื ตอบสนองตอ่ สภาพแวดล้อมของตน เปน็ ปฏสิ มั พันธข์ องพวกเขาท่ีมี ตอ่ ธรรมชาตแิ ละประวัติศาสตรข์ องตน และทาํ ให้คนเหลา่ นนั้ เกิดความรสู้ ึก มีอัตลกั ษณ์ และความตอ่ เนือ่ ง ดังน้ัน จงึ ก่อให้เกดิ ความเคารพตอ่ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และการคิดสรา้ งสรรคข์ องมนษุ ย์ มวี ตั ถปุ ระสงค์เพื่อปกปูองคุ้มครองมรดกภมู ิปญั ญาทางวฒั นธรรม โดยรวบรวมและจดั เกบ็ ข้อมูล ซึง่ ชมุ ชนมสี ว่ นร่วม อันเปน็ การกระต้นุ จติ สํานึ กให้เกดิ การสงวนรักษามรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม ให้เปน็ วัฒนธรรมทม่ี ีชวี ิต เพือ่ จดั ทําคลงั ข้อมลู มรดกภูมปิ ญั ญาในขอบเขตประเทศไทย และเพ่อื นําไปส่กู าร เสนอข้ึนทะเบยี นเปน็ มรดกภมู ิปัญญาทางวฒั นธรรมของชาติ และนาํ เสนอ ยูเนสโกให้เป็นมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรมของมนษุ ยชาติเม่ือประเทศไทยเขา้ เป็นภาคใี นอนาคตอนั ใกล้น้ี สามารถจาํ แนกสาขามรดกภูมปิ ๎ญญาทางวฒั นธรรมได้ ๗ สาขา คอื ๑ สาขาศลิ ปะการแสดง ๒ สาขางานช่างฝีมือดั้งเดมิ ๓ สาขาวรรณกรรมพนื้ บ้าน ๔ สาขากีฬาภมู ิปญั ญาไทย ๕ สาขาแนวปฏิบตั ิทางสังคม พิธกี รรมและงานเทศกาล ๖ สาขาความรู้และแนวปฏบิ ตั ิ เกี่ยวกบั ธรรมชาติและจกั รวาล ๗ สาขาภาษา หนังใหญ่ ได้รับการเสนอขนึ้ บญั ชีรายชอื่ มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมเพือ่ ขนึ้ ทะเบยี นคุ้มครอง ในปี พุทธศกั ราช ๒๕๕๒ ซง่ึ หนังใหญจ่ ัดอย่ใู นสาขาศิลปะการแสดง แยกย่อยเปน็ ประเภทนาฏศิลป์และการละคร

21 ซึง่ กรมส่งเสริมวัฒนธรรมไดใ้ ห้ความหมายของศิลปะการแสดงว่า การแสดงดนตรี การรํา การเต้น และละครที่ แสดงเปน็ เร่อื งราวทั้งท่เี ป็นการแสดงตามขนบแบบแผน มีการประยุกต์ เปลย่ี นแปลง หรือ การแสดงร่ วมสมัย การแสดงท่ีเกดิ ข้นึ นัน้ เป็นการแสดงสดต่อหน้าผู้ชมและมีจดุ มุ่งหมายเพอ่ื ความงาม ความบนั เทิงหรือเปน็ งาน แสดงทีก่ ํอให้เกดิ การ คดิ วิพากษ์ นาํ สู่การพฒั นาและเปลย่ี นแปลงสงั คม ๑.๒ วตั ถปุ ระสงค์ ๑.๒.๑ เพื่อสํารวจขอ้ มูลศลิ ปการแสดงหนังใหญใ่ นชุมชน ๙ จังหวดั ของประเทศไทย ๑.๒.๒ เพ่อื ศึกษาประวตั คิ วามเป็นมา ของศิลปแสดงหนงั ใหญ่ในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ สิ่งทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ  ชุมชนท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ศิลปการแสดงหนังใหญ่ เกิดจิตสํานกึ ในการสงวนรักษามรดกปญั ญาทาง วัฒนธรรมให้เป็นวฒั นธรรมทีม่ ีชีวติ และเป็นการปกปอู งค้มุ ครองมรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม  เกิดคลงั ข้อมูลมรดกภูมปิ ญั ญาดา้ นศิลปะการแสดง หนงั ใหญ่  สามารถนาํ เสนอขนึ้ ทะเบยี นเปน็ มรดกภมู ปิ ัญญาทางวฒั นธรรมของชาติ สาขา ศิลปการแสดง และ นําเสนอยูเนสโกให้เปน็ มรดกภูมปิ ญั ญาทางวฒั นธรรมของมนุษยชาตเิ ม่ือประเทศไทยเข้าเป็นภาคี Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage ในอนาคต ๑.๓ ขอบเขตในการดาํ เนนิ โครงการ ๑.๓.๑ เนน้ ศึกษาเฉพาะชุมชนท่ีมีประวตั ิความเป็นมาเกีย่ วข้องกับการแสดงหนงั ใหญ่ ใน ๙ จงั หวัด ประกอบดว้ ย ราชบรุ ี ระยอง สงิ หบ์ รุ ี กรงุ เทพมหานคร อยธุ ยา ลพบุรี อา่ งทอง สมุทรสงคราม และเพชรบรุ ี โดยชื่อย่อยของชมุ ชนหนังใหญ่ในแต่ละจงั หวัด ก่อนและลงภาคสนามสาํ รวจ อาจมีการ เปลี่ยนแปลงตามท่ีได้ ค้นพบจริง ๑.๓.๒ ศึกษาการแสดงหนงั ใหญ่ในช่วงเวลาสมยั รตั นโกสินทร์ ๙ รชั สมยั ตัง้ แตป่ ี พ .ศ.๒๓๒๕ ถงึ ปี พ.ศ.๒๕๕๗ หรอื ในงานวจิ ยั นเ้ี รียกว่า “หนังใหญ่ ๙ แผน่ ดิน” เป็นหลัก

