ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 201 ผ้าฮ้าย ชือ่ ทอ้ งถ่นิ อ่นื : ทรายขาว (พษิ ณโุ ลก), พริกนา (สุพรรณบรุ ี), พฤกษ์ขน (อ.ชมุ พวง นครราชสีมา), ก้ามปู (อ.มัญจาคีรี ขอนแก่น), หมากสลอด (อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), ฝ้ายนำ�้ (อบุ ลราชธานี, ศรีสะเกษ, อ.ทงุ่ เขาหลวง รอ้ ยเอด็ ), ผา้ ฮ้าย ผา้ อ้อม (อ.เมือง ยโสธร, อ.ทงุ่ เขาหลวง ร้อยเอด็ ), ไคน่ ุ่น (อ.เชยี งขวัญ รอ้ ยเอด็ ) Croton krabas Gagnep. (วงศ์ Euphorbiaceae) ชอ่ื พ้อง : - ไม้พ่มุ หรอื รอเลื้อย สงู 2-5 ม. เปลอื กเรยี บสเี ทา ยอดอ่อนมนี �ำ้ ยางสีขาวคอ่ นขา้ งใส เมอ่ื ถกู อากาศจะเปลย่ี น เป็นสแี ดง ตามกง่ิ ออ่ น ใบ ก้านใบและช่อดอกปกคลุมด้วยขนและสะเกด็ รปู ดาวสีขาว-น้ำ� ตาลออ่ นหนา แนน่ ใบเดยี่ ว เรียงเวยี น รูปไข่ ยาว 3-8 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบจักฟนั เลอื่ ยชดั เจน โคนใบมน-เว้ารูปหัวใจ และมตี อ่ มนูน 1 คู่ ผิวใบด้านลา่ งมีขนหนาแน่นสขี าว เสน้ แขนงใบข้างละ 5-8 เสน้ มี 2 เส้นออกจากโคน ใบ กา้ นใบยาว 1-2 ซม. ใบแกก่ ่อนรว่ งสีสม้ -แดง ดอกแยกเพศแตอ่ ยบู่ นชอ่ เดียวกนั ออกทีป่ ลายกิง่ ต้งั ขึน้ ยาว 4-10 ซม. ดอกสีเขียวอ่อน ดอกขนาดเล็ก บานกวา้ ง 5-8 มม. ดอกเพศผ้มู กี ลบี เล้ียงและกลบี ดอกอยา่ งละ 5 กลีบ ดอกเพศเมยี มีเฉพาะกลีบเล้ียง ผลคอ่ นขา้ งกลมแกมขอบขนาน กว้าง 0.7 ซม. สงู 0.7-1 ซม. มีสะเก็ดสี น�ำ้ ตาลอ่อนหนาแน่น ปลายผลมีก้านชยู อดเกสรเพศเมยี ติดค้าง เมอ่ื แกจ่ ะแหง้ แตกอ้า มี 3 เมลด็ ถ่นิ อาศัย ขน้ึ ตามทโ่ี ล่งแจง้ ในปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ทคี่ วามสูงจากระดับน�้ำทะเลไมเ่ กิน 200 ม. ออกดอกชว่ งเดือนมกราคม- พฤษภาคม ผลแก่มนี าคม-กนั ยายน การกระจายพันธ์ุ พบได้ทัว่ ไปตามป่าบงุ่ ป่าทามในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ยกเวน้ ลุ่มน�้ำโมง แตค่ อ่ นข้างหายาก ในภาคกลางเขตลมุ่ น้�ำยม น่าน และเจา้ พระยา ต่างประเทศพบในลาวและกัมพูชา การใช้ประโยชน์ สมนุ ไพร ราก (มีกล่ินหอม) หรือใชล้ ำ� ตน้ สดหรือตากแหง้ ต้มนำ้� ดมื่ แก้ทอ้ งอืด ท้องเฟอ้ (6, 8).--- รากและ ล�ำต้นสด ต้มน�้ำดื่มแก้อาการปวดเอว หรอื ปวดเม่ือยตามร่างกาย (8).--- กงิ่ และล�ำต้น สดหรือตากแห้ง ตม้ นำ้� ดื่มเปน็ ยาเย็นแก้ร้อนใน แกท้ อ้ งผกู (9).--- กิ่งหรือตน้ ผา้ ฮ้าย + เถาของเครือเขาแกลบ (Ventilago sp.) ตม้ นำ้� ดม่ื รกั ษาโรครดิ สีดวงทวาร (9).--- ราก ฝนเข้ายาอื่นๆ แก้ไข้ (13).--- เชือ้ เพลงิ เน้ือไม้ใช้ท�ำฟืน (14, 17).--- วัสดุ ใบ ขยห้ี รือซาวกับหอยขมหรอื หอยโข่ง ช่วยลา้ งคาวและเมือกที่เกาะตามเปลือกหอย ก่อนน�ำหอยไปปรุง อาหาร (17).--- ต้น ใชท้ ำ� ขอบกระดง้ กระบงุ ตะกรา้ หรอื ขอบสวิง (1).--- ตน้ และก่ิง ใช้ท�ำเป็นคา้ ง/รา้ นปลกู ผกั (14, 15)
ช่อดอกเพศผู้ ผลอ่อน
ป่าบ่งุ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 203 คันก้อง ชือ่ ทอ้ งถ่ินอื่น : แพงพวยบก สเี สยี ดน�้ำ (ภาคกลาง), กกคาย คันกอ้ ง (ยโสธร, อบุ ลราชธาน,ี ศรีสะเกษ), ฝา้ ยน�้ำ เขางวั (อ.เมือง มหาสารคาม), แกงตุ้ยจ์ (เขมร-อ.ท่าตูม สรุ นิ ทร์), คลั ปลา้ คัลละปลา้ (ส่วย-อ.ท่าตูม สรุ นิ ทร)์ Mallotus plicatus (Müll. Arg.) Airy Shaw (วงศ์ Euphorbiaceae) ชื่อพ้อง : - ไม้ตน้ สงู ถึง 15 ม. เปลือกเรียบสีเทา ตามกิง่ อ่อน ใบออ่ น ก้านใบ และชอ่ ดอกปกคลุมดว้ ยขนและสะเกด็ รปู ดาวสขี าว-น�ำ้ ตาลแดง ใบเดย่ี ว เรยี งเวยี นหรอื ตรงขา้ ม รูปขอบขนานหรอื รปู ไข่ ยาว 6-15 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบจกั ฟันเลอ่ื ยหา่ งๆ โคนใบมน-เว้าเลก็ น้อย ผิวใบด้านลา่ งมีขนสนั้ ประปราย-เกลย้ี ง เสน้ แขนงใบข้างละ 5-7 เส้น มี 2 เสน้ ออกจากโคนใบ ก้านใบยาว 1.5-4 ซม. ปลายทง้ั สองดา้ นบวมพอง ชอ่ ดอกแยกเพศอยู่ คนละต้น คล้ายหางกระรอก ออกทป่ี ลายกง่ิ หรือซอกใบ ยาว 7-20 ซม. ดอกสเี ขียวอ่อน ดอกบานกวา้ ง 5-8 มม. กลีบเลย้ี ง 3-6 กลีบ ไมม่ กี ลีบดอก ผลรูปพรี ะมิด กว้าง 1.7-2.8 ซม. สูง 1.5-3 ซม. มี 2-3 ปีกรอบผล ปกี แข็ง หนา กวา้ ง 1-1.3 ซม. ผิวหย่น มีขนประปราย-เกลยี้ ง ปลายผลมยี อดเกสรเพศเมยี ตดิ คา้ ง เม่อื แก่จะแห้งไม่ แตกอา้ เมล็ดค่อนข้างกลม กวา้ ง 4 มม. ผิวสีน้�ำตาลเขม้ มันเงา มี 2-3 เมล็ด ถนิ่ อาศยั ขนึ้ ตามริมฝัง่ แมน่ �้ำในเขตที่ราบน้ำ� ทว่ มถึง และปา่ บงุ่ ป่าทาม ที่ความสูงจากระดบั น้�ำทะเลไม่เกนิ 200 ม. ออกดอกชว่ งเดือนมนี าคม-เมษายน ผลแก่กรกฎาคม-ตุลาคม การกระจายพันธ์ุ เปน็ พรรณไมห้ ายาก พบในภาคกลาง เขตลมุ่ น้�ำเจา้ พระยาและปา่ สกั และภาคตะวันออก- เฉียงเหนือ เขตลมุ่ นำ�้ มลู และชี ตา่ งประเทศพบในเมยี นมาร์ ลาว กัมพชู า และเวียดนาม การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ผลอ่อนกินเป็นผลไม้ จม้ิ กบั พริกเกลือ (8).--- เชอื้ เพลงิ ไมใ้ ช้ทำ� ฟนื หรอื เผาถ่าน (6, 11, 12, 15, 17).--- กอ่ สร้างหรอื เคร่ืองมือ เนื้อไมค้ อ่ นขา้ งแขง็ เลือ่ ยแปรรปู ใช้สร้างบา้ น (6, 15, 17).--- วัสดุ ล�ำต้นและ กิง่ ท�ำค้างปลูกผกั (11).--- ด้านอืน่ ใบและก่งิ เปน็ อาหารชา้ ง (3)
ก้านใบตดิ แบบกน้ บิด ชอ่ ผลออ่ น
ป่าบุง่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 205 ฝ้ายน้�ำ ชื่อท้องถนิ่ อ่ืน : คนั ชัง่ ฝา้ ยนำ�้ (อ.ชุมพวง นครราชสมี า), ฝา่ ยนำ�้ ฝ้ายน�้ำ ฝ้ายน�้ำนอ้ ย ฝา้ ยนำ้� ใหญ่ (อีสาน), เนียมช้าง นามช้าง (อ.กันทรารมย์ ศรสี ะเกษ), ลำ� ซ่าง ลำ� ชา้ ง (อ.เมือง มหาสารคาม), ตลองกระบา (เขมร- อ.ทา่ ตมู สรุ นิ ทร์), กลั เปร๊กิ (สว่ ย-ทา่ ตูม สรุ นิ ทร)์ Mallotus thorelii Gagnep. (วงศ์ Euphorbiaceae) ชอ่ื พ้อง : - ไม้พุ่ม สงู 2-10 ม. เปลือกเรยี บสีเทา ตามกิง่ ออ่ น ใบอ่อน กา้ นใบ และช่อดอกปกคลมุ ด้วยขนและสะเกด็ รูปดาว สขี าวหนาแน่น-ประปราย ใบเดีย่ ว เรียงเวยี นหรือเกือบตรงข้าม รูปไขก่ วา้ ง ยาว 6-15 ซม. ปลายใบเรียวแหลม หรือยาวคล้ายหาง ขอบใบหยกั เล็กนอ้ ยและมตี ่อมนนู ย่ืนออกตามปลายเสน้ แขนงใบ โคนใบรปู กลม-ตัด ตดิ กับกา้ นใบแบบกน้ บดิ และมีตอ่ มเปน็ จดุ สนี ำ�้ ตาลบนแผ่นใบใกลข้ อบ 2-4 ต่อม ผวิ ใบด้านลา่ งมีขนสน้ั ประปราย เสน้ แขนงใบข้างละ 5-7 เสน้ มี 2 เสน้ ออกจากโคนใบ ใบแกก่ ่อนร่วงสแี ดง ก้านใบยาว 5-15 ซม. ชอ่ ดอกแยกเพศอยู่คนละตน้ คล้ายหางกระรอก ตั้งข้นึ ยาว 10-20 ซม. ดอกสีเขยี วอ่อน-ขาว ดอกบานกว้าง 5-7 มม. กลบี เลย้ี ง 2-5 กลีบ ไมม่ กี ลบี ดอก ผลรปู ทรงกลม กว้าง 6-8 มม. มรี ่องตามยาว 3 รอ่ ง ผวิ สีเขยี วนวล มี หนามสัน้ จ�ำนวนมาก ปลายผลมยี อดเกสรเพศเมียตดิ คา้ ง 3 เส้น เมอ่ื แกจ่ ะแหง้ แตกอ้า เมล็ดค่อนขา้ งกลม กวา้ ง 2 มม. มี 3 เมล็ด ถ่ินอาศยั ขึน้ ตามริมฝ่ังแม่น�้ำในเขตท่รี าบนำ�้ ทว่ มถงึ และตามชายปา่ หรอื ทโ่ี ลง่ แจ้งในป่าบงุ่ ป่าทาม ทนทานต่อน้�ำ ทว่ มขังไดด้ ี ขน้ึ ทคี่ วามสงู จากระดบั น�ำ้ ทะเลไม่เกิน 200 ม. ออกดอกช่วงเดอื นมนี าคม-เมษายน ผลแก่กรกฎาคม- ตุลาคม การกระจายพนั ธ์ุ เปน็ พรรณไม้ค่อนขา้ งหายากในภาคกลางเขตลมุ่ น้ำ� เจ้าพระยา ลุ่มน�้ำปา่ สัก และใน จ.เพชรบรุ ี จ.ปราจีนบุรี และ จ.สระแกว้ แต่พบไดง้ ่ายในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เขตลมุ่ น�้ำมลู และลมุ่ นำ�้ ชี ไม่พบในเขต ลมุ่ น�ำ้ สงครามและลมุ่ น�้ำโมง ตา่ งประเทศพบในลาว กมั พชู า และเวียดนามตอนใต้ การใช้ประโยชน์ สมุนไพร ใบฝ้ายนำ�้ + ใบหนาด (Blumea balsamifera) + ใบเปลา้ (Croton sp.) ท�ำเป็นลกู ประคบ มีกล่ิน หอมเย็น แกอ้ าการชำ�้ ใน (12).--- ราก ฝนเขา้ ยาอ่นื ๆ แก้ไข้ (13).--- เชื้อเพลงิ ไม้ใช้ท�ำฟนื หรอื เผาถ่าน (1, 10, 11, 13, 15, 17).--- กอ่ สรา้ งหรือเคร่อื งมือ ลำ� ตน้ ใชท้ �ำไมห้ นีบหรอื ไม้คอ้ นตีข้าว (อปุ กรณ์จบั ฟอ่ นข้าวใน การนวดขา้ วแบบโบราณ) (12).--- วสั ดุ ใบสดใชม้ วนยาเส้น/บหุ ร่ี (3).--- ล�ำต้น ท�ำค้างปลกู ผกั (1, 4, 10, 11, 15).--- ลำ� ตน้ หรือก่ิง ใช้ท�ำขอบสวิง หรือหูหิว้ ตระกรา้ (13, 14).--- ดา้ นอนื่ ท้งั ตน้ เป็นอาหารชา้ ง (4).--- ล�ำตน้ /กิง่ ผุ เปน็ ที่อาศยั ของเห็ดผงึ้ (12)
ฝกั แก่ ชนั
ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน 207 คางฮุง ชื่อท้องถ่นิ อน่ื : กาง (ตาก), คาง จามรดี ง จามรปี า่ (ภาคกลาง), คางฮุง คางฮ่งุ คนั ฮุง คันฮงุ ทาม (อีสาน), ปรลึ ตึ๊ก (เขมร-อ.ทา่ ตมู สรุ นิ ทร)์ Albizia lebbeckoides (DC.) Benth. (วงศ์ Fabaceae) ช่อื พ้อง : - ไม้ตน้ สงู 10-15 ม. เปลอื กเรียบสีน้ำ� ตาลอมเทา มชี ่องอากาศจ�ำนวนมาก ตามแผลมีชนั สีเหลืองอ�ำพนั ตาม ก่ิงอ่อน แกนใบ กา้ นใบ และใบเกลยี้ ง ใบประกอบแบบขนนก 2 ชน้ั (คล้ายใบกระถนิ ) เรียงสลบั แกนใบ ยาว 5-13 ซม. มใี บประกอบเรียงตรงขา้ ม 3-4 คู่ มีใบย่อย 15-25 คู่ เรยี งตรงข้าม รูปขอบขนาน ไม่สมมาตร กว้าง 3-5 มม. ยาว 7-20 มม. ปลายใบแหลม-มน มกั มีตง่ิ หนามส้ันๆ ด้วย โคนใบตดั และเบยี้ ว ไม่มกี ้านใบยอ่ ย ช่อดอกแบบแยกแขนง ยาวถึง 15 ซม. มีขนสั้น ช่อดอกยอ่ ยรูปทรงกลม กว้าง 1-1.5 ซม. มดี อกย่อย 10-15 ดอก (ไมอ่ ัดแนน่ มากเทา่ ดอกกระถนิ ) สีขาว ผลแบบฝักแบน รูปแถบ กว้าง 2 ซม. ยาว 10-15 ซม. เปลือกฝักบาง เหยียดตรง ผิวเกลยี้ ง นนู ตามต�ำแหน่งเมล็ด ฝกั แก่แห้งแตก สีน้ำ� ตาลแดง มี 4-10 เมล็ด รปู ไข่แบนดา้ นข้าง ยาว 7 มม. ถ่ินอาศยั ขนึ้ ตามทีโ่ ลง่ ท่งุ นา หรือรกรา้ งในเขตท่รี าบนำ้� ท่วมถงึ และจัดว่าเป็นพชื เดน่ ในปา่ บุง่ ป่าทามเกอื บ ทกุ แห่ง ท่ีความสงู จากระดับน้�ำทะเลไม่เกนิ 400 ม. ออกดอกชว่ งเดือนพฤศจกิ ายน-มกราคม ผลแกม่ กราคม- มีนาคม การกระจายพนั ธ์ุ พบได้งา่ ยและทวั่ ไป ในภาคกลางตอนบนลงไปจนถงึ จ.ประจวบคีรีขันธ์ และภาคตะวันออก และทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตา่ งประเทศพบในลาว กัมพูชา และเวยี ดนาม การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน กนิ เป็นผกั สด รสฝาดมนั กนิ แกลม้ กับป้งิ ปลา หรอื ลวกจมิ้ นำ้� พรกิ (1, 14, 17, 27).--- สมนุ ไพร เปลือกและแก่น ฝนแล้วอมแกไ้ อ (1).--- แกน่ แช่น้�ำดมื่ แก้ไอ (19).--- แก่นคางฮงุ + เถาตาไก้ (Sa- lacia chinensis) + เถาเครอื ตาปลา (Derris scandens) แชน่ �ำ้ อาบแก้โรคซาง (ตานโขมย) (24).--- เปลอื ก ฝน แลว้ อมรักษาแผลในปาก, เปลือกและราก นำ� มาต้มน้ำ� อาบรักษาแผลผพุ อง แผลงสู วดั (27).--- เปลอื ก น�ำมาย่าง ไฟ แลว้ ฝนน�ำมาทารกั ษาแผลสด ทำ� ใหแ้ ผลหายเร็ว ชว่ ยฆา่ เชอ้ื (26).--- เชื้อเพลงิ เนอ้ื ไมใ้ ช้ท�ำฟืนหรือเผาถ่าน (4, 11, 15, 17, 18, 20, 21, 23).--- กอ่ สร้างหรอื เครือ่ งมอื เนอ้ื ไมแ้ ข็งปานกลาง แกน่ มสี สี วยเหมอื นแก่น ต้นก้ามปู/จามจรุ ี เลือ่ ยแปรรูป ทำ� ไมก้ ระดานสร้างบา้ น ยุ้งฉาง ท�ำเฟอรน์ เิ จอร์ (1, 2, 8, 11, 12, 13, 17, 19, 21, 23, 25, 27).--- เนือ้ ไมน้ ำ� มาทำ� เรือ (27).--- วัสดุ เปลอื กใชย้ อ้ มเสน้ ไหม ให้สกี ากี (4).--- ด้านอนื่ กิ่งและ ใบเปน็ อาหารวัว ควาย และชา้ ง (3, 12, 11, 13, 14, 17, 21).--- ใบ เป็นอาหารของแมลงทบั ๆ ชอบมาอาศยั (11, 14)
ชอ่ ดอก ฝกั แก่
ปา่ บุง่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 209 ทิ้งถ่อน ชือ่ ท้องถ่ินอื่น : ถอ่ น ทง้ิ ถอ่ น (ภาคกลาง, อีสาน), สว่ น (เชยี งใหม่, เลย), เยกเิ ด๊าะ (กะเหรี่ยง-แมฮ่ อ่ งสอน), เส่บอ้ ง (กะเหร่ยี ง-กาญจนบรุ ี) Albizia procera (Roxb.) Benth. (วงศ์ Fabaceae) ชื่อพอ้ ง : - ไม้ตน้ สงู ถึง 15 ม. เปลอื กเรียบ สขี าว ตน้ อายุมากจะแตกเป็นหลุมต้นื ๆ สีนำ้� ตาล ตามกงิ่ ออ่ น ใบ และช่อดอก เกลย้ี ง ใบประกอบแบบขนนก 2 ช้นั เรียงสลบั แกนใบยาว 10-30 ซม. มตี อ่ มนนู ที่กลางก้านใบ ใบประกอบ 2-5 คู่ เรยี งตรงขา้ ม ใบย่อย 5-11 คู่ เรียงตรงข้าม รูปไข่ รปู รแี กมขอบขนาน ไมส่ มมาตร กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 3-4.5 ซม. ปลายใบกลม โคนใบตดั -มน ก้านใบยอ่ ยยาว 1-2 มม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ยาวถงึ 30 ซม. ชอ่ ดอกย่อยรปู ทรงกลม กวา้ ง 1.5-2 ซม. มีดอกยอ่ ย 20 ดอก (ไม่อดั แนน่ มากเท่าดอกกระถิน) สีขาว ผลแบบ ฝกั แบน รูปแถบ กวา้ ง 2 ซม. ยาว 10-17 ซม. เปลอื กฝักบางเหยยี ดตรง ผวิ เกลย้ี ง นนู ตามต�ำแหน่งเมลด็ ฝกั แก่แหง้ แตก สนี ำ้� ตาลแดง มี 7-12 เมล็ด เมล็ดรูปไข่แบนดา้ นข้าง ยาว 7.5 มม. ถ่ินอาศยั ข้ึนตามท่ีโลง่ ทุ่งนา หรอื รกร้างในเขตทร่ี าบนำ้� ท่วมถึง หรอื ในป่าบ่งุ ป่าทาม ที่ความสูงจากระดับน�้ำทะเล ไม่เกนิ 400 ม. ผลัดใบชว่ งเดือนกมุ ภาพันธ-์ เมษายน ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-ตลุ าคม ผลแกธ่ ันวาคม- มนี าคม การกระจายพนั ธุ์ พบได้ง่ายทวั่ ประเทศ ตา่ งประเทศพบในเขตร้อนของทวีปเอเชีย และตะวันออกเฉียงเหนอื ของ ออสเตรเลยี การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน รสขมเล็กนอ้ ยปนฝาด ลวกกนิ เป็นผักจิ้มน�้ำพรกิ (24).--- สมุนไพร เปลือกทิ้งถ่อนตากแห้ง + โก/ตะโกนา (Diospyros rhodocalyx) + หญา้ แหว้ หมู (Cyperus rotundus) เขา้ ยาอายุวัฒนะ (6, 7).--- เปลอื ก นำ� มาแชน่ ำ�้ อาบรักษาโรคซาง (26).--- เช้ือเพลิง เนื้อไมใ้ ชท้ �ำฟนื หรอื เผาถ่าน (25).--- กอ่ สรา้ งหรอื เครื่องมือ เน้อื ไม้ แปรรปู เปน็ แผ่นใชต้ อ่ เรอื (26).---ด้านอ่นื ใบ ใช้เลี้ยงแมลงทับ (เหมือนคางฮุง) (25, 27)
ฝกั ออ่ น
ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 211 จาน ชือ่ ท้องถน่ิ อ่นื : ทอง ทองกวาว ทองต้น ทองธรรมชาติ ทองพรมชาติ (ภาคกลาง), กวาว กา๋ ว (ภาคเหนอื ), จอมทอง (ภาคใต้), จาน (อีสาน), จาร เดิมจาร (เขมร-สรุ นิ ทร)์ Butea monosperma (Lam.) Taub. (วงศ์ Fabaceae) ชือ่ พ้อง : - ไม้ต้น สูงถงึ 20 ม. เปลอื กแตกเป็นสะเกด็ สนี ้�ำตาล ตามกงิ่ ออ่ น ใบ กา้ นใบ และช่อดอกมีขนส้นั นุ่มหนา แน่น ใบประกอบมี 3 ใบยอ่ ย เรยี งสลบั ใบย่อยรปู ไขก่ ว้าง หรือรูปเกอื บกลม กวา้ ง 8-12 ซม. ยาว 11- 16 ซม. ปลายใบมน กลม หรอื เว้าตืน้ โคนใบรปู ลมิ่ หรือมนแกมเบย้ี ว ใบย่อยท่ปี ลายแกนใบมขี นาดใหญ่กวา่ ใบยอ่ ยคู่ข้าง ผิวใบดา้ นลา่ งมีขนหนาแนน่ เนื้อใบหนา ก้านใบยอ่ ย ยาว 0.8 ซม. บวมหนา ก้านใบยาว 10-15 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาว 20-40 ซม. มขี นสนั้ สดี ำ� หนาแนน่ ดอกตดิ ด้านบนด้านเดียวของแกนช่อดอก กลีบเลย้ี งสีเขียว รปู คนโท ปลายแยก 5 แฉก กลบี ดอกสีสม้ มี 4 กลบี ยาว 5 ซม. กลบี ลา่ งรูปเรือ (คล้ายดอก แคบา้ น) ผลแบบฝกั แบน รูปขอบขนานโคง้ เล็กนอ้ ย กวา้ ง 4 ซม. ยาว 10-15 ซม. ผิวมขี นสเี งนิ หนานุม่ เนอื้ ฝักบางคล้ายปกี ขอบมีเส้นหนา เมอ่ื แกแ่ ห้งไมแ่ ตก สนี �้ำตาล มี 1 เมลด็ รปู รี ตดิ ทป่ี ลายปกี ดา้ นลา่ ง ถ่ินอาศยั ขน้ึ ตามทีโ่ ลง่ ทุง่ นา ปา่ บุง่ ป่าทาม และตามชายป่าเบญจพรรณหรอื ปา่ ดงดิบแลง้ ในเขตทรี่ าบน�้ำทว่ ม ถงึ หรือตามริมน�้ำในเขตพ้ืนทภี่ เู ขา ขนึ้ ท่ีความสูงจากระดับนำ้� ทะเลไมเ่ กิน 400 ม. ผลัดใบชว่ งเดือนธนั วาคม- มกราคม ออกดอกชว่ งเดอื นมกราคม-มนี าคม ผลแกเ่ มษายน-มิถุนายน การกระจายพนั ธ์ุ พบได้ง่ายตามทงุ่ นา และปา่ บุ่งปา่ ทามทว่ั ประเทศ แตห่ ายากในภาคใต้ ต่างประเทศพบใน ภมู ิภาคเอเชยี ใต้ เมียนมาร์ จนี ตอนใต้ ลาว กัมพชู า เวยี ดนาม และอินโดนเี ซีย การใช้ประโยชน์ อาหาร นำ้� ตอ้ ย (น�ำ้ หวานในดอก) มรี สหวาน กนิ เล่น (8, 12), ดอก ตม้ แลว้ น�ำมาท�ำซบุ (20).--- รากแก้ว กิน เปน็ ผกั รสชาติมนั เหมือนมนั แกว (12), แต่ขอ้ มลู อีกแหลง่ บอกว่า รากเป็นพิษถงึ ตาย (18).--- สมนุ ไพร ดอก ตากแห้ง ต้มนำ้� ดม่ื รักษาโรคเบาหวาน (8).--- ดอก ตากแหง้ ตม้ นำ้� ดม่ื รักษาโรคความดนั เบาหวาน และลดไขมนั (7), ดอก ตากแห้ง ต้มน้�ำดื่มเปน็ ยาแก้ปวดเมอ่ื ย (11).--- เชอ้ื เพลงิ ไม้ใช้ท�ำฟืนหรือเผาถ่าน (11, 18).--- วสั ดุ ใบ ใชห้ ่อขนมหรืออาหาร ใช้แทนใบตองกล้วย (1, 4, 8, 11, 12, 13, 14, 18, 20).--- ดอกใช้ร้อยมาลยั ตกแตง่ ใน งานเทศน์มหาชาติ (1).--- ด้านอ่ืน ต้น นยิ มปลกู เป็นไมป้ ระดบั จัดสวน (13) ใบทีเ่ ตรยี มไว้ห่ออาหาร
ป่าบ่งุ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 213 ฝักพร้า ชือ่ ทอ้ งถิ่นอื่น : ถว่ั พร้า (ภาคกลาง, ประจวบครี ีขันธ)์ , ถ่ัวดาบ ถวั่ ฟา้ (แมฮ่ ่องสอน), ถวั่ ฟา้ ถัว่ แปบฟา้ ฝกั พรา้ ฝักฟ้า (อสี าน) Canavalia gladiata (Jacq.) DC. (วงศ์ Fabaceae) ชื่อพ้อง : - ไมเ้ ลอื้ ยล้มลกุ อายุปีเดียว ยาวได้ถงึ 10 ม. ตามกง่ิ ออ่ น ใบออ่ น และช่อดอกมีขนสน้ั สขี าวประปราย ใบประกอบ มี 3 ใบย่อย เรียงสลับ ใบย่อยรปู ไข่ กว้าง 5-10 ซม. ยาว 7-12 ซม. ปลายใบเรียวแหลม หรอื หยกั เปน็ ติง่ แหลม โคนใบมน-กลม หรอื เบีย้ ว ผวิ ใบมขี นสนั้ ประปราย-เกลยี้ ง กา้ นใบย่อยยาว 0.5 ซม. บวมพอง ก้านใบ ยาว 5-15 ซม. ชอ่ ดอกแบบกระจะ โคง้ ลง ยาว 7-25 ซม. กลบี เลี้ยงสเี ขียว ยาว 1-1.5 ซม. เชอื่ มตดิ กัน รปู ถว้ ย กว้าง 1 ซม. ปลายแยก 2 แฉก กลีบดอกสชี มพู มี 4 กลบี มี 3 กลบี อยู่ด้านบนยาว 2 ซม. โคง้ และหุ้ม เกสรเพศผู้ และอีก 1 กลีบ อยูด่ ้านลา่ ง บานอยู่ในแนวระนาบ รูปหัวใจแกมขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม. โคน กลีบสขี าว ผลแบบฝกั แบน รูปแถบ กว้าง 3-4 ซม. ยาว 15-23 ซม. หนา 1.3-2 ซม. ปลายฝักกลม-แหลม และมตี ง่ิ แหลม ผวิ เกล้ียง เปลือกเรยี บหนาแขง็ ฝกั แก่แห้งแตก มี 7-15 เมล็ด รปู รีและแบนดา้ นขา้ ง ยาว 2-3.5 ซม. ปลายกลม สคี รมี อาจมลี ายสดี ำ� -เทาตามยาว หรอื ท้งั เมลด็ เปน็ สแี ดง-ด�ำ ถนิ่ อาศัย ฝกั พรา้ /ถ่วั พร้า ทกี่ ลา่ วมาน้เี ปน็ สายพนั ธ์ุป่าทีข่ ้ึนอย่ตู ามธรรมชาติ (ปจั จบุ ันมถี วั่ พร้าสายพนั ธุ์ปลกู ที่ สง่ เสรมิ ใหเ้ กษตรกรปลูกปรบั ปรุงดนิ และเป็นผกั สวนครัว) จะข้ึนตามทโี่ ล่ง ชายปา่ ดงดบิ ในเขตทรี่ าบน�้ำทว่ ม ถึง หรอื ริมล�ำธาร รวมท้ังในปา่ บงุ่ ป่าทามดว้ ย ขน้ึ ทค่ี วามสูงจากระดับน้�ำทะเลไม่เกนิ 600 ม. ออกดอกชว่ งเดือน กรกฎาคม-ธนั วาคม ผลแก่ธนั วาคม-พฤษภาคม เมื่อผลแก่แลว้ เถาจะแหง้ ตาย การกระจายพันธ์ุ พบคอ่ นขา้ งงา่ ย ทัว่ ประเทศไทย ในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื พบท่ัวไปตามป่าบุ่งป่าทาม ต่างประเทศพบในเขตร้อนของทวีปแอฟรกิ า และเอเชยี การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น ดอกออ่ น ฝกั อ่อน ต้มหรอื ลวก เปน็ ผกั จมิ้ นำ�้ พรกิ ฝักออ่ นต้มมีรสมนั ปนหวาน ใชท้ �ำซบุ (ฝักพรา้ ต้ม + มะเข่ือตม้ + เน้อื ปลาป้ิง + เห็ดกระดา้ งตม้ + นำ�้ ปลาร้า/น้�ำปลา) (1, 2, 8, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 17, 19, 23, 24, 26, 27).--- ฝกั อ่อน รสมันมีกลน่ิ เหมน็ เขียวคลา้ ยถวั่ ฝักยาว น�ำมาต�ำสม้ (11, 19, 23, 27), หรือต�ำสม้ ผสมกบั ตัวมดแดง (11).--- ดอก ออ่ มใสก่ บ (19).--- เมล็ดแก่ คว่ั หรอื ตม้ กินเลน่ มีรสมนั หากกนิ มาก อาจทำ� ให้เวยี นหัว เมล็ดแก่ดิบมพี ิษจะตอ้ งท�ำให้สุกก่อนกนิ (1, 2, 11, 12, 13, 23).--- ด้านอ่ืน ใบเปน็ อาหาร ของแมลงคาม (ด้วงกวา่ ง) (26)
ฝกั ออ่ น ฝกั แก่ หนามที่ลำ� ตน้
ปา่ บ่งุ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 215 ขามแป ช่อื ท้องถิน่ อืน่ : มะขามแขก (ราชบุรี), ระกำ� ระก�ำป่า (ภาคกลาง, นครราชสมี า), ขามแป (อีสาน) Cathormion umbellatum (Vahl) Kosterm. (วงศ์ Fabaceae) ช่ือพอ้ ง : - ไมพ้ ุ่ม สงู 2-5 ม. แตกก่ิงแผ่กว้างคลา้ ยรปู ร่ม ล�ำต้นและกง่ิ มหี นามแหลมคม ยาว 2-5 ซม. ตามก่งิ ออ่ น ใบอ่อน และชอ่ ดอกมีขนสน้ั ประปราย ต่อมาเกลยี้ ง กิ่งมีช่องอากาศสีขาวหนาแนน่ ใบประกอบแบบขนนก 2 ชนั้ แกนใบยาว 4-7 ซม. มตี อ่ มนนู มใี บประกอบ 2-4 คู่ เรียงตรงข้าม มีใบยอ่ ย 5-13 คู่ เรียงตรงข้าม รปู ขอบ- ขนาน ไมส่ มมาตร ยาว 1-1.5 ซม. ปลายใบกลม มีตง่ิ หนาม โคนใบตัด ผวิ ใบเกล้ียง มีเสน้ แขนงใบออกจาก โคนใบ 3-5 เสน้ ก้านใบยอ่ ยส้นั มาก ก้านใบยาว 2-3 ซม. ชอ่ ดอกแบบกระจกุ คอ่ นขา้ งแนน่ ทปี่ ลายกา้ นช่อ คล้ายรม่ ชอ่ ตง้ั ตรง ก้านชอ่ ดอกยาว 5-6 ซม. ออกตามปลายกง่ิ มีดอกยอ่ ย 7-15 ดอก/กระจกุ กลบี เล้ียงสเี ขียว กลบี ดอกสขี าวโคนเชือ่ มติดกัน ปลายแยก 5 แฉก เกสรเพศผูจ้ ำ� นวนมาก เป็นเสน้ ยาว 4-5 ซม. คล้ายพขู่ นสี ขาว ผลแบบฝกั แบน รปู ขอบขนาน กว้าง 2-3 ซม. ยาว 10-20 ซม. โค้งและบดิ เลก็ น้อย ฝักหยกั คอดเปน็ ปล้องกลมตามตำ� แหน่งเมลด็ กวา้ งปล้องละ 2 ซม. ผิวเกลีย้ ง มี 4-12 เมล็ด ฝักแก่แหง้ สนี �ำ้ ตาลเข้ม ไม่แตก ถ่นิ อาศยั ข้นึ ตามรมิ น�้ำในท่โี ล่งแจง้ ในเขตทรี่ าบนำ�้ ทว่ มถงึ และในปา่ บุง่ ป่าทาม ท่ีความสงู จากระดับน้�ำทะเลไม่เกนิ 200 ม. ออกดอกช่วงเดอื นพฤษภาคม-กนั ยายน ผลแกธ่ นั วาคม-เมษายน การกระจายพันธุ์ พบในภาคกลางตงั้ แต่ จ.อุตรดติ ถ์ ลงมาจนถึงประจวบคีรีขันธ์ และปราจีนบรุ ี ในภาคตะวัน- ออกเฉียงเหนือพบท่ัวไปตามปา่ บงุ่ ป่าทาม เฉพาะในเขตลุม่ น้�ำมลู และชเี ท่าน้ัน ตา่ งประเทศพบในอินเดยี ศรลี งั กา ลาว กมั พูชา เวียดนามตอนใต้ ชวา ติมอร์ นวิ กินี และออสเตรเลียตอนเหนือ การใชป้ ระโยชน์ อาหาร เมล็ดแก่ ค่ัวให้สกุ กินเล่น รสมนั (คลา้ ยเมล็ดมะขามค่วั ) (1).--- ฝักออ่ นสเี ขยี ว ทบุ กนิ เมลด็ เลน่ รสมัน (13).--- สมุนไพร เมล็ด เค้ยี วแล้วอม เปน็ ยาขบั ลม, ฝักอ่อน เป็นยารักษาโรคกระเพาะ (1).--- เชอ้ื เพลงิ เน้อื ไม้ท�ำฟนื หรือเผาถ่าน (15, 17).--- ก่อสร้างหรือเคร่อื งมือ เนื้อไมแ้ ขง็ แรงใชท้ �ำเกวยี น (1).--- วัสดุ ฝักสด ตำ� แล้วแชน่ ำ้� หรอื ตม้ กบั น้�ำใช้ย้อมแห ใหแ้ ข็งแรงทนทาน (1, 2, 10, 15)
ฝักอ่อน ฝักและเมลด็ แก่ ชอ่ ดอก
ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอสี าน 217 แห่ ช่ือท้องถ่นิ อนื่ : สะตือ (ภาคกลาง), ดู่ขาว เดือยไก่ (สุโขทยั ), ประด่ขู าว ประดทู่ าม แห่ (อสี าน) Crudia chrysantha (Pierre) K.Schum. (วงศ์ Fabaceae) ชื่อพอ้ ง : - ไมต้ ้น สูง 8-25 ม. เปลอื กสีนำ�้ ตาลอ่อน เรียบ-แตกเปน็ สะเก็ดเลก็ กงิ่ ออ่ นและช่อดอกมขี นสน้ั สีขาวประปราย ใบประกอบแบบขนนก เรยี งสลับ แกนใบยาว 4-8 ซม. เกลยี้ ง มีใบย่อยเรยี งสลบั 4-6 ใบ รูปไข่ ยาว 3-7 ซม. ปลายใบหยักเป็นตง่ิ แหลม-ทู่ โคนใบมน-กลม ท้องใบมขี นประปราย-เกล้ยี ง สเี ขียวนวล (คลา้ ยใบต้นพะยูง มาก แตกต่างท่ีเสน้ แขนงใบของตน้ แหม่ ีปลายโคง้ จรดกัน สว่ นพะยงู ปลายเสน้ จะโค้งเรยี วเกือบขนานกบั ขอบใบ ไม่จรดกับเส้นถดั ไป) ช่อดอกคล้ายหางกระรอก ยาว 5-15 ซม. สีขาวอมเขยี ว กลีบเล้ียง 4 กลบี รปู ไข่ ยาว 3-4 มม. ไม่มกี ลีบดอก เกสรเพศผู้ 8-10 เกสร เปน็ เส้นยาว 1 ซม. ผลแบบฝกั แบน รูปรีเบ้ยี วหรือรูปไต กว้าง 3-4 ซม. ยาว 5-6 ซม. ผวิ เรียบด้าน มขี นสัน้ -เกล้ยี ง สนี ำ้� ตาลอมเหลือง ผลแกแ่ หง้ แตก มี 1-2 เมลด็ รปู ค่อนขา้ ง กลม-รูปไต และแบนด้านข้าง กวา้ ง 3-2 ซม. สนี �้ำตาล ถ่ินอาศยั ขึน้ ตามริมแมน่ ้�ำ ลำ� คลอง ในเขตที่ราบนำ้� ท่วมถึง และในปา่ บุ่งป่าทาม ท่คี วามสงู จากระดับน�้ำทะเลไม่เกนิ 200 ม. ออกดอกช่วงเดอื นกุมภาพันธ-์ มีนาคม ผลแก่กรกฎาคม-กันยายน การกระจายพันธุ์ คอ่ นข้างหายาก พบในภาคกลาง ภาคตะวนั ออก (ลมุ่ นำ้� บางปะกง) และท่ัวภาคตะวันออก- เฉยี งเหนือ ตา่ งประเทศพบในลาว กัมพชู า และเวยี ดนามตอนใต้ การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน มกี ล่นิ เหม็นเขียวเลก็ น้อย กินเปน็ ผกั สด จ้ิมนำ�้ พริก แกลม้ ลาบ กอ้ ย (18, 20).--- สมนุ ไพร เปลือก แชห่ รือตม้ น�้ำอาบ รักษาโรคซาง และแกผ้ ิดกะบนู (กินผิดสำ� แดง/ของแสลง) ในแม่ลูกอ่อน (11).--- เช้ือเพลงิ ไมใ้ ชท้ �ำฟนื หรือเผาถา่ น (6, 12, 18, 21).--- กอ่ สร้างหรือเครื่องมอื เนอ้ื ไมแ้ ขง็ แรง ทนทาน ใช้ท�ำ ครกหรอื สากตำ� ข้าว (19).--- ใชก้ ่อสรา้ ง ทำ� เปน็ ไมก้ ระดาน คาน ตง เสา (6, 8, 12, 18, 19, 20, 21, 26, 27) ใบแห่ ใบพะยงู (Dalbergia cochinchinensis)
ชอ่ ดอกตมู
ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 219 แห่น้อย ชอื่ ท้องถน่ิ อืน่ : แหะ แห่นอ้ ย (นครพนม) Cynometra craibii Gagnep. (วงศ์ Fabaceae) ชื่อพอ้ ง : - ไมต้ ้น สงู 6-25 ม. เปลอื กสีน้ำ� ตาลอมเทา เรียบ มชี อ่ งอากาศจ�ำนวนมาก ตามกงิ่ ออ่ นมขี นสั้นประปราย-เกลย้ี ง ใบประกอบมี 2 ใบย่อย ก้านใบยาว 5-7 มม. บวมหนา เกล้ยี ง ใบยอ่ ยรปู ไข่โคง้ ไมส่ มมาตร กวา้ ง 2-3 ซม. ยาว 4.5-7 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบแหลมและเบี้ยว ผวิ ใบเกลี้ยง เน้ือใบหนา ช่อดอกแบบชอ่ กระจะ สัน้ ยาว 1 ซม. ออกตามซอกใบใกล้ปลายก่งิ ดอกขนาดเล็กมาก สีขาว เม่ือบานกว้าง 5 มม. กลบี เลย้ี ง 4 กลีบ ยาว 2-3 มม. เกสรเพศผู้ 10 เกสร กา้ นดอกย่อยยาว 5-8 มม. ผลแบบฝกั แบน รปู รเี บย้ี วหรอื ค่อนข้าง กลม กว้าง 3-4 ซม. ยาว 4-5 ซม. ปลายกลมและมจี งอยดา้ นข้าง ขอบฝกั มสี ันนูน ผวิ ฝกั เรยี บเกลี้ยง เปลอื ก คอ่ นข้างบาง ผลแกแ่ ห้งแตก มี 1 เมล็ด ถ่ินอาศยั ข้ึนตามริมแมน่ ้�ำ ลำ� คลอง ในเขตท่ีราบนำ้� ทว่ มถงึ และในป่าบุง่ ปา่ ทาม ทคี่ วามสงู จากระดบั น้�ำทะเลไมเ่ กนิ 200 ม. ออกดอกช่วงเดอื นกมุ ภาพนั ธ์-เมษายน ผลแกพ่ ฤษภาคม-กรกฎาคม การกระจายพันธ์ุ เปน็ พืชทหี่ ายากมาก และเปน็ พืชถิ่นเดียว (endemic species : พชื ท่มี ีเขตการกระจายพนั ธุ์ ทางภมู ศิ าสตร์จำ� กดั ไมก่ วา้ งขวาง พบเฉพาะในเขตพรรณพฤกษชาตเิ ดียวเท่านั้น) พบเฉพาะในเขตลุ่มน�้ำสงคราม บรเิ วณจังหวดั นครพนม และในแขวงอัตตะปอื ประเทศลาว เทา่ นน้ั , เป็นต้นไมท้ แี่ ทบจะไมม่ ผี พู้ บเหน็ และรจู้ ัก เลย ซึ่งในการศึกษาพบเพียง 1 ต้นเท่านน้ั การใชป้ ระโยชน์ -
ฝกั อ่อน ชอ่ ดอก หนามที่ลำ� ตน้
ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 221 เครือกระพี้ ชือ่ ทอ้ งถนิ่ อืน่ : ฉนวนน้�ำ สงวนน�้ำ (นครราชสีมา), กระพี้ ก�ำพ้ี เครือกระพ้ี (อบุ ลราชธานี, ศรีสะเกษ, นครพนม), เครือหมากเห็บ หมากลิ้นหมา (อ.ศรีสงคราม นครพนม), เครือเบน็ ขอ หนามงอ หนามขอ (สกลนคร), ประดงขอ- ประดงงอ (หนองคาย), ขะนวลเมือน (เขมร-อ.ท่าตูม สรุ นิ ทร)์ , ชะโนดเดี๊ยะ (ส่วย-อ.ทา่ ตูม สรุ ินทร์) Dalbergia entadioides Pierre ex Prain (วงศ์ Fabaceae) ช่ือพ้อง : - ไมพ้ ุ่มรอเลือ้ ย สงู 3-5 ม. เปลอื กสนี ำ�้ ตาลอมเทา เรียบ มหี นามใหญ่และแหลมคม หนา 1-2 ซม. ยาวถึง 8 ซม. ตามกงิ่ อ่อน แกนใบและช่อดอกมีขนสนั้ ประปราย ตอ่ มาเกลีย้ ง กงิ่ มีชอ่ งอากาศสีขาวจ�ำนวนมาก ใบประกอบ ยาว 10-12 ซม. เรียงสลบั กา้ นใบยาว 1.5-2.5 ซม. มีใบยอ่ ย 5-9 ใบ เรียงสลบั รูปใบหอกกลบั หรอื ไขก่ ลับ ยาว 3-7 ซม. ปลายใบเวา้ บุ๋ม-รปู หวั ใจกลบั โคนใบมน-เว้าเล็กน้อย ผวิ ใบเกลีย้ ง เนอื้ ใบหนา มเี สน้ แขนงใบ ข้างละ 8-10 เส้น ชอ่ ดอกแบบแยกแขนง ออกตามปลายกง่ิ ยาว 7-20 ซม. ดอกสขี าวอมเขยี ว ขนาดเลก็ มาก ยาว 4 มม. กลีบเลี้ยงรปู ระฆงั มี 5 แฉก กลบี ดอกมี 4 กลบี รูปดอกถวั่ ผลแบบฝกั แบน รูปรีเบี้ยวหรือขอบ- ขนาน กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 2-3.5 ซม. ปลายกลมมีตง่ิ หนามสั้น ผวิ เกลีย้ ง และหยน่ มกั จะโค้งงอคล้ายองุ้ มือ เปลือกหนา ผลแก่แห้งไมแ่ ตก มี 1-2 เมล็ด รปู ไต ถิน่ อาศัย ขนึ้ ตามท่โี ลง่ แจง้ หรือชายปา่ ตามรมิ แมน่ ำ�้ ลำ� คลอง ในเขตท่ีราบน้�ำทว่ มถงึ และปา่ บุง่ ป่าทาม ทีค่ วามสงู จากระดบั นำ�้ ทะเลไม่เกนิ 200 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นเมษายน-สิงหาคม ผลแก่กรกฎาคม-พฤศจิกายน การกระจายพนั ธุ์ ในภาคกลางและภาคใต้ (ลงไปถึงรอบทะเลสาบสงขลา) คอ่ นขา้ งหายาก แตใ่ นภาคตะวนั ออก- เฉยี งเหนอื พบได้ง่าย ขึ้นตามปา่ บ่งุ ปา่ ทามท่วั ไป ตา่ งประเทศพบในลาว กัมพูชา และเวียดนามตอนใต้ การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดอ่อนและดอกออ่ น กนิ เปน็ ผกั สดหรอื ย่างไฟกอ่ น มีรสชาติมันอมขมเล็กน้อย กินแกล้มปงิ้ ปลา หรอื จิ้มน�ำ้ พรกิ (1, 23).--- สมนุ ไพร แก่นและราก ต้มน้�ำดมื่ เป็นยาบำ� รงุ กำ� ลังทางเพศ (1).--- เถาและแก่น ตม้ น�ำ้ ดื่มเป็นยาบ�ำรงุ แม่ลูกอ่อน และแกท้ ้องอดื ท้องเฟอ้ (17).--- เถาเครือกระพี้ + เถาเบ็นน�้ำ (Combretum trifoliatum) แช่นำ้� ดม่ื แกไ้ ข้ (18).--- ทุกส่วนของต้นเครือกระพ้ี น�ำมาเขา้ ยาอื่นๆ แก้ประดง แก้ปวดตาม ข้อ ปวดเมอ่ื ยตามร่างกาย (26, 27).--- เช้อื เพลงิ ไม้ใชท้ �ำฟืนหรือเผาถา่ น (8).--- ก่อสรา้ งหรือเคร่ืองมือ เนอ้ื ไม้เหนียว เอามาท�ำด้ามพร้า ดา้ มมีด (19).--- ลำ� ต้น น�ำมาท�ำขอบสวิง ลอบ หรือไซ (22).--- ดา้ นอน่ื พมุ่ ต้น ในธรรมชาติขึน้ หนาแนน่ เป็นทอ่ี ยอู่ าศยั หลบภยั แก่ปลาในชว่ งฤดูน้�ำหลาก (เช่นเดียวกับ เบ็นนำ�้ ) (18).--- ใบและ ยอดอ่อน เป็นอาหารวัว ควาย หรอื ชา้ ง (3, 8, 17, 21, 23)
ฝกั ออ่ น
ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 223 กระดูกอ่ึง ชือ่ ท้องถิ่นอืน่ : อีเหนียว (ภาคกลาง), กระดูกองึ่ ดูกอึ่ง (อสี าน, สระบุรี), มะแฮะนก (ภาคเหนือ), ขม้ินนาง ลูกประคำ� ผี (ปราจีนบรุ )ี , ขมิน้ ลงิ เขมา่ เหล็ก (ประจวบคีรีขันธ)์ , หนา้ นวล (สงขลา), เหนยี วหมา (ชุมพร), ข้ีกะตดื (อ.ศรสี งคราม นครพนม), แตดยดื (รอ้ ยเอด็ ), กาสามปีกนำ�้ (อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), ถว่ั เฮยี ด (อ.เจริญศลิ ป์ สกลนคร), ถว่ั แฮ (อ.กันทรารมย์ ศรีสะเกษ), เกลด็ ลิ่นนอ้ ย (อ.โพธิ์ตาก หนองคาย), ข้ดี ่งั ลงิ (อ.ศรเี ชียงใหม่ หนองคาย), ปรมเปร๊ียะกรอย พนมปงิ กยู (เขมร-อ.ท่าตูม สรุ ินทร)์ Dendrolobium triangulare (Retz.) Schindl. subsp. triangulare (วงศ์ Fabaceae) ชอ่ื พอ้ ง : - ไม้พุม่ สูง 1-2 ม. ก่ิงมี 3-6 เหลี่ยม ตามกิ่ง ก้านใบ ใบ ชอ่ ดอกและฝักมีขนยาวนุม่ หนาแนน่ คล้ายเสน้ ไหม สีขาว มีหใู บตดิ ที่โคนกา้ นใบ 1 คู่ รูปหอก ยาว 1-1.5 ซม. ใบประกอบมใี บย่อย 3 ใบ ใบยอ่ ยรูปไข่กลับหรอื หอกกลบั ยาว 6-12 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน-แหลม ผวิ ใบดา้ นบนมขี นประปราย ด้านลา่ งมขี นหนา แนน่ มเี สน้ แขนงใบข้างละ 8-20 เสน้ เห็นเด่นชดั ดา้ นลา่ ง ก้านใบยาว 2-4 ซม. ช่อดอกคล้ายรูปรม่ ออก เป็นกระจกุ สั้นทซี่ อกใบหรอื ปลายก่งิ กา้ นชอ่ ยาว 3-7 มม. มดี อกย่อย 20-30 ดอก/ช่อ กลบี เล้ียงสีเขียวโคน เช่ือมติดกัน ปลายแยก 5 แฉก เรียวยาว 5-10 มม. กลีบดอกรปู ดอกถ่ัว สขี าว ยาว 1 ซม. ผลแบบฝักแบน รูปแถบโคง้ กวา้ ง 0.4 ซม. ยาว 1-3 ซม. หยกั คอดเป็นปล้องรีตามต�ำแหนง่ เมลด็ 3-6 ปลอ้ ง ยาวปล้องละ 4-5 มม. ปลายมีติง่ สนั้ ผลแกแ่ หง้ ไมแ่ ตก เมลด็ รูปรี ถนิ่ อาศยั ขึ้นตามชายป่าหรอื ทโี่ ลง่ แจ้งในป่าเบญจพรรณ ทงุ่ หญ้า ท้งั ในเขตท่รี าบน�้ำท่วมถงึ และภูเขา ท่ีความสงู จาก ระดับน้ำ� ทะเลไมเ่ กิน 1,500 ม. ออกดอกช่วงเดือนมถิ นุ ายน-พฤศจกิ ายน ผลแกต่ ลุ าคม-กมุ ภาพนั ธ์ การกระจายพนั ธ์ุ ท่ัวประเทศ ตา่ งประเทศพบในเขตรอ้ นของทวปี แอฟรกิ าและเอเชยี การใชป้ ระโยชน์ สมุนไพร ทุกส่วน ใช้สดหรือตากแหง้ ตม้ น�้ำดมื่ บ�ำรงุ น้�ำนมแม่ลกู ออ่ น และชว่ ยกระชบั มดลกู (4, 14, 18).--- วัสดุ ก่งิ และตน้ ทำ� เปน็ คา้ งปลูกผกั (15).--- กิง่ และตน้ ตากแดดแล้วน�ำมามัดรวมกันท�ำไม้กวาด กวาดลาน (2, 4).--- ด้านอ่ืน ทัง้ ตน้ เป็นอาหารวัว ควาย หรือช้าง บางแหง่ สง่ เสรมิ ให้ปลกู เป็นพืชอาหารสัตว์ เพราะปลกู งา่ ย ทนต่อสภาพอากาศแลง้ และนำ้� ทว่ มขงั ได้ดี (3, 13, 26, 27), แมลงหลายชนิดชอบกินใบเป็นอาหาร (4).--- ใบเป็น อาหารของตก๊ั แตนปาทงั กา (17).--- ใบเป็นอาหารของแมลงทับ (13)
ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 225 เครือตาปลา ชอื่ ทอ้ งถ่นิ อื่น : เถาวัลยเ์ ปรยี ง (ภาคกลาง), เครอื เขาหนงั เถาตาปลา ล�ำเปรียง (นครราชสมี า), พานไสน (ชมุ พร), เครอื ตาปลา (อีสาน), เวือเปรง (เขมร-อ.ท่าตมู สุรนิ ทร์), กระมอมเงียม (ส่วย-อ.ทา่ ตูม สรุ ินทร์) Derris scandens (Roxb.) Benth. (วงศ์ Fabaceae) ชือ่ พ้อง : - ไม้เลอื้ ย ยาว 10-30 ม. เถาแก่กลมและบิดเล็กน้อย มีเปลือกเรียบสนี ำ�้ ตาลอมเทา มีชอ่ งอากาศจ�ำนวนมาก ตาม กงิ่ อ่อน แกนใบ ก้านใบ และชอ่ ดอกมีขนสน้ั น่มุ สีขาว-สนี ำ�้ ตาลออ่ น ใบประกอบแบบขนนกปลายใบค่ี ยาว 10-17 ซม. ใบยอ่ ยเรียงตรงข้าม มี 3-6 คู่ (7-13 ใบ) รปู ขอบขนาน รปู รี หรือรูปไข่ ยาว 3-6 ซม. ปลายใบ แหลมหรอื มน และเว้าตื้นเล็กนอ้ ย โคนใบมน-กลม ผิวใบดา้ นบนเกล้ียงเป็นมนั เงา ดา้ นลา่ งมีขนสน้ั ประปราย- เกลย้ี ง ด้านบนของแกนใบเปน็ ร่อง กา้ นใบยาว 2-5 ซม. โคนก้านใบบวมพอง ชอ่ ดอกแบบกระจะ ยาว 15-40 ซม. กลีบเลีย้ งรปู ระฆัง สแี ดงอมม่วง ยาว 4 มม. กลบี ดอกมี 4 กลีบ สีขาว-ชมพู รูปดอกถ่วั ยาว 1 ซม. ผล แบบฝกั แบน รูปรี-รูปขอบขนาน กวา้ ง 1-1.5 ซม. ยาว 3-8 ซม. หนา 0.3 ซม. ปลายแหลม ผวิ เรียบ มขี น ประปราย เปลอื กฝกั บาง ขอบฝักด้านหนึ่งมปี กี บาง กวา้ ง 2 มม. หยักคอดเลก็ น้อยตามตำ� แหน่งเมลด็ มี 1-3 เมล็ด รปู ไต ผลแก่แหง้ ไม่แตก ถิน่ อาศยั ขนึ้ ตามชายป่าหรอื รมิ นำ�้ ท้ังบนภูเขาหรือเขตท่รี าบนำ้� ทว่ มถงึ ในป่าดงดบิ หรอื ป่าบงุ่ ป่าทาม ท่คี วามสูง จากระดบั นำ้� ทะเลไม่เกนิ 1,000 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นมิถนุ ายน-กนั ยายน ผลแก่ตลุ าคม-มกราคม การกระจายพันธุ์ พบไดง้ า่ ยทัว่ ประเทศ ต่างประเทศพบในเขตรอ้ นของภมู ภิ าคเอเชยี ใต้ จีนตอนใต้ ไตห้ วัน เอเชยี - ตะวนั ออกเฉยี งใต้ จนถงึ ตอนเหนอื ของทวปี ออสเตรเลีย การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น กนิ เปน็ ผกั สด จิม้ น้ำ� พรกิ หรือแกล้มปิ้งปลา (10, 24, 27).--- สมนุ ไพร เถา ต้มน้�ำด่มื แก้ ปวดหลัง ปวดเอว (13, 14).--- เถา นำ� มาเผาไฟจนมยี างสแี ดงออกมา แล้วนำ� เถาไปต้มน้ำ� ดม่ื รกั ษาอาการปวด เม่ือย (23).--- เถา ต้มน�้ำดม่ื เป็นยาบำ� รงุ ก�ำลัง (23).--- เถา ตัดเปน็ ช้ินเล็กๆ เขา้ ยาอ่ืนๆ ต้มน�้ำดื่มเปน็ ยาระบาย อ่อน ๆ (24, 26, 27).--- เถา ตัดเปน็ ชิน้ เลก็ ๆ เ่ ข้ายาอนื่ ๆ ตม้ นำ้� ดืม่ รกั ษาโรคซาง (27).--- วสั ดุ เถาเสน้ เล็ก มเี นอื้ เหนยี ว ใช้แทนเชอื ก มดั ฟนื มดั ววั -ควาย (10, 14, 26, 27).--- เถา ใชท้ �ำขอบ/โครง/กง เคร่ืองจกั สาน เชน่ ขอบลอบ ไซ หรือสวิง (19).--- เถา ไม่นิยมทำ� กงลอบ เพราะเวลาแหง้ จะเปราะหกั ง่าย (25).--- เถาขนาดใหญ่ น�ำมาทบุ แล้วฉีกใหเ้ ปน็ ฝอย ทำ� เป็นไม้ฟอย (ไมก้ วาด) (23)
ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอสี าน 227 เครือทะมอง ชอื่ ทอ้ งถน่ิ อื่น : ถอบแถบ ถอบแถบน�้ำ ถอบแถบทะเล แควบทะเล ผกั แถบ (ภาคกลาง, ภาคตะวนั ตก), เครอื ล�ำ- เปียง เครอื ตามอง เครอื ทะมอง เครอื ชะมอง (นครราชสีมา), เครือตาปลา เครอื ตบั ปลา เครอื มันปลา (อีสาน), เครือตาปลาตวั ผู้ (อ.โกสุมพิสัย มหาสารคาม), ถอบแถบ ถอบแถบทาม (อ.ศรสี งคราม นครพนม), เวอื ขะมวง (เขมร-อ.ท่าตูม สุรินทร)์ , ขะมอง (ส่วย-อ.ท่าตูม สุรนิ ทร์) Derris trifoliata Lour. (วงศ์ Fabaceae) ชื่อพ้อง : - ไม้เลื้อย ยาว 5-15 ม. เถากลมมเี ปลือกเรียบสนี ำ�้ ตาลอมเทา มชี อ่ งอากาศจำ� นวนมาก คลา้ ยกบั เครอื ตาปลา (Der- ris scandens) มาก มีความแตกตา่ งท่ีเครือทะมอง ตามกง่ิ อ่อน ชอ่ ดอก ใบ และฝักจะไมม่ ขี น (เครือตาปลา จะมขี น) ใบเป็นใบประกอบ มี 3-5 ใบยอ่ ย รปู รีหรอื รปู ไข่ ยาว 5-13 ซม. (เครอื ตาปลามีจำ� นวนใบยอ่ ยมากกวา่ และมขี นาดใบที่เล็กและสนั้ กวา่ ) เนอื้ ใบหนา ชอ่ ดอกยาว 5-10 ซม. (สั้นกว่าเครือตาปลา) กลีบเลี้ยงสีขาวอม เขยี ว (เครอื ตาปลามีกลีบเลย้ี งสีแดงอมม่วง) ผลแบบฝกั แบน รปู ค่อนขา้ งกลม หรอื รูปรเี บ้ียว กว้าง 2.5-4 ซม. ปลายกลม-ตดั ขอบฝักด้านหนึ่งมปี ีกบาง กวา้ ง 3-4 มม. ถ่นิ อาศยั ชอบข้ึนตามชายปา่ หรอื ทีร่ กร้างใกล้ชายทะเล ในพนื้ ทด่ี นิ เค็ม หรอื รมิ นำ�้ พบมากในป่าชายหาดและ ป่าชายเลน แต่พบเล็กน้อยในป่าดงดิบและปา่ บุง่ ป่าทาม ท่คี วามสงู จากระดับน้�ำทะเลไมเ่ กนิ 300 ม. ออกดอก ชว่ งเดือนเมษายน-สิงหาคม ผลแกส่ งิ หาคม-ธันวาคม การกระจายพนั ธ์ุ พบไดท้ ่ัวประเทศ ต่างประเทศพบในเขตร้อนของทวปี แอฟรกิ าด้านตะวนั ออก ทวปี เอเชีย ทวปี - ออสเตรเลยี และหมูเ่ กาะแปซิฟกิ ดา้ นตะวนั ตก การใชป้ ระโยชน์ ก่ิงใช้แต่งอ�ำพรางเคร่ืองมือจบั ปลา อาหาร ยอดอ่อน รสมันปนฝาด เปน็ ผกั สด จ้มิ น�้ำพริกหรอื แกล้มกบั ลาบ กอ้ ย ปง้ิ ปลา เครอื่ งเคียงเม่ยี งลำ� ขา่ (9, 10, 15, 17, 18, 20).--- สมนุ ไพร เถาเข้ายาอ่ืนๆ ตม้ น�้ำดม่ื แก้ปวดเมือ่ ย (8, 13, 14).--- เถา สบั ตากแหง้ บดใส่ แคปซลู อยา่ งเดียว กินแกป้ วดขอ้ -เอ็น (7).--- แก่น ตม้ นำ�้ ดืม่ แก้รอ้ นใน ปาก- เปอื่ ย (แผลในปากจากอาการรอ้ นใน) (18).--- เชอื้ เพลงิ เถาขนาดใหญใ่ ช้ ทำ� ฟืนหรือเผาถา่ น ไฟแรงดี (13).--- วสั ดุ เถาเส้นเลก็ มีเนือ้ เหนียว ใชแ้ ทน เชือก มดั ฟนื มัดสิง่ ของตา่ งๆ เช่น ใชม้ ัดหรือถกั ลอบ ไซ หรอื ไพหลังคาหญา้ (1, 2, 6, 10, 13, 14, 15, 17).--- เถาเส้นเล็กนำ� เอาไปตม้ ลอกเปลอื กท้งิ แลว้ ยอ้ มสีหรอื ไมก่ ไ็ ด้ น�ำมาจักสานตะกร้า กระเช้าของขวัญ หรอื ใช้ร่วมกบั ตน้ ผา้ ฮ้าย (Croton krabas) ทำ� เป็นโครงตะกร้า.--- กิ่ง ใชแ้ ต่งอำ� พรางเคร่อื งมือ จบั ปลา (9).--- เถาขนาดใหญ่ ทุบแลว้ ฉกี ใหเ้ ปน็ ฝอย ตากแห้ง ใชท้ ำ� ไมก้ วาด ได้เช่นเดยี วกับ เครอื ตาปลา (Derris scandens) (8, 9).--- ด้านอน่ื ความ เชื่อแตโ่ บราณ ใช้เถามาผกู เอวก่อนลงนำ�้ ชว่ ยไลจ่ ระเข้ (4).--- ท้ังตน้ ใชเ้ ป็น อาหารควาย-ววั (3)
ฝกั ออ่ น ต้นกลา้ ท่กี ำ� ลังงอกหลงั น้�ำลด ฝกั แก่ทเ่ี มลด็ หลุดออกไปแล้ว รไมกยร้ารางใบนยพัก้นืษท์ ท่ีบร่ี ุ่งะทบาามดหนกั ตามที่
ปา่ บ่งุ ป่าทาม ภาคอสี าน 229 ไมยราบยักษ์ ช่อื ท้องถน่ิ อ่ืน : ไมยราบยกั ษ์ (ท่วั ไป), ไมยราบต้น (ภาคเหนือ) Mimosa pigra L. (วงศ์ Fabaceae) ชื่อพอ้ ง : - ไม้พุม่ สงู 1.5-4 ม. มอี ายปุ ระมาณ 5 ปีแล้วตาย ตามกิ่งออ่ น แกนใบ กา้ นใบ ช่อดอก และผลมขี นแขง็ สากคาย หนาแน่น กง่ิ และแกนใบมีหนามแหลมคม ยาว 3-7 มม. ใบประกอบแบบขนนนก 2 ช้นั ยาว 10-20 ซม. ใบ จะหบุ เม่ือถูกสมั ผสั ใบประกอบเรยี งตรงข้าม 10-14 คู่ ใบยอ่ ยเรียงตรงขา้ ม มี 35-60 คู่ รปู แถบแกมขอบขนาน ยาว 5.5 – 8.5 มม.ปลายใบมน โคนใบตดั และเบีย้ ว มขี นแข็งทีข่ อบใบ ชอ่ ดอกเป็นกระจุกแนน่ ทรงกลมแกมรี กวา้ ง 1.5 ซม. ยาว 2 ซม. ออกตามซอกใบ 2 ช่อ/ซอก ดอกสีชมพู กา้ นชอ่ ดอกยาว 2 ซม. ผลแบบฝกั แบน รปู แถบแกมขอบขนาน กว้าง 1-1.3 ซม. ยาว 6-10 ซม. ปลายกลม มีเส้นขอบฝักหนา เปลือกฝกั บางผวิ เป็น คล่ืนตามแนวขวางหรือแนวห้องเมล็ด มี 20-27 เมลด็ ฝกั แกแ่ ห้งไม่แตก แต่จะหลดุ เปน็ ท่อนๆ ตามห้องเมลด็ คงเหลอื แตเ่ ส้นขอบฝกั ติดทนไว้บนต้น ถิ่นอาศยั ชอบข้ึนตามท่โี ล่งแจ้งในพ้นื ท่ชี ุ่มนำ�้ ในเขตที่ราบน�้ำท่วมถงึ ริมแม่นำ้� ขอบบงึ ขอบอ่างเกบ็ น�ำ้ หรือคลอง ชลประทาน บางคร้ังพบตามชายปา่ ดงดิบชื้นหรอื ป่าดงดิบเขา ทค่ี วามสงู จากระดับน�้ำทะเลไม่เกนิ 1,100 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นมนี าคม-ตลุ าคม ผลแกพ่ ฤษภาคม-มกราคม การกระจายพนั ธุ์ เป็นวัชพชื พบได้ทั่วประเทศ มถี ิ่นกำ� เนิดมาจากทวีปอเมริกาใต้ ปัจจุบันกระจายเข้าไปในเขต รอ้ นท่วั โลก ไมยราบยักษเ์ ป็นพชื โตเร็ว ขยายพันธ์ุด้วยเมล็ดท่ไี หลไปตามนำ�้ และดนิ -ทรายที่ถูกขุดหรือดดู ไปใช้ถม ทีด่ นิ หรือกอ่ สรา้ ง ระบาดหนักมากตามพื้นทชี่ ุ่มนำ�้ ขอบอา่ งเกบ็ นำ้� และทนี่ ารกร้างท่ัวประเทศไทย การใช้ประโยชน์ เช้อื เพลิง ต้นและกิง่ ใชท้ ำ� ไม้ฟืน ต้นขนาดใหญ่ประมาณขอ้ มอื ขึน้ ไป ใชเ้ ผาถ่าน ไดถ้ า่ นคณุ ภาพดี (1) การควบคุม ใชร้ ถไถตดิ ผานหนา้ ดนั ตน้ ออก แล้วไถเอารากและตอออกใหห้ มด เก็บซากของตน้ และก่ิงไปท�ำไมฟ้ ืน/เผา ถา่ น รอใหต้ น้ กลา้ งอกจากเมลด็ ทย่ี ังตกคา้ งในดนิ สงู ไม่เกิน 5 ซม. แล้วให้ถอนออก หรือนำ� แพะหรอื แกะเข้าไป เลี้ยง จนแนใ่ จวา่ ไมม่ เี มล็ดเก่าตกคา้ ง ส�ำหรบั ในพ้นื ที่ท่ีเพงิ่ เรม่ิ พบเหน็ ตน้ กล้าหรือพบเพียงไมก่ ี่ตน้ ใหร้ บี ถอนทิ้ง หรอื ขุดออกกอ่ นท่ีจะระบาดไปมาก
ใบประดับของชอ่ ดอกและหใู บ ฝกั แก่ ช่อดอกท่มี ีใบประดบั ค่อนขา้ งใหญแ่ ละตดิ คงทน
ป่าบงุ่ ป่าทาม ภาคอสี าน 231 กระเฉดต้น ชอ่ื ท้องถนิ่ อื่น : กระฉูด กระเฉดตน้ กระเฉดเทศ (ทว่ั ไป), กระเฉดตน้ ผกั กะเสดตน้ (อสี าน) Neptunia plena (L.) Benth. (วงศ์ Fabaceae) ชอ่ื พอ้ ง : - ไมน้ ำ�้ ลม้ ลุก อายหุ ลายปี ถา้ ข้นึ บนบกต้นจะต้งั ตรง สูง 0.5-2 ม. บางครงั้ ขนึ้ ในนำ�้ ซ่งึ ล�ำต้นจะเลื้อยลอยน้ำ� ได้ ยาวถึง 7 ม. และมนี วมนุ่มสขี าวหมุ้ ลำ� ต้น ตามกิ่งออ่ น ใบ และช่อดอกเกล้ยี ง ใบประกอบแบบขนนนก 2 ช้ัน ยาว 10-20 ซม. ใบจะหุบเม่ือถูกสัมผสั ใบประกอบเรยี งตรงขา้ ม 3-5 คู่ ใบย่อยเรียงตรงขา้ ม มี 13-30 คู่ รปู แถบแกมขอบขนาน ยาว 4-15 มม. ปลายใบมนหรือมตี ่งิ สน้ั โคนใบกลมและเบยี้ ว ผวิ เกลีย้ ง โคนใบมสี ีออกขาว แกนใบและก้านใบมรี ่องกลางดา้ นบน ช่อดอกเปน็ กระจุกแน่นทรงกลมแกมรี กวา้ ง 2 ซม. ออกตามซอกใบและ ยอด ตง้ั ข้นึ ดอกสีเหลือง กา้ นชอ่ ดอกยาว 12-20 ซม. ผลแบบฝักแบน รปู ขอบขนาน กวา้ ง 1.5-2 ซม. ยาว 3-6 ซม. ปลายแหลม มีเสน้ ขอบฝกั หนา เปลอื กค่อนขา้ งหนา ผิวเกลี้ยงเปน็ คล่นื ตามเมลด็ ตดิ เป็นกลมุ่ ทปี่ ลาย ก้านชอ่ ดอก 1-10 ฝกั /กลุ่ม ผลแก่แหง้ แตก มี 3-20 เมลด็ สีด�ำมนั เงา รูปไข่ ยาว 0.8-1 ซม. กระเฉดต้น มลี กั ษณะคลา้ ย ผักกระเฉด (ท่ีนยิ มกนิ ทวั่ ไป) (Neptunia oleracea) มาก แตกต่างกนั ที่ กระเฉดต้น สว่ นใหญ่จะพบขน้ึ เปน็ ตน้ ตง้ั ตรง ทีต่ ามซอกใบและช่อดอกมหี ใู บและใบประดบั รูปไข่-รปู ใบหอก ยาว 1 ซม. ตดิ คงทน และมตี ่อมรปู ภเู ขาไฟท่ีบนกา้ นใบระหวา่ งใบประกอบคสู่ ดุ ท้าย และมีตอ่ มกลมสีขาวที่ ปลายอับเรณอู ีกดว้ ย สำ� หรับผกั กระเฉด เปน็ ไมเ้ ลอ้ื ยคลานตามผวิ นำ้� หูใบและใบประดับจะมีขนาดสั้นกวา่ 5 มม. และหลดุ รว่ งง่าย และไมพ่ บต่อมที่ 2 ต�ำแหนง่ ดงั กลา่ ว ถน่ิ อาศัย ชอบขนึ้ ตามที่โล่งแจ้งตามขอบบงึ คนู ำ้� ที่นำ�้ นง่ิ และมีระดบั น้�ำลึกไมเ่ กนิ 50 ซม. ทีค่ วามสงู จากระดับน้�ำ ทะเลไม่เกิน 1,000 ม. ออกดอกและติดผลตลอดท้ังปี การกระจายพนั ธุ์ เป็นวชั พืชพบได้ทัว่ ประเทศ ปจั จบุ ันกำ� ลังมกี ารแพร่ระบาดหนกั ตามท่ีรกร้างขา้ งทางและ พื้นท่ีชุ่มนำ�้ มถี ่นิ ก�ำเนิดมาจากเขตรอ้ นของทวปี อเมริกา ปัจจบุ นั กระจายเขา้ ไปในเขตร้อนและกึง่ เขตร้อนของ ทวีปเอเชยี และออสเตรเลยี การใช้ประโยชน์ - การควบคุม ใช้รถไถไถออก ถา้ รถไถเขา้ ไมไ่ ดใ้ ห้ใชจ้ อบขุดออก แล้วเก็บซากของต้นมาเผาท�ำลายหรือหมักปุ๋ย หากมตี ้น ท่ีงอกใหม่จากเมลด็ ทีต่ กคา้ งในดินใหถ้ อนออกหรือนำ� แพะ แกะ ววั หรอื ควาย เข้าไปเลี้ยงจนกว่าจะแนใ่ จว่าไม่มี เมล็ดเก่าตกคา้ งในดินแล้ว
หูใบรปู เขากวาง ฝกั แก่
ปา่ บงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน 233 อะราง ชือ่ ทอ้ งถิน่ อนื่ : นนทรี (ภาคกลาง, ภาคใต)้ , นนทรปี ่า (ฉะเชิงเทรา), อินทรี (จันทบุรี), คางร้งุ คางฮงุ่ (พิษณโุ ลก), จ๊าขาม ช้าขม (เลย), อะราง (นครราชสมี า, ร้อยเอด็ , อดุ รธาน,ี อ.เจรญิ ศลิ ป์ สกลนคร), ร้าง (นครราชสีมา), สะฝาง (อ.ศรสี งคราม นครพนม), ตาเซก (เขมร-บรุ รี มั ย์), ราง (สว่ ย-สุรนิ ทร์) Peltophorum dasyrrhachis (Miq.) Kurz (วงศ์ Fabaceae) ชือ่ พอ้ ง : - ไม้ต้น สูง 10-30 ม. เปลอื กเรยี บสนี ้�ำตาลอมเทา มีช่องอากาศจ�ำนวนมาก ตามก่ิงออ่ น ช่อดอก แกนใบ และ ชอ่ ดอกมขี นส้นั สีน้�ำตาลแดงหนาแน่น ยอดมีหใู บหมุ้ รูปเขากวาง ยาว 1-2.5 ซม. ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ยาว 15-40 ซม. ใบประกอบเรยี งตรงขา้ ม มี 5-9 คู่ ใบยอ่ ยเรียงตรงข้าม มี 6-16 คู่ รปู ขอบขนาน ยาว 1-2 ซม. ปลายใบกลม-เวา้ ตน้ื โคนใบตดั และเบีย้ ว ผิวใบด้านล่างมีขนส้ัน ชอ่ ดอกแบบกระจะ ยาว 15-30 ซม. หอ้ ยลง ออกตามซอกใบใกล้ยอด มีกล่ินหอมออ่ นๆ กลบี เลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 5 กลบี กลบี ดอกสีเหลอื ง รูปไขก่ ลับ ยาว 1.5-2.5 ซม. กา้ นดอกยอ่ ยยาว 2-4 ซม. ผลแบบฝักแบน มีปกี บางรอบ รปู รี ยาว 4-6 ซม. กวา้ ง 2-2.5 ซม. ปลายท้งั สองด้านเรียวแหลม ฝกั บิดเป็นเกลียวเลก็ น้อย ผลแก่แห้งไม่แตก มี 4-8 เมล็ด อะราง มีลกั ษณะทว่ั ไปคล้ายกบั นนทร/ี นนทรบี า้ น (Peltophorum pterocarpum) แตกตา่ งกนั ที่นนทรี จะมชี อ่ ดอกและชอ่ ผลตัง้ ขึ้น และไม่พบหใู บรูปเขากวาง ถ่นิ อาศยั ขึ้นตามชายปา่ ดงดิบ ป่าผลัดใบ หรือป่าเสอ่ื มโทรม หรือตามพื้นท่ดี นิ ลกู รังหรือดนิ ปนทราย ในปา่ บุง่ ปา่ ทามมกั จะพบตามแนวเชอ่ื มต่อกับปา่ บก หรือบนเนนิ ดิน เปน็ ไมเ้ บกิ นำ� โตเรว็ เหมาะสมตอ่ การน�ำไปปลูกฟืน้ ฟู ปา่ ขนึ้ ทค่ี วามสูงจากระดบั น�้ำทะเลไมเ่ กนิ 1,000 ม. ผลัดใบช่วงเดอื นมกราคม-กุมภาพันธ์ ออกดอกพรอ้ มแตก ใบใหมช่ ว่ งเดอื นกุมภาพันธ์-เมษายน ผลแก่พฤษภาคม-กรกฎาคม การกระจายพันธุ์ พบท่วั ประเทศ ตา่ งประเทศพบในลาว เวยี ดนาม กมั พชู า คาบสมทุ รมาเลเซีย สมุ าตรา และ บอรเ์ นียว การใชป้ ระโยชน์ อาหาร เปลอื ก มรี สฝาด สบั แลว้ ขูดใส่กับตำ� แตง ชว่ ยดบั พษิ จากยางของแตง ไมก่ ดั ลน้ิ -ปาก (ปกติหลังจาก กินต�ำแตงแล้วล้นิ จะเสยี สมดลุ ในการรบั รส เชน่ ดม่ื นำ�้ แล้วมีรสขมเฝ่ือน (คุณสมบัติเหมอื นเปลอื กของเปือยนำ้� (Lagerstroemia floribunda) (24, 25).--- เชือ้ เพลงิ ไมใ้ ช้ท�ำฟนื หรือเผาถา่ น (13, 18).--- กอ่ สร้างหรอื เครอื่ งมอื เน้ือไม้แข็งแรงปานกลาง แปรรูปเป็นไมฝ้ า กระดาน เสา โครงเครา่ กอ่ สร้างบ้าน หรือท�ำเฟอรน์ เิ จอร์ (18, 20, 24, 25).--- เน้อื ไมแ้ ข็งแรงปานกลาง มอดเจาะกินได้ แต่แขง็ แรงมากกวา่ ต้นคางฮุง (Albizia lebbeck- oides) ใชใ้ นงานก่อสรา้ ง (25)
ฝกั แก่ เถาอายมุ าก
ปา่ บงุ่ ป่าทาม ภาคอสี าน 235 หนามกระทิง ชอื่ ทอ้ งถิ่นอนื่ : กระถนิ เหนือ (นครสวรรค)์ , หนามกระทิง เครือกระทิง หนามกระจาย (อสี าน), หนามขแ้ี ฮด (ภูไท-พรรณานิคม สกลนคร, ไทญอ้ -อ.ศรสี งคราม จ.นครพนม), กลนั เต้ย ปันลาสะเอ้ิด (เขมร-อ.ท่าตูม สรุ ินทร)์ , ว้ะปร้ม (ส่วย-อ.ท่าตูม สุรนิ ทร)์ Senegalia thailandica (I. C. Nielsen) Maslin, Seigler & Ebinger (วงศ์ Fabaceae) ช่อื พ้อง : Acacia thailandica I.C. Nielsen ไมเ้ ล้อื ย ยาวถึง 7 ม. เปลือกแตกเป็นรอ่ งตืน้ สีน้�ำตาล ก่ิงและแกนใบมหี นามแหลมคม และโค้งกลบั ยาว 1-6 มม. กิ่งมีช่องอากาศเป็นจดุ สีขาว ตามก่ิงออ่ น ใบออ่ น แกนใบ และก้านใบมีขนสั้นสีสนิมหนาแน่น ใบ ประกอบแบบขนนก 2 ชนั้ เรยี งสลับ แกนใบยาว 3-9 ซม. กา้ นใบยาว 0.5-1.5 ซม. มตี อ่ มนนู คล้ายไฝ มใี บ ประกอบเรยี งตรงขา้ ม 8-11 คู่ และมใี บย่อยเรียงตรงข้าม 17-40 คู่ ใบยอ่ ยรูปขอบขนานไม่สมมาตร ยาว 3-5.5 มม. ปลายแหลม-มน โคนใบตดั และเบยี้ ว ไม่มีกา้ นใบยอ่ ย ชอ่ ดอกแบบแยกแขนง ยาว 25-40 ซม. ออก ตามซอกใบหรือปลายก่งิ ช่อดอกยอ่ ยอัดแนน่ เปน็ รปู ทรงกลม สีขาว กว้าง 1 ซม. (คล้ายดอกกระถนิ ) ผลแบบฝกั แบน รูปขอบขนาน กว้าง 2 ซม. ยาว 6 ซม. ม้วนงอคลา้ ยก�ำปั้นมือ ผิวเกล้ียง เมอื่ แกแ่ หง้ แตก สนี ้ำ� ตาล เมลด็ รูปขอบขนาน ยาว 3 มม. ถน่ิ อาศยั ข้นึ ตามรมิ น้�ำ ชายปา่ บุ่งป่าทาม หรือทรี่ กร้างในเขตพ้ืนท่ีบงุ่ ทาม ท่ีความสูงจากระดบั น�้ำทะเลไม่เกนิ 200 ม. ออกดอกช่วงเดอื นธันวาคม-มีนาคม ผลแกก่ มุ ภาพันธ-์ พฤษภาคม การกระจายพันธ์ุ พบในภาคกลาง เขตลุ่มน้�ำเจ้าพระยา ต้ังแต่ จ.นครสวรรค์ ลงมาถึงล่มุ น�้ำแมก่ ลอง ในเขต จ.กาญจนบรุ ี และภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื พบในเขตลุม่ น�้ำมลู และลุ่มนำ�้ สงครามเทา่ นัน้ ต่างประเทศพบใน กมั พชู า และนา่ จะพบในลาวอกี ดว้ ย การใช้ประโยชน์ สมนุ ไพร ราก ตม้ น�้ำดม่ื เป็นยาระบาย (18).--- ดา้ นอื่น ท้ังตน้ เป็นอาหารช้าง (3)
ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 237 โสนน้อย ช่ือท้องถนิ่ อ่นื : โสน (ภาคกลาง), โสนน้อย (อ.มญั จาคีรี ขอนแกน่ ) Sesbania cannabina (Retz.) Pers. (วงศ์ Fabaceae) ชื่อพ้อง : - ไม้น�ำ้ ล้มลุก แตกกิง่ ต่�ำจำ� นวนมาก อายปุ เี ดยี ว สูง 2-3.5 ม. ลำ� ต้นมีเส้นใยเหนยี ว ตามกิ่งอ่อน แกนใบ ก้านใบ และชอ่ ดอกเปน็ เหลย่ี มและมีขนส้ัน ตอ่ มาเกลี้ยง ตามกงิ่ อ่อนและลำ� ตน้ ปกตไิ ม่มีหนาม หากมจี ะเป็นหนาม ตุม่ มน ไมแ่ หลมคม ใบประกอบแบบขนนก ยาว 15-25 ซม. ใบย่อยเรียงตรงข้าม มี 15-30 คู่ รูปขอบขนานแกม รูปแถบ ยาว 1-2 ซม. ปลายใบกลมและมตี ิ่งหนามส้ันๆ โคนใบมนและเบย้ี ว แผ่นใบดา้ นล่างมีขนสั้น แกนใบ ด้านบนเปน็ รอ่ ง กา้ นใบส้ันและหนา ยาว 5 มม. ชอ่ ดอกแบบกระจะ ออกตามปลายกิง่ ห้อยลง ยาว 3-10 ซม. กลบี เลยี้ งสีเขยี วออ่ น รปู ระฆัง ยาว 3-4 มม. ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอกรูปดอกถั่ว (คล้ายดอกแคบ้าน) ยาว 1.2-1.8 ซม. สีเหลือง บางคร้ังมจี ุดกระสนี �ำ้ ตาลดา้ นนอก ผลแบบฝกั กลมเปน็ เส้นยาว กวา้ ง 2.5-3.5 มม. ยาว 12-22 ซม. เปลอื กฝกั ผิวเกลีย้ ง มันเงา มีรอยคอดเล็กน้อยตามห้องเมล็ด ฝกั แก่แหง้ แตกมี 20-35 เมล็ด รูปทรงกระบอก ยาว 4 มม. โสนนอ้ ย คล้ายกบั โสนคางคก (Sesbania bispinosa (Jacq.) W. Wight) มาก ซึง่ กินดอกได้เช่นเดยี วกนั แต่โสนคางคกจะมจี ุดแตกต่างกันที่ ตามกิง่ แกนใบ และใบจะเกลยี้ ง ไม่มขี น และตามล�ำตน้ ก่งิ แกนใบ และ กา้ นช่อดอกจะมีหนามแหลมคม ถนิ่ อาศยั ขนึ้ ตามท่โี ลง่ แจง้ รมิ นำ้� ขอบบงึ คนู ้�ำ หรือท่งุ นา ท่มี รี ะดบั นำ้� ลึกไม่เกิน 50 ซม. ในเขตท่รี าบน้�ำท่วม ถึง ทคี่ วามสูงจากระดับน้�ำทะเลไม่เกนิ 1,000 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นมถิ ุนายน-กันยายน ผลแก่ตลุ าคม-มกราคม หลงั จากนัน้ จะแหง้ ตายทงั้ ตน้ การกระจายพันธุ์ พบได้ง่ายทวั่ ประเทศ ต่างประเทศพบในเขตรอ้ นและกึ่งเขตรอ้ นในทวีปเอเชยี ต้ังแต่อิรัก เอเชียใต้ จนี ตอนใต้ เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ จนถึงตอนเหนอื ของออสเตรเลยี และหมเู่ กาะแปซฟิ ิกด้านตะวันตก การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดออ่ นและดอก ลวกหรือน่ึง หรือใช้แตด่ อกมาผดั นำ้� มัน ใชจ้ ม้ิ น�้ำพริก, เปลือกมีเสน้ ใยเหนยี วใช้ ผลิตเส้นใยปอ/ควัน่ เชือกได้, หรือปลกู ปรบั ปรุงดนิ แลว้ ไถกลบเปน็ ปุ๋ยพชื สดไดเ้ ชน่ เดียวกบั ปอเทือง (Crotalaria juncea L.) (2)
ผลที่ผา่ ตามแนวขวาง
ป่าบ่งุ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 239 ผักโหบเหบ ชื่อท้องถ่ินอ่นื : สันตะวา (ภาคกลาง), สนั ตะวาใบพาย (กรงุ เทพฯ), ผกั โตวา (นครราชสีมา), ผกั โถบแถบ ผกั โหบเหบ (อีสาน) Ottelia alismoides (L.) Pers. (วงศ์ Hydrocharitaceae) ชอ่ื พอ้ ง : - ไมน้ �้ำล้มุ ลกุ อายปุ เี ดยี ว รากยดึ ตดิ ดนิ ใตท้ ้องน้�ำ ใบจมอยู่ใต้น�ำ้ ลำ� ตน้ สัน้ มาก รากสขี าวเนื้ออ่อนนมุ่ คล้ายฟองน�้ำ ก้านใบและกา้ นดอกเป็นสามเหลยี่ ม ใบเดย่ี ว เรียงเวียนเป็นกระจกุ ชดิ ดินอยู่ใต้ผวิ น้ำ� ใบรูปหวั ใจ-รปู ไต กว้าง 10-20 ซม. ยาว 9-17 ซม. ปลายใบกลม-แหลม โคนใบเวา้ รปู หัวใจ ผวิ ใบเกล้ียงและยน่ เนื้อใบบาง อ่อนนุ่ม สเี ขียวคล�้ำ-สนี ำ�้ ตาลอมแดง มเี ส้นแขนงใบและเสน้ กลางใบออกจากโคน 6-9 เส้น กา้ นใบยาว 10-30 ซม. ดอกเดีย่ วชพู ้นผวิ น้�ำ กลีบเลีย้ งและกลีบดอกอยา่ งละ 3 กลบี กลีบดอกสีขาวโคนกลีบดา้ นในสีเหลอื ง รปู ไข-่ ไข่กว้าง ยาว 2-3 ซม. ปลายแหลม โคนกลีบเลย้ี งมีฐานรองดอกรปู หอก ยาว 2.5-4 ซม. มปี กี ตามแนวยาว ผลรปู รียาว ยาว 2.5-5 ซม. กว้าง 1-2 ซม. มีปีกตามแนวยาว 3-10 ปีก กว้าง 5 มม. ปีกบดิ เป็นคลื่น ผลแก่แตก ตามแนวยาว มเี มลด็ ขนาดเล็กจำ� นวนมาก ถ่ินอาศัย ขนึ้ ตามทีโ่ ล่งแจ้งหรอื รำ� ไร ในแหล่งนำ้� นิ่ง-ไหลเอ่ือย และมีระดบั นำ้� ลึกไม่เกิน 50 ซม. ทค่ี วามสงู จาก ระดับนำ�้ ทะเลไมเ่ กนิ 1,000 ม. ออกดอกและตดิ ผลชว่ งเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน ต้นจะแหง้ ตายไปเม่ือน�้ำแห้ง การกระจายพนั ธุ์ พบไดท้ วั่ ประเทศ ในธรรมชาตพิ บไมบ่ อ่ ยนกั แต่ส่วนใหญม่ ักพบเป็นวชั พชื ตามนาข้าว คนู �้ำข้าง ทาง ตา่ งประเทศพบในเขตรอ้ นและกงึ่ เขตรอ้ นในทวีปเอเชยี แอฟริกา และตอนเหนือของออสเตรเลยี การใช้ประโยชน์ อาหาร ดอกออ่ นและยอดออ่ น กินเปน็ ผักสดหรอื ลวก กินแกล้มกบั ป่น นำ้� พริก ซบุ หรอื ลาบ (26, 27)
ดอกเพศเมยี
ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอสี าน 241 หญ้าฮ้ินไก่ ช่อื ท้องถน่ิ อื่น : สนั ตะวาใบข้าว (ภาคกลาง), สันตะวาขนไก่ (สุราษฎร์ธาน)ี , หญ้าฮ้ินไก่ (อ.ศรสี งคราม นครพนม), หญา้ หูบหบี (ไทญอ้ -อ.ศรสี งคราม จ.นครพนม) Vallisneria spiralis L. (วงศ์ Hydrocharitaceae) ชอ่ื พอ้ ง : - ไมน้ ำ้� ลมุ้ ลุก อายุปเี ดยี ว รากยดึ ตดิ ดินใต้ทอ้ งน�้ำ ใบจมอยู่ใต้นำ�้ ล�ำต้นส้ันมาก มไี หลอยใู่ ต้ดนิ แทงออกด้านข้าง กอ ใบเดี่ยวเรียงกระจกุ ชิดดิน รูปแถบยาวคลา้ ยเส้นรบิ บิ้น กว้าง 1-2 ซม. ยาว 20-70 ซม. ปลายใบเรียว แหลม-มน ขอบใบจกั ฟันเลอ่ื ยถ่-ี เรยี บ มีเส้นแขนงใบตามแนวยาว 3-5 เส้น ใบสนี ้�ำตาลอมเขียว-เขียวออ่ น ทข่ี อบใบสีเขม้ กวา่ ผวิ เกลย้ี ง เนอ้ื บางอ่อนนุ่มคล้ายฟองนำ�้ แผ่นใบเหยยี ดตรง ไม่มีกา้ นใบ ดอกเดีย่ ว แยกเพศ อยู่ต่างต้นกนั ดอกเพศผ้อู ย่ใู ต้นำ�้ กา้ นดอกยาว 2-5 ซม. ดอกเพศเมยี ลอยปรมิ่ นำ�้ กา้ นดอกยาว 20-120 ซม. บดิ เปน็ เกลยี วชัดเจนหลงั ผสมเกสร ฐานดอกรปู ทรงกระบอกยาว 4-6 ซม. มีกลีบประดับหุม้ มากกวา่ คร่ึงหน่งึ ของความยาว กลีบเล้ียง 3 กลีบ รูปไข่ ยาว 3-5 มม. ไมม่ ีกลีบดอก มียอดเกสรเพศเมยี เห็นชัดเจน แยกสามแฉก มีขนสขี าวหนาแนน่ ผลรูปทรงกระบอก กว้าง 3-5 มม. ยาว 4-10 ซม. มกี ลีบเล้ยี งตดิ คงทน มเี มลด็ ขนาดเลก็ จ�ำนวนมาก ถิน่ อาศยั ข้นึ ตามทโ่ี ล่งแจง้ ในแหลง่ นำ�้ ทีน่ งิ่ -ไหลเอื่อย และมรี ะดบั นำ�้ ลกึ ไมเ่ กนิ 1 ม. เชน่ ขอบบึง ที่ความสงู จาก ระดับน�ำ้ ทะเลไม่เกิน 1,000 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดอื นกันยายน-เมษายน การกระจายพนั ธ์ุ พบได้ทั่วประเทศ ในธรรมชาติพบไม่บอ่ ยนกั ตา่ งประเทศพบในเขตรอ้ น กึง่ เขตรอ้ น และเขต อบอนุ่ ในทวปี ยโุ รปตอนใต้ แอฟริกา และเอเชยี การใช้ประโยชน์ -
ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 243 มันปลา ช่ือท้องถ่นิ อืน่ : กันเกรา (ภาคกลาง), ตำ� เสา ทำ� เสา (ภาคใต้), ต�ำมซู ู (มลาย-ู ภาคใต้), มนั ปลา (ภาคเหนือ, อีสาน), ตะเตรา (เขมร-อสี านใต้) Fagraea fragrans Roxb. (วงศ์ Gentianaceae) ช่อื พอ้ ง : - ไม้ต้น สงู 8-30 ม. เปลือกแตกเป็นร่องลกึ ตามแนวยาว สีนำ้� ตาลเข้ม เรือนยอดเป็นรปู กรวยแหลม ตามก่ิงอ่อน ใบ กา้ นใบ และชอ่ ดอกไม่มขี น ใบเดย่ี ว เรยี งตรงข้ามสลบั ต้งั ฉาก รปู รี ยาว 7-11 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบ แหลมหรือสอบเรยี ว ผิวใบด้านบนมนั เงา เนอื้ ใบหนา มีเสน้ แขนงใบ 5-10 เสน้ ปลายเสน้ โคง้ จรดกัน กา้ นใบยาว 0.7-2 ซม. โคนกา้ นใบเปน็ เบ้าโอบก่ิงเลก็ น้อย ใบแก่กอ่ นร่วงสเี หลือง ชอ่ ดอกแบบแยกแขนง คล้ายรูปร่ม ออก ตามซอกใบใกลป้ ลายกง่ิ ยาว 4-12 ซม. กลีบเลี้ยงสีเขียว รปู ระฆัง ยาว 2-3 มม. ปลายแยก 5 แฉก กลบี ดอก สีขาว แล้วเปลย่ี นเป็นสีเหลืองอมสสี ม้ ออ่ น รปู คลา้ ยแตร ยาว 1.2-2 ซม. ปลายแยก 5 แฉก เมื่อบานกลีบดอก จะม้วนกลับ มีกลิน่ หอม ผลรูปเกอื บกลม กว้าง 5-8 มม. ปลายมตี ิ่งแหลม ผวิ มนั เงา ผลออ่ นสเี ขยี ว เมือ่ สกุ สสี ้ม- สีแดง มเี มลด็ จำ� นวนมาก ถนิ่ อาศัย ข้ึนตามที่โล่ง ชายปา่ ทงุ่ นา ป่าดงดบิ ป่าผลดั ใบ และปา่ บุ่งป่าทาม หรือตามพ้นื ท่ดี ินปนทรายใกล้ ชายทะเล ชอบขน้ึ ในเขตท่ีราบ ทค่ี วามสูงจากระดบั นำ�้ ทะเลไมเ่ กิน 300 ม. และมปี ริมาณน�้ำฝนมากกวา่ 1,500 มม./ปี ออกดอกชว่ งเดอื นมนี าคม- มถิ ุนายน ผลแก่มถิ ุนายน-กันยายน การกระจายพนั ธ์ุ พบคอ่ นขา้ งง่ายในภาคใต้และภาคตะวันออก พบเลก็ น้อยในภาคเหนือ และภาคตะวนั ออก- เฉยี งเหนอื ฝ่ังตะวันออก ในจงั หวัดบึงกาฬ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร สุรนิ ทร์ ศรสี ะเกษ ยโสธร อ�ำนาจเจริญ และอบุ ลราชธานี ตา่ งประเทศพบในอนิ เดยี ตอนบน เมียนมารต์ อนใต้ ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซยี ฟลิ ิปปินส์ และนิวกินี การใชป้ ระโยชน์ สมุนไพร แกน่ ตม้ นำ�้ ดมื่ เป็นยาระบาย (7).--- เชอ้ื เพลงิ ไมใ้ ชท้ �ำฟนื หรือเผาถา่ น (8).--- ก่อสร้างหรอื เครอ่ื งมือ เนอ้ื ไม้แข็งแรงมาก เนอ้ื เหนียว แก่นสีเหลอื งออ่ นมลี วดลายสวย ทนทานต่อปลวกและมอด แปรรูป ใชใ้ นงานก่อสรา้ งทีต่ อ้ งการรบั นำ�้ หนกั มาก เชน่ เสา คาน ตง กระดาน ท�ำโครงเรอื -รถ ท�ำเครอื่ งเรอื น หรอื ด้าม เครอ่ื งมอื (8).--- ดา้ นอ่ืน ดอกมกี ลน่ิ หอม ใช้บูชาพระ, ทรงพุม่ สวยงาม น�ำมาปลูกประดับ (8)
ผลแก่
ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 245 ตีนซ่ินเหี้ยน ชื่อทอ้ งถิ่นอื่น : ย่านสนั ตีงา (สรุ าษฎร์ธาน)ี , โคคลาน (ขอนแก่น), ทองเต็มกรอบ (อ.ชมุ พวง นครราชสมี า), เบ็นน�้ำ (อ.กนั ทรารมย์ ศรสี ะเกษ), เพี้ยววั (อ.ศรสี งคราม นครพนม), เครือกา้ งปลา (มหาสารคาม), ผา้ ออ้ ม หนวดแมว (ร้อยเอด็ ), ตนี ซ่ินเหีย้ น ผักตนี ตุ้ม (อ.พรรณานิคม สกลนคร), หมากจับบก (ไทญ้อ-อ.ศรีสงคราม นครพนม), ละงู (สว่ ย-อ.ทา่ ตมู สุรนิ ทร์) Glossocarya crenata H.R. Fletcher ( วงศ์ Lamiaceae) ช่ือพอ้ ง : - ไม้เลอื้ ย ยาวถึง 10 ม. โคนตน้ มีหนามท่เี กดิ จากก่ิงเก่า กิง่ เป็นสเี่ หล่ียม ตามกิ่งอ่อน ใบ กา้ นใบ และชอ่ ดอกมี ขนสนั้ หนานุ่ม ใบเด่ยี ว เรียงตรงข้ามตัง้ ฉาก รปู ไข่ ยาว 2-4 ซม. ปลายใบมน-แหลม มักจะหยกั เป็นต่ิงแหลม ขอบใบหยักซฟ่ี ัน-เรยี บ (ตน้ อายุนอ้ ยขอบใบหยกั ลึกเป็น 3 แฉก) โคนใบเว้ารูปหวั ใจ-มน ผวิ ใบด้านลา่ งมีขน สั้นหนานุม่ มเี สน้ แขนงข้างละ 3-4 เส้น กา้ นใบยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกแบบแยกแขนงและแผ่กว้างคลา้ ยร่ม ยาว 4 ซม. มดี อกย่อย 20-160 ดอก/ช่อ ออกทีป่ ลายกิ่ง กลีบเลีย้ งสีเขยี ว รูประฆัง ยาว 4 มม. ปลายแยก 5 แฉก มขี น กลบี ดอกสีขาว ยาว 2 ซม. โคนเป็นหลอดยาว 1.4 ซม. ปลายแยก 5 แฉก ยาว 3-5 มม. มีกลนิ่ หอม เกสรเพศผู้มี 4 เกสร ยาว 2 ซม. อบั เรณูสมี ่วงเขม้ ผลรูปทรงกระบอก กวา้ ง 0.5 ซม. ยาว 1 ซม. มีขนหนา แน่น มกี ลีบเล้ียงตดิ คงทน ผลแกแ่ ห้งแตก 2 หรอื 4 เสย่ี ง ถ่ินอาศยั ขน้ึ ตามทโ่ี ลง่ แจ้งหรอื ชายปา่ บุ่งป่าทาม หรือริมแม่นำ้� ที่ความสูงจากระดับน�้ำทะเลไม่เกนิ 200 ม. ออกดอกชว่ งเดือนกรกฎาคม-กันยายน ผลแกเ่ ดอื นตุลาคม-กมุ ภาพนั ธ์ การกระจายพันธุ์ ค่อนขา้ งหายากในภาคกลาง ซึง่ พบในเขตลุ่มนำ�้ ป่าสกั ที่จังหวดั ลพบรุ ี และภาคใต้ที่ลมุ่ น้�ำตาปี จังหวัดสุราษฎร์ธานี แต่พบได้งา่ ยในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ในเขตล่มุ น�้ำมลู ล่มุ นำ้� ชี และล่มุ นำ�้ สงคราม ยกเวน้ ลมุ่ น�ำ้ โมงท่ยี ังไมพ่ บ สถานภาพปัจจบุ นั เปน็ พชื ถน่ิ เดยี วของประเทศไทย แตค่ าดว่าน่าจะพบในประเทศลาว และกัมพชู าด้วย การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน รสขมอมหวาน กินเปน็ ผักสดจมิ้ นำ้� พรกิ แกลม้ กบั ป้งิ ปลา ลาบ กอ้ ย (11, 19, 20, 23).--- สมนุ ไพร ยอดออ่ น ต้มนำ้� ดมื่ เป็นยาบ�ำรงุ ก�ำลัง (23).--- วสั ดุ เถา ท�ำกงสวิง ลอบ ไซ (1, 3, 11, 12, 13, 14, 15, 17)
ต่อมนนู ที่โคนกลบี เลี้ยง ผลอ่อน ใบของตน้ อายนุ อ้ ย
ป่าบุง่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 247 ช้องแมว ชือ่ ทอ้ งถิน่ อน่ื : คางแมว (ภาคกลาง), หนามหนวดแมว (อ.ชมุ พวง นครราชสมี า), นมแมว (อ.เมอื งยาง นครราชสีมา), ก้างปลา (อ.กันทรารมย์ ศรสี ะเกษ, อ.บา้ นดุง อดุ รธาน)ี , กา้ นจาง หนามเลบ็ แมว (อ.ศรีสงคราม นครพนม), ชอ้ งแมว ซอ้ งแมว (สกลนคร), กันจาย กันจาง (ส่วย-อ.ท่าตูม สรุ นิ ทร)์ Gmelina asiatica L. (วงศ์ Lamiaceae) ชื่อพอ้ ง : - ไมพ้ ุ่มหรอื รอเลื้อย สงู ถึง 10 ม. กิ่งแก่และโคนตน้ มีหนามทเ่ี กิดจากกงิ่ เก่า (ตน้ อายนุ อ้ ยขอบใบหยกั ลึกเปน็ 3 แฉก) ใบคอ่ นข้างคล้ายกับต้น ตนี ซนิ่ เห้ียน (Glossocarya crenata) มคี วามแตกตา่ งทโ่ี คนใบของช้องแมวมัก จะเป็นรูปล่มิ หรอื แหลม และมตี ่อมสีเขยี วออ่ น 1-5 จุด เหน็ ชัดท่ีผวิ ใบดา้ นบนใกล้โคนใบ ชอ่ ดอกแบบกระจกุ ยาว 2-4 ซม. มี 1-10 ดอก ที่กลบี เล้ยี งมตี อ่ มกลมนูนชดั เจน 2-5 ต่อม กลีบดอกสเี หลือง รปู ระฆงั ยาว 3-5 ซม. ปลายแยก 4 แฉก สว่ นผลเป็นรปู ค่อนขา้ งกลม กว้าง 2-3 ซม. ผิวเรยี บ เกลี้ยง มันเงา มีช่องอากาศสขี าว กระจายทว่ั มีกลบี เล้ียงติดคงทน ผลแก่ไม่แตก เมือ่ สุกจะเปล่ยี นเปน็ สเี หลอื ง-ดำ� เน้อื นม่ิ มีเมลด็ เดียว เนอื้ แข็ง (ตนี ซิ่นเหี้ยน โคนใบมักจะเวา้ รปู หัวใจ ไมพ่ บตอ่ มสเี ขยี วอ่อน ชอ่ ดอกมีดอกย่อยขนาดเลก็ จ�ำนวนมาก สีขาว ที่ โคนกลีบเล้ียงไมม่ ีตอ่ มกลมนูนใส และผลมขี นาดเลก็ กว่ามาก เมอ่ื แก่แห้งแตก) ถ่ินอาศัย ข้นึ ตามท่ีโลง่ แจ้งหรอื ชายป่า ปา่ ดงดิบ ป่าผลัดใบ หรือปา่ บุง่ ปา่ ทาม ท่คี วามสูงจากระดบั น้�ำทะเลไม่เกิน 500 ม. ออกดอกชว่ งเดือนกุมภาพันธ-์ มถิ ุนายน ผลแก่เดอื นพฤษภาคม-กันยายน การกระจายพันธุ์ พบไดง้ า่ ยทว่ั ประเทศ ต่างประเทศพบในภมู ิภาคเอเชยี ใต้ จนี ตอนใต้ และเอเชียตะวันออก- เฉียงใต้ การใชป้ ระโยชน์ สมุนไพร เปลอื ก ตากแหง้ ตม้ น้�ำด่มื หรือกินเปลอื กสดกับข้าวทกุ วัน ใชก้ ับหญิงมคี รรภเ์ ปน็ ยาชว่ ยให้คลอดลกู งา่ ย (3).--- ราก ตากแหง้ แล้วตม้ น�้ำด่มื แกก้ ินผิดส�ำแดง/ของแสลง (1).--- วสั ดุ เน้อื ไมแ้ ข็งแรง ปลวกไม่กิน ใช้ ท�ำเป็นแกนตับหญ้ามงุ หลงั คา หรอื ทำ� เปน็ กงสวิง ลอบ ไซ (1).--- ดา้ นอ่นื พมุ่ ของเถาและกง่ิ เปน็ ท่ีอยอู่ าศัยและ หลบภยั ของปลาในฤดูน�้ำหลาก เนอ่ื งจากความรก ระเกะระกะ จงึ ไมส่ ามารถหวา่ นแหหรือเข้าไปวางตาขา่ ยจบั ปลาได้ (18)
ผลออ่ น
ปา่ บงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน 249 กระโดนน้�ำ ชือ่ ท้องถ่ินอ่นื : จกิ จกิ นา จกิ นำ�้ (ภาคกลาง, ภาคใต,้ นครราชสีมา), กระโดนสรอ้ ย (พิษณโุ ลก), ตอง ปุยสาย (ภาคเหนือ), ลำ� ไพ่ (อุตรดิตถ)์ , กระโดน กระโดนนำ้� กระโดนทาม กระโดนทุง่ (อสี าน), ดัมเรียง เดมิ เรยี ง (เขมร- อ.ทา่ ตมู สรุ นิ ทร)์ , กระโดะ๊ (ส่วย-อ.ทา่ ตูม สรุ ินทร์) Barringtonia acutangula (L.) Gaertn. (วงศ์ Lecythidaceae) ช่อื พอ้ ง : - ไมพ้ มุ่ หรือไมต้ น้ สูง 5-15 ม. เปลือกเรยี บ-แตกเป็นร่องต้นื ตามยาว สีน�้ำตาลออ่ น เปลอื กชน้ั ในมเี ส้นใยเหนยี ว ตามยอด ใบ และชอ่ ดอกเกล้ยี ง ใบเดี่ยว เรียงเวียนเป็นกระจุกทป่ี ลายกิง่ รูปหอกกลับ-ไขก่ ลับ ยาว 9-20 ซม. ปลายใบมน-แหลม ขอบใบจกั ฟนั เล่อื ยถี่ โคนใบสอบ เส้นแขนงใบมีข้างละ 7-10 เสน้ ก้านใบบวมหนา สีแดง อมม่วง ยาว 0.5-1 ซม. ใบแก่ก่อนร่วงสสี ม้ -แดง ชอ่ ดอกแบบกระจะ ห้อยลง ยาว 20-60 ซม. ออกท่ปี ลายกิง่ กา้ นดอกยาว 1 ซม. กลีบเลย้ี งสเี ขยี ว 4 กลีบ ยาว 2-4 มม. กลบี ดอกสีแดง 4 กลีบ รปู ไขก่ ลับ ยาว 1 ซม. บาน มว้ นกลับ มกี ลน่ิ หอมเอยี น เกสรเพศผ้สู แี ดง มีจำ� นวนมาก ยาว 1.5-2.5 ซม. ผลรปู รแี กมขอบขนาน ยาว 3-5 ซม. มสี ันคมตามแนวยาว 4 สนั ผิวเกล้ียง ปลายผลมีกลบี เล้ยี งติดคงทน มีเมลด็ แข็ง 1 เมล็ด กระโดนนำ้� มีลักษณะคลา้ ย กระโดน/กระโดนบก (Careya arborea) ที่มกั จะข้นึ ตามพน้ื ท่ดี อนหรือที่ แห้งแลง้ กว่า ดอกกระโดนบกจะมีสขี าวอมเขยี ว กลบี ดอกยาว 4-6 ซม. เปน็ ช่อดอกส้ันและตั้งขึ้นอยตู่ ามปลายกิง่ ชอ่ ดอกยาว 5-7 ซม. ผลรูปทรงกลม กว้าง 5 ซม. ไม่มีสนั /เหลยี่ ม ถิ่นอาศัย ข้ึนตามท่ีโล่งแจง้ รมิ นำ�้ ชายป่า หรือตามท่งุ นาในเขตท่รี าบน้�ำทว่ มถึง พบมากในป่าบุ่งป่าทาม เปน็ ไมเ้ บิกน�ำที่สำ� คัญของป่าบ่งุ ปา่ ทามเมอื่ ป่าถกู ทำ� ลาย ขน้ึ ทค่ี วามสงู จากระดบั น้�ำทะเลไมเ่ กนิ 500 ม. ออกดอกชว่ ง เดือนพฤศจิกายน-กรกฎาคม ผลแก่เดือนกุมภาพนั ธ-์ ตุลาคม การกระจายพันธุ์ พบไดง้ า่ ยท่วั ประเทศ ตา่ งประเทศพบในภูมภิ าคเอเชยี ใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และตอน- เหนอื ของทวปี ออสเตรเลีย การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดออ่ นและชอ่ ดอกออ่ น รสมันอมฝาดเลก็ น้อย กินเปน็ ผักสด จิม้ น�ำ้ พรกิ /ปน่ แกล้มกบั ลาบ ก้อย ปง้ิ ปลา (1, 3, 4, 8, 9, 11, 13, 15, 17, 18, 19, 20, 21, 23, 24, 25, 26, 27).--- สมนุ ไพร เปลอื ก ทบุ แช่ น้�ำ แล้วแช่เทา้ ลงไป รกั ษาโรคหอกินเทา้ (โรคเทา้ เป่ือย นำ้� กัดเทา้ ) (19).--- เปลอื ก เคีย้ วแลว้ กลนื กินแก้ท้องเสยี (27).---เปลอื ก ทบุ แล้วเอาไปกวนในนำ้� ใชเ้ บื่อปลา (1).--- เชอ้ื เพลิง ไมท้ ำ� ฟืนหรอื เผาถา่ น (18, 21, 24).--- ก่อสรา้ งหรือเครอ่ื งมอื เนอ้ื ไม้ แปรรปู ท�ำไม้กระดานหรอื ฝา ใช้ก่อสร้าง หรอื ทำ� เฟอรน์ ิเจอร์ แต่ผุง่ายไมท่ นทาน (23, 25).--- แก่น ใช้ท�ำด้าม ปืนแก๊บ (23).--- เน้ือไม้ น�ำมาผ่าเปน็ แผน่ ท�ำเป็นตีนกระตบ๊ิ ขา้ ว (26).--- วสั ดุ เปลือก ทุบแล้วแชน่ ำ้� ให้สมี ว่ งอมดำ� ใช้ย้อมแห ท�ำให้แหแข็งแรง ทนทาน (9).--- เปลอื กหนามเี สน้ ใยเหนยี ว ลอกออกมาเปน็ แผ่นขนาดใหญ่ แลว้ ทุบให้นมิ่ ทำ� เป็นแผ่นรองนั่งตดิ บนหลังสตั ว์พาหนะ หรือรองใต้แหยง่ หลังชา้ ง (เหมอื นกระโดนบก) (26). ดา้ นอ่นื ทัง้ ต้นใช้เป็นอาหารช้าง (3)
หใู บ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
Pages: