Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่1 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก

หน่วยที่1 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก

Published by khaimook spp, 2022-08-02 17:36:46

Description: หน่วยที่1 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวิชา ว30205 รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 5 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ แมเ่ หลก็ และไฟฟา้ เร่อื ง แมเ่ หลก็ และสนามแม่เหล็ก วนั ท…ี่ …….เดือน……………พ.ศ……………… ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 เวลา……………………น. จานวน 2 ช่ัวโมง ผู้สอน นางสาวไข่มกุ สุพร สาระฟิสกิ ส์ 3. เขา้ ใจแรงไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟา้ ศกั ยไ์ ฟฟา้ ความจุไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และกฎของ โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงาน ไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ ของฟาราเดย์ ไฟฟา้ กระแสสลับ คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ และการสื่อสาร รวมทง้ั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ สังเกต และอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคานวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณที่กาหนดรวมท้ัง สังเกต และอธบิ ายสนามแมเ่ หลก็ ทเี่ กิดจากกระแสไฟฟา้ ในลวดตัวนาเสน้ ตรง และโซเลนอยด์ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรยี นสามารถอธบิ ายความหมายของแม่เหลก็ และสนามแม่เหล็ก (K) 2. นักเรยี นสามารถสบื ค้นขอ้ มูลความสมั พันธ์ระหวา่ งกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหลก็ ได้ (P) 3. มีความใฝ่เรียนร้แู ละอยากรอู้ ยากเห็น (A) สาระการเรยี นรู้ เสน้ สนามแมเ่ หลก็ เป็นเส้นสมมตทิ ี่ใชแ้ สดงบริเวณทม่ี ีสนามแม่เหล็ก โดยบรเิ วณทีม่ ีเสน้ สนามแม่เหล็ก หนาแนน่ มากแสดงว่าเป็นบรเิ วณที่สนามแม่เหลก็ มีความเข้มมาก สาระสาคญั แม่เหล็ก เป็น \"สารที่สามารถดูด และผลักกันเอง และสามารถดูดพวกสาร แม่เหล็กได้โดยการ เหนี่ยวนา\" โดยปกตมิ ี 2 ขัว้ คอื ขว้ั เหนอื และขว้ั ใต้ สนามแม่เหล็ก คือ \"บริเวณ (Space) ที่มีอานาจการกระทาที่เกิดจากแม่เหล็ก\" อานาจการกระทา  ส่งออกมาจากแม่เหลก็ นี้มลี กั ษณะเปน็ เวกเตอร์ (Magnetic field Vector) มีสัญลักษณ์เปน็ B เรียกอีกชื่อว่า

อานาจแม่เหล็กชักนา (Magnetic Induction) ซึ่งเป็นอานาจของเส้นแรงนา (Line of Induction) ซึ่งเป็น เวกเตอร์ เรียกว่าฟลกั ซ์แมเ่ หลก็ (Magnetic Flux) มีสญั ลักษณ์เป็น B มีหน่วยในการวดั เป็น Weber สาหรับรอบๆ แท่งแม่เหล็ก อานาจแม่เหล็กในสนามแม่เหล็กแต่ละแห่งจะมีค่าไม่เท่ากัน แต่ละแห่ง ความแรงของสนามแม่เหล็กจะมีค่าไม่เทา่ กนั เนอื่ งจากสนามแม่เหล็กน้ันเรามองไม่เห็นจงึ มีทฤษฎีเก่ียวกับเส้น แรงแมเ่ หลก็ ข้นึ แบบเดยี วกบั ทฤษฎขี องเสน้ แรงไฟฟ้า หลักเก่ยี วกับเสแ้ รงแม่เหล็กทีค่ วรทราบ คอื 1. ภายนอกแท่งแม่เหล็ก เสน้ แรงแม่เหลก็ จะมีทิศพุง่ ออกจากขว้ั เหนอื (N) และพุ่งเขา้ สู่ข้วั ใต้ (S) เสมอ 2. ภายในแท่งแมเ่ หลก็ เสน้ แรงแม่เหล็กจะมที ิศจากข้ัว S พงุ่ เขา้ สู่ขว้ั N เสมอ ลักษณะเส้นแรงแม่เหลก็ ทเ่ี กิดขน้ึ จากแท่งแมเ่ หลก็ 2 แทง่ ซึ่งวางไว้ในลกั ษณะต่างๆ สนามแม่เหล็กโลก เราทราบดีวา่ โลกเราน้ีมีอานาจแมเ่ หล็ก ทั้งนี้เพราะแท่งแม่เหล็กทีแ่ ขวนไว้ในแนวระดบั หรือเข็ม ทิศจะวางตัวในแนวเหนือ - ใต้เสมอ จากการสารวจสนามแม่เหล็กหรือเส้นแรงแม่เหล็กเราพบว่าโลกทาตัว เหมือนกบั มีแท่งแม่เหลก็ ขนาดใหญ่อยใู่ นใจกลางโลก ซง่ึ เราเรียกวา่ \" สนามแม่เหลก็ โลก \" แม่เหล็กโลกวางตัวโดยเอาขั้ว S อยู่ทางซีกโลกเหนือ และขั้ว N อยู่ทางซีกโลกใต้ แนวแกนของ แม่เหล็กทามมุ เล็กนอ้ ย ( ประมาณ 170 ) กบั แนวเหนอื ใตภ้ มู ศิ าสตร์โลก ดังรปู

เนือ่ งจากขว้ั แม่เหล็กชนิดเดียวกันจะผลักกนั และขั้วแม่เหลก็ ต่างชนิดกันจะดูดกัน ดงั นั้นเข็มทิศซึ่ง เป็นแม่เหล็กเมื่อวางไว้ในสนามแม่เหล็กโลก เข็มทิศจะต้องเอาขั้ว N ชี้ไปทางทิศเหนือ (เพราะขั้ว S ของ แมเ่ หล็กโลกอยูท่ างเหนอื ) และเอาข้วั S ช้ีไปทางใต้ (เพราะข้วั N ของแมเ่ หล็กโลกอยทู่ างใต)้ เสมอ   จุดสะเทิน (Neutral Point) ถ้ามีสนามแม่เหล็กมากกว่าหนึ่งสนามในบริเวณเดียวกัน ของ  สนามแม่เหล็กต่างๆ ในบริเวณนั้น อาจจะหักล้างกันจนเป็นศูนย์ เรียกตาแหน่งที่  ลัพธ์ เป็นศูนย์ว่า จดุ สะเทนิ เส้นแรงแม่เหล็กเมื่อวางแทง่ แม่เหล็กไว้ในสนามแม่เหล็กโลก รูป ก. รูป ข. รปู ค. รูป ก. วางเอาขวั้ S ชี้ไปทางทศิ เหนือ รปู ข. วางเอาข้ัว N ช้าไปทางทิศเหนือ รูป ค. วางแท่งแม่เหล็กต้งั ฉากกับสนามแมเ่ หลก็ โลก หมายเหตุ 1. เสน้ แรงทเ่ี ห็นเป็นการรวมกันแบบเวกเตอร์ของเส้นแรงของแทง่ แมเ่ หล็กกับเสน้ แรงของ สนามแมเ่ หล็กโลก 2. จดุ P เปน็ จุดสะเทนิ สมรรถนะสาคญั ความสามารถในการคิด - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทักษะการคดิ สงั เคราะห์ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (จติ วิทยาศาสตร)์ ความใฝ่เรียนรู้และมีความอยากรู้อยากเห็น นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความต้องการที่จะรู้และ เสาะแสวงหาความรู้เกีย่ วกับสิ่งตา่ งๆ ทสี นใจหรือตอ้ งการค้นพบสง่ิ ใหม่ แสดงออกไดโ้ ดยการถามคาถาม หรอื มี ความสงสัยในสิ่งที่สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สนใจ เพียรพยายามในการเรียนและการทากิจกรรมต่างๆ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ อยู่เสมอ โดยการ

เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ ช้นิ งาน/ภาระงาน ใบงานที่ 1.1 แมเ่ หลก็ และสนามแมเ่ หล็ก กิจกรรมการเรยี นรู้ วธิ สี อนใช้รปู แบบวงจรการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5E Learning Cycle model) ขั้นท่ี 1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ ( 15 นาที ) 1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ จากนั้นครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ของหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แม่เหล็กและไฟฟ้า เพื่อตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเป็นรายบุคคลก่อนเข้าสู่ กิจกรรม 2. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับต้นกาเนิดของเข็มทิศชาวจีนได้พบว่า แท่งแม่เหล็กที่ดูดติดกับแม่เหล็กนั้น จะเปลี่ยนสภาพเป็นแท่งแม่เหล็กได้ และเมื่อนาแท่งแม่เหล็กมาแขวนให้หมุนได้อย่างอิสระในแนวระดับ แท่งแมเ่ หล็กจะวางตัวในแนวเหนือ – ใตเ้ สมอ หลังจากนั้นจงึ มีผู้นาแท่งแม่เหล็กไปประดิษฐ์เป็นเข็มทิศเพ่ือใช้ นาทาง โดยมหี ลกั ฐานวา่ เริ่มมกี ารใชเ้ ข็มทศิ ในการเดนิ เรอื ในมหาสมุทรประมาณ พ.ศ.1543 ขั้นท่ี 2 ข้ันสารวจและค้นหา ( 45 นาที ) 1. ครูชี้แจงจดุ ประสงคแ์ ละวธิ กี ารปฏิบัติกิจกรรมให้นักเรียนทราบ ตามรายละเอยี ดในใบงานที่ 1.1 แมเ่ หลก็ และสนามแมเ่ หลก็ 2. ให้นักเรียนแต่ละคนสืบค้นข้อมูลของแม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก โดยอ้างอิงแหล่งที่มาลงใน สมดุ บนั ทึก 3. นักเรยี นลงมอื ปฏิบตั กิ จิ กรรม และรายงานผล ข้ันที่ 3 ขน้ั สร้างคาอธิบายและลงขอ้ สรปุ ( 30 นาที ) 4. สุม่ นกั เรียนออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรมหนา้ ชน้ั เรยี น 5. ให้นักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการทากิจกรรมแม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก โดยมปี ระเดน็ คาถามดงั นี้ - จากการสืบค้นของนักเรยี นแรงท่ีเกดิ จากแทง่ แมเ่ หล็กมกี ี่แรง ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง (แนวคาตอบ 2 แรง ไดแ้ ก่ แรงดูด และแรงผลัก)

- เส้นสนามแม่เหลก็ สมั พนั ธก์ บั สนามแมเ่ หลก็ อยา่ งไร (แนวคาตอบ เส้นสนามแม่เหลก็ สมั พันธก์ บั สนามแม่เหลก็ ทง้ั ขนาดและทศิ ทาง โดยขนาด ของสนามแม่เหล็กสัมพันธ์กับความหนาแน่นของเส้นสนามแมเ่ หลก็ ฯลฯ) 6. ครูสาธิตการเรียงตัวของผงตะไบเหล็ก ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการสาธิตประกอบด้วย กระดาษแข็งสี ขาว 1 แผ่น แทง่ แม่เหลก็ 1 แท่ง และผงตะไบเหล็ก เพอื่ ใหน้ กั เรียนเหน็ ภาพเส้นสนามแมเ่ หล็กได้ชัดเจน 7. ครูเริ่มการสาธิต โดยวางแผ่นกระดาษบนโต๊ะ โรยผงตะไบเหล็กลงบนแผ่นกระดาษให้มี บริเวณกว้างกว่าขนาดของแท่งแม่เหล็กเล็กน้อย (การโรยผงตะไบเหล็กควรโรยบางๆ และสม่าเสมอ) จากน้ัน ครูถือแท่งแม่เหล็กให้อยู่เหนือผงตะไบเหล็ก แล้วเคลื่อนแท่งแม่เหล็กลงไปแตะผงตะไบเหล็ก โดยพยายามให้ ทุกส่วนของแท่งแม่เหล็กแตะผงตะไบเหล็กพร้อมๆ กัน เมื่อครูยกแท่งแม่เหล็กขึ้นแล้ว ให้นักเรียนสังเกตผลท่ี เกดิ ข้ึนของผงตะไบเหลก็ ทต่ี ดิ ตามส่วนตา่ งๆ ของแทง่ แมเ่ หล็ก 8. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปความรู้เกีย่ วกบั แม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก ดงั นี้ แมเ่ หลก็ เปน็ \"สารท่ี สามารถดูด และผลักกันเอง และสามารถดูดพวกสารแม่เหล็กได้โดยการเหนี่ยวนา\" โดยปกติมี 2 ขั้ว คือ ขั้ว เหนือ และขั้วใต้ สนามแม่เหล็ก คือ \"บริเวณ (Space) ที่มีอานาจการกระทาที่เกิดจากแม่เหล็ก\" อานาจการ  กระทาส่งออกมาจากแม่เหล็กนี้มีลักษณะเป็นเวกเตอร์ (Magnetic field Vector) มีสัญลักษณ์เป็น B เรียก อีกชื่อว่า อานาจแม่เหล็กชักนา (Magnetic Induction) ซึ่งเป็นอานาจของเส้นแรงนา (Line of Induction) ซ่ึงเป็นเวกเตอร์ เรียกว่าฟลักซแ์ ม่เหล็ก (Magnetic Flux) มีสัญลักษณเ์ ป็น B มีหนว่ ยในการวดั เปน็ Weber สาหรับรอบๆ แท่งแม่เหล็ก อานาจแม่เหล็กในสนามแม่เหล็กแต่ละแห่งจะมีค่าไม่เท่ากัน แต่ละแห่งความแรง ของสนามแม่เหล็กจะมีค่าไม่เท่ากัน เนื่องจากสนามแม่เหล็กนั้นเรามองไม่เห็นจึงมีทฤษฎีเกี่ยวกับเส้นแรง แม่เหล็กขึ้นแบบเดียวกับทฤษฎีของเส้นแรงไฟฟ้า และจุดสะเทิน (Neutral Point) คือ ถ้ามีสนามแม่เหล็ก  มากกวา่ หนึง่ สนามในบริเวณเดียวกัน  ของสนามแม่เหล็กตา่ งๆ ในบรเิ วณน้นั อาจจะหกั ลา้ งกันจนเป็นศูนย์  เรยี กตาแหน่งที่  ลัพธ์ เปน็ ศูนย์ว่า “จดุ สะเทนิ ” ขนั้ ท่ี 4 ขัน้ ขยายความรู้ ( 15 นาที ) 9. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับลมสุริยะว่าเป็นกระแสอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า (ส่วนใหญ่เป็นโปรตอน อเิ ล็กตรอน และอนุภาคแอลฟา) ท่ีพ่งุ ออกมาจากดวงอาทติ ย์ขณะเคลื่อนผ่านสนามแม่เหล็กโลกอนุภาคเหล่านี้ จะถูกสนามแม่เหล็กโลกเบี่ยงเบนใหเ้ คลื่อนที่อ้อมโลกไปโดยอันตรกริ ิยาระหว่างสนามแม่เหล็กโลกกับลมสุริยะ ส่งผลให้สนามแม่เหล็กโลกด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ลู่ไปคล้ายหางของดาวหาง ซึ่งมนุษย์ใช้ประโยชน์จาก สนามแม่เหล็กโลกโดยสร้างเข็มทิศขึ้นมา เพื่อใช้บอกทิศทางเนื่องจากเข็มทิศซึ่งเป็นแม่เหล็กแท่งเล็กๆ จะ วางตวั ในแนวเหนือ – ใต้เสมอ ในสนามแมเ่ หลก็ โลก

ข้นั ที่ 5 ประเมนิ ผล ( 15 นาที ) 10. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรม วสั ด/ุ อปุ กรณ์ สื่อและแหลง่ เรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี นฟสิ ิกส์ ม.6 เล่ม 1 สงั กัด อจท. 2. หนงั สอื เรยี นฟิสิกส์ ม.6 เลม่ 5 สังกัด สสวท. 3. PowerPoint เร่อื ง แม่เหลก็ และสนามแมเ่ หล็ก 4. หอ้ งเรียน 5. หอ้ งสมดุ 6. แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ 7. ใบงานที่ 1.1 แมเ่ หล็กและสนามแมเ่ หล็ก การวัดผลและประเมินผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ วี ดั เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ 1. นักเรียนสามารถอธิบาย ตรวจใบงาน ใบงานที่ 1.1 แม่เหล็ก ได้ระดับคุณภาพดี ความหมายของแม่เหล็กและ และสนามแมเ่ หลก็ จงึ ผา่ นเกณฑ์ สนามแมเ่ หล็ก (K) 2. นักเรียนสามารถสบื ค้นข้อมูล สังเกตและประเมินการ แบบประเมิน ได้ระดับคุณภาพดี ความสัมพันธ์ระหว่างกระแส ปฏิบัตกิ จิ กรรม การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการ จึงผา่ นเกณฑ์ ไฟฟา้ และสนามแมเ่ หลก็ ได้ (P) สงั เกต 3. มคี วามอยากรู้อยากเหน็ (A) สังเกตและประเมินการมี แบบประเมินการ มี ได้ระดับคุณภาพดี ความอยากรอู้ ยากเห็น ความอยากร้อู ยากเหน็ จึงผ่านเกณฑ์ 4. คุณลกั ษณะดา้ นใฝ่เรยี นรู้ สงั เกตพฤติกรรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี ลักษณะอันพึงประสงค์ จงึ ผา่ นเกณฑ์ ดา้ นใฝ่เรียนรู้

ความคิดเหน็ ของผู้บริหารสถานศกึ ษา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ................................................................ผู้บริหารสถานศึกษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........

การประเมินด้านความรู้ (K) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนใบงาน ประเด็นการประเมนิ 4 คะแนน 1 32 แม่เหล็ก เป็น \"สารที่สามารถดูด ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานมี ค ว า ม และผลักกันเอง และสามารถดูด กับประเด็นการ กับประเด็นการ กับประเด็นการ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ พวกสารแม่เหล็กได้โดยการ ประเมิน เนื้อหา ประเมินสว่ นใหญ่ ประเมิน เนื้อหา ป ร ะ เ ด ็ น ก า ร เหนี่ยวนา\" โดยปกติมี 2 ขั้ว คือ ขัว้ เหนือ และขัว้ ใต้ สนามแม่เหลก็ สาระของผลงาน เนื้อหาสาระของ สาระของผลงาน ประเมินเนื้อหา คือ \"บริเวณ (Space) ที่มีอานาจ ถูกต้องครบถ้วน ผลงานถูกต้องแต่ ถูกต้องเป็นบาง สาระแค่บางส่วน ยังมีข้อบกพร่อง ป ร ะ เ ด ็ น แ ต่ และมีข้อบกพร่อง การกระทาที่เกิดจากแม่เหล็ก\" อานาจการกระทาส่งออกมาจาก เล็กน้อย ม ี ข ้ อ บ ก พ ร ่ อ ง มาก แม่เหล็กนี้มีลักษณะเป็นเวกเตอร์ บางส่วน ( Magnetic field Vector) มี  สัญลักษณ์เป็น B เรียกอีกชื่อว่า อานาจแม่เหล็กชักนา (Magnetic Induction) ซึ่งเป็นอานาจของ เส้นแรงนา (Line of Induction) ซึ่งเป็นเวกเตอร์ เรียกว่าฟลักซ์ แม่เหล็ก (Magnetic Flux) มี สัญลักษณ์เป็น B มีหน่วยใน การวัดเป็น Weber และบริเวณ ในสนามแม่เหล็กที่ไม่มีอานาจ แมเ่ หลก็ เรียกว่า จดุ สะเทนิ เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ดมี าก 4 อยู่ในระดับ ดี 3 อยู่ในระดบั พอใช้ 2 อยู่ในระดบั ปรับปรงุ 1 อยู่ในระดบั

การประเมนิ ด้านทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (P) เกณฑ์การประเมนิ การปฏบิ ัติกจิ กรรมการสบื คน้ ประเดน็ การประเมนิ 3 ระดับคะแนน 1 2 1.การวางแผน การแบ่ง วางแผนงานล่วงหน้า ไม่มีการวางแผนงาน ไม่มีการวางแผนงาน หนา้ ท่ีกันทางาน และแบ่งหน้าที่งานให้ ลว่ งหนา้ แต่สามารถแบ่ง ล่วงหนา้ แตส่ ามารถแบ่ง ชัดเจนเพื่อให้การสืบค้น หน้าที่งานได้เพื่อให้การ หน้าที่งานได้เพื่อให้การ ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง และครอบคลุม สืบค้นได้ข้อมูลที่ ถูกต้อง สืบค้นได้ข้อมูลที่ ถูกต้อง ประเดน็ สาคัญ และตรงประเด็นมาก บางส่วน และตรง ท่ีสุด ประเด็นบ้างเล็กนอ้ ย 2.ส ื บ ค ้ น จ า ก แ ห ล ่ ง ท่ี ใช้แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือ ใช้แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือ ใช้แหล่งข้อมูลที่ไม่ เหมาะสม และหลากหลาย ได้ มีความถูกต้อง และ ไ ด ้ เ ป ็ น ส ่ ว น ใ ห ญ ่ มี น่าเชื่อถือ แต่เนื้อหายังมี ได้ข้อมูลที่น่าสนใจใน ความถูกต้องบ้าง และ ความถูกต้องเล็กน้อย หลากหลายมมุ มอง ข้อมูลมีความน่าสนใจ แ ล ะ ข ้ อ ม ู ล ม ี ค ว า ม เลก็ นอ้ ย น่าสนใจแต่เปน็ ส่วนน้อย 3.การรวบรวมข้อมูล การ รวมรวบข้อมูล วิเคราะห์ รวมรวบข้อมูล วิเคราะห์ รวมรวบข้อมูล วิเคราะห์ วิเคราะห์ และสรุป และสรุปได้ถูกต้อง และ และสรุปได้ถูกต้องเป็น แ ล ะ ส ร ุ ป ไ ด ้ ถ ู ก ต ้ อ ง สอดคล้องกับประเด็น ส่วนใหญ่ และสอดคล้อง เล็กน้อย และสอดคล้อง สาคญั กบั ประเด็นสาคญั กับประเด็นสาคัญบ้าง บางส่วน 4.งานสาเร็จทันเวลาและมี งานส าเร็จลุล่วงได้ใน งานส าเร็จได้ มีความ งานส าเร็จได้แต่ไม่ คุณภาพ เว ลาที่ก าหนด และ ล่าช้าเล็กน้อย แต่ยังมี ทันเวลาที่ก าหนด มี ถูกต้อง ครอบคลุม และ ความถูกต้อง ครอบคลุม ความถูกต้อง ครอบคลุม สอดคล้องกับประเด็น แ ล ะ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ สอดคล้องกับประเด็น ส า ค ั ญ ท า ใ ห ้ ง า น มี ประเด็นสาคัญถือว่างาน สาคัญบ้างเล็กน้อย และ คณุ ภาพ มีคณุ ภาพ มขี ้อบกพร่องบางสว่ น

เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ดีมาก 9 – 12 อยู่ในระดับ ดี 5 – 8 อยู่ในระดบั พอใช้ 1 – 4 อยใู่ นระดบั

การประเมนิ ดา้ นเจตคติ (A) เกณฑก์ ารประเมินการมีความอยากร้อู ยากเห็น ประเดน็ การประเมนิ 3 คะแนน 1 2 มีความพยายามที่จะเสาะ พยายามหาความรู้ใหม่ๆ มีการแสวงหาความรู้บ้าง ไม่มีการแสวงหาความรู้ แสวงหาความรู้ในสถาน อยู่เสมอ ซึ่งไม่สามารถ นาความรู้ที่มีอยู่เดิมมา ใดๆ ใช้เพียงความรู้เดิม การณ์ใหม่ๆตระหนักถึง อธิบายได้ด้วยความรู้ที่มี อธิบายเล็กน้อย จึงทาให้ ท่มี อี ย่เู ท่านั้น ไม่เกดิ การ ค ว า ม ส า ค ั ญ ข อ ง ก า ร อยู่เดิม เพื่อให้เกิดการ เกดิ การเรียนรู้ไดน้ ้อย ซ่ึง เรียนรู้เท่าที่ควร และไม่ แสวงหาข้อมูลเพิ่มเติม เรยี นรู้ และใชค้ วามรทู้ ี่ได้ อ า จ ป ร ั บ ใ ช ้ ไ ด ้ กั บ สามารถแก้ไขต่างๆ ได้ และช่างซัก ช่างถาม ช่าง ในการแก้ปัญหา หรือใช้ ช ี ว ิ ต ป ร ะ จ า ว ั น แ ค่ ไมใ่ หค้ วามสาคญั กับการ อ่าน เพื่อให้ได้คาตอบเป็น กับชีวิตประจาวันได้ ให้ บางส่วน ให้ความสาคัญ เรียนรู้เท่าที่ควร และไม่ ความรู้ที่สมบูรณ์แบบ ค ว า ม ส า ค ั ญ ก ับการ กับการเรียนรู้บ้าง แต่ไม่ มีการสังเกต หรือเกิด ย่งิ ขน้ึ เรียนรู้ เป็นผู้กระตือ- มีความกระตือรือร้นใน ความสงสยั เท่าท่คี วร รือร้นในการเรียนหรือ การเรียนหรือแสวงหา แสวงหาความร้อู ยู่เสมอ ความรู้ และรู้จักถามเม่ือ และช่างสงสัย สังเกต มีข้อสงสัยจากการได้ รู้จักถามเมื่อมีข้อสงสัย สังเกตบ้าง ท าให้ ได้ ท าให้ได้ค าตอบที่เป็น ค าตอบที่เป็นความรู้ ความรู้ที่สมบูรณ์แบบ เพิ่มเตมิ จากความรเู้ ดิม ยงิ่ ขน้ึ เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ดีมาก 3 อยู่ในระดับ ดี 2 อยใู่ นระดับ พอใช้ 1 อยูใ่ นระดับ

การประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ดา้ นใฝเ่ รียนรู้ แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ดา้ นใฝเ่ รยี นรู้ ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบง่ ชี้ ตัวช้วี ดั พฤตกิ รรมบ่งชี้ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน 4.1.1 ตัง้ ใจเรียน และเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ 4.1.2 เอาใจใส่และมีความเพยี รพยายามในการเรียนรู้ 4.1.3 สนใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรูต้ ่างๆ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ 4.2.1 ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ ส่ือ ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม และเลอื กใช้ส่อื ได้อยา่ งเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ 4.2.2 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุป ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนาไปใช้ เปน็ องค์ความรู้ ในชีวติ ประจาวันได้ 4.2.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆ และนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน (ใช้ข้อมลู จากการสังเกตตามสภาพจรงิ ของครผู ู้สอน) พฤตกิ รรมบ่งช้ี 321 ตามขอ้ 4.1 – 4.2 เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ เรียน เอาใจใส่ในการ เรียน เอาใจใส่ในการ เรียน เอาใจใส่ในการ เรียน และมีส่วนร่วมใน เรียน และมีส่วนร่วมใน เรียน และมีส่วนร่วมใน การเรียนรู้ และเข้าร่วม การเรียนรู้ และเข้าร่วม การเรียนรู้ และเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก บอ่ ยครัง้ เปน็ บางครัง้ โรงเรยี นเปน็ ประจา

ระดบั เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ดเี ย่ยี ม 3 อยใู่ นระดับ ดี 2 อยู่ในระดบั ผ่าน 1 อยูใ่ นระดับ ไมผ่ า่ น 0 อยู่ในระดับ หมายเหตุ นักเรยี นสามารถทางานได้ 2 คะแนนขึ้นไปจงึ จะผ่านเกณฑ์

การประเมินด้านทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (P) แบบประเมนิ การปฏิบัตกิ จิ กรรมการสบื ค้น รายช่อื สมาชิก…………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………… คาชี้แจง: ใหผ้ ูส้ อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี น แลว้ ขีด ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั ระดับคะแนน ประเด็นการประเมนิ ระดบั คะแนน 3 21 1.การวางแผน การแบ่งหน้าที่กัน ทางาน 2.สืบค้นจากแหล่งที่เหมาะสม และ หลากหลาย 3.การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ และสรุป 4.งานสาเร็จทนั เวลาและมคี ณุ ภาพ รวมคะแนน ผลการประเมินอยูใ่ นระดับ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ดมี าก 3 หมายถงึ ดี 2 หมายถึง พอใช้ 1 หมายถงึ เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ดีมาก 9 – 12 อยใู่ นระดบั ดี 5 – 8 อยู่ในระดับ พอใช้ 1 – 4 อยู่ในระดับ

การประเมนิ ด้านเจตคติ (A) แบบประเมนิ การมีความอยากรอู้ ยากเหน็ รายชอ่ื สมาชกิ …………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………… คาชี้แจง: ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี น แลว้ ขีด ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ประเดน็ การประเมิน 3 คะแนน 1 2 มีความพยายามที่จะเสาะ แสวงหาความรู้ในสถาน การณ์ใหม่ๆ ตระหนักถึง ความสาคัญของการแสวงหา ข้อมูลเพิ่มเติม และช่างซัก ช่างถาม ช่างอ่าน เพื่อให้ได้ คาตอบเป็นความรู้ที่สมบูรณ์ แบบยิ่งขึ้น รวมคะแนน ผลการประเมนิ อยู่ในระดบั เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ดมี าก 3 อย่ใู นระดับ ดี 2 อยใู่ นระดบั พอใช้ 1 อยใู่ นระดับ

การประเมนิ ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (ใฝเ่ รียนรู้) นักเรยี นระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 คาชแ้ี จง: ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียน แล้วขีด ลงในช่องทตี่ รงกบั ระดบั คะแนน ลาดับ ชื่อ - นามสกลุ คะแนน 1 ที่ 32 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ดเี ยย่ี ม 3 อยู่ในระดับ ดี 2 อยใู่ นระดับ ผ่าน 1 อยใู่ นระดบั ไมผ่ า่ น 0 อยูใ่ นระดบั หมายเหตุ นกั เรยี นสามารถทางานได้ 2 คะแนนขึ้นไปจงึ จะผ่านเกณฑ์

บนั ทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการจัดกิจกรรม ตารางที่ 1 ผลการประเมินด้านความรู้ (K) ลาดับที่ ระดบั ช้นั จานวน ดีมาก (4) สรปุ ผลการประเมนิ รวม นกั เรยี น รวม ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) 1 ม.6/1 2 ม.6/3 3 ม.6/4 4 ม.6/5 ตารางที่ 2 ผลการประเมนิ ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) ลาดับท่ี ระดบั ช้ัน จานวน สรปุ ผลการประเมนิ รวม นกั เรียน ดีมาก (9 – 12) ดี (5 – 8) พอใช้ (1 – 4) 1 ม.6/1 2 ม.6/3 รวม 3 ม.6/4 4 ม.6/5

บนั ทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ ดา้ นเจตคติ (A) ลาดบั ที่ ระดับชนั้ จานวน ดีมาก (3) สรุปผลการประเมนิ พอใช้ (1) รวม นกั เรยี น รวม ดี (2) 1 ม.6/1 2 ม.6/3 3 ม.6/4 4 ม.6/5 ตารางที่ 4 ผลการประเมินดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ลาดับที่ ระดับชน้ั จานวน ดมี าก (3) สรุปผลการประเมิน ไม่ผา่ น (0) รวม นักเรียน รวม ดี (2) ผา่ น (1) 1 ม.6/1 2 ม.6/3 3 ม.6/4 4 ม.6/5

บนั ทึกหลังการสอน ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 ผลการสอน ด้านความรู้.................................................................................................................. ....................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ดา้ นทกั ษะ....................................................................................................................... .................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ดา้ นเจตคติ....................................................................................................................... .................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ดา้ นสมรรถนะ...................................................................................................................... ............................... ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค.์ ........................................................................................................................... ปญั หา/อปุ สรรค................................................................................................................ .................................. ............................................................................................................................................................. ............... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ แนวทางการแกไ้ ข.................................................................................................................................. .............. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. ............... หมายเหต.ุ .................................................................................................................... ........................................ ………………………………………………………………………………………………………………………………………....................... ลงช่ือ..........................................................ผู้สอน (.............................................................) ........./........................./.........

ใบงานที่ 1.1 แม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายของแม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก (K) 2. สืบคน้ ขอ้ มลู ความสัมพันธ์ระหวา่ งกระแสไฟฟา้ และสนามแมเ่ หล็กได้ (P) 3. มคี วามอยากรู้อยากเห็น (A) คาชี้แจง : ใหน้ กั เรียนสืบคน้ ขอ้ มลู เก่ียวกบั แมเ่ หลก็ และสนามแมเ่ หลก็ และตอบคาถามตอ่ ไปน้ีให้ถกู ต้อง 1. ชาวกรีกโบราณคน้ พบแร่ชนิดหน่ึงทส่ี ามารถดงึ ดดู ได้ เรียกแรน่ ้ันว่าอะไร ................................................................................................................................................................ 2. ปจั จบุ ันเรียกวัสดุที่ดงึ ดูดเหล็กได้วา่ อะไร ...................................................................................................................................................... .......... 3. สมบัตกิ ารวางตัวของแม่เหลก็ มีการประยกุ ต์นาไปสรา้ งเข็มทิศเพือ่ อะไร ................................................................................................................................................................ 4. แรงทเ่ี กิดจากแทง่ แม่เหล็กมกี ีแ่ รง อะไรบา้ ง ...................................................................................................................................................... .......... 5. ปลายแทง่ แมเ่ หลก็ ทีช่ ีไ้ ปทางทิศเหนือ เรียกว่า อะไร และมีอกั ษรตวั ยอ่ คืออะไร ................................................................................................................................................................ 6. ปลายแทง่ แมเ่ หล็กทชี่ ไ้ี ปทางทศิ ใต้ เรียกวา่ อะไร และมีอกั ษรตัวย่อคืออะไร .................................................................................................................................................... ............ 7. สนามแม่เหลก็ คืออะไร ................................................................................................................................................................ 8. บรเิ วณในสนามแม่เหลก็ ทีไ่ ม่มีอานาจแมเ่ หล็ก เรยี กวา่ อะไร ................................................................................................................................................................ 9. สนามแม่เหล็กโลกมีการวางตัวอยา่ งไร จงอธบิ ายและวาดภาพประกอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

10. จงวาดภาพลักษณะของเส้นแรงของแม่เหล็กท่เี กิดข้นึ และอธบิ าย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 2 กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหสั วิชา ว30205 รายวชิ า ฟสิ ิกส์ 5 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 ช่อื หน่วยการเรียนรู้ แม่เหลก็ และไฟฟา้ เรอ่ื ง แมเ่ หล็กและสนามแม่เหล็ก (ฟลักซแ์ ม่เหลก็ ) วนั ท…ี่ …….เดือน……………พ.ศ……………… ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 เวลา……………………น. จานวน 1 ช่ัวโมง ผสู้ อน นางสาวไข่มุก สุพร สาระฟิสิกส์ 3. เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟา้ ศกั ยไ์ ฟฟ้า ความจไุ ฟฟา้ กระแสไฟฟ้า และกฎของ โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงาน ไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ ของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลบั คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟ้าและการสื่อสาร รวมทงั้ นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ สังเกต และอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคานวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณที่กาหนดรวมท้ัง สังเกต และอธิบายสนามแม่เหล็กที่เกดิ จากกระแสไฟฟา้ ในลวดตวั นาเสน้ ตรง และโซเลนอยด์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรียนสามารถอธบิ ายความหมายของฟลักซ์แมเ่ หลก็ (K) 2. นักเรียนสามารถคานวณหาค่าของฟลักซแ์ ม่เหลก็ ได้ (P) 3. มีความใฝ่เรียนรแู้ ละอยากรอู้ ยากเห็น (A) สาระการเรียนรู้ ฟลักซ์แม่เหล็ก คือ จานวนเส้นสนามแม่เหล็กที่ผ่านพื้นที่ที่พิจารณาและอัตราส่วนระหว่างฟลักซ์ แม่เหล็กต่อพืน้ ท่ีตั้งฉากกบั สนามแมเ่ หลก็ คอื ขนาดของสนามแม่เหล็ก เขียนแทนได้ดว้ ยสมการ B = ∅ ������ สาระสาคัญ บรเิ วณใกลข้ ั้วแมเ่ หลก็ มีเสน้ สนามแม่เหล็กหนาแนน่ มาก เรียกว่า ฟลักซแ์ มเ่ หล็ก อัตราส่วนระหว่าง ฟลกั ซแ์ ม่เหล็กตอ่ พ้ืนทีต่ ั้งฉากกบั สนามหนึ่งตารางหน่วย เรยี กว่า ขนาดของสนามแมเ่ หล็ก การคานวณสนามแมเ่ หลก็ สนามแม่เหล็ก เป็น \" อาณาบริเวณที่มีเส้นแรงแม่เหล็กพุ่งผ่าน \" ถ้าบริเวณใดมีจานวนเส้นแรง แม่เหล็กผ่านมากบริเวณนั้นจะมีความแรง หรือความเข้มสนามแม่เหล็กสูง เส้นแรงแม่เหล็กจะมีทิศพุ่งออก

จากขัว้ แม่เหลก็ ขั้วเหนือไปยังข้วั แมเ่ หล็กขั้วใต้ ความแรงของสนามแม่เหลก็ อาจจะกาหนดดังนี้ \"จานวนเสน้ แรง แม่เหลก็ ตอ่ 1 หน่วยพื้นที่มีเส้นแรงผา่ น\" คอื ค่าของสนามแมเ่ หล็กทีจ่ ดุ นัน้ ถ้า B เปน็ จานวนเสน้ แรงแม่เหลก็ หนว่ ย Weber ถ้า A เป็นพ้นื ทหี่ น้าตดั ของบรเิ วณทีเ่ ส้นแรงผ่าน หน่วย ตารางเมตร และ B เป็นสนามแม่เหลก็  =    =  จะเหน็ ว่าหน่วยของสนามแมเ่ หล็ก คือ Weber/m2 ซึง่ เราเรยี กใหมว่ า่ Tesla หมายเหตุ 1.  อา่ นว่า Phi,  คือ magnetic flux หรอื เสน้ แรงแม่เหล็ก 2.  เรยี กวา่ ความหนาแน่นฟลักซแ์ มเ่ หล็ก หรือ Magnetic flux density   สิง่ สาคัญเกย่ี วกับ  ทคี่ วรทราบ คอื สนามแม่เหล็ก  เปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ ทิศของ  จะไปตามทิศของเสน้ แรงแมเ่ หลก็ ดงั ต่อไปนี้ คอื   ก) ในกรณที ี่เส้นแรงแมเ่ หลก็ เปน็ เส้นตรง ทิศของ  จะมีทศิ เดยี วกบั ทิศของเสน้ ตรง   ข) ในกรณีท่ีเสน้ แรงแม่เหล็กเปน็ เสน้ ตรง ทศิ ของ  ทีจ่ ดุ ใดๆ จะมที ิศสมั ผัสกบั เส้นแรงแมเ่ หล็ก ทจี่ ุดนน้ั โดยมที ิศไปตามแนวเสน้ แรง สมรรถนะสาคัญ ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะการคดิ สังเคราะห์ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (จิตวทิ ยาศาสตร)์ ความใฝ่เรียนรู้และมีความอยากรู้อยากเห็น นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความต้องการที่จะรู้และ เสาะแสวงหาความรู้เก่ยี วกับส่งิ ต่างๆ ทีสนใจหรอื ตอ้ งการคน้ พบสง่ิ ใหม่ แสดงออกได้โดยการถามคาถาม หรือมี ความสงสัยในสิ่งที่สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สนใจ เพียรพยายามในการเรียนและการทากิจกรรมต่างๆ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ อยู่เสมอ โดยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้

ช้ินงาน/ภาระงาน ใบงานท่ี 1.2 ฟลกั ซ์แมเ่ หล็ก กิจกรรมการเรียนรู้ วธิ ีสอนใชร้ ูปแบบวงจรการเรียนรู้ 5 ขนั้ ตอน (5E Learning Cycle model) ขน้ั ท่ี 1 ข้ันสร้างความสนใจ ( 10 นาที ) 1. ครูทบทวนความรู้เดมิ ท่ีได้เรยี นมาในชัว่ โมงทผ่ี ่านมา เพ่อื ใหน้ กั เรียนเกดิ การเรยี นรูอ้ ย่างตอ่ เน่ือง 2. ครูกล่าวถึงปรากฏการณ์ออโรรา ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีแสงบนท้องฟ้าในเวลา กลางคนื โดยแสงท่ีเกิดขนึ้ นั้นมสี ่วนเกย่ี วขอ้ งกับสนามแมเ่ หล็กและอนุภาคที่มปี ระจุไฟฟ้า 3. ครูเริ่มเข้าสู่กิจกรรมโดยการอธิบายเกี่ยวกับฟลักซ์แม่เหล็กว่า เป็นปริมาณเส้นแม่เหล็กหรือจานวน ของเส้นแม่เหล็กที่พุ่งจากขั้วหนึ่งไปอีกขั้วหนึ่งของแท่งแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น เวเบอร์ (weber) และความ หนาแน่นฟลักซแ์ ม่เหล็กหรือความเข้มของสนามแม่เหล็ก คือ จานวนเส้นแรงแม่เหล็กต่อหน่วยพ้ืนที่ที่เส้นแรง แม่เหล็กตกตั้งฉากเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เทสลา (Tasla) และถ้าสนามแม่เหล็กไม่ตั้งฉากกับพื้นท่ี ทาให้ทิศสนามแม่เหล็กกับทิศของเวกเตอร์ 1 หน่วย พื้นที่ทามุม ������ ต่อกัน การหาฟลักซ์แม่เหล็กหาได้จาก ความสมั พนั ธ์ระหว่างฟลักซแ์ ม่เหล็กและความเขม้ สนามแม่เหลก็ ได้ ดังสมการ B = ∅ ������ ข้ันที่ 2 ขัน้ สารวจและคน้ หา ( 25 นาที ) 4. ครูชี้แจงจุดประสงค์และวิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้นักเรียนทราบ ตามรายละเอียดในใบงานที่ 1.2 ฟลกั ซ์แม่เหล็ก 5. ให้นกั เรียนแต่ละคนคานวณหาคา่ ของฟลักซ์แม่เหล็กจากโจทยท์ ี่กาหนดให้ 6. นักเรียนลงมือปฏิบตั ิกจิ กรรม และรายงานผล ขนั้ ที่ 3 ขน้ั สร้างคาอธิบายและลงขอ้ สรปุ ( 15 นาที ) 7. ส่มุ นกั เรียนออกมานาเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมหน้าชนั้ เรียน 8. ครูให้นกั เรยี นฝกึ แก้โจทย์ปญั หาตามขนั้ ตอนการแกโ้ จทย์ ดงั น้ี - ขั้นท่ี 1 ครูใหน้ ักเรียนบอกปริมาณท่ีรจู้ ากโจทย์และปริมาณที่ต้องการหา - ขัน้ ท่ี 2 เลอื กสตู รทีส่ มั พนั ธร์ ะหว่างส่งิ ทร่ี ้จู ากโจทยแ์ ละสงิ่ ที่ต้องการหา - ขนั้ ที่ 3 ครใู ห้นักเรียนดกู ารแทนคา่ ในสตู รและแสดงวธิ ีการหาคาตอบให้ละ-เอยี ด - ข้นั ท่ี 4 ตรวจสอบคาตอบของโจทยต์ ัวอย่างวา่ ถกู ตอ้ งหรือไม่ โดยระบุหนว่ ยให้ชดั เจน 9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับฟลักซ์แม่เหล็ก ดังนี้ บริเวณใกล้ขั้วแม่เหล็กมีเส้น สนามแมเ่ หลก็ หนาแน่นมาก เรยี กว่า ฟลกั ซ์แม่เหล็ก อัตราส่วนระหวา่ งฟลักซ์แม่เหล็กต่อพื้นที่ต้ังฉากกับสนาม หนึง่ ตารางหนว่ ย เรียกวา่ ขนาดของสนามแมเ่ หล็ก สนามแมเ่ หล็ก เป็น \" อาณาบริเวณท่ีมเี ส้นแรงแม่เหล็กพุ่ง

ผา่ น \" ถ้าบรเิ วณใดมจี านวนเสน้ แรงแม่เหลก็ ผ่านมากบรเิ วณนนั้ จะมคี วามแรง หรอื ความเขม้ สนามแมเ่ หล็กสูง เส้นแรงแม่เหล็กจะมีทิศพุ่งออกจากขั้วแม่เหล็กขั้วเหนือไปยังขั้วแม่เหล็กขั้วใต้ ความแรงของสนามแม่เหล็ก อาจจะกาหนดดังน้ี \"จานวนเสน้ แรงแม่เหลก็ ต่อ 1 หน่วยพ้ืนท่มี เี สน้ แรงผ่าน\" คือ ค่าของสนามแมเ่ หล็กที่จุดนั้น สามารถคานวรหาไดจ้ ากสมการ ดงั ต่อไปนี้ B = ∅ ������ ขั้นท่ี 4 ขน้ั ขยายความรู้ ( 5 นาที ) 10. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับวัสดุ/อุปกรณ์ หรือเครื่องมือ/เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ ที่ใช้หลักการทางาน ของแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า และยกตัวอย่างพรอ้ มอธบิ ายหลักการทางานของอุปกรณ์นั้นๆ ขน้ั ที่ 5 ประเมนิ ผล ( 5 นาที ) 11. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรม วัสด/ุ อปุ กรณ์ สือ่ และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี นฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 1 สังกดั อจท. 2. หนังสอื เรียนฟสิ กิ ส์ ม.6 เลม่ 5 สังกดั สสวท. 3. PowerPoint เรอ่ื ง แม่เหลก็ และสนามแมเ่ หล็ก 4. ห้องเรียน 5. หอ้ งสมดุ 6. แหล่งข้อมลู สารสนเทศ 7. ใบงานที่ 1.2 ฟลกั ซ์แมเ่ หลก็

การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธีวดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนสามารถอธิบาย ตรวจใบงาน ใบงานที่ 1.2 ฟลักซ์ ได้ระดับคุณภาพดี ความหมายของฟลักซ์แม่เหล็ก แม่เหล็ก จงึ ผา่ นเกณฑ์ (K) 2. นักเรียนคานวณหาค่าของ สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี ฟลกั ซ์แมเ่ หลก็ ได้ (P) ปฏิบัติกิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมการ จึงผา่ นเกณฑ์ คานวณ 3. มีความอยากร้อู ยากเหน็ (A) สังเกตและประเมนิ การมี แบบประเมินการ มี ได้ระดับคุณภาพดี ความอยากรูอ้ ยากเห็น ความอยากรู้อยากเห็น จึงผ่านเกณฑ์ 4. คณุ ลกั ษณะดา้ นใฝ่เรยี นรู้ สังเกตพฤติกรรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี ลักษณะอันพึงประสงค์ จึงผา่ นเกณฑ์ ด้านใฝเ่ รยี นรู้ ความคดิ เหน็ ของผู้บริหารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ........................................................................... ......................................................................................... .......... ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ................................................................ผู้บรหิ ารสถานศึกษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........

การประเมินดา้ นความรู้ (K) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนใบงาน ประเดน็ การประเมิน 4 คะแนน 1 32 บริเวณใกล้ขั้วแม่เหล็กมีเส้น ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานมี ค ว า ม สนามแม่เหล็กหน าแน่ นม าก กับประเด็นการ กับประเด็นการ กับประเด็นการ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ เรียกว่า ฟลักซ์แม่เหล็ก อัตราส่วน ประเมิน เนื้อหา ประเมินสว่ นใหญ่ ประเมิน เนื้อหา ป ร ะ เ ด ็ น ก า ร ระหว่างฟลักซ์แม่เหล็กต่อพื้นที่ตั้ง ฉากกับสนามหนึ่งตารางหน่วย สาระของผลงาน เนื้อหาสาระของ สาระของผลงาน ประเมินเนื้อหา เรียกว่า ขนาดของสนามแม่เหล็ก ถูกตอ้ งครบถ้วน ผลงานถูกต้องแต่ ถูกต้องเป็นบาง สาระแค่บางส่วน ยังมีข้อบกพร่อง ป ร ะ เ ด ็ น แ ต่ และมีข้อบกพร่อง สนามแม่เหล็ก เป็น \" อาณาบริเวณ ที่มีเส้นแรงแม่เหล็กพุ่งผ่าน \" ถ้า เล็กน้อย ม ี ข ้ อ บ ก พ ร ่ อ ง มาก บริเวณใดมีจานวนเส้นแรงแม่เหล็ก บางส่วน ผ่านมากบริเวณนั้นจะมีความแรง หรือความเข้มสนามแม่เหล็กสูง เสน้ แรงแม่เหล็กจะมีทศิ พุง่ ออกจาก ข้ั ว แ ม ่ เ ห ล ็ ก ข ั ้ ว เ ห น ื อ ไ ป ยั ง ขั้วแม่เหล็กขั้วใต้ ความแรงของ สนามแม่เหล็กอาจจะกาหนดดังนี้ \"จ านวนเส้นแรงแม่เหล็กต่อ 1 หน่วยพื้นที่มีเส้นแรงผ่าน\" คือ ค่า ของสนามแม่เหล็กทจี่ ดุ น้นั สามารถ คานวรหาได้จากสมการ ดังต่อไปนี้ B=∅ ������ เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ ดีมาก 4 อยใู่ นระดับ ดี 3 อย่ใู นระดบั พอใช้ 2 อยใู่ นระดับ ปรบั ปรงุ 1 อย่ใู นระดบั

การประเมนิ ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) เกณฑ์การประเมินการปฏิบตั ิกิจกรรมการคานวณ ประเดน็ การประเมิน 3 ระดับคะแนน 1 2 1.การว ิเคราะห์โ จทย์ บอกส่งิ ทีโ่ จทย์ให้มา และ บอกสง่ิ ทโี่ จทย์ให้มา และ บอกสิ่งท่ีโจทยใ์ หม้ า และ ปญั หา สิ่งที่โจทย์ต้องการได้ สิ่งที่โจทย์ต้องการได้ สิ่งที่โจทย์ต้องการได้ อย่างถูก และเขียน และเขียนสมการการ และเขียนสมการการ สมการการคานวณของ โจทย์ได้อย่างถูกต้อง ค านวณของโจทย์ได้ คานวณของโจทยไ์ ด้ อยา่ งถูกต้อง 2.เลือกสูตรที่เหมาะสม เลือกสูตรการคานวณที่ เลือกสูตรการคานวณท่ี เลือกสูตรการคานวณท่ี และสมั พันธก์ บั โจทย์ สัมพันธ์กับสิ่งที่โจทย์ สัมพันธ์กับสิ่งที่โจทย์ สัมพันธ์กับสิ่งที่โจทย์ ต้องการให้หาได้อย่าง ต้องการให้หาได้อย่าง ต้องการให้หาได้ แต่ไม่ ถกู ต้องและเหมาะสม ถูกตอ้ ง สามารถหาค าตอบท่ี ถกู ตอ้ งได้ 3.การแทนค่าและแสดงวิธี การแทนค่าของตัวแปร การแทนค่าของตัวแปร การแทนค่าของตัวแปร หาคาตอบ ในโจทย์ได้อย่างถูกต้อง ในโจทย์ได้อย่างถูกต้อง ในโจทย์ได้ และแสดง แสดงวิธีการคานวณเป็น แสดงวิธีการคานวณเป็น วิธกี ารคานวณได้ ลาดับขั้นตอนชัดเจนและ ล าดับขั้นตอนและได้ ได้ค าตอบที่ถูกต้องมี คาตอบท่ีถกู ต้อง ความแมน่ ยา 4.ตรวจสอบค าตอบของ ส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ ส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ ส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ โจทย์ และระบุหน่วยได้ คาตอบของโจทยไ์ ด้อย่าง คาตอบของโจทยไ์ ด้ และ คาตอบของโจทย์ได้บ้าง ชดั เจน ถูกต้อง และระบุหน่วย ระบหุ น่วยไดช้ ัดเจน เล็กน้อย และระบุหน่วย ได้ชดั เจน ได้ เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ 9 – 12 อยู่ในระดบั ดีมาก 5 – 8 อยู่ในระดับ ดี 1 – 4 อยู่ในระดบั พอใช้

การประเมินดา้ นเจตคติ (A) เกณฑ์การประเมนิ การมีความอยากรู้อยากเหน็ ประเดน็ การประเมิน 3 คะแนน 1 2 มีความพยายามที่จะ พยายามหาความรู้ใหม่ๆ มกี ารแสวงหาความรู้บ้าง ไม่มีการแสวงหาความรู้ เสาะแสวงหาความรู้ใน อยู่เสมอ ซึ่งไม่สามารถ นาความรู้ที่มีอยู่เดิมมา ใดๆ ใช้เพียงความรู้เดิม ส ถ า น ก า ร ณ ์ ใ ห ม่ ๆ อธิบายได้ด้วยความรู้ที่มี อธิบายเล็กน้อย จึงทาให้ ที่มีอยเู่ ท่านั้น ไมเ่ กิดการ ต ร ะ ห น ั ก ถ ึ ง ค ว า ม อยู่เดิม เพื่อให้เกิดการ เกิดการเรยี นร้ไู ด้น้อย ซ่ึง เรียนรู้เท่าที่ควร และไม่ สาคัญของการแสวงหา เรียนรู้ และใช้ความรู้ที่ อ า จ ป ร ั บ ใ ช ้ ไ ด ้ กั บ สามารถแก้ไขต่างๆ ได้ ข้อมูลเพิ่มเติม และช่าง ได้ในการแก้ปัญหา หรือ ช ี ว ิ ต ป ร ะ จ า ว ั น แ ค่ ไม่ใหค้ วามสาคญั กับการ ซัก ช่างถาม ช่างอ่าน ใช้กับชีวิตประจาวันได้ บางส่วน ให้ความสาคัญ เรียนรู้เท่าที่ควร และไม่ เพื่อให้ได้ค าตอบเป็น ให้ความสาคัญกับการ กับการเรียนรู้บ้าง แต่ไม่ มีการสังเกต หรือเกิด ความรู้ที่สมบูรณ์แบบ เรียนรู้ เป็นผู้กระตือ- มีความกระตือรือร้นใน ความสงสัยเท่าท่คี วร ย่ิงขน้ึ รือร้นในการเรียนหรือ การเรียนหรือแสวงหา แสวงหาความรอู้ ยู่เสมอ ความรู้ และรู้จักถามเมื่อ และช่างสงสัย สังเกต มีข้อสงสัยจากการได้ รู้จักถามเมื่อมีข้อสงสัย สังเกตบ้าง ท าให้ ได้ ท าให้ได้ค าตอบที่เป็น ค าตอบที่เป็นความรู้ ความรู้ที่สมบูรณ์แบบ เพม่ิ เตมิ จากความรเู้ ดิม ยิ่งขน้ึ เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ดมี าก 3 อยใู่ นระดับ ดี 2 อยูใ่ นระดับ พอใช้ 1 อยูใ่ นระดับ

การประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคด์ ้านใฝเ่ รยี นรู้ แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคด์ า้ นใฝ่เรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัดและพฤตกิ รรมบ่งช้ี ตวั ชี้วดั พฤติกรรมบ่งชี้ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียน 4.1.1 ต้ังใจเรยี น และเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ 4.1.2 เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้ 4.1.3 สนใจเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรูต้ ่างๆ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ 4.2.1 ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ ส่ือ ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน เทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม และเลอื กใช้สอื่ ไดอ้ ย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ 4.2.2 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุป ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนาไปใช้ เปน็ องคค์ วามรู้ ในชวี ิตประจาวันได้ 4.2.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆ และนาไปใช้ใน ชีวติ ประจาวัน เกณฑก์ ารให้คะแนน (ใชข้ อ้ มูลจากการสงั เกตตามสภาพจริงของครูผู้สอน) พฤตกิ รรมบ่งชี้ 32 1 ตามข้อ 4.1 – 4.2 เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจ เรียน เอาใจใส่ในการ เรียน เอาใจใส่ในการ เรียน เอาใจใส่ในการ เรียน และมีส่วนร่วมใน เรียน และมีส่วนร่วมใน เรียน และมีส่วนร่วมใน การเรียนรู้ และเข้าร่วม การเรียนรู้ และเข้าร่วม การเรียนรู้ และเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก บ่อยครง้ั เปน็ บางครงั้ โรงเรียนเปน็ ประจา

ระดบั เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ดเี ย่ยี ม 3 อยใู่ นระดับ ดี 2 อยู่ในระดบั ผ่าน 1 อยูใ่ นระดับ ไมผ่ า่ น 0 อยู่ในระดับ หมายเหตุ นักเรยี นสามารถทางานได้ 2 คะแนนขึ้นไปจงึ จะผ่านเกณฑ์

การประเมินดา้ นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) แบบประเมนิ การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการคานวณ รายช่อื สมาชกิ …………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………… คาช้แี จง: ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี น แล้วขีด ลงในชอ่ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน ประเดน็ การประเมิน ระดับคะแนน 3 21 1.การวเิ คราะห์โจทย์ปญั หา 2.เลอื กสตู รทเ่ี หมาะสมและสัมพนั ธก์ ับ โจทย์ 3.การแทนค่าและแสดงวธิ ีหาคาตอบ 4.ตรวจสอบคาตอบของโจทย์ และระบุ หนว่ ยได้ชัดเจน รวมคะแนน ผลการประเมินอยู่ในระดับ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดมี าก 3 หมายถึง ดี 2 หมายถงึ พอใช้ 1 หมายถึง เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ดีมาก 9 – 12 อย่ใู นระดับ ดี 5 – 8 อยู่ในระดับ พอใช้ 1 – 4 อยใู่ นระดับ

การประเมินด้านเจตคติ (A) แบบประเมนิ การมีความอยากรอู้ ยากเหน็ รายชอ่ื สมาชกิ …………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………….………………………………………………………………………………………………………………………… คาช้แี จง: ให้ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียน แล้วขดี ลงในช่องท่ตี รงกับระดบั คะแนน ประเดน็ การประเมนิ 3 คะแนน 1 2 มีความพยายามที่จะเสาะ แสวงหาความรู้ในสถาน การณ์ใหม่ๆ ตระหนักถึง ความสาคัญของการแสวงหา ข้อมูลเพิ่มเติม และช่างซัก ช่างถาม ช่างอ่าน เพื่อให้ได้ คาตอบเป็นความรู้ที่สมบูรณ์ แบบย่งิ ขึ้น รวมคะแนน ผลการประเมนิ อยใู่ นระดบั เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ดีมาก 3 อย่ใู นระดับ ดี 2 อยใู่ นระดบั พอใช้ 1 อยูใ่ นระดับ

การประเมนิ ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (ใฝ่เรียนรู้) นกั เรยี นระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 คาชแ้ี จง: ใหผ้ ูส้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียน แลว้ ขีด ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ชอื่ - นามสกลุ คะแนน 1 ท่ี 32 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ดเี ยย่ี ม 3 อยู่ในระดับ ดี 2 อยใู่ นระดับ ผ่าน 1 อยใู่ นระดบั ไมผ่ า่ น 0 อยูใ่ นระดบั หมายเหตุ นกั เรยี นสามารถทางานได้ 2 คะแนนขึ้นไปจงึ จะผ่านเกณฑ์

บนั ทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ผลการจัดกจิ กรรม ตารางท่ี 1 ผลการประเมินด้านความรู้ (K) ลาดบั ที่ ระดบั ช้นั จานวน ดมี าก (4) สรปุ ผลการประเมนิ รวม นกั เรยี น รวม ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) 1 ม.6/1 2 ม.6/3 3 ม.6/4 4 ม.6/5 ตารางท่ี 2 ผลการประเมนิ ด้านทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (P) ลาดับท่ี ระดบั ช้ัน จานวน สรปุ ผลการประเมนิ รวม นกั เรียน ดมี าก (9 – 12) ดี (5 – 8) พอใช้ (1 – 4) 1 ม.6/1 2 ม.6/3 รวม 3 ม.6/4 4 ม.6/5

บนั ทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ ด้านเจตคติ (A) ลาดบั ที่ ระดับชนั้ จานวน ดีมาก (3) สรุปผลการประเมนิ พอใช้ (1) รวม นักเรยี น รวม ดี (2) 1 ม.6/1 2 ม.6/3 3 ม.6/4 4 ม.6/5 ตารางที่ 4 ผลการประเมินดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ลาดับที่ ระดับชน้ั จานวน ดมี าก (3) สรุปผลการประเมิน ไม่ผา่ น (0) รวม นักเรยี น รวม ดี (2) ผา่ น (1) 1 ม.6/1 2 ม.6/3 3 ม.6/4 4 ม.6/5

บนั ทึกหลังการสอน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ผลการสอน ด้านความร.ู้ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ด้านทกั ษะ............................................................................................................................................ ............... ....................................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................................................................ ดา้ นเจตคติ............................................................................................................................................ ............... ....................................................................................................................... ..................................................... ............................................................................................................................................................................ ดา้ นสมรรถนะ....................................................................................................................................... .............. ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์............................................................................................................................ ปัญหา/อุปสรรค................................................................................................................ .................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ แนวทางการแก้ไข.................................................................................................................................. .............. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ หมายเหตุ..................................................................................................................... ........................................ ………………………………………………………………………………………………………………………………………....................... ลงชือ่ ..........................................................ผสู้ อน (.............................................................) ........./........................./.........

ใบงานท่ี 1.2 ฟลักซแ์ ม่เหล้ก จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมายของฟลักซแ์ มเ่ หลก็ (K) 2. คานวณหาค่าของฟลักซแ์ ม่เหล็กได้ (P) 3. มคี วามอยากรูอ้ ยากเหน็ (A) คาช้ีแจง : ใหน้ กั เรยี นคานวณหาคา่ ของฟลักซแ์ ม่เหล็กที่กาหนดใหต้ ่อไปนี้ใหถ้ กู ต้อง 1. จงหาฟลักซ์แม่เหล็กท่ผี ่านขดลวดสี่เหล่ียมผืนผ้า abcd ถ้ามีสนามแม่เหล็ก B ขนาดสมา่ เสมอ 4 เทสลา ใน ทิศทขี่ นานแกน x ดงั ภาพ

2. โปรตอนตัวหนึ่งเคลื่อนท่ีเข้าสู่สนามแม่เหลก็ ในทิศทามุม 30 องศา กับทิศทางสนามแม่เหล็กด้วยความเร็ว 107 เมตรต่อวินาที เมื่อความเข้มสนามแม่เหล็กมีค่า 3 เทสลา และโปรตอนมีมวล 1.67 × 10-27 กิโลกรัม จง คานวณหารัศมขี องเกลยี วท่เี คลือ่ นที่ 3. ข้วั แมเ่ หล็กของแทง่ แม่เหล็กยาวมากแท่งหนึ่งมีฟลักซ์แม่เหล็ก 10 Wb ออกมาโดยรอบ ความเขม้ ของ สนามแม่เหลก็ บนพืน้ ท่ี ที่ฟลักซแ์ ม่เหล็กผ่านตัง้ ฉาก 2 x 103 ตารางเซนติเมตร มีค่าเป็นเท่าใด 4. ขดลวดตัวนาพื้นที่ 10 ตารางเซนติเมตร วางอยู่ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กขนาดสม่าเสมอ 10 เทสลา จงหาคา่ ฟลกั ซแ์ มเ่ หล็กท่ีผา่ นขดลวดทามมุ 90° กับสนามแม่เหล็ก

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว30205 รายวิชา ฟสิ กิ ส์ 5 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ แม่เหล็กและไฟฟ้า เรอ่ื ง สนามแมเ่ หลก็ จากกระแสไฟฟา้ ผา่ นลวดตวั นา วันท…ี่ …….เดอื น……………พ.ศ……………… เวลา……………………น. จานวน 2 ชวั่ โมง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ผ้สู อน นางสาวไขม่ ุก สุพร สาระฟสิ กิ ส์ 3. เข้าใจแรงไฟฟา้ และกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟา้ ศักย์ไฟฟา้ ความจไุ ฟฟา้ กระแสไฟฟ้า และกฎของ โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงาน ไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปล่ียนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ ของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลับ คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ และการส่ือสาร รวมท้ังนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ สังเกต และอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคานวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณที่กาหนดรวมทั้ง สังเกต และอธิบายสนามแมเ่ หลก็ ที่เกดิ จากกระแสไฟฟ้าในลวดตวั นาเสน้ ตรง และโซเลนอยด์ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรยี นสามารถอธิบายสนามแม่เหล็กของลวดตวั นาเส้นตรง ลวดตัวนาวงกลม และโซเลนอยด์ท่ีมี กระแสไฟฟา้ ผา่ นได้ (K) 2. นักเรียนสามารถสังเกตและทดลองสนามแม่เหล็กของลวดตัวนาเส้นตรง ลวดตัวนาวงกลม และ โซเลนอยดท์ ่มี ีกระแสไฟฟ้าผา่ นได้ (P) 3. มีความใฝ่เรียนร้แู ละทางานร่วมกบั ผูอ้ น่ื ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ (A) สาระการเรยี นรู้ เมอ่ื มีกระแสไฟฟา้ ผ่านลวดตวั นาเส้นตรงหรือโซเลนอยดจ์ ะเกิดสนามแมเ่ หลก็ ข้ึน สาระสาคัญ ในปี พศ. 2363 ฮันส์ คริสเตียน เออร์สเตด (Hans C. Oersted) ชาวเดนมาร์กสังเกตเห็นเขม็ ทิศเบน ไป เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนาที่วางบนเข็มทิศ แสดงว่า กระแสไฟฟ้าทาให้เกิดสนามแม่เหล็กได้ สนามแม่เหลก็ ทไี่ ด้จากกระแสไฟฟ้าผา่ นลวดตวั นาที่เออร์สเตดพบ รวมท้ังกรณอี น่ื ๆ เชน่ กระแสไฟฟ้าผ่านลวด

ตัวนาที่มีฉนวนหุ้มมาขดเป็นวงกลมหลายๆ วง เรียงช้อนกันเป็นรูปทรงกระบอก เรียกว่า โซเลนอยด์ (solenoid) สนามแมเ่ หล็กทเ่ี กิดจากกระแสไฟฟ้า ถา้ มีกระแสผ่านลวดตัวนา จะเกดิ สนามแมเ่ หล็กรอบตวั นานัน้ การหาทิศของสนามใชก้ ฎมอื ขวา ใช้มือขวาการอยลวดตัวนา หัวแม่มือทาบบนเส้นลวดพุ่ง ตามทิศกระแสปลายนิ้วทั้งสี่ที่การอบเส้นลวดจะแสดงทิศ สนามแมเ่ หลก็ ท่ีเกดิ ขึน้ หมายเหตุ 1. สนามแม่เหลก็ ที่เกดิ ข้นึ รอบๆ เส้นลวด ณ ท่หี า่ งจากเสน้ ลวดตา่ งกนั จะมขี นาดไมเ่ ท่ากนั 2. ทิศของสนามแม่เหล็กที่จุดใดๆ จะอยู่ในแนวเส้นสัมผสั กับเสน้ แรงแม่เหล็กที่จดุ นั้นๆ เสมอ เช่น  จากรปู ข้างบน 1 สนาม  จะสมั ผัสกบั เส้นแรง L1 2 สนาม  จะสมั ผัสกับเสน้ แรง L2 3 สนาม จะสมั ผัสกับเส้นแรง L3 ขดลวดโซลีนอยด์ (Solenoid) วิธีที่ 1 มองปลายใดปลายหนึ่ง ถ้ากระเเสทวนเข็มนาฬิกาสนามพุ่งออกเป็นขั้วเหนอื ถ้ากระเเสตามเข็มนาฬิกา สนามพงุ่ เข้าเปน็ ขว้ั ใต้ วิธที ่ี 2 ใช้กฏมอื ขวา คือ \" กามือขวาให้นิว้ ท้ังสีว่ นไปตามทิศของกระเเสท่ีไหล น้ิวหวั แม่มอื ที่ชี้ออกจะแสดงทิศ ของขัว้ N ทีเ่ กิดข้นึ

รูปแสดง สนามแมเ่ หลก็ ที่เกิดขนึ้ ในขดลวดโซลินอยด์ รปู ก. แสดงเส้นแรงแม่เหลก็ ทเ่ี กดิ จากขดลวดโซนลิ อยด์ ซง่ึ พันชิดกัน รปู ข. แสดงเส้นแรงแมเ่ หล็กทีเ่ กิดจากขดลวดโซนลิ อยด์ ซ่ึงพนั หา่ งกัน หมายเหตุ สาหรับสนามแม่เหลก็ ตรงกลางภายในขดลวดโซนลิ อยดจ์ ะถือวา่ มคี ่าสมา่ เสมอ   สรุปการหาทิศของ B และ E 1. มือซ้าย  มีทิศไปทางใด แสดงว่าขั้ว N ไปทางนั้นใช้หลักพุ่งหัวแม่มือซ้าย นิ้วท่ี B งอจะเป็นทิศของ  เหนี่ยวนาในขดลวด (หรือเป็นทิศของเส้นแรงไฟฟ้า E ในอวกาศ ,Space) 2. มอื ขวา  E ถา้  หรอื มที ิศไปทางใด ใช้หลักพ่งุ หวั แม่มอื ขวา นว้ิ ท่งี อจะเป็นทิศ ของ  ทีเ่ กดิ ขึน้ รอบๆ B สมรรถนะสาคญั ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทักษะการคดิ สงั เคราะห์

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (จติ วทิ ยาศาสตร)์ ความใฝ่เรียนรู้และทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความ เพียรพยายามในการเรียนและการทากิจกรรมต่างๆ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ อยู่เสมอ โดยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ และมีการใช้ทักษะทางสังคม การมีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นๆ ได้แก่ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคคลอื่น การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การขอความช่วยเหลือและความ ร่วมมือจากผ้อู ื่น เพ่อื ความร่วมมือในการทางานกลุ่ม ชิ้นงาน/ภาระงาน ใบงานท่ี 1.3 สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้าผา่ นลวดตวั นา กิจกรรมการเรยี นรู้ วิธสี อนใชร้ ูปแบบวงจรการเรยี นรู้ 5 ขั้นตอน (5E Learning Cycle model) ข้ันที่ 1 ข้นั สร้างความสนใจ ( 15 นาที ) 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับสนามแม่เหล็กว่า แม่เหล็กประกอบด้วยขั้วเหนือและขั้วใต้ บริเวณที่มีอานาจ แม่เหล็กเรยี กวา่ สนามแมเ่ หลก็ เส้นที่แสดงทศิ ของสนามแมเ่ หลก็ รอบๆ แท่งแม่เหล็ก เรียกวา่ เส้นแรงแมเ่ หลก็ บริเวณในสนามแม่เหล็กที่ไม่มีอานาจแม่เหล็ก เรียกว่า จุดสะเทิน ใต้พื้นโลกมีสนามแม่เหล็กโลกช่วยป้องกัน อันตรายจากลมสุริยะ บริเวณใกล้ขั้วแม่เหล็กมีเส้นสนามแม่เหล็กหนาแน่นมาก เรียกว่า ฟลักซ์แม่เหล็ก อัตราส่วนระหว่างฟลักซ์แม่เหล็กต่อพื้นที่ตั้งฉากกับสนามหนึ่งตารางหน่วย เรียกว่า ขนาดของสนามแม่เหล็ก ครูเขา้ สู่บทเรยี นโดยตัง้ คาถามว่า ลวดตัวนาท่ีมีกระแสไฟฟ้าผา่ นจะมสี นามแม่เหล็กเกิดขน้ึ รอบๆ ลวดตัวนานั้น หรือไม่ 2. ครูให้นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นกับคาถามที่ครูถาม โดยให้นักเรียนแต่ละคนร่วมกันอภิปราย และแสดงความคิดเห็นอยา่ งอิสระโดยไม่มกี ารเฉลยวา่ ถกู หรือผดิ ข้นั ที่ 2 ข้ันสารวจและคน้ หา ( 45 นาที ) 3. ใหน้ กั เรียนแบง่ กลุม่ กลุ่มละ 4 - 5 คน และใหต้ วั แทนกลุม่ มารับใบงาน 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษากิจกรรมจากใบงานที่ 1.3 เรื่อง สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้าผ่านลวด ตัวนา 5. ครชู ีแ้ จงจดุ ประสงคแ์ ละวธิ ีการปฏิบตั ิกจิ กรรมใหน้ ักเรยี นทราบ 6. นักเรยี นลงมอื ปฏิบตั ิกจิ กรรม และรายงานผล

ขัน้ ท่ี 3 ขัน้ สรา้ งคาอธิบายและลงขอ้ สรุป ( 30 นาที ) 7. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชั้น 8. ครใู ห้นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายเพ่อื นาไปสู่การสรปุ โดยใช้คาถามตอ่ ไปนี้ - นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ไดผ้ ลการสืบคน้ และผลการทดลองเหมือนกนั หรือต่างกนั อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด - แนวการเรยี งตัวของผงเหล็กของสามกรณเี ม่ือมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตวั นาาเหมือนหรือต่างกัน อยา่ งไร (แนวคาตอบ แตกต่างกนั โดย 1) กรณลี วดตวั นาเสน้ ตรงผงเหลก็ จะเรียงตวั เป็นวงกลมรอบเสน้ ลวด 2) กรณีลวดตัวนาวงกลมบรเิ วณใกล้ๆ ลวดตัวนา ผงเหลก็ จะเรียงตวั เปน็ วงกลมรอบเสน้ ลวด คล้ายกรณี ลวดตวั นาเสน้ ตรง แตบ่ ริเวณกงึ่ กลางของลวดตวั นาวงกลม ผงเหล็กมีการเรียงตวั ตั้งฉากกับระนาบลวดตัวนา วงกลม 3) กรณโี ซเลนอยด์ บรเิ วณภายในโซเลนอยด์ผงเหลก็ มกี ารเรยี งตวั อยูใ่ นแนวแกนโซเลนอยด์ ภายนอก รอบๆ โซเลนอยด์ ผงเหล็กจะเรียงตัวคล้ายกับการเรยี งตัวของผงเหล็กรอบแท่งแม่เหล็ก) - ขณะไมม่ ีกระแสไฟฟ้าในลวดตวั นากบั เมอื่ มกี ระแสไฟฟา้ ในลวดตัวนา การวางตวั ของเข็มทศิ ต่างกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร (แนวคาตอบ ขณะที่ยังไม่มีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนา เข็มทิศ ณ ตาแหน่งต่างๆ วางตัวอยู่ในแนว เดยี วกนั (ในแนวสนามแมเ่ หล็กโลก) ส่วนกรณที ่ีมกี ระแสไฟฟา้ ผา่ นลวดตวั นาจะเห็นเข็มทิศ แต่ละตาแหนง่ เบน ไปจากแนวเดิม) 9. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ เรื่อง สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนา ดังน้ี ในกรณีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนาเส้นตรง แล้วโรยผงเหล็กรอบๆ จะสังเกตเห็นผงเหล็กเรียงตัวเป็น วงกลมรอบลวดตวั นา เมื่อนาเขม็ ทิศมาวางรอบลวดตวั นาเส้นตรงตามการเรียงตัวของผงเหลก็ จะทราบทิศทาง ของสนามแม่เหล็ก โดยทิศทางของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนา เส้นตรงมีทิศทาง กรณีลวดตัวนาวงกลม เมื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านลวดตวั นาวงกลม จะสังเกตเหน็ ผงเหล็กเรียงตัวเปน็ วงรอบลวด ตัวนา เม่ือนาเข็มทิศวางรอบเส้นลวดตัวนาทั้งสองข้าง จะได้ทิศทางของสนามแม่เหล็ก บริเวณโดยรอบมี ทิศทาง กรณีโซเลนอยด์บริเวณภายในโซเลนอยด์ผงเหล็กมีการเรียงตัวอยู่ในแนวแกนโซเลนอยด์ ภายนอก รอบๆ โซเลนอยด์ ผงเหลก็ จะเรียงตัวคล้ายกับการเรยี งตัวของผงเหลก็ รอบแท่งแมเ่ หล็ก ขนั้ ท่ี 4 ขั้นขยายความรู้ ( 15 นาที ) 10. ครูเปิดวิดีทศั น์เก่ียวกับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตวั นาให้นักเรียนรบั ชม เพ่ือให้ นักเรียนได้เห็นภาพการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าได้ชัดเจนช่วยเพิ่มความเข้าใจให้นักเรียนได้มากขึ้นก่อนเข้าสู่ การคานวณในรายชวั่ โมงตอ่ ไป

ขนั้ ที่ 5 ประเมินผล ( 15 นาที ) 11. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม วัสด/ุ อุปกรณ์ สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรียนฟิสกิ ส์ ม.6 เล่ม 1 สังกัด อจท. 2. หนงั สอื เรยี นฟิสกิ ส์ ม.6 เล่ม 5 สงั กดั สสวท. 3. PowerPoint เรื่อง กระแสไฟฟา้ ทาให้เกิดสนามแม่เหล็ก 4. วิดีทัศนก์ ารเรียนรู้ เร่ือง สนามแม่เหลก็ 5. หอ้ งเรยี น 6. ห้องสมดุ 7. แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ 8. ใบงานท่ี 1.3 สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟา้ ผ่านลวดตัวนา การวัดผลและประเมนิ ผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ วี ดั เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ 1. นักเรียนสามารถอธิบาย ตรวจใบงาน ใบงานที่ 1.3 สนาม ได้ระดับคุณภาพดี สนามแม่เหล็กของลวดตัวนา แม่เหล็กจากกระแส จงึ ผา่ นเกณฑ์ เส้นตรง ลวดตัวนาวงกลม และ ไฟฟ้าผา่ นลวดตวั นา โซเลนอยด์ที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน ได้ (K) 2. นักเรียนสามารถสังเกตและ สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี ทดลองสนามแม่เหล็กของลวด ปฏิบตั กิ จิ กรรม ปฏิบัติกิจกรรมการ จึงผ่านเกณฑ์ ตัวนาเส้นตรง ลวดตัวนาวงกลม สงั เกตและทดลอง และโซเลนอยด์ที่มีกระแสไฟฟ้า ผา่ นได้ (P) 3. การทางานร่วมกับผู้อื่นได้ สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี อยา่ งสร้างสรรค์ (A) ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ จึงผา่ นเกณฑ์ อยา่ งสรา้ งสรรค์ อย่างสร้างสรรค์ 4. คณุ ลักษณะดา้ นใฝ่เรยี นรู้ สงั เกตพฤติกรรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี ลักษณะอันพึงประสงค์ จงึ ผ่านเกณฑ์ ดา้ นใฝ่เรียนรู้

ความคดิ เห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................................ .................................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................................. ................................. ................................................................................................. ............................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................................ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........

การประเมินดา้ นความรู้ (K) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนใบงาน ประเด็นการประเมิน 4 คะแนน 1 32 กฎมือขวาใช้หาทิ ศ ข อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานสอดคล้อง ผลงานมีความ ส น า ม แ ม ่ เ ห ล ็ ก เ ม ื ่ อ ใ ห้ กับประเด็น การ กับประเด็นการ กับประเด็นการ ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นขดลวดท่ี ประเมิน เนื้อหา ประเมนิ ส่วนใหญ่ ประเมิน เนื้อหา ป ร ะ เ ด ็ น ก า ร เรียกว่า โซเลนอยด์ จะเกิด สนามแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้นรอบๆ สาระของผลงาน เนื้อหาสาระของ สาระของผลงาน ประเมินเนื้อหา ขดลวด เมื่อให้กระแสไฟฟ้า ถูกต้องครบถว้ น ผลงานถูกต้องแต่ ถูกต้องเป็นบาง สาระแค่บางส่วน ยังมีข้อบกพร่อง ป ร ะ เ ด ็ น แ ต่ และมีข้อบกพร่อง ไหลผ่านลวดตัวนา 2 เส้นที่ ขนานกัน จะเกิดแรงดูดและ เล็กน้อย ม ี ข ้ อ บ ก พ ร ่ อ ง มาก แรงผลัก เมื่อให้กระแสไฟฟ้า บางส่วน ไหลผา่ นขดลวดส่ีเหลี่ยมผืนผ้า จะเกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบ ผลักให้ขวดลวดหมุนรอบแกน นาหลักการนไ้ี ปสร้างมอเตอร์ เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ดีมาก 4 อยู่ในระดับ ดี 3 อยู่ในระดบั พอใช้ 2 อยใู่ นระดับ ปรบั ปรงุ 1 อยู่ในระดบั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook