Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อในนักธรรมชั้นตรี_1-334 หน้า

เนื้อในนักธรรมชั้นตรี_1-334 หน้า

Published by อาจูหนานภิกขุ, 2019-12-25 16:20:50

Description: เนื้อในนักธรรมชั้นตรี_1-334 หน้า

Search

Read the Text Version

101 101 เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1

1๑๐0๒2 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ๓) ใหศ้ กึ ษาศลิ ปวทิ ยา ๔) หาคคู่ รองทสี มควรให้ ๕) มอบทรพั ยม์ รดกใหใ้ นสมยั บุตรธิดา เป็นความหวังของมารดาบิดา ท่านต้องลงทุนลงแรงเป็นอย่างมาก ในการเลยี งดู อบรมบ่มนิสยั สงั สอนเพอื ใหล้ ูกเป็นคนดี ลูกควรมสี ามญั สํานึกในการตอบแทน พระคณุ ทา่ น หน้าทขี องบตุ รธดิ าทพี งึ ปฏบิ ตั ติ ่อมารดาบดิ า มี ๕ ประการ คอื ๑) ทา่ นเลยี งเรามาตอ้ งเลยี งทา่ นตอบ ๒) ชว่ ยทาํ กจิ การงานของทา่ น ๓) ดาํ รงรกั ษาชอื เสยี งของวงศต์ ระกลู ๔) ประพฤตติ นใหด้ เี หมาะสมทจี ะรบั ทรพั ยม์ รดก ๕) เมอื ทา่ นถงึ แกก่ รรม ทาํ บญุ อทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหท้ า่ น ๒. ทกั ขิณทศิ คอื ทศิ เบ้ืองขวา (ผคู้ วรเคารพ) ไดแ้ ก่ ครอู าจารย์ ทถี อื ว่าเป็นทศิ เบอื งขวา เพราะครอู าจารยเ์ ป็นผใู้ หค้ วามรคู้ วามถนดั ชาํ นาญในศลิ ปวทิ ยาอนั เป็นเครอื งมอื ในการทาํ มาหาเลยี งชพี ครอู าจารยจ์ งึ มคี วามสาํ คญั ในการสงั สอนหล่อหลอมเยาวชนใหเ้ ป็นคนเกง่ คนดี หนา ทข่ี องครอู าจารย ท่พี งึ อนุเคราะหศ ิษย มี ๕ ประการ คือ ๑) แนะนําดี คอื สอนในสงิ ทดี มี ปี ระโยชน์ พรอ้ มปฏบิ ตั ติ นใหเ้ ป็นตวั อยา่ งทดี ี ๒) ใหเ้ รยี นดี คอื สอนใหม้ คี วามเขา้ ใจในเนือหาอยา่ งถกู ตอ้ ง ๓) บอกศลิ ปะใหส้ นิ เชงิ ไมป่ ิดบงั อาํ พราง คอื ถ่ายทอดวชิ าความรโู้ ดยไม่ปิดบงั หรอื ขยกั ไว้ เพราะกลวั ว่าลกู ศษิ ยจ์ ะรทู้ นั ๔) ยกย่องใหป้ รากฏในเพอื นฝงู คอื ยกย่องความดคี วามสามารถของศษิ ยใ์ ห้ ปรากฏในหม่เู พอื นฝงู และสงั คม เพอื กระตุ้นและใหก้ าํ ลงั ใจการทาํ ความดแี ละรกั ษาความดไี ว้ ๕) ทาํ ความป้องกนั ในทศิ ทงั หลาย คอื ป้องกนั ไมใ่ หท้ าํ ความเสอื มเสยี ชอื เสยี งทงั แก่ ตนเองและสถาบนั ศิษย เมอื ไดร้ บั อปุ การคณุ จากครอู าจารยแ์ ลว้ ควรทจี ะมสี าํ นึกทดี ตี ่อทา่ น ไม่ประพฤติ ลว่ งเกนิ ทา่ นทงั ทางกาย วาจา ใจ ทงั ตอ่ หน้าและลบั หลงั หนา ที่อันศษิ ยพ ึงปฏบิ ัติตอ ครูอาจารย มี ๕ ประการ คือ ๑) ลกุ ขนึ รบั คอื ใหก้ ารตอ้ นรบั เมอื พบเหน็ ทา่ นทใี ดกแ็ สดงความเคารพ ๒) เขา้ ไปยนื คอยรบั ใช้ คอื เสนอตวั รบั ใชเ้ ป็นการแสดงนําใจใหท้ า่ นเหน็ 102

103 103 เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1

1๑0๐๔4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ความรกั ใคร่ต่อกนั คอื เพอื นนันเอง การจะได้รบั ความรกั ใคร่จริงใจจากมติ ร เราก็ต้องรู้จกั ทาํ หน้าทเี ป็นเพอื นเป็นมติ รทดี ตี ่อผอู้ นื กอ่ น หนาทข่ี องมติ รที่พงึ ปฏิบตั ติ อ มิตร มี ๕ ประการ คอื ๑) ใหป้ นั คอื รจู้ กั แบ่งปนั เสยี สละ เออื เฟือเผอื แผต่ ่อกนั และกนั ๒) เจรจาถอ้ ยคาํ ไพเราะ คอื พดู จาดว้ ยถอ้ ยคาํ ทไี พเราะถกู ใจของกนั และกนั ๓) ประพฤตปิ ระโยชน์ คอื ทาํ ตวั ใหเ้ ป็นประโยชน์ ช่วยเหลอื เกอื กลู กนั ในกจิ การ ทจี าํ เป็น ไมเ่ ป็นคนตระหนแี รงและใจแคบ ๔) มตี นเสมอ คอื ทาํ ตวั เสมอตน้ เสมอปลายตอ่ กนั ทงั ต่อหน้าและลบั หลงั ๕) ไม่แกล้งกล่าวให้คลาดจากความเป็นจรงิ คือ ไม่กล่าวคําให้ร้าย พูดแต่คําจริง ซอื สตั ยต์ อ่ กนั มิตร เมอื ได้รบั การปฏิบตั ิจากมติ รเช่นนี เป็นหน้าทขี องตนทจี ะต้องปฏิบตั ิตอบ ต่อมติ รในทางทถี กู ตอ้ ง หนาที่ของมติ รทีพ่ ึงปฏิบัติตอ มิตรดว ยกนั มี ๕ ประการ คอื ๑) รกั ษามติ รผปู้ ระมาทแลว้ คอื เมอื มติ รประมาทหรอื หลงผดิ ไปในทางใดทางหนึง กห็ าทางเตอื นสตใิ หเ้ หน็ ทางทถี กู ตอ้ ง ๒) รกั ษาทรพั ยส์ มบตั ขิ องมติ รผปู้ ระมาทแลว้ คอื รกั ษาทรพั ยข์ องเพอื นมใิ หเ้ สยี หาย หรอื ชว่ ยปกป้องรกั ษาสทิ ธใิ นทรพั ยข์ องเพอื นมใิ หถ้ กู โกง มใิ หถ้ กู เบยี ดบงั หรอื ลกั ขโมย ๓) เมือมิตรมีภัย เป็นทีพึงพํานักของมิตรได้ คือ ในคราวประสบภัยสามารถ ชว่ ยเหลอื เป็นทพี งึ ได้ ๔) ไม่ละทงิ มติ รในยามเกดิ ความวบิ ตั เิ ดอื ดรอ้ น คอื ไม่ละทงิ ในยามทกุ ขย์ าก คอื เมอื มติ รประสบความวบิ ตั กิ ไ็ มป่ ลกี ตวั ออกหา่ ง ๕) นับถอื ตลอดไปถงึ วงศาคณาญาตขิ องมติ ร คอื การแสดงความเคารพเออื เฟือ ตอ่ ผใู้ หญแ่ ละผนู้ ้อยในสกลุ ของมติ ร ๕. เหฏฐิมทิศ ทศิ เบอื งตํา (ผเู้ ป็นฐานกําลงั ) ไดแ้ ก่ ขา้ ทาส บรวิ าร บ่าวไพร่ หรอื ลูกจา้ ง ผนู้ ้อยกค็ วรทาํ หน้าทขี องตนใหเ้ ตม็ ความสามารถ ไมข่ าดตกบกพรอ่ ง หนา ทท่ี ่ีพงึ ปฏิบตั ิในฐานะเปน ลูกจาง มี ๕ ประการ คอื ๑) ลุกขนึ ทําการงานก่อนนาย คือ เริมทําการงานก่อนนาย ตรงต่อเวลา ทํางาน บางอยา่ งไดโ้ ดยไมต่ อ้ งรอคาํ สงั 104

 1๑0๐๕5 วชิ า ธรรมวิภาค ๒) เลิกงานทีหลังนาย คือ ในบางครงั แม้หมดเวลางานแต่ยังไม่เสร็จเหลือเพียง เลก็ น้อย กค็ วรทาํ เสยี ใหเ้ สรจ็ ๓) ถอื เอาแต่ของทนี ายให้ คอื ไมล่ กั ขโมยของทนี ายไมไ่ ดใ้ ห้ เป็นคนดไี มม่ อื ไว ใจเรว็ ๔) ทํางานให้ดีขึน คือ ปรับปรุงตัวเองในการทํางานอยู่เสมอ ทังด้านความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ๕) นําคุณความดขี องนายไปสรรเสรญิ ในทนี ัน ๆ คอื การนําความดขี องนายจา้ งและ กจิ การไปเผยแพรใ่ หค้ นอนื ไดร้ ู้ นายจาง หรอื ผบู้ งั คบั บญั ชา เป็นผใู้ หญ่จะดูเด่นเป็นสงา่ ได้ กเ็ พราะฐานคอื บรวิ าร จงึ ปฏบิ ตั หิ น้าทขี องนายใหเ้ หมาะสม หนาทขี่ องนายจา งท่พี ึงปฏิบตั ติ อลูกจา ง มี ๕ ประการ คอื ๑) จดั การงานใหท้ าํ ตามสมควรแกก่ าํ ลงั คอื ใหท้ าํ งานทเี หมาะสมแก่กาํ ลงั ทงั ทาง กายและความสามารถ วยั เพศ และสตปิ ญั ญา ๒) ใหอ้ าหารและรางวลั คอื ใหค้ า่ จา้ งทเี หมาะสมกบั งานทที าํ เพอื ใหเ้ ขาเป็นอย่ไู ด้ ไมเ่ ดอื ดรอ้ น และถา้ กจิ การดมี กี าํ ไรกค็ วรเพมิ รางวลั พเิ ศษให้ ๓) รกั ษาพยาบาลในเวลาเจ็บไข้ คอื เมอื ลูกจ้างเกดิ เจ็บป่วยหรอื เกิดอุบัติเหตุขนึ ในขณะปฏบิ ตั งิ าน นายจา้ งจะตอ้ งถอื เป็นธุระในการพาไปหาหมอ หรอื จดั ยา จดั คนใชด้ แู ลให้ ๔) แจกของมีรสแปลกให้กิน คือ เอือเฟือด้วยของกินในเวลาทมี ีหรือได้ของมี รสชาตแิ ปลก ๆ หรอื ทพี เิ ศษมา ๕) ปล่อยในสมยั คอื ปล่อยใหม้ กี ารหยุดงานในบางโอกาส เช่น ในเทศกาล เพอื การ พกั ผอ่ นหยอ่ นใจ เพอื เตมิ ไฟในการทาํ งาน ๖. อุปริมทิศ ทศิ เบอื งบน (ผูม้ คี ุณความดีสูง) ได้แก่ สมณพราหมณ์ บรรพชติ หรอื ภกิ ษุ คอื นักบวชในพระพุทธศาสนา เป็นผู้ดํารงอย่ใู นเพศภาวะทสี ูง ทําหน้าทอี บรม สงั สอน ประชาชน อทุ ศิ ตนเป็นผนู้ ําทางจติ ใจเผยแผพ่ ทุ ธธรรมเพอื ใหเ้ กดิ ประโยชน์สขุ แกม่ วลมนุษย์ หนาท่ีของสมณพราหมณที่พึงอนุเคราะหค ฤหัสถ มี ๖ ประการ คือ ๑) หา้ มมใิ หก้ ระทําความชวั คอื ชแี จงถงึ ผลชวั ทจี ะไดร้ บั หากขนื ทํา เตอื นสตมิ ใิ ห้ หลงระเรงิ ในอบายมขุ ๒) แนะนําใหต้ งั อยใู่ นความดี คอื บอกกล่าวผลดที จี ะไดร้ บั หากปฏบิ ตั ติ าม ๓) อนุเคราะหด์ ว้ ยนําใจอนั ดงี าม คอื สงเคราะห์ดว้ ยวตั ถุ ใหค้ าํ ปรกึ ษาแนะนําดว้ ย นําใจดงี าม เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 105

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 106 106

 1๑0๐7๗ วชิ า ธรรมวิภาค ๑. ด่ืมน้ําเมา คอื ชอบดมื สุรา เบยี ร์ ไวน์ สาโท อุ กระแช่ เป็นตน้ รวมถงึ เสพสงิ เสพตดิ ทมี ผี ลรา้ ยต่อร่างกาย เช่น บุหรี กญั ชา ฝิน ยาบ้า ยาอี สารระเหย เป็นต้น ดมื นําเมา มโี ทษ ๖ ประการ คอื ๑) เป็นตน้ เหตใุ หเ้ สยี ทรพั ย์ ๒) เป็นตน้ เหตุแหง่ การทะเลาะววิ าท ๓) เป็นตน้ เหตุแหง่ โรครา้ ยต่าง ๆ ๔) เป็นตน้ เหตใุ หถ้ กู ตเิ ตยี น ๕) เป็นตน้ เหตุใหไ้ มร่ จู้ กั อาย ๖) เป็นตน้ เหตุใหท้ อนปญั ญา ๒. เทีย่ วกลางคนื เป็นหนทางนําไปสคู่ วามเสอื ม ๖ ประการ คอื ๑) ชอื วา่ ไมค่ มุ้ ครองรกั ษาตน ๒) ชอื ว่าไมค่ มุ้ ครองรกั ษาลกู เมยี ๓) ชอื วา่ ไมร่ กั ษาทรพั ยส์ มบตั ิ ๔) เป็นทรี ะแวงสงสยั ของคนทงั หลาย ๕) มกั ถกู ใสค่ วาม ๖) ไดร้ บั ความลาํ บาก ๓. เที่ยวดูการละเลน มโี ทษ ๖ ประการ ตามประเภทของมหรสพทไี ปเทยี วดู คอื ๑) มกี ารเตน้ ราํ ทไี หนไปทนี นั ๒) มกี ารขบั รอ้ งทไี หนไปทนี นั ๓) มกี ารดดี สตี เี ปา่ ขบั ประโคมทไี หนไปทนี นั ๔) มเี สภาทไี หนไปทนี นั ๕) มกี ารบรรเลงเพลงทไี หนไปทนี นั ๖) มเี ถดิ เทงิ สนุกสนานทไี หนไปทนี นั ๔. เลนการพนัน : การพนนั เป็นการแขง่ ขนั กนั ดว้ ยทนุ ทรพั ย์ ทงั ทเี ป็นเงนิ ทองสงิ ของ มคี า่ อนื ๆ คนตดิ การพนนั ทา่ นวา่ ยากทจี ะตงั ตวั ได้ การพนันจึงใหโ ทษทนั ตา ๖ ประการ คือ ๑) เมอื ชนะยอ่ มกอ่ เวร ๒) เมอื แพย้ อ่ มเสยี ดายทรพั ย์ ๓) ทรพั ยย์ อ่ มฉบิ หาย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 107

1๑0๐๘8 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ๔) ไมม่ ใี ครเชอื ถอื ถอ้ ยคาํ ๕) เป็นทหี มนิ ประมาทของเพอื น ๖) ไมม่ ใี ครประสงคแ์ ตง่ งานดว้ ย ๕. คบคนชว่ั เปน มิตร มโี ทษตามบุคคลทคี บ ๖ ประเภท คอื ๑) นําใหเ้ ป็นนกั เลงการพนนั คอื คบนกั เลงการพนนั กช็ กั ชวนในทางเล่นการพนนั ๒) นําใหเ้ ป็นนกั เลงเจา้ ชู้ คอื คบคนเจา้ ชู้ กช็ กั ชวนในทางเจา้ ชู้ ๓) นําใหเ้ ป็นนกั เลงเหลา้ คอื คบคนขเี หลา้ เมายา กช็ กั ชวนดมื สุรา เครอื งดองของ มนึ เมาอนื ๆ รวมถงึ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษทกุ ชนิด ๔) นําให้เป็นคนลวงเขาด้วยของปลอม คอื คบคนขฉี ้อหลอกลวง ก็ชกั ชวนให้ หลอกลวงผอู้ นื หากนิ ๕) นําใหเ้ ป็นคนลวงเขาซงึ หน้า คอื คบคนขโี กง กช็ กั ชวนใหค้ ดโกงผอู้ นื ดว้ ยวธิ ตี า่ ง ๆ ๖) นําใหเ้ ป็นคนหวั ไม้ คอื คบนักเลงหวั ไม้ กช็ กั ชวนเทยี วเกะกะระราน ทะเลาะ ววิ าทผอู้ นื ทวั ไป ๖. เกียจครานการทํางาน : ความเกยี จครา้ นเป็นอุปสรรคทขี ดั ขวางความเจรญิ ก้าวหน้า อนั ยงิ ใหญข่ องมนุษย์ ผทู้ ไี มป่ ระสบความสาํ เรจ็ ในชวี ติ หน้าทกี ารงาน หรอื ไดร้ บั ความยากลําบาก เพราะเรอื งตา่ ง ๆ กเ็ พราะมคี วามเกยี จครา้ นเป็นตวั คอยฉุดรงั ใหจ้ มปลกั อยกู่ บั ความลม้ เหลว ขอ อางของคนเกยี จคราน มี ๖ ประการ คอื ๑) มกั อา้ งว่าหนาวเกนิ ไป แลว้ ไมย่ อมทาํ การงาน ๒) มกั อา้ งวา่ รอ้ นเกนิ ไป แลว้ ไมย่ อมทาํ การงาน ๓) มกั อา้ งวา่ เวลาเยน็ เกนิ ไป แลว้ ไมย่ อมทาํ การงาน ๔) มกั อา้ งวา่ เชา้ เกนิ ไป แลว้ ไมย่ อมทาํ การงาน ๕) มกั อา้ งวา่ หวิ เกนิ ไป แลว้ ไมย่ อมทาํ การงาน ๖) มกั อา้ งว่ากระหายเกนิ ไป แลว้ ไมย่ อมทาํ การงาน 108

 1๑0๐9๙ วชิ า ธรรมวภิ าค ¢ŒÍÊͺ¸ÃÃÁʹÒÁËÅǧ ËÅÑ¡Êμ٠ùѡ¸ÃÃÁªÑé¹μÃÕ ÇÔªÒ¸ÃÃÁÇÔÀÒ¤ »‚ ¾.È. òõõö - òõõø เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 109

๑1๑1๐0 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 »Þ˜ ËÒáÅÐà©ÅÂÇªÔ Ò¸ÃÃÁ ¹Ñ¡¸ÃÃÁª¹éÑ μÃÕ Êͺã¹Ê¹ÒÁËÅǧ Çѹ¾ÄËÊÑ º´Õ ·Õè òò μØÅÒ¤Á ¾.È. òõõø ๑. บพุ พการี และ กตญั ูกตเวที หมายถงึ บคุ คลเช่นไร ? เฉลย บพุ พการี หมายถงึ บคุ คลผูท้ าํ อปุ การะก่อน กตญั ูกตเวที หมายถงึ บคุ คลผูร้ ู้ อปุ การะทที ่านทาํ แลว้ และ ตอบแทน ฯ ๒. พระธรรม คอื อะไร ? มีคุณต่อผูป้ ฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ? เฉลย พระธรรม คือคาํ สงั สอนของพระพทุ ธเจา้ ฯ มคี ุณ คือย่อมรกั ษาผูป้ ฏบิ ตั ิไมใ่ หต้ กไปในทชี วั ฯ ๓. บญุ กริ ิยาวตั ถุ คอื อะไร ? โดยย่อมเี ท่าไร ? อะไรบา้ ง ? เฉลย คือสงิ เป็นทตี งั แห่งการบาํ เพ็ญบญุ ฯ มี ๓ ฯ คือ ๑. ทานมยั บญุ สาํ เรจ็ ดว้ ยการบรจิ าคทาน ๒. สลี มยั บญุ สาํ เรจ็ ดว้ ยการรกั ษาศีล ๓. ภาวนามยั บญุ สาํ เรจ็ ดว้ ยการเจรญิ ภาวนา ฯ ๔. ธรรมดจุ ลอ้ รถนําไปสูค่ วามเจริญ เรยี กวา่ อะไร ? จงบอกมาสกั ๒ ขอ้ เฉลย เรยี กวา่ จกั ร ฯ ไดแ้ ก่ ๑. ปฏริ ูปเทสวาสะ อยูใ่ นประเทศอนั สมควร ๒. สปั ปรุ สิ ูปสั สยะ คบสตั บรุ ุษ ๓. อตั ตสมั มาปณิธิ ตงั ตนไวช้ อบ ๔. ปพุ เพกตปญุ ญตา ความเป็นผูไ้ ดท้ าํ ความดไี วใ้ นปางก่อน ฯ (เลอื กตอบเพยี ง ๒ ขอ้ ) 110

 1๑1๑1๑ วชิ า ธรรมวภิ าค ๕. บคุ คลผูร้ กั ษาความยุตธิ รรมไวไ้ ด้ ควรเวน้ จากธรรมอะไร ? ธรรมนนั มีอะไรบา้ ง ? เฉลย ควรเวน้ จากอคติ ๔ ฯ มี ๑. ความลาํ เอยี งเพราะรกั ใคร่กนั เรยี กว่า ฉนั ทาคติ ๒. ความลาํ เอยี งเพราะไม่ชอบกนั เรยี กวา่ โทสาคติ ๓. ความลาํ เอยี งเพราะเขลา เรยี กว่า โมหาคติ ๔. ความลาํ เอยี งเพราะกลวั เรยี กว่า ภยาคติ ฯ ๖. กรรมอนั เป็นบาปหนักทสี ุด หา้ มสวรรค์ หา้ มนิพพาน คอื กรรมอะไร ? จงยกตวั อยา่ งสกั ๓ ขอ้ เฉลย คอื อนนั ตรยิ กรรม ฯ มี ๑. มาตฆุ าต ฆ่ามารดา ๒. ปิตฆุ าต ฆ่าบดิ า ๓. อรหนั ตฆาต ฆ่าพระอรหนั ต์ ๔. โลหติ ปุ บาท ทาํ รา้ ยพระพทุ ธเจา้ จนถงึ ยงั พระโลหติ ใหห้ อ้ ขนึ ไป ๕. สงั ฆเภท ยงั สงฆใ์ หแ้ ตกจากกนั ฯ (เลอื กตอบเพยี ง ๓ ขอ้ ) ๗. อานิสงสแ์ หง่ การฟงั ธรรม มอี ะไรบา้ ง ? เฉลย มี ๑. ผูฟ้ งั ธรรมย่อมไดฟ้ งั สงิ ทยี งั ไมเ่ คยฟงั ๒. สงิ ใดไดเ้คยฟงั แลว้ แต่ไมเ่ ขา้ ใจชดั ยอ่ มเขา้ ใจสงิ นนั ชดั ๓. บรรเทาความสงสยั เสยี ได้ ๔. ทาํ ความเหน็ ใหถ้ กู ตอ้ งได้ ๕. จติ ของผูฟ้ งั ยอ่ มผอ่ งใส ฯ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 111

๑1๑1๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี คหิ ปิ ฏบิ ตั ิ ๘. ธรรม ๔ ประการ ทีเป็ นไปเพอื ประโยชน์เกอื กูลเพือสุขในปจั จุบนั เรียกว่าอะไร ? มี อะไรบา้ ง ? เฉลย เรยี กว่า ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถประโยชน์ ฯ มี ๑. อฏุ ฐานสมั ปทา ถงึ พรอ้ มดว้ ยความหมนั ในการประกอบกจิ อนั ควร ๒. อารกั ขสมั ปทา ถงึ พรอ้ มดว้ ยการรกั ษา ทงั ทรพั ยแ์ ละการงานของตน ไมใ่ ห้ เสอื มไป ๓. กลั ยาณมติ ตตา ความมเี พอื นเป็นคนดี ไมค่ บคนชวั ๔. สมชวี ติ า ความเลยี งชวี ติ ตามสมควรแก่กาํ ลงั ทรพั ยท์ หี าได้ ฯ ๙. มติ รมีหลายจาํ พวก อยากทราบว่ามิตรแท้ ๔ จาํ พวกมีอะไรบา้ ง ? เฉลย มี ๑. มติ รมอี ปุ การะ ๒. มติ รร่วมสุขร่วมทกุ ข์ ๓. มติ รแนะประโยชน์ ๔. มติ รมคี วามรกั ใคร่ ฯ ๑๐. บตุ รธิดาพงึ ปฏบิ ตั ติ อ่ มารดาบดิ าอย่างไร ? เฉลย พงึ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งนี ๑. ท่านไดเ้ลยี งมาแลว้ เลยี งทา่ นตอบ ๒. ทาํ กจิ ของทา่ น ๓. ดาํ รงวงศส์ กลุ ๔. ประพฤตติ นใหเ้ป็นคนควรรบั ทรพั ยม์ รดก ๕. เมอื ทา่ นลว่ งลบั ไปแลว้ ทาํ บุญอทุ ศิ ใหท้ ่าน ฯ ********* เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 112

 1๑1๑3๑ วชิ า ธรรมวิภาค »˜ÞËÒáÅÐà©ÅÂÇÔªÒ¸ÃÃÁ ¹Ñ¡¸ÃÃÁª¹éÑ μÃÕ Êͺã¹Ê¹ÒÁËÅǧ Ç¹Ñ È¡Ø Ã ·èÕ ó μÅØ Ò¤Á ¾.È. òõõ÷ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 113

๑1๑1๐4 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 114

 1๑1๑5๑ วชิ า ธรรมวิภาค เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 115

๑1๑1๐6 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ปญหาและเฉลยวชิ าธรรม นกั ธรรมชนั้ ตรี สอบในสนามหลวง วนั จนั ทร ที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๖ ๑. หิริ และ โอตตัปปะ ไดชื่อวา ธรรมเปนโลกบาล เพราะเหตุไร ? ๑. เพราะเป็นคณุ ธรรมทาํ บุคคลใหร้ งั เกยี จ และเกรงกลวั ต่อบาปทจุ รติ ไมก่ ลา้ ทาํ ความชวั ทงั ใน ทลี บั และทแี จง้ ฯ ๒. การทําบญุ โดยยอมีกอี่ ยา ง ? อะไรบาง ? ๒. มี ๓ อยา่ ง ฯ คอื ทาน ศลี ภาวนา ฯ ๓. เหตใุ หเกดิ ทุกขใ นอริยสจั คืออะไร ? ๓. คอื ตณั หา ความทะยานอยาก ฯ ๔. อภิณหปจจเวกขณ คือขอที่ควรพิจารณาเนือง ๆ ๕ อยาง ทรงสอนใหพิจารณา อะไรบาง ? ๔. ทรงสอนใหพ้ จิ ารณา ๑. ความแก่ วา่ เรามคี วามแกเ่ ป็นธรรมดาไมล่ ่วงพน้ ความแกไ่ ปได้ ๒. ความเจบ็ ไข้ วา่ เรามคี วามเจบ็ ไขเ้ ป็นธรรมดาไมล่ ่วงพน้ ความเจบ็ ไขไ้ ปได้ ๓. ความตาย วา่ เรามคี วามตายเป็นธรรมดาไมล่ ่วงพน้ ความตายไปได้ ๔. ความพลดั พราก ว่าเราจะตอ้ งพลดั พรากจากของรกั ของชอบใจทงั สนิ ๕. กรรม วา่ เรามกี รรมเป็นของตวั เราทาํ ดจี กั ไดด้ ี ทาํ ชวั จกั ไดช้ วั ฯ ๕. ขันธ ๕ ไดแกอะไรบาง ? ยอเปน ๒ อยางไร ? ๕. ไดแ้ ก่ รปู ขนั ธ์ เวทนาขนั ธ์ สญั ญาขนั ธ์ สงั ขารขนั ธ์ และวญิ ญาณขนั ธ์ ฯ อยา่ งนี คอื รปู ขนั ธ์ คงเป็นรปู เวทนาขนั ธ์ สญั ญาขนั ธ์ สงั ขารขนั ธ์ และวญิ ญาณขนั ธ์ ๔ ขนั ธน์ ีเป็นนาม ฯ 116

 1๑1๑7๑ วชิ า ธรรมวิภาค ๖. บรรพชิตผูพจิ ารณาเนอื ง ๆ วา วันคืนลว งไป ๆ บัดน้เี ราทําอะไรอยู จะไดร บั ประโยชนอะไร ? ๖. จะไดร้ บั ประโยชน์ คอื เป็นผไู้ ม่ประมาท มคี วามเพยี ร งดเวน้ สงิ ทเี ป็นโทษทาํ ในสงิ ทเี ป็น ประโยชน์ ฯ ๗. จงใหความหมายของคําตอ ไปนี้ ง. กามฉันท ฯ ก. พาหุสจั จะ ข. อกสุ ลมลู ค. อินทรยี สงั วร ฆ. อนัตตตา ๗. ก. ความเป็นผศู้ กึ ษามาก ข. รากเหงา้ ของอกศุ ล ค. ความสาํ รวมอนิ ทรยี ์ ฆ. ความเป็นของไมใ่ ชต่ น ง. ความพอใจรกั ใครใ่ นอารมณ์ทชี อบใจมรี ปู เป็นตน้ ฯ คิหปิ ฏิบตั ิ ๘. มติ รแท มกี ่ีจาํ พวก ? อะไรบาง ? ๘. มี ๔ จาํ พวก ฯ คอื ๑. มติ รมอี ปุ การะ ๒. มติ รรว่ มสขุ รว่ มทกุ ข์ ๓. มติ รแนะประโยชน์ ๔. มติ รมคี วามรกั ใคร่ ฯ ๙. คุณธรรมเปนเคร่ืองยึดเหน่ียวใจของผูอื่นไวไ ด มีอะไรบา ง ? ๙. มี ๑. ทาน ใหป้ นั สงิ ของของตนแกผ่ อู้ นื ทคี วรใหป้ นั ๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาทอี อ่ นหวาน ๓. อตั ถจรยิ า ประพฤตสิ งิ ทเี ป็นประโยชน์แกผ่ อู้ นื ๔. สมานตั ตตา ความเป็นคนมตี นเสมอไมถ่ อื ตวั ฯ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 117

1๑๑1๒8 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ๑๐. ศีลที่คฤหัสถควรรักษาเปนนิตย คอื ศีลอะไร ? ไดแกอ ะไรบาง ? ๑๐. คอื ศลี ๕ ฯ ไดแ้ ก่ ๑. เวน้ จากทาํ ชวี ติ สตั วใ์ หต้ กล่วงไป ๒. เวน้ จากถอื เอาสงิ ของทเี จา้ ของไมไ่ ดใ้ หด้ ว้ ยอาการแหง่ ขโมย ๓. เวน้ จากประพฤตผิ ดิ ในกาม ๔. เวน้ จากพดู เทจ็ ๕. เวน้ จากดมื นําเมา คอื สรุ าและเมรยั อนั เป็นทตี งั แหง่ ความประมาท ฯ 118

 1๑1๑9๗ วชิ า พทุ ธประวตั ิ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 119

๑1๑2๘0 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ขอบขา ยเนอ้ื หา วิชา พทุ ธประวตั ิ 120

 1๑2๑๙1 วชิ า พทุ ธประวัติ ปรุ ิมกาล บทท่ี ๑ ชมพูทวปี และประชาชน ชมพูทวีป คือ บริเวณพื้นที่ท่ีเรียกในปจจุบันนี้วา ประเทศอินเดีย รวมท้ังบางสวนของ ประเทศเนปาล ปากีสถาน และบังคลาเทศ ตั้งอยูทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (ทิศพายัพ) ของประเทศไทย ทิศเหนือมีเทือกเขาหิมาลัยกั้น ทิศตะวันตกและทิศตะวันออกจรดมหาสมุทรอินเดีย ภูมิประเทศ ตรงกลางมีภูเขาวินทยะต้ังเปนแนวจากทิศตะวันตกมาทางทิศตะวันออก ตั้งแตคร้ังดึกดําบรรพ ชมพูทวีปเปนประเทศท่ีอุดมสมบูรณกวาประเทศอ่ืน ๆ เหตุที่ไดช่ือวาชมพูทวีป สันนิษฐานวา เปน เพราะมไี มหวา มาก ชนท่ีปกครองชมพูทวีปมี ๒ กลุม แตไมไดปกครองในคราวเดียวกัน กลุมท่ีปกครองมา กอ น คือ พวกมลิ กั ขะ หรือ ดราวิท เปนเจาของถิ่นเดิม เปนผูปกครองดินแดนน้ีมากอน แตเปน ชนชาติท่ีไมรูจักขนบธรรมเนียม และวิธีการปกครองท่ีจะทําใหบานเมืองดําเนินไปสูความเจริญ ทั้งไมมีความรูในกลยุทธและศาสตรตาง ๆ จึงไมสามารถตั้งบานเมืองใหเปนปกแผนแผไพศาล ไปได กลุมท่ีปกครองตอมา คือ พวกอริยกะ หรือ อารยัน เปนชนชาติท่ีเฉลียวฉลาดใน ขนบธรรมเนียมรูจักวิธีการปกครองบานเมือง เปนผูมีอํานาจมาก รูจักกลอุบายและยุทธศาสตร ในการเมืองเปนอยางดี ชนชาติอริยกะแตเดิมไมใชเปนผูอยูในชมพูทวีปโดยตรง แตไดอพยพลง มาจากแผน ดินขา งเหนอื ขา มภูเขาหิมาลัยรกุ ไลพ วกมลิ กั ขะซึง่ เปนเจาของถ่ินเดิมใหรนถอยลงไป ขางใต แลวเขาครอบครองเปน เจา ของแทนกลมุ เดิม และพฒั นาดินแดนใหเจรญิ เปน ลําดบั มา ชมพูทวีป แบงเปน ๒ เขต คือ รอบในเรียกวา มัชฌิมชนบท หรือ มัธยมประเทศ แปลวา ประเทศทามกลางเปนเขตท่ีอยูของพวกอริยกะ สวนรอบนอกเรียกวา ปจจันตชนบท หรือ ปจจันตประเทศ แปลวา ประเทศชายแดน เปนเขตที่อยูของพวกมิลักขะ เทียบใน ปจจบุ ัน หากเปน ประเทศไทยทงั้ ประเทศ มัชฌมิ ชนบทก็เทียบไดเทา กับเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล สวนปจจันตชนบทก็เทียบไดเทากับจังหวัดตาง ๆ หรือหากเทียบเปนจังหวัดหนึ่ง มัชฌิมชนบทก็เทียบไดเทากับเขตตัวเมืองหรือตัวจังหวัด สวนปจจันตชนบทก็เทียบไดเทากับ อาํ เภอตา ง ๆ ทีห่ างจากตัวเมืองออกไปน่นั เอง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 121

๑1๒2๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี มูลเหตุแบงเปน ๒ เขต สันนิษฐานวา นาจะเปนเพราะเพื่อความสะดวก ในการปกครอง หรือยึดถือเอาที่อยูของชนทั้ง ๒ กลุม เปนเกณฑ คือ พวกอริยกะอยูเขตใน ไดแก มัชฌิมชนบท พวกมิลักขะอยเู ขตนอก ไดแก ปจ จนั ตชนบท อาณาเขตของมัชฌิมชนบทมีการขยายออกตามยุคตามสมัยของผปู กครอง ถาผูปกครอง มีอํานาจมากก็สามารถขยายอาณาเขตของตนออกไปกวางขวาง ถาผูปกครองมีอํานาจนอยก็จะ ถกู รุกรานใหถอยรน อาณาเขตของตนเขา มา บางคราวกอ็ าจเปน เมืองขึ้นของผปู กครองท่ีมีอํานาจ มากกวา อาณาเขตมัชฌิมชนบทตามทีป่ รากฏในพระบาลี จัมมขันธกะ มหาวรรค (พระไตรปฎก เลม ที่ ๕) ดงั น้ี ๑. ทิศบรู พา นับตง้ั แตมหาศาลนครเขา มา ๒. ทิศอาคเนย นบั ตั้งแตแมน ํา้ สัลลวตีเขา มา ๓. ทิศทักษิณ นับตั้งแตเ สตกัณณิกนคิ มเขามา ๔. ทศิ ปจจิม นบั ต้งั แตถนู คามเขามา ๕. ทศิ อุดร นับต้ังแตภูเขาอสุ รี ธชะเขามา ในเขตทงั้ ๕ น้ี เรียกวา มัชฌมิ ชนบท เขตนอกจากท่ีกําหนดน้ี เรียกวา ปจจันตชนบท การแบง เปนเขตที่เพยี งทราบกันตามที่ปรากฏในคัมภรี ท ่ีกลาวถงึ ในครงั้ พุทธกาลเทาน้ัน ตอมาเม่ือมี การเปลี่ยนแปลงชื่อของบานเมืองก็อาจจะทําใหช่ืออาณาเขตตาง ๆ เปล่ียนแปลงไปบาง แตถึงอยางนั้น อาณาเขตของมัชฌิมชนบทน้ันก็ยังมีปรากฏอยูในแผนท่ีประเทศอินเดียเร่ือยมา โดยในป พ.ศ. ๒๔๕๔ มอี าณาเขต ดังนี้ ๑. ทศิ บรู พา นบั ต้งั แตจงั หวดั เบงคอลเขา มา ๒. ทศิ ทกั ษณิ นับต้ังแตจงั หวัดเดกกันเขามา ๓. ทิศปจจมิ นบั ตงั้ แตจ ังหวดั บอมเบเขามา ๔. ทศิ อุดร นับตง้ั แตจังหวัดเนปาลเขามา (ประเทศเนปาล) เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 122

 1๑2๒3๑ วชิ า พุทธประวัติ อาณาจกั รตา ง ๆ มัชฌิมชนบทเปนสถานท่ีมีอาณาเขตเจริญรุงเรืองมาก ประชาชนนิยมถือเปนท่ีชุมนุม ของเหลา นักปราชญ เพราะเปนสถานทตี่ ัง้ อยูทา มกลางและเปน ทีต่ ้ังของเมืองหรือนครใหญ ๆ ชมพูทวีปแบงอาณาจักรออกเปนหลายอาณาจักร แตอาณาจักรท่ีใหญ ๆ ในคร้ังพุทธกาล ปรากฏในพระบาลี อุโปสถสูตร ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย (พระไตรปฎก เลมท่ี ๒๐) แบงเปน ๑๖ แควน คือ อังคะ มคธะ กาสี โกสละ วชั ชี มัลละ เจตี วังสะ กุรุ ปญจาละ มัจฉะ สุรเสนะ อัสสกะ อวันตี คันธาระ กัมโพชะ และที่ปรากฏในพระสูตรอื่น ๆ ท่ีไมซํ้ากันอีก ๕ แควน คือ สักกะ โกลิยะ ภคั คะ วเิ ทหะ องั คตุ ตราปะ ถา จดั ทงั้ ๕ แควน นเ้ี ขาดวยรวมเปน ๒๑ แควน อาณาจักรทัง้ ๒๑ แควน มพี ระเจา แผนดนิ ปกครอง ดาํ รงพระยศเปนมหาราชบาง เปนเพยี ง ราชาบาง เปนเพียงอธิบดีบาง สวนระบบการปกครอง บางแควนผูปกครองโดยตรงเปนผูมีอํานาจ สิทธ์ิขาดเพียงผูเดียวบาง ปกครองโดยสามัคคีธรรมบาง และบางคราวอาจต้ังตนเปนอิสระข้ึน โดยลาํ พงั บางคราวก็ตกไปอยใู นอํานาจของผูอื่น เปนไปตามยุคตามสมัย แลวแตแควนใดจะมี กําลงั เหนอื กวา วรรณะ ๔ ประชาชนชาวชมพทู วปี แบงออกเปน ๔ จําพวก เรยี กวา วรรณะ ๔ คอื ๑. วรรณะกษัตริย ไดแ ก พวกผูปกครอง (กษตั ริย) มีหนาที่ในการปกครองบานเมือง ๒. วรรณะพราหมณ ไดแก พวกผูเลาเรยี น มหี นา ทีใ่ นการศึกษาส่ังสอนและทาํ พธิ ีกรรม ๓. วรรณะแพศย ไดแก พวกพลเรือน มหี นา ท่ที าํ มาคา ขาย ทาํ เกษตรกรรม ๔. วรรณะศูทร ไดแ ก พวกคนงาน มีหนา ทรี่ บั จา งทําการงานตาง ๆ เปน กรรมกร ในบรรดาวรรณะทั้ง ๔ จําพวก กษัตรยิ และพราหมณจัดวาเปนชนชาติท่ีสูง แพศย จดั เปนชนชาตสิ ามญั ศทู รจดั เปนชนชาตทิ ตี่ ่ํา กษัตริยถือวาพวกของตนเปนชนชาติ (วรรณะ) สูง พราหมณก็ถือวาพวกของตนเปน ชนชาติ (วรรณะ) ท่ีสูงเหมือนกัน ตางก็มีมานะในการถือตัวชนชาติ (วรรณะ) และโคตร (ตระกูล) ของตน รังเกียจคนท่ีมีชนชาติและโคตร (ตระกูล) ท่ีต่ํากวาจะไมยอมแตงงานหรืออยูกินเปน สามีภรรยากับคนท่ีเปน ชนชาตชิ ้นั ตาํ่ แมแตผทู ม่ี ชี าติ (วรรณะ) เดียวกัน แตต างตระกูลกัน ก็จะ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 123

๑1๒2๒4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ไมยอมแตงงานหรืออยูกินเปนสามีภรรยาดวย จะตองแตงงานหรืออยูกินเปนสามีภรรยาดวย ชนชาติ (วรรณะ) และโคตร (ตระกลู ) เดยี วกนั กับตน นอกจากชนในวรรณะทั้ง ๔ นั้นแลว ยังมีชนอีกพวกหน่ึงที่ถูกแยกออกจากชนใน วรรณะท้ัง ๔ นั้นอีก โดยถูกจัดเปนพวกชนที่เลวลงไปอีก เชน พราหมณซึ่งจัดเปนชาติสูง แต แตงงานหรืออยูกินเปนสามีภรรยากับศูทร ซ่ึงจัดเปนชาติต่ํา เม่ือมีบุตรออกมา บุตรนั้นจะถูก จัดเปนอีกจําพวกหนึ่งเรียกวา จัณฑาล ผูที่เกิดจากมารดาบิดาตางวรรณะกันเชนน้ีถือวาเปน พวกท่ีเลวทราม ทงั้ เปน ทีด่ หู มิ่นดแู คลนของชนที่มีชาตสิ กลุ อกี ดวย การศึกษาของชนในวรรณะ ๔ เหลาน้ัน ยอมเปนไปตามหนาที่ของตนที่จะตองศึกษา คอื ๑. กษัตริยศกึ ษาในดา นการปกครองบา นเมอื งและการยุทธวิธีตา ง ๆ ๒. พราหมณศ ึกษาในลัทธศิ าสนา พธิ ีกรรมและวทิ ยาการตาง ๆ ๓. แพศยศึกษาในศลิ ปะ กสกิ รรมและพาณชิ ยกรรม ๔. ศทู รศึกษาในวิชาการงานท่ีจะพงึ ทําดว ยเร่ียวแรงของตน ความคดิ เห็น คนในยคุ สมัยกอนที่พระพุทธศาสนาจะเกิดข้ึนมีคนสนใจในวิชาธรรมมาก จึงเกิดมีเจา ลัทธิตาง ๆ มากมาย และการปรารภถึงความเกิด ความตาย และสุขทุกข ไปตาง ๆ กัน สรุปเปน ๒ จาํ พวก คอื จําพวกที่ ๑ เห็นวา ตายแลว เกิด จาํ พวกท่ี ๒ เห็นวา ตายแลว สูญ ในจาํ พวกที่เห็นวา ตายแลว เกิดนน้ั ยงั มคี วามเห็นแยกออกอีกเปน ๒ อยาง คือ ๑. เห็นวาชาติน้ีเกิดเปนอะไร ชาติตอไปก็เปนอยูอยางน้ัน ไมแปรผันไป เชน ชาตินี้ เกิดเปนมนษุ ย ชาตหิ นาก็เกดิ เปน มนษุ ยอกี ๒. เห็นวาชาติน้ีเกิดเปนอะไร ชาติตอไปอาจเกิดเปนอยางนั้น แปรผันไปได เชน ชาตนิ เี้ กิดเปน มนุษย ชาติหนาอาจจะเกดิ เปนอยา งอน่ื เชน สัตวดริ ัจฉาน เปนตน 124

 1๑2๒5๓ วชิ า พทุ ธประวัติ ในจาํ พวกที่เห็นวาตายแลว สญู นน้ั ยงั มีความเห็นท่ีแยกออกอกี เปน ๒ อยาง คอื ๑. เห็นวา ตายแลว สญู โดยประการท้ังปวง (หายไปท้งั หมดไมม อี ะไรเหลืออย)ู ๒. เห็นวาตายแลวสญู ในบางสิ่งบางอยา ง (หายไปบางอยาง บางอยา งเหลืออยู) ชนทั้ง ๒ จาํ พวกดงั กลา วแลว นน้ั ยงั ปรารภสุขทุกขตา งกนั คือ ๑. เห็นวา สุขทุกขไมมเี หตปุ จ จยั สัตวจ ะไดสขุ หรือไดท ุกขก ็ไดเ อง ๒. เหน็ วาสุขทกุ ขมีเหตปุ จ จัย สัตวจะไดส ุขหรือทกุ ขเพราะเหตุปจ จยั ชนจาํ พวกหลงั น้ี ยังมีความเหน็ ผดิ แผกออกไปอีก ๒ อยาง คอื ๑. เห็นวาสุขทุกขไมมีมาเพราะเหตุภายนอก มีเทวดาเปนผูประสิทธิ์ประสาทใหตน ไดร บั ๒. เหน็ วาสุขทกุ ขม ีมาเพราะเหตภุ ายในคอื ตัวกรรม เมื่อมีความเห็นผิดกันเชนนั้นแลว ตางคนก็ประพฤติไปตามความเห็นของตน คอื ๑. พวกที่เหน็ วาตายแลวเกิดอีกเห็นวา จะประพฤติอยางไรจึงจะไปเกิดในสวรรคและ สคุ ติ ก็ประพฤติอยา งนน้ั ๒. พวกที่เห็นวาตายแลวสูญเห็นวา ตนอยากจะประพฤติอยางไร ก็ประพฤติไปตาม ความเหน็ ของตน ไมต อ งเกรงกลวั อะไร ขอใหรอดพน จากชาติน้ีเทา นัน้ ๓. พวกท่เี หน็ วาสขุ ทกุ ขไมมเี หตุปจ จัย กไ็ มตองทํากิจการงานอยางไร คอยแตจะเส่ียง โชคเทาน้นั ๔. พวกทเี่ ห็นวาสขุ ทุกขมเี พราะภายนอกคือเทวดาเทาน้ัน ก็พากันบวงสรวงเทวดาให ประสิทธป์ิ ระสาทความสขุ ใหตน ๕. พวกที่เห็นวา สุขทุกขมีมาเพราะเหตุภายในคือกรรมน้ัน เห็นวากรรมใดเปนเหตุแหง สุข กท็ าํ แตกรรมนัน้ เหตุทม่ี ีความเหน็ ไปคนละอยาง ก็เนอ่ื งจากในเวลาน้ันคณาจารยเจาลัทธิมีมากดวยกัน ตางก็ถือกันวา การส่ังสอนธรรมเปนธุระอันประเสริฐ และยังมีเกียรติยศยิ่งกวาพระเจาแผนดิน หรือเสมอพระเจา แผน ดิน ฉะนน้ั จงึ ตอ งแสวงหาช่ือเสียงและเกียรติยศ สละสมบัติออกประพฤติ พรตตา ง ๆ กนั ไป เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 125

๑1๒2๔6 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี ลทั ธพิ น้ื เมอื ง คนพ้ืนเมืองซึ่งสงเคราะหเ ขา ในวรรณะ ๔ ได ถือตามลัทธิของพราหมณ ประพฤติตาม คําสั่งสอนในไตรเพทและเพทางคอันเปนคัมภีรซึ่งถือวาโลกธาตุท้ังปวงเปนของเทวดาสราง มีเทวดาประจําอยูในธาตุตา ง ๆ เชน ดนิ นา้ํ ไฟ ลม ถา ใครปรารถนาผลอันใด ทําการเซนสรวง เทวดาน้ัน ก็จะไดรับผลตามประสงค และทําพิธีเพ่ือสวัสดิมงคลดวยการบูชายัญ คือ ติดเพลิง แลวก็ฆาสัตวท้ิงเขากองเพลิงน้ัน แลวก็กราบไหวบูชาเทวดาท่ีตนนับถือน้ัน ๆ และยังมีวิธี ประพฤติวัตรเปนการทําบุญเรียกวา “ตบะ” คือ การทรมานรางกายใหไดรับความลําบาก เรยี กวา “ยางกิเลส” เชน ถือการยืนกับเดินเปนวัตร ไมนั่งไมนอน กินแตผลไม ไมกินขาวและของ อื่น โดยถือวาถาสิ้นชีวิตลงดวยการประพฤติอยางน้ีแลว เทวดาเห็นความเพียรนั้นก็ประสิทธิ์พรให สมความปรารถนา สรปุ ช่อื แควนและชอื่ เมอื งหลวง ท่ี ชอ่ื แควน ชือ่ เมืองหลวง ที่ ชอื่ แควน ช่อื เมืองหลวง ๑ อังคะ จาํ ปา ๙ กรุ ุ อินทปตถะ ๒ มคธะ ราชคฤห ๑๐ ปญ จาละ กัมปล ละ ๓ กาสี พาราณสี ๑๑ มัจฉะ สาคละ ๔ โกศล สาวัตถี ๑๒ สรุ เสนะ มถุรา ๕ วชั ชี เวสาลี ๑๓ อัสสกะ โปตนะ หรือ โปตลิ ๖ มัลละ กสุ นิ ารา – ปาวา ๑๔ อวนั ตี อุชเชนี ๗ เจตี โสตถิวดี ๑๕ คันธาระ ตกั กสิลา ๘ วังสะ โกสมั พี ๑๖ กัมโพชะ ทวารกะ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 126

 1๑2๒7๕ วชิ า พทุ ธประวัติ นอกจากแควน ๑๖ แควน น้แี ลว ยงั มีแควน ปรากฏในคัมภีรต า งๆ อกี คือ ท่ี ชอ่ื แควน ช่ือเมืองหลวง ๑ สักกะ กบลิ พสั ดุ ๒ โกลิยะ เทวทหะ หรอื รามคาม ๓ ภัคคะ สงุ สุมารคีระ ๔ วิเทหะ มิถลิ า ๕ องั คตุ ราปะ เปน แตน คิ ม ชื่ออาปณะ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 127

๑1๒2๖8 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 บทที่ ๒ สักกชนบทและศากยวงศ สักกชนบท หรือ แควนสักกะ ตั้งอยูในชมพูทวีปตอนเหนือแหงประเทศหิมพานต ทไี่ ดชอ่ื วา สักกชนบท เพราะถือเอาภมู ิประเทศท่ีตั้งถิน่ ฐานเปน ชื่อ เนอ่ื งจากท่ีเดมิ นั้นเปนดงไม สักกะหรือสากะ (ไมใชดงไมสัก) มีตํานานเลาวา พระเจาโอกกากราชไดเสวยราชสมบัติในนคร ตําบลหน่ึง (ไมป รากฏชือ่ ) มีพระราชบตุ ร ๔ พระองค และพระราชธดิ า ๕ พระองค ทีป่ ระสตู ิจาก ครรภของพระมเหสีซงึ่ เปน พระราชภคินีของพระองค เม่ือพระมเหสีทิวงคต พระเจาโอกกากราช ไดพ ระมเหสพี ระองคใหม และไดประสูติพระโอรสอีกพระองคหนึ่ง พระเจาโอกกากราชมีความปติ ปราโมทยเปนอยางยิ่ง จึงพลั้งพระวาจาพระราชทานพรใหวาจะขออะไรก็จะประทานให พระมเหสีจึงทูลขอราชสมบัติใหแกพระราชโอรสของพระองค พระเจาโอกกากราชทรงหามเสีย พระนางเจากไ็ มฟ งยังขืน กราบทูลวงิ วอนอยูเปน หลายครั้งหลายคราว ครั้นพระเจาโอกกากราช จะไมพระราชทานพระราชสมบัติก็กลัวจะเสียสัตย จึงไดพระราชทานพระราชสมบัติใหแก พระโอรสนั้น และมีพระราชดํารัสสั่งใหพระราชบุตร ๔ พระองค พาพระเชษฐภคินีและ พระกนิษฐภคินี ๕ พระองค ไปสรางพระนครอยูใหม พระราชบุตรท้ัง ๔ พระองคน้ันก็กราบทูล ลาพระเจาโอกกากราชพาพระเชษฐภคินีและพระกนิษฐภคินีท้ัง ๕ พระองค ไปสรางพระนครอยู ในดงไมสักกะ ซึ่งเปนท่ีอยูของกบิลดาบส ในประเทศหิมพานต จึงขนานนามพระนครที่สรางใหม ใหสมกับเปนทีอ่ ยูของกบิลดาบสวา “กบลิ พสั ดุ” ภายหลัง กษตั ริยทงั้ ๔ พระองค เกรงจะเส่ือมเสียขัตติยวงศ จึงไดทรงอภิเษกสมรสกับ พระกนิษฐภคินีท้ัง ๔ พระองค ยกเวนพระเชษฐภคินีพระองคเดียว แลวก็พากันไป ครองบานเมืองสบื ศากยวงศมาเปน ลาํ ดบั ฝา ยพระเชษฐภคนิ นี ั้น ตอมา มีความปฏิพัทธ รักใคร กับพระเจากรุงเทวทหะ จึงไดอภิเษกสมรสกับพระเจากรุงเทวทหะ ตั้งเปนโกลิยวงศสืบมาเปน ลําดับเหมอื นกนั สกั กชนบท ตามตํานานมีเพยี ง ๓ พระนคร คอื ๑. พระนครเดิมของพระเจาโอกกากราช ๒. พระนครกบลิ พสั ดุข องพวกศากยวงศ ๓. พระนครเทวทหะของพวกโกลยิ วงศ 128

  1๑2๒9๗๑๑๒๒๗๗ ววชิ ชิาาพวพชิุทาุทธธปพปรุทะรธวะปัตวริัตะิวัติ ๑๒๗ ตามทสี่ ันนิษฐาน ศากยกมุ ารเหลานั้นไมนา จะสรางแตเพียงนครกบิลพัสดุเทานั้น คงจะ สรา งอีก ๓ พระนคร เพราะตา งคตู า งอยูครองนครหนึ่ง แตในตํานานกลาวแคบเกินไป โดยนัยน้ี นา จะมีถึง ๖ พระนคร แตไ มป รากฏในตาํ นาน วิธีการปกครอง การปกครองของพระนครเหลานี้ไดกลาวไวชัด แตตามสันนิษฐานโดยประเพณีแลว ปกครองโดยสามัคคีธรรมเหมือนธรรมเนียมที่ใชในแควนวัชชีและแควนมัลละ ในแควนวัชชี มีเจาวงศห นึง่ เรียกวา “ลจิ ฉวี” เปน ผปู กครอง ในแควนมลั ละกม็ เี จาวงศหน่ึง เรียกวา “มัลละ” เปนผูปกครอง แตวาเจาท้ังสองวงศนั้นไมไดเรียกเจาวงศใดวงศหนึ่งวา “ราชา” เลย คงเรียกวา ลลจิ จิ ฉฉววี ีแแลละะเรเรียยี กกววาามมัลัลละะเสเมสอมกอันกันแตแถตาถมาีเหมตีเหุอตยุอางยหานงห่ึงอนยึ่งาองยใดาเงกใดิ เขก้ึนิดเขชึ้นนเมชีกนารมสีกงาครรสางมคเรปานม ตเปน นเตจนาทเั้งจสา อทงัง้ วสงอศงน วั้นงศกนป็ ้นัระกช็ปุมรปะชรกึมุ ษปารึกชษวายกชนัวยจัดกทนั าํจตัดาทมาํ สตมาคมวสรมแคกวเรหแตกทุ เหเี่ กติดุทขเี่ น้ึกดิ ขนึ้ ศากยวงศ เหตทุ ่ีไดนามวาศากยะนั้น สันนิษฐานวานาจะไดช่ือตามชนบท แตในอรรถกถาอธิบาย วา เพราะความสามารถแหงราชโอรสทั้ง ๔ พระองค ของพระเจาโอกกากราช ท่ีมาสราง พระนครอยูใหมในพระนครน้ัน ทําการปกครองโดยความรุงเรืองเปนอันดี พระเจาโอกกากราช ผูเปนพระราชบิดาจึงออกพระโอษฐชมวา เปนผูมีความสามารถ (สักกา หรือ ศากฺย ในภาษา สนั สกฤต) สรุปท่ไี ดน ามวา “ศากยวงศ” เพราะเหตุ ๓ ประการ คือ ๑. เพราะกษัตรยิ วงศนีต้ ั้งอยูในสักกชนบท ๒. เพราะกษตั รยิ ว งศน ี้สมสูก ันเองระหวางพน่ี อ ง (อภิเษกสมรส) ที่เรยี กวา “สกสงั วาส” ๓. เพราะกษัตริยวงศนี้ถือเอาพระราชดํารัสของพระเจาโอกกากราชที่ออกพระโอษฐ ชมวา “สักกา” แปลวา เปน ผูอ าจหาญ มีความสามารถ พระโคตร (ตระกูลหรือสกุล) ของพวกศากยะน้ัน มีโคตรเรียกวา “โคดม” แต ในปพพัชชาสูตร มหาวรรค สุตตนิบาต ขุททกนิกาย พระบาลีสุตตันตปฎก (พระไตรปฎก เลมที่ ๒๕) วาเปน “อาทิตตโคตร” ซึ่งแปลวา เปนเช้ือสายของพระอาทิตย โดยนําเนื้อหา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 129

1๑๒3๘0 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ของประวัติพระพุทธองค ตอนท่ี พระมหาบุรุษเสด็จออกบรรพชา ตรัสตอบแกพระเจาพิมพิสาร วา ออกจากสกุลของพวกท่ีมี ช่ือวาศากยะโดยชาติ ช่ือวาอาทิตยโดยโคตร ท้ัง ๒ ช่ือนี้ จึงสนั นษิ ฐานวาคงเปน อนั เดียวกนั สกุลของพระศาสดานั้น ครองนครกบิลพัสดุสืบมาแตคร้ังพระราชโอรสของ พระเจาโอกกากราชเปนเช้ือสายมาโดยลําดับจนถึงพระเจาชยเสนะ พระเจาชยเสนะทรงมีพระราชบุตร และพระราชธิดา ๒ พระองค คือ พระเจาสีหหนุกุมารและพระนางยโสธรา เม่ือพระเจาชยเสนะ ทิวงคตแลว สีหหนุกุมารไดเสวยราชสมบัติสืบพระราชวงศ ตอมาพระเจาสีหหนุได พระนางกัญจนา ผูเปนพระกนิษฐภคินีของพระเจาอัญชนะผูครองกรุงเทวทหะมาเปนพระมเหสี มีพระราชบุตรและพระราชธิดา ๗ พระองค เปนพระราชบุตร ๕ พระองค คือ พระเจาสุทโธทนะ พระเจาสุกโกทนะ พระเจาอมิโตทนะ พระเจาโธโตทนะ และพระเจาฆนิโตทนะ เปนพระราชธิดา ๒ พระองค คือ พระนางปมิตา และพระนางอมิตา สวนพระนางยโสธราผูเปนกนิษฐภคินีของพระเจาสีหหนุน้ัน ไดเปนพระมเหสีของ พระเจาอัญชนะในกรุงเทวทหะ มีพระราชบุตรและพระราชธิดา ๔ พระองค เปนพระราชบุตร ๒ พระองค คือ พระเจาสุปปพุทธะ และพระเจาทัณฑปาณิ เปนพระราชธิดา ๒ พระองค คือ พระนางมายา และพระนางประชาบดี หรอื พระนางโคตมี สวนสุทโธทนะราชกุมารของพระเจาสีหหนุในกรุงกบิลพัสดุ ก็ไดพระนางมายาผูเปน พระราชธิดาของพระเจาอัญชนะในกรุงเทวทหะเปนพระมเหสี ครั้นพระเจาสีหหนุทิวงคตแลว พระเจาสุทโธทนะก็ไดเสวยราชสมบัติสืบตอมา เม่ือพระนางมายาทิวงคตแลว พระเจาสุทโธทนะ ก็ไดพระนางประชาบดี หรอื พระนางโคตมีผูเปนพระราชธิดาของพระเจาอัญชนะในกรุงเทวทหะ เปน พระมเหสี (นองสาวพระนางมายา) ศากยวงศกับโกลิยวงศ ทั้ง ๒ จึงเกี่ยวเนื่องกัน ดวยการทํา อาวาหมงคลและวิวาหมงคลซ่ึงกันและกัน โดยปราศจากความรังเกียจต้ังตนแตพระเชษฐภคินี ของพระราชกุมารท่ีเปนพระราชโอรสของพระเจาโอกกากราช ซ่ึงไดเปนพระมเหสี ของ พระเจากรงุ เทวทหนะน้ัน จนถงึ พระสทิ ธตั ถราชกุมารของพระเจาสุทโธทนะก็ไดอภิเษกสมรสกับ พระนางยโสธราหรอื พมิ พา ทเ่ี ปนฝา ยโกลยิ วงศใ นกรุงเทวทหะอีกเปนลําดับ 130

 1๑3๒1๙ วชิ า พุทธประวตั ิ บทท่ี ๓ พระศาสดาประสตู ิ นบั ตงั้ แตพ ระเจาสุทโธทนะกับพระนางเจา มายา ไดเสวยสริ ริ าชสมบตั ิโดยสุขสบายตลอดมา พระโพธิสัตวก็ไดจุติจาก ดุสิตเทวโลก มาปฏิสนธิในพระครรภ เมื่อเวลาใกลรุงคืนวันเพ็ญแหง อาสาฬหบูชา (วันพฤหัสบดี ขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๘ ประกา) กอนพุทธศก ๘๑ ป เกิดแผนดินไหว ในคืนน้ัน พระนางเจามายาทรงสุบินวา มีพญาชางเผือกชูดอกบัวขาว ทําประทักษิณเวียน พระแทนที่บรรทม ๓ รอบ แลว ปรากฏเสมือนเขา ไปสพู ระอุทร ทางเบื้องขวาของพระนาง คร้ันเวลารุงเชา พระนางเจามายาจึงกราบทูลเรื่องสุบินนิมิตแกพระราชสวามี พระเจาสุทโธทนะ จึงรับส่ังใหพราหมณโหราจารยมาเขาเฝาเพื่อทูลพยากรณ พวกพราหมณาจารยท้ังหลายก็ทูล พยากรณวา พระสุบินนิมิตของพระราชเทวีเปนมงคลนิมิตปรากฏ พระองคจะไดพระราชปโยรส เปนอัครมหาบุรุษมีบุญญาธิการย่ิง เม่ือ พระครรภถวนทศมาสจวนจะประสูติ พระนางเจามายา ปรารถนาจะเสด็จไปประพาสลุมพินีวัน อันเปนสถานที่ตั้งอยูในระหวางทางแหงกรุงกบิลพัสดุ และ กรุงเทวทหะตอกัน จึงทูลลาพระราชสวามี พระเจาสุทโธทนะก็ทรงอนุโลมใหสมประสงค โดยมิได ขดั พระอัธยาศยั ครั้นถึงมงคลสมัยวิสาขมาส วันเพ็ญเดือน ๖ (วันศุกรขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๖ ปจอ) กอน พทุ ธศก ๘๐ ป ในเวลาเชา พระนางเจา สริ มิ หามายาก็เสดจ็ โดยทางสถลมารคถึงปาลมุ พินี ในขณะน้ัน พระนางเจาก็ประชวรพระครรภจะประสูติ อํามาตยจึงจัดที่ประสูติถวายท่ีรมสาลพฤกษ พระศาสดาไดประสูติจากพระครรภพระมารดาในท่ีนั้น ฝายพระเจาสุทโธทนะทรงทราบขาว จงึ ตรัสส่ังใหเ สด็จคนื สพู ระราชนเิ วศน ในวันที่พระราชกุมารประสูตินี้ มีสิ่งบังเกิดรวมวันกับพระราชกุมาร เรียกวา สหชาติมี ๗ คอื ๑. พระนางยโสธรา พระชายา ๒. พระอานนท พทุ ธอปุ ฐาก ๓. ฉนั นอาํ มาตย ๔. กาฬุทายีอาํ มาตย ๕. มากณั ฐกอัศวราช มา พระท่นี ั่งประจาํ พระองค ๖. ตน พระศรมี หาโพธ์ทิ ป่ี ระทับน่ังตรสั รู ๗. ขุมทรัพยทงั้ ๔ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 131

๑1๓3๐2 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 เหตุท่ปี ระสูตทิ ีล่ มุ พนิ ี การท่ีพระนางเจามายา ตองมาประสูติพระมหาบุรุษที่ปาลุมพินี มีขอสันนิษฐานเปน ๒ อยาง คอื ๑. เพราะพระนางเจาปรารถนาจะเสด็จพระราชอุทยานลุมพินี คร้ันไปถึงแลวเกิด ประชวรพระครรภ เสด็จกลับไมท ัน จึงประสูตพิ ระราชโอรส ๒. พระคันถรจนาจารย (พระอาจารยผูแตงคัมภีร) ไดกลาวถึงเหตุที่พระนางเจา ตองประสตู ิพระราชโอรสท่ีพระราชอุทยานลุมพินีวันน้ันวา พระนางมีพระประสงคจะเสด็จเยี่ยม สกุลของพระองคในกรุงเทวทหะ ครั้นเสด็จถึงที่น่ัน เกิดประชวรพระครรภจึงประสูติพระราชโอรส ซ่ึงอันน้ีเทียบไดกับธรรมเนียมพราหมณ เม่ือภรรยามีครรภแลว หาไดคลอดที่เรือนของสามีไม ตอ งกลบั ไปคลอดทเ่ี รือนแหง สกลุ ของตน อภินหิ ารของพระมหาบรุ ษุ เปนธรรมดาอยูเองทท่ี านผเู ปนพระมหาบุรษุ ซงึ่ อบุ ตั ิข้ึนมาเพ่ือเปนประโยชนแกโลก จะตอง มีอภินหิ ารตา ง ๆ ฉะนั้น พระคนั ถรจนาจารยจ ึงกลาวอภนิ หิ ารของพระมหาบรุ ุษไว ดังน้ี ๑. ตง้ั แตครัง้ อยใู นสวรรคช ั้นดุสติ เทวดาไดอ าราธนาใหเสดจ็ ลงมาสูมนษุ ยโลก เพื่อจะ ไดนําเวไนยสตั วใหพน จากโอฆสงสาร ๒. เมื่อเสด็จลงสพู ระครรภนั้น ปรากฏแกพระมารดาในสุบินนิมติ เห็นพระยาชา งเผอื ก ๓. เมื่อเสด็จอยใู นพระครรภน น้ั บรสิ ุทธิส์ ะอาดปราศจากมลทินเครื่องแปดเปอ น ๔. เมื่ออยูในพระครรภน้ัน ไมคุดคูเหมือนทารกอ่ืน น่ังขัดสมาธิเปนอยางดี ทําให พระมารดาทอดพระเนตรไดถนดั ๕. เวลาประสูติ พระมารดาประทับยืน หาไดน่ังเหมือนกับสตรีอื่นไม และตัว ของพระองคไมเ ปรอะเปอ นดว ยครรภม ลทิน ๖. เมื่อเวลาประสูติ มีเทวดาคอยรักษา มีธารน้ํารอนนํ้าเย็นตกลงมาจากอากาศ มาสนานพระองค ๗. พอประสูติแลวทรงดําเนินไปได ๗ กาว แลวเปลงพระวาจาเปนบุรพนิมิต แหงโพธิญาณ ซ่ึงเรียกวา อาสภิวาจา ความวา “เราเปนยอด เปนผูเจริญท่ีสุด เปนผู ประเสริฐท่ีสุดแหงโลก การเกิดของเราครั้งนี้เปนคร้ังสุดทาย ภพใหมไมมีอีกแลว” และ 132

 1๑3๓3๑ วชิ า พทุ ธประวัติ พรรณนารปู กายสมบัติของพระองควา มีลักษณะตองตามมหาบุรุษลักษณะ ๓๒ ประการ ท่ีรจนาไว ในคัมภีรของพราหมณ ในตําราของพราหมณน้ัน มีคําทํานายวาบุรุษผูมีลักษณะถูกตองดวย มหาบรุ ุษ ลักษณะ ๓๒ ประการ มคี ติเปน ๒ ประการ คอื ๑. ถาอยูครองฆราวาส จักไดเปนพระเจาจักรพรรดิมีมหาสมุทร ท้ัง ๔ เปน ขอบเขต ๒. ถาออกบรรพชา จกั ไดต รัสรพู ระสัมมาสมั โพธญิ าณเปนศาสดาเอกของโลก อสติ ดาบสเขา เฝา เมอ่ื พระราชกมุ ารประสตู ิแลว ได ๓ วนั อสติ ดาบส (หรอื กาฬเทวลิ ดาบส) ซง่ึ อาศัยอยู ขางภูเขาหิมพานต เปนผูท่ีคุนเคยและเปนที่นับถือของราชสกุล พอไดทราบขาววา พระราชโอรส ของพระเจาสุทโธทนะประสูติใหม จึงเขาไปเยี่ยมพระเจาสุทโธทนะทรงปฏิสันถารเปนอยางดี ตรัสเชื้อเชญิ ใหเ ขาไปขางในอุมพระราชโอรสออกมาเพ่ือจะไดนมัสการพระดาบส ฝายพระดาบส เห็นพระราชโอรสมีลักษณะตองตามมหาบุรุษลักษณพยากรณศาสตร ซ่ึงมีคําทํานายไวโดย คติ ๒ อยางดังกลาวแลว ก็เกิดความเคารพนับถือในพระโอรสน้ันยิ่งขึ้น จึงลุกขึ้นถวายอภิวาทที่ พระบาทพระราชกุมารดวยเศียรเกลาของตน แลวไดทํานายพระลักษณะของพระราชกุมารนั้นไว ตามตํารามหาบุรุษลักษณพยากรณ กอนถวายพระพรลากลับไปท่ีอยูของตน ฝายพระเจาสุทโธทนะ พรอ มดวยบรรดาราชสกลุ เม่ือไดเ ห็นพระดาบสซึ่งเปนที่เคารพนับถือของตนกราบลงที่พระบาท ของพระราชกุมารนั้น ก็แสดงอาการนับถือดวยการยกพระหัตถถวายอภิวันทนาการนับเปน คร้ังที่ ๑ ทงั้ ไดฟ งพยากรณด ว ย กเ็ กิดความเล่ือมใสในพระราชกุมารนั้นมากขึ้น บรรดาราชสกุล ทั้งหลายจึงยอมถวายพระราชโอรสของตน เพ่ือจะใหเปนบริวารของ พระราชกุมารนั้นตอไป ฝายพระเจาสุทโธทนะผูเปนพระราชบิดาก็ไดพระราชทานพ่ีเล้ียงนางนมมาคอยระวังรักษาเปน นิตยกาล ขนานพระนาม เม่ือพระราชกุมารประสูติแลวได ๕ วัน พระเจาสุทโธทนะโปรดใหประชุมพระญาติและมุข อํามาตยราชบริพาร เพ่ือประกอบพระราชพิธีถวายพระนามพระราชโอรส ตามขัตติยราชประเพณี และไดเชิญพราหมณาจารย ๑๐๘ คน มาฉันโภชนาหารภายในพระราชนิเวศน ใหพราหมณ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 133

๑1๓3๒4 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 เหลา น้นั เลอื กสรรผูเ ช่ียวชาญ ในไตรเพทเพยี ง ๘ คน ใหน่ังเหนืออาสนะสูง แลวใหเชิญพระราช โอรสไปยังท่ีประชมุ พราหมณเ พ่ือพิจารณาพระลกั ษณะ พราหมณ ๘ คนที่ไดรับการยกยองจากพราหมณทั้งหลายในคร้ังนั้น คือ (๑) รามพราหมณ (๒) ลักษณพราหมณ (๓) ยัญญพราหมณ (๔) ธุชพราหมณ (๕) โภชพราหมณ (๖) สุทัตต- พราหมณ (๗) สุยามพราหมณ (๘) โกณฑัญญพราหมณ พราหมณ ๗ คนแรก เห็นพระลักษณะพระราชกุมารบริบูรณแลว จึงยกน้ิวมือข้ึน ๒ น้ิว ทํานายวา พระราชกุมารน้ีมีคติเปน ๒ คือ ถาอยูครองฆราวาสจักไดเปนพระเจาจักรพรรดิ ถา ออกบรรพชาจักไดตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา แตโกณฑัญญพราหมณ ซึ่งมีอายุนอยกวา พราหมณท้งั ๗ คนนั้น ไดยกน้ิวมือเพียงนิ้วเดียว ยืนยันพยากรณเปนแมนม่ันวา พระราชกุมาร ผูบริบูรณ ดวยพระมหาบุรุษลักษณะเชนนี้มีคติเปนหนึ่ง คือจะตองเสด็จออกบรรพชาและ ตรัสรูเปน พระสัมมาสัมพทุ ธเจา แนนอน จะอยคู รองฆราวาสวสิ ยั หาเปน ไปไมได ครัน้ ทํามงคลลักษณะแลว จึงไดขนานพระนามวา “สิทธัตถะ” แปลวา ผูมีความตองการ สําเร็จ หรือ ผูสําเร็จประโยชนตามตองการ แตมหาชนนิยมเรียกตามพระโคตรวา “พระโคตมะ หรือโคดม” (ในคัมภีรอรรถกถากลาววา พระเจาสุทโธทนะทรงตั้งช่ือของพระราชกุมาร ๒ ช่ือ คือ สิทธัตถะ ช่ือหน่ึง และอีกชื่อหน่ึงคือ อังคีรส เสนอใหพราหมณท้ัง ๑๐๘ คน เลือกขนาน พระนาม ในที่สุดพราหมณเหลานั้นตกลงขนานพระนามพระราชกุมารวา “สิทธัตถะ” และเปน พระนามท่ีทราบกันโดยทั่วไป แตพระนาม อังคีรส ก็มีปรากฏใชแทนพระองคในพระไตรปฎก บางแหง) พระมารดาทิวงคต สว นพระนางเจาสริ ิมหามายา เมื่อประสูตพิ ระราชโอรสแลวได ๗ วัน ก็เสด็จทิวงคต ไปอุบัติเปนเทวดาในดุสิตเทวโลกตามประเพณีพระพุทธมารดา เพ่ือไมใหสัตวอ่ืนมารวม พระครรภ พระเจาสุทโธทนะจึงมอบภาระการบํารุงรักษาพระสิทธัตถกุมารใหเปนภาระแก พระนางประชาบดโี คตมี พระมาตจุ ฉา ซ่ึงตอมา พระเจาสุทโธทนะทรงยกข้ึนเปนพระมเหสีของ พระองค แมตอมา พระนางเจาจะมีพระราชบุตรองคหนึ่ง คือ พระนันทกุมาร และพระราชบุตรี องคหนึ่ง คือ พระนางรูปนันทา ถึงกระน้ัน พระนางก็มิไดทรงทํานุบํารุงใหย่ิงไปกวาพระสิทธัตถะ กมุ ารเลย 134

 1๑3๓5๓ วชิ า พุทธประวัติ ไดปฐมฌานในวนั แรกนาขวญั ตอมาวันหนึ่ง เปนวันพระราชพิธีวัปปมงคลแรกนาขวัญ พระเจาสุทโธทนะเสด็จไป ในพระราชพิธีแรกนาขวัญ โปรดใหเชิญพระราชกุมารไปดวย และใหจัดที่ประทับสําหรับพระราช กุมารภายใตรมไมหวา (ชมพูพฤกษ) คร้ันถึงเวลาพระเจาสุทโธทนะทรงแรกนา บรรดาพระพี่เล้ียง พากันหลีกหนีมาดูพิธีกันหมด คงปลอยใหพระราชกุมารประทับ ณ ภายใตรมไมหวาตามลําพัง พระองคเดียว เมื่อพระราชกุมารประทับอยูตามลําพัง มีความสงัด ก็ทรงนั่งขัดสมาธิเจริญอานาปาน- สติกัมมัฏฐานยังปฐมฌานใหเกิดข้ึน ขณะน้ันเปนเวลาบาย เงาตนไมท้ังหลายยอมเคลื่อนไป ตามแสงตะวนั แตเงาตน ชมพูพฤกษกลับตรงอยูดุจในเวลาเที่ยง มิไดเอนเอียงไปตามแสงตะวัน ปรากฏเปนอัศจรรยอยางยิ่ง พวกพี่เลี้ยงกลับมาเห็นตางพิศวง และนํากราบทูลพระราชบิดา พระเจาสุทโธทนะรีบเสด็จกลับมาโดยเร็ว คร้ันไดทอดพระเนตรเห็นปาฏิหาริยเชนน้ัน กย็ กพระหตั ถถวายอภวิ ันทนาการ ซงึ่ นับเปน คร้งั ท่ี ๒ ตอจากคร้งั เมอ่ื อสิตดาบสเขา เฝา ศกึ ษาศิลปวทิ ยา เมื่อพระสิทธัตถราชกุมารทรงเจริญวัย มีพระชนมายุได ๗ พรรษา พระราชบิดา โปรดใหขุดสระโบกขรณี ๓ สระ คอื ๑. สระปลูกปทมุ บวั ทอง ๒. สระปลกู ปณุ ฑริกบัวขาว ๓. สระปลกู อบุ ลบัวขาบ ครั้นเม่ือพระราชกุมารเจริญพระชนมควรท่ีจะศึกษาศิลปวิทยาได พระราชบิดาจึงทรง มอบไวในสํานัก ครูวิศวามิตร พระราชกุมารทรงเรียนไดวองไวจนส้ินความรูของพระอาจารย ตอ มา ไดแ สดงศิลปธนใู หปรากฏในหมพู ระญาติ แสดงความแกลว กลาสามารถเปน เย่ยี ม อภเิ ษกสมรส เม่ือพระราชกุมารทรงเจริญวัย มีพระชนมายุได ๑๖ พรรษา ควรมีพระเทวีไดแลว เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 135

๑1๓3๔6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 พระราชบิดาตรัสสั่งใหสรางปราสาท ๓ หลัง เพ่ือเปนที่ประทับของพระราชโอรสใน ๓ ฤดู คือ ฤดหู นาว ฤดรู อ น และฤดฝู น ตกแตงปราสาท ๓ หลังนนั้ อยางงดงามสมพระเกียรติเปนที่สบายใน ฤดูนั้น ๆ แลว ทรงขอพระนางยโสธราหรือพิมพา พระราชบุตรีของ พระเจาสุปปพุทธะ ในเทวทหนคร ซ่ึงประสูติแตพระนางอมิตาพระกนิษฐภคินีของพระองค มาอภิเษกเปน พระชายา พระสิทธัตถราชกุมารเสด็จอยูบนปราสาททั้ง ๓ น้ัน ตามฤดูทั้ง ๓ บําเรอดวยดนตรี ลวนสตรีประโคม ไมมีบุรุษเจือปน เสวยสุขสมบัติท้ังกลางวันกลางคืน จนมีพระชนมายุ ๒๙ พรรษา มพี ระโอรสที่ประสูติแตพ ระนางยโสธราพระองคหน่ึง ทรงพระนามวา ราหุลกมุ าร พระประยูรญาติ พ ร ะ สิ ท ธั ต ถ ร า ช กุ ม า ร ท ร ง เ ส ว ย สุ ข ส ม บั ติ ต้ั ง แ ต ท ร ง พ ร ะ เ ย า ว ต ล อ ด จ น ถึ ง มีพระชนมายุ ๒๙ พรรษา เพราะพระองคเปนพระกุมารผูสุขุมาลชาติ ทั้งพระประยูรญาติ ก็ได สดบั คําทํานายของอสติ ดาบสวามีคติเปน ๒ ฉะน้ัน พระประยูรญาติท้ังหลายจึงมีความหวังท่ีจะ ใหท รงครองฆราวาสสมบตั มิ ากกวาการเสดจ็ ออกบรรพชา จึงตอ งคดิ ผกู ดวยกามสุขตาง ๆ พระญาติวงศของพระเจา สทุ โธทนะมพี ระราชบุตรและราชบตุ รี ดงั น้ี ๑. พระเจาสุกโกทนะ มพี ระราชบตุ รองคห น่งึ ทรงพระนามวา “อานนท” ๒. พระเจาอมิโตทนะ มีพระราชบุตร ๒ พระองค ทรงพระนามวา “มหานามะ” และ “อนรุ ุทธะ” มพี ระราชบุตรี ๑ พระองค ทรงพระนามวา “โรหิณี” ๓. พระนางเจา อมติ า อภิเษกสมรสกับพระเจาสุปปพุทธะ มีพระราชบุตร ๑ พระองค ทรงพระนามวา “เทวทัต” มพี ระราชบุตรี ๑ พระองค ทรงพระนามวา “ยโสธรา” หรือ “พิมพา” ซ่ึง เปนพระชายาของพระสทิ ธตั ถราชกมุ าร (นอกจากนี้ไมปรากฏ) 136

 1๑3๓7๕ วชิ า พทุ ธประวัติ บทที่ ๔ เสดจ็ ออกบรรพชา พระสทิ ธัตถราชกุมารเสวยสขุ สมบตั ิอยใู นฆราวาสสมบัติจนพระชนมายุได ๒๙ พรรษา ต้ังแตนั้นมาก็เสด็จออกบรรพชา ประพฤติพระองคเปนบรรพชิต แสวงหาสัมมาสัมโพธิญาณ สมตามคาํ ทาํ นายแหงมหาบรุ ุษลักษณะพยากรณ มูลเหตุทท่ี าํ ใหพ ระสิทธัตถราชกุมารเสดจ็ ออกบรรพชานั้น พระคันถรจนาจารยกลาวไว ๒ นัย ดงั น้ี ๑. กลาวตามนัยมหาปทานสูตร แหงพระบาลีสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค (พระไตรปฎกเลม ท่ี ๑๐) วา ไดทรงทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ๔ คือ คนแก คนเจ็บ คนตาย และสมณะ อนั เทวดาสรางนิมิตไวในระหวางทาง เม่ือคราวเสด็จประพาสพระอุทยานถึง ๔ วาระ โดยลําดับกัน เมื่อไดทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ๓ ขางตน คือ คนแก คนเจ็บ และคน ตาย ก็ทรงสังเวชสลดในพระหฤทัย เพราะเปนส่ิงที่พระองคไมเคยพบเห็นมาแตกอน คร้ันได ทอดพระเนตรเหน็ สมณะเขา กท็ รงคิดพอพระทัยในการบรรพชา ๒. กลาวตามนัยปาสราสิสูตร แหงพระบาลีสุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก (พระไตรปฎกเลมท่ี ๑๒) วา ทรงปรารภความแก ความเจ็บ ความตาย อันครอบงํามหาชน อยูทุกคนไมลวงพนไปได เพราะโทษที่ไมไดรับคําสั่งสอนของนักปราชญ และทรงระลึก ถึงพระองควาจะตองเปนไปอยางนั้น จึงควรที่จะแสวงหาเครื่องพนจากความแก ความ เจ็บ และความตาย ท้ัง ๓ นี้เสีย ครั้นแลวทรงดําริตอไปวา สภาวะท้ังปวงยอมมีของท่ีเปน ขา ศึกแกกัน เชน มรี อนแลว ก็มเี ยน็ แก มีมดื แลวตอ งมสี วางแก บางทอี าจจะมอี ุบายแกท กุ ขท ั้ง ๓ ไดบาง การที่จะแสวงหาอุบายเคร่ืองแกทุกขท้ัง ๓ นั้นเปนของยากย่ิง ซํ้ายังอยูในฆราวาสวิสัย อันเปนที่คบั แคบและเปน ที่ตง้ั แหงอารมณอ นั ทําใจใหเศราหมองดุจเปน ที่มาแหง ธลุ ี บรรพชาเปน ชองวางพอท่ีจะแสวงหา อุบายเปนเคร่ืองแกทุกขน้ันได เม่ือทรงปรารภดังนี้แลว ก็ทรงมี พระอัธยาศยั นอ มไปในบรรพชา อยางไรก็ตาม ความเห็นของพระอาจารยทั้ง ๒ นัยน้ัน ก็ลงรอยเปนอันเดียวกันวา พระมหาบุรุษทรงเสด็จออกบรรพชา เพราะปรารภถึงความเกิด ความแก และความตาย และเสดจ็ ออกบรรพชาจากศากยสกลุ เมือ่ พระชนมายุ ๒๙ พรรษา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 137

๑1๓3๖8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 เวลาเสด็จออกบรรพชาของพระมหาบุรษุ ตามทที่ านแสดงไว มี ๓ นัย ดังน้ี ๑. พระมัชฌิมภาณกาจารย (พระอาจารยผูสังคายนาพระบาลีมัชฌิมนิกาย) แสดงวา ในเวลาทพ่ี ระองคย ังหนมุ มีพระเกศาดําสนิทดอี ยู เสดจ็ ออกซึง่ พระพักตรข องพระมารดา (พระนางปชาบดี) และพระบิดาซ่ึงทรงรักใครมาก ไมปรารถนาจะใหเสด็จออกบรรพชา มีพระพักตรอันอาบดวย นํา้ พระเนตร ทรงโศกเศรา กนั แสงอยู พระองคท รงปลงพระเกศาอันดําสนิทและพระมัสสุ (หนวดเครา) น้ันเสีย แลว ทรงครองผากาสาวะอธษิ ฐานเพศเปน บรรพชิตในท่ีนนั้ ๒. พระอรรถกถาจารยแสดงวา เสด็จหนีออกในเวลากลางคืน ทรงมากัณฐกะมีนายฉันนะ ตามเสดจ็ ครัน้ ถงึ ฝงแมน ้าํ อโนมา ตรัสสั่งนายฉันนะใหนํามากลับ สวนพระองคทรงตัดพระเมาลี ดว ยพระขรรค อธิษฐานเพศบรรพชติ ในทีน่ นั้ ๓. เสด็จออกสรงนํ้าศักด์ิสิทธ์ิชลาลัย ตามความนิยมของผูปรารถนาจักรพรรดิราช แลวไมเสด็จกลับคืนครอบครองราชสมบตั ิอกี ทรงแสวงหาอบุ ายเครื่องแกท ุกข ๓ อยา ง พระเมาลีของพระองคตามท่ที า นแสดงไวมี ๒ นัย ดงั น้ี ๑. พระมัชฌิมภาณกาจารยแสดงวา ทรงปลงพระเกศาและพระมัสสุเสียท้ังส้ิน แปลวา โกนเสีย ความในขอนตี้ รงกบั เรือ่ งที่พระนนั ทพุทธอนชุ าซึง่ มีรูปรางคลา ยพระพทุ ธองค เดินมา ภิกษุ ทั้งหลายเห็นเขานึกวาเปนพระบรมศาสดาจึงลุกข้ึนยืนรับ แตคร้ันเขามาใกลจึงรูวาเปน พระนนั ทพุทธอนุชา ๒. พระอรรถกถาจารยแสดงวา ทรงตัดดวยพระขรรคในคราวเดียวเทาน้ัน พระเกศาเหลือ ยาวประมาณ ๒ องคุลี แลวทรงมวนกลมเปนทักษิณาวัฏ ต้ังอยูเทาน้ันไมยาวขึ้นอีก ตราบเทา เขา สูวาระเสดจ็ ดับขนั ธปรนิ พิ พาน ความในขอนี้ตรงกับพระพุทธรูปโบราณ มีพระเกตุมาลาเปน ตัวอยาง ซงึ่ มีพระเกศาสงู ดูเปน ท่ีเกลา พระเมาลี ผากาสายะหรอื กาสาวะ คือ ผา ท่ียอ มดว ยรสฝาดอันเกิดแตเปลือกไม สีเหลืองหมนเปน ของบรรพชติ พวกอื่นใชเหมือนกัน เดิมมีเพียง ๒ ผืน คือ (๑) ผาอุตตราสงค คือ ผาหมหรือจีวร (๒) ผาอนั ตรวาสก คือ ผา นุงหรอื สบง ตอ มาทรงอนุญาตใหใชผาทาบ ซึ่งเรียกวาสังฆาฏิ เขาอีก ผืนหนึ่ง เปน ๓ ผืนดวยกัน เรียกวา “ไตรจีวร” เมื่อคราวเสด็จออกบรรพชานั้น ตามคําของ พระอรรถกถาจารยกลา ววา ฆฏกิ ารพรหมนาํ มาถวายพรอมกับบาตร 138

 1๑3๓9๗ วชิ า พทุ ธประวัติ ปญ จวคั คียออกบวช ฝายโกณฑัญญพราหมณผูเปนหนึ่งในพราหมณ ๘ คน ที่รวมคณะถวายคําทํานาย พระลักษณะของพระมหาบุรุษ ซึ่งยังมีชีวิตอยูเพียงคนเดียว ไดทราบขาววา พระมหาบุรุษ เสด็จออกบรรพชาแลว ก็ดีใจ เพราะตรงกับคําทํานายของตน จึงรีบไปหาบุตรของเพื่อน พราหมณ ท้ัง ๗ คน ชักชวนใหออกบวชดวยกัน แตบุตรพราหมณทั้ง ๗ คน หาไดพรอมใจกัน ท้ังหมดไม ยินดีออกบวชเพียง ๔ คน คือ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ รวมโกณฑัญญะดว ย เปน ๕ คน จึงไดนามวา “ปญจวัคคีย” แปลวา พวก ๕ เพราะมีจํานวน ๕ คน ชวนกนั ออกสืบหาตามพระมหาบรุ ุษ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 139

1๑๓4๘0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 บทท่ี ๕ ตรสั รู นับตั้งแตพระมหาบุรุษเสด็จออกบรรพชาแลว ก็เสด็จพักแรมอยูท่ีอนุปยอัมพวัน แขวงมัลลชนบท สิ้นเวลา ๗ วัน แลวจึงเสด็จจาริกไปจนเขาเขตมคธชนบท ในปพพัชชาสูตร และ ในอรรถกถากลาววา ไดเสด็จผานมัณฑวบรรพต กรุงราชคฤห และในที่นั้นเอง พระเจาพิมพิสารได เสด็จมาเขาเฝา ตรัสถามถึงชาติสกุล และตรัสชักชวนใหอยูกับพระองคจะพระราชทาน พระราชอิสรยิ ยศให แตพระมหาบุรุษไมทรงรับ ทรงแสดงความประสงคว า จะแสวงหาสัมมาสัมโพธิญาณ พระเจาพมิ พิสารทรงอนุโมทนาแลว ตรัสขอปฏิญญาวา ถา ตรัสรูแลวขอใหเสด็จมาโปรดพระองคบาง พระมหาบุรษุ กท็ รงรบั ปฏิญญา ทรงศึกษาลัทธิของสองดาบส พระมหาบุรุษเม่ือเสด็จออกจากมัณฑวบรรพตแลว ก็เสด็จไปสูสํานักอาจารยท้ัง ๒ ซ่ึงมหาชนนับถือวาเปนสํานักของคณาจารยผูใหญ คือ สํานักอาฬารดาบส กาลามโคตร ทรงศึกษาอยูไมนาน ก็ไดสําเร็จสมาบัติ ๗ คือ รูปฌาน ๔ กับอรูปฌาน ๓ ก็ส้ินความรู อาฬารดาบส ทรงเห็นวาสมาบัติ ๗ ไมใชทางตรัสรู จึงลาขอไปพํานักศึกษาอยูในสํานัก อุททกดาบสรามบุตร (บางแหงใชคําวา อุทกดาบส) ไดสําเร็จอรูปฌานท่ี ๔ ครบสมาบัติ ๘ ก็สิ้น ความรูของอุททกดาบส คร้ันทรงไตถามถึงธรรมวิเศษขึ้นไป อาจารยอุททกดาบสก็ไมสามารถจะ บอกไดพระมหาบรุ ษุ ทรงเห็นวา ธรรมเหลานไ้ี มใชทางตรัสรู จึงเสด็จอําลาออกจากสํานักอุททกดาบส จาริกไปในเขตมคธชนบทถึงตําบลอุรุเวลาเสนานิคม ไดทอดพระเนตรเห็นพื้นที่ราบร่ืน แนวปาเขียวสด เปนที่เบิกบานใจแมน้ําไหลผาน มีน้ําใสสะอาด มีทาน้ําร่ืนรมย โคจรคาม คือหมูบาน ที่อาศัยเที่ยว ภิกขาจารก็ต้ังอยูใกลไมหางไกลโดยรอบ ทรงดําริเห็นวา เปนสถานท่ีท่ีควรเปนที่อาศัยของกุลบุตร ผูต อ งการบาํ เพ็ญความเพียรได จงึ ประทบั อยู 140

 1๑4๓๙1 วชิ า พทุ ธประวตั ิ ทรงบาํ เพ็ญทุกกรกริ ยิ า ตั้งแตน้ัน พระมหาบุรุษก็ทรงบําเพ็ญทุกกรกิริยา คือ การทรมานพระกายให ลําบาก ซงึ่ เปนกจิ ยากที่บคุ คลจะทําได แตพ ระองคทรงกระทาํ อยถู ึง ๓ วาระ ดังนี้ วาระท่ี ๑ ทรงกดพระทนตดวยพระทนต กดพระตาลุดวยพระชิวหาไวใหแนน จนพระเสโทไหลออกจากพระกัจฉะ ก็ไมสําเร็จพระสัมมาสัมโพธิญาณ คร้ันทรงเห็นวา การกระทําอยา งน้ันไมใชทางตรสั รู จงึ ทรงเปล่ยี นวธิ อี ่นื ตอ ไป วาระที่ ๒ ทรงผอนกลั้นลมอัสสาสะปสสาสะ เมื่อลมเดินโดยทางชองพระนาสิก และชองพระโอษฐไมไดสะดวก ก็เกิดเสียงดังอูทางชองพระกรรณท้ัง ๒ ขาง ทําใหปวดพระเศียร เสียดพระอุทร รอนในพระกายเปนกําลัง ก็ไมสําเร็จพระสัมมาสัมโพธิญาณ คร้ันทรงเห็นวา การกระทาํ อยา งนน้ั ไมใ ชท างตรสั รู จงึ ทรงเปลยี่ นวธิ ีอ่ืนตอ ไป วาระที่ ๓ ทรงอดพระกระยาหาร เสวยแตวันละนอย ๆ บาง เสวยพระกระยาหาร ท่ีละเอียดบาง จนพระวรกายเห่ียวแหง พระฉวีวรรณเศราหมอง พระอัฐิปรากฏทั่วกาย มีพระกําลังนอย จะเสด็จไปทางไหนก็ซวนเซลม จนมหาชนทักกันไปตาง ๆ ก็ไมสําเร็จ พระสมั มาสมั โพธญิ าณ อุปมา ๓ ขอ เมื่อพระมหาบุรุษทดลองถึง ๓ วาระแลว ก็มิไดตรัสรูสัมมาสัมโพธิญาณอยางใดเลย ทรงดําริวา แมปฏิบัติถึงข้ันอุกฤษฏอยางน้ีแลว ไฉนหนอยังไมบรรลุพระโพธิญาณ ขณะนั้น สมเด็จอมรินทราธิราช (ทาวสักกะหรือพระอินทรจอมเทพแหงสวรรคชั้นดาวดึงส) ทรงทราบ ขอปริวติ กของพระมหาบุรุษ จึงทรงพิณทิพยใหพระมหาบุรุษสดับพิจารณาเปรียบเทียบ ๓ สาย คือ สายหน่ึงตึงนัก พอดีดไปหนอยก็ขาด สายหน่ึงหยอนนัก ดีดเขาก็ไมมีเสียง อีกสายหน่ึง ไมต งึ ไมหยอ นพอปานกลาง ดีดเขาก็บนั ลอื เสยี งไพเราะ ก็ทรงถือเอาเสียงพณิ เปน นมิ ิต อน่ึง อุปมาเปรียบเทียบ ๓ ขอ ซึ่งพระองคไมเคยไดสดับมากอน ก็ไดปรากฏแจมแจง ข้นึ แกพ ระองค คอื ขอที่ ๑ สมณพราหมณเหลาใดเหลาหนึ่งมีกายไมไดหลีกออกจากกาม และมีความ พอใจรักใครในกาม แมไดเสวยทุกขเวทนาอันแรงกลาซึ่งเกิดจากความเพียรก็ดี ไมไดเสวยก็ดี ก็ไมสามารถตรัสรูได เหมือนไมสดอันชุมดวยยางและท้ังแชอยูในนํ้า บุรุษตองการไฟ ก็มิอาจสี ใหเกิดไฟขนึ้ ได บรุ ษุ น้นั ตองเหน็ดเหน่อื ยเปลา เพราะไมน ้นั ยังสดมยี างอยู ท้งั แชไ วใ นนํ้า เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 141

๑1๔4๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ขอท่ี ๒ สมณพราหมณเหลาใดเหลาหนึ่งแมมีกายหลีกออกจากกามแลว แตยังรักใคร พอใจในกามนั้นอยู แมไดเสวยทุกขเวทนาอันแรงกลาซ่ึงเกิดจากความเพียรก็ดี ไมไดเสวยก็ดี ก็ไมสามารถตรัสรูได เหมือนไมส ดอนั ชมุ ดว ยยาง แมบุคคลตัง้ ไวบนบก กไ็ มอ าจสีใหเกดิ ไฟได ขอที่ ๓ สมณพราหมณเหลาใดเหลาหนึ่ง มีกายหลีกออกจากกามแลว ท้ังละความพอใจ รกั ใครใ นกามเสียได ถึงจะไดเ สวยทุกขเวทนาอยางนั้น ซ่ึงเกิดจากความเพียรก็ตาม ไมไดเสวยก็ตาม กส็ ามารถท่ีจะตรสั รูได เหมือนไมแ หง ท่ไี กลจากนา้ํ ซึง่ บคุ คลวางไวบ นบก ก็สามารถสีใหเ กิดไฟได อปุ มาท้ัง ๓ ขอนี้ ไดเ ปน กําลงั สนับสนนุ พระหฤทยั ใหพระองคท รงมุงมั่นในการทําความเพียร ทางจิตวา จะเปนทางใหบรรลุพระสัพพัญุตญาณเปนแน คร้ันตกลงพระหฤทัยเชนน้ันแลว กเ็ ริม่ เสวยพระกระยาหารตามปกติตอไปอกี ปญ จวัคคยี หลกี หนี ปญจวัคคีย คือ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ และอัสสชิ ซึ่งเคยไดยิน ไดฟงวา พระมหาบุรุษมีคติเปน ๒ อยาง คือ ถาครองฆราวาสจะไดเปนพระเจาจักรพรรดิราช ถาออกบรรพชาจะไดเปนศาสดาเอกของโลก เมื่อเห็นพระมหาบุรุษเสด็จออกบรรพชา ก็มี ความหวังวาคงจะไดตรัสรูแลวสอนตนบาง จึงไดพากันออกบรรพชาตามเฝาปฏิบัติตลอดมา เมื่อเห็นพระมหาบุรุษทรงเลิกบําเพ็ญเพียรทุกกรกิริยา กลับมาเสวยพระกระยาหารตามปกติ เชนน้ัน จึงมีความคิดเห็นพรอมกันวา พระองคทรงคลายจากความเพียรเวียนมาเปนคนมักมาก เสียแลว พระองคจะไมไดบรรลุธรรมพิเศษอยางใดอยางหน่ึงเปนแนแท จึงเกิดความเบ่ือหนายใน การปฏิบัติรับใช พากันหลีกหนีจากพระองคไปอยู ณ ปาอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี หรือเมืองสารนาถในปจ จุบัน การที่ปญจวัคคียมาอยูเฝาปฏิบัติก็ดี การที่หลีกไปเสียก็ดี เปนประโยชนในการเผยแผ พระศาสนาของพระพทุ ธองคในกาลตอ มา กลา วคือ ๑. การที่มาอยูเฝาปฏิบัติก็เทากับไดมาเปนพยานวา อัตตกิลมถานุโยค คือ การประกอบความเพยี รดวยการทําความลําบากแกต นนน้ั พระองคเ คยประพฤตมิ าแลว ไมมีใคร ประพฤติไดยิง่ กวานี้ ถงึ กระน้ัน กห็ าใชทางท่จี ะใหรูธรรมวิเศษอยางใดไม ๒. การหลกี หนีไปเสียจากทนี่ ั้น เทา กับเปดโอกาสใหพ ระองคไ ดร บั ความสงัดมากย่ิงขึ้น ไมมีใครทาํ อันตรายความสงัดของพระองค เปน ผลใหพระองคตรัสรูเร็วขึน้ 142

 1๑4๔3๑ วชิ า พุทธประวัติ ตรัสรู เม่อื พระมหาบุรุษเสวยพระกระยาหาร ทาํ ใหพระกายของพระองคมีกําลังดีขึ้นอยางเดิม ก็ทรงเร่ิมทําความเพียรทางจิตตอไป นับแตบรรพชามาลวงแลวได ๖ ป จึงไดตรัสรู พระอนุตตรสัมมาสมั โพธิญาณ คอื ไดพระปญญารูธรรมพิเศษเปนเหตุใหพอพระหฤทัยวา “รูละ” ในราตรีวสิ าขปณุ ณมีดถิ เี พ็ญ (ตรงกับวนั พธุ ข้ึน ๑๕ คํ่า เดือน ๖) ณ ใตรมไมอัสสัตถโพธิพฤกษ (คาํ วา อัสสตั ถะแปลวา ตน โพ คําวา โพธิพฤกษ แปลวา ตน ไมเปนที่ตรัสรู หรือ ตนพระศรีมหาโพธ์ิ พระสิทธัตถพุทธเจาของเราตรัสรู ณ ตนอัสสัตถะ ซึ่งพระโบราณาจารยแปลตรงกับภาษาไทยวา ตน โพ) กอ นพทุ ธศก ๔๕ ป ธรรมเปนเครื่องตรัสรูของพระองค ท่ีพระมัชฌิมภาณกาจารยแสดงวา พระองค ทรงเจริญสมถภาวนา ทําจิตใหเปนสมาธิ จนบรรลุฌานที่ ๑ (ปฐมฌาน) ฌานท่ี ๒ (ทุติยฌาน) ฌานท่ี ๓ (ตติยฌาน) และฌานท่ี ๔ (จตุตถฌาน) แลว ยังญาณอันเปนตัวปญญา ๓ ประการให เกดิ ข้นึ ในยามทั้ง ๓ แหง ราตรีเปนลาํ ดับกนั คือ ๑. ในปฐมยาม ยังปุพเพนิวาสานุสสติญาณใหเกิดขึ้น ญาณน้ีทําใหพระองคสามารถ ระลกึ ถงึ ชาติหนหลังไดเ ปน อเนกชาติ ๒. ในมชั ฌิมยาม ยังจุตูปปาตญาณใหเกิดข้ึน ญาณน้ีทําใหพระองคสามารถรูการจุติ และอบุ ัติ (การเวียนวายตายเกิด) ของสัตวท ั้งหลาย วาจะดหี รือชว่ั กเ็ ปนดวยอาํ นาจของกรรม ๓. ในปจฉมิ ยาม ยงั อาสวกั ขยญาณใหเ กิดขนึ้ ญาณนีท้ ําใหพระองคสามารถเปนผูสิ้น อาสวะกิเลส คือทรงรูแจงอริยสัจ ๔ อันไดแก ทุกข ความไมสบายกาย สบายใจ สมุทัย เหตุให เกิดทกุ ข นโิ รธ ความดบั ทุกข มรรค ขอ ปฏบิ ัตใิ หถ ึงความดบั ทกุ ข เหตกุ ารณจวนจะตรัสรู ในราตรีลวงเขาวันข้ึน ๑๔ คํ่า เดือน ๖ ขณะทรงบรรทมหลับ ทรงพระสุบินนิมิต ๕ ประการ คือ ๑. ทรงพระสุบินวา ขณะพระองคทรงบรรทมหงายเหนือพื้นปฐพี พระเศียรหนุน เขาหิมพานตเปนพระเขนย พระหัตถซายหยั่งลงในมหาสมุทรทิศตะวันออก พระหัตถขวาและ พระบาทท้งั คูหยง่ั ลงในมหาสมทุ รทางทิศใต เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 143

๑1๔4๒4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ๒. ทรงพระสุบนิ วา หญา แพรกเสนหน่งึ งอกจากพระนาภี สงู ขนึ้ ไปจนถึงทองฟา ๓. ทรงพระสุบินวา หมูหนอนเปนอันมาก ขาวบาง ดําบาง ไตขึ้นมาแตพื้นพระบาทท้ังคู ปกปดลาํ พระชงฆหมด และไตข้ึนมาถงึ พระชานมุ ณฑล ๔. ทรงพระสุบินวา ฝูงนก ๔ จําพวก มีสีตาง ๆ กัน คือ เหลือง เขียว แดง ดํา บินมา แตทศิ ทง้ั ๔ ลงมาจบั แทบพระบาทแลว กลับกลายเปนสขี าวไปสิน้ ๕. ทรงพระสุบินวา เสด็จข้ึนไปเดินจงกรมบนยอดภูเขา อันเต็มไปดวยมูลคูถ แตมูลคูถ นั้นมไิ ดเ ปอ นพระยคุ ลบาท ครนั้ ทรงตนื่ จากบรรทม ทรงดํารถิ ึงขอความในพระมหาสุบินท้ัง ๕ แลวทรงทํานายดวย พระปรีชาญาณของพระองคเ องวา ขอท่ี ๑ พระองคจะไดตรสั รเู ปน พระสัมมาสัมพุทธเจา เปนผูเลิศในโลก ขอ ที่ ๒ พระองคจ ะไดป ระกาศสัจธรรม แสดงมรรคผล นิพพาน แกเทพยดาและมนุษย ท้ังมวล ขอ ท่ี ๓ คฤหสั ถและพราหมณท ้งั หลายจะเขา มาสูสาํ นักของพระองคเปน อันมาก ขอ ที่ ๔ ชาวโลกทั้ง ๔ เหลา คือ กษัตริย พราหมณ แพศย ศูทร เม่ือมาสูสํานักของ พระองคแลว จะรทู ัว่ ถงึ ธรรมอนั บรสิ ทุ ธิ์หมดจด ขอที่ ๕ แมพระองคจะพรอมมูลดวยลาภสักการะตาง ๆ ท่ีชาวโลกทุกทิศนอมนํามาถวาย ดวยความศรัทธาเล่อื มใส พระองคก ม็ ไิ ดมพี ระหฤทัยขอ งอยใู หเ ปน มลทินแมแตนอย ครน้ั พระองคทรงพยากรณในพระสุบินนิมิตดังนี้แลว ก็ทรงทําสรีรกิจ สรงพระกายหมดจดแลว ก็เสดจ็ ไปประทบั ณ ควงไมโพธพิ ฤกษ ในยามเชาแหง วนั ขนึ้ ๑๔ ค่ํา เดอื น ๖ ประกา เชาวันนั้น นางสุชาดา ผูเปนบุตรีกุฎมพีใหญแหงชาวบานเสนานิคม ตําบลอุรุเวลา ปรารถนาจะทําการบวงสรวงเทวดา จึงใชใหนางปุณณทาสี สาวใชไปปดกวาดบริเวณควงไมโพธิพฤกษ สวนตนเองตระเตรียมหุงขาวมธุปายาส เสร็จแลวจัดลงในถาดทองเพื่อเตรียมไปบวงสรวงบูชา เทวดา ณ ควงไมโพธพิ ฤกษ ฝายนางปุณณทาสีเห็นพระมหาบุรุษมีรัศมีกายแผซานออกเปนปริมณฑล ก็นึกวา เทวดาคงมานัง่ รอรบั เคร่ืองสังเวย จงึ รีบกลับมาบอกนางสชุ าดา ครนั้ แลว นางสุชาดาแตงกายงาม ดวยอาภรณ ยกขาวมธุปายาสข้ึนเหนือเศียรเกลาไปสูโพธิพฤกษพรอมบริวาร ครั้นเห็นพระมหาบุรุษ งดงามเชนน้ัน สําคัญวาเปนรุกขเทวดา จึงเขาไปถวายขาวมธุปายาสดวยความเคารพย่ิง ขณะน้ัน บาตรดินซ่ึงฆฏิการพรหมถวายไวแตวันบรรพชาเกิดอันตรธานหายไป พระมหาบุรุษ ทรงทอดพระเนตรดูนางสุชาดา เพ่ือใหรูวาพระองค ไมมีบาตรจะรับขาวมธุปายาส 144

 1๑4๔5๓ วชิ า พทุ ธประวตั ิ นางสุชาดา ทราบชัดโดยอาการ จึงนอมถวายพรอมท้ังถาด กมลงอภิวาทถวายบังคมลง กลบั ไปสเู คหาของตนดวยความสขุ ใจเปนลน พน พระมหาบุรุษเสด็จลุกจากท่ีประทับ ทรงถือถาดขาวมธุปายาส เสด็จไปยังฝงแมนํ้า เนรัญชรา ประทับนั่งใตรมไมนิโครธ (ตนไทร) ทรงปนขาวมธุปายาสได ๔๙ ปน เสวยหมดแลว ทรงถือถาดลงสูแมนํ้า ทรงอธิษฐานเส่ียงพระบารมีวา ถาจะไดบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ (บรรลโุ พธญิ าณ คอื ตรสั รูเ ปนพระพุทธเจา ) ขอใหถ าดนจี้ งลอยทวนกระแสนํ้าข้ึนไปเถิด แลว ทรงลอยถาดนั้นลงในแมน้ํา ขณะน้ัน อานุภาพแหงพระบารมีไดแสดงใหเห็นเปนอัศจรรย กลาวคือ ถาดน้ันไดลอยทวนกระแสนํ้าขึ้นไปประมาณ ๑ เสน แลวจมสูนาคพิภพของ พญากาฬนาคราช คร้ันทรงทอดพระเนตรเห็นเปนนิมิตเชนนั้น ทรงแนพระทัยวา จะไดตรัสรูเปน พระสัพพัญพู ทุ ธเจาแนนอน จึงเสด็จไปยงั สาลวัน (ปาไมรงั )ตามแนวริมฝงแมนํ้าเนรัญชรา ประทับ พกั ภายใตรมไมสาลพฤกษ พอเวลาพระอาทิตยตะวันบาย เสด็จไปสูควงไมอัสสัตถโพธิพฤกษ ไดรับ หญาคาซ่ึงโสตถิยพราหมณนอมถวาย ๘ กํา ทรงนําหญาคาน้ันไปปูลาดเปนรัตนบัลลังก เสด็จประทับบนรัตนบัลลังกน้ัน หันพระปฤษฎางคไปทางลําตนโพธิพฤกษ ผินพระพักตรไปยัง ปราจีนทิศ ทรงต้ังสัตยาธิษฐานวา “ถายังมิไดตรัสรูอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเพียงใด จัก ไมลุกขึ้นเพียงน้ัน แมเน้ือและโลหิตจะแหงเหือดไป เหลือแตหนัง เอ็น และกระดูก ก็ตามที” ดงั น้แี ลว จึงทรงเริ่มบาํ เพญ็ สมาธิจิตตอ ไป ทรงชนะพญามาร ขณะนั้น วสวัตดีมาราธิราช (พญามารผูสถิต ณ สวรรคช้ันปรนิมมิตวสวัตดี) เกรงวา พระมหาบุรุษจะพนจากอํานาจของตน จึงยกพหลพลพยุหเสนามารมาผจญ แสดงฤทธิ์โดย ประการตาง ๆ เพื่อใหพระมหาบุรุษตกพระทัยกลัวเสด็จหนีไป พระมหาบุรุษทรงนึกถึง พระบารมี ๑๐ ทศั คอื ๑. ทาน การเสยี สละ ๒. ศีล การรักษากายวาจาใหเปนปกติ ๓. เนกขัมมะ การปลกี ตัวออกจากกามมุงบรรพชา ๔. ปญญา ความรอบรใู นส่งิ ท่ีควรรู เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 145

1๑๔4๔6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี ๕. วริ ิยะ ความเพยี ร ๖. ขนั ติ ความอดทน ๗. สจั จะ ความซ่ือสตั ย ๘. อธษิ ฐาน ความตง้ั ใจอยา งม่นั คง ๙. เมตตา ความปรารถนาดีตอผอู ื่น ๑๐. อเุ บกขา ความวางจติ เปน กลาง ที่ทรงบําเพ็ญมาแตอดีต ทรงอาง นางสุนธรา เจาแมมหาปฐพีเปนสักขีพยาน เส่ียง พระบารมี ๑๐ ทัศนั้น เขาชวยผจญตอสูพญามารกับเสนาใหปราชัยไปในเวลาพระอาทิตย ยังไมทันอัสดงคต พระองคทรงเริ่มเจริญสมถภาวนาทําจิตใหเปนอัปปนาสมาธิจนไดบรรลุ ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน และจตุตถฌาน แลวยังฌานอันเปนองคแหงปญญา ๓ ประการ ใหเกดิ ข้นึ ในยามทั้ง ๓ คอื ๑. ครัน้ ลว งเขา ปฐมยาม ทรงบรรลุปุพเพนิวาสานุสสติญาน สามารถระลึกอดีตชาติ ท่ีพระองคท รงเวยี นวายตายเกิดมาแลวได ๒. คร้ันถึงมัชฌิมยาม ทรงบรรลุจุตูปปาตญาณหรือทิพพจักขุญาณ สามารถหยั่งรู การเวียนวายตายเกดิ ของสัตวท้ังปวงได ๓. ในปจ ฉมิ ยาม ทรงบรรลอุ าสวกั ขยญาณ สามารถทาํ กิเลสท้งั ปวงใหหมดสิ้นไป ดวยพระปญ ญาพจิ ารณาในปจ จยาการแหงปฏจิ จสมปุ ปบาท โดยอนโุ ลมและปฏโิ ลม (ตามลําดับ และทวนลําดับ) ก็ทรงบรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา ในเวลา รุงอรุโณทัย ในวนั วสิ าขปรุ ณมี ขึน้ ๑๕ คํ่า ดถิ ีเพ็ญกลางเดอื น ๖ ประกา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 146

 1๑4๔7๕ วชิ า พุทธประวตั ิ ปฐมโพธกิ าล บทท่ี ๖ ปฐมเทศนาและปฐมสาวก พระมหาบุรุษไดบําเพ็ญเพียรทางใจ จนไดบรรลุธรรมพิเศษคืออริยสัจ ๔ ณ ภายใต ตนอสั สัตถะ ซงึ่ ตอมาเรียกวา ตนพระศรมี หาโพธ์ิ ใกลร มิ ฝงแมน้ําเนรัญชรา ในตําบลอุรุเวลาเสนานิคม แควนมคธ เม่ือพระองคไดตรัสรูแลว ก็ไดประทับนั่งเสวยวิมุตติสุขในสถานท่ีตาง ๆ รวม ๗ สัปดาห เรยี กวา สตั ตมหาสถาน คือ สปั ดาหที่ ๑ ทรงประทับบนรัตนบัลลังกใตตนพระศรีมหาโพธ์ิ ทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาทตลอด ยาม ๓ แหง ราตรีแลว ทรงเปลงพระอุทานในยามละครั้ง ดงั น้ี ในปฐมยามวา เม่ือใด ธรรมท้ังหลายปรากฏแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมอื่ น้นั ความสงสัยของพราหมณน ้ันยอมสิ้นไป เพราะมารูแจงวา เกิดแตเ หตุ ในมัชฌิมยามวา เม่ือใด ธรรมทั้งหลายปรากฏแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อนั้นความสงสัยทั้งปวงของพราหมณนั้นยอมส้ินไป เพราะมารูความส้ินแหงปจจัย ทัง้ หลาย วา เปน เหตุสน้ิ แหงผลทงั้ หลายดว ย ในปจฉิมยามวา เมื่อใด ธรรมท้ังหลายปรากฏแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อน้ันพราหมณนั้นยอมกําจัดมารและเสนามารเสียได ดุจพระอาทิตยอุทัยกํา จัด ความมืดทาํ อากาศใหสวางฉะน้นั สปั ดาหท่ี ๒ ครนั้ ลว ง ๗ วนั แลว พระองคเสดจ็ ลงจากรัตนบลั ลงั ก ไปประทับทางทิศอีสานแหงตน พระศรีมหาโพธิ์ ยืนจองพระเนตรดูตนพระศรีมหาโพธ์ิ โดยมิไดกระพริบพระเนตรตลอด ๗ วัน สถานทน่ี ้ันจงึ ไดนามวา อนิมสิ สเจดยี  เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 147

๑1๔4๖8 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 สปั ดาหท ่ี ๓ คร้ันลวง ๗ วัน เสด็จออกจากอนิมิสสเจดีย มาหยุดในระหวางตน พระศรีมหาโพธิ์กับ อนิมิสสเจดีย ทรงเนรมิตที่จงกรมข้ึน เสด็จจงกรมอยูที่น้ีเปนเวลา ๗ วัน สถานท่ีน้ัน จงึ ไดนามวา รตั นจงกรมเจดีย สปั ดาหท ี่ ๔ ครั้นลวง ๗ วัน เสด็จออกทางทิศปจจิมหรือทิศพายัพแหงตนพระศรีมหาโพธิ์ ประทับนั่งขัดสมาธิในเรือนแลว ซึ่งเทวดาเนรมิตถวาย ทรงพิจารณาพระอภิธรรมปฎก ตลอด ๗ วนั สถานทน่ี ัน้ จึงไดน ามวา รตั นฆรเจดยี  สัปดาหท ่ี ๕ คร้ันลวง ๗ วัน เสด็จไปประทับภายใตรมไทรอันเปนที่พักของคนเลี้ยงแกะ ซ่ึงได ชื่อวา อชปาลนิโครธ ตั้งอยูในทิศบูรพาแหงตนพระศรีมหาโพธิ์ คร้ังน้ัน ธิดาของพญามาร วสวัตดี ๓ นาง คือ นางตัณหา นางราคา นางอรดี เห็นวาบิดาของตนมีความเสียใจเพราะ ทําลายพระพุทธองคไมได จึงขออาสาเขาชวยบิดา ไดเขาไปประเลาประโลมพระพุทธองค แตก ลบั ถูกพระพทุ ธองคขบั ไลใหห นไี ป คร้ังน้ัน มีพราหมณผูหนึ่งมีนิสัยเปนหุหุกชาติ ชอบตวาดขมขูผูอื่นดวยคําวา “หึหึ” เขามาเฝาทูลถามธรรมท่ีทําบุคคลใหเปนพราหมณ พระองคทรงยกเอาธรรมท่ีทําบุคคลใหเปน สมณะในพระพุทธศาสนาแตใชโ วหารเปน พราหมณวา “พราหมณผูใดมีบาปอันลอยเสียแลว ไมมีกิเลสเปนเครื่องขูคนอ่ืนวา “หึหึ” ซึ่งนับวาเปนคําหยาบ ไมมีกิเลสอันยอมจิต สํารวมดีถึงท่ีสุดแหงไตรเพท มีพรหมจรรยอยูจบแลว ไมมีกิเลสเคร่ืองฟูแลว ควร เรียกวา พราหมณ” 148

 1๑4๔9๗ วชิ า พทุ ธประวตั ิ สปั ดาหท่ี ๖ คร้ันลวง ๗ วัน ก็เสด็จไปประทับอยู ณ ภายใตรมไมจิกซึ่งไดนามวามุจลินท ซ่ึงตั้งอยูทางทิศอาคเนยแหงตนพระศรีมหาโพธิ์ ทรงเสวยวิมุตติสุข ณ ท่ีน้ันแลว เปลงอุทานวา “ความสงัดเปนสุขของผูมีธรรมอันสงบอันไดสดับไว ยินดีอยูในท่ีสงัด รูเห็นตามจริง อยางไร ความไมเบียดเบียนในสัตวทั้งหลาย ความปราศจากกําหนัด คือความลวงกาม ได ดวยประการท้ังปวง เปนสุขในโลก การทําอัสมิมานะคือความถือตัวตนใหหมดไปได เปน สุขอยา งยงิ่ ” ตอนน้ี พระอรรถกถาจารยแสดงวา เม่ือพระองคประทับอยูท่ีน้ัน ฝนตกพรําเจือกับ ลมหนาวตลอด ๗ วัน พญานาคช่ือวามุจลินท ซึ่งมาวงขนดหางเปน ๗ รอบ แผพังพานปก พระองคไวเพื่อมิใหฝนและลมถูกตองพระองค เม่ือฝนหายแลวก็คลายขนดออก จําแลงเพศเปน มาณพมายนื เฝา พระองคอ ยูเ ฉพาะพระพกั ตร สปั ดาหท่ี ๗ ครนั้ ลว ง ๗ วนั เสดจ็ ไปยังตนไมเกต (ราชายตนะ) ทางทศิ ทักษณิ แหง ตน พระศรมี หาโพธ์ิ เสวยวมิ ตุ ติสุขอยทู ีน่ ั้น ๗ วนั ครง้ั น้ัน มีพาณิช ๒ คนพ่ีนอง ช่ือวา ตปุสสะและภัลลิกะ เดินทาง มาแตอุกกลชนบท ไดเห็นพระศาสดาเขา จึงพรอมใจกันนําขาวสัตตุผงสัตตุกอนซ่ึงเปนเสบียง ของคนเดินทางเขาไปถวาย แลวจึงยืนอยู ณ สวนขางหนึ่งพระองคทรงรับและเสวยเสร็จแลว พาณิชทั้ง ๒ คนพ่ีนองก็แสดงตนเปนอุบาสก ขอถึงพระพุทธกับพระธรรม ท้ัง ๒ วาเปนที่พึ่งที่ ระลึก นบั วา เปน ปฐมอบุ าสกผูถ ึงพระรตั นะ ทงั้ ๒ คือ พระพทุ ธและพระธรรมในพระพุทธศาสนา เรียกวา เทววาจิกอุบาสก กอนอุบาสกทั้ง ๒ จะกลับไป ไดทูลขอปูชนียวัตถุเพื่ออภิวาทบูชา ในกาลตอไป พระองคทรงยกพระหัตถปรามาส (ลูบ) พระเศียร พระเกศธาตุ ๘ เสน ไดติด พระหัตถลงมา จึงทรงประทานพระเกศธาตุ ทงั้ ๘ เสนแกอบุ าสก ทงั้ ๒ นั้นไป บุคคลที่เปรยี บดวยดอกบวั ๔ เหลา เมื่อประทับอยูใตตนราชายตนะสิ้น ๗ วันแลว จึงเสด็จกลับไปสูตนอชปาลนิโครธอีก ทรงพิจารณาถึงธรรมที่พระองคไดตรัสรูแลววาเปนธรรมละเอียดสุขุมคัมภีรภาพย่ิงยากท่ีสัตว เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 149

1๑๔5๘0 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ผยู ังติดอยูในกามจะรูตามได ก็ทรงปลงพระทัยในอันจะทรงส่ังสอนธรรมโปรดเวไนยสัตวตอนน้ี พระอรรถกถาจารยแสดงวา ทาวสหัมบดีพรหมทราบขอปริวิตกของพระองค จึงลงมาทูล อาราธนาใหแ สดงธรรม โดยอา งวาสตั วที่มีกเิ ลสเบาบางอาจรูธรรมที่ทรงแสดงนั้นก็มี พระศาสดา ทรงเหน็ ตามดว ย จึงรับคาํ อาราธนาของทาวสหมั บดพี รหมนน้ั ซึ่งเปรียบไดกบั ดอกบวั ๔ เหลา คอื ๑. อุคฆฏิตัญู ผูสามารถจะตรัสรูตามไดฉับพลัน คือผูมีอินทรียแกกลา เปนผูท่ี พงึ สอนใหร ูไดง าย รธู รรมพเิ ศษไดฉับพลัน เปรียบเหมือนดอกบัวอันอยูเหนือนํ้า เมื่อถูกแสง พระอาทติ ยจะบาน ณ วนั น้ี ๒. วิปจิตัญู ผูจะตรัสรูตามเม่ือไดรับคําแนะนําในโอกาสตอไป คือผูมีคุณสมบัติ เชนนั้นพอปานกลาง ไดอบรมในปฏิปทาอันเปนเบ้ืองตน จนมีนิสัยแกกลาก็สามารถจะบรรลุ ธรรมพิเศษไดด ุจเดยี วกนั เปรียบเหมือนดอกบัวอันอยูเสมอนํา้ จะบาน ณ วันพรุงนี้ ๓. เนยยะ ผูต้ังใจเพียรพยายามปฏิบัติตามโอวาท ก็มีโอกาสจะตรัสรูได คือผูมี คุณสมบัติเชนนั้นแตยังออน หรือหาอุปนิสัยไมไดเลย ก็ยังควรไดรับคําแนะนําในธรรมเบื้องตน ไปกอน เพ่อื บํารงุ อปุ นิสยั เปรยี บเหมือนดอกบัวยังไมข้ึนจากน้ํายังตั้งอยูภายในนํ้า จะบาน ณ วนั ตอ ๆ ไป ๔. ปทปรมะ ผูยากทีจ่ ะสง่ั สอน คอื ผูท ไี่ มใ ชเวไนยสตั ว ไมส ามารถรับคาํ แนะนํา ส่ังสอน ไดเปรยี บเหมือนดอกบัวทีย่ ังจมอยูในโคลนตม ยอมเปน ภกั ษาแหงปลาและเตา โปรดปญจวคั คีย คร้ันพระองคทรงอธษิ ฐานในพระหฤทยั เพอื่ จะทรงแสดงธรรมเชนน้ันแลว ทรงพิจารณา ถงึ บคุ คลผสู มควรจะรับฟงธรรมเทศนาเปน ปฐม ทรงปรารถถงึ อาฬารดาบส กาลามโคตรและ อุททกดาบส รามบุตร ผูซึ่งเคยเปนอาจารยส่ังสอนลัทธิในกาลกอน แตปรากฏวาอาจารย ทง้ั ๒ น้นั สิน้ ชีพแลว ภายหลังทรงระลกึ ถึงปญจวคั คียผ ูมีอุปการะแกพระองคม ากอ น ไดอุปฏฐาก พระองคสมัยเม่ือทรงบําเพ็ญทุกกรกิริยา ซึ่งในเวลานี้ไดหลีกไปอยูปาอิสิปตนมฤคทายวัน แขวง เมอื งพาราณสี จงึ ตกลงพระหฤทยั วาจะแสดงธรรมแกปญจวัคคีย จากนั้น พระองคก็เสด็จออกจากตนไมอชปาลนิโครธ ในเวลาเชาข้ึน ๑๔ คํ่า เดือน อาสาฬหมาส (เดือน ๖) ทรงดําเนินไปโดยมรรคาที่จะไปสูเมืองพาราณสีอันเปนนครหลวง แหง กาสชี นบท ครน้ั เสด็จถึงระหวา งแมน ้ําคยากับตน พระศรมี หาโพธต์ิ อ กัน ทรงพบอุปกาชวี กผูหนง่ึ 150


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook