Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ป่าปุ่ง ป่าทาม ภาคอีสาน

ป่าปุ่ง ป่าทาม ภาคอีสาน

Description: ป่าปุ่ง ป่าทาม ภาคอีสาน

Search

Read the Text Version

ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 301 หว้า ชอื่ ทอ้ งถน่ิ อน่ื : หว้า (ท่ัวไป), หา้ ขแี้ พะ (เชยี งราย), หว้า หว้าใหญ่ หมากหว้า (อสี าน), หวา้ ชมพู (อบุ ลราชธาน)ี , หวา้ ขี้ไถ (อ.ศรสี งคราม นครพนม), ปรีง ปรีงทม (เขมร-อ.ท่าตมู สรุ ินทร์), กะแกรง้ (สว่ ย-อ.ท่าตูม สุรินทร)์ Syzygium cumini (L.) Skeels (วงศ์ Myrtaceae) ชื่อพอ้ ง : - ไม้ตน้ สงู ถงึ 20 ม. เปลอื กเรยี บ-แตกสะเก็ด สีน�้ำตาลปนเทา ก่งิ มีสขี าว ตามก่ิงออ่ น ใบ และช่อดอกเกลย้ี ง ใบเดีย่ ว เรียงตรงข้ามต้ังฉาก รปู รี หรือรปู ขอบขนาน ยาว 8-13 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบแหลม ผวิ ใบ เรยี บ เนือ้ ใบบาง-ค่อนขา้ งหนา เสน้ แขนงใบจำ� นวนมากขา้ งละ 19-30 เสน้ ปลายเส้นจรดกันใกล้ขอบใบ ชดั เจน ก้านใบยาว 1-2.5 ซม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ออกทีป่ ลายกง่ิ และซอกใบ ตัง้ ข้ีน ยาว 5-10 ซม. ดอกย่อย สขี าว-เหลืองอ่อน ไม่มีก้านดอก กลีบเล้ยี งสีเขียวอมขาว-อมชมพู รปู กรวย ยาว 3-5 มม. ปลายแยก 4 แฉก ส้นั มากกวา่ 1 มม. กลีบดอกมี 4 กลีบ สขี าว ยาว 1.5-3 มม. เกสรเพศผ้มู ีจ�ำนวนมาก สขี าว ผลรปู รี-ขอบขนาน ยาว 1.3-3 ซม. กว้าง 1-1.5 ซม. ผิวเรียบเกล้ยี ง ปลายผลมจี กุ สั้นกลมตดิ คา้ ง ผลออ่ นสเี ขยี วอ่อน เม่ือสุก เปล่ียนเปน็ สแี ดง-ด�ำอมม่วง มี 1 เมลด็ ถน่ิ อาศยั ขน้ึ ไดท้ ง้ั ในเขตป่าดงดบิ แล้ง ปา่ ผลดั ใบ ปา่ บุ่งปา่ ทาม และทุ่งนาทัว่ ไป ทง้ั ในพน้ื ทีล่ าดชัน ทด่ี อน หรือ ท่รี าบ ในปา่ บุง่ ปา่ ทามมกั จะข้ึนตามเนินดนิ หรือจอมปลวก ทค่ี วามสูงจากระดับนำ้� ทะเลไมเ่ กนิ 1,100 ม. ออกดอกเดอื นกมุ ภาพันธ์-เมษายน และผลแกเ่ ดือนเมษายน-มถิ ุนายน กระจายพนั ธุ์ พบไดง้ ่ายท่ัวประเทศ ต่างประเทศพบในเขตรอ้ นของเอเชียใต้ และเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ การใช้ประโยชน์ อาหาร ผลออ่ น รสเปรี้ยวอมฝาด กนิ เปน็ ผลไม้จ้ิมพริกเกลอื หรอื ต�ำส้ม, ผลสุก รสหวานอมเปรย้ี ว กนิ เป็นผลไม้ จมิ้ เกลอื (4, 3, 8, 9, 11, 12, 18, 20, 23, 25, 26, 27).--- ยอดออ่ น กนิ เปน็ ผักสด จมิ้ นำ�้ พริก หรือกนิ แกลม้ ลาบ ก้อย (9).--- สมนุ ไพร แก่นหวา้ + ใบหนาด (Blumea balsamifera) ตม้ น้�ำดม่ื แก้วงิ เวยี นศรีษะ แกป้ วดเมอ่ื ย (9).--- ผลดบิ กนิ รักษาอาการทอ้ งร่วง ทอ้ งเสยี (12).--- เชอ้ื เพลงิ ไม้ใช้ทำ� ฟืนหรอื เผาถ่าน ใหไ้ ฟแรงดี (11, 18, 23, 25).--- กอ่ สร้างหรอื เครอ่ื งมือ เน้ือไม้แข็งแรง แปรรูปใชส้ ร้างบา้ น ยุ้งฉาง เสา คาน วงกบ ท�ำ เฟอรน์ เิ จอร์ หรือเครื่องมอื ทางการเกษตร (9, 12, 18, 20, 23, 25, 26, 27).--- วัสดุ เปลือก ให้สแี ดงอมมว่ ง ใชย้ อ้ มเสน้ ไหม/ฝ้าย หรอื ย้อมแห (4).--- ด้านอืน่ ปลกู เปน็ ไม้ประดับ ให้รม่ เงา (23)



ป่าบุง่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 303 หว้านา ชื่อท้องถ่นิ อืน่ : หว้านา (พงั งา), หวา้ ขมี้ ด หวา้ นา (อบุ ลราชธานี, ศรสี ะเกษ), หวา้ หวา้ ขนี้ ก (ยโสธร), หวา้ หว้าทาม หว้านาแซง หมากหวา้ (สกลนคร, นครพนม), ปริง ปรีงบาย (เขมร-ท่าตูม สรุ นิ ทร์), กะแกรง้ แกร้งโดย (สว่ ย ทา่ ตูม สรุ นิ ทร)์ Syzygium cinereum (Kurz) Chantar. & J. Parn. (วงศ์ Myrtaceae) ชอ่ื พ้อง : - ไมต้ น้ สงู ถึง 20 ม. ลำ� ต้นคดงอ แตกกง่ิ ต่�ำ เปลอื กเรยี บสนี ำ�้ ตาลปนเทา ก่ิงสขี าว ตามก่งิ อ่อน ใบ และช่อดอก เกล้ยี ง ใบเดย่ี ว เรยี งตรงข้ามตงั้ ฉาก รปู รี หรอื รปู ไข่กลบั ยาว 7-15 ซม. ปลายใบมน-แหลม โคนใบสอบ-มน ผวิ ใบเรยี บ เนื้อใบหนา ขยม้ี กี ลน่ิ หอม เส้นแขนงใบข้างละ 6-12 เส้น ปลายเส้นจรดกันใกล้ขอบใบชดั เจน กา้ นใบยาว 0.5-1.3 ซม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ออกท่ปี ลายกง่ิ ตัง้ ข้นี ยาวถึง 10 ซม. ดอกย่อยสขี าว-เหลือง ออ่ น ไมม่ กี า้ นดอก กลีบเล้ยี งสีเหลืองคลำ�้ รูปกรวย ยาว 2-3 มม. ปลายแยก 4 แฉกสนั้ ยาวน้อยกว่า 1 มม. กลีบดอกมี 4 กลีบ สขี าว ยาว 1.5-2 มม. เกสรเพศผู้มจี ำ� นวนมาก สีขาว ผลทรงกลม กวา้ ง 0.6-1 ซม. ผิวเรียบ เกล้ยี ง ปลายผลมจี ุกสั้นกลมตดิ คา้ ง ผลออ่ นสเี ขียวออ่ น เม่อื สกุ เปลีย่ นเป็นสีแดง-ดำ� อมมว่ ง มี 1 เมลด็ หว้านา มลี ักษณะทั่วไปคลา้ ยกับ หวา้ (Syzygium cumini) ที่พบได้ทัว่ ไป ทั้งในเขตท่ีดอนหรอื ที่ลุ่มต่�ำ แต่ หวา้ มคี วามแตกตา่ งท่ีมปี ลายใบเรยี วแหลม เนอ้ื ใบบางกว่า มเี สน้ แขนงใบจ�ำนวนมาก ขา้ งละ 19-30 เส้น และมี ผลรูปร-ี รปู ขอบขนาน ถ่นิ อาศัย ทุง่ นาในเขตท่รี าบนำ�้ ท่วมถึง ริมบึง และตามปา่ บุง่ ป่าทาม ทค่ี วามสูงจากระดบั น้�ำทะเลไมเ่ กนิ 1,000 ม. หว้านาจะชอบข้นึ ในเขตทร่ี าบล่มุ มนี ำ้� ทว่ มในช่วงฤดฝู น และทนทานต่อน�้ำท่วมขงั ไดด้ กี วา่ หวา้ เป็นไม้เบกิ น�ำท่ี ส�ำคญั ชนิดหนง่ึ ของปา่ บุ่งป่าทาม ออกดอกเดอื นกมุ ภาพันธ-์ เมษายน และผลแก่เดือนเมษายน-มิถุนายน กระจายพนั ธุ์ พบทว่ั ประเทศ พบได้งา่ ยตามทงุ่ นาและปา่ บุง่ ป่าทามในภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคตะวนั ออก- เฉยี งเหนอื ภาคอืน่ พบค่อนขา้ งยาก ตา่ งประเทศพบในเขตรอ้ นของเอเชียใต้ และเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน เปน็ ผกั สด จิม้ น้�ำพรกิ กินแกลม้ ลาบ กอ้ ย (18).--- ผลสุก รสหวาน กนิ เป็นผลไม้ (3, 4, 6, 8, 15, 17, 18, 19, 20, 21, 22, 23, 24).--- สมุนไพร แกน่ ตากแห้ง ต้มน�้ำดื่มแกว้ งิ เวียนศีรษะ และแกป้ วดเม่ือย (9).--- เชอ้ื เพลงิ ไม้ใชท้ ำ� ฟนื หรอื เผาถ่าน (6, 15, 17, 20, 21, 23, 24).--- ก่อสรา้ งหรอื เคร่ืองมือ เนื้อไม้ แข็งแรงปานกลาง แข็งแรงน้อยกวา่ หวา้ (Syzygium cumini) แต่มอดและปลวกไมก่ ิน แปรรูปใช้ก่อสร้าง หรือ ท�ำเครื่องมอื ทางการเกษตร (15, 18, 19, 20, 23).--- ด้านอื่น ผลสกุ เปน็ อาหารของนกและบ่างชอบกิน (24)

เมลด็ บัวออ่ น

ป่าบ่งุ ป่าทาม ภาคอีสาน 305 บัวหลวง ชอ่ื ท้องถ่นิ อน่ื : บวั บัวหลวง (ทวั่ ไป), สัตตบงกช สัตตบษุ ย์ อุบล (กรุงเทพฯ), โช้ค (เขมร-บุรีรมั ย)์ Nelumbo nucifera Gaertn. (วงศ์ Nelumbonaceae) ชอ่ื พอ้ ง : Nelumbo speciosa Willd. ไมน้ ้ำ� ล้มลุก มีอายุหลายปี มีเหงา้ สะสมอาหารอยูใ่ ต้ดนิ (rhizome) หรอื ทเ่ี รียกวา่ “รากบัว” ซึ่งจะเกิดในช่วงฤดู แลง้ และมีไหลทอดขนานผิวดนิ (stolon) หรอื ทีเ่ รียกว่า “ไหลบวั ” ใบเด่ยี ว รปู กลม กว้าง 25-90 ซม. ลอยอยู่ ท่ีผวิ นำ้� หรอื เหนือผิวนำ�้ ผิวใบเกลี้ยงทงั้ สองดา้ น สีเขียวอมนำ้� เงิน ผิวใบดา้ นบนมีไขเคลอื บ (ไม่ซับนำ้� ) ก้านใบ กลม ยาว 1-2 ม. ผวิ ก้านใบมีตุ่มหนามเลก็ ๆ ภายในมีทอ่ อากาศจ�ำนวนมาก เมอ่ื หักกา้ นจะพบยางสขี าวขุ่นและ ใยบวั เหนียวสขี าว ปลายก้านใบติดกบั แผ่นใบทีจ่ ดุ กึง่ กลาง ดอกเดย่ี ว รปู ทรงไข่ ปลายเรยี วแหลม ดอกตูมกว้าง 5-8 ซม. ดอกบานกว้าง 17-30 ซม. บานอยู่เหนือผวิ นำ้� ดอกบานชว่ งกลางวัน บานไดป้ ระมาณ 3 วัน มีกลิ่น หอมออ่ น กลบี ดอกสขี าวจนถงึ สชี มพู รูปไขก่ วา้ งปลายแหลม มี 14-30 กลีบ เรียงซ้อนกนั หลายชน้ั เกสรเพศผู้ มีจ�ำนวนมาก ติดรอบโคนฐานดอกรูปกรวยหงาย เกสรเพศเมยี ฝังอยู่ในฐานดอก ผล (ฝักบัว) มผี ลยอ่ ย (เมลด็ บวั ) 10-30 อัน ฝกั และเมล็ดบัวเม่ือแก่จะแห้งสดี ำ� และแขง็ ถ่นิ อาศยั ขึน้ ในทโี่ ลง่ แจง้ ในนำ้� ตามขอบบงึ ที่มีระดบั นำ้� ลกึ ไมเ่ กิน 1 ม. และนยิ มปลกู เปน็ ไม้ประดบั หรอื ไม้ตัดดอก เก็บฝัก เมล็ด รากบัว และไหลบัว ออกดอกและติดผลตลอดปี แตจ่ ะออกดอกนอ้ ยในชว่ งฤดหู นาว การกระจายพันธ์ุ พบทั่วประเทศไทย ต่างประเทศพบในเขตร้อนและกง่ึ เขตร้อนของภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออก เอเชียใต้ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ จนถงึ ออสเตรเลยี การใชป้ ระโยชน์ อาหาร เมลด็ อ่อน รสมนั กนิ ได้ (18, 20).--- ราก + ไหล รสหวานมัน กรอบ มีกล่นิ หอมเฉพาะตวั ใช้ทำ� อาหาร คาว-หวาน, ใบอ่อน กินเปน็ ผกั สด, ใบแก่ ใช้หอ่ อาหาร (18, 22).--- สมนุ ไพร เกสร เข้ายาเกสรทง้ั 5 ใชบ้ �ำรงุ หัวใจ, รากและดอก เข้ายาอน่ื ๆ , ใบแก่ เขา้ ยาอืน่ ๆ รกั ษาโรคริดสีดวงจมูก (7).--- เกสร + กลีบดอก ตากแห้งสบู แกร้ ดิ สีดวงจมูก (18).--- ดา้ นอนื่ ดอกบัวใชบ้ ชู าพระ (20)



ปา่ บุง่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 307 ตำ� ไหลบัว บัวหลวง (Nelumbo nucifera Gaertn.) ส้มต�ำอกี ชนดิ หน่งึ ทห่ี ากนิ ได้ยาก เพราะไหลบวั คอ่ นขา้ งหาไดย้ ากตามทอ้ งตลาด ต้องเกบ็ หามาเอง ไหลบวั คอื ลำ� ต้นใตด้ ินของบัวหลวงทยี่ ดื ยาวออกไปแตกเป็นหนอ่ ใหม่ ไม่ใช่บัวกินสายหรอื บวั สาย ไหลบัวสามารถ หาเกบ็ ได้ตลอดปี แตห่ วั บวั หรอื รากบวั จะมเี ฉพาะชว่ งฤดูแล้งที่นำ�้ ลดเท่านัน้ ซึง่ สามารถน�ำมาใชต้ �ำสม้ ไดเ้ ช่นกนั ไหลบวั มรี สชาตมิ นั และกรอบ ไม่ฝาด มีกล่ินหอมเฉพาะตัว เหมาะทจ่ี ะใชท้ ำ� ส้มตำ� เพราะเน้อื ในที่มรี ูพรนุ ชว่ ยซึมซับ นำ�้ เครื่องปรุงและมีความกรอบ ไมน่ มิ่ เละ ทำ� ให้ตอนเคย้ี วไหลบวั นอกจากความกรอบแลว้ ยังไดร้ สชาติทเ่ี ข้มข้นของน�้ำ เครอื่ งปรุงไปพร้อมๆ กัน ส่วนประกอบ 1) ไหลบัว 1 ถ้วย 2) มะเขอื ข่นื ดบิ หรอื สุก (สบั เปน็ ชนิ้ เล็กๆ ทัง้ ผล) 2 ลูก 3) มะเขือเทศสีดา 2 ลูก 4) มะนาว 1 ลกู 5) พรกิ ช้ีฟ้าแหง้ หรอื สด 4-7 เมด็ 6) กระเทียมหรอื หอมแดงกไ็ ด้ 3-5 กลบี 7) น�้ำมะขามเปียก 2 ชอ้ นโต๊ะ 8) น้�ำปลารา้ ต้มสกุ 2 ชอ้ นโต๊ะ 9) ปดู อง 1 ตัว 10) น้�ำปลา 1-2 ชอ้ นโตะ๊ 11) น้�ำตาลปบี 1 ช้อนโต๊ะ วิธีปรงุ 1. ตำ� พริกและกระเทียม ผสมกนั พอหยาบๆ 2. ใสม่ ะเขือเทศสีดาหั่น 3 สว่ น มะเขือขื่น แล้วบีบมะนาวพร้อมใส่เปลอื กลงไปด้วย 3. ฉีกปูดองใสล่ งไป และเครอื่ งปรงุ ท่ีเหลือลงไปตำ� คลกุ เคล้าให้เข้ากัน ชิมใหไ้ ดร้ สตามใจชอบ 4. ใสไ่ หลบวั ลงไปต�ำเพียงเบาๆ คลกุ เคล้าให้เขา้ กัน หมายเหตุ ไหลบวั มีเนื้อทพี่ รนุ ดดู ซบั น�้ำเครอื่ งปรงุ ไดด้ แี ล้ว จงึ ไมค่ วรต�ำไหลบัวให้ช�ำ้ มากนกั เพราะจะสญู เสียความ กรอบอร่อย สูตรอาหารโดย นางกนกอร เทศนา (8)

บวั ผนั บัวเผ่อื น

ปา่ บ่งุ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 309 บัวผัน ชือ่ ทอ้ งถิน่ : บัวเผื่อน บวั ขาบ (ภาคกลาง), นิโรบล (กรุงเทพฯ), ปา้ นสังกอน (เชียงใหม่), ปาลีโปะ๊ (มลาย-ู นราธวิ าส) Nymphaea nouchali Burm.f. (วงศ์ Nymphaeaceae) ชื่อพ้อง : Nymphaea cyanea Roxb. ex G.Don, Nymphaea stellata Willd. ไมน้ �ำ้ ล้มลกุ มอี ายุหลายปี มลี ำ� ต้นเป็นเหง้าส้ันอยใู่ ตด้ นิ ทอ้ งน้�ำ ไมแ่ ตกแขนงและไมม่ รี ากบัว/ไหลท่ีกนิ ได้เหมือน บัวหลวง (Nelumbo nucifera) ใบเดีย่ ว ออกเป็นกระจุก ชูใบข้นึ มาลอยทผี่ ิวน�้ำ ใบรูปกลมแกมรปู ไข่ กวา้ ง 8-18 ซม. ยาว 10-25 ซม. ปลายใบกลม โคนใบหยกั เวา้ ลึก ขอบใบหยักมนถึงเกือบเรียบ ผวิ ใบเกล้ยี งท้งั สองดา้ น กา้ นใบ หนา 0.5 ซม. ยาว 0.5-1 ม. ปลายก้านใบตดิ กบั แผน่ ใบทโ่ี คนใบ ดอกเด่ยี ว อยูเ่ หนือผิวน�้ำ ดอกตูมรูปกรวยแหลม ยาว 4-8 ซม. กลีบดอกสีขาว สีขาวอมชมพู หรอื สมี ่วงคราม รปู หอก มี 10-30 กลบี เม่อื ดอกบานกวา้ ง 8-15 ซม. ดอกบานชว่ งเช้าแลว้ หุบช่วงบา่ ย บานได้ 3 วัน มีกลิ่นหอมอ่อน เกสรเพศผู้ จ�ำนวนมาก อับเรณสู ีขาวปลายอับเรณูสีออกมว่ ง กา้ นชูอับเรณสู เี หลอื ง รงั ไขม่ ี 10-20 ชอ่ ง ฝ่งั อยู่ในฐานดอกรูป ถ้วย ผลค่อนขา้ งกลม กว้าง 1.5-4.5 ซม. จมอยู่ใตน้ ำ้� หลงั ผสมเกสรแลว้ เมลด็ มจี ำ� นวนมากและขนาดเล็ก กว้าง 1 มม. บัวชนดิ นีใ้ นธรรมชาตมิ ี 2 สายพนั ธุ์ (แตจ่ ดั อยใู่ นชนดิ เดยี วกนั ) 1) ดอกเลก็ สขี าว-ชมพูอ่อน ปลายกลีบสชี มพูออ่ น-สีม่วงคราม เรียกวา่ “บวั เผอื่ น” 2) ดอกใหญ่กว่า สมี ว่ งครามหรอื สีม่วงเมด็ มะปราง เรียกว่า “บวั ผนั /บัวขาบ” ถน่ิ อาศยั ขึ้นในทโ่ี ลง่ แจง้ ในแหล่งน้ำ� ตามขอบบึง ทงุ่ นา หรือในท่ีทม่ี ีน�้ำนิง่ -ไหลเอ่ือย และมีระดบั ความลกึ ของ น้�ำไมเ่ กิน 1 ม. ออกดอกและตดิ ผลเกอื บตลอดปี แตม่ ักจะพบมากในชว่ งกลางฤดฝู นจนถงึ ฤดูหนาว เนือ่ งจากมี ทงุ่ นำ�้ ทว่ มปรากฏอย่ทู ั่วไป การกระจายพันธุ์ พบได้ง่าย ท่วั ประเทศ ต่างประเทศพบในเขตร้อนของประเทศจีนตอนใต้ ภูมภิ าคเอเชยี ใต้ เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ จนถงึ ออสเตรเลยี การใชป้ ระโยชน์ -



ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 311 บัวสาย ชอ่ื ท้องถนิ่ : บัวแดง บัวสาย บัวสายแดง บวั สายสีชมพู (ท่วั ไป), รตั อบุ ล เศวตอุบล สตั ตบรรณ (กรุงเทพฯ) Nymphaea pubescens Willd. (วงศ์ Nymphaeaceae) ชื่อพอ้ ง : Nymphaea lotus var. pubescens (Willd.) Hook. f. & Thomson ไมน้ �ำ้ ลม้ ลกุ มอี ายหุ ลายปี มีลำ� ต้นเปน็ เหงา้ สัน้ อยูใ่ ต้ดนิ ทอ้ งน�้ำ ลกั ษณะท่ัวไปคลา้ ย บวั ผัน (Nymphaea nouchali) แตบ่ วั สายจะมสี ่วนต่างๆ ขนาดใหญ่กว่าและมีจุดแตกตา่ งอ่ืนๆ ดงั นี้ ใบกลม เส้นผา่ นศูนย์กลาง 15-40 ซม. ผวิ ใบด้านล่างมีขนสน้ั หนาแน่น กา้ นใบกลม สมี ว่ งอมชมพคู ลำ้� มขี นสนั้ กว้าง 1 ซม. ยาว 1-3 ม. สามารถยดื ยาวตามระดบั น�้ำข้นึ ได้ดี ดอกตูมรูปขอบขนานแกมรี ยาว 8 ซม. กา้ นดอก (เรยี ววา่ “สายบวั ”) คลา้ ยกับก้านใบ กลีบดอกสชี มพูเข้ม หายากท่ีมสี ีชมพูอ่อน-ขาว มี 15-30 กลีบ เม่อื ดอกบานกว้าง 10-15 ซม. ดอกบานชว่ งเช้ามืด-ชว่ งสาย มีกล่นิ หอมหวาน เกสรเพศผสู้ ชี มพูเขม้ ผลค่อนขา้ งกลม จมอยู่ใตน้ �้ำหลงั ผสมเกสร แลว้ เมล็ดมจี ำ� นวนมากและมีขนาดเลก็ ถิน่ อาศัย ขน้ึ ในทโี่ ลง่ แจง้ ในแหลง่ นำ�้ ตามขอบบงึ หรอื อา่ งเก็บน้ำ� ที่มีน้ำ� นงิ่ -ไหลเออ่ื ย และมรี ะดับความลึกของน้�ำ 1-3 ม. (ขึน้ ได้ในทีร่ ะดบั น้�ำลกึ มากกว่าบัวผนั และบัวหลวง) ออกดอกและตดิ ผลเกอื บตลอดปี การกระจายพันธ์ุ พบไดง้ ่าย ท่วั ประเทศ ตา่ งประเทศพบในเขตร้อนของภมู ภิ าคเอเชียใต้ และภมู ิภาคเอเชียตะวัน- ออกเฉยี งใต้ การใช้ประโยชน์ อาหาร สายบัวหรือกา้ นดอก เป็นผักสด ลอกเปลอื กออกกนิ แกลม้ สม้ ตำ� ผัดหรือแกงสม้ ใสป่ ลา (15, 17), ดอก กนิ สด รสมนั (15).--- สมุนไพร ดอกแหง้ เขา้ ยาอน่ื ๆ ตม้ นำ้� ด่มื บำ� รงุ ก�ำลงั (7) สายบัวมขี ายท่ัวไปตามทอ้ งตลาด



ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 313 แกงส้มสายบัว บัวสาย (Nymphaea pubescens Willd.) สายบัวเป็นผกั ทมี่ รี สจดื เม่อื ตม้ กับนำ้� แกงจะมเี นื้ออ่อนนมุ่ แตย่ ังกรอบดา้ นใน นอกจากนี้รูพรุนภายใน สายบัวจะดูดซับน้�ำแกงไวไ้ ด้มาก จึงทำ� ให้ผกั ชนิดน้มี ีรสชาตเิ ขม้ ข้นย่ิงขนึ้ แกงส้มสายบวั แบบพน้ื บา้ นอสี าน น้ี มีน�้ำแกงค่อนข้างใส รสไม่เปรีย้ วจดั เม่อื ใสใ่ บผกั อีตู (ใบแมงลกั ) ดว้ ยแล้ว ทำ� ให้กลนิ่ และรสชาติคล้ายกับ แกงเลยี งแบบภาคกลางมาก รสชาตไิ มจ่ ดั จานมากนัก แตเ่ นน้ ความกลมกล่อมของนำ�้ แกงและรสชาติความ หวานของเนื้อปลา ส่วนประกอบ 1) สายบัว (ลอกเปลอื กแล้วหั่นเป็นท่อนยาวประมาณ 2 ข้อนวิ้ มอื ) 3 ถว้ ย 2) ปลาแขยง 1 ถว้ ย 3) ตะไคร้ 3 ตน้ 4) พรกิ แห้ง 15 เมด็ 5) หอมแดง 10 หวั 6) นำ้� มะขามเปียก 1 ช้อนโต๊ะ 7) ใบผกั อีตู (ใบแมงลกั ) 1 ถว้ ย 8) น�ำ้ 5 ถ้วย 9) นำ้� ปลารา้ 3 ชอ้ นโตะ๊ 10) น�้ำปลา 1-2 ชอ้ นโต๊ะ 11) เกลือ 1 ช้อนโตะ๊ วิธปี รงุ 1. ตำ� เครื่องแกงโดยมีส่วนผสมของ เกลือ พริกแห้ง ตะไคร้ และหอมแดง ตำ� พอหยาบๆ 2. ตม้ น้�ำประมาณ 5 ถว้ ย ให้เดือดแล้วใส่เคร่อื งแกง ตามด้วยสายบัวลงไปตม้ จนสายบวั สกุ (เนอื้ จะใส) 3. ปรงุ รสดว้ ยน้�ำมะขามเปียก น�้ำปลาร้า น�้ำปลา และเกลอื ใหม้ รี สเค็มอมเปร้ยี วเล็กน้อย (ไม่ใหเ้ ปรย้ี วจัด มากนกั ) แลว้ ตม้ ต่อไปให้เดอื ดพล่าน 4. ใสป่ ลาลงไปตม้ (ห้ามคน) เมื่อปลาสกุ แลว้ โรยใบผกั อตี ลู งไป คนอีกเล็กนอ้ ยใหก้ ลิน่ ผักอีตูออก ปดิ ฝาหม้อ ทันที แล้วปลงลง หมายเหตุ สามารถใช้ปลาชนิดอน่ื แทนได้ เชน่ ปลาชอ่ น ปลาเนอ้ื อ่อน การทำ� ปลาหลงั จากควา้ นไส้หรอื ขอดเกล็ด ออกแลว้ ใหค้ า้ วตวั ปลาดว้ ยเกลอื ป่นอกี คร้งั ใหท้ ัว่ แล้วล้างออกด้วยนำ�้ 2-3 ครัง้ จะท�ำใหป้ ลาไม่คาว สูตรอาหารโดย นางกนกอร เทศนา (8)

ผลสกุ

ปา่ บุง่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 315 ผักอีทก ชื่อท้องถน่ิ อนื่ : กระทกรก กระดอถอก (ภาคกลาง, นครราชสีมา), นำ�้ ใจใคร่ กระทอก กระทอกมา้ (ราชบุร,ี กาญจนบุรี, ประจวบครี ขี ันธ)์ , กระเดาะ (สงขลา), กระเดาะฮาญิง (มลาย-ู นราธวิ าส), นางจุม นางชม (ภาค เหนอื ), หมากควยเซียก (ไทลาว-อ.เมืองยาง นครราชสมี า), เครอื อที ก ผกั อีทก (ศรสี ะเกษ, อุบลราชธานี, อดุ รธานี), จ่ีโก่ย (อ.มญั จาครี ี ขอนแก่น), ควยเซยี ก เครอื หมกปลาค้อ (สกลนคร), เดาตวั ะ (เขมร-อ.ทา่ ตูม สรุ นิ ทร)์ , กระดอ (ส่วย-อ.ท่าตูม สุรินทร์) Olax psittacorum (Willd.) Vahl (วงศ์ Olacaceae) ช่อื พ้อง : - ไมเ้ ลื้อยหรอื ไมพ้ มุ่ รอเล้ือย ยาวไดถ้ งึ 20 ม. เปลือกเถาเรยี บ สีเทาอมน้�ำตาล เถาแก่มีต่มุ -หนามที่เกิดจาก โคนกง่ิ เก่า ตามกิ่งออ่ น ก้านใบและชอ่ ดอกมีขนสน้ั หนาแน่น ใบเดยี่ ว เรียงสลบั ระนาบเดยี ว รูปรี ขอบขนาน หรอื รูปไขก่ ลบั ยาว 3-7 ซม. ปลายใบและโคนใบมน-แหลม ผวิ ใบด้านลา่ งมขี นประปราย-เกลี้ยง เสน้ แขนงใบ ขา้ งละ 5-9 เสน้ ปลายเสน้ โคง้ จรดกัน เส้นใบย่อยแบบรา่ งแห เหน็ ชัดเจนด้านลา่ ง ก้านใบยาว 0.5-0.7 ซม. ชอ่ ดอกแบบกระจะ ออกตามซอกใบ ยาว 1-3.5 ซม. กลีบเล้ียงสเี ขยี ว รปู ถ้วย ยาว 1 มม. ปลายตดั กลบี ดอก มี 5 กลบี สขี าว รปู แถบยาว 7-9 มม. ปลายกลีบแหลมและบานโคง้ กลับ โคนกลีบครง่ึ ลา่ งตดิ กนั แบบผิวเผนิ และหลดุ ร่วงแยกจากกนั งา่ ยท้ัง 5 กลีบ ผลทรงกลม กวา้ ง 1-1.5 ซม. ผิวเรียบเกลย้ี ง สีเขยี ว ปลายผลมีติง่ สัน้ มถี ว้ ยกลบี เลย้ี งขยายขึ้นมาเปน็ เย่ือบางๆ สขี าว หุ้มประมาณครึง่ ผล-เกือบมิดผล ผลสุกเปล่ยี นเปน็ สีสม้ -สี แดง มี 1 เมล็ด ถ่ินอาศัย ข้นึ ตามชายป่าดงดิบ ป่าผลดั ใบ หรอื ท่รี กรา้ งปา่ เส่อื มโทรม ทั้งในเขตพ้นื ที่ดอน ท่ีราบล่มุ หรอื ทงุ่ นา ตาม ป่าบงุ่ ปา่ ทามมกั จะข้ึนตามจอมปลวกหรือเนินดนิ ทีค่ วามสงู จากระดับน้�ำทะเลไมเ่ กิน 300 ม. ออกดอกเดือน มนี าคม-กรกฎาคม ผลแกเ่ ดอื นพฤษภาคม-กนั ยายน กระจายพันธุ์ พบได้ง่าย ทั่วประเทศ ต่างประเทศพบในเขตรอ้ นของเอเชียใต้ จนี ตอนใต้ เมียนมาร์ ลาว เวียดนาม กัมพชู า คาบสมทุ รมาเลเซยี สมุ าตรา ชวา และบาหลี การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน เปน็ ผกั สดหรือ ลวก นึง่ ถา้ ห่อใบตองย่างไฟจะมกี ลิน่ หอม รสชาติหวานและมนั มากขึน้ จ้ิม น�้ำพริก รสชาติคล้ายยอดอ่อนตน้ แสง/ชมุ แสง (Xanthophyllum lanceatum) (1, 2, 3, 4, 10, 24).--- ยอดออ่ น มีรสหวาน ใช่ทำ� หมกปลาชอ่ น (23) .--- ผลสกุ มรี สหวานอมขมปรา่ /ขมออ่ นๆ กินเป็นผลไม้ (1, 10).- -- สมุนไพร แก่นและราก ตม้ น�้ำใหแ้ ม่ลกู อ่อนดม่ื เปน็ ยาบำ� รุงนำ้� นม (1).--- วสั ดุ เถา ใชท้ �ำกงลอบ/ไซ (1) ยอดอ่อนห่อใบตองย่างไฟกินกับแจว่ บอง/ปลาแดกบอง



ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 317 เครือไส้ไก่ ชื่อท้องถ่ินอน่ื : มะลไิ สไ้ ก่ เขยี้ วงู ดอกเส้ียว ไสไ้ ก่ (ภาคกลาง), มะลยิ า่ น มะลิเถ่อื น ลิ (ภาคใต)้ , เครือไสไ้ ก่ (เลย) Jasminum elongatum (P.J. Bergius) Willd. (วงศ์ Olacaceae) ช่ือพ้อง : - ไมเ้ ลื้อยหรอื ไม้พุ่มรอเล้ือย ยาว 2-4 ม. ตามก่ิงออ่ น ก้านใบ และช่อดอกมีขนส้ัน ใบเด่ยี ว เรยี งตรงข้าม รูปไข่ กว้าง หรือรูปใบหอก ยาว 2-7 ซม. ปลายใบแหลม-เรยี วแหลม หรอื มตี ิง่ หนาม โคนใบมน-กลม ผิวใบดา้ นลา่ งมี ขนประปราย-เกลี้ยง เสน้ แขนงใบข้างละ 2-6 เส้น ปลายเสน้ โค้งจรดกนั นูนชดั เจนที่ผวิ ใบด้านลา่ ง กา้ นใบ ยาว 3-7 มม. ช่อดอกแบบกระจุกส้ัน ออกตามปลายกิง่ มี 3-10 ดอก/ชอ่ มีใบประดบั สเี ขยี วคล้ายใบ 1 คู่ ยาว 0.5-1 ซม. ดอกสขี าวคล้ายดอกมะลิบา้ น มกี ล่นิ หอม กลบี เลีย้ งและกลบี ดอกอย่างละ 7-9 กลีบ กลบี เลีย้ งสี เขยี วอ่อน ปลายแยกเป็นเส้นยาว 4-11 มม. มีขน กลีบดอกโคนเป็นหลอดยาว 1.5-2.5 ซม. แฉกกลบี ดอกรปู ขอบขนาน ยาว 0.6-1.2 ซม. ผลรูปรปี ลายกลม ยาว 8 มม. ผวิ เกลีย้ งมันเงา ติดเปน็ ผลแฝดท่ีมีโคนเช่ือมตดิ กัน ถิ่นอาศยั ขึ้นตามชายปา่ ดงดิบแลง้ ปา่ ผลดั ใบ และปา่ บุ่งปา่ ทาม ท่ีความสงู จากระดบั น�้ำทะเลไม่เกิน 1,000 ม. ออกดอกเดอื นกุมภาพันธ์-เมษายน ผลแกเ่ ดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม กระจายพนั ธ์ุ พบได้ค่อนขา้ งงา่ ยตามป่าธรรมชาติ กระจายทัว่ ประเทศ ตา่ งประเทศพบในภาคตะวันออกเฉียง- เหนอื ของอนิ เดยี จีนตอนใต้ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ และตอนเหนอื ของออสเตรเลีย การใชป้ ระโยชน์ -

ผลอ่อน แทง่ ฟองน�้ำ คลา้ ยปอดของปลา

ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 319 ผักพีพวย ช่ือท้องถ่นิ อ่ืน : แพงพวย แพงพวยน�้ำ ผักพงั พวย (ภาคกลาง), ผักปอดน้ำ� (ภาคเหนือ), ผักพีพวย พีพวย พงั พวย (อสี าน), แพงพวย (อ.เจริญศิลป์ สกลนคร), ผักปอด ผกั ปอดนำ้� (ภไู ท-อ.พรรณานิคม สกลนคร, ไทลาว/ไทญอ้ - อ.ศรสี งคราม นครพนม) Ludwigia adscendens (L.) H. Hara (วงศ์ Onagraceae) ชอื่ พ้อง : - ไมน้ ้�ำล้มลุก ทอดเลือ้ ยบนพืน้ ดินหรือลอยทผี่ วิ นำ้� ยาวไดถ้ ึง 4 ม. ตามขอ้ ของล�ำตน้ มรี ากฝอยและมฟี องนำ�้ สขี าว เป็นแทง่ เรียวยาวอยใู่ ต้น�ำ้ (คลา้ ยปอดของปลา) ช่วยพยุงตน้ ให้ลอยน้�ำ ยาวถึง 5 ซม. ตามกง่ิ กา้ นใบและชอ่ ดอก มขี นออ่ นน่มุ หนาแน่น-เกือบเกล้ยี ง ใบเด่ยี ว เรยี งเวียน รูปชอ้ น ยาว 2-7 ซม. ปลายใบมน-กลม โคนใบสอบเรยี ว เส้นแขนงใบข้างละ 6-13 เส้น ผวิ ใบดา้ นล่างมีขน-เกล้ียง ก้านใบยาว 0.5-2 ซม. ทซ่ี อกของโคนกา้ นใบมหี ใู บ กลมนนู สเี ขยี ว ดอกเดี่ยว ดอกตามซอกใบ มีกา้ นดอกยาว 2-5.5 ซม. กลบี เล้ยี งและกลีบดอกมอี ย่างละ 5 กลบี กลบี เลีย้ งสีเขียวอ่อน รปู หอก ยาว 0.5-1 ซม. กลบี ดอกสีขาวโคนกลบี สีเหลือง รปู ไข่กลบั ปลายกลม-เวา้ ต้ืน ยาว 1-2 ซม. เหน็ เส้นกลบี ชดั เจน ผลรปู ทรงกระบอก ยาว 1.2-3 ซม. กวา้ ง 3-4 มม. โคนสอบเรียวหากา้ นผล ผิวเรียบมีขน ปลายมีกลีบเลย้ี งติดคงทน ผลแก่แตกไมเ่ ป็นระเบียบ มีเมล็ดเลก็ จำ� นวนมาก ถิน่ อาศัย ขึ้นในทโี่ ลง่ แจง้ ตามบงึ แหล่งนำ�้ ท่ไี หลเอ่ือยๆ นาขา้ ว หรอื พืน้ ดนิ ทช่ี น้ื แฉะ ท่ีความสูงจากระดบั น�้ำทะเล ไมเ่ กนิ 1,500 ม. ออกดอกเดอื นมนี าคม-พฤศจิกายน ผลแก่เดือนพฤษภาคม-มกราคม กระจายพนั ธุ์ พบได้งา่ ย ท่วั ประเทศ ตา่ งประเทศพบในเขตรอ้ นและกึ่งเขตร้อนในทวปี แอฟรกิ า เอเชยี และ ออสเตรเลยี การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน เปน็ ผักสดหรือลวก จิม้ นำ้� พรกิ กนิ แกล้มปงิ้ ปลา ป่นปลา ลาบ (15, 17, 23, 24, 25, 26, 27).--- สมุนไพร ยอดอ่อน เป็นยาเยน็ กนิ แกไ้ อ (23).--- ด้านอนื่ ท้ังต้นใชเ้ ปน็ อาหารของวัว-ควาย (17)



ป่าบ่งุ ป่าทาม ภาคอสี าน 321 ผักปอดต้น ช่อื ทอ้ งถิ่นอ่นื : เทยี นนา (ภาคกลาง), ผักกาดรอ (ภาคเหนอื ), ผักปอดต้น หญ้าผกั แพรว (อ.ศรีสงคราม นครพนม), ผกั ปอด ผักปอดเขยี ด (ภูไท-อ.พรรณานิคม สกลนคร) Ludwigia hyssopifolia (G. Don) Exell (วงศ์ Onagraceae) ช่อื พ้อง : - ไม้น�ำ้ ลม้ ลกุ อายุ 1 หรอื หลายปี ลำ� ต้นตง้ั ตรง สูง 0.1-1 ม. สีเขียวออ่ นหรอื สมี ่วงอมแดง ก่งิ เปน็ สเ่ี หล่ยี ม มขี น สนั้ ประปราย ใบเดีย่ ว เรียงเวยี น รูปไข่ ใบหอก หรอื รปู แถบ ยาว 1-7 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบแหลม-มน ผวิ ใบด้านลา่ งมขี นประปราย เส้นแขนงใบข้างละ 7-15 เสน้ มีรอยกดชดั เจนท่ดี ้านบนตามแนวเส้นแขนงใบ บางคร้ังมีลายสเี หลือง-สีชมพู (แต้มบนพนื้ ใบทีม่ สี เี ขยี ว-เขียวอ่อน) กา้ นใบยาว 3-18 มม. ท่ีซอกโคนกา้ นใบมี หูใบสแี ดงเขม้ ขนาดเลก็ ดอกเดีย่ ว ดอกตามซอกใบ ไมม่ กี ้านดอก กลบี เล้ียงและกลีบดอกมีอยา่ งละ 4 กลีบ กลีบเลย้ี งสีเขียวอ่อน รปู หอก ยาว 2-4 มม. กลีบดอกสีเหลอื งเข้ม รปู รปี ลายแหลม ยาว 2-4 มม. ผลรปู ทรง กระบอก ยาว 1.5-3 ซม. ไม่มกี า้ นผล สีเขียวหรอื สมี ่วงอมแดง ผิวผลมีเหล่ยี มตามแนวยาว มขี นประปราย ปลายมีกลีบเล้ยี งตดิ คงทน ผลแก่แตกไม่เปน็ ระเบียบ มีเมลด็ เลก็ จำ� นวนมาก ถน่ิ อาศยั ขึ้นตามทโ่ี ล่งแจง้ และมดี ินช้ืนแฉะ หรือตามแหลง่ น�้ำน่ิง-ไหลเอื่อย ท่ีมีระดบั น้�ำลกึ ไม่เกิน 30 ซม. เชน่ ตามนาขา้ ว คนู ้ำ� ขอบอา่ งเกบ็ น้�ำ รมิ บงึ รมิ แม่น�้ำล�ำธาร ท่คี วามสูงจากระดับน้�ำทะเลไมเ่ กิน 1,500 ม. ออกดอก และตดิ ผลตลอดทง้ั ปี กระจายพนั ธ์ุ พบได้ง่าย เป็นวชั พืชทขี่ ้ึนอยทู่ ว่ั ประเทศ โดยเฉพาะตามพน้ื ทเ่ี กษตรและท่ีรกร้างทเ่ี ปน็ พนื้ ทชี่ ้ืนแฉะ พบมากในชว่ งฤดฝู น ตา่ งประเทศพบในเขตร้อนและก่ึงเขตร้อนทวั่ โลก การใช้ประโยชน์ ดา้ นอน่ื ทัง้ ตน้ ใช้เป็นอาหารของววั -ควาย (18, 20)

ชอ่ ดอกเพศเมยี

ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 323 หมากเม่าทาม ชื่อทอ้ งถิน่ อ่ืน : เม่าไข่ปลา (ชลบรุ ี), มงั เม่า (จนั ทบรุ )ี , เม่าทุ่ง (ชมุ พร, สงขลา), มะเม่าขา้ วเบา (ชุมพร), กูแจ (มลายู-นราธวิ าส), ส้มกุง้ (อ.ชุมพวง นครราชสีมา), เมา่ หมักเมา่ (อสี าน), เม่าน้อย (ศรสี ะเกษ, ยโสธร), หมาก- เม่าทาม (อ.ศรสี งคราม นครพนม, อ.เจริญศลิ ป์ สกลนคร), หมักเมา่ โคน้ (ภูไท-อ.พรรณานิคม สกลนคร), เมา่ ตา- เขียด (อ.บ้านดุง อดุ รธาน)ี , ขา้ วเมา่ ขา้ วเมา่ ทาม (อ.มัญจาคีรี ขอนแก่น, อ.โพธ์ติ าก อ.ศรเี ชียงใหม่ หนองคาย) Antidesma ghaesembilla Gaertn. (วงศ์ Phyllanthaceae) ชอื่ พ้อง : - ไมต้ น้ สูง 5-15 ม. เปลอื กเรยี บสีน�้ำตาล ตามกิ่งออ่ น กา้ นใบ และชอ่ ดอกมขี นส้ัน ใบเด่ยี ว เรยี งสลบั รปู ขอบขนาน แกมรปู รี ยาว 4-7 ซม. ปลายใบมน กลม-เว้าต้ืน โคนใบกลม-เว้ารปู หวั ใจ ผวิ ใบด้านล่างมขี นสัน้ -เกลย้ี ง เส้นแขนงใบขา้ งละ 5-7 เส้น ก้านใบยาว 4-7 มม. ช่อดอกแยกเพศอยตู่ ่างต้น ช่อดอกแบบกระจะ ออกตาม ปลายกง่ิ หรอื ซอกใบ ช่อดอกเพศผยู้ าว 4-8 ซม. ช่อดอกเพศเมียยาว 2-3 ซม. ดอกยอ่ ยขนาดเล็กมากสีเขยี ว-สี เขยี วอมเหลอื ง ยาว 1.5-3 มม. กลีบเล้ยี ง 4-6 กลบี สนั้ มากกว่า 1 มม. ไมม่ ีกลบี ดอก ก้านดอกสัน้ นอ้ ยกวา่ 1 มม. หรอื ไม่มี ผลทรงกลมหรือเบ้ียวเล็กน้อย กวา้ ง 3-4 มม. ผวิ มขี นประปราย ตดิ เป็นชอ่ แนน่ คลา้ ยพวงอง่นุ ชอ่ ยาว 4-7 ซม. ผลออ่ นสีเขยี วออ่ น เมอื่ สุกเปลีย่ นเปน็ สีแดง-ดำ� มี 1 เมลด็ ถ่นิ อาศยั ขนึ้ ตามทีโ่ ลง่ แจง้ ทุ่งนา ทงุ่ หญ้า ป่าเส่ือมโทรม ปา่ ผลดั ใบ และป่าบุ่งปา่ ทาม ทั้งในเขตพนื้ ทีภ่ ูเขาและ เขตที่ราบนำ�้ ทว่ มถึง ทีค่ วามสูงจากระดับนำ�้ ทะเลไมเ่ กนิ 1,200 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นเมษายน-กรกฎาคม ผลแก่ เดอื นมิถุนายน-ตุลาคม กระจายพันธุ์ พบไดง้ ่าย กระจายอยทู่ ั่วประเทศ ต่างประเทศพบในภมู ิภาคเอเชียใต้ จนี ตอนใต้ เอเชียตะวนั ออก- เฉียงใต้ และตอนเหนอื ของออสเตรเลยี การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ผลออ่ น-สุก เป็นผลไม้ รสเปรยี้ วอมหวาน จม้ิ เกลือ เปน็ เคร่ืองเคยี งเมี่ยง หรือต�ำส้ม, ยอดออ่ น เปน็ ผัก สด รสเปรี้ยวอมฝาด จมิ้ นำ้� พรกิ หรือกนิ แกล้มปง้ิ ปลา ลาบ กอ้ ย (1, 2, 6, 8, 9, 10, 11, 12, 15, 17, 18, 20, 21, 23, 24, 25, 26, 27).--- ผลอ่อน รสเปร้ียว ใชต้ ำ� ส้มกับ ผพี ่วน (Uvaria rufa) (11).--- ผลสุก ใชห้ มักท�ำไวน์ (10, 12).--- สมนุ ไพร ราก ฝนกบั น้�ำมะนาวแก้พิษงูกดั (1).--- ผล มีรสเปร้ียว กินเปน็ ยาระบาย (2, 12, 18).- -- แกน่ ตม้ นำ�้ ดื่มเปน็ ยาบ�ำรงุ ร่างกาย (11).--- แกน่ หมากเมา่ ทาม + แก่นประดู่ + แกน่ แดง + แก่นกอกกัน / ออ้ ยชา้ ง + เครือแสลงพัน/กระไดลงิ ตม้ น้�ำดม่ื รักษาโรครดิ สีดวงทวาร (27).--- เชอ้ื เพลิง ไม้ทำ� ฟืนหรอื เผาถา่ น (15, 23, 25, 26).--- ดา้ นอนื่ ผลสุก เปน็ อาหารของนก (19)



ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 325 ส่าเหล้า ช่อื ท้องถ่นิ อ่ืน : มะกาใบหนา (ราชการ), สฟี ันปลา (อ.ชุมพวง นครราชสมี า), ส่าเหลา้ สา่ เหล้านอ้ ย (ศรีสะเกษ, ยโสธร, อุดรธาน,ี อ.เจริญศลิ ป์ สกลนคร), กา้ งปลา (ภไู ท-อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), หมากขเ้ี หลา้ (อ.ศรีสงคราม นครพนม) Bridelia curtisii Hook.f. (วงศ์ Phyllanthaceae) ชื่อพอ้ ง : - ไมพ้ ุ่มรอเลอ้ื ย ยาวถึง 7 ม. เปลือกเรยี บสนี ้�ำตาล ตามก่ิงออ่ น ก้านใบ และชอ่ ดอกเกลยี้ ง-มีขนประปราย ก่งิ มีชอ่ งอากาศสีน�้ำตาล มีหใู บรูปใบหอก ยาว 2-4 มม. หลุดร่วงง่าย ใบเด่ยี ว เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว รูปไขก่ ลบั หรอื รูปรี ยาว 3-7 ซม. ปลายใบและโคนใบแหลม-กลม มีเสน้ ท่ขี อบใบ (ลบู แล้วรูส้ ึกนนู ) ผวิ ใบเกลยี้ ง-มขี น ประปราย ผิวใบดา้ นลา่ งสเี ขียวนวล เนือ้ ใบหนา เส้นแขนงใบขา้ งละ 5-10 เส้น นนู ท่ผี ิวใบดา้ นบน ปลายเสน้ วง่ิ ไปจรดเส้นขอบใบ ก้านใบยาว 4-6 มม. ดอกออกเปน็ กระจกุ ตามซอกใบ ดอกแยกเพศแต่อยูใ่ นตน้ เดยี วกัน ดอกสีเขียวอ่อน มีขนาดเลก็ มาก เม่ือบานกว้าง 3-5 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 5 กลีบ ผลทรงกลม กวา้ ง 4.5-6.5 มม. ปลายกลม-บุ๋มเล็กน้อย ผิวเรียบเกล้ยี ง มีกลบี เลีย้ งตดิ คงทนที่ขว่ั ผล ยาว 2-3 มม. ผลออ่ น สเี ขยี วอ่อน ผลสกุ สมี ว่ งด�ำ ผิวมนี วลขาว ไม่แตก มีเมล็ดแข็ง 2 เมลด็ ถิ่นอาศัย ขน้ึ ในทโ่ี ลง่ แจ้งตามทุ่งนา ชายป่าบงุ่ ปา่ ทาม ป่าชายเลนตอ่ กบั ปา่ บก และชายป่าดงดบิ ทคี่ วามสงู จาก ระดบั น้ำ� ทะเลไม่เกนิ 1,000 ม. ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-พฤศจกิ ายน ผลแก่เดือนตลุ าคม-มกราคม กระจายพันธ์ุ พบไดค้ ่อนข้างงา่ ย กระจายอยทู่ ั่วประเทศ ต่างประเทศพบในเมยี นมาร์ ลาว เวยี ดนาม กัมพชู า คาบสมทุ รมาเลเซยี และตอนเหนือของเกาะสุมาตรา การใช้ประโยชน์ อาหาร ผลสุก สีดำ� อมม่วง รสหวาน กนิ เป็นผลไม้ (15, 21, 23).--- ยอดออ่ น เป็นผักสด (23).--- สมุนไพร กิง่ ทบุ แลว้ เค้ยี วอมไว้ในปาก รกั ษาแผลในช่องปาก แผลรอ้ นใน ลิ้นเป็นฝา้ (17, 24).--- รากส่าเหลา้ + ราก แฝก ตม้ น�ำ้ อมไวส้ ักพักแล้วบว้ นทิง้ รกั ษาเลือดออกตามไรฟนั (25).--- ราก เขา้ ยาอื่นๆ รักษาโรครดิ สดี วงทวาร (24).--- เชอ้ื เพลงิ ไมท้ ำ� ฟนื (23).--- วสั ดุ กิง่ /เถา ตากแห้งแลว้ ยดั ใส่กระบงั้ (เคร่ืองมือจับปลาทอี่ าศัยตาม พื้นทอ้ งน�้ำ เช่น ปลาหลด ปลาหมู ท�ำจากกระบอกไม้ไผ่) ล่อให้ปลาเข้ามาอยู่ แล้วยกข้ึนมา (15).--- ล�ำต้น/กิ่ง ใช้ ท�ำขอบตะกรา้ กงลอบ กงไซ (19)

ดอกเพศผู้ ผลแก่ ดอกเพศเมีย

ป่าบงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน 327 ตานา ชือ่ ท้องถิน่ อน่ื : แดงนำ้� (สระบรุ )ี , ขีม้ ด ผกั ขมี้ ด (ภไู ท-อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), ตานา (อ.บ้านดุง อดุ รธานี, อ.เจริญศิลป์ สกลนคร, อ.โพธิ์ตาก อ. ศรเี ชยี งใหม่ หนองคาย), การะเซะ การะเซไซส์ (เขมร-อ.ท่าตมู สุรนิ ทร์), กะตรยู (ส่วย-อ.ท่าตูม สรุ นิ ทร)์ Glochidion lanceolarium (Roxb.) Voigt (วงศ์ Phyllanthaceae) ชอื่ พ้อง : - ไมพ้ มุ่ สูง 1-7 ม. แตกกิง่ เวยี นรอบและเกอื บตั้งฉากกับล�ำตน้ (คลา้ ยต้นมะยม) ใบอ่อนและก่ิงอ่อนมีสีแดงอม ส้ม ตามกง่ิ อ่อน ก้านใบ และช่อดอกเกลี้ยง-มีขนส้ันนุม่ มหี ใู บรปู ใบหอก ยาว 2-2.5 มม. หลุดร่วงงา่ ย ใบเด่ยี ว เรยี งสลบั ระนาบเดยี ว รูปขอบขนานหรือรูปรี ยาว 4-12 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบแหลม-มน ผวิ ใบดา้ นบน มันเงา ด้านล่างสเี ขียวนวล เกลี้ยง-มขี นประปราย เส้นแขนงใบขา้ งละ 6-10 เส้น นูนชดั เจนท้ังสองดา้ น กา้ นใบยาว 2-3 มม. บวมหนา ดอกออกเปน็ กระจกุ ตามซอกใบ ดอกแยกเพศแต่อยใู่ นต้นเดยี วกนั ดอกสเี หลือง อ่อน มีขนาดเลก็ เม่ือบานกวา้ ง 4.5-6 มม. กลีบเลย้ี ง 6 กลีบ ไมม่ ีกลบี ดอก ดอกเพศผู้ติดเปน็ กระจกุ ได้มากถึง 20 ดอก/กระจกุ ก้านดอกยาว 7-10 มม. ดอกเพศเมียมกี ้านดอกทสี่ ั้นกวา่ ยาวไม่เกิน 5 มม. ผลทรงกลมแป้น กวา้ ง 1.2-2 ซม. สงู 0.8-1 ซม. ปลายบุม๋ ผิวมรี อ่ งหรือแบ่งเป็นพูต้นื ๆ ตามแนวยาว 7 พู (คล้ายลกู ฟกั ทอง) มีขนส้ัน ผลอ่อนสีเขยี วอ่อน เม่ือใกลแ้ ก่จะมีสีแดงเรอ่ื ๆ เมือ่ แกจ่ ะแหง้ แล้วแตกอ้าตามแนวกลางพู ถิน่ อาศัย ขนึ้ ตามท่ีโล่งแจ้ง ทุ่งหญ้า ท่งุ นา ชายปา่ บุ่งป่าทาม หรอื ป่าเต็งรงั ทีค่ วามสงู จากระดับน�้ำทะเลไมเ่ กนิ 800 ม. ออกดอกและตดิ ผลตลอดท้ังปี กระจายพนั ธ์ุ ค่อนข้างหาง่าย กระจายอยู่ทว่ั ประเทศ ต่างประเทศพบในอนิ เดีย จีนตอนใต้ เมยี นมาร์ ลาว เวยี ดนาม กมั พชู า และคาบสมทุ รมาเลเซยี การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน รสมนั อมฝาด เป็นผักสด จม้ิ น้ำ� พรกิ กินแกลม้ ลาบ ก้อย ปิ้งปลา (18, 20, 23, 24, 27), ผลออ่ น รสจืดมัน เป็นผกั สด (26).--- สมนุ ไพร เปลือก รสฝาด ทบุ แลว้ อม รกั ษารำ� มะนาด (20)

ดอกเพศเมีย ยอดเกสรเพศเมีย ดอกเพศผู้ ผลอ่อน

ป่าบุง่ ป่าทาม ภาคอสี าน 329 หูลิง ช่อื ทอ้ งถ่ินอน่ื : กา้ งปลาขาว (สุโขทัย), หมกั แฟบ (พิษณุโลก), แฟบนำ้� (ประจวบครี ีขันธ)์ , แควบ แฟบหัวลงิ (ภาคใต)้ , หลู ิง หวั ลงิ (อีสาน), หูดา้ ง (สรุ นิ ทร)์ , หเู หมียน หวั ลงิ (นครราชสีมา), ตชี วา (อ.เมือง มหาสารคาม), กมพะนงิ (เขมร-อ.ทา่ ตมู สุรนิ ทร)์ , กมพะเนง (ส่วย-อ.ท่าตูม สุรนิ ทร)์ Hymenocardia punctata Wall. ex Lindl. (วงศ์ Phyllanthaceae) ไม้พ่มุ สูง 2-5 ม. ตามก่ิง กา้ นใบ และชอ่ ดอกมขี นสัน้ ก่งิ มีช่องอากาศกระจาย ใบเดีย่ ว เรียงสลับ รูปรี รปู ขอบขนาน หรือรูปไขก่ ลับ ยาว 3-7 ซม. ปลายใบมน-แหลม โคนใบมน-เว้าเล็กนอ้ ย ผวิ ใบดา้ นบนมนั เงา เป็น ร่องตามแนวเสน้ แขนงใบ ด้านลา่ งมีขนประปรายและมีตอ่ มเมด็ เลก็ ๆ สีเหลืองหนาแน่น เส้นแขนงใบข้าง ละ 5-8 เส้น กา้ นใบยาว 0.5-1.2 ซม. ปลายกา้ นบวมหนา ใบแก่ก่อนรว่ งมสี สี ้ม-แดง ช่อดอกแยกเพศและอยู่ คนละต้น ออกตามซอกใบและก่ิงเกา่ ชอ่ ดอกเพศผรู้ ปู คลา้ ยหางกระรอก ยาว 1-2.5 ซม. ช้ีตง้ั ขึ้น สแี ดงอมชมพู มดี อกย่อยขนาดเล็กมากอดั กันแนน่ ชอ่ ดอกเพศเมียแบบชอ่ กระจะ ยาว 1-1.5 ซม. มี 1-3 ดอก/ช่อ ดอกย่อย เลก็ มาก กวา้ งเพยี ง 1 มม. เหน็ ยอดเกสรเพศเมียเด่นชดั สแี ดงเขม้ เปน็ เส้นยาว 2 เสน้ ยาว 8.5 มม. มีขนฟู รอบ ผลรูปรกี วา้ ง และเรียบแบนดา้ นข้าง กวา้ ง 1.6-2 ซม. สูง 1-1.2 ซม. หนา 2 มม. ปลายผลตดั หรอื เว้าบ๋มุ ผวิ เกล้ยี งมีนวล ถิน่ อาศยั ขน้ึ อย่ตู ามที่โลง่ แจง้ ทุ่งหญ้า ในเขตพ้ืนท่บี ุ่งทาม หรอื ตามรมิ นำ้� เปน็ ไม้เบิกน�ำที่โตเร็วของป่าบุ่งปา่ ทาม หรอื พบตามทล่ี ุ่มมีน้�ำขังบางฤดูกาลในปา่ ชายหาด ที่ความสูงจากระดบั นำ�้ ทะเลไม่เกนิ 300 ม. ผลดั ใบชว่ งเดือน มกราคม-มีนาคม ออกดอกเดือนกุมภาพนั ธ์-พฤษภาคม และผลแก่กรกฎาคม-ตลุ าคม กระจายพนั ธุ์ พบไดง้ ่าย กระจายอย่ทู ว่ั ประเทศ ตา่ งประเทศพบในเมียนมาร์ ลาว กมั พูชา เวยี ดนาม คาบสมุทร- มาเลเซีย และสุมาตรา การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ผลออ่ น รสเปรีย้ ว เปน็ ผัก/ผลไม้ จิม้ เกลอื ทานเลน่ จิม้ น้ำ� พริก ตำ� ส้มใส่กบั มะเขอื ขน่ื หรือทุบแลว้ ใสใ่ นตม้ ปลา/ หม/ู เนือ้ ใหร้ สเปรย้ี ว (1, 2, 3, 4, 6, 8, 9, 10, 11, 12, 17, 18, 19, 20, 21, 23, 24, 25, 27), ผลออ่ น ตำ� สม้ ผสมกบั ลกู จัน (Diospyros decandra) (11).--- ยอดอ่อน รสเปรี้ยวอมฝาด แกงกบั เหด็ ผึง้ (17, 18, 20).--- ยอดอ่อน เป็นผัก สด กนิ แกล้มปิ้งปลา ลาบ กอ้ ย (26).--- สมนุ ไพร ทุกส่วน ต้มน�้ำแล้วเอาเทา้ แช่แกป้ วด, ใบอ่อน ตำ� ปดิ บาดแผลแก้ ปวด, แกน่ หลู ิง + แก่นคดั เค้า (Oxyceros horridus) + เถาเครือซดู (Ichnocarpus frutescens) ต้มนำ้� ดืม่ แกป้ วด เม่อื ย (1).--- แกน่ แช่หรอื ตม้ น�้ำดืม่ แก้ปวดเมอ่ื ย (11).--- ล�ำต้น ต้มนำ�้ ดมื่ เปน็ ยาบ�ำรุงเลือด (12).--- รากและล�ำต้น ต้ม น้ำ� ดืม่ เปน็ ยาบำ� รุงกำ� ลัง (23).--- กง่ิ ต�ำแลว้ เค้ียวกินแก้ท้องเสยี (17).--- รากและตน้ ตม้ น้�ำให้แมล่ กู ออ่ นดม่ื แก้กนิ ผดิ สำ� แดง (20, 27).--- รากหลู งิ + รากส้มกบ + รากข่อย ต้มน้ำ� ด่ืมรกั ษาโรคดีซา่ น (18).--- แก่น ตากแห้ง เข้ายาอื่นๆ ตม้ น�้ำ ด่มื รักษาโรคกระเพาะ (19).--- ราก รสเปร้ยี วอมฝาด ต้มน้�ำดมื่ รักษาโรคกระเพาะ (23).--- ราก นำ� มาฝนและเปา่ รกั ษา อาการปวดอกั เสบจากหมากัด (27).--- แก่น ตม้ น้�ำด่ืมแก้เมาจากการกนิ ปลา (26).--- เชอ้ื เพลงิ ไม้ใช้ท�ำฟืนหรือเผาถ่าน (4, 6, 10, 17, 20, 24, 25).--- วัสดุ ก่งิ และล�ำตน้ น�ำมามดั รวมกันใส่ในขา (เครอื่ งมือดักปลาชนดิ หนึง่ คลา้ ยตะกรา้ ท�ำ จากไม้ไผ่สาน) ลอ่ ให้ปลามาอาศยั แลว้ ยกขน้ึ เก็บเอาปลาทีต่ ิดมา (9, 21).--- ก่ิงและใบ ยดั ใส่กระบัง้ (เคร่ืองมือจบั ปลาทำ� จากกระบอกไม้ไผ่) ดกั ปลาหมู ปลาหลด (15).--- ตน้ ใช้เปน็ แกนตบั หญ้ามงุ หลังคา (1).--- ตน้ ใช้ท�ำดา้ มไม้กวาด ค้างปลูก ผัก (4, 11, 15).--- ดา้ นอนื่ ปลกู เป็นแนวรวั้ บา้ นป้องกันลม หรือปลกู ตามแนวคันนาป้องกนั การพังทลายของดิน (6).--- เห็ดตับเตา่ มกั ข้นึ ทโ่ี คนตน้ (12)



ปา่ บ่งุ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 331 ตม้ ปลายอดหูลิง หูลงิ /แฟบนำ�้ (Hymenocardia punctata Wall. ex Lindl.) อาหารประเภทต้ม กนิ เปน็ กับขา้ วไดท้ ุกมอ้ื ยอดอ่อนและผลออ่ นของหลู งิ มีรสเปร้ียวอมฝาดเลก็ นอ้ ย ชาวอีสานใช้ปรงุ รสอาหารประเภทต้มเน้ือสัตวช์ นิดตา่ งๆ เพ่อื ดับคาว ตัดความเลี่ยนมนั และท�ำให้อาหาร ออก รสชาติเขม้ ขน้ ขึน้ อกี เล็กน้อย ไมเ่ ปร้ยี วจัดแบบต้มยำ� อาหารประเภทตม้ ของภาคอสี านจึงเนน้ การรกั ษา รสชาตขิ องเน้อื สัตวท์ น่ี ำ� มาปรงุ มากกว่า แลว้ ใช้ผกั และเคร่อื งเทศเพียงเล็กน้อยในการดับคาว ต้มปลายอด หลู ิงจึงมีรสชาตกิ ลมกล่อมจากความหวานของเนอื้ ปลา และมคี วามเค็มอมเปร้ียวอีกเลก็ นอ้ ย ส่วนประกอบ 1) ยอดหลู ิงหรอื ผลออ่ น (หากใชผ้ ลใหท้ บุ พอแหลก) 1 กำ� มอื 2) ปลานิลหรอื ปลามเี กล็ด 3-4 ช้นิ 3) พริกช้ฟี า้ แห้ง 15 เม็ด 4) หอมแดง (ปอกเปลือกและฝานชิน้ หยาบๆ) 10 หัว 5) ตะไคร้ (ซอยหยาบๆ) 2 ตน้ 6) ใบผกั อีตูไทย (ใบกระเพรา) 1 กำ� มอื 7) นำ้� 4 ถ้วย 8) นำ้� ปลาร้า 2 ชอ้ นโต๊ะ 9) น�้ำปลา 2 ชอ้ นโต๊ะ 10) เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ วิธปี รุง 1. ตำ� เครื่องแกงโดยมสี ว่ นผสมของ เกลือ ตะไคร้ หอมแดง และพริกแหง้ ต�ำพอหยาบๆ 2. ตม้ น้ำ� ประมาณ 4 ถว้ ย ให้เดือดแลว้ ใส่เคร่อื งแกงลงไป ตม้ ต่อรอใหเ้ ดือดพล่าน 3. ใสเ่ นอ้ื ปลาลงไปตม้ จนสกุ 4. รอให้น�ำ้ เดือดอกี ครั้ง แล้วปรงุ รสดว้ ยนำ�้ ปลาร้า น�้ำปลา ให้มีรสเค็มน�ำ แลว้ ใส่ยอดหูลงิ ต้มจนสกุ ใหร้ ส เปร้ยี วออกมาจากใบ 5. ใสใ่ บผักอีตูไทยลงไป คนให้กลน่ิ ออก ปดิ ฝาหมอ้ ทนั ทีแลว้ ปลงลง หมายเหตุ หากไมส่ ามารถหายอดหูลงิ ได้ สามารถใชม้ ะขามเปยี ก หรือผักท่มี ีรสเปรย้ี วแทนได้ เชน่ ใบ หรือ ผลหมากกะดนั /มะดนั , ใบสม้ โมง/ชะมวง หรือ ยอดมะขาม เปน็ ตน้ สตู รอาหารโดย นางประมลู สรุ าวุธ (5)

ผลออ่ น ดอกเพศผู้

ป่าบ่งุ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 333 เสียว ชื่อทอ้ งถน่ิ อนื่ : เสว (นครราชสีมา), เสยี ว เสยี วใหญ่ (อสี าน), ตระซลี ร�ำซลี (เขมร-อ.ทา่ ตมู สรุ นิ ทร)์ , ตะเซว (สว่ ย-อ. ท่าตมู สุรินทร์) Phyllanthus angkorensis Beille (วงศ์ Phyllanthaceae) ชอื่ พอ้ ง : Phyllanthus polyphyllus Willd. var. siamensis Airy Shaw ไมพ้ ่มุ สงู 2-5 ม. เปลอื กเรยี บสนี ำ้� ตาลอมเทา แตกก่ิงตำ่� จำ� นวนมาก ตามก่งิ ออ่ น และกา้ นใบมีขนสัน้ ใบเดี่ยว เรยี งสลับระนาบเดยี ว และมีขนาดเลก็ คลา้ ยใบ มะขามป้อม (Phyllanthus emblica) รปู ขอบขนานหรือ รูปรแี ละมักจะโคง้ เล็กน้อย ยาว 8-11 มม. ปลายใบมน-แหลม และหยักเปน็ ตง่ิ สั้น ขอบใบงุม้ ลง โคนใบมน- แหลม ผวิ ใบเกลยี้ ง ดา้ นบนมนั เงา เนือ้ ใบหนา กา้ นใบสน้ั มาก หรือยาวไมเ่ กิน 0.7 มม. ดอกแยกเพศแตอ่ ยู่ บนต้นเดยี วกัน ออกเปน็ กระจุกตามซอกใบ ห้อยลงดา้ นลา่ ง ดอกเพศผู้มีก้านดอกยาว 10 มม. ดอกเพศเมยี มี ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลบี เล้ยี ง 5-6 กลีบ ไม่มกี ลบี ดอก ดอกขนาดเลก็ มาก สีขาว เมื่อบานกวา้ ง 2-3 มม. ผลรปู ทรงกลม คลา้ ยผลมะขามป้อมแตม่ ขี นาดเลก็ กวา่ มาก กว้าง 5 มม. ผิวเรยี บเกลี้ยง สเี ขียวออ่ น เห็นเสน้ แบง่ ชอ่ งผลตามแนวยาวสขี าว 6 เส้น มกี ลีบเลีย้ งตดิ ท่ีขว่ั คงทน ผลแก่แห้งแตกตามแนวยาว 3 สว่ น มเี มล็ดแขง็ รูปสามเหล่ียม ยาว 2 มม. มี 6 เมลด็ /ผล ลักษณะท่ัวไปของใบตน้ เสยี ว จะคล้ายกับ มะขามปอ้ ม มาก แตผ่ ลของมะขามปอ้ มจะมขี นาดใหญ่ กวา้ ง 2-3 ซม. หากไมพ่ บผล ใหส้ ังเกตที่ มะขามป้อมมักจะมีลำ� ตน้ เดย่ี วต้ังตรงและแตกก่งิ ทด่ี ้านบน (ไมแ่ ตกกงิ่ ต่�ำ) เปลือกบนลำ� ต้นมะขามปอ้ มจะแตกรอ่ นเป็นสะเก็ดบางๆ และเป็นหลมุ ตน้ื ๆ ถน่ิ อาศยั ขึน้ ตามทีโ่ ล่งแจ้ง ทุ่งนา ในเขตที่ราบนำ�้ ทว่ มถึง รมิ น�้ำ หรอื ชายปา่ บุง่ ป่าทาม ชอบขึ้นบนดินรว่ นปน ทราย-ดนิ ทราย ที่ความสูงจากระดับนำ�้ ทะเลไมเ่ กนิ 300 ม. ออกดอกชว่ งเดือนมิถุนายน-กมุ ภาพนั ธ์ ผลแก่ ตลุ าคม-พฤษภาคม กระจายพนั ธุ์ พบได้งา่ ย กระจายอยทู่ ัว่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ยกเวน้ ในเขตล่มุ น้�ำโมง) และในภาคตะวนั ออก เขตล่มุ น้ำ� บางปะกง ตา่ งประเทศพบในลาว และกมั พูชา การใชป้ ระโยชน์ สมนุ ไพร รากและล�ำตน้ เขา้ ยาอน่ื ๆ ตม้ น�ำ้ ดื่มรกั ษาโรคเบาหวาน (19).--- ล�ำต้น ต้มนำ้� ด่ืมแกป้ ัสสาวะขดั เป็น ยาขับปสั สาวะ (26).--- กาฝากของตน้ เสยี ว ฝนผสมนำ้� มะนาว ถอนพษิ สัตว์กดั ตอ่ ย (12).--- เช้อื เพลิง ล�ำตน้ และก่งิ ใชท้ ำ� ฟนื หรอื เผาถา่ น มคี ุณภาพดมี าก (6, 9, 11, 12, 15, 18, 19, 20, 23, 25).--- ก่อสร้างหรอื เครอ่ื งมือ เนื้อไม้แขง็ แรงและเหนียว ใชท้ ำ� ด้ามเคร่ืองมือกสิกรรม (12).--- วัสดุ ไม/้ ก่ิง ท�ำค้างปลูกผกั (11, 15, 17).--- กงิ่ ทำ� ไม้เรียวตีเด็ก ววั -ควาย (17, 21, 27).--- กง่ิ มีเน้ือเหนียว ใชท้ �ำขอบตะกรา้ กงตุ้ม กงลอบ กงไซ คันเบ็ด ทำ� แรว้ ดกั นก (1, 4, 12, 18, 20, 23).--- ก่งิ นำ� มาสมุ /ใส่ในเครอื่ งมือจับปลา ลอ่ ให้ปลาเข้ามาอาศัย (11).--- เนอ้ื ไม้ ใช้ทำ� ตีนกระตบ๊ิ ขา้ ว (23).--- ถ่านของไม้เสยี ว บดให้ละเอยี ดผสมดนิ ปะสวิ ใส่บัง่ ไฟ (17).--- ด้านอื่น ปลูกตามคันนา หรอื เปน็ แนวร้ัวประดบั สวน รากช่วยยึดดินปอ้ งกันการพงั ทลายไดด้ ี และชว่ ยป้องกัน ลม (8, 9, 11)

ผลใกล้แก่ ผลอ่อน

ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 335 เสียวน้อย ช่ือทอ้ งถนิ่ อืน่ : ตะไครห้ างสงิ ห์ (สุพรรณบุรี), ไครห้ างนาค เสียวน้�ำ (ปราจีนบุร)ี , เสียวนอ้ ย เสยี วน�้ำ เสียวเครือ (ขอนแก่น, อุดรธานี, หนองคาย, สกลนคร, นครพนม, อ.เชยี งขวญั รอ้ ยเอ็ด), ไคร้หางนาค เครือไครห้ างนาค (ยโสธร, อ.ทุ่งเขาหลวง รอ้ ยเอด็ , ไทลาว-อ.ศรีสงคราม นครพนม), ใต้ใบ ปกี ไก่ (อ.เมือง มหาสารคาม), หมากใตใ้ บ เครือไคร้ (ไทญอ้ -อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม), นำ้� แกวง่ (ภูไท-อ.พรรณานิคม สกลนคร), ตระซีลตกิ๊ ตะโหนดไตร (เขมร-อ.ทา่ ตมู สรุ ินทร์), ตะเซวนำ�้ (สว่ ย-อ.ท่าตมู สรุ นิ ทร์) Phyllanthus taxodiifolius Beille (วงศ์ Phyllanthaceae) ชื่อพอ้ ง : - ไม้พมุ่ รอเลอื้ ย ยาวถงึ 1.5 ม. กิ่งอ่อนและปลายกง่ิ เปน็ เหลย่ี ม สีน้�ำตาลแดง เกล้ยี ง มหี ใู บรูปใบหอก ยาว 1 มม. ตดิ คงทน ใบเดี่ยว เรยี งสลับระนาบเดยี ว คล้ายใบของตน้ เสยี ว (Phyllanthus angkorensis) แต่มีขนาด เล็กกวา่ รูปขอบขนาน ยาว 3-5 มม. กว้าง 0.5-1 มม. ปลายใบแหลมและมตี ิ่งหนามสนั้ โคนใบมนและเบี้ยว ผิวใบเกลีย้ ง ไมม่ ีก้านใบ ดอกแยกเพศแต่อยบู่ นตน้ เดียวกัน ดอกออกเด่ยี ว ตามซอกใบ ห้อยลง มีขนาดเล็กมาก เมอื่ บานกว้าง 1 มม. สีชมพู-แดง ไม่มีกลีบดอก กา้ นดอกยาว 2 มม. ดอกเพศผู้มีกลบี เลยี้ ง 4 กลีบ ดอกเพศเมยี มี กลบี เลี้ยง 6 กลบี ผลรปู ทรงกลมหรอื รี กว้าง 4-7 มม. ปลายกลมและมีรอยบ๋มุ ทปี่ ลายเลก็ นอ้ ย ผวิ เรียบเกลย้ี ง สีเขยี วออ่ น มเี ส้นแบ่งช่องผลตามแนวยาว 6 เส้น กลีบเลยี้ งติดคงทนท่ีขั่ว ผลใกลแ้ กส่ แี ดงอมชมพู มเี มลด็ รปู สามเหลี่ยม ถ่นิ อาศัย ขึ้นตามทโ่ี ลง่ แจง้ ในเขตพ้ืนทบี่ งุ่ ทาม รมิ นำ้� หรือชายป่าบงุ่ ปา่ ทาม ที่ความสูงจากระดบั น้�ำทะเลไมเ่ กิน 700 ม. ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-มถิ ุนายน ผลแก่เดือนเมษายน-ตุลาคม กระจายพันธ์ุ พบไดง้ า่ ยในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ภาคกลางจะพบในเขตลุ่มน้�ำเจา้ พระยาตง้ั แตจ่ ังหวดั นครสวรรคล์ งมา และภาคตะวันออกพบในลุม่ น้�ำบางปะกง ซ่งึ ทัง้ สองภาคคอ่ นขา้ งหายาก ตา่ งประเทศพบในลาว กมั พชู า และเวยี ดนามตอนใต้ การใช้ประโยชน์ สมุนไพร ราก ตม้ นำ้� ดื่มแก้ปวดทอ้ งจากโรคกระเพาะ แผลในกระเพาะ (4).--- รากเส่ียวน้อย เข้ายาคู่กับ ราก ดปี ลาข่อ/ไครห้ างนาค (Sauropus heteroblastus) หรือ เสยี ว/เสียวใหญ่ (Phyllanthus angkorensis) หรอื ชมุ เหด็ เทศ (Senna alata) ตม้ น�้ำด่มื แกโ้ รคหนองใน (24). --- ใบ ตากแดดนำ� มาสบู แกโ้ รครดิ สดี วงจมกู (17).- -- ลำ� ตน้ และราก ต้มนำ้� ด่มื แกท้ ้องร่วง (20).--- ลำ� ต้นและใบ นำ� มาแชน่ ้�ำให้เด็กอาบรกั ษาโรคซาง หรือต้มน�้ำดืม่ แกเ้ บาหวาน (11).--- เถาและราก ตม้ นำ้� ดมื่ แกโ้ รคเหนบ็ ชา (19, 27).--- เถาและราก ต้มน้�ำดม่ื แก้ปวดเมอ่ื ยตาม ร่างกาย (26).--- วสั ดุ เถา ใชท้ ำ� เชือกร้อย (เหงอื ก) ปลา (4, 13).--- เถา ใช้ทำ� โครงสวิง กงลอบ กงไซ ค้วิ ของ เครื่องจักสาน/ขอบกระตบิ๊ ข้าว (13, 15, 19, 23, 27).--- กิ่ง มเี น้อื เหนียว รูดเอาใบออก ใชท้ �ำไม้กวาดหยากไย่ (23).--- ใบ ขย้ใี นน�้ำทำ� ใหเ้ กดิ ฟอง ใช้แทนผงซกั ผ้า (11).--- ก่ิงและลำ� ตน้ น�ำมามดั รวมกันใช้ถว่ งและแต่งอ�ำพราง ตมุ้ จบั ปลาให้ปลาเขา้ มาอาศยั และเข้าตุ้ม (11)

ดอกเพศเมีย ผลออ่ น

ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 337 เครือตายดิบ ชอ่ื ทอ้ งถิ่นอืน่ : สีฟนั ปลา (อ.ชมุ พวง นครราชสีมา), เครือตายดิบ ไครห้ างนาค (อบุ ลราชธาน,ี ศรีสะเกษ, นครพนม), ไคร้ปลากัง้ (เมืองยโสธร ยโสธร), เครอื เสยี วนำ�้ (อ.ศรีสงคราม นครพนม), ไครห้ างนาคใหญ่ (อ.เจรญิ ศิลป์ สกลนคร), เครือส่าเหล้า (อ.บ้านดุง อดุ รธานี) Phyllanthus harmandii Beille (วงศ์ Phyllanthaceae) ชื่อพ้อง : - ไมเ้ ลอ้ื ยหรอื พุ่มรอเล้ือย ยาว 2-4 ม. เปลอื กเรยี บสีนำ้� ตาล มีช่องอากาศกระจาย ตามกิ่งออ่ นและกา้ นใบมี ขนสัน้ ยอดและใบออ่ นมักมสี ีม่วงแดง (ไม่มรี สขม) ใบเด่ียว เรยี งสลบั รปู ไข่กลับ ยาว 1-2 ซม. ปลายใบมน- กลม ขอบใบงมุ้ ลง โคนใบมน-แหลม ผิวด้านบนมนั เงา เกล้ียง-มีขนประปราย ดา้ นลา่ งเกล้ยี ง สีออกเขียวนวล เนื้อใบหนา มีเสน้ แขนงใบขา้ งละ 5-7 เส้น ก้านใบสนั้ มาก ยาว 0.5-1 มม. บวมหนา ดอกแยกเพศแต่อยู่บนตน้ เดยี วกนั ออกเปน็ กระจกุ ตามซอกใบใกล้ปลายก่ิง สีเขยี วอมเหลอื ง ดอกมขี นาดเลก็ มาก เม่อื บานกว้าง 3-4 มม. มีกลบี เล้ยี ง 5-6 กลบี ไม่มีกลีบดอก ก้านดอกยาว 2 มม. ผลรูปทรงกลมแกมรปู รี กวา้ ง 6 มม. ยาว 6-8 มม. ผวิ เรยี บเกลย้ี ง สีเขียวออ่ น เหน็ เสน้ แบ่งชอ่ งผลตามแนวยาวสีขาว 6 เสน้ มีร่องตามแนวยาวเล็กนอ้ ย 3 รอ่ ง มี กลีบเลย้ี งตดิ ทข่ี ว่ั ผลคงทน ผลแกแ่ ห้งแตกตามแนวยาว 3 สว่ น มีเมล็ดแข็งรูปสามเหลี่ยม 6 เมลด็ /ผล ถิ่นอาศัย ขึน้ ตามทโ่ี ล่งแจ้ง ทุ่งนา ในเขตพ้ืนทีบ่ งุ่ ทาม ชายป่าบุ่งป่าทาม หรอื ตามรมิ นำ้� ทค่ี วามสูงจากระดบั น�้ำทะเลไม่เกิน 300 ม. ในช่วงฤดแู ลง้ มกราคม-เมษายน เถาของเครือตายดบิ มักจะผลดั ใบ แล้วจะแตกใบและ หนอ่ ใหมช่ ่วงเดือนพฤษภาคม ออกดอกช่วงเดอื นพฤษภาคม-มถิ ุนายน ผลแก่เดือนมถิ นุ ายน-สงิ หาคม กระจายพนั ธุ์ พบไดง้ ่ายกระจายอยู่ทัว่ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ยกเว้นในเขตลุ่มน้�ำโมง ตา่ งประเทศพบในลาว และกมั พูชา การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น เป็นผักสด จ้มิ นำ�้ พรกิ หรือกนิ แกลม้ ลาบ ก้อย ปิ้งปลา (8, 17, 23).--- สมุนไพร ทุกส่วน ตากแห้ง ตม้ น้�ำดมื่ รักษาอาการจกุ เสียด แน่นทอ้ ง (8).--- วัสดุ เถาใช้ท�ำกงลอบ กงไซ กงตมุ้ ขอบตะกร้า ขอบ- กระบงุ โดยขูดเอาเปลอื กออก ดัด แลว้ ผง่ึ ใหแ้ หง้ กอ่ นนำ� ไปใช้ (1, 8, 9, 15, 17, 18, 19, 20, 23, 24).--- ใบและ เถา ตำ� แลว้ ผสมเลือดวัว-ควาย ใช้ยอ้ มแห ทำ� ใหแ้ หแข็งทนทาน (1, 6).--- ทงั้ ต้น น�ำมามัดรวมกนั ใช้ถว่ งและแต่ง อ�ำพรางโดยรอบเครอื่ งมือจับปลา ล่อใหป้ ลาเข้ามาอาศัยแล้วตดิ กับดัก (1, 23)

ดอกเพศเมีย ผลสกุ ดอกเพศผู้ เถาอายมุ าก

ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 339 อ�ำไอ่ ชอ่ื ทอ้ งถนิ่ อ่ืน : กา้ งปลาเครือ (ภาคกลาง), กา้ งปลาขาว (อ่างทอง, เชียงใหม)่ , กระออง (ประจวบคีรขี ันธ์), กา้ งปลาแดง (สุราษฎรธ์ าน)ี , ก้างปลาแดง ฟันฟืม ตะไครห้ างนาค (นครราชสีมา), อำ� ไอ่ เครืออ�ำไอ่ (อีสาน), กา้ งปลา หมากข้เี หล้า (ไทญอ้ -อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม), พะเนยเปรี๊ยบ (เขมร-อ.ทา่ ตมู สุรินทร)์ , มะก้า (ส่วย- อ.ท่าตูม สุรนิ ทร์) Phyllanthus reticulatus Poir. (วงศ์ Phyllanthaceae) ชอ่ื พอ้ ง : - ไม้เล้ือยหรือพุ่มรอเลื้อย ยาว 2-10 ม. เปลอื กเถาแกเ่ รียบ-แตกสะเก็ดเล็กน้อย สีน�้ำตาล กงิ่ มีชอ่ งอากาศ กระจาย ตามกิง่ อ่อน ช่อดอกและก้านใบมีขนส้ันหนาแน่น-เกอื บเกล้ียง ใบเดยี่ ว เรียงสลบั ระนาบเดียว รปู ไข่ รปู รี หรือขอบขนาน ยาว 1.5-3 ซม. ปลายใบมน-แหลมหรือมีติง่ ส้นั โคนใบแหลม-เว้าเลก็ นอ้ ย ผิวใบด้านบน มนั เงา ด้านลา่ งสเี ขยี วนวล มีขนประปราย-เกลีย้ งทงั้ สองดา้ น เน้อื ใบบางและออ่ นนุม่ มเี ส้นแขนงใบขา้ งละ 5-9 เสน้ กา้ นใบส้นั มาก ยาว 2-3 มม. บวมหนา มกั มสี มี ่วงแดง ดอกแยกเพศแตอ่ ยูบ่ นตน้ เดียวกัน ออกเปน็ กระจกุ ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกห้อยลง มขี นาดเล็กมาก เมื่อบานกว้าง 3-5 มม. มีกลบี เลยี้ ง 5-6 กลบี สีแดง-ชมพู ปลายกลีบสขี าว ไม่มกี ลบี ดอก ก้านดอกเพศผู้ยาว 3-6 มม. กา้ นดอกเพศเมียยาว 2-3 มม. ผลรูปทรงกลมแป้น กวา้ ง 5-9 มม. ยาว 4-6 มม. ปลายทง้ั สองด้านบมุ๋ ผิวเรยี บเกลยี้ ง มีเส้นแบ่งชอ่ งผลตามแนวยาว 8-10 เสน้ กลบี เลย้ี งติดคงทนท่ขี ่วั ผล ผลแกม่ ีเน้ือนมุ่ ฉ�่ำน�ำ้ สดี ำ� อมมว่ ง มกั มนี วลขาว (ไมแ่ ตกอา้ ) เมล็ดรปู สามเหลีย่ ม มี 8-16 เมล็ด/ผล ถน่ิ อาศัย ขึ้นตามทโ่ี ล่งแจง้ ทุ่งนา รมิ นำ�้ ในเขตทีร่ าบนำ้� ท่วมถงึ และตามชายปา่ บงุ่ ป่าทาม หรอื ตามที่รกร้าง ที่ ความสูงจากระดบั น้�ำทะเลไม่เกิน 800 ม. ออกดอกและตดิ ผลตลอดท้ังปี กระจายพนั ธ์ุ พบไดง้ า่ ย กระจายอยู่ทว่ั ประเทศ มักพบเป็นวัชพืชขน้ึ ตามทร่ี กร้างในเขตชมุ ชน ต่างประเทศพบใน เขตร้อนและก่งึ เขตร้อนของทวปี แอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลยี การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น รสขมเล็กน้อย เปน็ ผักสด จมิ้ นำ�้ พรกิ หรอื กินแกล้มลาบปลา (2).--- ผลสุก เปน็ ผลไม้ รส หวานอมฝาด (22, 26).--- สมุนไพร ทกุ สว่ น ตากแหง้ ต้มนำ�้ ดื่มแก้กินผิดสำ� แดงในแม่ลกู ออ่ น (1).--- ตน้ /ก่ิง น�ำมาฝนหรือทบุ แล้วอม ชว่ ยดับกลิน่ ปาก (27).--- เถา แชน่ �้ำอาบรักษาโรคซาง (26).--- วัสดุ ใบและกิ่ง ขย/้ี ตำ� แลว้ ผสมเลอื ดวัว/ควาย ให้เป็นสีดำ� ใชย้ ้อมแห ตากแดดใหแ้ หง้ แล้วน่งึ อีกครั้ง ช่วยท�ำใหแ้ หแขง็ แรง ไม่พันกนั (1, 8, 12, 18, 20, 21) ).--- ใบอ�ำไอ่ + เครอื ตดหมา น�ำไปต�ำแลว้ คน้ั เอาน�้ำผสมกับเลือดวัว/ควาย น�ำมายอ้ มแห ท�ำให้แหแข็งแรง (23).--- ลำ� ต้นหรอื เถาท่อี ายุมาก มีเน้ือไมแ้ ขง็ มอดไมก่ นิ ใชท้ ำ� ขอบเครอ่ื งจักสาน กงลอบ กงไซ (2, 19, 22, 24, 25, 26).--- ผลสุก ค้ันเอานำ้� สมี ่วงด�ำ ใช้ทาเล็บมอื หรือเขยี นคิ้ว (11).--- ดา้ นอื่น ผลสุกเป็น อาหารนก (12, 25)

ดอกเพศเมยี ดอกเพศผู้

ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน 341 ดีปลาข่อ ชือ่ ท้องถน่ิ อนื่ : ไคร้หางนาค ไคร้ทาม ดปี ลาข่อ (ไทญอ้ -อ.ศรีสงคราม นครพนม), เพย้ี ปลา ผักขป้ี ลา (ไทลาว- อ. ศรสี งคราม นครพนม), ทะเมนไตร พะเนยเปรี๊ยบ (เขมร-อ.ท่าตมู สรุ ินทร)์ , มะก้า (ส่วย-อ.ท่าตูม สุรินทร)์ Sauropus heteroblastus Airy Shaw (วงศ์ Phyllanthaceae) ชอ่ื พ้อง : - ไม้พ่มุ รอเล้ือย ยาวได้ถงึ 2 ม. ใบออ่ นมีรสขมอมหวาน กิง่ และกิ่งอ่อนเกลย้ี ง กง่ิ กลมและมสี นั 2 เส้น กิง่ อ่อน สีเขยี ว มกี ่งิ แขนงที่แตกจากเถา/ลำ� ต้นส้ันมาก ยาวไม่เกิน 5 มม. มหี ใู บรปู สามเหลี่ยม ยาว 1 มม. ติดคงทน ใบเดย่ี ว เรียงกระจุก 2 ใบทีป่ ลายกิง่ แขนง รปู ไขก่ ลับ ยาว 1-3 ซม. ปลายใบกลม-เวา้ บุ๋ม ขอบใบบดิ เป็นคล่นื และมักมีสแี ดง โคนใบรูปล่มิ ผวิ ใบเกล้ียง ดา้ นล่างสีเขียวนวล เส้นแขนงใบขา้ งละ 4-6 เส้น นนู ชัดเจนทผี่ ิวใบ ด้านล่าง ก้านใบยาว 1 มม. ดอกแยกเพศแตอ่ ยูบ่ นตน้ เดยี วกนั ออกเดี่ยวหรือเปน็ กระจุกตามซอกใบหรือปลายกง่ิ ดอกมีขนาดเล็กมาก มีกลีบเลี้ยง 6 กลีบ รปู ไขก่ ลบั ปลายกลม-เว้า ไมม่ กี ลบี ดอก ดอกเพศเมีย เม่ือบานกวา้ ง 3-5.5 มม. สีเขียวออ่ นหรอื มขี อบกลีบสแี ดง กา้ นดอกยาว 1.5 มม. ดอกเพศผมู้ ีขนาดเลก็ กวา่ สเี ขยี วออ่ นหรือสี แดงเขม้ กา้ นดอกยาว 5-5.5 มม. ผลรูปทรงไข่กวา้ งหรอื กลมแปน้ กวา้ ง 8-9 มม. ยาว 5-10 มม. สีเขียวอ่อน มกี ลีบเลย้ี งติดคงทน มีลักษณะท่วั ไปคล้าย เครอื ตายดบิ (Phyllanthus harmandii) แตกต่างกนั ที่เครอื ตายดิบจะมกี ิง่ ท่ีมีขน สนั้ และก่งิ ไมม่ สี นั ขอบใบเรียบและงุ้มลง และใบไม่มีรสชาตขิ มเหมอื น ดปี ลาข่อ ถนิ่ อาศยั ขึ้นตามท่ีโลง่ แจง้ ในเขตพ้ืนท่บี งุ่ ทาม รมิ นำ�้ หรอื ชายปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ทค่ี วามสูงจากระดับน�้ำทะเลไมเ่ กิน 200 ม. ออกดอกช่วงเดือนพฤษภาคม-กนั ยายน ผลแก่สงิ หาคม-ธันวาคม กระจายพนั ธุ์ คอ่ นข้างหายาก พบเฉพาะในลุม่ นำ้� สงคราม และลุ่มนำ�้ มลู ตอนลา่ งตั้งแตจ่ งั หวดั สุรินทร์ ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี ต่างประเทศพบทีล่ าว กัมพูชา และเวียดนามตอนใต้ การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น รสขมอมหวาน เปน็ ผักสด จ้มิ นำ�้ พรกิ กินแกลม้ ลาบ ก้อย ปงิ้ ปลา หรอื ใสใ่ นอ่อมกบ ออ่ มปลาไหล (18, 19, 20, 21).--- สมนุ ไพร ทั้งตน้ ตม้ น�ำ้ ดืม่ แก้ทอ้ งเสยี (19).--- วสั ดุ เถา ใช้ทำ� กงลอบ กงไซ (4, 9).--- เถา ใช้ท�ำ ขอบเคร่ืองจกั สาน เช่น ค้วิ ของกระตบ๊ิ ขา้ ว (19) ผลออ่ น

แส้หนามทโี่ คนกอ หนามตามข้อคล้ายตนี ไก่ ใบยอดกาบ หูกาบ กาบหุม้ ล�ำ

ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 343 ไผ่ป่า ชือ่ ท้องถิน่ อ่นื : ซางหนาม (ไทใหญ่-ภาคเหนือ), ไผป่ ่า ไผห่ นาม (ท่ัวไป, ภาคกลาง, อีสาน), ระไซ ระไซเปรย (เขมร-สุรนิ ทร์), ดอ๊ กซวง (สว่ ย-อ.ท่าตมู สุรนิ ทร์) Bambusa bambos (L.) Voss (วงศ์ Poaceae) ชอื่ พอ้ ง : - ไม้พุม่ กอสงู 8-35 ม. ลำ� ต้นขนึ้ เป็นกออดั แนน่ มมี ากถงึ 50 ล�ำ/กอ ลำ� แกป่ ลายลำ� โนม้ ลงแผ่ออกรอบกอ (ไม่จรด พ้นื ดนิ ) ลำ� มขี นาดกวา้ ง 5-15 ซม. ปล้องยาว 15-45 ซม. ล�ำเกลยี้ งมันเงา สเี ขยี วเข้ม ล�ำอ่อนมีนวล กิ่งสเี ขียว หรือสีเหลือง มีหนามยาวถงึ 2 ซม. แตกก่ิงตลอดลำ� กง่ิ ช่วงโคนกอเปน็ แส้หนาม ยาวได้ถงึ 2 ม. มีหนามตาม ข้อแหลมคมและมักจะโค้งกลบั มี 3 อนั /ข้อ คลา้ ยตนี ไก่ หนามอันกลางยาวท่ีสุด ยาวไดถ้ งึ 5 ซม. กาบหุม้ ลำ� (culm sheath) สีเหลอื งอมส้ม-สม้ อมนำ้� ตาล มีลายเสน้ สีม่วงดำ� ตามแนวยาว ผิวเกลี้ยงทง้ั สองด้าน มีขน เฉพาะโคนกาบทผี่ วิ ด้านนอก ใบยอดกาบ (sheath blade) รูปโดมแกมรูปสามเหลีย่ ม-รปู ไข่ หกู าบ/ครบี กาบ (auricle) ของกาบหุม้ ลำ� เปน็ ครบี บางและมกั จะบิดเป็นคล่ืน ที่ขอบครีบไมม่ ขี น แตด่ ้านในมีขนสีดำ� ล้นิ กาบ/ กระจัง (ligule) เปน็ แถบบางเตี้ยๆ สงู 1-2 มม. ขอบมีขน ใบเดย่ี ว เรยี งสลบั รูปใบหอก-รปู แถบ กว้าง 0.5-1.5 ซม. ยาว 5-15 ซม. ปลายใบเรยี วแหลม โคนใบตดั -เวา้ เล็กน้อย ผิวใบด้านบนเกลีย้ ง มีขนส้นั ด้านลา่ ง ขอบใบมขี น สน้ั มเี ส้นแขนงใบตามแนวยาว 4-6 เสน้ ในแตล่ ะข้างของแผ่นใบ ก้านใบยาวไม่เกิน 5 มม. หูกาบของใบมีขนแขง็ ช่อดอกยอ่ ยเทียม (pseudospikelet) ยาว 1-2 ซม. มดี อกย่อย 3-6 ดอก ถนิ่ อาศัย ชอบขน้ึ อยู่ตามริมน้�ำ ทร่ี าบน้ำ� ทว่ มถึง จนถึงเนนิ เขาทีม่ ชี ้ันดินลึก ท้ังในปา่ ดงดบิ และปา่ เบญจพรรณ ในป่า บุ่งป่าทามจะขนึ้ ตามเนินดินรมิ ฝ่งั แม่น้�ำ หรอื โคกทีม่ ีระดับนำ�้ ทว่ มขงั ไมย่ าวนาน ข้นึ ที่ความสูงจากระดบั น้�ำทะเล ไม่เกิน 500 ม. กระจายพันธุ์ พบได้ง่าย ท่วั ประเทศ ตา่ งประเทศพบในเขตร้อนของภมู ิภาคเอเชยี ใต้ เมียนมาร์ ลาว เวยี ดนาม กมั พูชา คาบสมทุ รมาเลเซีย และเกาะชวา การใชป้ ระโยชน์ อาหาร หนอ่ และแขนง ต้มหรอื นงึ่ กนิ จิม้ น�้ำพริก หรอื แกงหน่อไม้ (3, 4, 6, 9, 24, 25).--- สมุนไพร ตาไผ่ เขา้ ยาอื่นๆ ทัง้ 9 ตา (ตาพืชทั้ง 9 ชนดิ ) แกโ้ รคมะเร็ง โรคตบั (7).--- วัสดุ เนอ้ื ไม้ ทำ� เครือ่ งมอื จกั สาน ตอกมดั รวงขา้ ว ท�ำไมค้ าน ไม้ขากระดงุ้ (ยอจบั ปลา) เครือ่ งมอื จับปลา ทำ� รว้ั บ้าน/สวน และกระบอกข้าวหลาม (4, 9, 24, 25).--- ดา้ นอ่นื ทั้งตน้ เป็นอาหารชา้ ง, ใบและปลายกง่ิ เปน็ อาหารวัว-ควาย (3) ขา/ยามขา เครื่องมอื จบั ปลาชนดิ หน่ึง, แมน่ ้�ำสงคราม จักสานตุ้มจับปลา และสานตะกร้า

ลจงึ�ำมตลี้น�ำไผท่ก่ีทะอซดะเลจะ้ือยยดืลยงมาวาขจรน้ึ ดตพาม้นื ระดับนำ�้ หลงั นำ้� แห้ง กาบหุ้มลำ� ชอ่ ดอกย่อยเทยี ม ใบ ไผก่ ะซะในช่วงฤดูน้�ำก�ำลังหลากเขา้ ท่วมพนื้ ทีบ่ ุ่งทาม

ป่าบงุ่ ป่าทาม ภาคอสี าน 345 ไผ่กะซะ ชอื่ ท้องถนิ่ อืน่ : ไผ่กะซะ ไผท่ าม (นครพนม, อ.โพธิ์ตาก อ.ศรีเชียงใหม่ หนองคาย) (วงศ์ Poaceae) Bambusa cf. flexuosa Munro ช่ือพ้อง : - หมายเหตุ : การเติมอักษร cf. ไวห้ นา้ ค�ำระบชุ นดิ หมายถึงผศู้ ึกษายังไม่แนใ่ จในชอื่ วิทยาศาสตร์ แต่ลงความเหน็ ว่า มคี วามคล้าย/นา่ จะเปน็ ชนิด Bambusa flexuosa Munro มากท่สี ุด ไมพ้ ุ่ม, ไผ่กะซะ มีความคล้ายคลึงกบั ไผ่ปา่ (Bambusa bambos) มาก มีความแตกตา่ งที่ ไผ่กะซะเป็น ไมพ้ ่มุ รอเลือ้ ย กอสูง 4-8 ม. ปลายล�ำโนม้ ลงและแผ่ออกรอบกอจนจรดพืน้ ดนิ หรือทอดเล้อื ย ลำ� ตน้ ขน้ึ เป็นกอ อัดแน่น-ค่อนข้างกระจาย มีไดถ้ งึ 100 ลำ� /กอ โคนกอกวา้ งได้ถงึ 5 ม. ล�ำยาว 6-15 ม. ล�ำกวา้ ง 2-5 ซม. ปลอ้ ง ยาว 8-30 ซม. กาบหุ้มล�ำสเี หลืองอ่อน ใบยอดกาบหุ้มล�ำรูปใบหอก-สามเหลย่ี ม หกู าบเป็นครบี บางไม่บดิ เปน็ คลน่ื ท่ีขอบครีบหยัก-เรียบ และไมม่ ขี นท้ังดา้ นนอกและดา้ นใน ลิน้ กาบเปน็ แถบบาง สงู 4-5 มม. ขอบ หยกั มาก-นอ้ ย ใบของไผก่ ะซะคอ่ นขา้ งสั้นกว่าไผป่ า่ มขี นาดกวา้ ง 0.5-1.3 ซม. ยาว 3-8 ซม. ผิวใบดา้ นลา่ งและ ขอบใบมีขนสั้น (ตวั อยา่ งทลี่ ุ่มนำ้� โมงผวิ ใบดา้ นล่างเกลี้ยง) มเี สน้ แขนงใบตามแนวยาว 3-5 เส้นในแตล่ ะขา้ งของ แผ่นใบ หูกาบของใบมขี นครยุ ลักษณะอืน่ ๆ ท่สี ำ� คัญของ ไผก่ ะซะ ไดแ้ ก่ ช่อดอกย่อยเทยี ม ยาว 2-3 ซม. มดี อกยอ่ ย 8-12 ดอก เกสรเพศผู้มี 5-6 เกสร อบั เรณูรูปขอบขนาน ยาว 3-4 มม. สีแดงอมมว่ ง ยอดเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก เป็น พขู่ นนก สีแดงอมม่วง ถ่ินอาศัย ไผ่กะซะจะขึ้นอยูต่ ามที่โลง่ แจง้ ในเขตพน้ื ทบ่ี งุ่ ทาม โดยเฉพาะตามชายป่าหรอื ป่าบงุ่ ปา่ ทามทเ่ี ส่ือมโทรม จะมไี ผก่ ะซะขนึ้ หนาแนน่ ไผ่กะซะจะชอบขน้ึ ตามพื้นทีล่ ุ่มตำ่� มีนำ�้ ท่วมขังยาวนานมากกวา่ ถ่นิ อาศัยของไผป่ ่า ทีจ่ ะไมท่ นทานต่อนำ้� ทว่ มขังได้ยาวนานเทา่ ขนึ้ ทค่ี วามสงู จากระดับน้�ำทะเลไม่เกนิ 200 ม. จัดว่าเป็นไมเ้ บกิ น�ำ ของป่าบงุ่ ป่าทามในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนบน กระจายพนั ธ์ุ พบได้งา่ ยในเขตลมุ่ นำ�้ สงครามและล่มุ น�ำ้ โมง ยังไม่พบในทอี่ ื่นๆ ของประเทศไทย ต่างประเทศพบใน จีนตอนใต้ เวียดนาม และลาว การใชป้ ระโยชน์ อาหาร หนอ่ และแขนง ต้มแลว้ น�ำมาแกง จ้มิ น�ำ้ พริก ทำ� ซบุ หน่อไม้ (18, 19, 20, 21, 23, 26, 27).--- วสั ดุ ลำ� ต้น ใช้ท�ำหลักผูกมอง (ตาข่ายจบั ปลา) ทำ� รั้ว ทำ� ค้างปลูกผัก (18, 19, 20, 21, 23).--- เนื้อไม้ จกั สาน ท�ำตอก มดั รวงข้าว แต่มขี ้อเสยี คือเนอ้ื ไมไ้ ม่เหนยี วและมีข้อถี่ (18, 21, 23).--- ดา้ นอน่ื ใบ เป็นอาหารของววั -ควาย (23)

รวงของชอ่ ดอก มแฝานกาทน่กี ำ� 1ลังเดแอืหนง้ เห่ยี วในชว่ งปลายเดอื นสงิ หาคม หลงั นำ้� ทว่ ม แฝกทก่ี �ำลงั แห้งเหยี่ วในชว่ งปลายเดอื นมนี าคม

ป่าบุง่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 347 แฝก ช่อื ทอ้ งถ่ินอน่ื : แฝก หญ้าแฝก (ทั่วไป, อสี าน), สะเมา สะเมารนดา (เขมร-อ.ท่าตมู สรุ ินทร์), สม้ ต้า (ส่วย- อ.ท่าตูม สรุ นิ ทร์) Chrysopogon nemoralis (Balansa) Holttum (วงศ์ Poaceae) ชอ่ื พอ้ ง : Vetiveria nemoralis (Balansa) A.Camus ไม้ล้มลุกจำ� พวกหญา้ อายุหลายปี ขน้ึ เป็นกอแน่น สงู 0.5-1.5 ม. โคนกอกว้างไดถ้ ึง 50 ซม. ล�ำตน้ สั้นมากซอ่ น อยู่ในกาบใบท่โี คนกอ ใบเปน็ เส้นเรียวยาว ยาว 40-150 ซม. กวา้ ง 0.3-1 ซม. ต้งั ตรง ปลายใบเรยี วแหลม และโคง้ ลงแผอ่ อกรอบกอ ขอบใบและเส้นกลางใบชว่ งปลายใบมีหนามละเอียดคลา้ ยฟนั เลอ่ื ย (คมบาดมอื ได้) เนื้อใบหนา ผิวเกล้ียง แผน่ ใบโค้งเป็นรางน�ำ้ ตามแนวยาว และพบั จบี แบนชัดเจนทีโ่ คนใบและเปน็ กาบซอ้ นกนั แนน่ กาบใบยาว 3-4 ซม. ชอ่ ดอกแบบช่อแยกแขนง รูปทรงกรวยแหลม กา้ นชอ่ ดอกยาว 1-2 ม. รวงชอ่ ดอก สูง 15-40 ซม. กว้าง 10-15 ซม. ชอ่ ดอกย่อยเรียงรอบขอ้ คลา้ ยฉตั ร มี 10-14 ช้ัน ก้านชอ่ ดอกยอ่ ยสีเขียวออ่ น มขี นสากคาย ดอกยอ่ ยมจี �ำนวนมากและขนาดเลก็ สแี ดงอมมว่ ง มกี าบคลุมรูปรยี าว (คลา้ ยเมล็ดข้าวเปลอื ก) กว้าง 1.5-2 มม. ยาว 5-7 มม. ปลายเรยี วแหลม ผิวด้านนอกมหี นามละเอียด มีเกสรเพศผู้ 3 เกสร สแี ดงอมมว่ ง ถน่ิ อาศยั สว่ นใหญ่จะพบแฝกขึ้นอยตู่ ามทร่ี าบน�้ำทว่ มถึง ทม่ี ีน�้ำทว่ มขงั บางชว่ งของปี และมชี น้ั ดนิ ค่อนขา้ งลึก มากกวา่ 1 เมตร เชน่ ตามที่โลง่ แจง้ ในปา่ บุ่งป่าทามมกั พบขึ้นเปน็ ผนื ใหญ่ ส�ำหรับในพน้ื ท่ีดอนแฝกจะขนึ้ เปน็ กลมุ่ เล็กๆ กระจายอยูต่ ามพนื้ ท่ลี ุม่ แอ่งกระทะและเปน็ ทโ่ี ล่ง ทคี่ วามสูงจากระดับน�้ำทะเลไมเ่ กิน 800 ม. ออกดอก ชว่ งเดือนกรกฎาคม-มกราคม ตดิ ผลเดือนสงิ หาคม-กมุ ภาพันธ์ แฝกเปน็ หญา้ ท่ีทนน้�ำทว่ มขงั ได้นาน ในชว่ งฤดู น้�ำหลากทว่ มกอแฝก แฝกจะเริ่มมีใบเหลอื งแลว้ แห้งเหยี่ วไปแตไ่ ม่ตาย เมื่อนำ�้ ลดจะแตกใบใหม่ข้นึ มาเจริญเตบิ โต อีกคร้ัง ชว่ งเดอื นมนี าคม-เมษายน ใบมกั จะแหง้ เหย่ี วแล้วถกู ไฟไหม้ แล้วแตกใบใหม่ได้ทันที กระจายพนั ธ์ุ พบได้งา่ ย ท่วั ไปในเขตประเทศไทยตอนบน ในภาคใต้ค่อนขา้ งหายาก ต่างประเทศพบในลาว เวียดนาม กมั พชู า คาบสมทุ รมาเลเซีย และฟลิ ปิ ปนิ ส์ การใชป้ ระโยชน์ อาหาร หน่ออ่อน ปอกเปลอื กกินเป็นผกั สด รสหวานหอม หรอื แกงใสป่ ลา (10, 19).--- สมุนไพร ราก ทบุ แลว้ แช่นำ้� ด่มื แกไ้ อ (19).--- ราก ทุบแชน่ ำ้� ใช้เช็ดตัวลดไขใ้ นเด็กท่ีเปน็ ไข้อีสุกอไี ส (19).--- วสั ดุ ใบ มีความ เหนียว ใช้ไพหญา้ มงุ หลังคา มอี ายุการใช้งาน 1-2 ปี (4, 6, 8, 9, 19, 21).--- ดา้ นอน่ื ปลกู ป้องกันดนิ ถล่มตาม คันนาหรอื ขอบสระน้�ำ (4, 9, 10, 13).--- ปลูกเป็นอาหารช้าง (3) การไพหญา้ แฝกมงุ หลงั คา

ชอ่ ดอกย่อยเรยี งแบบรอบขอ้ /เกือบรอบขอ้ ดอกย่อย แชชบ่อน้ั ดบลอา่สงกลเยับร่อียยง กาบใบหุ้มล�ำต้น

ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 349 แซง ช่ือทอ้ งถิน่ อืน่ : แขม (ภาคกลาง), หญา้ พง (กาญจนบุร)ี , หญา้ ระก�ำ (อา่ งทอง), หญ้าแซง (ลพบุร)ี , แซง (อุดรธาน,ี สกลนคร, หนองคาย), แฝกใหญ่ (อ.กันทรารมย์ ศรสี ะเกษ) Miscanthus fuscus (Roxb.) Benth. (วงศ์ Poaceae) ช่ือพ้อง : - ไมล้ ม้ ลกุ จำ� พวกหญ้า อายุหลายปี ขึ้นเป็นกอต้งั ตรง สงู 1-3 ม. ล�ำตน้ สงู 0.7-1.3 ม. มีข้อและปลอ้ ง ปล้อง กลม กวา้ ง 0.4-1 ซม. ยาว 15-30 ซม. ใบเรยี งเวียนรอบลำ� ตน้ ตั้งขึ้น เป็นแถบเรียวยาว 25-150 ซม. กว้าง 0.4-4 ซม. ปลายใบเรียวยาว ขอบใบมีหนามละเอียดคล้ายฟนั เลื่อยคม เนื้อใบบาง ผวิ เกล้ียง แผ่นใบโค้งเปน็ รางน้�ำตามแนวยาว โคนใบแผ่กวา้ งเป็นกาบใบหมุ้ ล�ำตน้ ยาว 20-35 ซม. ขอบกาบมีขนยาวนุ่มสขี าว ช่อดอก และดอกยอ่ ยมีความคลา้ ยกบั ชอ่ ดอกของ แฝก (Chrysopogon nemoralis) กา้ นช่อดอกยาว 0.5-1.5 ม. รวงช่อดอกสงู 30-70 ซม. กวา้ ง 10-20 ซม. ชอ่ ดอกยอ่ ยเรียงรอบข้อ/เกือบรอบขอ้ คล้ายฉัตร มี 10-14 ชั้น ใน จำ� นวนนี้ 2-3 ชนั้ ล่างสุด ชอ่ ดอกยอ่ ยมกี ารเรยี งตัวแบบสลบั (ไม่เรียงแบบรอบขอ้ เหมือนแฝก) ถน่ิ อาศัย ขึ้นตามทีโ่ ล่งแจ้งรมิ นำ้� คนู ำ�้ คนั ดินหรอื ไหลท่ างในเขตท่รี าบน้�ำทว่ มถึง ท่ีความสูงจากระดับน้�ำทะเลไม่ เกิน 500 ม. ออกดอกช่วงเดอื นกรกฎาคม-มกราคม ติดผลเดือนกนั ยายน-มีนาคม แซงเป็นหญ้าทที่ นทานตอ่ น้�ำ ท่วมขัง และสามารถงอกขน้ึ มาใหม่จากกอเดิมไดห้ ลังถูกไฟเผา กระจายพันธ์ุ พบไดง้ ่ายทั่วประเทศไทย ตา่ งประเทศพบในอนิ เดีย เมียนมาร์ ลาว เวียดนาม กมั พชู า และ คาบสมุทรมาเลเซีย การใช้ประโยชน์ วัสดุ ล�ำต้น สานทำ� ฝาผนังยงุ้ ฉางหรือบา้ น แลว้ ฉาบด้วย ดินเหนียว + ขีว้ ัว-ควาย + ฟาง + แกลบ (24, 25, 26, 27).--- ลำ� ต้น นำ� มามัดรวมกัน ทำ� เป็นดา้ มไม้กวาด (24).--- ด้านอื่น ตน้ และใบ ชว่ งระบัดใหม่ เป็นอาหาร วัว-ควาย (26) ฝาผนังยุง้ /เลา้ ขา้ ว ท่ีท�ำจากลำ� ต้นแซง