22 ๑.๓.๓ หากขอ้ มูลการศึกษา หรอื การสมั ภาษณม์ คี วามเกี่ยวข้องเชอ่ื มโยง กบั เ คลือ่ นยา้ ยซือ้ ขายชดุ หนงั ใหญ่ในชุมชนใดในอดตี จะขอสงวนช่ือที่อยผู่ ใู้ ห้ข้อมลู เพอ่ื ปอู งกนั ผลกระทบความรู้สึกทางจิตใจ ทาง กฎหมาย หรือความสัมพนั ธ์ระหว่างประเทศ ทงั้ นีผ้ ู้วิจยั มคี วามต้องการศกึ ษาเฉพาะการวเิ คราะห์ช่วงเวลาทต่ี วั หนงั มกี ารเคลื่อนยา้ ยถา่ ยเทจากชมุ ชนหนึ่งไปสู่อีกชมุ ชนหนงึ่ และศลิ ปะรูปแบบลวดลายบนตัวหนงั ทส่ี ามารถ ลอกลายสร้างข้ึนใหมเ่ พอื่ ทดแทนของเดมิ ได้ ๑.๓.๔ เน้นการถอดองค์ความร้มู รดกภมู ิปญั ญาทางวัฒนธรรม ขนบ คุณคา่ ความเชือ่ ที่มองไม่เห็น ซงึ่ อยู่ในองคป์ ระกอบหนังใหญ่ การถา่ ยทอดสบื ทอด และขนั้ ตอนการแสดงหนังใ หญ่ จากงานวิจัย บทความ วชิ าการ ข่าวสาร ส่อื ผสมต่างๆ ท่ีทําไดด้ ีมีคณุ ภาพอยู่แล้ว เพอ่ื ไมใ่ หเ้ ป็นการศกึ ษาเชิงซ้าํ ซอ้ น ๑.๔ สถานภาพองคค์ วามรู้/งานวจิ ัย/ทฤษฎีทเี ก่ียวขอ้ ง งานศึกษาวจิ ยั ทีม่ ีความเก่ยี วขอ้ งหนังใหญใ่ นประเทศไทยนัน้ มอี ย่จู าํ นวนหนง่ึ ซึง่ มุงเน้นศกึ ษาเ ฉพาะ คณะหนังใหญ่ ๓ วดั สําคญั อนั ได้แก่วดั ขนอน จงั หวัดราชบรุ ี, วัดสว่างอารมณ์ จังหวัดสงิ หบ์ รุ ี และวัดบ้านดอน จงั หวัดระยอง เปน็ หลกั รวมถึงงานวจิ ัยหนงั ใหญ่วดั ตะกู จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ที่เจาะลึกศึกษาวรรณกรรม บทพากย์-เจรจาเท่าน้ัน นอกจากนยี้ ังมีบทความวิชาการ เอกสาร หนงั สือท่บี อกเล่าเกรด็ เรอื่ งราวประวัตคิ วามเปน็ มาของหนัง ใหญ่ของคณะตา่ งๆพอสังเขป อาทิ คณะหนงั หนังใหญ่วัดพลบั พลาชยั เพชรบรุ ี , คณะครวู น เกิดผล บ้านใหม่ หางกระเบน, คณะวัดบางนอ้ ย บางคนฑี เปน็ ตน้ หนังสือรายงานการวิจัย “วรรณกรรมประกอบการเล่นหนงั ใหญ่ วดั ขนอน” ของศาสตราจารย์ พนั ตรหี ญงิ คณุ หญิงผะอบ โปษะกฤษ ถอื วา่ เป็นงานวจิ ยั หนงั ใหญ่ลาํ ดบั แรกทไี่ ด้รับการอ้างองิ กล่าวถงึ มากที่สุด ไดศ้ กึ ษาประวัตคิ วามเปน็ มา กระบวนการหนงั ใหญ่ไดอ้ ยา่ งครบถ้วน จนไปนาํ สู่การนาํ องค์ความรู้ทั้งหมดมา ช่วยฟ้ืนชวี ิตใหห้ นังใหญ่วัดขนอน ตําบลสร้อ ยฟาู อาํ เภอโพธาราม จนได้รับการยอมรับมีช่ือเสยี งท้ัง ระดบั ประเทศและระดับโลกในปัจจบุ นั

23 งานวิจยั การเชิดหนังใหญว่ ดั สว่างอารมณ์ ของ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนุกูล โร จนสุขสมบูรณ์ (๒๕๔๑), เปน็ งานวจิ ัยชน้ิ สาํ คญั ท่ศี ึกษาประวตั ิความเปน็ มาและเจาะลึกถงึ กระบวนการเชิดหนัง ใหญ่ ของวัด สว่างอารมณ์ จงั หวดั สิงหบ์ รุ ี ผู้วจิ ัย ต้ังใจสืบค้นประวัตทิ ่มี าของหนงั ใหญ่ได้อยา่ งละเอยี ดลมุ่ ลึกไปถงึ สมยั ไอย คุปต์ ก่อนพุทธกาล ลําดับมาจนถึงสมัยอยุธยา-รัตนโกสินทร์ ซึง่ งานวจิ ยั นไี้ ด้ผลักดันให้เกิดการฟนื้ ฟหู นังใหญ่ วัดสว่างอารมณอ์ ยา่ งเขม้ ขน้ จนมาถึงปัจจบุ นั หนังสอื หนงั ใหญ่ วัดบา้ นดอน ของศนู ย์มานษุ ยวิทยา (องคก์ รมหาชน ) เปน็ อีกหนง่ึ งานวิจยั สําคญั ท่ี ศกึ ษาเรอื่ งราวหนงั ใหญ่วดั บา้ นดอน จงั หวัดระยอง ตามแนวทางมานุษวิทยา และเปน็ แรงผลักดันสําคัญให้ ชุมชนและหนว่ ยงานทุกภาคสว่ น รวมตัวกนั ฟืน้ ฟหู นงั ใหญ่ภาคตะวันออกของไทยใหก้ ลับมามชี ีวิตอกี ครัง้ งานวิจยั ศกึ ษาหนงั ใหญ่ท้งั ๓ วดั ๓ ชมุ ชนทย่ี กมาอา้ งถงึ นี้ลว้ นเป็นงานวิจยั ทมี่ คี ณุ คา่ และทรงพลังใน การขบั เคล่ือนผลกั ดนั ใหเ้ กิดการฟ้ืนฟตู อ่ ยอดเชงิ สร้างสรรค์ ใหห้ นงั ใหญท่ งั้ ๓ ชุมชนเปน็ ที่รูจ้ กั รวมถงึ เปน็ แหล่งทอ่ งเท่ียวเชิงวฒั นธรรม ทไี่ ดร้ ับความสนใจตอ่ เนอื่ งมานานหลายสิบปี นอกจากนี้ยงั มีงานวิจยั หนงั ใหญ่วัดตะกู อาํ เภอบางบาล จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา ของรอง ศาสตราจารยส์ มพันธุ์ เลขะพันธุ์ มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง ทเ่ี ปดิ ประเดน็ เนน้ ศกึ ษาบทพากย์- เจรจาหนังที่ บันทกึ ไว้ในสมดุ ไทยของคณะหนังใหญว่ ัดต ะกู เป็นต้นทางให้ผสู้ นใจรุ่นตอ่ ไปได้นําวรรณกรรมมาตคี วามหรือ กลับมาฟน้ื ฟูพากย์เจรจาทางหนงั ใหญ่ให้มชี ีวิตชวี า และงานวจิ ัยนี้ยงั ทาํ ให้เหน็ รอ่ งรอยของความยิ่งใหญ่ของ หนังใหญย่ า่ นชมุ ชนกรงุ เก่า รวมถึงเร่อื งราวของชุดตวั หนงั ใหญ่จํานวนกว่าสามรอ้ ยตัวทหี่ ายไปพรอ้ มพอ่ คา้ ซ้ื อ ของเกา่ เมอ่ื กล่าวถงึ ย่านกรงุ เก่า จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา นา่ จะเปน็ แหล่งมรหสพเก่าจาํ นวนมากมาย จาก การสบื คน้ เอกสาร และคําบอกเล่าน้ัน (ผวู้ จิ ยั ) พบว่า หลายชมุ ชนทม่ี ีความเกย่ี วขอ้ งกบั หนงั ใหญ่ อาทิ วัดโคกเสอื อาํ เภอเสนา ท่ีมอบชดุ หนังใหญจ่ าํ นวนหนึ่งให้กบั วัดตะกู อาํ เภอบางบาล หนงั ใหญ่ชุด หลวงพ่อ กลัน่ และหลวงพ่ออน้ั วัดพระญาตกิ าราม หนังใหญช่ ุดหลวงพอ่ เทียม วดั กษตั ราธิราช วรวหิ าร หนังใหญ่

24 ครวู น เกดิ ผล บ้านใหม่ หางกระเบน อาํ เภอบางบาล ซึง่ ครูวน เกิดผลนน้ั ท่านเปน็ ปขูุ อง คณุ ครูสําราญ เกดิ ผล ศิลปนิ แห่งชาติ จังหวดั ลพบรุ ี มตี ัวหนังใหญ่จดั แสดงใน พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ สมเดจ็ พระนารายณ์ สืบคน้ พบวา่ มาจากวดั ตะเคยี น ตําบลท้ายตลาด และวัดสําราญ ตาํ บลโพธิ์เกา้ ต้น อําเภอเมอื งลพบุรี นอกจากนี้ ยังมที ่ี วดั โบสถ์ โกง่ ธนู อาํ เภอเมืองลพบรุ ี ทตี่ ่อมา มหาเพยี ร ปิ่นทอง ไดซ้ ้ือหนังใหญ่ชุมชนแหง่ นี้ มาถวายวดั สวา่ งอารมณ์ จงั หวดั สงิ หบ์ ุรีจาํ นวนหน่ึง นอกจากหนงั ใหญ่ วัดสว่างอารมณ์ แลว้ จงั หวัดสิงหบ์ รุ ยี ังปรากฎคาํ บอกเลา่ วา่ มหี นงั ใหญ่อยู่หลาย ชมุ ชน อาทิ วดั ตึกราชา อําเภอเมือง อยฝู่ งั่ ตรงข้ามแมน่ ํ้าเจา้ พระยากบั วัดสว่างอารมณ์ รวมถงึ วัดประศกุ อาํ เภออนิ ทรบ์ ุรี ก็เคยมีหนังใหญส่ ะสมอยปู่ รากฏในบนั ทกึ เสดจ็ ประพาสตน้ ของรชั กาลที่ ๕ กลา่ ววา่ “..วันที่ ๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๔๙ หรือ ร.ศ. ๑๒๕ เสด็จโดยทางเรอื ไปวดั สนามชยั หรอื วัดข่า อาเภออนิ ทรบ์ รุ ี ทางแม่น้า เจา้ พระยา เพอ่ื ถ่ายภาพ วัดนีม้ โี บสถ์ทสี่ ร้างคลา้ ยศาลาการเปรยี ญ และมขี องเกา่ สะสมไว้มากมาย รวมท้ังหนัง ใหญ่ ชาวบา้ นทีม่ โี อกาสทาอาหารถวายก็ไดแ้ กช่ าวบา้ นประโมง ชาวบ้านหัววน และทรงเสวยกระยาหารก็ ได้รับคาชมเชยวา่ เอร็ดอรอ่ ยไมแ่ พ้ \"แมค่ รวั หัวปุาก์ \" หนงั ใหญข่ องวัดประศกุ ส่วนหนึง่ นาํ มาจดั แสดงที่ พพิ ิธภณั ฑแ์ ห่งชาตอิ นิ ทรบ์ รุ ี(วดั โบสถ์ พระอารามหลวง) และสว่ นหนึง่ วดั สว่างอารมณไ์ ด้ขอนาํ ไปใช้ในการ เชิดหนงั ใหญ่ ทงั้ นม้ี ขี อ้ น่าสงั เกตวา่ ชมุ ชนหนงั ใหญด่ งั้ เดมิ ของจงั หวดั สงิ หบ์ ุรี จะอยู่ในอาณาเขตเดิมของเมอื ง อนิ ทร์บุรเี ปน็ สว่ นใหญ่ และยังมวี ัดชอ่ื วา่ “วัดเชดิ หนงั ” ต้งั อยู่ใน อําเภออนิ ทร์บรุ ี ที่อาจจะมีความเกยี่ วข้ อง กับเรอ่ื งราวหนงั ใหญ่ในอดตี สาํ หรับเขตจังหวัดอ่างทอง ปจั จบุ ันครวู รี ะ มีเหมือน ผูเ้ ช่ยี วชาญด้านหนงั ใหญ่ ไดด้ ําเนินการสรา้ ง พิพธิ ภัณฑห์ นังใหญเ่ ฉลมิ พระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ฯ ที่บ้านอําเภอสามโก้ พร้อมกับการ เผยแพรถ่ า่ ยทอดความรู้เรอื่ งหนงั ใหญใ่ หแ้ ก่ ผสู้ นใจ นิสติ นกั ศึกษามาอย่างตอ่ เนอ่ื งนับสบิ ปี จากการให้ สมั ภาษณข์ องครูวีระ มเี หมือน ระบุชดั เจนวา่ “แตเ่ ดมิ ที่วดั บ้านอิฐ อําเภอเมอื ง กม็ ีคณะหนังใหญอ่ ยู่และชุมชน ละแวกใกลเ้ คียงมศี ิลปนิ ท่เี ชยี วชาญหนังใหญ่ ในอดตี ท่ตี อ้ งสืบคน้ ประวตั ิอาทิ ครูครา้ ม ,ครคู ลา้ ย,ครูกรด,ครู ละมอ่ ม,ครูลาํ่ ไตรนาวี ,แม่สงั วาลย์ ชา้ งงามฯ ซึ่ง ศิลปนิ เหล่านี้อาจ มีส่วนเชอื่ มโยงกบั หนงั ใหญใ่ นชมุ ชน ของ

25 จังหวดั ใกลเ้ คยี งในอดตี ทัง้ จงั หวัดสงิ หบ์ รุ ี ลพบรุ ีและจงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา รวมถงึ ชุมชนบา้ นปากน้ํา ตาํ บล เอกราช อาํ เภอปาุ โมกในปจั จุบนั ที่ไมใ่ ชเ่ ปน็ แหลง่ ทาํ กลองทีใ่ หญ่ที่สุดในประเทศไทย แต่ยงั เปน็ แหลง่ ซื้อหนงั สัตว์ผืนขนาดใหญ่ เพ่ือใช้สําหรับการสลกั ตัวหนังใหญ่อีกดว้ ย เมืองอมั พวา จังหวัดสมทุ รสงคราม เป็นเมืองศิลปินแห่งหนงึ่ ที่ยังมเี ร่ืองราวของหนังใหญใ่ หส้ บื ค้น อาทิ หนงั ใหญช่ มุ ชนวัดราษฏรบ์ รู ณะ ตาํ นาน “หนงั ใหญ่หนุมาน ไหว้กลับวัดเองได้”(บทความของผู้วจิ ยั ) ซงึ่ ครูผู้ สลกั หนังใหญ่ ท่านหนง่ึ กค็ ือ ครูดี ซง่ึ เปน็ บดิ าของหมืน่ ไพเราะพจมาน นักพากย์โขน กรมหรสพหลวง และครู เออื้ สนุ ทรสนาน ผกู้ ่อตั้งวงสุนทราภรณ์ ส่วนในพพิ ิธภัณฑว์ ัดภมุ รินทรก์ ุฎที อง ก็มหี นังใหญ่ ฉลุลวดลาย สวยงามมาก แต่เดมิ นนั้ มีจาํ นวนมาก แตถ่ ูกทอดทง้ิ ไมไ่ ด้เก็บรักษา จึงเสยี หายและสญู ไปเกอื บหมด ส่วนในเขต อาํ เภอบางคนฑี ปัจจุบัน ครสู งดั ใจพรหม ครชู ่างหนงั ใหญอ่ กี ทา่ นหนง่ึ กาํ ลังมุ่งมน่ั สรา้ ง พพิ ิธภัณฑ์หนังใหญ่ บางนอ้ ย โดยไดร้ ับแรงบันดาลใจมาจากหนงั ใหญ่ วดั บางนอ้ ย “..แต่ก่อนสมยั หลวงพ่ ออยู่ มหี นังใหญร่ าวๆ ๓๐๐ ตัว ตอนสมยั ประถมฯ ชว่ งพักกลางวนั ผมกบั เพือ่ นยังเคยแอบข้ึนไปบนศาลา (วัดบางน้อย) ไปหยบิ หนงั ใหญ่มาเชิดเล่นเลย หลงั หลวงพ่ออย่มู รณะภาพเขากเ็ ลิกเล่นหนังกันแล้ว..น่าเสยี ดายโดนไฟไหมไ้ ปพรอ้ มกับกุฏิ ศาลา โชคดียงั เหลอื ใหเ้ หน็ เปน็ บุญตา ๑๐ ตวั ในซากเถ้ากองเพลิง ”(ครูชา่ งหนังใหญบ่ างน้อย ครูสงัด ใจ พรหม : บทความของผูว้ ิจัย) ทั้งนี้ยงั มีบุคคลสําคัญในชมุ ชนบางคนฑี อกี ทา่ นหนง่ึ ทม่ี ีความรูด้ า้ นหนงั ใหญค่ ือ ครสู มพร เกตแุ ก้ว หรือในวงการชา่ งดนตรีไทยจะเรียกขานวา่ “พญาซอ” ได้ถ่ายทอดความรูก้ ารสลักหนัง เชดิ พากย์-เจรจาหนังใหญใ่ ห้กับคณาจารย์ นักศึกษามหาวิทยาลัยเกษมบัณฑติ ชุมชนคณะหนงั ใหญ่วดั ขนอน อําเภอโพธาราม นบั เป็นคณะหนังใหญ่ ลําดบั แรกของประเทศไทย ที่ ไดร้ บั การการกลา่ วถึงมากที่สุด ชมุ ชนหนงั ใหญแ่ ห่งนีก้ ลายเปน็ แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ระดบั ภาค แมก้ ระท่งั คําขวัญของจงั หวดั ยงั มีชอื่ วัดขนอนหนงั ใหญ่ ปรากฏชัดเจน “คนสวยโพธาราม คนงามบ้านโปุง เมอื งโอง่ มังกร วัดขนอนหนงั ใหญ่ ตืน่ ใจถ้ํางาม ตลาดนํา้ ดําเนนิ เพลนิ คา้ งคาวรอ้ ยล้าน ย่านย่ีสกปลาดี ” ทง้ั นี้ สว่ นหน่ึงเกดิ จาก พลังความเขม้ แข็ง ของผู้คนในชมุ ชนทีช่ ่วยกันรักษาสบื สาน เป็นกรณศี ึกษาท่ี สําคญั ในการ ปรับกลยทุ ธ์การพฒั นาหรือการฟื้นฟกู บั ชุมชนหนงั ใหญแ่ หลง่ อนื่

26 ในอดตี หนงั ใหญ่ คณะวดั พลบั พลาชัย จงั หวดั เพชรบรุ ี ของหลวงพอ่ ฤทธ์ิ ศษิ ย์ขรวั อินโข่ง อดตี เจา้ อาวาส มชี ือ่ เสยี งโด่งดงั “..หนงั ใหญข่ องหลวงพ่อฤทธิ์ เคยแสดงต่อหนา้ พระท่ีนงั่ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พ ระ จลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั รชั กาลท่ี ๕ ครัง้ มาประทบั ท่ีพลับพลา ณ วงั บ้านปนื ขณะนั้นยงั สร้างไมเ่ สร็จ ซึ่งตรงกับ วนั ที่ ๘ ตลุ าคม พ .ศ.๒๔๕๓ ชว่ งกลางคืนมีมหรพคอื หนังใหญ่ วัดพลบั พลาชยั ๑ โรง, หนังตะลุง ๑ โรง, ละครตลก ๑ โรง, ละครชาตรี ๑ โรง มจี ุดดอกไมเ้ พลงิ จดุ พลุ กา รแสดงหนงั ใหญใ่ นคืนนั้น แสดงตอนพระราม ลงสรง..” ( ไหว้ครหู นงั ใหญ่ วดั พลับพลาชยั : บทความของผ้วู จิ ัย ) และปัจจบุ ันกลมุ่ ลกู ระนาด โดย ครูน้อย- อภเิ ชษฐ์ เทพครี ี ไดเ้ รม่ิ ต้นฟ้ืนฟใู หห้ นังใหญค่ นเพชรมชี วี ติ อกี ครงั้ จงั หวัดระยองมีแหลง่ ชมุ ชน หนงั ใหญว่ ัดบา้ นดอน ตาํ บลเชงิ เนิ น อําเภอเมอื ง เป็น ๑ ใน ๓ วัดที่ ฟื้นฟูชวี ิตใหห้ นงั ใหญไ่ ด้สาํ เรจ็ ผล ตามประวตั ิเลา่ ขานกันวา่ หนงั ใหญช่ ดุ น้ีส่วนหนึง่ เดินทางข้ามนาํ้ ข้ามทะเลมา จากเมอื งพทั ลงุ มีพระยาศรีสมทุ รโภค ชัยโชตสิ งคราม (เกตุ ยมจนิ ดา) เจ้าเมอื งระยองในขณะนั้นเป็นผูอ้ ปุ ภมั ป์ ครูประดิษฐ์ เปน็ ค รหู นงั ใหญ่คนแรก เดมิ คณะอยูท่ ี่ วดั จันทอดุ ม หรือวดั เก๋ง เมือ่ ใชส้ ถานทีว่ ัดฯจัดสร้าง โรงพยาบาลระยอง ตวั หนังใหญ่ท้งั หมดจึงย้ายมาอยู่วัดบา้ นดอน จนถึงปัจจุบัน กรงุ เทพมหานคร เมอื งหลวงของประเทศไทยและศนู ย์กลางแห่งกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ มีหนงั ใหญท่ ขี่ นาน นามกันว่า หนังใหญ่ “ชุดพระนครไหว” เพราะเปน็ ตัวหนังที่มลี วดลาย สสี นั งดงาม เปน็ ทเ่ี ลื่องลอื ไปทั่วพระ นคร สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟูากรมพระยานรศิ รานุวัดตวิ งศ์ มลี ายพระหตั ถ์ กราบทลู สมเด็จพระเจ้า บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดํารง ราชานุภาพ ลงวนั ที่ ๒๔ สิงหาคม พ .ศ. ๒๔๗๘ ว่า “...เกลา้ ก ระหมอ่ ม สงั เกตเห็นท่วงทคี ล้ายรปู ภาพ ฝมี อื อาจารย์ใจ ซง่ึ เป็นหลวงพรหมพจิ ติ รเข้าไปมาก อาจารย์ใจผ้นู ้ีเปน็ ชา่ งเขยี น คือ ผู้ท่ีเขยี นหนงั พระนครไหว ซ่ึงลา่ ลือกนั มากนกั ...” หลังจากกรมมหรสพถกู ยบุ ไปรวมในกระทรวงวงั หนงั พระนครไหวได้ถกู นาํ ไปเกบ็ ไวใ้ นโรงละครของกรมศิลปากร และเม่ือวนั ที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๐๓ เกดิ เพลิงไหม้ โรงละคร กลา่ วกันว่าทาํ ใหห้ นังใหญ่ท่ีเก็บไวไ้ หมเ้ สยี หายและสญู หายไป เหลอื เพยี งไมก่ ต่ี วั ซ่ึงอยู่ในสภาพที่ ชํารุดมากไมส่ ามารถใช้การได้ ตอ่ มามหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ รว่ มกบั ภาคเอกชนได้ใหค้ วามร่วมมือและ สนบั สนุนโครงการอนรุ ักษห์ นงั ใหญข่ องกรมศิลปากร โดยการซ่อมแซมตัวหนงั เดมิ และสร้างตวั หนังใหม่ข้นึ ทํา ให้สามารถฟนื้ ฟกู ารแสดงหนงั ใหญ่ทส่ี มบูรณ์ได้อีกครง้ั วัดอนิ ทารามวรวหิ าร เปน็ วัดอกี แห่งหนงึ่ ท่ีมปี ระวัติเกีย่ วข้องกับการแสดงหนังใหญ่สมัยธนบรุ ี โดยใน พงศาวดารสมยั กรงุ ธนบรุ ี ระบุวา่ “..เม่อื พุทธศักราช ๒๓๑๘ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เสดจ็ กลบั จากพระราช

27 สงครามท่เี มอื งสระบรุ ี ได้โปรดใหส้ รา้ งเมรุทว่ี ัดอินทาราม (คอื วดั อนิ ทารามวรวหิ าร หรือบางยเ่ี รือนอก ใน ปัจจบุ นั ) เพอ่ื ถวายพระเพลิงพระศพสมเด็จพระราชชนนีใช้เวลาสรา้ งอยู่ถงึ ๒ เดอื น … มีการละเล่นมหร สพ ต่าง ๆ กัน คอื กลางคืนมีโขน ๒ โรง โรงง้ิว ๓ โรง เทพทอง ๒ โรง ราํ หญงิ ๔ โรง หนังกลางวัน ๒ โรง หุ่น ญวน ๑ โรง หนุ่ ลาว ๒ โรง กลางคืน หนงั ใหญ่ ๓ โรง หนงั ใหญร่ ะหวา่ งชอ่ งระทา ๑๐ โรง หนังจีน ๒ โรง ..” จากพงศาวดารพบคําทห่ี มายถึงหนงั ใหญ่ ไดแ้ ก่ หนังกลางวนั หมายถงึ หนั งใหญ่ท่แี สดงในชว่ งเวลากลางวนั หนงั ใหญ่หมายถงึ หนงั ใหญท่ ี่ใช้แสดงตอนกลางคืน หนงั ใหญร่ ะหว่างช่องระทานา่ จะหมายถึงหนงั ใหญ่ขนาด ยอ่ มลงมา ใชแ้ สดงในระหว่างชอ่ งระทาไฟ และนอกจากนนั้ ยงั มคี ําว่า หนังจนี ปรากฏอยูด่ ว้ ย ในส่วนหนว่ ยงานของกระทรวงวัฒนธรรม ได้แก่กรมศลิ ปากร เคยจดั แสดงนทิ รรศการหนังใหญเ่ ม่อื เดอื นตลุ าคม ๒๕๕๔ ณ พิพิธภณั ฑสถานแหง่ ชาติ พระนคร โดยนําหนงั ใหญ่ “ชดุ พระนครไหว ” มาจดั แสดง สสู่ าธารณะชน สาํ นักการสังคตี กรมศลิ ปากร ไดจ้ ดั การแสดงหนงั ใหญ่ เบกิ หน้าพระ เบิกโรงหนงั ใหญ่จนถึงจบั ลงิ หัวค่าํ ในงานพระราชพธิ พี ระราชทานเพลิง พระศพสมเดจ็ พระเจา้ ภคนิ ีเธอ เจา้ ฟูาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เมื่อเดอื นตุลาคม ๒๕๕๕ นอกจากน้ีศูนย์วฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั เกษมบัณฑติ โดยอาจารย์ชนะ กร่ํากระโทก ได้สนบั สนนุ ส่งเสรมิ ให้มกี ารเรียนรู้จาก ครสู มพร เกตแุ ก้ว ศลิ ปินดีเด่น ประจําจังหวัดสมทุ รสง คราม ผูเ้ ชี่ยวชาญทางการ เชิดหนังใหญ่ และจดั แสดงหนงั ใหญม่ าอยา่ งตอ่ เน่อื ง นบั เป็นสถาบันอดุ มศึกษาเอกชนต้นแบบท่ใี หค้ วามสําคญั กับศิลปะการแสดงไทยอย่างจรงิ จงั จากข้อมูลข้างตน้ จะพบว่าเร่ืองราวหนงั ใหญ่ในอดตี จนถึงปจั จุบนั มีกระจายอยูใ่ นชมุ ชนท่ัวภาคกลาง อยา่ งนอ้ ย ๓๔ ชุมชน ๙ จังหวัด การทบทวนวรรณกรรมหนงั ใหญท่ ้ังจากในงานวจิ ัย เอกสารสิ่งพิมพ์ คําบอกเลา่ ล้วนแตเ่ ปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานก่อนลงภาคสนามเพื่อตรวจทาน สบื คน้ เชิงลึกซึง้ ในเรื่องประวตั คิ วามเปน็ มาเพ่อื นาํ มาเรียงร้อย เชอ่ื มโยงไปสกู่ ารรวบรวมขอ้ มูลการแสดงหนงั ใหญ่ ทยี่ งั หลงเหลอื อยูใ่ นปัจจุบนั ใหไ้ ดค้ รบถว้ นมากทีส่ ุด

28 แนวคดิ หรอื ทฤษฎีท่เี ก่ียวข้อง แนวคดิ เกี่ยวกับวัฒนธรรม  แนวคิดแบ่งวัฒนธรรมฯ ของนกั สงั คมวิทยาและนักมานุษยวิทยา  ความหมายคาํ ว่าวัฒนธรรม ของเสฐียรโกเศศ หรือพระยาอนุมานราชธน  ความหมายคาํ วา่ วฒั นธรรม ของอมรา พงศาพิชญ  การแบ่งประเภทวัฒนธรรม ขององคการศกึ ษาวิทยาศาสตรและวฒั นธรรมแหงสหประชาชาติ  ความหมาย วฒั นธรรมบนั เทงิ ของภทั รวดี ภชู ฎาภิรมย์ นักสังคมวทิ ยาและนักมานุษยวิทยา ได้แบงวัฒนธรรมตามพฤติกรรมของคนในสงั คมออกเปน ๔ ประเภท คือ ๑.วฒั นธรรมยุคด้นิ รนชวี ิตหรือสงั คมโบราณ (Savaging) เปนวัฒนธรรมแบบดิน้ รนเรรอนหาอาหารและทีอ่ ยูอาศยั เพือ่ การดํารงชวี ิตของมนษุ ยใหมชี วี ิตอยรู อด เชนเดียวกับสัตวอื่นๆ โดยอพยพเปนกลุมไปตามทําเลท่ีมีอาหารอากาศอบอุน ปลอดภัยจากอันตรายตางๆ ซง่ึ สวนใหญจะเรรอนไปตามหุบเขาลาํ เนาไพร ไมไดต้ังถิน่ ฐานอยางถาวร ๒.วฒั นธรรมยคุ ปฏวิ ตั ิการเกษตรกรรม (Agricultural Revolution) เปนวัฒนธรรมที่มนุษยรจู กั ประดิษฐเคร่ืองมือทางการเกษตรและเคร่ืองมือเครื่องใชตางๆ ด วยเหลก็ สามารถตงั้ ถิ่นฐานเปนหลักแหงในบรเิ วณทอ่ี ดุ มสมบูรณการเพาะปลูกและเลี้ยงสตั วเปนอาชพี ทีส่ ําคัญ นับวา เปนการพฒั นาวิถชี ีวิตคร้ังยง่ิ ใหญท้งั ศาสนาและความเช่อื ตางๆ ตลอดจนการจัดระบบสงั คมให เปนระเบียบ แบบแผน ๓.วัฒนธรรมยคุ ปฏิวตั ิอุตสาหกรรม (Industrial Revolution) เปนวฒั นธรรมที่เกดิ จากความเจรญิ กาวหนาทางวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยที ่ีเริม่ ดวยการนําพลงั ไอ นาํ้ มาใชกบั เครอ่ื งจักรกลตางๆ แลวพัฒนาเปนเครอื่ งกลทใ่ี ชพลังงานจากนํา้ มันที่มอี ยตู ามธรรมชาติ การคดิ ค น ตางๆ ทางวทิ ยาศาสตร เพอื่ นาํ มาผลิตส่ิงของเครอื่ งมอื เคร่ืองใชตางๆ ในทวปี ยโุ รปโดยเฉพาะประเทศองั กฤษ เปนผูนําในการปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรมมาตง้ั แตคริสตศตวรรษท่ี ๑๘ การผลติ ในระบบอตุ สาหกรรมตองใชท่ีดนิ วตั ถดุ บิ แรงงาน และตลาดเป นจาํ นวนมากตองใชการคมนาคมขนสงทท่ี นั สมัย กลไกการบรหิ ารและการ จดั การที่มีประสิทธิภาพ ผลของการปฏวิ ัติอตุ สาหกรรมทําให เกิดการเปลยี่ นแปลงทางวัฒนธรรมของมนษุ ยครั้ง ใหญ เชน การผูกขาดทางการค า การลาอาณานิคม การเกดิ สงครามโลกครัง้ ทห่ี น่ึงและครัง้ ท่ี ๒ การเกดิ สงครามเยน็ การเกิดและการขยายตัวของเมืองและวัฒนธรรมแบบเมอื ง เปนตน

29 ๔. วฒั นธรรมในยคุ สารสนเทศ (Information) หรือ ยุคโลกาภวิ ตั น (Globalization) เปนวฒั นธรรมท่ีเกดิ ข้นึ ในปลายทศวรรษที่ ๑๙๗๐ เปนตนมา โดยสหรัฐอเมริกาและรัสเซียได้ พัฒนาการคมนาคมสื่อสารทางอวกาศ จนสามารถพัฒนากระบวนการสอ่ื สารได ทันสมัยและทว่ั โลก ทาํ ให ประเทศทเ่ี จรญิ กาวหนาทางอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยจี ะผลกั ดนั ใหวฒั นธรรมของโลกไหลไปตามกระแสของ เคร่อื งมอื สื่อสาร และนาํ ไปสูสังคมวัฒนธรรมของการชวงชิงผลประโยชนในทางการเมือง เศรษฐกจิ สังคม และ วฒั นธรรมแบบใหม สว่ นนกั วชิ าการวฒั นธรรมรุ่นบกุ เบกิ เสฐียรโกเศศ หรือพระยาอนมุ านราชธน ไดใหคาํ จํากัดความ ของคาํ วา วัฒนธรรมไวหลายแนวทางดงั น้ี ๑. วัฒนธรรม คอื สิ่งที่มนษุ ยเปลย่ี นแปลง ปรบั ปรงุ หรอื ผลติ สรางขน้ึ เพือ่ ความเจรญิ งอกงามในวถิ ีแหงชวี ติ ของสวนรวม ๒.วัฒนธรรม คือ วถิ ีแหงชวี ติ ของมนษุ ยในสวนรวมท่ถี ายทอดกันได เอาอยางกันได ๓.วฒั นธรรม คอื ส่ิงอันทเ่ี ปนผลติ ผลของสวนรวมทีม่ นุษยไดเรยี นรมู าจากคนแตกอนสบื ตอเปนประเพณกี นั มา ๔.วฒั นธรรม คอื ความคิด คว ามรูสึก ความประพฤติและกิรยิ าอาการ หรือการกระทําใดๆ ของมนษุ ย ในสวน รวม คงรูปเปนพิมพเดียวกัน และสาํ แดงออกมาใหปรากฏเปนภาษา ศลิ ปะ ความเช่อื ถือ ระเบียบประเพณี เปนตน ๕.วฒั นธรรม คือ มรดกแหงสงั คม ซ่งึ สงั คมรับและรกั ษาไวใหเจรญิ งอกงาม สอดคลอ้ งกบั แนวคิดที่วา่ มนษุ ยเ์ ปน็ ผสู รา้ งวฒั นธรรมของ อมรา พงศาพิชญ ซึ่งกล่าววา วฒั นธรรม คอื ส่ิงทมี่ นษุ ย สรางขึ้น กาหนดขึ้น มิใช ส่งิ ท่ีมนุษยทาตามสญั ชาตญาณ คาว า สงิ่ ในทนี่ ห้ี มายถึง วัตถกุ ็ได หมายถึง พฤติกรรมกไ็ ด หมายถึง แนวความคิดกไ็ ด หรือจะหมายถงึ วธิ กี ารทาอะไรๆ ก็ ได รวมเขาดวยกัน หมด การรวมหลายสงิ่ หลายอย างเขาไวดวยกนั เชนนี้ อาจจะเรียกรวมกันว าระบบ ฉะนน้ั วัฒนธรรม ก็คอื ระบบในสังคมมนษุ ยสรางขนึ้ ไมใชระบบทเ่ี กดิ ขึ้นโดยธรรมชาตติ ามสญั ชาตญาณ ทงั้ น้ีองคการศึกษาวทิ ยาศาสตรและวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO) ไดแ้ บง่ วฒั นธรรม ออกเปน ๒ ประเภท คอื ๑. วฒั นธรรมในอดตี หรอื มรดกทางวฒั นธรรม (Past Cultural หรอื Cultural Heritage) ไดแก เร่ืองราวของมนุษยในอดีตท้งั ที่เปนรปู ธรรมและนามธรรม ตง้ั แต วฒั นธรรม ยุคกอนประวัติ ศาสตรสืบตอมาจนถงึ ปจจุบนั

30 ๒. วัฒนธรรมรวมสมัยหรือวฒั นธรรมปจจุบัน (Cultural Life หรือ Living Cultural) ไดแก วถิ ีชวี ิตของมนุษย สง่ิ ท่คี นใชสอย และใช ในการดาํ รงชีวติ การพัฒนาสังคม การเมืองและ เศรษฐกจิ ในช่วงเวลาที่ศิลปการแสดงการแสดงหนังใหญซ่ บเซาจนเกอื บจะยตุ บิ ทบาทลง เปน็ ชว่ งประมาณ พ .ศ. ๒๔๙๐ ซ่งึ มีความพ้องกับแนวคิดของ วัฒนธรรมความบนั เทงิ ที่ ภัทรวดี ภูชฎาภิรมย์ ไดท้ าํ การศกึ ษาไวค้ ือ “...ทศวรรษ ๒๔๙๐ วัฒนธรรมความบันเทงิ ในสังคมไทยเร่มิ มีรปู แบบทพ่ี บเหน็ กันในปจั จุบนั มากข้ึน โดยแบง่ ออกเป็น ๓ กล่มุ ใหญ่ๆ คอื วฒั นธรรมความบนั เทิงท่ไี ดร้ ับการสนบั สนุนจากรัฐบาล ซงึ่ สว่ นใหญเ่ ป็ นศิลปะทส่ี ืบต่อมาจากราช สานัก ท้งั บคุ ลากรและแบบแผน เพราะถอื วา่ เปน็ ศิลปะที่ไดร้ ับการพฒั นาจนถงึ ขนั้ คลาสสกิ แลว้ สมควรจะ ไดร้ บั การบารุงรกั ษาไวเ้ ป็นสมบตั แิ ละเอกลกั ษณ์ของชาตติ ่อไป กลุ่มต่อมาคือวฒั นธรรมความบันเทงิ ร่วมสมยั ซงึ่ สว่ นใหญ่รับรูปแบบมาจากสังคมตะวันตก แ ล้วนามา ดัดแปลงให้เขา้ กบั สังคมไทยสมัยใหม่ เชน่ เพลงปลุกใจ หรอื เพลงไทยสากลของวงสุนทราภรณ์ เปน็ ต้น ส่วนอกี กลุม่ คือวฒั นธรรมความบันเทิงของชาวบา้ น เช่น ลเิ ก และเพลงตลาดหรือเพลงลกู ทงุ่ เหลา่ นีส้ ะทอ้ นลกั ษณะของการอุปถมั ภ์ ซ่งึ แตเ่ ดิมราชสานกั และชมุ ชนเป็นผู้อมุ้ ชศู ิ ลปะประเภทตา่ งๆ ปัจจุบันรฐั บาลและตลาดผูบ้ รโิ ภคเปน็ คนสนับสนนุ เพราะฉะนน้ั รปู แบบกต็ ้องตอบสนองตอ่ ความต้องการ ซึง่ ยังคงแบง่ ออกเปน็ ๓ กลุม่ น่นั เอง คือ วัฒนธรรมความบนั เทิงตามแบบแผนทใี่ ชจ้ ารตี เดิมเป็นมาตรฐาน เพ่ือ รักษาเอกลกั ษณข์ องความเป็นชาติ วัฒนธรรมความบันเทิงร่ วมสมยั ท่ใี ช้วฒั นธรรมตะวนั ตกเป็นมาตรฐาน ตาม รปู แบบการใช้ชวี ิตท่ีดาเนนิ ตามสังคมตะวันตก และวัฒนธรรมความบนั เทงิ ของชาวบ้านทใ่ี ชว้ ิถชี ีวติ เป็น มาตรฐาน แมจ้ ะรบั อิทธิพลจากทอ่ี นื่ กม็ กั จะนามาดดั แปลงใหเ้ หมาะสมกบั โลกทัศนแ์ ละความเปน็ อยู่ของตน แม้ท้งั ๓ กลุ่มน้จี ะผสมปนเปกันบ้างในบางครั้ง แต่ต่อไปชอ่ งวา่ งของความแตกตา่ งอาจจะหา่ งออก จากกันมากขึ้นเรือ่ ยๆ ตามลักษณะของความแตกต่างในสงั คม กลา่ วคอื เอกลกั ษณข์ องความเปน็ ชาตจิ ะถูกทา้ ทายจากกระแสโลกาภวิ ัตน์ จนกลายเป็นเพียงสง่ิ แปลกปลอมในชวี ิตประจาวัน ขณะทีค่ นส่วนหน่ึงเขา้ ถึงและ กลมกลนื ไปกับกระแสโลกาภวิ ตั น์ จนการดาเนินชีวติ เปน็ แบบตะวันตกโดยสมบรู ณ์ แตค่ นอกี สว่ นหน่งึ ยงั คงอยู่ ในสังคมแบบเดิมน่นั เอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook