ปา่ บ่งุ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 151 ตาไก้ ช่ือท้องถิน่ อืน่ : นำ�้ นอง มะตอ่ มไก่ (ภาคเหนอื ), ขัวแม่น�ำ้ นอง (ลำ� ปาง), ขอบกระด้ง พรองนก (อา่ งทอง), กำ� แพงเจด็ ช้นั (ภาคกลาง, ประจวบคีรขี นั ธ,์ ภูเกต็ , ระยอง, ตราด), ตะลมุ่ นก (ราชบุร)ี , กลุมนก หลมุ นก (ภาค ใต)้ , มะเกลือ มะเกลือกา ระไหว (ไทลาว-อ.เมอื งยาง นครราชสีมา), บักเกยี (อ.มัญจาครี ี ขอนแกน่ ), ตาไก้ ตาไก่ (พษิ ณุโลก, อสี าน, ไทโคราช-อ.เมอื งยาง นครราชสมี า), นมนอ้ ย เครือนมน้อย ตากวาง (อ.ศรสี งคราม นครพนม, อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), สามชนั้ (เลย) Salacia chinensis L. (วงศ์ Celastraceae) ชื่อพ้อง : - ไมพ้ ุ่มรอเลือ้ ย ยาวถงึ 7 ม. เปลอื กเรียบสีเทา เนอ้ื ไม้มีวงปสี ีน�้ำตาลแดงชดั เจน ท้ังตน้ เกลีย้ งไมม่ ขี น ใบเดี่ยว เรยี งตรงขา้ ม รปู รหี รือรูปไขก่ ลบั ยาว 4-10 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบจกั ฟันเล่ือยต้ืนๆ หรอื เรียบ โคนใบรปู ลิ่ม เน้ือใบค่อนข้างหนา เส้นแขนงใบข้างละ 4-7 เสน้ กา้ นใบยาว 0.6-1.3 ซม. ดอกออกเปน็ กระจุก ตามซอกใบ 1-3 ดอก/กระจกุ ดอกสเี ขียวอมเหลอื ง กลีบเลีย้ งและกลีบดอกอยา่ ง 5 กลีบ ดอกบานกวา้ ง 6-10 มม. จานฐาน ดอกกลมแบนและบวมชัดเจน กว้าง 1.5-2 มม. กา้ นดอกยาว 5-10 มม. ผลทรงกลม กว้าง 1.3-2 ซม. ผลออ่ น สเี ขียว เมอ่ื สกุ เปลี่ยนเป็นสสี ม้ -แดง มี 1 เมล็ด รปู ทรงกลม กวา้ ง 1-1.5 ซม. ถ่นิ อาศัย ขน้ึ ตามชายปา่ หรอื ทร่ี ม่ รำ� ไรในป่าดงดิบแลง้ ป่าเบญจพรรณ และป่าบุ่งปา่ ทาม ทค่ี วามสูงจากระดบั น�้ำ ทะเลไม่เกนิ 1,000 ม. ออกดอกช่วงเดอื นมกราคม-เมษายน ผลแก่มนี าคม-มถิ ุนายน การกระจายพนั ธ์ุ พบได้ท่วั ไป ทั่วประเทศไทย ตา่ งประเทศพบในอินเดยี ศรลี งั กา ภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียง- ใต้ ออสเตรเลยี ตอนเหนือ และหม่เู กาะแปซฟิ กิ ด้านตะวันตก การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ผลสกุ รสหวานกนิ เป็นผลไม้ (6, 17, 23).--- ยอดอ่อน รสฝาดมนั กินเปน็ ผกั สดจม้ิ นำ้� พริก (4, 3, 17).--- สมนุ ไพร ล�ำตน้ และรากนำ� มาตากแหง้ ตม้ น�้ำดื่มแกท้ อ้ งผูก เปน็ ยาระบาย (6, 7, 14, 17, 18, 23).--- แก่นน�ำมาเขา้ ยาอ่นื ๆ รักษาโรคมะเรง็ (7).--- แก่นตากแห้ง นำ� มาเข้ายาอ่นื ๆ เป็นยาบ�ำรุงร่างกายหรือยาอายุ วัฒนะ (2).--- เถา ต้มน�้ำดืม่ บ�ำรุงร่างกายแม่ลูกออ่ นท่ีอยูไ่ ฟ (20) เถาหรอื ลำ� ต้นของตาไก้/ก�ำแพงเจด็ ช้ัน เปน็ ยาสมุนไพรไทยท่ไี ดร้ บั ความนิยม
ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 153 หมากกะดัน ชอื่ ท้องถน่ิ อน่ื : มะดัน (ภาคกลาง, อ.ชุมพวง นครราชสมี า), กะดนั หมากกะดัน หมากดนั (อสี าน), ส้มพอดี (อ.เมือง สกลนคร), สะนนั (เขมร-อ.ทา่ ตมู สุรนิ ทร์), กลั สดัน คลั คิล (สว่ ย-อ.ทา่ ตมู สุรินทร์) Garcinia schomburgkiana Pierre (วงศ์ Clusiaceae) ช่ือพ้อง : - ไม้พุ่ม สูง 3-10 ม. เปลือกสีนำ้� ตาลเข้ม ต้นอายุน้อยเปลอื กเรียบ ตน้ แก่เปลอื กแตกสะเก็ดหนาคลา้ ยเกล็ดจระเข้ เมอ่ื เป็นแผลจะมีน�ำ้ ยางสเี หลอื งขุ่น ท้งั ต้นเกลย้ี งไมม่ ขี น ใบเด่ียว เรยี งตรงข้าม รปู ขอบขนานแกมรี ยาว 5-12 ซม. ปลายและโคนใบแหลม-มน เนอื้ ใบหนา ผิวมนั เงา ใบอ่อนมรี สเปร้ยี ว เสน้ แขนงใบขา้ งละ 10-15 เสน้ เห็นไมช่ ดั เจน ก้านใบยาว 0.7-1.5 ซม. ดอกแยกเพศแตอ่ ยใู่ นตน้ เดียวกนั ดอกออกเป็นกระจกุ 1-3 ดอก/ กระจกุ ตามซอกใบ กลบี เลยี้ งและกลีบดอกอย่างละ 4 กลบี กลบี ดอกสีส้มอมชมพู โคนกลีบสีเขม้ กว่า ดอกบาน กว้าง 1-1.5 ซม. กา้ นดอกยาว.2-5 มม. ผลรูปรหี รอื โค้ง กวา้ ง 3-4.5 ซม. ยาว 4-10 ซม. ปลายผลกลม-แหลม ผลออ่ นสเี ขยี ว เม่ือสกุ เปล่ยี นเป็นสีเขยี วอมเหลือง ผวิ มันใส มี 6-8 เมลด็ แต่เปน็ เมลด็ ท่ีสมบรู ณ์เพยี ง 1-3 เมลด็ รปู รยี าวและแบน สดี �ำ ถิน่ อาศัย หมากกะดันชอบขนึ้ ตามรมิ น�้ำ หรือป่าบงุ่ ป่าทาม มกั พบตามชายป่าหรือทร่ี ่มร�ำไร ทีค่ วามสงู จากระดบั น�้ำ ทะเลไมเ่ กิน 200 ม. ออกดอกช่วงเดอื นกุมภาพนั ธ-์ กนั ยายน ผลแกพ่ ฤษภาคม-พฤศจกิ ายน การกระจายพันธุ์ นยิ มปลกู ไวต้ ามสวนผลไม้ แตใ่ นธรรมชาตคิ ่อนข้างหายาก พบในเขตท่ีราบลุม่ ภาคกลาง ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ (ยกเวน้ ลมุ่ นำ�้ โมงยงั ไมพ่ บ) ภาคตะวันออก และภาคใต้ ต่างประเทศพบในกมั พูชา และ เวียดนามตอนใต้ การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดอ่อนและใบอ่อน รสเปรี้ยวจดั กนิ เป็นผกั สดหรอื ย่างไฟก่อน แล้วจมิ้ น้ำ� พรกิ หรอื กินแกลม้ ลาบ กอ้ ย, ใบออ่ นหรือผลดิบ-สุก รสเปรยี้ วจัดใช้แทนมะนาว ใสใ่ นต้มปลา/หมู/เน้ือ, ผลใช้ต�ำนำ้� พริก ต�ำส้ม หรือจ้ิม เกลือกินเล่น หรือทำ� ผลไม้ดอง/แช่อม่ิ (1, 3, 4, 6, 8, 9, 18, 19, 20, 21, 23, 24, 25).--- เช้อื เพลิง ไมใ้ ช้ทำ� ฟืนหรือเผาถา่ นได้ไฟแรง (6, 19, 21, 23, 24, 25).--- ดา้ นอื่น เนือ้ ไมไ้ ม่คงทน เพราะมอดชอบกิน (24)
ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 155 ตำ� หมากกะดนั หัวปลี หมากกะดนั /มะดัน (Garcinia schomburgkiana Pierre) เปน็ ส้มต�ำที่มีรสชาติจดั จาด จากความเปร้ียวจัดของผลหมากกะดนั ดบิ ตดั กับความฝาดและมนั ของหวั ปลี กลว้ ยดิบ สองรสชาตินีเ้ ม่อื มาเจอกนั แล้วปรุงรสเคม็ จดั ของนำ�้ ปลารา้ น�ำ้ ปลา และความเผด็ หอมของพรกิ แหง้ แลว้ ทำ� ให้สม้ ต�ำจานน้มี รี สชาตแิ ซบลงตัวยงิ่ ขึ้น คลา้ ยกบั สม้ ตำ� กลว้ ยดิบตำ� ผสมกบั มะนาวท้งั ผล นัน้ เอง สว่ นประกอบ 1) ผลหมากกะดัน (ผลดบิ ห่ันเปน็ ช้ินบางๆ ตามขวาง เอาเมลด็ สีด�ำออก) 1/2 ถ้วย 2) หวั ปลสี ด (ลอกกาบสแี ดงออกจนขาว สับเปน็ ชน้ื เล็กๆ ตามยาว) 2 ถ้วย 3) พรกิ ชฟ้ี ้าแห้ง 15 เมด็ 4) หอมแดง (ปอกเปลอื กและฝานชนิ้ หยาบๆ) 3 หวั 5) ตะไคร้ (ซอยหยาบๆ) 1 ช้อนโตะ๊ 6) นำ้� ปลาร้าตม้ สุก 1/2 ถ้วย 7) น้ำ� ปลา 1 ชอ้ นโตะ๊ 8) น้ำ� ตาลทราย 1/2 ชอ้ นโต๊ะ วธิ ีปรงุ 1. ตำ� พรกิ แห้ง หอมแดง และตะไคร้ ผสมกันพอหยาบๆ 2. ใส่หัวปลีและหมากกะดนั ลงไปตำ� ผสมกนั ใหพ้ อแหลก 3. ปรงุ รสด้วยน้�ำปลาร้า น้ำ� ปลา ให้มีรสชาตเิ ปร้ียว เค็ม และเผ็ดนำ� แล้วปรุงด้วยน้�ำตาลทรายใหก้ ลมกลอ่ ม หมายเหตุ กินแกล้มกับผักสดที่มีรสมันฝาด จะอร่อยยิง่ ขึ้น เชน่ ยอดมะยมอ่อน ยอดกระโดน ยอดกระโดนน้ำ� / จิกนา หรอื ใบมะละกออ่อน สูตรอาหารโดย นางประมูล สุราวุธ (5)
ปา่ บุง่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 157 ต้มแซบเนือ้ หมากกะดนั อาหารประเภทต้ม กินเปน็ กบั ข้าวหรือกับแกลม้ ได้ทุกมอ้ื หมากกะดันเปน็ พชื ทมี่ ยี อดอ่อนและผลอ่อน-แก่ มรี สเปรย้ี วจัดสามารถใช้แทนมะนาวได้ แตจ่ ะไม่มคี วามหอมแบบการใช้มะนาว ชุมชนชาวอีสานทต่ี ดิ ปา่ บงุ่ - ปา่ ทามนยิ มน�ำผลหรอื ใบหมากกะดนั มาปรุงรสในอาหารประเภทตม้ เนื้อสัตวช์ นิดต่างๆ เพือ่ ดบั คาว ตัดความ เลี่ยนมนั และดึงรสชาตอิ าหารใหเ้ ขม้ ขน้ ขนึ้ เช่นเดียวกับการใช้ใบ/ผลหูลงิ แตห่ มากกะดนั จะมีความเปร้ยี ว มากกวา่ เนื่องจากเนอ้ื ใบและผลที่ฉ�่ำนำ้� มากกว่า ผู้ปรงุ รสอาหารจงึ ต้องระวัง กะปรมิ าณและปรงุ รสชาติให้พอ เหมาะ สว่ นประกอบ 1) ผลหมากกะดันอ่อน (ผา่ ครึง่ ซีกตามยาว หรอื ใช้ใบอ่อนฉีก 10 ใบ) 3 ผล 2) เน้ือววั ติดมัน (หั่นเป็นชนื้ บางๆ) 1 ถ้วย 3) ตะไคร้ 3 ตน้ 4) ใบมะกรดู 4 ใบ 5) ข่า 7 แว่น 6) พรกิ ข้หี นูสด 10 เม็ด 7) ตน้ หอมซอย 2 ชอ้ นโตะ๊ 8) นำ้� 8 ถว้ ย 9) นำ�้ ปลา 2 ช้อนโตะ๊ 10) เกลือ 1/2 ช้อนโต๊ะ วธิ ปี รุง 1. ตงั้ หม้อใสน่ ้�ำเปล่าประมาณ 8 ถว้ ย เตมิ เกลือ 1/2 ชอ้ นโตะ๊ แลว้ ทบุ ตะไครห้ ั่นเปน็ ท่อน ฉีกใบมะกรดู และ ข่า ใส่ลงไปตม้ พรอ้ มกนั จนเดือดพลา่ น 2. ใส่เนื้อวัวลงไปต้มจนเป่ือย ควรระวังระหว่างท่เี น้ือยังไมส่ กุ หา้ มคน เพราะจะท�ำให้นำ�้ ตม้ คาว 3. ใสห่ มากกะดนั ตม้ ตอ่ ไปอกี ประมาณ 10 นาทีใหร้ สเปรยี้ วออกมา แลว้ จึงปรุงรสด้วยเกลือ และน�้ำปลา ใหม้ ีรสเคม็ เปรย้ี วตามชอบใจ 4. บบุ พริกขหี้ นสู ด และตน้ หอมซอยโรยหน้า ปดิ ฝาหมอ้ ทันที แลว้ ปลงลง สตู รอาหารประยกุ ตโ์ ดย นายปรชี า การะเกตุ
