Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ป่าปุ่ง ป่าทาม ภาคอีสาน

ป่าปุ่ง ป่าทาม ภาคอีสาน

Description: ป่าปุ่ง ป่าทาม ภาคอีสาน

Search

Read the Text Version

ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 101 ผีพ่วน ชอื่ ท้องถ่ินอนื่ : นมแมว (ภาคกลาง), นมแมวป่า (เชียงใหม่), นมวัว (กระบ่,ี พิษณุโลก), นมแมว นมงัว ล�ำงัว (นครราชสมี า), ติงตัง ตีนต่ัง ตนี ตงั่ เครอื (นครราชสีมา, มหาสารคาม, ศรสี ะเกษ, อบุ ลราชธานี), พีพวนน้อย (ชุมพร), พีพว่ น ผพี ่วน หมากผผี ว่ น (อสี าน), สมี ่วย (ชยั ภมู )ิ , ตรลี (เขมร-อ.ท่าตมู สุรินทร์), แจมเกรยี ล (ส่วย- อ.ท่าตมู สุรนิ ทร)์ Uvaria rufa Blume (วงศ์ Annonaceae) ชื่อพ้อง : - ไม้เลื้อย เนือ้ เหนียว ยาว 3-10 ม. เถาแกม่ ีรอ่ งตน้ื ตามยาวแกมร่างแห ตามกงิ่ อ่อน ใบออ่ น ก้านใบ และชอ่ - ดอกมีขนกระจุกรูปดาวสีสนิม-ขาว ใบเดย่ี ว เรยี งสลบั ใบรูปหอกกลบั แกมขอบขนาน ยาว 6-15 ซม. ปลายใบ เรียวแหลม โคนใบเวา้ รปู หวั ใจ ผวิ ใบด้านบนมีขนหรือเกลี้ยง ด้านลา่ งมขี นสน้ั สีสนมิ หนาแน่นตามเสน้ กลาง ใบ เสน้ แขนงใบข้างละ 8-12 เสน้ ปลายเส้นไมโ่ คงจรดกัน กา้ นใบบวม ยาว 5 มม. ดอกแบบชอ่ กระจกุ มี 1-4 ดอก ออกตรงข้ามใบ ก้านดอกยาว 0.6-1 ซม. กลีบเล้ยี ง 3 กลบี สเี ขียวอ่อน กลบี ดอก 6 กลีบ มีขนาดใกล้ เคียงกนั สแี ดงเข้มหรอื สแี ดงอมมว่ ง รปู ขอบขนาน ยาว 8-12 ซม. ปลายมน มขี นส้ัน ปลายกลบี ม้วนกลบั น้อย- มาก ดอกบานกวา้ ง 1.5 ซม. ผลทรงรีหรือขอบขนาน กว้าง 2 ซม. ยาว 2-3 ซม. มีขนสัน้ ผิวเรียบไม่มีรอยคอด ก้านผลยาว 1-3 ซม. ตดิ เป็นกลุ่มๆ ละ 5-20 ผล กา้ นชอ่ ผลยาว 1 ซม. ผลสุกเปล่ียนเปน็ สีเหลอื ง-สม้ -แดง ตาม ลำ� ดบั มเี มลด็ สดี ำ� จ�ำนวนมากเรยี งเป็น 2 แถว ถ่ินอาศยั ข้ึนตามท่ีโล่งแจง้ หรอื ชายปา่ ดงดบิ ป่าเบญจพรรณ และป่าบุ่งปา่ ทาม ที่ความสูงจากระดับน้�ำทะเล ไม่เกนิ 1,500 ม. ออกดอกช่วงเดือนมนี าคม-กนั ยายน ผลแกช่ ่วงเดอื นพฤษภาคม-พฤศจิกายน การกระจายพันธ์ุ พบได้ง่ายท่วั ทกุ ภาคของประเทศไทย ตา่ งประเทศพบทอี่ ินเดีย จีนตอนใต้ และท่ัวเอเชียตะวนั - ออกเฉยี งใต้ การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ผลสกุ สีสม้ -แดงเขม้ เนอ้ื ในสีขาวมีรสหวาน-อมเปรยี้ ว กลน่ิ หอมคล้ายลน้ิ จีส่ กุ ชาวบ้านและเด็กๆ นยิ ม กินเล่น โดยกินเฉพาะเนือ้ สีขาวและคายเมลด็ สีดำ� ท้งิ หรือปลอกเปลอื กออกแล้วนำ� มาคลกุ กับนำ�้ ปลา น�้ำตาล และพริกปน่ กนิ เล่น สว่ นผลออ่ น-หา่ ม รสเปร้ยี วอมฝาดใชต้ �ำสม้ (3, 4, 8, 9, 11, 12, 13, 14, 15, 17, 18, 20, 23, 24, 25, 27).--- สมุนไพร แกน่ ตม้ น�้ำบำ� รงุ น�ำ้ นมแมล่ ูกออ่ น (18).--- ผลสกุ กนิ มากเปน็ ยาระบาย (12).--- เถา 1 ก�ำมือ แชห่ รือต้มนำ้� ดมื่ รักษาอาการปวดเมอื่ ย (11).--- เถาต้มน�้ำดม่ื รกั ษาโรคภูมิแพ้ (23).--- เถา แกน่ และเปลือกเข้ายา (ผพี ว่ น+ดูกใส+ตาไก้/ตากวาง+เจตพงั ค+ี เปลา้ ใหญ)่ ผสมกนั ตม้ นำ�้ ด่มื รักษาโรคกระเพาะ (24).--- วสั ดุ เถาเนอ้ื เหนยี ว ใชท้ ำ� ขอบสวงิ ขอบกระด้ง ขอบอู่ (เปล) ขอบกระโซว่ ิดน้�ำ กงลอบ กงไซ (4, 11, 12, 14, 15, 17, 18, 20, 23, 24, 25, 27).--- เถาใชส้ านฝักมดี (18)



ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอสี าน 103 ตำ� บกั ผพี ่วน ผีพ่วน (Uvaria rufa Blume) สม้ ตำ� ชนิดหน่ึงท่ที �ำจากผลไม้ป่า เนอื้ ผีพว่ นดิบ-ห่าม มรี สเปรีย้ ว-อมฝาดเลก็ นอ้ ย รสเปรี้ยวของผพี ว่ นจะช่วยตัด กับความฝาดของมะเขือข่ืน เมอื่ ปรงุ กับรสเคม็ ของนำ้� ปลาร้าและน้�ำปลาแลว้ รสชาตจิ งึ คล้ายกบั สม้ ต�ำปลารา้ ส่วนประกอบ 1) ผลผีพว่ น ระยะดบิ -ห่าม (ฝานเปน็ ชน้ิ บางๆ ตามขวาง เอาเมลด็ สดี �ำออกหรือไมก่ ไ็ ด้) 1 ถว้ ย 2) มะเขอื ขนื่ (ใชม้ ะเขื่อสกุ หรือดิบสับหรือซอยท้งั เมล็ดใหเ้ ป็นชิ้นบางๆ) 1 ถว้ ย 3) พรกิ ชฟ้ี ้าแหง้ 15 เมด็ 4) หอมแดง (ปอกเปลอื กและฝานชื้นหยาบๆ) 3 หัว 5) ตะไคร้ (ซอยหยาบๆ) 1 ช้อนโต๊ะ 6) นำ�้ ปลาร้าตม้ 1/2 ถ้วย 7) น�้ำปลา 1 ชอ้ นโตะ๊ 8) นำ้� ตาลทราย 1/2 ช้อนโตะ๊ วธิ ปี รงุ 1. ตำ� พรกิ แหง้ หอมแดง และตะไคร้ ผสมกนั พอหยาบๆ แลว้ ใส่ผพี ่วนและมะเขือขื่น ลงไปต�ำผสมใหพ้ อแหลก 2. ปรงุ รสดว้ ยน้�ำปลาร้า น�ำ้ ปลา ใหม้ รี สชาติเปรี้ยว เค็มและเผ็ดนำ� แล้วปรงุ ดว้ ยนำ�้ ตาลทรายใหก้ ลมกล่อม หมายเหตุ กนิ แกล้มกับผกั สดทม่ี ีรสมนั ฝาดจะอร่อยยงิ่ ขึน้ เชน่ ยอดมะยมออ่ น ยอดกระโดน ยอดกระโดนน้ำ� / จกิ นา หรือใบมะละกออ่อน บางสตู รจะต�ำผลผพี ว่ นทงั้ เมลด็ ใหแ้ หลก ซง่ึ จะสามารถกลนื สว่ นผสมทัง้ หมดได้ สูตรอาหารโดย นางประมลู สุราวธุ (5)

หนามแตกเป็นคู่ 1-2 ช้นั

ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 105 หนามพรม ช่อื ทอ้ งถิน่ อื่น : หนามพรม พรม (ภาคกลาง), ขแี้ ฮด (ภาคเหนอื ), ปรม ปินลาตก๊ิ ขะมุม (เขมร-อ.ทา่ ตมู สรุ นิ ทร์) Carissa spinarum L. (วงศ์ Apocynaceae) ชอ่ื พอ้ ง : - ไม้พมุ่ หรือรอเล้อื ย สูง 0.5-5 ม. ทกุ ส่วนเมอ่ื เกดิ แผลจะมนี �ำ้ ยางสขี าวขนุ่ ตามกงิ่ อ่อน กา้ นใบและชอ่ ดอกเกล้ียง หรอื มีขนประปราย มีหนามแหลมคมออกเปน็ คู่ แตก 1-2 ชั้น ยาว 1-3 ซม. ใบเดีย่ ว เรียงตรงข้าม ใบรปู ไข่ กวา้ งหรอื เกือบกลม ยาว 2-5 ซม. ปลายใบแหลมหรือมีต่งิ หนาม โคนใบมน-กลม เนื้อใบหนา ผวิ ใบเกลย้ี ง หรือมขี นเล็กน้อย เสน้ แขนงใบขา้ งละ 3-5 เส้น กา้ นใบ ยาว 1.5-4.5 มม ชอ่ ดอกแบบกระจุก ยาว 1.5-4 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สเี ขียวอ่อน รูปไข่ ยาว 1.5-3 มม. กลบี ดอกสีขาว โคนเป็นหลอดยาว 0.5-2 ซม. ปลายแยก 5 แฉก รูปขอบขนาน ยาว 1-1.5 ซม. ปลายเรียวแหลม (ลักษณะคลา้ ยดอกมะล)ิ ผลทรงรี กว้างและยาว 1-2 ซม. ผิวเรยี บเกลย้ี ง เป็นมันเงา ผลสุกสีแดงเขม้ มี 4 เมลด็ /ผล ถ่นิ อาศัย ขึน้ ตามท่ีโล่งแจ้ง หรอื ชายปา่ ดงดบิ แล้ง ป่าผลดั ใบ และปา่ บ่งุ ปา่ ทามบรเิ วณเนินดนิ หรอื รอยตอ่ กับป่าบก ชอบดนิ ปนทราย ทีค่ วามสูงจากระดบั น�้ำทะเลไมเ่ กิน 500 ม. ออกดอกชว่ งเดือนพฤษภาคม-กันยายน ผลแกช่ ่วง เดือนกนั ยายน-เมษายน การกระจายพนั ธุ์ พบทว่ั ทกุ ภาคของประเทศไทย ต่างประเทศพบในประเทศเขตร้อนและก่ึงเขตร้อนต้งั แต่ทวปี แอฟรกิ า เอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ การใชป้ ระโยชน์ ดา้ นอ่ืน ใชใ้ นพิธีกรรม กงิ่ หนามพรม 7 ชิน้ + หมาก 7 ช้นิ + ไพล 7 ชน้ิ ให้ผเู้ ฒ่าผู้แก่เคีย้ วท�ำพิธพี น่ ใหเ้ ด็ก ทารก เพ่อื คุ้มครองป้องกันส่งิ ช่วั รา้ ย (4)



ป่าบงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน 107 เครือซูด ชือ่ ทอ้ งถ่ินอน่ื : เครือเจ็น (เชียงใหม)่ , เครืออโี ม้ (ภาคกลาง), เครอื ปลาสงแดง (ปราจนี บุร)ี , เถายอดแดง (อ่างทอง), หนุ น�้ำ (สระบรุ ี), เถาวลั ย์แดง หวั ขวาน (ชลบุรี), เตา่ ไห้ (ตราด), ปอตอ่ ไห้ (จนั ทบุร)ี , เถาโก (ประจวบคีรขี นั ธ์), เครือซดุ เครือซดุ แดง ไชสง (เลย), เครอื ซดู เครอื ซดุ (อสี าน), เครอื ข้ีกะเดือน (ไทญอ้ -อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม), เครือไสไ้ ก่ (อ.บ้านดุง อดุ รธานี), จ๊ด (สว่ ย-อ.ท่าตมู สรุ ินทร)์ , เวือจด๊ เวอื ไตย (เขมร-อ.ท่าตมู สุรนิ ทร์) Ichnocarpus frutescens (L.) W.T.Aiton (วงศ์ Apocynaceae) ชอ่ื พอ้ ง : - ไมเ้ ล้อื ยลม้ ลุก อายหุ ลายปี ยาว 3-5 ม. ทกุ ส่วนเม่อื เกิดแผลจะมนี ำ้� ยางสขี าวขุ่น ตามกง่ิ ออ่ น ก้านใบ และ ช่อดอกมีขนสสี นมิ หนาแน่น เถามขี อ้ นนู ใบเดี่ยว เรยี งตรงขา้ ม ใบรูปรียาวหรือขอบขนาน ยาว 5-12 ซม. ปลาย และโคนใบแหลม ผวิ ใบด้านลา่ งมขี นสนั้ เล็กนอ้ ยหรอื เกอื บเกลีย้ ง เส้นแขนงใบขา้ งละ 4-8 เสน้ ปลายเส้นโค้ง จรดกนั ชัดเจน กา้ นใบ ยาว 0.5-1.5 ซม ช่อดอกแบบแยกแขนง ยาว 3-20 ซม. ออกตามปลายกง่ิ กลบี เล้ียงสี เขยี วออ่ น ยาว 1-2 มม. กลบี ดอกสีขาว กลางดอกเหลือง โคนเปน็ หลอดป่องตรงกลาง ยาว 2-4 มม. ขอบกลีบ มีขนหยิกงอ กลีบบดิ งอและบิดเวียนขวา ผลเป็นฝกั คู่ รูปทรงกระบอกยาว 5-15 ซม. กว้าง 2-5 มม. มรี อยคอด เล็กนอ้ ย ผิวมีขนสั้นต่อมาเกล้ยี ง ฝักแกแ่ ห้งแตก มเี มลด็ จ�ำนวนมาก รูปแถบ ยาว 2 ซม. ปลายด้านหน่ึงมพี ่ขู น สขี าว ยาว 2-3 ซม. ถิ่นอาศยั ขน้ึ ตามทโ่ี ลง่ แจง้ หรอื ชายปา่ ดงดิบ ปา่ ผลดั ใบ และปา่ บุง่ ปา่ ทาม ท่ีความสงู จากระดบั น�้ำทะเลไม่เกิน 800 ม. ออกดอกชว่ งเดือนสงิ หาคม-เมษายน ผลแกช่ ว่ งเดอื นพฤศจกิ ายน-กรกฎาคม การกระจายพันธ์ุ พบท่วั ทกุ ภาคของประเทศไทย ต่างประเทศพบในประเทศเขตรอ้ นและกึ่งเขตร้อนตัง้ แต่เอเชยี ใต้ จีนตอนใต้ เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ และทวปี ออสเตรเลยี ตอนเหนอื การใชป้ ระโยชน์ วสั ดุ เถาเนอ้ื เหนยี ว ใชแ้ ทนเชอื กมดั สิง่ ของทว่ั ไป หรือใช้ถักกบั ซไ่ี มไ้ ผท่ �ำเผอื ก ลอบ ไซ ซดู (เคร่ืองมอื จบั ปลา ชนิดหนึง่ จงึ เป็นท่มี าของชอ่ื เครอื ซูด) หรอื ใชผ้ กู กับลำ� ไมไ้ ผเ่ พอ่ื ท�ำรว้ั (19, 23, 24, 27).--- ใช้แทนเชือกไพหญา้ แฝกหรือหญา้ คามุงหลังคา (9).--- สานตะกร้าหรอื กระเช้าของขวญั (16)

ฝักอ่อน กระจุกขนสีสนิมที่ผิวใบดา้ นลา่ ง

ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน 109 เครือซูดผู้ ชอ่ื ทอ้ งถนิ่ อนื่ : เครือเขามวกขาว เครอื เขามวก ตงั่ ตเู้ ครือ (ภาคเหนอื ), ตังตดิ (จันทบรุ )ี , มวก สม้ ลม (ปราจีนบรุ ี, สระบรุ ี), เถาประหล่�ำผี (ชัยนาท), ช้างงาเดยี ว (ประจวบคีรขี นั ธ์), สม้ เย็น (สตูล), เครอื ซูด เครอื ซดู ผู้ (มหาสารคาม, รอ้ ยเอ็ด, อุบลราชธานี, สระบรุ )ี , เครอื หางจิ๊งโกะ๊ (อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), วนั จรกุ (เขมร- จันทบุรี) Parameria laevigata (Juss.) Moldenke (วงศ์ Apocynaceae) ชอื่ พ้อง : - ไม้เลื้อยล้มลกุ อายหุ ลายปี ยาว 4-10 ม. ทกุ สว่ นเมื่อเกิดแผลจะมีน้ำ� ยางสขี าวขุน่ ตามกิ่งออ่ น กา้ นใบ และชอ่ ดอกมีขนสนั้ ประปราย-เกล้ียง เถามขี อ้ นูน ใบเด่ยี ว เรียงตรงขา้ ม ใบรปู รีหรอื รปู ไข่ ยาว 3-7 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน ผิวใบเรยี บเกลีย้ งเปน็ มนั เงา เน้อื ใบคอ่ นข้างหนา ด้านลา่ งมกั พบกระจุกขนสี สนมิ ทงี่ ่ามเส้นแขนงใบและเส้นกลางใบ 2-3 คู่ เสน้ แขนงใบขา้ งละ 4-6 เส้น ไม่นนู เด่นท่ผี ิวใบด้านล่าง กา้ นใบ ยาว 1-4 มม ชอ่ ดอกแบบแยกแขนง ยาว 5-16 ซม. ออกตามปลายก่งิ กลีบเลย้ี งสเี ขยี วอ่อนหรอื แดง ยาว 1 มม. กลีบดอกสีขาว-ชมพู โคนเป็นหลอดปอ่ งทโ่ี คนและมี 5 สัน ยาว 2-2.5 มม. ปลายแยก 5 แฉก รปู ไขก่ ลับ ยาว 2-4 มม. ปลายมน กลบี บิดเวียนซ้าย มีกลน่ิ หอม ผลเป็นฝักคู่ รูปทรงกระบอกยาว ยาว 12-27 ซม. กวา้ ง 4-7 มม. ผิวเกลยี้ ง มรี อยคอดตามเมล็ด ฝักแกแ่ ห้งแตก มเี มล็ดจ�ำนวนมาก รูปรี ยาว 0.6-1.2 ซม. ปลายด้านหนึ่ง มีพูข่ นสขี าว ยาว 2-3 ซม. ถน่ิ อาศัย ขึ้นตามชายป่าดงดิบ ปา่ ผลัดใบ และป่าบุง่ ป่าทาม ทค่ี วามสงู จากระดบั น�้ำทะเลไมเ่ กนิ 900 ม. ออกดอก ชว่ งเดอื นกรกฎาคม-ตุลาคม ผลแก่ชว่ งเดือนตุลาคม-มนี าคม การกระจายพนั ธ์ุ พบทวั่ ทุกภาคของประเทศไทย ต่างประเทศพบในประเทศเขตรอ้ นและกงึ่ เขตรอ้ นตง้ั แต่จนี ตอนใต้ และเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน กนิ เปน็ ผักสด แกลม้ ลาบ ก้อย หรอื ปลาร้าบอง (13).--- วสั ดุ เถาเนื้อเหนียวเช่นเดียวกบั เครอื ซูด ใชแ้ ทนเชือกมัดสงิ่ ของ เชน่ ใช้มดั ฟืน ใชส้ านลอบ ไซ หรอื มัดรว้ั (11, 12, 13, 14, 23)

เมลด็ ฝักออ่ น

ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน 111 เครือไพสง ชอื่ ทอ้ งถิน่ อน่ื : จุกโรหินี (ชยั นาท), ข้เี ดอื น (สุราษฎร์ธาน)ี , ไซสง เครอื ไซสง (ชยั ภูม,ิ อ.โพธต์ิ าก อ.ศรีเชียงใหม่ หนองคาย), ต�ำยาน เครอื ไอแ้ บ้ (ไทโคราช-อ.ชมุ พวง นครราชสมี า), เครอื ไพสง (ไทลาว-อ.เมืองยาง นครราชสีมา, ขอนแก่น, ศรีสะเกษ, ยโสธร), เครือซูด (รอ้ ยเอ็ด), เครือเขาขน (อ.พรรณานิคม สกลนคร), เครือปะสง ยางปะสง (อ.กนั ทรารมย์ ศรีสะเกษ, อ.ศรีสงคราม นครพนม), เครอื พายถุง นริ พานบ่กลับ (ไทญ้อ-อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม), เวือซาร์ (เขมร-อ.ทา่ ตมู สุรนิ ทร์), วลั กะเซา (สว่ ย-อ.ท่าตูม สุรนิ ทร)์ Streptocaulon kleinii Wight & Arn. (วงศ์ Apocynaceae) ชื่อพ้อง : - ไม้เลื้อยลม้ ลุก อายุหลายปี ยาว 3-5 ม. ทกุ สว่ นเมอื่ เกิดแผลจะมีนำ�้ ยางสีขาวขุน่ ตามกิง่ และเถาอ่อนมขี นสสี นิม หนาแน่น เถามีขอ้ และช่องอากาศนนู ใบเดยี่ ว เรยี งตรงขา้ ม ใบรปู ขอบขนานหรอื แกมรูปหอกกลบั ยาว 5-10 ซม. ปลายใบมนและหยักคอดเป็นติง่ ส้ัน โคนใบเวา้ รูปหัวใจหรือตดั ผิวใบด้านล่างมขี นส้นั หยกิ งอหนาแน่น สขี าว เน้อื ใบคอ่ นข้างหนา เสน้ แขนงใบข้างละ 8-15 เส้น ปลายเส้นโค้งจรดกนั ช่อดอกแบบกระจุก ยาว 3-6 ซม. ออกตามซอกใบ มีขนยาวแขง็ สขี าวหนาแน่น กลบี เล้ียงสีเขียวอ่อนหรือมว่ งอมแดง ยาว 1-2 มม. กลบี ดอก สเี หลืองอมเขียวหรือสีแดงอมมว่ งเขม้ โคนเชื่อมตดิ กันทรงคล้ายชาม ปลายแยก 5 แฉก รูปไข่ ยาว 5 มม. ปลาย แหลม กลบี บิดเวียนซ้าย ผลเปน็ ฝักคู่ รูปทรงกระบอก ยาว 12-18 ซม. กว้าง 7-10 มม. แตล่ ะฝกั เหยยี ดตรง และกางออกสองขา้ ง มขี นสั้นหนาแนน่ ฝักแกแ่ หง้ แตก มีเมลด็ จำ� นวนมาก รูปแถบ ยาว 1.2 ซม. ปลายดา้ น หนง่ึ มีพขู่ นสีขาว ยาว 3-4 ซม. ถิ่นอาศัย ขึน้ ตามท่โี ลง่ แจ้งในทงุ่ หญา้ หรอื ชายปา่ ดงดิบแลง้ และป่าบงุ่ ปา่ ทาม ในเขตท่ีราบน�้ำทว่ มถึง ทค่ี วามสูง จากระดับนำ�้ ทะเลไมเ่ กิน 200 ม. ออกดอกช่วงเดอื นพฤศจกิ ายน-พฤษภาคม ผลแก่ช่วงกมุ ภาพันธ-์ สิงหาคม การกระจายพันธ์ุ พบในเขตท่ีราบลุ่มภาคกลางต้ังแต่ จ. สโุ ขทยั ลงไปถึง จ. สุราษฎร์ธานี และภูเก็ต, พบได้ง่าย ตามปา่ บ่งุ ป่าทามท่ัวภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตา่ งประเทศพบในประเทศลาว เวียดนาม และกมั พชู า การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น กินเป็นผกั สดมรี สฝาด จม้ิ น้�ำพรกิ (1).--- สมนุ ไพร ยางสีขาวทาแผลสดหา้ มเลือด และช่วย สมานแผล (17).--- ยางใสแ่ ผลแกพ้ ิษแมลงป่อง (15).--- ยางใช้ทารกั ษาแผลรอ้ นในภายในชอ่ งปาก (ภาษาอีสาน เรียกว่า “ปากเปน็ กาง”) แผลในชอ่ งปาก หรือแผลจากโรคปากนกกระจอก (10, 19, 21, 23, 26).--- รากตม้ น้�ำ ดืม่ รักษาโรคปากนกกระจอก (26).--- ทกุ สว่ นตม้ ด่ืม หรือเขา้ ยาอื่นๆ ท�ำเปน็ ลูกกลอนบำ� รงุ ก�ำลงั บำ� รงุ ธาตขุ นั ธ์ (19).--- รากเครอื ไพสง+รากเอื้อง/เออื้ งหมายนา ตม้ นำ�้ แลว้ ผสมกับ น�้ำมะนาว ด่ืมขบั นว่ิ (27).--- วัสดุ เถาเน้ือ เหนียวคล้ายเครอื ซดู ใชแ้ ทนเชือกมัดสง่ิ ของ สานลอบ สานไซ (2, 4, 10, 13, 14, 19, 21).--- ด้านอ่นื ใบและ เถาเปน็ อาหารช้าง (3).— อาหารววั -ควาย (1, 17)



ปา่ บุง่ ป่าทาม ภาคอีสาน 113 พริกป่า ชื่อท้องถนิ่ อนื่ : พริกป่า (ระยอง), พรกิ กา พรกิ ป่านก (ชลบรุ ี), ดำ� จลุ้ สะเนงโก (เขมร-อ.ท่าตมู สุรินทร)์ Tabernaemontana pauciflora Blume (วงศ์ Apocynaceae) ช่อื พ้อง : - ไม้พุม่ สงู 1-3 ม. ทุกส่วนเมอ่ื เกิดแผลจะมีนำ้� ยางสขี าวข่นุ ตามก่ิงอ่อนและชอ่ ดอกเกลยี้ ง ใบเด่ียว เรียงตรงขา้ ม ใบรปู รี ยาว 5-18 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบรปู ล่มิ ผิวใบเกลยี้ ง เส้นแขนงใบขา้ งละ 8-12 เสน้ ก้านใบ ยาว 2-7 มม. ชอ่ ดอกแบบแยกแขนง ยาว 7-15 ซม. ออกตามปลายกงิ่ กลบี เลี้ยงสีเขียว รปู ไข่ยาว ยาว 2-4 มม. ปลายแหลม ขอบกลบี ไมม่ ขี น กลบี ดอกสขี าว โคนเช่ือมติดกันเป็นหลอด ยาว 1-2.3 ซม. กวา้ ง 4 มม. ปลาย แยก 5 แฉก รปู ไข่กลบั ยาว 7-1.2 ซม. ปลายกลม ขอบกลีบเปน็ คลนื่ กลบี บดิ เวยี นซ้าย ผลเป็นฝักคู่ รปู ร-ี ขอบ ขนาน ยาว 3-6 ซม. กวา้ ง 1 ซม. ปลายเรียวแหลม มสี ้ันตามยาว 2 สัน แต่ละฝักบิดเลก็ นอ้ ยและกางโค้งออก สองขา้ ง เม่ือสกุ สีสม้ แลว้ แตกอา้ มี 2-4 เมลด็ รปู รี ยาว 8-10 มม. มีเยื้อหมุ้ เมล็ดสีแดง ถิ่นอาศัย ข้นึ ตามทร่ี ม่ รำ� ไรหรือชายป่าดงดิบ และป่าบุ่งปา่ ทาม ทค่ี วามสงู จากระดับน�้ำทะเลไม่เกิน 1,000 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นเมษายน-กันยายน ผลแกช่ ่วงกรกฎาคม-มกราคม การกระจายพันธ์ุ พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคกลาง ลงไปถึงภาคใต้ ตา่ งประเทศพบทว่ั เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ การใชป้ ระโยชน์ สมุนไพร รากและต้น ต้มน้�ำด่มื ช่วยเรียกน�้ำนม (4)



ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 115 เครือไพสงแดง ชอื่ ท้องถ่นิ อืน่ : อบเชยเถา (กรุงเทพฯ), เถาวัลยแ์ ดง (ราชบรุ )ี , เครือซดุ (เลย), เครอื มะแตก (ภาคเหนอื ), เครือไซสง เครือไพสง เครอื ไพสงแดง (ร้อยเอด็ , ขอนแก่น) Toxocarpus villosus (Blume) Decne. (วงศ์ Apocynaceae) ชื่อพ้อง : Secamone villosa Blume ไม้เล้อื ยลม้ ลกุ อายุหลายปี ยาว 3-10 ม. ทุกส่วนเมือ่ เกดิ แผลจะมนี �ำ้ ยางสีขาวขุ่น ตามกงิ่ อ่อน ก้านใบ และ ช่อดอกมีขนสนั้ สีสนิมหนาแน่น ใบเด่ียว เรยี งตรงขา้ ม ใบรปู รีหรือรกี วา้ ง ยาว 5-12 ซม. ปลายใบแหลมหรอื หยกั คอดเป็นติ่งสนั้ โคนใบมน ผวิ ใบดา้ นล่างมขี นสีสนิม เน้อื ใบหนา เส้นแขนงใบข้างละ 6-8 เสน้ ปลายเส้นโคง้ จรดกนั ชัดเจน-ไมช่ ดั ก้านใบ ยาว 1-1.5 ซม. ชอ่ ดอกแบบแยกแขนง ยาว 4-10 ซม. ออกตามซอกใบและปลาย ก่ิง กลีบเล้ียงสเี ขียว รูปใบหอก ยาว 3 มม. กลีบดอกด้านในสีเหลือง โคนเช่ือมตดิ กันเป็นหลอดสนั้ สขี าว ยาว 3-5 มม. กว้าง 4 มม. ปลายแยก 5 แฉก รูปใบหอก ยาว 0.8-1 ซม. ปลายเรยี วแหลม ขอบกลบี ไม่มขี น ที่โคน กลีบมขี นยาว กลีบบดิ เวยี นซ้าย ผลเป็นฝักค่หู รอื เดยี ว รูปทรงกระบอก ยาว 10-18 ซม. กว้าง 1 ซม. ปลาย เรียวแหลม มขี นสั้นหนาแน่น ฝักแก่แห้งแตก มีเมล็ดจ�ำนวนมาก รปู แถบ ยาว 1 ซม. ทป่ี ลายดา้ นหนึง่ มีพูข่ น สขี าว ยาว 2 ซม. เครือไพสงแดงคอ่ นข้างคลา้ ยเครือซดู (Ichnocarpus frutescens) แตกต่างกนั ทเ่ี ครือไพสงแดงมีใบที่ กว้างกว่า ดอกมีสีเหลือง กลบี ดอกไมบ่ ิดงอ และไมม่ ีขนหยิกงอแบบเครือซูด ถน่ิ อาศัย ขึน้ ตามที่รกรา้ ง โล่งแจ้ง หรือตามชายป่าดงดบิ ป่าผลดั ใบ และปา่ บ่งุ ป่าทาม ทคี่ วามสูงจากระดับ น�้ำทะเลไม่เกนิ 1,000 ม. ออกดอกช่วงเดอื นกนั ยายน-มกราคม ผลแกช่ ่วงธนั วาคม-เมษายน การกระจายพันธ์ุ พบทั่วประเทศไทย ต่างประเทศพบในจนี ตอนใต้ เมียนมาร์ ลาว เวยี ดนาม กมั พูชา คาบสมุทร- มาเลเซยี สุมาตรา และชวา การใชป้ ระโยชน์ สมุนไพร ยางทารกั ษาแผลท่รี มิ ฝีปาก แผลภายในชอ่ งปาก (13).--- เถาเขา้ ยาอื่นๆ ต้มน�้ำดื่มเปน็ ยาขบั ปสั สาวะ (14).--- วัสดุ เถาใชส้ านตะกรา้ เป็นเชือกมัดสิง่ ของ หรือมัดฟืน (2)



ป่าบงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน 117 มูก ชอื่ ท้องถิ่นอ่นื : โมกบ้าน โมกซ้อน โมกนำ้� (ภาคกลาง), หลักปา่ (ระยอง), โมก (อ.เมอื ง สกลนคร), คุดน้ำ� บอมป้ี (อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), มูก (ไทญ้อ-อ.ศรีสงคราม นครพนม), ปิดจงวา (เขมร-สรุ นิ ทร)์ Wrightia religiosa (Teijsm. & Binn.) Benth. ex Kurz (วงศ์ Apocynaceae) ช่อื พอ้ ง : - ไม้พมุ่ สงู 2-5 ม. ทุกส่วนเมื่อเกดิ แผลจะมนี ้�ำยางสีขาวขุ่น ตามกงิ่ อ่อนและชอ่ ดอกเกลีย้ งหรือมีขนประปราย ใบเด่ยี ว เรียงตรงขา้ ม ใบรูปรี ยาว 2-5 ซม. ปลายใบเรยี วแหลม โคนใบรูปลิม่ ผวิ ใบบางและเกลีย้ ง เส้นแขนง ใบข้างละ 4-8 เสน้ กา้ นใบ ยาว 1.5-4 มม. ช่อดอกแบบกระจุกแยกแขนง ยาว 2-4 ซม. ออกตามปลายก่ิง กา้ นดอกยาว 1-3 ซม. กลีบเล้ยี งสเี ขยี ว รูปไข่ ยาว 2 มม. กลบี ดอกสีขาว โคนเช่อื มตดิ กันเปน็ หลอด ยาว 2-4 มม. กวา้ ง 2 มม. ปลายแยก 5 แฉก (กลีบดอกซ้อนหลายชัน้ เปน็ พันธ์ุปลูกตามบา้ น) รปู ไขก่ ลบั ยาว 0.5-1 ซม. ปลายกลม มขี นส้นั ละเอยี ด กลบี ไม่บิดเวียน เกสรเพศผู้ 5 เกสรปลายเชอื่ มติดกันคลา้ ยกระโจมแหลม ยาว 6 มม. มีกลนิ่ หอมแรง ผลเปน็ ฝกั คู่ รปู ทรงกระบอกยาว ยาว 10-17 ซม. กวา้ ง 0.5 ซม. ปลายเรยี วแหลม ผวิ เรยี บ เกลยี้ ง ห้อยลง ฝกั แก่แหง้ แตก มีเมล็ดจ�ำนวนมาก รูปแถบ ยาว 8 มม. ปลายดา้ นหนึ่งมพี ูข่ นสีขาว ยาว 3 ซม. ถนิ่ อาศัย ข้ึนตามทโี่ ลง่ แจง้ หรอื ชายป่าดงดบิ และป่าบุ่งปา่ ทาม ข้นึ ตามริมน้�ำหรอื พื้นท่แี อง่ กระทะทีม่ นี ้�ำขงั อย่เู ปน็ ประจำ� ทค่ี วามสูงจากระดบั น�้ำทะเลไมเ่ กิน 200 ม. ออกดอกชว่ งเดือนเมษายน-ธนั วาคม ผลแกช่ ว่ งกรกฎาคม- มีนาคม การกระจายพันธ์ุ พบทัว่ ประเทศไทย นยิ มปลกู เปน็ ไม้ประดับทั่วไป ในธรรมชาตคิ อ่ นขา้ งหายาก ต่างประเทศ พบทั่วเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ การใช้ประโยชน์ สมุนไพร ดอกมกี ลนิ่ หอม นำ� มาตม้ นำ้� ดืม่ บ�ำรงุ หวั ใจ (23).--- ดา้ นอ่นื ดอกมกี ลิน่ หอมนยิ มนำ� มาปลกู ประดับ ตามริมรัว้ บา้ น หรอื นำ� ดอกมาบูชาพระ (19, 23)

ดอกบอน กลมุ่ ของดอกเพศเมยี ท่อี ยูด่ ้านในกาบรองชอ่ ดอก

ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 119 บอน ชือ่ ท้องถ่นิ อืน่ : บอน บอนเขียว บอนด�ำ บอนน้�ำ (ทวั่ ไป), ตนุ (เชยี งใหม่), กลาดีกบุ เุ ฮง (มลาย-ู ยะลา), กลาดไี อย์ (มลายู-นราธวิ าส), คทึ ีโบ คูชบี้ ้อง (กะเหรีย่ ง-แมฮ่ ่องสอน) Colocasia esculenta (L.) Schott (วงศ์ Araceae) ชอ่ื พอ้ ง : - ไมน้ ำ้� ล้มลกุ มอี ายหุ ลายปี สูง 0.7-1.5 ม. ลำ� ต้นเปน็ เหง้ารปู ทรงกระบอกอยู่ใต้ดิน กว้าง 3-5 ซม. มขี อ้ ปลอ้ ง และผวิ สีน้�ำตาลเข้ม ทุกส่วนมีนำ�้ ยางใสเม่ือถกู อากาศเปลยี่ นเปน็ สีออกแดง ใบเด่ยี ว เรยี งเวียน รูปไขแ่ กม รปู หวั ใจ กวา้ ง 15-35 ซม. ยาว 20-50 ซม. ปลายใบแหลม-มน โคนใบเว้าลึกรปู หวั ใจ ผวิ ใบเกลยี้ ง ด้านบน มนี วลไมเ่ ปียกนำ้� เน้ือใบบางและออ่ นนมุ่ เสน้ แขนงใบออกจากข่วั ใบ 2-3 คู่ มีเส้นแขนงใบข้างละ 6-10 เส้น กา้ นใบยาว 0.3-1 ม. ผิวเกลี้ยง ปลายกา้ นติดใกล้กงึ่ กลางแผน่ ใบ โคนกา้ นมีร่องและแผเ่ ปน็ กาบโอบรัดกนั แนน่ ชอ่ ดอกแบบช่อเชงิ ลดมกี าบรอง 1 กาบ ออกที่ยอด กาบรองช่อดอกสีเหลืองออ่ น รูปใบหอก ยาว 10-25 ซม. ส่วนโคนกาบสีเขียวโอบห้มุ กลมุ่ ดอกเพศเมยี ยาว 5 ซม. ชอ่ ดอกเปน็ แท่งตงั้ ขน้ึ ยาว 12-15 ซม. กลมุ่ ดอก เพศผู้สเี หลอื งครีมอยู่ดา้ นบน กลุ่มดอกเพศเมียสีเขยี วอยู่ด้านลา่ ง ผลรูปไขก่ ลับ ยาว 5 มม. สกุ สีเหลอื งอมน้�ำตาล มเี มล็ดรูปรี ยาว 1 มม. ถน่ิ อาศัย ขน้ึ ตามทโ่ี ลง่ แจ้ง ตามรมิ ล�ำธารหรอื ขอบบงึ ทมี่ ีน�ำ้ ลกึ ไมเ่ กิน 50 ซม. ท่ีความสูงจากระดับน้�ำทะเลไม่เกนิ 1,500 ม. ในประเทศไทยออกดอกและตดิ ผลตลอดท้งั ปี การกระจายพันธ์ุ พบท่วั ประเทศไทย มกั ข้ึนเปน็ วัชพืชตามบงึ นำ้� ตนื้ ตา่ งประเทศพบขึ้นตามธรรมชาตทิ ั่วทวปี เอเชยี ในเขตรอ้ น ปัจจุบนั เปน็ วชั พชื ในเขตรอ้ นทัว่ โลกแลว้ การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ก้านใบปลอกเปลอื ก ต้มน้�ำเดอื ดจัด แล้วบีบเอาน้�ำออก ช่วยแก้คนั กอ่ นนำ� มาแกง, บอนบางตน้ หรอื บางแหลง่ อาจจะคนั มากจนกินไมไ่ ดแ้ ม้จะท�ำอย่างดีแล้วกต็ าม ซ่ึงกล่มุ ต้นบอนทีเ่ คยน�ำมาท�ำอาหารแล้วไมค่ ันมัก จะถกู นำ� มาปลกู ตามบ้านเรือนหรอื ชาวบา้ นจะรู้กนั ดวี ่าแหลง่ บอนทีใ่ ดสามารถกนิ ได้ (22)



ปา่ บงุ่ ป่าทาม ภาคอสี าน 121 จอก ช่ือทอ้ งถ่ินอ่นื : จอก จอกเล็ก จอกใหญ่ (ท่ัวไป), กากอก ผักกอก (ภาคเหนือ) (วงศ์ Araceae) Pistia stratiotes L. ชือ่ พ้อง : - ไมน้ ำ้� ล้มลกุ ทัง้ ต้นลอยน�ำ้ มีรากจ�ำนวนมากออกเป็นกระจกุ ทีโ่ คนตน้ ใตน้ ้�ำ ใบเรียงซอ้ นเปน็ กระจกุ กลม (ทรง คล้ายดอกกหุ ลาบ) กวา้ ง 2-20 ซม. ใบรปู พัด ยาวได้ถึง 10 ซม. ปลายใบกลมหรือเว้าบมุ๋ และมกั เป็นคลน่ื โคนใบสอบ เนือ้ ใบที่โคนพองคลา้ ยฟองน�้ำ ผวิ ใบมขี นส้ันสขี าวหนานุ่ม เส้นใบเรียงขนานกันออกจากโคน มากถึง 12 เสน้ แผน่ ใบมรี อยกดตามแนวเสน้ แขนงใบ ไม่มกี า้ นใบ ชอ่ ดอกแบบชอ่ เชงิ ลดมีกาบรองดอก 1 กาบ ออกเดีย่ วที่ยอดหรือซอกใบ กาบรองดอกสีขาวอมเขยี ว รูปรี ยาว 0.7-1.2 ซม. ปลายแหลม โคนกาบคอดและ เช่ือมติดกันคลา้ ยหลอด ด้านนอกมีขนหนาแน่น ดอกเพศผ้อู ยู่ดา้ นบน มี 2-8 ดอก ดอกเพศเมยี มดี อกเดยี ว ผลเปน็ กระเปาะผนงั บาง รปู รี มี 2-3 เมลด็ ถิน่ อาศยั ข้ึนตามทโ่ี ลง่ แจ้ง ในบึงหรือแหลง่ น้ำ� นิง่ ในประเทศไทยออกดอกและติดผลตลอดท้งั ปี การกระจายพนั ธุ์ พชื โตเรว็ มักพบขึ้นเป็นวัชพชื อย่ทู ัว่ ประเทศไทย ต่างประเทศพบขน้ึ ตามธรรมชาตใิ นเขตรอ้ น และก่งึ เขตรอ้ นทว่ั โลก การใช้ประโยชน์ -

แส้ หนามบนกาบใบ

ปา่ บุง่ ป่าทาม ภาคอีสาน 123 หวายน้�ำ ช่อื ท้องถ่ินอ่ืน : หวายนำ�้ (ไทลาว-หนองคาย), หวาย (ไทโคราช-อ.เมืองยาง นครราชสมี า) (วงศ์ Arecaceae) Calamus godefroyi Becc. ชื่อพ้อง : - ไม้เล้อื ย ขึ้นเป็นกอหนาแน่น ยาวไดถ้ งึ 10 ม. เถารวมกาบ กว้าง 1-1.5 ซม. ถ้าไม่รวมกาบ กวา้ ง 0.7-0.9 ซม. ปลอ้ งยาว 15-17 ซม. เถามกี าบสีเขยี วหุ้ม ผวิ กาบมีสะเกด็ สนี ำ�้ ตาลอ่อนปกคลุมเล็กนอ้ ย และ มีหนาม แบนสีนำ้� ตาลอมม่วง ยาวไดถ้ งึ 2 ซม. มีจ�ำนวนมาก เรียงกระจดั กระจายมีปลายหนามชี้ไปหลายทิศทาง โคนหนามบวมสีเหลือง ท่ีใกลป้ ลายกาบใบมแี ส้ (flagellum) 1 เสน้ ยาว 0.5-1.5 ม. ใบประกอบแบบขน นก มีแกนใบเปน็ เหล่ยี ม ยาว 50-60 ซม. ไม่มกี า้ นใบ หรือมีแตย่ าวไม่เกิน 3 ซม. มรี อยบวมพองท่ีกาบใบใต้ โคนกา้ นใบ (knee) ไมม่ ีแส้ยืน่ ออกมาทีป่ ลายแกนใบ (cirrus) ใบย่อยเรียงสลับระนาบเดียว มขี ้างละ 10-17 ใบในแตล่ ะขา้ ง รปู ใบหอกแกมรปู แถบ ยาวได้ถึง 27 ซม. ปลายใบเรยี วแหลม ไม่มีกา้ นใบยอ่ ย ผวิ ใบเกล้ยี ง มเี สน้ ใบตามแนวยาวขา้ งละ 1-2 เสน้ ตามเส้นกลางใบ ขอบใบ และแกนใบมีหนาม ช่อดอกยาวได้ถงึ 1.3 ม. ผลรูปทรงกลม กวา้ ง 1-1.3 ซม. ผวิ มีเกล็ดแข็งซ้อนกัน 17 แถวตามแนวต้ัง สเี หลืองอ่อน ปลายเกลด็ สีเข้มกว่า มี 1 เมลด็ /ผล รูปกลมและแบนดา้ นข้าง ถิ่นอาศยั ขน้ึ ตามทีโ่ ลง่ แจง้ หรือชายป่า ในเขตพ้ืนที่บงุ่ ทามหรือตามริมนำ้� ท่ีความสูงจากระดับน�้ำทะเลไมเ่ กิน 200 ม. ช่วงเวลาออกดอกและผลแก่ ไมม่ ขี ้อมูล การกระจายพนั ธุ์ เป็นพชื หายาก พบทบี่ งึ บอระเพ็ด จงั หวดั นครสวรรค์ ตามรมิ แม่น�้ำมูล และทจ่ี ังหวัดหนองคาย ตา่ งประเทศพบในลาวและกัมพชู า (พบไดง้ ่ายทโี่ ตนเลสาบ) การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดออ่ นหรอื หน่อ มีรสมันปนขมและฝาด ใช้แกง, ผลสกุ รสเปรยี้ ว กนิ เปน็ ผลไม้ (1).--- วสั ดุ เถา/ลำ� หวาย มีเน้ือเหนียว ใชจ้ ักสานตะกรา้ หรอื ภาชนะตา่ งๆ (1) ล�ำหวาย ท่ลี อกกาบใบออกไปแล้ว



ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 125 ผักฮ้อนแฮ้น ช่ือทอ้ งถิน่ อืน่ : หญา้ จามหลวง (เชียงใหม่), พญามุตติ (สุพรรณบุรี), ผักฮ้อนแฮ้น ผกั ตั้งโอท๋ าม (อ.ศรสี งคราม นครพนม), แฮ้งคอง (ไทญอ้ -อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม) Grangea maderaspatana (L.) Poir. (วงศ์ Asteraceae) ชือ่ พอ้ ง : - ไม้ล้มลุก อายปุ ีเดยี ว แตกกง่ิ มากเปน็ พุ่มเตี้ยคลมุ ดิน สูง 10-30 ซม. ตามล�ำตน้ กง่ิ ใบ และช่อดอกมขี นสัน้ -ยาว หนาแน่น ลำ� ต้นกลมไม่มปี กี ใบเด่ียว เรยี งเวยี น ใบรปู ขอบขนาน ยาว 3-6 ซม. ขอบใบหยักเปน็ แฉกแบบขนนก 2-4 คู่ โคนใบหยักคอดเปน็ ปกี แคบจนจรดก่ิง ไมม่ กี ้านใบ ผิวใบมีขนหนาแน่น เน้ือใบหนาและอ่อนนมุ่ ไม่มี กล่ินฉนุ ชอ่ ดอกแบบกระจกุ อัดแน่นเป็นทรงครง่ึ วงกลม สเี หลอื ง เมื่อเร่มิ ติดเมลด็ จะเปลี่ยนเปน็ สมี ว่ งคลำ�้ - นำ�้ ตาล กวา้ ง 6 มม. สงู 3 มม. ออกตามเด่ยี วๆ ตามปลายก่ิง ก้านช่อดอกยาว 5-10 มม. ใบประดับรองชอ่ ดอก สีเขยี วออ่ น เมลด็ รูปขอบขนาน ยาว 2 มม. มีจำ� นวนมากติดอยู่ในดอกทแ่ี หง้ ปลายมเี ยอ่ื เป็นวงแหวน สงู 0.5 มม. ขอบเยอื่ หยักเปน็ ฝอย ถิ่นอาศยั ขึน้ ตามที่โล่งแจง้ ในเขตพ้ืนทดี่ นิ ตะกอนทบั ถมมาจากแมน่ ำ้� ล�ำคลอง และมนี ำ�้ ทว่ มขงั หรือชืน้ แฉะในชว่ ง ฤดฝู น พบมากตามนาข้าวหลังฤดเู กบ็ เกีย่ ว โดยจะงอกและเจรญิ เตบิ โตในช่วงเดือนพฤศจกิ าน ใช้เวลาประมาณ 2 เดอื นจงึ ออกดอก-ตดิ ผล หากแล้งจัดจะแหง้ ตายหรือชะงกั แลว้ กลบั มางอกใหม่/เตบิ โตอกี คร้งั เม่ือเขา้ สฤู่ ดฝู น จนกระทัง่ จมน�้ำตายเมือ่ ถงึ ฤดนู ้�ำหลาก ข้ึนทีค่ วามสงู จากระดบั นำ�้ ทะเลไมเ่ กิน 1,000 ม. ออกดอกและติดผล ตลอดท้งั ปี การกระจายพนั ธุ์ พบทั่วประเทศไทย ต่างประเทศพบในเขตรอ้ นของทวีปแอฟรกิ าและเอเชยี การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น มกี ลนิ่ ฉนุ เล็กนอ้ ย กนิ เป็นผักสดแกล้มปิง้ ปลา ลาบ ก้อย หรือนำ้� พรกิ (20, 23).--- ยอดอ่อน น่งึ กับปลาหรอื ใส่แกงกบ/เขียด (18)



ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน 127 ผักกาดฮ้อ ชอ่ื ท้องถ่นิ อนื่ : ผักกาดฮอ้ (อ.กันทรารมย์ ศรสี ะเกษ), กระดมุ (อ.เมอื ง ยโสธร) (วงศ์ Asteraceae) Sphaeranthus indicus L. ชือ่ พ้อง : - ไมล้ ้มลกุ อายุปีเดียว แตกกง่ิ มากเป็นพ่มุ เตี้ยคลมุ ดิน สูง 10-50 ซม. ลกั ษณะท่วั ไปคล้ายผักฮอ้ นแฮน้ (Grangea maderaspatana) มาก ต่างกนั ทท่ี ่วั ทั้งต้นของผกั กาดฮ้อจะมขี นเหนยี วมือ มีกล่ินหอมแรง ส่วนตามก่ิง และลำ� ต้นมีปกี กว้างไดถ้ ึง 10 มม. (ต้นท่ขี ้นึ ในท่ีชนื้ จะมีกิง่ ยืดยาวเหน็ ปีกกว้างชดั เจน) ใบรปู ไข่กลบั ขอบใบ จักฟันเล่อื ย ช่อดอกทรงกลม สมี ่วงอมชมพู ถน่ิ อาศยั ข้นึ ตามท่โี ลง่ แจง้ ในเขตพน้ื ทด่ี ินตะกอนทับถมมาจากแมน่ ำ้� ลำ� คลอง และมนี ำ้� ท่วมขงั หรือช้นื แฉะในชว่ ง ฤดูฝน หรือตามทงุ่ นาหลังฤดเู กบ็ กี่ยว โดยจะงอกและเจรญิ เตบิ โตในชว่ งเดอื นพฤศจิกายนหรือหลังน�้ำลด ใช้เวลา ประมาณ 2 เดอื นจงึ ออกดอก-ตดิ ผล หากแล้งจดั จะแห้งตายหรือชะงัก แลว้ กลับมางอกใหม/่ เติบโตอกี ครั้งเม่ือ เข้าสฤู่ ดฝู น จนกระทั่งจมนำ�้ ตายเมอ่ื ถงึ ฤดูน้ำ� หลาก ทคี่ วามสงู จากระดบั น�้ำทะเลไมเ่ กิน 1,000 ม. ออกดอกและ ติดผลตลอดท้งั ปี การกระจายพันธ์ุ พบทัว่ ประเทศไทย ตา่ งประเทศพบในภูมภิ าคเอเชียใต้ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ และตอนเหนอื ของออสเตรเลีย การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ใบและยอดออ่ นมกี ล่ินหอมฉนุ กินเปน็ ผกั สด คัว่ ใส่กบ หรอื ผสมลงในปน่ (น้ำ� พริกชนิดหน่งึ ของ ชาวอสี าน) (17)

เมลด็ ที่แกแ่ หง้ จะฟพู รอ้ มปลวิ ตามลม

ปา่ บุง่ ป่าทาม ภาคอีสาน 129 ตานหม่อน ชือ่ ทอ้ งถิ่นอื่น : ตานหม่อน (ภาคกลาง, นครราชสีมา), ตานค้อน (สรุ าษฎร์ธาน)ี , ตานหมน่ (นครศรธี รรมราช), เครอื ซาหลอด เครอื สลอด ขา้ หมักหลอด (หนองคาย), เคอื บงั เงา (อ.ศรสี งคราม นครพนม), เครอื ขี้หมอ่ น (อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), มุ้งกระต่าย (อ.กันทรารมย์ ศรีสะเกษ), ขีเ้ ถา้ (อ.เมือง ยโสธร) Tarlmounia elliptica (DC.) H. Rob., S. C. Keeley, Skvarla & R. Chan (วงศ์ Asteraceae) ชอ่ื พ้อง : Vernonia elliptica DC. ไม้เลอ้ื ย หรือไมพ้ ุ่มเลือ้ ย ยาว 2-7 ม. ตามก่ิงอ่อน เถา ก้านใบ ช่อดอก และใบมขี นคลา้ ยไหมสขี าวหนาแน่น ใบเด่ยี ว เรยี งสลับ รูปขอบขนานหรือรปู หอกกลับ ยาว 3-10 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบหรอื จักฟันเลอ่ื ย ผวิ ใบด้านลา่ งมีขนสีขาวหนาแน่น มีเสน้ แขนงใบข้างละ 6-10 เส้น ก้านใบยาวถงึ 1 ซม. ชอ่ ดอก แบบแยกแขนง ยาว 7-15 ซม. ออกทป่ี ลายกิ่งหรอื ซอกใบ ดอกย่อยอยูร่ วมกันเป็นกระจุกแนน่ 4-5 ดอก/กลมุ่ สมี ่วงอมชมพูหรือสขี าว ยาว 1 ซม. ท่ีรอบดอกยอ่ ยมขี นยาวสขี าวหนาแนน่ ยาว 5 มม. ติดคงทนท่ปี ลายด้าน บนเมล็ด เมลด็ รูปแถบ ยาว 2 มม. เม่ือแกแ่ ลว้ จะแห้ง ขนฟูกางออกคล้ายร่มช่วยพยุงให้ลอยตามลมได้ ถ่นิ อาศัย ข้ึนตามท่โี ล่งแจง้ หรอื ชายปา่ ดงดิบ พบมากในเขตพ้นื ที่ราบน�้ำท่วมถึง และพื้นท่ดี นิ เค็ม ทค่ี วามสูงจาก ระดับนำ้� ทะเลไมเ่ กิน 1,000 ม. ออกดอกช่วงเดือนตลุ าคม-เมษายน ผลแก่ชว่ งมกราคม-กรกฎาคม การกระจายพันธ์ุ พบทวั่ ประเทศไทย ตา่ งประเทศพบในเขตรอ้ นและกง่ึ เขตร้อนทัว่ โลก การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดออ่ นรสขมเล็กน้อย ลนไฟแล้วกนิ แกลม้ ปิง้ ปลา หรอื จิม้ นำ�้ พรกิ (23).--- สมนุ ไพร ใบและเถา น�ำมาต�ำแช่นำ้� อาบ หรือตำ� แล้วน�ำมาทารักษาผดผน่ื คัน (1, 23).--- ทุกส่วนใชร้ ักษาแผลพุพอง ฝีหนอง งูสวัด ไฟลามทุ่ง โดยน�ำมาทบุ แชน่ ้�ำอาบ หรือล้างบรเิ วณทมี่ ีอาการ (2).--- ใบเค้ยี วแล้วอมรกั ษาแผลในช่องปาก ลิ้นเป็น ฝ้า (15).--- เถาน�ำมาต้มหรอื นึง่ แลว้ เอาหนา้ มาอัง (เอาผ้าห่มคลมุ ลืมตาใส่ คล้ายอบสมนุ ไพร) แก้วิงเวียนศรีษะ (27).--- ทกุ สว่ นน�ำมาแชน่ ้�ำอาบแก้โรคซาง (โรคตานขโมย) (26).--- ด้านอื่น เป็นอาหารสัตว์ ววั ควาย (2, 17)

ผลออ่ น

ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอสี าน 131 เทียนน�้ำ ช่ือท้องถิน่ อน่ื : เทียนนา เทียนน�้ำ (ภาคกลาง), แก้วนำ้� (นครราชสมี า, ปราจีนบรุ ี), อีนาโอย์ (มลายู-นราธวิ าส) Hydrocera triflora (L.) Wight & Arn. (วงศ์ Balsaminaceae) ช่อื พ้อง : Impatiens triflora L. ไมน้ ำ้� ลม้ ลุก อายุหลายปี สงู 0.4-1.5 ม. ลำ� ตน้ เป็นเหลี่ยม อวบนำ�้ ทกุ สว่ นเกลี้ยง ใบเรยี งเวยี น รูปหอก-รูปแถบ ยาว 10-20 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบจักฟนั เลื่อย ไม่มกี า้ น ชอ่ ดอกออกตามซอกใบ ยาว 3-5 ซม. มี 3-5 ดอก/ชอ่ กา้ นดอกยาว 1-3 ซม. ดอกสีชมพู กลบี เลีย้ ง 5 กลบี มี 4 กลีบรูปหอกกลบั ยาว 1-1.5 ซม. และ 1 กลบี ด้านล่างเป็นรปู เรอื ด้านในมีสแี ดงเข้มและมสี ีเหลืองแต้ม ยาว 1.5-2 ซม. ท้องเรอื มเี ดือยโค้ง ยาว 6-8 มม. กลบี ดอก 5 กลบี โคนไมเ่ ช่อื มตดิ กนั กลบี กลางอยบู่ น รูปไข่กลับ ยาว 1.5-2 ซม. กลีบคขู่ ้างซ้าย-ขวา รูปไข่ กลับ ยาว 1.3-1.5 ซม. กลีบค่ลู ่างมแี ตม้ สีแดงเข้ม รปู ขอบขนาน ยาว 2-2.5 ซม. ขอบกลีบมีเดือยโค้งคลา้ ยเขยี้ ว เกสรเพศผู้ 5 อนั เช่อื มติดกนั เปน็ มดั สีขาว โค้งลง ยาว 1.5 ซม. ผลค่อนขา้ งกลมแบนดา้ นขา้ งเล็กนอ้ ย ยาว 0.8-1 ซม. มี 5 สนั ตามแนวยาว ผลแกไ่ ม่แตก สีม่วงอมแดง มี 2-5 เมล็ด ลักษณะทว่ั ไปคล้ายต้น เทียนบา้ น (Impatiens balsamina) แตเ่ ทยี นบา้ นมลี �ำตน้ กลม และมผี ลรูปรี ผวิ มี ขน และแตกอา้ เมือ่ แก่ ถ่นิ อาศัย เปน็ พืชโตเร็ว ชอบขน้ึ ในที่โลง่ แจ้งตามพื้นทีช่ ้นื แฉะ หรือมรี ะดบั นำ�้ ลกึ ไมเ่ กนิ 50 ซม. มักพบตามนาข้าว คนู �้ำ หรอื รมิ บงึ ทีค่ วามสงู จากระดบั น�้ำทะเลไม่เกนิ 300 ม. ออกดอกและติดผลตอลดทงั้ ปี การกระจายพนั ธุ์ พบทั่วประเทศไทย ตา่ งประเทศพบในเขตร้อนและกึง่ เขตร้อนในภูมิภาคเอเชยี ใต้ จนี ตอนใต้ และเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ การใชป้ ระโยชน์ –



ปา่ บงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน 133 แคป่า ชื่อท้องถ่ินอื่น : แคตุย้ แคแน แคฝา แคฝอย แคแหนแห้ (ภาคเหนือ), แคขาว แคเก็ตถวา (เชียงใหม่), แคพฮู ่อ (ลำ� ปาง), แคนา (ภาคกลาง), แคปา่ (เลย, ขอนแก่น, ล�ำปาง), แคยาว แคอาว (ปราจีนบรุ )ี , แคทราย (นครราชสีมา) Dolichandrone serrulata (Wall. ex DC.) Seem. (วงศ์ Bignoniaceae) ชื่อพอ้ ง : - ไม้ตน้ สูง 7-20 ม. เปลอื กขรุขระ-แตกรอ่ นเปน็ สะเกด็ เล็กนอ้ ย กงิ่ ออ่ นและชอ่ ดอกเกลี้ยง ใบประกอบแบบขนนก ปลายค่ี ยาว 12-30 ซม. เรียงตรงขา้ มตง้ั ฉาก มีใบย่อย 3-4 คู่ เรยี งตรงขา้ ม รปู รี ยาว 4-7 ซม. ปลายใบหยัก เปน็ ติ่งสน้ั -เรยี วแหลม ขอบใบจกั ฟนั เลื่อยห่างๆ หรอื เกอื บเรยี บ ผวิ เกล้ียง กา้ นใบยอ่ ยยาว 5-13 มม. โคนก้านใบ และกา้ นใบยอ่ ยบวมพอง ช่อดอกออกตามปลายกงิ่ มี 3-7 ดอก/ช่อ เกล้ยี ง กลีบเลี้ยงสเี ขยี วออ่ น เปน็ กาบรปู รี ยาว 4-5 ซม. กลบี ดอกรปู แตร สีขาว หลอดแตรยาว 7-10 ซม. ปลายหลอดแยก 4 แฉก รูปค่อนขา้ งกลม กวา้ ง 3-5 ซม. ขอบกลบี หยักงอเป็นคลืน่ มเี กสรเพศผู้ 2 คู่ แตล่ ะคู่หนั เขา้ หากัน ดอกบานตอนกลางคืนแลว้ จะ รว่ งหลน่ ในชว่ งเช้า-สาย ผลเป็นฝักเรยี วยาว 60-85 ซม. กวา้ ง 1.5-2 ซม. บดิ เป็นเกลี้ยว มเี มล็ดจ�ำนวนมาก มปี ีก บางล้อมรอบรปู สเี่ หลี่ยม ยาว 2.2-2.8 ซม. ถ่ินอาศัย ขน้ึ ในปา่ ผลัดใบ หรอื ทงุ่ นา มักพบตามทรี่ าบมีดนิ ตะกอนนำ�้ พดั พา และตามโคกหรือเนนิ ดนิ ในเขตปา่ บุง่ ป่าทาม ทค่ี วามสงู จากระดบั น้�ำทะเลไม่เกิน 300 ม. ออกดอกช่วงเดอื นกุมภาพนั ธ์-เมษายน ผลแก่พฤษภาคม- กรกฎาคม การกระจายพันธุ์ พบเกือบทุกภาคยกเว้นภาคใต้ ต่างประเทศพบในเมยี นมาร์ ลาว เวยี ดนาม และกมั พูชา การใช้ประโยชน์ อาหาร ดอกและฝักอ่อนรสขมเลก็ น้อย ลวกหรอื ตม้ จ้มิ นำ้� พริก (2)



ป่าบ่งุ ป่าทาม ภาคอีสาน 135 ตังบ้ี ชอ่ื ท้องถิน่ อ่นื : หมนั (ภาคกลาง), หมันดง (นครราชสมี า), ตงั บี้ (อ.เมือง มหาสารคาม), มนั หมู (ลำ� ปาง), ผกั หม่อง (ฉาน-ภาคเหนือ), สา่ บูอิ (กะเหรยี่ ง-แม่ฮอ่ งสอน) Cordia dichotoma G. Forst. (วงศ์ Boraginaceae) ช่อื พ้อง : - ไมต้ น้ สูงถึง 15 ม. เปลอื กแตกเปน็ รอ่ งตามยาว กงิ่ มชี อ่ งอากาศสีขาวกระจาย ก่ิงออ่ นและใบออ่ นมขี นสีนำ�้ ตาล ทองหนาแนน่ ต่อมาเกลี้ยง ใบเด่ียว เรียงสลับ รปู ไข่หรือรูปรกี ว้าง ยาว 8-12 ซม. ปลายใบแหลม-มน ขอบใบ เรยี บ-หยักหา่ งๆ ผวิ เกล้ยี ง-มีขนประปราย เสน้ แขนงใบขา้ งละ 4-5 เส้น กา้ นใบยาว 1.5-4 ซม. มักออกดอกแยก เพศแยกตน้ แบบชอ่ แยกแขนงห่างๆ ยาว 4-15 ซม. ดอกยอ่ ยไม่มีก้าน กลบี เล้ียงเปน็ หลอดยาว 5 มม. ปลาย แยก 5 พสู ั้นๆ กลบี ดอกสขี าว หลอดกลีบยาว 5 มม. ปลายแยก 4-5 แฉก ยาว 3-4 มม. ปลายม้วนกลบั ผลค่อน ข้างกลม กวา้ ง 1-1.8 ซม. ปลายมีตงิ่ แหลม เม่อื สกุ เปลยี่ นเปน็ สีสม้ อมชมพู ผวิ มันเงา มถี ้วยกลบี เลี้ยงหมุ้ ที่ โคนประมาณ1/4 สว่ น เน้อื ในใสเหนียว มีเมลด็ แข็ง 1 เมลด็ /ผล ถน่ิ อาศยั ขนึ้ ในปา่ ผลดั ใบ ป่าดงดบิ ริมน้�ำ ปา่ บงุ่ ป่าทาม หรือทงุ่ นา ปกติชอบขน้ึ ในเขตท่ีราบน้�ำทว่ มถึง ท่ีความสงู จากระดบั นำ�้ ทะเลไมเ่ กนิ 500 ม. ออกดอกช่วงเดอื นมกราคม-เมษายน ผลแกพ่ ฤษภาคม-กรกฎาคม การกระจายพันธุ์ พบทวั่ ประเทศไทย แต่คอ่ นขา้ งหายาก ต่างประเทศพบในภมู ภิ าคเอเชยี ใต้ จนี ตอนใต้ เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ และทวีปออสเตรเลียด้านตะวนั ออกเฉียงเหนือ การใช้ประโยชน์ อาหาร ผลสกุ ต�ำส้มใสต่ ัวมดแดง หรือกนิ เป็นผลไม้ มรี สหวาน แตม่ เี มือกเหนียว (11, 12).--- เชือ้ เพลงิ ไม้ใช้ ท�ำฟืนหรอื เผาถา่ น (11, 12).--- วัสดุ ผลสกุ มีเมือกเหนยี วใช้ตดิ จักจนั่ หรือใช้แทนกาวติดวา่ วกระดาษ, เปลือกมี เสน้ ใยเหนียว น�ำมาทุบจนเปน็ เสน้ ฝอย ใช้ในการตอกหมันยาแนวเรอื (11)



ปา่ บ่งุ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 137 ชิงช่ี ช่อื ทอ้ งถนิ่ : กระดาษขาว กระดาดปา่ คอ้ นกลอง ค้อนฆอ้ ง ชิงช่ี แสมซอ (ภาคกลาง), ซซิ อ (ปราจีนบรุ ี), พวงมาระดอ เม็งซอ (มลายู-ปตั ตานี), ราม (สงขลา), แสม้ า้ ทลาย (เชียงราย), หนวดแมวแดง (เชียงใหม)่ , ชายชู้ หมากมก (ชยั ภูมิ), ไซซู่ (อ. เมอื ง สกลนคร), ซงิ ซ่ี (อ.วารนิ ช�ำราบ อุบลราชธานี) Capparis micracantha DC. (วงศ์ Capparaceae) ช่ือพอ้ ง : - ไมพ้ ุ่มรอเลื้อย สงู ถงึ 6 ม. โคนเถาแกม่ ีหนามนูนใหญ่ปลายแหลมคมตดิ เป็นคู่ เปลือกแตกคลา้ ยเกล็ดจระเข้ ตาม กง่ิ อ่อนเกลยี้ ง สีเขยี ว ตามต�ำแหนง่ โคนของกา้ นใบมีหนาม 1 คู่ ยาว 2 มม. ใบเดย่ี ว เรยี งสลับ รูปขอบขนาน หรือรูปรยี าว ยาว 8-24 ซม. ปลายมน-กลม หรอื เวา้ ตนื้ ขอบใบบางและแผ่นใบค่อนขา้ งบาง เกลย้ี งทง้ั สอง ด้าน เสน้ แขนงใบข้างละ 5-10 เสน้ กา้ นใบยาว 1-1.5 ซม. ดอกออกเปน็ กลมุ่ เรยี งกนั 1-7 ดอก เหนอื ซอกใบ ก้านดอกย่อยยาว 1 ซม. มขี นสัน้ ปกคลมุ กลบี เลยี้ งสเี ขียวอ่อน มี 4 กลีบ ยาว 4-10 มม. ขอบกลบี มขี นเป็นฝอย กลีบดอกสีขาว มี 4 กลบี กลีบคูบ่ นมีขนาดใหญก่ ว่าคลู่ ่าง มีสเี หลืองหรอื แดงแต้มกลางกลีบ รูปขอบขนาน ยาว 10-15 มม. ปลายกลีบเว้าลึก เกสรเพศผจู้ ำ� นวนมากและยาวมากกว่ากลบี ดอก กา้ นชเู กสรเพศเมียยาว 1.5-3 ซม. รงั ไข่รูปไข่ เกลยี้ ง ผลรปู ทรงรีหรอื รปู ทรงกลม กว้าง 2-3.5 ซม. ยาว 2-7 ซม. ผวิ เรยี บมนั เงาและแขง็ ก้านผลยาว 3.5-4 ซม. ผลสุกสแี ดง มีเมล็ดจ�ำนวนมาก รปู ไต ถิ่นอาศยั ขน้ึ ตามชายป่าทั้งป่าดงดิบหรือป่าผลดั ใบ รวมถงึ ปา่ บุง่ ปา่ ทามดว้ ย ทีค่ วามสงู จากระดบั น�้ำทะเลไม่เกนิ 500 ม. ออกดอกเดอื นมกราคม-เมษายน ผลแกเ่ ดือนพฤษภาคม-กมุ ภาพนั ธ์ การกระจายพันธ์ุ พบทว่ั ประเทศไทย ตา่ งประเทศพบในอินเดยี และภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ การใชป้ ระโยชน์ -



ปา่ บ่งุ ป่าทาม ภาคอสี าน 139 หนามงัวเลีย ช่อื ทอ้ งถ่ิน : หนามหางนกกะลงิ (พิษณโุ ลก), แมงซอ (นครศรธี รรมราช), หนามกระทงิ ไซซู้ (อ.เมอื ง มหาสารคาม), หนามงัวเลีย (อ.เชียงขวญั รอ้ ยเอด็ ), หนามชายชู้ (อ.พรรณานิคม สกลนคร), ไกลสล๊อด (ส่วย-อ.ท่าตูม สุรนิ ทร์) Capparis pyrifolia Lam. (วงศ์ Capparaceae) ชอื่ พอ้ ง : - ไม้พุ่มรอเลือ้ ย ยาวถึง 8 ม. ตามกง่ิ มีหนามแหลมคมโค้งกลับ อยู่เป็นคู่ท่โี คนกา้ นใบ ยาว 2-3 มม. ตามกิ่งออ่ น ใบอ่อน ก้านใบ และช่อดอกมีขนสั้นสขี าวหรอื นำ�้ ตาลอ่อน ใบรูปรีกวา้ ง รปู ไข่กลบั หรอื รูปข้าวหลามตัด ยาว 4-10 ซม. ปลายใบเรียวแหลม-ยาวคล้ายหาง ผิวใบดา้ นล่างมขี นสัน้ หนาแน่น เสน้ แขนงใบขา้ งละ 4-7 เส้น ก้านใบยาว 4-7 มม. ผลรูปทรงกลม กวา้ ง 0.5-0.8 ซม. ผิวเรยี บมนั เงาหรอื มกี ระ สกุ สีม่วงด�ำ หนามงวั เลยี มลี กั ษณะท่วั ไปคลา้ ย ชิงชี่ (Capparis micracantha) มจี ุดแตกตา่ งทีช่ ิงชี่มีก่ิงอ่อน ก้านใบ และแผน่ ใบเกลย้ี ง ไม่มีขน ใบรูปขอบขนาน ยาว 8-24 ซม. และมีผลขนาดใหญ่กวา่ มาก กวา้ ง 2-3.5 ซม. ยาว 2-7 ซม. ถน่ิ อาศัย ข้ึนตามชายปา่ หรอื ท่ีรม่ รำ� ไรในป่าดงดบิ ปา่ เบญจพรรณ หรือปา่ บุง่ ปา่ ทาม ที่ความสงู จากระดบั น�้ำทะเล ไม่เกนิ 1,500 ม. ออกดอกเดอื นพฤศจกิ ายน-เมษายน ผลแก่เดอื นเมษายน-กรกฎาคม การกระจายพนั ธ์ุ พบทว่ั ทกุ ภาคยกเวน้ ภาคเหนือ ตา่ งประเทศพบทีล่ าว เวยี ดนาม กมั พชู า คาบสมุทรมาเลเซีย สมุ าตรา ชวา และบอรเ์ นียว การใช้ประโยชน์ -



ปา่ บ่งุ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 141 หนามชายชู้ ชอ่ื ทอ้ งถน่ิ : นกกะลิง (สุพรรณบรุ ี), หนามด�ำ (อา่ งทอง, พจิ ติ ร), เครือเก่ยี วไก่ (อ.ชุมพวง นครราชสีมา), เครอื คาง- ควาย (อบุ ลราชธานี), หนามชายชู้ (อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), บีเอีย่ น ซะซุง (อ.ศรสี งคราม จ.นครพนม) Capparis radula Gagnep. (วงศ์ Capparaceae) ชื่อพอ้ ง : - ไมพ้ มุ่ รอเลอ้ื ย สงู ถงึ 4 ม. ตามกงิ่ มีหนามแหลมคมโคง้ กลับ อยู่เปน็ ค่ทู ่ีโคนก้านใบ ยาว 3-4 มม. ก่ิงมสี นี ำ้� ตาลเขม้ ก่งิ ออ่ น ก้านใบ และชอ่ ดอกมีสะเก็ดสขี าว หรอื ค่อนข้างเกลีย้ ง ใบรูปขอบขนานหรือรปู ไข่ ยาว 3.5-9.5 ซม. ปลายใบมนและเว้าบุ๋ม ขอบใบและแผ่นใบหนา ผิวใบเกล้ยี งทงั้ สองดา้ น เสน้ แขนงใบขา้ งละ 5-6 เส้น ก้านใบ ยาว 5-6 มม. กลีบเลย้ี งมีขนสั้นปกคลุมทง้ั สองด้าน กลบี ด้านบนมสี ีเหลอื งหรอื ชมพแู ต้มกลางกลีบ ผลรูปทรงไข่ ยาว 4-5 ซม. ผลออ่ นผิวมีสนั ตามยาวชัดเจน เม่อื โตเต็มทส่ี นั จะหายไปเหลอื เพยี งตุม่ ขรุขระ หนามชายชู้ มีลกั ษณะทัว่ ไปคลา้ ย หนามงัวเลยี (Capparis pyrifolia) แตม่ ีจดุ แตกตา่ ง ท่ีหนามงวั เลีย ตามกิง่ อ่อน ใบอ่อน กา้ นใบ ชอ่ ดอก และผิวใบด้านล่างมขี นส้ันสขี าวหรือน�้ำตาลอ่อน ไม่มสี ะเกด็ ปลายใบเรียว แหลม-ยาวคลา้ ยหาง ขอบใบและแผ่นใบบาง ผลรูปทรงกลม กวา้ ง 0.5-0.8 ซม. ผิวเรยี บ ถน่ิ อาศยั ขนึ้ อยตู่ ามชายป่าและทโ่ี ลง่ ในปา่ บงุ่ ปา่ ทาม หรอื พืน้ ท่ที ี่มีน�้ำทว่ มเป็นประจำ� ท่คี วามสูงจากระดับน�้ำทะเล ไมเ่ กิน 200 ม. ออกดอกเดอื นมกราคม-เมษายน ผลแก่เดือนเมษายน-สงิ หาคม การกระจายพันธุ์ ในภาคกลางเปน็ พืชหายาก แตพ่ บค่อนข้างง่าย ทัว่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ยกเวน้ ลุ่มนำ้� โมง ยังไม่พบ ต่างประเทศพบในเขตลุ่มนำ�้ โขงตอนล่างไดแ้ ก่ ลาว กมั พชู า และเวียดนามตอนใต้ การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดอ่อนรสขมเลก็ นอ้ ย กนิ เปน็ ผกั สดแกลม้ กับปิง้ ปลา หรือลาบ (20, 23).--- สมุนไพร รากฝนกับน�ำ้ ซาวขา้ ว ดื่มเปน็ ยาขับเสมหะ (1)



ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 143 ก่าม ชือ่ ทอ้ งถ่นิ : กุ่ม กุ่มบก (ภาคกลาง), ก่าม กำ่� (อีสาน) (วงศ์ Capparaceae) Crateva adansonii DC. subsp. trifoliata (Roxb.) Jacobs ช่อื พอ้ ง : - ไม้พุม่ หรอื ไม้ตน้ สูง 4-25 ม. เปลือกลำ� ตน้ สเี ทาอมน้ำ� ตาล เรยี บหรอื ขรุขระ ใบประกอบมี 3 ใบยอ่ ย รูปรีหรอื รปู ไขก่ ลบั ยาว 6-10 ซม. ปลายใบมนหรอื หยักเปน็ ตงิ่ สัน้ โคนใบรูปล่มิ กา้ นใบยอ่ ยยาว 3-8 มม. ผวิ เกลย้ี ง เน้ือใบค่อนข้างหนา มเี สน้ แขนงใบขา้ งละ 5-7 เส้น กา้ นใบยาว 5-9 ซม. เกลยี้ ง ชอ่ ดอกออกตามปลายกิง่ ดอก จ�ำนวน 1-3 ดอก กา้ นดอกยาว 4-8 ซม. กลบี เล้ียง 4 กลีบ สีขาวอมเขียว กวา้ ง 2-3 มม. ยาว 3-6 มม. กลบี ดอก 4 กลีบ สีขาวแลว้ เปลี่ยนเปน็ สเี หลืองออ่ นเมอื่ ใกลร้ ่วง รูปรี กว้าง 0.5-1 ซม. ยาว 1.5-2.5 ซม. เกสรเพศผู้ จำ� นวนมาก สีชมพ-ู มว่ ง กา้ นชูเกสรเพศผู้ยาว 4 ซม. กา้ นชูเกสรเพศเมยี ยาวประมาณ 5 ซม. ผลแบบมเี นื้อหลาย เมล็ด รปู ทรงกลมหรอื รกี วา้ ง เสน้ ผ่านศนู ย์กลาง 2-3.5 ซม. ผนังผลเรียบเกลย้ี งและเป็นมันเงา ก้านผลยาว 5-13 ซม. ผลออ่ นสีเขยี วเน้อื แข็งมาก เมอ่ื สกุ จะเปลี่ยนเปน็ สีเหลอื ง-ส้ม-แดงคลำ้� เมลด็ รูปเกือกม้า มจี ำ� นวนมาก ยาว 7 มม. ถิน่ อาศยั ขึ้นตามทร่ี าบน�้ำทว่ มถึง หรอื ตามที่ราบเชิงเขาท่ีเปน็ ป่าเบญจพรรณ ในปา่ บงุ่ ทามมักจะพบตามเนนิ ดิน หรือจอมปลวก ท่คี วามสูงจากระดบั น้�ำทะเลไมเ่ กิน 350 ม. ออกดอกเดอื นกุมภาพันธ์-มถิ นุ ายน ผลแกเ่ ดือน พฤษภาคม-สิงหาคม การกระจายพนั ธ์ุ พบท่วั เกือบทัว่ ประเทศไทย ยกเว้นภาคใต้ ต่างประเทศพบในเมียนมาร์ จีนตอนใต้ ลาว เวยี ดนาม และกมั พูชา การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดอ่อนและดอกอ่อนใชท้ ำ� ส้มผักดอง (ผกั ดอง) แลว้ นำ� มาจม้ิ น�้ำพริกหรือกนิ แกลม้ ปงิ้ ปลา (1, 3, 4, 10, 13, 14) (ดูวธิ ที ำ� ท่ี กมุ่ น้ำ� Crateva magna).--- ผลสกุ รสหวาน กินเปน็ ผลไม้ (1).--- สมุนไพร แก่นเขา้ ยาอน่ื ๆ แก้ปวดเม่ือย (7).--- ทง้ั ต้นใช้เปน็ ยาตั้ง (ยาประคบ) ประคบแกป้ วดเมอ่ื ย หรือบวมอักเสบของกล้ามเนอ้ื (14).--- ทกุ ส่วน ดองเหล้า/ตม้ น้�ำดม่ื เป็นยาระบาย แก้กระษยั ไตพกิ าร (1)



ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 145 กุ่มน้�ำ ชือ่ ท้องถ่นิ : กมุ่ กมุ่ น้ำ� (ท่วั ไป), เหาะเถาะ (กะเหร่ียง-กาญจนบรุ )ี , ทะงัน (เขมร-อ.ทา่ ตูม สุรนิ ทร์), ทะฮัน (สว่ ย- อ.ทา่ ตมู สรุ ินทร)์ , กุ่ม (อีสาน), กุม่ น้�ำ กมุ่ กา่ ง (ภไู ท-อ.พรรณานคิ ม สกลนคร) Crateva magna (Lour.) DC. (วงศ์ Capparaceae) ชื่อพ้อง : - ไม้พุ่มหรอื ไมต้ น้ ลักษณะโดยทว่ั ไปคล้ายกบั ต้น กา่ ม (Crateva adansonii) มีจดุ ทแี่ ตกตา่ งกนั คอื ตน้ กุม่ นำ้� มี ปลายใบเรยี วแหลม ผวิ ใบดา้ นลา่ งมนี วล และมเี ส้นแขนงใบข้างละ 9-20 เส้น (ตน้ ก่ามจะมีปลายใบมนหรอื ย่นื เป็นตง่ิ เล็กนอ้ ย ผวิ ใบด้านล่างไมม่ นี วล และมีเส้นแขนงใบขา้ งละ 5-7 เส้น) ผลของกมุ่ นำ้� มสี ะเกด็ สีขาว ขรุขระปกคลุมหนาแนน่ ตั้งแต่ระยะผลอ่อน-ผลสกุ (ผลของต้นก่ามจะเกล้ยี งเปน็ มันเงา เมื่อสุกมีสีสม้ -แดง) ถิ่นอาศัย ข้ึนตามตล่งิ ริมน�้ำหรอื ที่ราบลมุ่ ชน้ื แฉะ (ตน้ กา่ มมกั ข้ึนในพนื้ ท่เี นินดนิ หรอื ทนแลง้ ได้ดีกว่า) ที่ระดับความ สงู จากระดับนำ�้ ทะเลไม่เกนิ 700 ม. ออกดอกเดอื นธนั วาคม-เมษายน ผลแกเ่ ดือนเมษายน-กนั ยายน การกระจายพันธุ์ พบทั่วประเทศไทย ต่างประเทศพบในอนิ เดีย จนี ตอนใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และหมเู่ กาะ แปซิฟกิ การใชป้ ระโยชน์ สมุนไพร แกน่ เขา้ ยาอ่นื ๆ แก้ปวดเม่ือย สรรพคณุ คล้าย ก่าม/ก่มุ บก (7).--- เปลอื กกุ่มน้�ำ+กระเทียม+ขิง+ พรกิ ไทย เข้ายาบำ� รงุ เลอื ด (11).--- เชื้อเพลิง ไม้ท�ำฟืน (15) อาหาร ยอดออ่ นและดอกอ่อนนำ� ไปท�ำสม้ ผกั ดอง (เหมอื นก่าม/ก่มุ บก) มี 3 สูตรดังนี้ สูตรที่ 1 นำ� ใบผกั กมุ่ น้�ำ ลา้ งนำ�้ สะอาดผง่ึ แดดใหผ้ กั เหีย่ วสลด น�ำไปแช่ในนำ้� เปลา่ 2 วัน แล้วนำ� มาบีบเอานำ้� ขม ออก 2-3 ครงั้ น�ำมาคลกุ กับเกลอื เตมิ ขา้ วเหนยี วสกั นิด (ชว่ ยให้มรี สเปรี้ยวมากขึ้น) แลว้ เทนำ้� ซาวขา้ วใหท้ ว่ มผัก มดิ ทงิ้ ไว้ในภาชนะปิดอกี 2 คนื จึงน�ำมากนิ ได้ (10, 20) สตู รท่ี 2 นำ� ใบผักกุ่มนำ�้ ไปตากแดดให้เหีย่ ว 1 วัน แล้วน�ำมาขย�ำเกลือให้ทวั่ ใส่ขา้ วเหนียวสกุ แล้วเทน้�ำซาว ขา้ วใหท้ ่วมผัก ทิ้งไว้ในภาชนะปิด 2-3 วัน จงึ น�ำมากินได้ (18) สตู รที่ 3 น�ำใบผักก่มุ น�้ำ แช่น้�ำซาวขา้ ว 3 คืน แลว้ นำ� มาบีบเอานำ�้ ออก แล้วขย�ำกับเกลือและเตมิ ข้าวเหนียว สักนิด เทน้�ำซาวขา้ วลงไปใหท้ ่วมผัก ใสภ่ าชนะปิดทง้ิ ไว้ 2 วัน จึงน�ำมากินได้ (17)

ภาพโดย ประเวช จนั ทร์ศริ ิ

ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 147 ไข่แข้ ช่อื ทอ้ งถนิ่ : ขางนำ้� ขาว (ลำ� ปาง), ไขแ่ ข้ เครอื ไขแ่ ข้ เครอื ตะเข้ (อสี าน) (วงศ์ Capparaceae) Stixis suaveolens (Roxb.) Pierre ชอื่ พอ้ ง : - ไม้เลือ้ ย ยาวไดถ้ ึง 10 ม. ตามกิ่งออ่ นมขี นสนั้ หนานมุ่ ต่อมาเกลี้ยง ก่งิ มีชอ่ งอากาศนูนสีขาวกระจายท่ัว ใบเดี่ยว เรยี งสลับ รูปรหี รือรปู ขอบขนาน กว้าง 4-9 ซม. ยาว 10-15 ซม. แผน่ ใบเกลย้ี ง ผิวใบดา้ นบนมันเงา มเี ส้นแขนง ใบข้างละ 6-11 เส้น เสน้ ใบยอ่ ยแบบรา่ งแหเ่ หน็ เดน่ ชัดท้ังสองด้าน กา้ นใบยาว 1.5-3 ซม. ดอกแบบช่อกระจะ ยาว 15-20 ซม. ออกตามปลายก่ิงและซอกใบใกลป้ ลายกิ่ง ดอกสขี าวครมี มกี ลิน่ หอม กลีบเลย้ี ง 6 กลบี ไม่มี กลีบดอก เกสรเพศผู้มจี ำ� นวนมาก รังไขส่ เี ขยี ว ผวิ เกลย้ี ง ผลรูปรี กวา้ ง 2.5 ซม. ยาว 3.5 ซม. ผนงั ผลหนาและ แข็ง มสี ะเก็ดสีขาวขรขุ ระปกคลมุ คล้ายผลของกุ่มน�ำ้ (Crateva magna) เมอื่ สกุ สีสม้ ออ่ น รสหวาน มกี ลน่ิ หอมคล้ายมะม่วงสกุ กา้ นผลยาว 0.8-1.3 ซม. มีเมล็ดแข็ง 1 เมล็ด รูปรี ยาว 1.5 ซม. ถ่ินอาศยั ขึ้นตามชายปา่ และทีโ่ ลง่ แจ้งในเขตท่ีราบนำ�้ ท่วมถงึ หรอื ในปา่ บุง่ ปา่ ทาม ทร่ี ะดับความสงู จากระดบั น�้ำ ทะเลไมเ่ กนิ 200 ม. ออกดอกเดอื นมีนาคม-พฤษภาคม ผลแก่เดอื นมถิ ุนายน-กรกฎาคม การกระจายพนั ธ์ุ เป็นพชื ที่ค่อนขา้ งหายากของประเทศไทย พบในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ต่างประเทศพบในอินเดีย เมียนมาร์ ลาว เวยี ดนาม และกัมพูชา การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ผลดิบและผลสุก รสฝาด-หวาน ใช้ต�ำสม้ ใส่ตวั มดแดง ถา้ กินสดมากๆ อาจเมาได้ (11).--- สมุนไพร เถาและใบไขแ่ ข้+ต้นหูลิง ตำ� แช่น้�ำ นำ� มาพ่นเปน็ ยาไล่แมลงหรือเบื่อมดแดง (17).--- ด้านอ่ืน ผล ใบและเถามี พษิ เบือ่ เมา เม่อื รว่ งลงน้�ำแลว้ ปลากิน ปลาท่ถี ูกจบั มากนิ อาจท�ำให้ผกู้ นิ เมาได้ (11, 12, 17)

ผลและเมลด็

ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 149 หนามกะจาง ชือ่ ทอ้ งถ่นิ อื่น : กกกะจาง หนามกะจาง หนามก้านจาง หนามกระทิง (อ.ศรสี งคราม นครพนม), หนามแดง (ขอนแก่น, มหาสารคาม), หนามจาง (อ.เมือง อบุ ลราชธานี), ตนิกบะมุ่ม (เขมร-อ.ท่าตมู สรุ ินทร์), ลาบ้อ (ส่วย- อ.ทา่ ตูม สรุ นิ ทร์) Maytenus mekongensis Ding Hou (วงศ์ Celastraceae) ช่อื พ้อง : - ไม้พมุ่ สูง 0.5-3 ม. ปลายกง่ิ และยอดมหี นามแหลมคม ยาว 1-3 ซม. กิง่ ออ่ นสแี ดงอมมว่ ง เกล้ียง-มีขนสั้น ประปราย ใบเด่ียว เรียงตรงขา้ มหรอื เกือบตรงขา้ ม รูปไข่กลับ ยาว 2-5 ซม. ปลายใบมน-เวา้ ตื้น ขอบใบจักฟนั เล่อื ยตน้ื ๆ หรอื เรยี บ โคนใบรปู ล่มิ -มน ผวิ ใบมีขนประปรายหรอื เกลยี้ ง เน้ือใบหนา เส้นแขนงใบข้างละ 4-6 เสน้ ก้านใบยาว 2-4 มม. ช่อดอกยาว 2-4.5 ซม. ดอกสีขาวอมเขียว กลีบเล้ียงและกลีบดอกอย่าง 5 กลบี ดอกบาน กว้าง 5 มม. ผลรูปไข่กลับ ยาว 6-10 มม. แบนด้านข้าง ผิวเกลีย้ ง เมอ่ื แกจ่ ะแตกอา้ 2-3 ซกี มี 1-3 เมล็ด สนี �้ำตาลผวิ มนั เงา รปู ไข่กลบั ที่โคนมีเยอ้ื ห้มุ สขี าว ถน่ิ อาศัย ข้นึ ตามที่โล่งแจ้งในเขตพ้ืนท่ดี ินเค็ม หรือดนิ ปนทราย หรือดินตะกอนรมิ ฝ่ังแม่นำ�้ ทีค่ วามสูงจากระดับน้�ำ ทะเลไม่เกิน 300 ม. ออกดอกช่วงเดอื นธนั วาคม-มถิ ุนายน ผลแก่มนี าคม-กันยายน การกระจายพนั ธ์ุ พบไดง้ ่ายในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ และพื้นที่ติดชายทะเลในเขตภาคกลาง และ ภาคตะวันตก ตา่ งประเทศพบในลาว กมั พชู า เวียดนาม มาเลเซีย และอินโดนีเซยี การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน รสขมอมฝาดกินเป็นผักสดแกลม้ กบั ปง้ิ ปลา นำ�้ พรกิ ลาบ ก้อย (3, 19, 20, 21).--- สมุนไพร ล�ำตน้ ทบุ แชน่ �้ำทิง้ ไว้ประมาณ 1 วัน จนน้�ำเป็นสีนำ�้ ตาล ดืม่ ช่วยรักษาโรคซาง (โรคตานขโมย) ในเด็ก (8).--- วัสดุ ยอดอ่อน ตำ� และค้นั เอาน�้ำ ใช้ย้อมแหทำ� ให้แหแขง็ แรงไมพ่ ันกนั , ต้นมหี นามแหลมคม ปลูกทำ� เปน็ แนวรั้ว (4).--- ด้านอื่น ท้งั ตน้ เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยหลบภยั ของปลา (18)