หนามที่เกดิ จากกิ่งเกา่
ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 159 แก ชอ่ื ทอ้ งถิ่นอนื่ : สะแกนา สะแก (ภาคกลาง, นครราชสมี า), ขอนแข้ จองแข้ (แพร่), แพ่ง (ภาคเหนอื ), ซงั แก (เขมร-ปราจีนบุร,ี อ.ท่าตูม สุรนิ ทร)์ , แก (อสี าน), แกขาว (อ.โพธ์ิตาก หนองคาย) Combretum quadrangulare Kurz (วงศ์ Combretaceae) ชื่อพ้อง : - ไม้ตน้ หรือไม้พ่มุ สูง 4-15 ม. เปลอื กสนี ำ�้ ตาลออ่ น เรียบหรือแตกเป็นสะเก็ดเล็กน้อย ตน้ อายุน้อยจะมีหนาม ยาวทเี่ กิดจากกิง่ เกา่ ตามกิ่งออ่ น ช่อดอก ผล และใบมีสะเกด็ สเี งนิ ปกคลมุ หนาแนน่ กิง่ ออ่ นเปน็ 4 เหลยี่ ม ใบเดีย่ ว เรียงตรงข้ามหรอื เกือบตรงข้าม รปู รี ยาว 8-15 ซม. มเี สน้ แขนงใบขา้ งละ 6-10 เสน้ กา้ นใบยาว 4-6 มม. ชอ่ ดอกคลา้ ยหางกระรอก ยาว 3-6 ซม. ออกตามซอกใบ สีขาว-เหลืองออ่ น มดี อกยอ่ ยขนาดเล็กจ�ำนวน มาก กา้ นดอกยาว 1-2 มม. กลบี เลย้ี งและกลบี ดอกอย่างละ 4 กลบี ดอกบานกว้าง 2 มม. ผลรวมปีก รูปกลม- รี กวา้ ง 2-3 ซม. ปลายกลม มปี กี ตามแนวยาว 4 ปกี กว้าง 3-5 มม. ขอบปกี เปน็ คลน่ื ผลแกแ่ ห้งสนี ำ้� ตาล มี 1-2 เมล็ด ถ่ินอาศัย ขึน้ ตามที่โล่งแจ้ง ท่ีรกรา้ งในเขตทรี่ าบเชิงเขา หรือชายป่าดงดบิ แลง้ และปา่ เบญจพรรณ แต่มักจะชอบขนึ้ ในทร่ี าบน�้ำท่วมถงึ หรือตามปา่ บุ่งปา่ ทาม ทคี่ วามสูงจากระดับน�้ำทะเลไมเ่ กิน 500 ม. ออกดอกและติดผลตลอด ทงั้ ปี การกระจายพันธุ์ พบได้ง่ายและท่วั ประเทศไทย ตัง้ แต่จังหวดั ชมุ พรขึ้นมา ตา่ งประเทศพบในอินเดยี เมยี นมาร์ ลาว เวยี ดนาม และกมั พูชา การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน รสฝาดกินเป็นผักสด (11, 13, 17).--- สมนุ ไพร สว่ นทง้ั 5 (ใบ แกน่ ราก เปลอื ก หนาม) ทบุ แชน่ ้ำ� อาบ/ดืม่ แก้โรคซาง (8, 26).--- ยอดอ่อนและใบอ่อน กินสดหรอื นำ� มาต้มน้ำ� ด่ืมรักษาอาการทอ้ งรว่ ง ท้องเสยี (1, 11, 13).--- ยอดออ่ นและใบออ่ น ตำ� ผสมตวั มดแดงกนิ แก้ทอ้ งเสีย (11, 12).--- รากแก + รากหมา- วอ้ (Lepisanthes senegalensis) ยา่ งไฟแล้วแช่น้�ำดื่ม รกั ษาอาการท้องร่วง, หรอื รากแก + รากหญา้ งวงช้าง (Heliotropium indicum) ยา่ งไฟแลว้ แช่น้�ำด่ืมก็ใช้ไดเ้ ชน่ กัน (12).--- ใบ ใชม้ ว้ นยาเสน้ สบู (1, 11).--- กง่ิ ต้มน้�ำ ด่มื แกเ้ มาจากการกินหอย (1).--- แก่นแก+ส้มป่อย ตม้ น�ำ้ ดมื่ รกั ษาโรคไต (2).--- แกน่ แก+แก่นฝาง ต้มนำ้� ดม่ื แก้ ปวดหัวดิบ (ปวดหวั เฉยๆ ไมม่ ีไข้) หรอื โรคไมเกรน (24).--- แกน่ นำ� มาเข้ายากบั ตน้ มะสงั ใช้เป็นยาฆ่าเช้อื (27).- -- แกน่ ต้มนำ�้ ดืม่ รกั ษาโรคประดงข้นั รนุ แรง (26, 27), แก่น ต้มนำ�้ ด่มื รักษาโรคมะเรง็ เต้านม (27).--- ราก ตม้ น�้ำ ดืม่ รักษาอาการปวดเมอื่ ย (11).--- กาฝากของตน้ แก เขา้ ยาอนื่ ๆ บำ� รุงเลอื ดลม (13).--- เมล็ด ตากแหง้ บดเข้ายา อ่ืนๆ ใสแ่ คปซลู กนิ รักษาโรคซาง หรือรักษาโรคสะเกด็ เงิน (7).--- เมลด็ แก่ ประมาณ 10-20 เมล็ด ตำ� กนิ หรือ ผสมน�้ำด่มื เป็นยาถ่ายพยาธิ ใช้ไดท้ ัง้ คน/สตั วเ์ ลีย้ ง (7, 11, 12, 14, 17).--- เมล็ดแก่ แหง้ บดเปน็ ผงใส่แคปซูล กิน รกั ษาโรคกระเพาะ (1).--- เมลด็ แก่ เป็นยาระบาย หรอื เข้ายาอืน่ ๆ รักษาโรคหดิ (11).--- ยาง ท่ีอยตู่ ามกง่ิ มีรส ฝาด กนิ รักษาโรคกระเพาะหรอื ถฟู ันทำ� ให้ฟันแน่นแข็งแรง (1).--- เช้ือเพลิง ไม้ท�ำฟนื หรอื เผาถ่าน ใหไ้ ฟแรง คุณภาพดี (4, 8, 11, 14, 15, 17, 25).--- วสั ดุ ขีเ้ ถ้าของไม้แกมีฤทธ์ิเป็นดา่ ง ใชล้ า้ งเส้นไหม ท�ำใหส้ ีย้อมติดง่าย (12).--- ด้านอ่ืน ปลูกไว้เลย้ี งครงั่ หรอื ใช้ใบเล้ยี งดว้ งกว่าง (4).--- เป็นไม้พญาวนั (ไม้มงคลประจำ� วัน) ประจ�ำวัน ศุกร์ โดยใช้ก่ิงและใบแตง่ ขันหา้ ในพธิ บี ูชาครู หรอื ประกอบพิธตี ง้ั เสาเอก-เสาขวัญ ท่ที �ำพิธใี นวันศุกร์ (26)
เถาเบน็ น�้ำ ลอบดกั ปลา
ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอสี าน 161 เบ็นน้�ำ ช่ือทอ้ งถนิ่ อื่น : คดสัง ยา่ นตดุ (สรุ าษฎรธ์ าน)ี , ตุด ชุด (ภาคใต้), กด พมุ่ กด (นครราชสีมา), เบ็น เบน็ น�้ำ เครือเบ็น (อสี าน), ละเดมิ (เขมร-อ.ทา่ ตูม สรุ นิ ทร)์ , คลั เบ็น (สว่ ย-อ.ท่าตมู สุรนิ ทร์) Combretum trifoliatum Vent. (วงศ์ Combretaceae) ชื่อพ้อง : - ไม้เลือ้ ย ยาวถงึ 15 ม. เปลอื กสนี ำ�้ ตาล เรยี บ ตามก่งิ ออ่ นและชอ่ ดอกมีขนส้นั หนาแน่น ก่งิ อ่อนเปน็ 4 เหลยี่ ม ใบเดีย่ ว เรียงตรงขา้ มหรือรอบข้อ มกั ตดิ 3 ใบ/ขอ้ รูปขอบขนานแกมรปู รี ยาว 8-13 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน ผิวเกลีย้ ง มเี สน้ แขนงใบขา้ งละ 8-10 เสน้ กา้ นใบบวมพอง ยาว 3-6 มม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ยาว 15-30 ซม. ออกทป่ี ลายก่ิง ช่อดอกยอ่ ยคลา้ ยหางกระรอก ยาว 4-6 ซม. สีขาว มดี อกยอ่ ยขนาดเลก็ จ�ำนวนมาก ก้านดอกยาว 1 มม. กลบี เลย้ี ง 10 กลีบ ไมม่ ีกลบี ดอก ดอกบานกว้าง 2 มม. ผลรวมปกี รปู รแี กมหอกกลับ ยาว 3-3.5 ซม. ปลายแหลม มปี ีกหรือสนั แขง็ หนาตามแนวยาว 5 ปกี กวา้ ง 3-5 มม. ผวิ เกลยี้ งมนั เงา ผลแก่แหง้ สีน�ำ้ ตาล มี 1-2 เมล็ด ถ่นิ อาศยั ขนึ้ ตามท่ีโลง่ แจง้ ตามริมนำ้� หรือในปา่ บุง่ ป่าทาม ทีค่ วามสูงจากระดบั น�้ำทะเลไม่เกนิ 200 ม. ออกดอก ช่วงเดือนพฤศจกิ ายน-มีนาคม ผลแก่มีนาคม-สิงหาคม การกระจายพันธ์ุ พบทัว่ ประเทศไทย แตจ่ ะพบมากตามปา่ บุ่งปา่ ทามในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ต่างประเทศ พบในเมยี นมาร์ ลาว เวยี ดนาม กัมพูชา คาบสมุทรมาเลเซยี สุมาตรา และชวา การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น และใบอ่อนกนิ เป็นผกั สด รสฝาดปนขมอำ�่ หล่ำ� (ขมเลก็ นอ้ ย) ใช้จ้ิมแจว่ (นำ้� พริก) หรือกนิ แกล้มกบั ปง้ิ ปลา ลาบ ก้อย (2, 6, 11, 14, 17, 18, 19, 20, 21, 23, 24, 25, 26).--- สมุนไพร เถา เผาไฟ ทบุ แลว้ แชน่ ้ำ� /ต้มน�้ำด่ืมแก้ทอ้ งร่วง (6, 12, 18, 19, 20, 21).--- เถาและราก ทุบแชน่ ำ�้ ใช้แช่เท้ารักษาน�้ำกัดเท้า (6, 19).--- กง่ิ และเถา ใช้ 7-9 กงิ่ ตากแหง้ ต้มน�้ำดื่ม เปน็ ยาเย็นรักษาอาการร้อนใน (9).--- เปลือกและเถาเบน็ น้ำ� + กิ่งของสาเหลา้ (Bridelia curtisii) มีรสฝาด ทบุ แล้วอมรกั ษาแผลร้อนในปาก (12).--- ผลสด ต้มน้ำ� ด่ืมมีรส ฝาด รกั ษาอาการรอ้ นใน และแผลในปาก (2, 12).--- เถา ตม้ น�ำ้ ดม่ื เป็นยาบำ� รุงแม่ลกู ออ่ นท่ีอยู่ไฟ หรอื ดมื่ แก้ ผดิ กะบนู (กินผดิ ส�ำแดง/ของแสลง) (17).--- แกน่ ต้มน้�ำดื่มแก้ปวดเมอื่ ย (11).--- เถาปลอกเปลือกออกแล้วฝาน เป็นแวน่ +ไผ่สีสกุ +รากถ่วั แฮ+รากเอนอา้ นำ� มาต้มน้�ำรวมกันใหเ้ ดอื ด ใส่น�้ำตาลทราย ดม่ื รักษาโรคเลือดออกตาม ไรฟนั หรอื แผลในชอ่ งปาก (27).--- เถา ถากเอาเปลอื กมาแชน่ ำ�้ อาบรกั ษาโรคซาง (26, 27).--- ใบ ใชถ้ ูท�ำความ สะอาดผิวฟัน (2).--- เช้อื เพลิง ไม้ใช้ทำ� ฟนื หรอื เผาถา่ น (11, 15).--- วัสดุ เถา ใชท้ �ำหูตะกรา้ ขอบสวงิ กง- ลอบ กงไซ (2, 11, 12, 13, 15, 21, 22).--- ดา้ นอื่น ผลสกุ เปน็ อาหารของนกแขกเตา้ (19).--- ตน้ ท่ีขึน้ ในปา่ เป็นท่ีอาศัยหลบภยั แกป่ ลา ปลามักมาอาศยั และวางไข่ (23)
ป่าบ่งุ ป่าทาม ภาคอสี าน 163 เปือยกระแด้ง ชือ่ ทอ้ งถิ่นอื่น : คร่อเตะ (สโุ ขทยั ), เกรียบ (ไทโคราช-อ.เมืองยาง นครราชสีมา), เปอื ยป้งิ (นครพนม), มะเฟอื ง น้�ำ (ไทญ้อ-อ.ศรีสงคราม นครพนม), เปอื ยนำ�้ (ภไู ท-อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), เปอื ย เปือยหนาม เปือยทาม (อ.เจรญิ ศิลป์ สกลนคร, อ.บ้านดุง อดุ รธานี), เปือยกระแดง้ (อ.เมือง อุบลราชธาน,ี อ.กันทรารมย์ ศรีสะเกษ), เปอื ยหนิ (อ.วารนิ ช�ำราบ อุบลราชธานี) Terminalia cambodiana Gagnep. (วงศ์ Combretaceae) ชอ่ื พ้อง : - ไมต้ น้ สูง 6-10 ม. เปลือกร่อนเปน็ แผน่ บางคลา้ ยเปลอื กต้นฝรัง่ เปลือกใหมส่ ขี าวอมเขยี ว เปลือกเกา่ สนี ำ้� ตาล ออ่ น ต้นอายนุ ้อยมหี นามท่เี กดิ จากก่ิงเกา่ ตามยอด ก่งิ อ่อน และชอ่ ดอกมขี นสนั้ สสี นิมหนาแนน่ ใบเด่ียว เรยี ง ตรงขา้ มหรอื เปน็ กระจุกท่ีปลายก่ิงย่อย แตกก่งิ ยอ่ ยสั้นมาก 0.5-1 ซม. ใบรปู ไขก่ ลบั ยาว 5-7 ซม. ปลายใบ มน กลมหรอื เว้าบ๋มุ โคนใบสอบ ผวิ ใบด้านล่างมขี นสน้ั ตามเสน้ แขนงใบ และมตี ่อมนูน 1 คูบ่ นเส้นกลางใบทโ่ี คน เส้นแขนงใบข้างละ 7-11 เสน้ ก้านใบยาว 4-12 มม. มขี น และมีต่อมนนู 1 คู่ ช่อดอกคล้ายหางกระรอก 4-8 ซม. ออกที่ปลายกงิ่ สเี ขยี วอมขาว มีดอกยอ่ ยขนาดเล็กจ�ำนวนมาก กา้ นดอกยาว 2 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลบี ไมม่ ี กลบี ดอก ดอกบานกวา้ ง 2.5 มม. ผลรวมปีกรูปรี-ขอบขนาน ยาว 1.5 ซม. ปลายแหลม-มน มีปีกตามแนว ยาว 5 ปีก กวา้ ง 2 มม. ผิวเกลี้ยง มี 1-2 เมล็ด ถิ่นอาศัย ข้ึนตามท่ีโลง่ แจง้ ตามรมิ นำ้� หรอื ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ท่ีความสงู จากระดบั น้�ำทะเลไมเ่ กิน 200 ม. ออกดอกช่วง เดือนมกราคม เมษายน ผลแก่พฤษภาคม-กรกฎาคม การกระจายพันธุ์ เป็นพชื ทค่ี อ่ นขา้ งหายาก พบท่จี ังหวัดสโุ ขทยั และในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ยกเว้นลมุ่ น้�ำ โมง ตา่ งประเทศพบในลาว และกมั พชู า การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น ผลออ่ น กินเป็นผักสดแกล้มปง้ิ ปลา (23).--- สมนุ ไพร ยอดออ่ น นำ� มาตากแหง้ ตม้ นำ�้ ด่ืม ช่วยลดความดนั (23),--- เชอ้ื เพลิง ไมใ้ ช้ทำ� ฟืน เผาถ่าน (6, 8, 17, 19, 23).--- ก่อสร้างหรือเครื่องมือ เน้ือไมแ้ ข็ง ใช้ทำ� เสาเขม็ (23)
ปา่ บงุ่ ป่าทาม ภาคอสี าน 165 แสงค�ำทาม ชอื่ ทอ้ งถิน่ อ่ืน : แสงคำ� แสงคำ� ทาม (อ.พรรณานิคม สกลนคร), ข้ีอา้ ยนำ้� (ทวั่ ไป) (วงศ์ Combretaceae) Terminalia sp. หมายเหตุ : sp. หมายถงึ เปน็ พชื ในสกุลสมอ (Terminalia) ชนิดหนง่ึ ทีย่ งั ไม่สามารถระบชุ ่ือชนดิ ได้ ไมต้ ้น สูง 5-10 ม. เปลือกเรียบ-แตกสะเกด็ เล็กน้อย สีน�ำ้ ตาล ตน้ อายุนอ้ ยมหี นามท่ีเกิดจากก่งิ เกา่ ตามก่งิ อ่อนและ ชอ่ ดอกมขี นสน้ั ใบเดีย่ ว เรยี งตรงข้ามหรอื เกอื บตรงขา้ ม รปู ไข่หรือรูปไข่แกมขอบขนาน ยาว 3-7 ซม. ปลาย ใบเรยี วแหลม โคนใบมน มีต่อมนูน 1 คทู่ ีข่ อบใบใกลโ้ คนใบ ผิวใบเกลย้ี ง-มีขนประปรายทีเ่ ส้นกลางใบดา้ นบน ใบด้านล่างมนี วล เส้นแขนงใบขา้ งละ 6-11 เสน้ ก้านใบยาว 5-8 มม. เกล้ยี ง ชอ่ ดอกคลา้ ยหางกระรอก ยาว 2-8 ซม. ออกท่ีปลายกงิ่ สขี าว มีขนส้ัน มีดอกยอ่ ยขนาดเลก็ จำ� นวนมาก ฐานรองดอกท่ีคล้ายกา้ นดอก ยาว 2 มม. มี ขนสั้นหนาแนน่ กลีบเล้ยี ง 5 กลีบ ดา้ นนอกเกลย้ี ง ไมม่ ีกลบี ดอก ดอกบานกว้าง 3 มม. ผลรวมปกี รูปรี-ขอบ ขนาน ยาว 2.5-3 ซม. ปลายแหลม-มน มีปีกตามแนวยาว 5 ปีก กวา้ ง 5-8 มม. ผวิ เกลย้ี ง ผลออ่ นสีแดง ปลายปกี สเี ขยี วอ่อน คาดวา่ นา่ จะเป็นพชื ชนดิ ใหม่ของโลก (new species) ซง่ึ อยูร่ ะหว่างการตีพมิ พ์ มคี วามคลา้ ยคลึงกับ แสงค�ำ/ขีอ้ า้ ย (Terminalia nigrovenulosa) ทีเ่ ปน็ พชื ในปา่ บกหรอื บนภูเขา แตกตา่ งกันที่ แสงค�ำทามมใี บท่ี เรียวแคบกว่า ผลมี 3 ปกี และแสงค�ำทามจะข้ึนเฉพาะตามรมิ นำ้� ในปา่ บุ่งป่าทาม เท่านัน้ ถิน่ อาศยั ข้นึ ตามรมิ น�้ำในป่าบุ่งป่าทาม ทีค่ วามสูงจากระดบั น�้ำทะเลไมเ่ กนิ 200 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นมนี าคม- มถิ ุนายน ผลแก่พฤษภาคม-สงิ หาคม การกระจายพนั ธ์ุ เปน็ พืชหายากมาก พบเฉพาะในเขตลมุ่ น้ำ� อนู อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร และ อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม การใช้ประโยชน์ -
ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอสี าน 167 ผักบุ้ง ชอ่ื ทอ้ งถน่ิ : ก�ำจร (ฉาน-แมฮ่ องสอน), ผกั บุ้ง (ทั่วไป), ผกั บงุ้ ไทย ผักบุง้ นา ผักทอดยอด (ภาคกลาง), โหนเดาะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮอ่ งสอน) Ipomoea aquatica Forssk. (วงศ์ Convolvulaceae) ช่ือพ้อง : - ไมเ้ ลือ้ ยลม้ ลุก หรือพชื นำ�้ อายุหลายปี ทอดคลานไปตามผิวดินหรือลอยนำ�้ ยาวไดถ้ งึ 5 ม. ทุกส่วนของต้น เกลีย้ งและมยี างสีขาวขุ่นเมื่อถกู ตัด ล�ำตน้ สีเขยี วออ่ น-ม่วงคลำ้� กลวงและมขี ้อ-ปล้อง ใบเดีย่ ว เรยี งสลับ รูปไข่ หรือรปู ใบหอกแกมรูปไข่ 4-17 ซม. โคนใบเวา้ รูปหวั ใจหรอื รูปเงีย่ งลูกศร ปลายใบแหลม ก้านใบยาว 3-14 ซม. ดอกออกเป็นช่อ มี 1-3 ดอก ก้านดอกยอ่ ย ยาว 1.5-5 ซม. กลีบเลยี้ งสเี ขยี วออ่ น เปน็ หลอด เกลยี้ ง ปลายแยก 5 แฉก กลบี ดอกคล้ายรปู แตร ยาว 3.5-5 ซม. ขอบกลบี เรยี บ สขี าว ชมพู หรือม่วงออ่ น ตรงกลางดอกสเี ขม้ กวา่ เกลี้ยง มีรอยพับบนกลบี ตามยาว 5 แนว ผลแกจ่ ะแหง้ แตก รปู ทรงไขถ่ งึ รูปทรงกลม กว้างประมาณ 1 ซม. มี กลบี เลยี้ งห้มุ ผล เมล็ดมขี นส้ันนุ่มสีน้�ำตาลออ่ น ถิ่นอาศยั ผกั บุ้งเป็นพชื โตเร็ว เปน็ วชั พชื ตามท่ีโลง่ แจง้ ในพืน้ ทีช่ ื้นแฉะ หรอื ตามขอบบงึ ทีค่ วามสงู จากระดับน�้ำ ทะเลไม่เกนิ 1,000 ม. ออกดอกช่วงปลายฤดูฝน-ฤดูหนาว ผลแกช่ ว่ งฤดหู นาว-ฤดูรอ้ น การกระจายพันธุ์ พบท่วั ประเทศไทย และในเขตร้อนทั่วโลก การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น กนิ เป็นผักสดแกล้มส้มต�ำ ลาบ หรอื ลวกจม้ิ น�้ำพรกิ หรอื ใส่แกง/ผัด (2)
ปา่ บุง่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 169 เครือขี้กะเดือน ชอ่ื ทอ้ งถน่ิ : เครอื ขีก้ ะเดอื น เครือจ้จี ้อ (อ.กนั ทรารมย์ ศรีสะเกษ, อ.เมือง อุบลราชธานี), เถาสะอึกใหญ่ (ทวั่ ไป) Merremia gemella (Burm. f.) Hallier f. (วงศ์ Convolvulaceae) ชอ่ื พ้อง : - ไมเ้ ลอ้ื ยล้มลกุ ยาวถงึ 5 ม. ลำ� ตน้ สเี ขยี วหรอื มว่ งคลำ้� มีขนสั้นนมุ่ และมียางสขี าวขุน่ เมือ่ ถกู ตดั เชน่ เดียวกับ ผกั บุ้ง ใบเด่ียว รปู หวั ใจ ยาว 2.5-6.5 ซม. เกลยี้ งหรอื มขี นประปราย ปลายใบแหลมหรือเป็น 3 แฉกในต้นอายุ น้อย ก้านใบยาว 1.5-6 ซม. ดอกออกเปน็ ช่อ มี 2-3 ดอก กา้ นชอ่ ดอกยาว 2.5-10 ซม. กา้ นดอกยาว 3-6 มม. กลีบเลี้ยงสีเขียวอ่อน มี 5 กลีบ มีขนยาว กลบี ดอกคล้ายรูปแตร ยาว 1.5-2 ซม. ขอบกลีบหยัก 5 พู สเี หลือง กลางกลบี ดอกสจี างกวา่ ผลแก่จะแหง้ แตก ทรงกลมแปน้ กวา้ งประมาณ 7 มม. กลบี เล้ยี งหมุ้ โคนผล เมลด็ รูป สามเหลี่ยม มขี นละเอยี ดสีนำ้� ตาลอ่อนปกคลุม ถ่นิ อาศยั เถาสะอึกใหญเ่ ป็นพชื โตเร็ว เปน็ วชั พืชข้นึ ในทโี่ ลง่ แจ้งและพืน้ ทีช่ ้ืนแฉะ หรอื ตามขอบบงึ ท่คี วามสงู จาก ระดับทะเลไมเ่ กนิ 500 ม. ออกดอกชว่ งฤดหู นาว ผลแก่ชว่ งปลายฤดูหนาว-ฤดรู อ้ น การกระจายพนั ธุ์ พบท่ัวประเทศไทย ตา่ งประเทศพบในอนิ เดียตอนใต้ ศรีลังกา ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซฟิ กิ ตอนใต้ การใช้ประโยชน์ -
ชอ่ ดอกที่มชี อ่ ดา้ นลา่ งตดิ ผลออ่ นแลว้
ปา่ บ่งุ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 171 เอื้อง ชือ่ ทอ้ งถน่ิ อ่นื : เออ้ื งเพด็ ม้า เอ้อื งหมายนา (ภาคกลาง), เอ้อื งใหญ่ บนั ไดสวรรค์ (ภาคใต)้ , เออื้ งชา้ ง (นครศรีธรรมราช), เอ้ืองต้น (ยะลา), เออ้ื ง ล�ำเออื้ ง (อสี าน), ชูไ้ ลบ้อง (กะเหรยี่ ง-แม่ฮอ่ งสอน) Costus speciosus (Koen.) Sm. (วงศ์ Costaceae) ชื่อพอ้ ง : - ไม้ลม้ ลุก อายหุ ลายปี มีเหง้าใต้ดิน ล�ำต้นสูง 1-3 ม. กว้าง 1.5-2 ซม. มีข้อปลอ้ ง ใบเดยี่ วเรยี งเวียนคลา้ ยบันได เกลยี ว รูปขอบขนาน ยาว 10-20 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบกลม ผิวใบเกล้ียงหรอื มีขนเงามันคล้ายเสน้ ไหมหนาแน่น เส้นแขนงใบจำ� นวนมาก เรียงขนานใบตามแนวยาว กา้ นใบยาว 5 มม. มีกาบใบหมุ้ รอบลำ� ต้น สีเขยี วหรือเหลือบสีม่วงแดง ยาว 4 ซม. มีขน ช่อดอกเป็นแท่งรปู ไข่ ยาว 10 ซม. ออกทีย่ อด ดอกย่อยเรียง ชิดกนั ใบประดับและกลีบเล้ียงสีเขยี ว กลบี ดอก มี 4 กลีบ แบง่ เป็น 3 กลบี รูปใบหอก ยาว 3-5 ซม. สขี าว-ชมพู และอกี 1 กลีบ รูปคลา้ ยแตร ปลายบานออก กว้าง 5.5-7.5 ซม. สขี าว ดา้ นในสีเหลือง ขอบกลบี เป็นคลนื่ เกสรเพศผู้รวมเป็นมัดรูปลนิ้ ตวดั โคง้ ขน้ึ ปลายมสี เี หลือง ผลรปู คนโท ยาว 2-2.5 ซม. สีแดงอมมว่ ง ปลายผลมี กลบี เล้ียง 3 กลีบตดิ คงทน เมอ่ื แกจ่ ะแห้งแลว้ แตก มีเมลด็ รูปหลายเหล่ียมขนาดเลก็ จ�ำนวนมาก สีด�ำมันเงา ถิน่ อาศยั ขึน้ ตามทโ่ี ลง่ แจง้ ทุ่งนา ท่ีรกรา้ ง หรอื ชายป่าดงดบิ ป่าผลดั ใบ ข้ึนไดท้ ้งั ในพื้นท่ชี น้ื แฉะ และตามซอกหิน บนหนา้ ผา (ในทแ่ี หง้ แล้งมากในช่วงฤดแู ลง้ ล�ำตน้ เหนอื ดินอาจเห่ยี วแห้งพักตัว) ข้ึนท่ีความสงู จากระดับน้�ำทะเล ไมเ่ กิน 1,400 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นกรกฎาคม-พฤศจิกายน ผลแก่ตลุ าคม-กุมภาพนั ธ์ การกระจายพนั ธ์ุ เป็นพืชท่ีพบได้ง่าย ขึ้นอยทู่ ัว่ ประเทศไทย ตา่ งประเทศพบในเขตร้อนของภูมิภาคเอเชยี ใต้ จีน- ตอนใต้ เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ไปจนถงึ ตอนเหนอื ของทวปี ออสเตรเลีย การใชป้ ระโยชน์ อาหาร หน่อ ชอ่ ดอกออ่ น ใบออ่ น กนิ เปน็ ผกั สด/ลวกจิ้มนำ�้ พรกิ (11, 12, 13).--- สมุนไพร ล�ำต้นน�ำมาลน ไฟบบี เอานำ�้ หยอดหู รักษาโรคหูนำ้� หนวก (1).--- ต้น เขา้ ยาอ่นื ๆ รักษาโรคเบาหวาน (11)
ปา่ บงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน 173 เครือตูมกา ชอื่ ทอ้ งถ่ินอนื่ : ขี้กาแดง ขีก้ าขาว (ภาคกลาง), แตงโมปา่ (กาญจนบรุ ี), มะกาดนิ (เชยี งใหม่), เครือตมู กา ตูมกา (อ.มัญจาคีรี ขอนแกน่ , อ.ศรสี งคราม นครพนม), ขก้ี า ขก้ี าน้อย (หนองคาย), หมักบวบลงิ เครอื ขี้กา (ไทญ้อ- อ.ศรสี งคราม นครพนม) Gymnopetalum scabrum (Lour.) W. J. de Wilde & Duyfjes (วงศ์ Cucurbitaceae) ชอ่ื พอ้ ง : Gymnopetalum integrifolium (Roxb.) Kurz ไม้เลอื้ ยล้มลุก อายุปีเดียว เลือ้ ยตามพน้ื ดนิ หรอื ไต่ต้นไม้ ยาวไดถ้ ึง 5 ม. ตามเถา กา้ บใบ ใบ ช่อดอก และผลมี ขนสากแข็งหนาแน่น และมมี ือพนั คลา้ ยสปริงตามซอกใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปหา้ เหล่ยี มหรอื หยักเปน็ ห้าพู ตืน้ กว้าง 4-11 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบหยักซ่ฟี นั -เรียบ และมักเปน็ คลื่น โคนใบเวา้ ลกึ รปู หัวใจ มีเส้นแขนง ใบออกจากโคนใบ 5 เส้น เส้นใบย่อยแบบรา่ งแห เหน็ เดน่ ชดั ก้านใบยาว 1-5 ซม. ดอกเดย่ี ว ออกตามซอกใบ กา้ นดอกยาว 3-12 ซม. ต้ังข้นึ กลีบเล้ยี งและกลีบดอกอย่างละ 5 กลีบ กลีบเลยี้ งสเี ขียว รปู แถบ ยาว 0.7-1.5 ซม. กลีบดอกสีขาว รูปไขก่ ลบั ยาว 2 ซม. ผลทรงกลม กว้าง 3-5 ซม. ผลอ่อนสเี ขียวเขม้ มลี ายตามยาวสขี าว ผลสุกสีส้ม-แดง เมล็ดมจี ำ� นวนมาก รูปขอบขนาน ยาว 6-9 มม. สีน้�ำตาล ถ่ินอาศยั ขึ้นตามทโ่ี ลง่ แจ้ง ที่รกรา้ ง หรือชายปา่ ดงดบิ ป่าผลัดใบ ในป่าบ่งุ ป่าทามจะขนึ้ ช่วงทนี่ ้�ำยงั ไมท่ ่วมหรือหลัง น�้ำลด ท่คี วามสูงจากระดบั น้�ำทะเลไม่เกิน 1,000 ม. ออกดอกและตดิ ผลตลอดทง้ั ปี การกระจายพันธ์ุ เป็นพชื ทีพ่ บไดง้ ่าย ขน้ึ อยทู่ ว่ั ประเทศไทย ต่างประเทศพบในเขตรอ้ นของภูมภิ าคเอเชียใต้ จีน- ตอนใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การใชป้ ระโยชน์ สมนุ ไพร เถา นำ� มาตำ� คน้ั เอานำ้� แล้วนำ� มาหยอดใส่จมกู รักษาอาการปวดไมเกรน (27).--- ราก เข้ายาบ�ำรงุ เลอื ด (26).--- ดา้ นอ่ืน ผลรสขม คนไม่กนิ , ผลสุกเป็นอาหารสัตว์ นกชอบกิน (21)
ช่อดอกทตี่ ิดเมล็ดแล้ว ชอ่ ดอก
ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 175 ผือ ชอ่ื ทอ้ งถ่นิ อนื่ : กก กกตะกลับ กกตาแดง กกปรอื กกสามเหลยี่ ม แหว้ กระดาน แห้วหิน (ภาคกลาง), กกคมบาง (ประจวบครี ีขันธ์), มะนวิ่ มะเน่ียว (ภาคเหนอื ), ผือ ผอื น้อย หญ้าฮังกา (อสี าน), เกา๊ ะ (เขมร และ ส่วย-อ.ท่าตมู สุรินทร์) Actinoscirpus grossus (L.f.) Goetgh. & D.A.Simpson (วงศ์ Cyperaceae) ช่ือพ้อง : - ไม้นำ�้ ล้มลุก อายหุ ลายปี มีลำ� ตน้ เปน็ หัวคลา้ ยแห้วและมีไหลอยู่ใตด้ ิน ขึน้ เป็นกลมุ่ ใบเรยี งเวยี นเปน็ กระจกุ รปู แถบ กว้าง 15-30 มม. ยาว 0.5-1.7 ม. ปลายเรียวแหลม แผ่นใบเป็นรอ่ งคล้ายรางน�้ำ ผวิ เกลย้ี ง ชอ่ ดอกออกจากกลาง กอใบ ก้านช่อดอก (คือสว่ นทค่ี ล้ายลำ� ตน้ ตั้งขึ้นเหนือดนิ ทใี่ ชท้ อเสือ่ ) เปน็ สามเหลยี่ ม หนา 1 ซม. สูง 1-2 ม. ผิวเกลย้ี ง ทเ่ี หลย่ี มเรยี บไม่จักฟันเลอื่ ย เนื้อในตัน (ไม่กลวง) ออ่ นนุ่มคล้ายฟองน�้ำ มีชอ่ ดอกแบบแยกแขนง อยูท่ ป่ี ลายก้าน ยาว 6-15 ซม. มใี บประดบั สเี ขยี วคล้ายใบ 3-4 ใบ/ชอ่ ดอก รปู แถบยาว 20-50 ซม. ขอบจกั ฟันเล่อื ยคม ชอ่ ดอกยอ่ ยเป็นเกลด็ ซอ้ นกันอดั แน่น สนี �ำ้ ตาลรปู รี ยาว 5-10 มม. มเี กสรเพศเมียเป็นเสน้ ยาว สีขาวโผล่ออกมาจำ� นวนมาก เมล็ดขนาดเล็กมาก ยาว 1-1.8 มม. ติดอย่ดู า้ นในเกล็ด ถ่นิ อาศัย ข้ึนตามทโ่ี ล่งแจง้ ในท่ชี ้ืนแฉะ นา บึง หรอื รมิ แม่นำ�้ ล�ำคลอง ที่น้�ำไหลไมแ่ รงและมรี ะดบั น�้ำลึกไม่เกิน 70 ซม. ทคี่ วามสูงจากระดบั น�้ำทะเลไมเ่ กนิ 1,000 ม. ออกดอกช่วงเดอื นมกราคม-เมษายน ติดผลมถิ นุ ายน-ตลุ าคม การกระจายพันธุ์ เป็นพชื ทพี่ บไดง้ า่ ย ขนึ้ อยู่ทัว่ ประเทศไทย ตา่ งประเทศพบในเขตร้อนของภูมภิ าคเอเชยี ใต้ จนี - ตอนใต้ เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ จนถึงตอนเหนอื ของทวีปออสเตรเลยี การใช้ประโยชน์ วสั ดุ ก้านชอ่ ดอก (ชาวบ้านเรียกว่า ตน้ ) ใชท้ อเสื่อ หรือสานกระต๊บิ ข้าว (3, 4, 8, 9, 15, 17, 22, 26, 27).--- ดา้ นอื่น ตน้ อ่อน เปน็ อาหารวัว-ควาย (26)
ชอ่ ดอก เหงา้ ที่อย่ใู ตด้ นิ
ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 177 หญ้าฮังกา ชอื่ ท้องถิน่ อ่ืน : กกกลม กกเส่ือ กกจันทบุรี (ภาคกลาง), กกสานเสื่อ (จนั ทบุรี), กก (อ.เชียงขวัญ รอ้ ยเอ็ด, อ.มญั จาคีรี ขอนแกน่ ), หญ้าฮงั กา (อ.เมือง มหาสารคาม, อ.ศรีเชียงใหม่ หนองคาย), ไหล (อ.โพธิต์ าก หนองคาย) Cyperus corymbosus Rottb. (วงศ์ Cyperaceae) ชือ่ พอ้ ง : - ไมน้ �ำ้ ล้มลุก อายหุ ลายปี มลี ำ� ตน้ ทอดนอนอยใู่ ตด้ นิ หรอื เหง้า ขน้ึ เป็นกลุ่ม ใบเปน็ กาบหมุ้ ท่ีโคนกา้ นชอ่ ดอก รปู แถบ ยาวได้ถงึ 6 ซม. กา้ นช่อดอก (ส่วนท่ีคล้ายลำ� ต้นตั้งขน้ึ เหนอื ดนิ ใชท้ อเสอื่ ) กลมหรือเป็นสามเหลยี่ มเล็กน้อย กวา้ ง 6-10 มม. ยาว 0.9-2 ม. ผิวเกลยี้ งเป็นมันเงา เน้ือในตนั (ไมก่ ลวง) ออ่ นนุ่ม มีชอ่ ดอกแบบแยกแขนงอยู่ ที่ปลายก้าน ยาว 10-17 ซม. มใี บประดบั สีเขียว-ขาว คล้ายใบ 2-4 ใบ/ชอ่ ดอก รปู ใบหอก ยาวได้ถงึ 4 ซม. ขอบจกั ฟันเล่ือยคม ช่อดอกย่อยเป็นเกลด็ ซ้อนกนั อดั แนน่ สขี าว รปู แถบยาวและแบนดา้ นข้าง ยาว 5-18 มม. มเี กสรเพศเมยี และเกสรเพศผู้เปน็ เสน้ ยาวสขี าวโผลอ่ อกมาจำ� นวนมาก เมล็ดขนาดเล็กมาก ยาว 1-1.2 มม. ติด อยู่ด้านในเกลด็ ถน่ิ อาศัย ข้นึ ตามทโี่ ลง่ แจง้ ในที่ชืน้ แฉะ นา บงึ หรือรมิ แมน่ ำ้� ลำ� คลอง ทน่ี �้ำไหลไมแ่ รงและมีระดับน้ำ� ลกึ ไมเ่ กิน 50 ซม. ที่ความสงู จากระดับน้�ำทะเลไมเ่ กิน 500 ม. ออกดอกและติดผลตลอดทั้งปี การกระจายพันธุ์ ในธรรมชาติพบไมบ่ ่อยนกั ขึน้ อย่ทู วั่ ประเทศไทย ต่างประเทศพบในเขตรอ้ นทัว่ โลก การใชป้ ระโยชน์ วสั ดุ กา้ นช่อดอก (ชาวบา้ นเรยี กว่าตน้ ) ใช้ทอเสื่อ ซึ่งจะทนทานและสวยมากกว่าเส่อื ทที่ อด้วยผือ หรือสาน กระตบิ๊ ข้าว (11, 13, 14, 26, 27).--- ดา้ นอ่นื ทกุ ส่วน เปน็ อาหารวัว-ควาย (11)
ผลอ่อน ผลอ่อน
ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน 179 ฮิ้นแฮด ช่อื ท้องถิ่นอ่นื : รสสคุ นธ์ รสสุคนธ์ขาว สคุ นธรส (กรงุ เทพฯ), เถากะปดใบเลอ่ื ม (ประจวบคีรขี นั ธ)์ , อรคนธ์ (ตรัง), ปดคาย ปดเลื่อน (สรุ าษฎร์ธาน)ี , ยา่ นปด (นครศรธี รรมราช), ปดนำ้� มนั (ปตั ตานี), ปะละ สะปัลละ (มลาย-ู นราธิวาส), ตีนแรด ลนิ้ แรด (อีสาน), เครือสา้ นทาม เครอื ส้านแว้ (ภไู ท-อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), ตะลมเป้ (เขมร-อ.ท่าตมู สรุ นิ ทร์), ต้าลม่า (สว่ ย-อ.ทา่ ตูม สุรนิ ทร์) Tetracera loureiri (Finet & Gagnep.) Pierre ex Craib (วงศ์ Dilleniaceae) ช่อื พ้อง : - ไม้เลอื้ ย ยาวไดถ้ ึง 20 ม. ตามกงิ่ ออ่ น ช่อดอก ใบ และกา้ นใบมีขนสัน้ สขี าวสากคายมือ ใบเดย่ี ว เรยี งเวียน รปู รี หรือรปู ขอบขนาน ยาว 6-10 ซม. ปลายและโคนใบแหลม ขอบใบจกั ฟนั เล่ือยหา่ งๆ มตี ิ่งหนามที่เกดิ จากปลาย เส้นแขนงใบยนื่ พน้ ออกจากขอบใบ เส้นแขนงใบขา้ งละ 8-16 เส้น ผิวใบดา้ นลา่ งมีขนสากมอื หรือเกลีย้ ง กา้ นใบ ยาว 7-10 มม. โคนก้านใบแผโ่ อบก่ิง ช่อดอกแบบแยกแขนง ออกที่ปลายกง่ิ ยาว 10-20 ซม. กลบี เลยี้ ง 5 กลบี สเี ขยี วอมขาว รปู ไข่ ยาว 5-7 มม. กลีบดอก 3 กลบี สีขาว-ชมพู รปู ไข่ ยาว 5 มม. กลีบเลยี้ งและกลบี ดอกบาน กลบั เกสรเพศผู้จ�ำนวนมาก มีกลิน่ หอมอ่อนๆ ผลตดิ เป็นกลุ่มๆ ละ 3 ผลยอ่ ย รปู ไขก่ ลับ ยาว 7-8 มม. ปลาย มีตง่ิ แหลม ผวิ สเี ขยี ว-แดงเร่ือ ผวิ เกลย้ี งมันเงา มีกลบี เลี้ยงตดิ ทน เม่อื แกจ่ ะแหง้ แตก มีเมลด็ จ�ำนวนมาก ทรงกลม กวา้ ง 2-3 มม. ถ่นิ อาศยั ขนึ้ ตามทโ่ี ลง่ แจ้ง ทีร่ กร้างหรือชายปา่ ดงดิบ ป่าผลดั ใบ และป่าบุ่งปา่ ทาม ทค่ี วามสูงจากระดับน�้ำทะเล ไม่เกนิ 400 ม. ออกดอกและติดผลตลอดท้งั ปี การกระจายพนั ธุ์ พบไดค้ ่อนข้างง่าย ขนึ้ อยู่ทัว่ ประเทศไทย ยกเวน้ ภาคเหนือ ตา่ งประเทศพบในลาว กมั พชู า เวียดนามตอนใต้ และคาบสมทุ รมาเลเซียตอนบน การใชป้ ระโยชน์ สมุนไพร ลำ� ต้น ทบุ แช่น้ำ� ด่มื และอาบน�้ำรกั ษาโรคซาง (6, 24).--- เถา ตัดเปน็ ท่อน แล้วเป่าลมใส่อีกดา้ นให้น�้ำ ในเถาออก นำ� มาหยอดตารกั ษาโรคตาแดง ตาแฉะ (4).--- เถา รสฝาด ตม้ น้�ำดืม่ เปน็ ยาลา้ งทอ้ ง หรอื ยาสมานแผล ในระบบทางเดนิ อาหาร (23).--- วสั ดุ เถา เนือ้ เหนียวและทนทานมากใชแ้ ทนเชือก ใช้คลอ้ งชา้ ง ล่ามววั -ควาย มดั สิ่งของ นำ� มาแขวนกระโซว้ ดิ นำ�้ (โพรงวดิ นำ้� ) หรือผูกลอบ/ไซ (3, 23).--- เถา ท�ำกงลอบ กงไซ อยู่ทนทาน 1-2 ปี เถาขนาดใหญใ่ ช้ทำ� กงลอบ เถาใชผ้ กู ลอบรมิ ตลง่ิ
ผลอ่อน ตน้ อ่อน งอกหลงั นำ�้ ลด
ป่าบ่งุ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 181 มันกะทาด ชอ่ื ทอ้ งถิน่ อ่ืน : มันยาง ยาง (พระนครศรีอยธุ ยา, พษิ ณโุ ลก), กลอยเขา (ฉาน-ภาคเหนือ), มันจว้ ก (ภาคเหนือ), มนั กะทาด เครอื กะทาด (อ.โพธต์ิ าก อ.ศรีเชยี งใหม่ หนองคาย) Dioscorea birmanica Prain & Burkill (วงศ์ Dioscoreaceae) ช่ือพอ้ ง : - ไม้เลอ้ื ยลม้ ลุก ยาวได้ถงึ 15 ม. เถาจะแหง้ เหีย่ วหลังผลแก่ แต่มเี หงา้ และหวั สะสมอาหารอยู่ใตด้ นิ อายุหลายปี หวั รูปร-ี ทรงกระบอก ขนาดใหญไ่ ด้ถึง 7 x 30 ซม. เนอื้ ในสขี าว ตามก่ิงออ่ น ช่อดอก ใบ และกา้ นใบมขี นสนั้ - เกลยี้ ง สีขาว เถากลม หนา 3-10 มม. ต้นออ่ นมีหนาม ใบเดีย่ ว เรียงสลับ รปู หวั ใจ กวา้ ง 10-15 ซม. ปลายใบ เรียวแหลม ผิวเกลีย้ ง มเี ส้นแขนงใบออกจากโคนใบ 7-11 เส้น ก้านใบยาว 5-10 ซม. เปน็ เหลย่ี ม บางคร้งั มี หนาม ชอ่ ดอกคล้ายหางกระรอก ช่อดอกแยกเพศ ออกตามซอกใบ หอ้ ยลง ยาว 10-15 ซม. ดอกย่อยมกี ลบี รวม (กลบี เลี้ยงและกลบี ดอกไม่สามารถแยกได)้ 5 กลบี สเี ขียว ขนาดเล็กมากและมจี �ำนวนมาก ดอกบานกวา้ ง 3 มม. ผลรวมปีกรูปค่อนขา้ งกลม กวา้ ง 2-2.5 ซม. ปลายทัง้ สองด้านกลม-เวา้ ตืน้ มีปีกตามแนวยาว 3 ปกี กวา้ ง 1 ซม. ผลอ่อนสีเขยี วอ่อน เม่อื แกแ่ หง้ แตก มีเมลด็ จำ� นวนมาก รูปค่อนขา้ งกลมแปน้ มีปกี บางรอบ ขนาดรวมปีก กว้าง 1.3 ซม. ถนิ่ อาศยั ขึน้ ตามทโ่ี ล่งแจง้ ท่รี กร้าง หรือชายป่าดงดบิ ป่าผลัดใบ และปา่ บ่งุ ปา่ ทาม ทค่ี วามสูงจากระดบั น้�ำทะเล ไม่เกนิ 1,000 ม. ออกดอกช่วงเดอื นมนี าคม-กรกฎาคม ผลแกเ่ มษายน-ธนั วาคม เถาจะแหง้ เหีย่ วหลังจากผล แก่ สำ� หรบั ในพื้นทีท่ ่มี นี ำ้� ทว่ มถงึ ในช่วงฤดฝู น ต้นออ่ นจะงอกจากหัวเกา่ หลงั น้�ำลด แลว้ เจรญิ เติบโตจนออกดอก ประมาณเดอื นมกราคม-กมุ ภาพันธ์ การกระจายพันธ์ุ พบในภาคเหนอื ภาคตะวันตก ภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบนในจังหวัดเลย และหนองคาย (ลุม่ น�ำ้ โมง) ตา่ งประเทศพบในเมียนมาร์ มณฑลยนู าน และภาคเหนอื ของลาว การใช้ประโยชน์ อาหาร ใบออ่ น ใชห้ อ่ เม่ียงปลา (เนื้อปลาปงิ้ +ผลหลู งิ +ผลหมากเม่าทาม), หวั ใต้ดนิ คัน กินไมไ่ ด้ (26, 27)
เถาแก่ทกี่ ำ� ลงั แห้ง ผล หวั มนั แซง
ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 183 มันแซง ชอื่ ทอ้ งถนิ่ อ่นื : มนั นก (อ่างทอง, นครสวรรค์, นครราชสมี า), มนั เทยี น (สระแกว้ ), มนั แซง (อีสาน), ตะลงละลว้ั ะ ตะลงตอ๊ บ (เขมร-อ.ทา่ ตูม สรุ ินทร์), อะปงแย (ส่วย-อ.ทา่ ตูม สรุ นิ ทร์) Dioscorea oryzetorum Prain & Burkill (วงศ์ Dioscoreaceae) ชอื่ พ้อง : - ไม้เล้อื ยลม้ ลุก ยาวได้ถึง 5 ม. เถามอี ายปุ ีเดยี ว แตม่ เี หง้าส้นั ใต้ดินมอี ายุหลายปี และมีไหลแทงออกดา้ นข้างยาว ไดถ้ ึง 2 ม. ปลายรากแขนงพฒั นาเปน็ หวั สะสมอาหาร รูปรี-คอ่ นข้างกลม ขนาดใหญไ่ ดถ้ งึ 7 x 13 ซม. เปลอื ก บางสีนำ้� ตาลออ่ น ผวิ มีรากสน้ั แข็งกระจายท่ัว เนือ้ ในสีขาว ทกุ ส่วนบนตน้ เกล้ยี ง เถากลม หนา 1.5-2.5 มม. มีรอ่ งละเอยี ดตามแนวยาวเล็กนอ้ ย ไมม่ ีหนาม ใบเดีย่ ว เรียงตรงข้าม รูปขอบขนานแคบ กวา้ ง 1.5-2.5 ซม. ยาว 7-10 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน-กลม มีเส้นแขนงใบออกจากโคนใบ 3-5 เส้น กา้ นใบยาว 0.7- 2.7 ซม. ชอ่ ดอกแยกแขนง ชอ่ ยอ่ ยคลา้ ยหางกระรอก ชอ่ ดอกแยกเพศ ออกตามซอกใบ หอ้ ยลง ยาว 3-5 ซม. ดอกยอ่ ยมีกลบี รวม (กลบี เลีย้ งและกลีบดอกไมส่ ามารถแยกได้) 6 กลบี สเี ขียว ขนาดเล็กมากและมจี �ำนวนมาก ดอกบานกวา้ ง 1.5 มม. ผลรวมปกี รูปกลมแปน้ กว้าง 2-2.5 ซม. สงู 1-1.2 ซม. ปลายเวา้ ตน้ื มีปกี ตามแนว ยาว 3 ปีก กวา้ ง 1 ซม. ผลอ่อนสเี ขยี วอ่อน เมื่อแก่แหง้ แตก มเี มล็ดจำ� นวนมาก รูปคอ่ นขา้ งกลมแป้น มปี กี บาง รอบ ขนาดรวมปกี กว้าง 1 ซม. ถน่ิ อาศัย ข้ึนตามท่โี ลง่ แจง้ หรอื ทร่ี กรา้ งในเขตพ้ืนทบี่ ่งุ ทาม หรือชายป่าบุ่งป่าทาม ทค่ี วามสูงจากระดับน้�ำทะเล ไม่เกนิ 200 ม. บางแหง่ น�ำมาปลกู ตามบ้านไวร้ บั ประทาน ออกดอกชว่ งเดือนกนั ยายน-พฤศจกิ ายน ผลแก่ พฤศจิกายน-กุมภาพนั ธ์ เถาจะแห้งเหี่ยวหลงั จากผลแก่ เหลอื เพยี งเหง้า ไหล และหัวมันบางสว่ นค้างปีอยใู่ ต้ดิน ซึ่งจะงอกเป็นเถาข้ึนมาใหม่ในชว่ งฤดูฝนปตี ่อไป หวั มนั สว่ นใหญ่จะคอ่ ยๆ ลบี ลงหรือยอ่ ยสลายไปในช่วงฤดูแลง้ - ต้นฤดูฝน แล้วจะเกดิ หัวมนั ใหมอ่ กี คร้งั หลงั จากเถาและใบโตเตม็ ท่ี การกระจายพันธ์ุ พบในภาคกลาง ภาคตะวันออก และพบมากตามป่าบงุ่ ปา่ ทามท่วั ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ต่างประเทศพบในลาว การใช้ประโยชน์ อาหาร มันแซงเป็นท่นี ยิ มของชาวอีสานมาก หวั ใตด้ นิ นำ� มาตม้ น่งึ หรอื เผาท้ังเปลอื ก แลว้ ปลอกเปลือก ออก จม้ิ น�้ำตาลกินเลน่ หรือทำ� เปน็ ขนมหวาน ประเภทต้มน้�ำตาล เชอ่ื ม บวช หรอื ท�ำอาหารคาว เช่น ตม้ จืด แกง เปน็ ตน้ , หัวใต้ดินจะขุดนำ� มากนิ ไดช้ ว่ งเดอื นกนั ยายน-ธนั วาคม แต่ช่วงทีเ่ ถาก�ำลงั เหย่ี วประมาณเดือน พฤศจกิ ายน-ธันวาคม และดินเริ่มแหง้ ไมแ่ ฉะน�้ำ จะไดห้ ัวมันแซงทสี่ มบูรณม์ ีเน้อื แปง้ มากท่ีสุด เนอ้ื มนั จะแหง้ เป็น ทราย ไม่มีเมือกเหนียว และใหร้ สชาตหิ วานมนั ที่สุด เรยี กวา่ “ช่วงมันสะเดด็ น�้ำ” (1-27).--- หัวใต้ดิน กวนผสม แปง้ และนำ้� ตาล เป็นของหวาน (1).--- ด้านอ่นื ผลแกป่ ระดิษฐเ์ ปน็ แหวนของเด็กเลน่ (17) แหวนของเลน่ เด็ก ท�ำจากผลมันแซง
ปา่ บ่งุ ป่าทาม ภาคอีสาน 185 ของหวานมนั แซง มันแซง/มนั นก (Dioscorea oryzetorum Prain & Burkill) มันแซง ในภาษาอสี าน หรือ มันนก ในช่ือภาคกลาง เปน็ อาหารออกตามฤดูกาล ชาวบา้ นอสี านจะไปขดุ หาตามปา่ บุ่งปา่ ทาม หลังเกยี่ วข้าวหรอื ฤดูที่นำ�้ ในปา่ ลดลงแล้ว (พฤศจิกายน-ธันวาคม) ซึ่งหวั มนั จะแกเ่ ตม็ ที่ มีแป้งสะสมเต็มหัว เน้ือสขี าวขุน่ แห้งเปน็ เนอ้ื ทราย ชาวบา้ นเรยี กหัวมนั ระยะน้ีว่า “มนั สะเด็ดน�้ำ” เมอ่ื นำ� มาตม้ จะได้มันทีม่ เี นื้อนุม่ เหนียวกินอร่อย โดยทั่วไปชาวบ้านจะกนิ มนั แซงแบบต้มจ้มิ กบั น้ำ� ตาลทราย การท�ำ เปน็ ขนมหวานมขี ้นั ตอนทย่ี ุ่งยากมากข้นึ มักท�ำกนิ ในกรณีพเิ ศษ ของหวานมันแซงจะมีขัน้ ตอนการคนั่ น�้ำกะทิ และการทำ� นำ้� เชอ่ื มเพม่ิ เข้ามา เปน็ การนำ� สว่ นผสม 3 อย่าง (แป้ง/ผลไม้ + กะทิ + นำ้� เชือ่ ม) กินผสมกันแบบ ขนมหวานประเภทรวมมติ ร หรอื ซา่ หรมิ่ สว่ นประกอบ 1) หัวมันแซง 1 กิโลกรมั 2) หวั กะทิ 1 ถ้วย 3) น้�ำตาลทราย 1/2 กโิ ลกรมั 4) น�้ำ 3 ถ้วย 5) เกลอื 1 ช้อนโตะ๊ วิธปี รุง 1. ตม้ หวั มันในน�ำ้ ผสมเกลอื 1 ชอ้ นโต๊ะ นาน 45-60 นาที ตักขนึ้ มาผ่งึ ให้เยน็ ปลอกเปลอื กออก ห่นั เนือ้ มนั เป็นชิน้ พอดีคำ� 2. ท�ำนำ้� เชือ่ ม โดยผสมน้�ำ 3 ถ้วย กับน�้ำตาลทราย 1/2 กโิ ลกรัม ละลายให้เป็นเน้อื เดียวกนั น�ำไปต้มจน เดือดแล้วยกลง 3. การกนิ ให้น�ำชนิ้ มัน น�ำ้ เชอ่ื ม และนำ้� กะทิ ผสมกันในถ้วย รสหวานและมนั ปรบั ใสป่ ริมาณตามความชอบ หรอื เตมิ น�้ำแขง็ บด กจ็ ะช่วยเพิม่ ความเย็นและลดความหวานลงได้ หมายเหตุ นอกจากมนั แซงแล้ว ชาวบา้ นยงั นิยมใช้ มันเทยี น (Dioscorea brevipetiolata) ซึ่งมีหวั เป็นแทง่ ยาว คลา้ ยเทียนไข และมีรสชาติคลา้ ยกัน สูตรอาหารโดย นางประมูล สุราวธุ (5)
ตน้ ยางนาทีถ่ ูกเจาะเอานำ้� มนั ป่าดงดิบแลง้ ท่ีมียางนาเป็นพชื เดน่ ริมแม่น�้ำสงคราม, สกลนคร
ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 187 ยางนา ชื่อทอ้ งถนิ่ อน่ื : ยาง ยางนา ยางขาว ยางแม่นำ้� ยางหยวก (ทั่วไป), ยางเนิน (จันทบุร)ี , ยางควาย (หนองคาย), ชันนา ยางตัง (ชุมพร), กาตีล (เขมร-ปราจนี บรุ )ี , จ้อง (กะเหร่ยี ง), ลอยด์ (โซ่-นครพนม), เย่ียง (เขมร-สุรินทร)์ , กะยาง ราลอย (ส่วย-สุรินทร์) Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don (วงศ์ Dipterocarpaceae) ช่ือพอ้ ง : - ไมต้ ้น สงู ถึง 40 ม. เปลือกสีน้�ำตาลปนเทา ขรขุ ระหรอื แตกรอ่ นเปน็ แผน่ ขนาดใหญ่ ตามรอยแผลมกั มนี ำ�้ ยางขาว ใส เม่ือแหง้ จะข้นเหนยี ว มกี ล่นิ หอมและจดุ ติดไฟงา่ ย ตามกงิ่ ออ่ น ก้านใบ ท้องใบ และชอ่ ดอกมขี นสน้ั หนา แนน่ กง่ิ อ่อนมรี อยแผลหูใบที่หลดุ รว่ งไปแล้วรูปวงแหวน ใบเดีย่ ว เรยี งสลับ รูปไข่ ยาว 10-20 ซม. ปลาย ใบแหลม โคนใบมนหรอื เว้าเล็กน้อย แผน่ ใบมรี อยพับแบบรางนำ�้ ตามแนวเส้นแขนงใบ เส้นแขนงใบข้างละ 12-20 เสน้ ก้านใบยาว 2-6 ซม. ช่อดอกแบบกระจะ หอ้ ยลง ยาว 5-12 ซม. กลบี เล้ียงและกลีบดอกอย่างละ 5 กลีบ กลีบเล้ียงสเี ขียวอ่อน โคนเป็นถว้ ย ยาว 1 ซม. มีครบี ตามแนวยาว ปลายมี 2 แฉก ยาว 1-1.5 ซม. และ 3 แฉกสัน้ ยาว 0.5 ซม. กลีบดอกสีขาว-ชมพู เส้นกลางกลบี สเี ข้มกว่า รปู แถบ ยาว 3 ซม. ปลายกลบี บดิ เวยี นคล้าย กังหนั ลม มกี ล่ินหอมอ่อนๆ ผลสีเขียวออ่ น คอ่ นข้างกลม ขนาดไมร่ วมครีบ กวา้ ง 2-3 ซม. มีครบี ตามแนว ยาว 5 ครบี สงู 0.5-1 ซม. ผวิ มขี นประปราย มีปกี 2 ปกี สแี ดง รูปแถบ ยาว 8-12 ซม. ท้งั 2 ปีกบิดและกาง ออกเลก็ นอ้ ย อกี 3 ปีกสั้นคลา้ ยหูหนู เม่ือแกป่ ีกจะแห้งเป็นสนี ้ำ� ตาล ปลิวตามลมและหมนุ ปีกคล้ายกังหัน ถน่ิ อาศยั ขึ้นตามรมิ น้�ำ ในเขตทร่ี าบนำ้� ท่วมถึงหรอื ท่ีราบทมี่ ชี นั้ ดินลกึ มากกว่า 1 เมตร หรอื เนินทรายรมิ ทะเล ใน ปา่ ดงดิบแล้ง ขึ้นที่ความสงู จากระดับนำ้� ทะเลไมเ่ กนิ 500 ม. ออกดอกชว่ งเดือนมกราคม-กุมภาพนั ธ์ ผลแก่ พฤษภาคม-กรกฎาคม ไม่จัดวา่ เป็นพรรณไม้ของปา่ บงุ่ ป่าทามทแ่ี ทจ้ รงิ เพราะจะข้ึนในปา่ ดงดิบแลง้ บนแนว เนินดินริมแม่น�้ำหรอื แนวรอยเช่ือมต่อระหวา่ งป่าบงุ่ ป่าทามกับป่าดงดิบแลง้ เน่อื งจากยางนาไมส่ ามารถข้นึ ได้ในท่ี ลมุ่ ตำ�่ มากที่ปกติมีน�้ำทว่ มขงั นานเกินกวา่ 1 เดอื น การกระจายพนั ธ์ุ เป็นพชื ที่พบทว่ั ไป และพบเกือบทัว่ ประเทศไทย (ยกเว้นจงั หวดั ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส) ตา่ งประเทศพบในอนิ เดยี บงั คลาเทศ เมยี นมาร์ ลาว กมั พูชา เวียดนามตอนใต้ และฟิลิปปินส์ การใช้ประโยชน์ ก่อสร้างหรอื เครื่องมือ ไม้เนอ้ื แขง็ ปานกลาง ใช้ในงานกอ่ สรา้ งบา้ นเรือนที่อยูภ่ ายในรม่ และรับน้�ำหนกั ไม่มาก เช่น ไมฝ้ า ไมจ้ นั ทัน โครงเครา่ (4).--- วสั ดุ นำ้� มนั ยางผสมขซี้ ีหรือชนั ใช้ยาเรอื อุดรรู ว่ั ของเรือ (4).--- เช้ือเพลงิ น้�ำมนั ยางคลกุ ผสมกับขเี้ ล่อื ยท�ำกระบองขไ้ี ตจ้ ุดไฟใหแ้ สงสว่าง หรอื จุดเตาไฟให้ตดิ งา่ ย (4)
ป่าบ่งุ ป่าทาม ภาคอีสาน 189 ตะเคียน ช่อื ทอ้ งถิ่นอื่น : ตะเคียนทอง ตะเคยี นใหญ่ (ภาคกลาง), กะก้ี (กะเหรยี่ ง-เชียงใหม)่ , จะเคยี น (ภาคเหนอื ), จอื งา (มลาย-ู นราธิวาส), แคน (อสี าน), ตะเคยี น (นครราชสมี า, อบุ ลราชธานี), ตะเกยี ล กะเกยี ร (เขมร และ สว่ ย- ท่าตมู สรุ นิ ทร์) Hopea odorata Roxb. (วงศ์ Dipterocarpaceae) ชือ่ พ้อง : - ไมต้ ้น สงู ถึง 40 ม. เปลือกสนี �ำ้ ตาลเขม้ แตกเป็นรอ่ งร่างแหตามยาว-แตกแบบสะเก็ด ตามรอยแผลมักมีชันสี ขาวใส เหนียว มีกลิ่นหอมและจดุ ติดไฟง่าย ตามกิ่งอ่อน และชอ่ ดอกมขี นส้นั สีขาว ใบเด่ยี ว เรียงสลับ รูปไข่ หรอื รปู ไขแ่ กมรปู หอก และมกั จะโค้งเลก็ น้อย ยาว 7-12 ซม. ปลายใบเรยี วแหลม โคนใบมนและมกั เบยี้ วเล็ก น้อย ผิวใบเกลี้ยง ดา้ นบนมนั เงา ปกติด้านล่างใบที่ง่ามเส้นกลางใบกับเสน้ แขนงใบมีต่อมนูน เสน้ แขนงใบ ขา้ งละ 8-12 เส้น กา้ นใบยาว 1-1.5 ซม. เกล้ียง ช่อดอกแยกแขนง ยาว 3-10 ซม. ดอกย่อยขนาดเลก็ มาก เรียง อยู่ดา้ นล่างดา้ นเดยี วของแกนชอ่ ดอก ดอกบานกวา้ ง 6 มม. กลีบเล้ียงและกลีบดอกมอี ยา่ งละ 5 กลบี กลบี ดอก สีเหลอื งอ่อน ปลายกลีบบิดเวียนคลา้ ยกังหนั มีกลนิ่ หอมอ่อนๆ ผลรูปไขก่ วา้ ง กว้าง 6-8 มม. เปลอื กแขง็ ผิวเกลยี้ ง-มขี น มปี ีก 2 ปีก รปู หอกกลบั ยาว 3-6 ซม. ทง้ั 2 ปีกบดิ และกางออก ผลอ่อนปีกสเี ขยี วออ่ น เมื่อแก่ ปกี จะแห้งเปน็ สนี �้ำตาล ปลิวตามลมและหมนุ ปกี คล้ายกงั หนั ถน่ิ อาศัย ข้ึนตามรมิ น้�ำ ทงั้ ในปา่ ดงดบิ แลง้ และป่าผลดั ใบ หรือในปา่ ดงดบิ แลง้ บนเนินทรายใกลช้ ายฝ่งั ทะเล ใน ปา่ บงุ่ ปา่ ทามมักพบในแนวเชอ่ื มตอ่ กบั ป่าดงดิบแลง้ ขึ้นท่ีความสูงจากระดับน�้ำทะเลไมเ่ กิน 900 ม. ออกดอกชว่ ง เดอื นกมุ ภาพันธ-์ เมษายน ผลแกเ่ มษายน-มถิ ุนายน การกระจายพันธ์ุ เป็นพชื ท่ีพบทวั่ ไปในปา่ ตามธรรมชาตแิ ละพบท่ัวประเทศไทย แตต่ ามพนื้ ทนี่ อกเขตป่าอนุรักษ์ รวมถึงในปา่ บุง่ ปา่ ทามคอ่ นขา้ งหายาก เน่อื งจากถกู ตัดมาใชป้ ระโยชนอ์ ยู่เสมอ ต่างประเทศพบในบังคลาเทศ เมยี นมาร์ ลาว กัมพชู า เวยี ดนาม และคาบสมทุ รมาเลเซยี ตอนบน การใชป้ ระโยชน์ กอ่ สร้างหรอื เครื่องมอื เนื้อไม้แข็งแรงทนทาน และมเี นื้อเหนยี วมาก ใชใ้ นการกอ่ สรา้ ง ท�ำเปน็ ไม้กระดาน คาน ตง เสา สรา้ งบา้ น ต่อเรอื /รถยนต์ หรอื ทำ� เรอื ขุด และด้ามเคร่อื งมือทางการเกษตร (8, 1, 4, 3, 4).--- เนอื้ ไม้ ใช้เป็นส่วนประกอบท�ำโล่งศพของผู้หญิง (4)
ป่าบ่งุ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 191 ทะลอก ชื่อทอ้ งถน่ิ อน่ื : ทะลอก (สระแก้ว), กระเบาปลัก (ไทโคราช-อ.เมอื งยาง นครราชสีมา), กระเบา (ไทลาว- อ.หัวตะพาน จ.อ�ำนาจเจริญ) Vatica philastreana Pierre (วงศ์ Dipterocarpaceae) ชือ่ พ้อง : - ไม้ต้น สงู 6-30 ม. เปลอื กเรียบ-แตกสะเกด็ สนี �ำ้ ตาลอมเทา ตามรอยแผลมชี นั ซึม สเี หลอื งอำ� พนั ใส ตามก่ิงอ่อน และชอ่ ดอกมีขนส้นั สนี ำ�้ ตาล ใบเดี่ยว เรียงสลับ รปู ขอบขนานหรือรปู ใบหอก ยาว 8-15 ซม. ปลายใบเรียว แหลม โคนใบมน-แหลม ผวิ ใบเกล้ียงเป็นมนั เงา เนื้อใบหนา เส้นแขนงใบข้างละ 8-12 เสน้ เส้นกลางใบ ดา้ นบนนนู ก้านใบยาว 0.7-1.8 ซม. บวมพองและเกล้ยี ง ชอ่ ดอกแยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาว 4-9 ซม. กลบี เล้ียงและกลีบดอกอยา่ งละ 5 กลีบ กลีบดอกสขี าว กลางกลบี สีเหลือง รูปไขก่ ลบั แกมขอบขนาน ยาว 1.3- 1.8 ซม. ปลายแหลม กลีบบดิ เล็กนอ้ ย (คล้ายดอกลน่ั ทม/จ�ำปาลาว) มีกลน่ิ หอม ผลทรงกลม กวา้ ง 2-3.5 ซม. ขัว่ ผลมกี ลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ ยาว 1 ซม. กระดกกลบั ผิวเรียบสีน�้ำตาลด้าน (ไมม่ ันเงา) มขี นสั้น-เกล้ียง เปลือกนอกเนอ้ื หนา 5-6 มม. ค่อนข้างแข็ง ถ่นิ อาศัย ขน้ึ ตามรมิ น�้ำในปา่ บุ่งปา่ ทาม ทค่ี วามสูงจากระดบั น�ำ้ ทะเลไม่เกนิ 150 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นมนี าคม- กรกฎาคม ผลแก่กรกฎาคม-กันยายน เม่ือสกุ จะรว่ งหลน่ แลว้ งอกเปน็ ต้นกล้าอยู่ใต้โคนตน้ หากน้�ำยงั ไมท่ ว่ มหลาก แตถ่ ้าร่วงหล่นในชว่ งฤดนู ้�ำหลากจะลอยไปตามน้�ำ แพร่กระจายพันธอ์ุ อกไปได้ไกล การกระจายพนั ธ์ุ เปน็ พชื หายาก พบที่ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว, ตามแมน่ ้�ำมลู ที่ อ.เมืองยาง จ.นครราชสมี า และตามลำ� เซบาย จ.ยโสธร อำ� นาจเจริญ และอุบลราชธานี ต่างประเทศพบในลาว กัมพชู า และเวยี ดนามตอนใต้ การใช้ประโยชน์ เชอ้ื เพลงิ ไมใ้ ช้ท�ำฟนื หรือเผาถา่ น.---ก่อสรา้ งหรอื เครอื่ งมือ เน้อื ไม้ค่อนข้างแขง็ แรง ใชใ้ นงานก่อสรา้ งได้ (1)
ผลออ่ น ดอกเพศผู้ ดอกเพศเมีย
ปา่ บงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน 193 น�้ำจ้อย ชอ่ื ทอ้ งถนิ่ อื่น : กะจะ นัง่ จอ้ ย (นครราชสมี า), น้ำ� จ้อย (อสี าน), ดักดำ� รักด�ำ (ศรีสะเกษ, อ.เมือง ยโสธร, อ.เมือง อบุ ลราชธาน)ี , กล้าย (ปัตตานี) Diospyros curranii Merr. (วงศ์ Ebenaceae) ชอื่ พ้อง : - ไม้ต้น สูงถงึ 12 ม. เปลอื กสดี ำ� แตกเปน็ รอ่ งตน้ื ตามแนวยาว ตามกงิ่ อ่อน ช่อดอก และใบอ่อนมขี นสั้นสีน้�ำตาล- ขาว ใบเด่ียว เรยี งสลบั รปู รแี กมขอบขนาน ยาว 7-15 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมน-แหลม ผวิ ใบ เกลยี้ ง ดา้ นบนสีเขียวเข้มมนั เงา เนอ้ื ใบหนา เสน้ แขนงใบขา้ งละ 8-12 เสน้ ปลายเส้นโค้งจรดกัน ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. เกลย้ี ง ดอกแยกเพศ ออกเดยี่ วหรอื เปน็ ช่อกระจกุ ตามซอกใบ กลบี เลี้ยงและกลบี ดอกอยา่ งละ 4 กลีบ (5 กลบี หายาก) กลีบดอกสีขาว รปู คนโทหรอื คลา้ ยระฆัง ยาว 4-7 มม. กลบี เลย้ี งดอกเพศผู้รูปไข่ ยาว 2-4 มม. ผิวเรียบ กลีบเลี้ยงดอกเพศเมียรปู สามเหลยี่ ม ยาว 4-7 มม. ปลายแหลม โคนกลบี หยกั เกอื บถึงโคน ขอบกลีบพับ กลบั ผลทรงกลม กวา้ ง 2-2.5 ซม. ปลายผลมีตง่ิ สัน้ ผลอ่อนสเี ขยี วมีขนสนี ำ�้ ตาลแดงหนาแน่น กลบี เลย้ี งติด คงทนมขี อบกลีบเป็นคล่นื และพับกลบั ชัดเจน เมลด็ สีแดง ผลสกุ เปลอื กสเี หลอื ง ผวิ เกล้ียง มี 2-4 เมล็ด เนื้อในสี ขาวใสฉำ่� น้�ำ เมลด็ สนี �้ำตาลเขม้ กา้ นผลยาว 0.5-1 ซม. ถ่ินอาศัย ขึ้นในปา่ ดงดบิ แลง้ ตามรมิ น้�ำ หรอื ในปา่ บุง่ ปา่ ทาม ทคี่ วามสูงจากระดบั น้�ำทะเลไม่เกนิ 200 ม. ออกดอก ช่วงเดือนมนี าคม-มถิ นุ ายน ผลแก่มถิ นุ ายน-กันยายน การกระจายพนั ธ์ุ พบในภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ และพบมากตามปา่ บุ่งป่าทามในภาคตะวันออกเฉยี ง- เหนอื ยกเว้นลมุ่ น้ำ� โมง ตา่ งประเทศพบในลาว กมั พูชา อินโดนเี ซีย และฟลิ ปิ ปนิ ส์ การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ผลสกุ กินเป็นผลไม้ เนื้อในสขี าวใสมีรสหวานเล็กน้อย ไมฝ่ าด (6, 8, 9, 10, 11, 12, 13, 15).--- ผลดบิ กินเป็นผลไมไ้ ด้ รสมันปนฝาด (11, 14).--- สมนุ ไพร แกน่ หรือราก ฝนแล้วน�ำมาตม้ นำ�้ ด่ืม แก้ไข้ แก้ ไข้อสี กุ อใี ส (6).--- แก่น หรอื เปลอื ก ทุบแลว้ แช่น้�ำหรอื ตม้ ดื่ม แกท้ อ้ งอดื ทอ้ งเฟ้อ จกุ เสียด (8, 17).--- แกน่ ตากแหง้ ตม้ นำ้� ดืม่ ชว่ งอยู่ไฟหรอื ประมาณ 1 เดอื นหลงั คลอด ช่วยบำ� รงุ น้�ำนม (9).--- เช้อื เพลิง ไมท้ �ำฟนื หรอื เผาถา่ น (6, 8, 11, 13, 14, 15, 17).--- กอ่ สรา้ งหรอื เคร่อื งมือ เนื้อไมแ้ ขง็ แรง แปรรูปใช้ก่อสรา้ งหรือท�ำ เฟอรน์ ิเจอร์ หรอื ดา้ มมดี /พรา้ (11, 13, 14)
ผลสกุ
ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอสี าน 195 โก ชอ่ื ทอ้ งถิ่นอื่น : ตะโก ตะโกนา (ภาคกลาง, นครราชสมี า), มะโก (ภาคเหนือ), มะถา่ นไฟผี (เชียงใหม)่ , กกโก โก (อีสาน) Diospyros rhodocalyx Kurz (วงศ์ Ebenaceae) ชอื่ พอ้ ง : - ไมต้ ้น สูงถงึ 15 ม. เปลือกสีดำ� แตกเปน็ ร่องตืน้ ตามแนวยาว ต้นอายนุ อ้ ยมีหนามท่เี กิดจากกงิ่ เกา่ ก่ิงออ่ น ช่อดอก และใบออ่ นมีขนสั้นสนี ำ�้ ตาล-ขาว ลกั ษณะทว่ั ไปของต้น โก จะคล้าย น้�ำจอ้ ย (Diospyros curranii) มาก มีความแตกตา่ งที่ ใบของโกเปน็ รปู ไขก่ ลับหรอื รูปสเี่ หลย่ี มขา้ วหลามตัด ปลายใบกลม ตดั หรอื แหลม และมี เสน้ แขนงใบขา้ งละ 5-8 เส้น (น้ำ� จอ้ ยมใี บรูปรแี กมขอบขนาน ปลายใบเรียวแหลม และมเี ส้นแขนงใบขา้ งละ 8-12 เสน้ ) สว่ นผลของโกจะมีขนาดกว้าง 2.5-4 ซม. กลบี เลี้ยงรปู กลม-ไขก่ ว้าง ปลายกลม มขี อบกลบี เรยี บ และไม่พบั กลบั หรืออาจพับกลับเพียงเล็กน้อย (นำ้� จ้อยมีผลกว้าง 2-2.5 ซม. กลีบเล้ียงทข่ี ัว่ ผลรปู สามเหลย่ี ม ขอบกลีบเป็นคลืน่ และพับกลับชดั เจน) ถ่นิ อาศยั ขึ้นในเขตท่รี าบนำ�้ ทว่ มถึงหรือทร่ี าบลกู คลื่น ในปา่ เบญจพรรณ ทุง่ นา ในปา่ บุ่งปา่ ทามมักพบตาม เนินดินหรอื ขน้ึ บนจอมปลวก ที่ความสงู จากระดบั น�้ำทะเลไม่เกนิ 300 ม. ออกดอกชว่ งดอื นมนี าคม-เมษายน ผลแก่ เมษายน-กรกฎาคม การกระจายพันธุ์ พบไดง้ า่ ย ทัว่ ประเทศไทย ยกเวน้ ภาคใต้ ต่างประเทศพบในเมียนมาร์ ลาว กมั พชู า และ เวยี ดนาม การใช้ประโยชน์ อาหาร ผลกนิ เปน็ ผลไม้ ผลดบิ รสฝาดอมเปรี้ยว ผลสุกสแี ดงอมสม้ รสหวาน (1, 8, 11, 12).--- ผลดิบ ใช้ ตำ� ส้มผสมกบั ฝกั มะขามอ่อน (อาหารรสเปร้ียวจะชว่ ยลดความฝาดได้) (11, 12).--- ผลดบิ ใช้ต�ำสม้ ผสม มะเขือ ตวั มดแดง และ อีรอก (กา้ นของบุกชนดิ หน่ึง) (11).--- สมุนไพร เปลอื กเข้ายาอื่นๆ เปน็ ยาอายวุ ัฒนะ (7).--- กง่ิ เขา้ ยาอนื่ ๆ ผสม เถาเพชรสงั ฆาต (Cissus quadrangularis) ต้มนำ�้ ดม่ื รกั ษาโรคริดสีดวงทวาร (2).--- ล�ำต้น ตม้ น้�ำดื่มรักษาโรคตับ (12).--- ผลดบิ รสฝาด กนิ แกท้ อ้ งร่วงท้องเสยี (12).--- เชื้อเพลิง ไม้ใชท้ ำ� ฟืนหรือเผาถา่ น (8, 11).--- ก่อสรา้ งหรอื เครอ่ื งมอื เน้ือไมแ้ ข็งแรง ใชท้ �ำแผน่ กระดานพน้ื บ้าน คาน ตง หรือท�ำเฟอรน์ เิ จอร์ (12).--- วัสดุ ผลดบิ ต�ำแลว้ น�ำไปแชน่ ้�ำ คน้ั เอาน�ำ้ ใช้ยอ้ มแหให้สดี �ำ แลว้ เหยียบยำ่� คลุกเคลา้ ดนิ โคลน ชว่ ยท�ำให้ เสน้ แหแข็งแรง ไมพ่ ัน ไมย่ ดึ เกาะกง่ิ ไมใ้ บไมง้ า่ ย (1, 11, 12).--- ผลดบิ ใชย้ ้อมผ้าฝ้าย ให้สดี �ำ แต่ใช้ย้อมผา้ ไหมไม่ ได้ (11).--- ดา้ นอืน่ ผลดิบ ท�ำลกู ข่างของเลน่ เด็ก โดยใช้ไมเ้ สยี บทีข่ ัว่ ดา้ นบนเป็นก้านป่ัน (11) ย้อมแห
ผลออ่ น
ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 197 หมากแซว ชื่อทอ้ งถ่ินอน่ื : มะกอกนำ�้ สารภนี �้ำ (ภาคกลาง, นครราชสีมา), สมอพพิ ่าย (ระยอง), หมากแซว บักแซว (อีสาน), รันเต็ง (เขมร-อ.ทา่ ตูม สรุ นิ ทร)์ Elaeocarpus hygrophilus Kurz (วงศ์ Elaeocarpaceae) ชอื่ พอ้ ง : - ไม้ต้น สูง 3-12 ม. เปลือกเรยี บ สนี ำ�้ ตาลอมเทา ก่งิ ออ่ นเกลี้ยง ใบเดี่ยว เรยี งเวียน ใบรูปไขก่ ลับ ยาว 6-12 ซม. ปลายใบมน ขอบใบจักฟนั เล่ือยหา่ งๆ โคนใบรปู ลม่ิ ผิวใบเกล้ยี ง มเี สน้ แขนงใบข้างละ 5-7 เส้น ใบด้านลา่ งมี ต่อมนนู ท่ีง่ามของเส้นกลางใบกับเสน้ แขนงใบ ก้านใบยาว 1-2 ซม. สแี ดง-แดงเรอื่ ๆ เกล้ยี ง ปลายทง้ั สองด้าน บวม ใบแกก่ ่อนร่วงสีแดง ชอ่ ดอกยาว 3-10 ซม. ออกในแนวระนาบตามซอกใบ มขี นส้นั สีขาว กลบี เล้ียงและ กลบี ดอกอย่างละ 5 กลบี สีขาว กลบี ดอกรูปสามเหล่ียมกลบั ยาว 5-8 มม. ปลายกลบี จกั เป็นร้วิ จ�ำนวนมาก และลึกถงึ ครงึ่ กลีบ ผลรปู รี ยาว 3-4 ซม. ปลายผลแหลม ผลสุกสีเขียวอมเหลอื งเน้อื นมิ่ มี 1 เมลด็ รูปรยี าว สีน�้ำตาล ผิวเมลด็ แข็งมากและขรุขระคล้ายเมล็ดพุทรา ถ่ินอาศัย ข้นึ ตามริมแมน่ ้�ำลำ� คลองในเขตท่รี าบนำ�้ ท่วมถึง และป่าบุ่งปา่ ทาม ทค่ี วามสูงจากระดบั น�้ำทะเลไม่เกนิ 200 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นพฤษภาคม-สิงหาคม ผลแกก่ รกฎาคม-ตลุ าคม การกระจายพนั ธ์ุ ในธรรมชาติคอ่ นขา้ งพบไดน้ ้อย ข้ึนอยู่ทัว่ ประเทศไทย บางท่นี �ำไปปลูกเป็นไมผ้ ล ตา่ งประเทศ พบในเมียนมาร์ ลาว กัมพูชา และเวยี ดนามตอนใต้ การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ผลดิบ รสเปรี้ยวอมฝาดเล็กนอ้ ย ผลสกุ รสเปรย้ี ว กินสดจิ้มพริกเกลือเป็นผลไม้ หรือทำ� ผลไมด้ อง หรอื แช่อม่ิ (1, 4, 8, 15, 17, 18, 20).--- เชือ้ เพลงิ ไม้ท�ำฟนื หรือเผาถ่าน (15, 18) หมากแซว/มะกอกน้�ำดอง ผลสกุ
ผลอ่อน ดอกเพศผู้ ดอกเพศเมีย
ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 199 เปล้าทาม ชื่อท้องถ่ินอื่น : เปลา้ นอ้ ย (ราชการ), เปล้าทาม อรวรรณ (อ.วารินชำ� ราบ อบุ ลราชธาน)ี , ขาไก่ (อ.ศรสี งคราม นครพนม), ไส้ไก่ทาม (ไทญ้อ-อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม) Croton decalvatus Esser (วงศ์ Euphorbiaceae) ชือ่ พอ้ ง : - ไม้พุ่ม สงู 0.2-3 ม. เปลือกเรียบสีเทา ยอดอ่อนมนี ้�ำยางสขี าวคอ่ นขา้ งใส เมอื่ ถกู อากาศเปลีย่ นเปน็ สีแดง ตาม กิง่ อ่อน ใบออ่ น และชอ่ ดอกปกคลมุ ด้วยสะเกด็ รปู ดาวสนี ้�ำตาลออ่ นประปราย ต่อมาเกลยี้ ง ใบเด่ียว เรยี ง เวียนหรอื เป็นกระจุกท่ีปลายกิง่ รูปรแี กมรปู ขอบขนาน ยาว 8-15 ซม. ปลายใบและโคนใบแหลม-มน ขอบใบ จักฟนั เลื่อย ใบแก่ก่อนรว่ งสีส้ม-แดง ก้านใบ 0.4-1.6 ซม. มีสะเก็ดคลุม ช่อดอกแยกเพศอยกู่ นั คนละตน้ ออก ท่ีปลายกง่ิ ตั้งขนึ้ ยาว 6-12 ซม. ดอกสเี ขียวอ่อน ดอกขนาดเลก็ บานกวา้ ง 5-8 มม. ดอกเพศผ้มู ีกลีบเลี้ยงและ กลีบดอกอย่างละ 5 กลบี ดอกเพศเมยี มีเฉพาะกลีบเลยี้ ง ผลค่อนขา้ งกลมแปน้ และมี 3 พู กว้าง 1 ซม. สูง 0.7-0.9 ซม. มสี ะเกด็ สนี �ำ้ ตาลอ่อนประปราย ปลายผลมีกา้ นชูยอดเกสรเพศเมยี ตดิ คา้ ง เมอ่ื แก่จะแหง้ แตกอ้า มี 3 เมลด็ ถ่นิ อาศยั ขน้ึ ตามทโ่ี ล่งแจ้งหรือชายป่าดงดบิ ป่าเบญจพรรณ และป่าบุ่งปา่ ทาม ทีค่ วามสงู จากระดับน�้ำทะเลไม่เกนิ 500 ม. ออกดอกช่วงเดือนกมุ ภาพันธ-์ พฤษภาคม ผลแก่มีนาคม-กรกฎาคม การกระจายพนั ธุ์ พบไดท้ วั่ ไปตามทร่ี าบลุ่มใกลแ้ ม่น�้ำลำ� คลองในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยกเวน้ ลุ่มน้�ำโมง และ พบในภาคตะวนั ออก สถานภาพปจั จุบัน เป็นพชื ถ่ินเดียว (endemic species) พบเฉพาะในประเทศไทย แต่ คาดวา่ น่าจะพบในลาวและกมั พูชาด้วย การใช้ประโยชน์ สมนุ ไพร ราก ผล และใบ ตากแหง้ นำ� มาต้มนำ้� ด่ืมรกั ษาโรคท้องเสียและโรคกระเพาะ (6).--- ราก เขา้ ยาอน่ื ๆ ตม้ น้ำ� ด่ืมรกั ษาโรคกระเพาะได้เหมือนกับ เปล้าใหญ่ (Croton persimilis), เปล้านอ้ ย (Croton stellatopilo- sus) และ เปล้าทอง (Croton sp.) (24).--- เชื้อเพลิง ต้นและกิ่งก้าน ใชท้ �ำฟนื (21)
ผลอ่อน ช่อดอก ผิวใบดา้ นลา่ ง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
Pages: