Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อในนักธรรมชั้นตรี_1-334 หน้า

เนื้อในนักธรรมชั้นตรี_1-334 หน้า

Published by อาจูหนานภิกขุ, 2019-12-25 16:20:50

Description: เนื้อในนักธรรมชั้นตรี_1-334 หน้า

Search

Read the Text Version

 2๑0๙1๙ วชิ า พทุ ธประวัติ มกฏุ พนั ธเจดยี ์ กรงุ กสุ นิ ารา แควน้ มลั ละ ๓. วันมาฆบูชา ตรงกบั วนั เพญ็ เดอื น ๓ (เดอื น ๔ ในปีทมี อี ธกิ มาส) เป็นวนั คลา้ ยวนั ที พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ แก่พระอริยสงฆ์อรหนั ตสาวก จํานวน ๑,๒๕๐ องค์ ซงึ มาประชุมกนั โดยมไิ ด้นัดหมาย ณ เวฬุวนั มหาวหิ าร กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ การประชุมกนั ในวนั นัน เรยี กว่า “จาตุรงคสันนิบาต” คอื การประชุมประกอบด้วยองค์สี วันมาฆบูชานี เรยี กอกี อยา่ งหนึงว่า “วันพระธรรม” ๔. วันอาสาฬหบูชา ตรงกบั วนั เพญ็ เดอื น ๘ กอ่ นวนั ปุรมิ พรรษา ๑ วนั คอื เป็นวันท่ี พระพุทธเจาทรงแสดงปฐมเทศนา คือ เทศนาคร้ังแรก ช่ือวา ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร โปรด ปญจวัคคยี  สง ผลใหอญั ญาโกณฑญั ญพราหมณไดธรรมจักษุ คือ ไดดวงตาเห็นธรรม จึงขอบวช เปนพระสงฆรูปแรกในพระพุทธศาสนา และมีสังฆรัตนะเกิดขึ้นในโลกครบองค ๓ เปนคร้ังแรก วันอาสาฬหบูชา เรยี กอีกอยา งหนง่ึ วา “วันพระสงฆ” อนึ่ง วันที่เรียกวา วันพระพุทธ วันพระธรรม และวันพระสงฆ เปนการกําหนดโดย เอาเหตุการณที่เก่ียวของที่เปนหลักมากําหนดเปนชื่อเรียกเทานั้น คือ วันวิสาขบูชา เปนวันที่ เกี่ยวขอ งกับพระพทุ ธเจา จงึ เรยี กวา วันพระพุทธ วันมาฆบูชา เปนวันท่ีพระพุทธเจาทรงแสดง โอวาทปาติโมกข ซึ่งเปนหลักการของพระพุทธศาสนา จึงเรียกวา วันพระธรรม สวน วันอาสาฬหบูชา เปนวันท่ีพระพุทธเจาทรงแสดงธัมมจักกัปปวัตตนสูตรโปรดปญจวัคคีย จนพระอัญญาโกณฑัญญะเกิดดวงตาเห็นธรรมและขออุปสมบท วันน้ีจึงเปนวันท่ีพระรัตนตรัย มีครบ ๓ บริบรู ณ จึงเรยี กวา วันพระสงฆ แตยงั ไมเปน ช่ือเรยี กท่ีแพรหลายในหมูชาวพุทธท่ัวไป เพราะเม่ือพิจารณาตามความเกย่ี วของแลว อาจมีนา้ํ หนกั นอ ยท่จี ะเรียกอยา งน้ันอยา งชัดเจน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 201

2๒๐0๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 หมวดท่ี ๒ บญุ พิธี บญุ พิธี หมายถึง พิธีกรรมอันเกี่ยวกับการทําบุญหรือบําเพ็ญบุญในพระพุทธศาสนา มี ๒ ประเภท คอื ๑. พธิ ที าํ บญุ งานมงคล เชน ขึน้ บานใหม มงคลสมรส เปน ตน ๒. พธิ ีทําบญุ งานอวมงคล เชน ทําบญุ หนา ศพ ทาํ บุญอัฐิ เปน ตน การประกอบพธิ ีทาํ บญุ งานมงคล การประกอบพิธีทําบญุ งานมงคล สรุปไดดงั นี้ ๑. การกาํ หนดวนั เวลา หรือเรียกตามภาษาชาวบานวา การหาฤกษ หมายความวา ควรเลอื กหากาํ หนดวนั เวลาท่เี หมาะสมแกการประกอบพิธีมงคลนั้น ๆ โดยไมรีบดวนจนเกินไป จนกระทง่ั ตระเตรยี มอะไรไมทัน และโดยไมล าชาเกินไป จนกระท่ังเกดิ ความระอาใจที่จะตองเฝา รอคอยวันเวลา ๒. การอาราธนาพระสงฆ หรือ การนิมนตพระ หมายถึง การที่เจาภาพหรือผูแทน ไปติดตอเอง หรือทําหนังสืออาราธนา แจงความจํานงกับเจาอาวาสหรือพระภิกษุรูปใดรูปหน่ึง โดยใชคําวา “ขออาราธนาเจริญพระพุทธมนต” โดยมักนิยมอาราธนาพระสงฆเปนจํานวนค่ี คือ ๕ รูป ๗ รปู ๙ รปู วิธอี าราธนาพระสงฆโดยท่ัวไปมี ๒ วธิ ีคอื ๑) อาราธนาดวยวาจา ๒) ทําหนงั สอื ฎกี าอาราธนาเปนลายลักษณอักษร ๓. การตกแตงสถานท่ีประกอบพิธี หรือ การจัดสถานท่ีทําบุญ เนนความสะอาด เรยี บรอยเปนสาํ คัญ โดยจะตองประกอบดว ยสถานทส่ี ําคัญ ๓ แหง คอื ๑) สถานท่ตี ั้งโตะ หมบู ูชาพระรตั นตรัย ๒) สถานทีจ่ ัดเปน ท่นี ่ังของพระสงฆหรือที่เรียกวา อาสนส งฆ ๓) สถานท่นี ง่ั สาํ หรับเจา ภาพและผมู ารว มงาน สําหรับโตะหมูบูชาพระรัตนตรัย หรือเรียกส้ัน ๆ วา โตะหมูบูชา ปจจุบันนิยมมีเปน 202

 2๒0๐3๑ วชิ า พทุ ธประวัติ หมู ๕ หมู ๗ และหมู ๙ คอื หมหู น่งึ ๆ ประกอบดวยโตะ ๕ ตวั ๗ ตัว และ ๙ ตัว ๔. การวงสายสิญจน คําวา สายสิญจน หมายถึง สายโยงแหงการรดน้ําพิธีหรือ เสนดายที่นํามาใชในพิธีรดน้ําเพ่ือความเปนสิริมงคลในงานมงคลตาง ๆ (สิญจน แปลวา การรดนํ้า การเทน้ํา) สายสิญจน คือสายที่ทําดวยดายดิบ โดยวิธีจับเสนดายในเข็ดเดียวกัน จับออกครั้งแรก เปน ๓ เสน มวนเขากลุมไว ถาตองการใหสายใหญ ก็จับอีกคร้ังหนึ่ง จะกลายเปน ๙ เสน การวงดายสายสิญจนในงานมงคล จะใชส ายสิญจน ๙ เสน ไมนิยมใชส ายสิญจน ๓ เสน ซงึ่ ใชใน พธิ เี บิกโลงศพ การวงดายสายสิญจน นิยมวงเฉพาะรอบฐานพระพุทธรูปท่ีโตะหมูบูชา หองประกอบ พิธี แลวโยงมาวงรอบภาชนะนาํ้ มนต วางกลมุ ดายสายสญิ จนใสพานไวดานซายของโตะหมูบูชา ดานขวาของอาสนสงฆ แตค วรมีศลิ ปะในการโยงโดยไมใหมีการขามสายสิญจนในเวลาจุดเทียน และมีขอ ท่ีควรถอื เปนเร่ืองระวงั คอื อยา ใหดายสายสิญจนขาดขณะทวี่ ง และสายสญิ จนท่ีวงรอบ พระพุทธรปู แลวนี้ จะขา มกรายดวยอวยั วะใด ๆ มิได ๕. การอัญเชิญพระพุทธรูปมาต้ังบนท่ีบูชา ควรจะทําเมื่อใกลจะถึงเวลาท่ีกําหนด ประกอบพิธี โดยไมกําหนดวาจะเปนพระพุทธรูปปางอะไร (บางตําราวา ควรเปน ปางมารวิชัย) หลักสําคัญคือ กอนจะอัญเชิญ คือ เคล่ือนยายพระพุทธรูปจากที่หนึ่งไปยังท่ีหน่ึง ควรจะนอมไหว ท้งั กอ นและหลงั อญั เชญิ หรือจะกราบกด็ ี ๖. การปูลาดอาสนสงฆ หรือ อาสนะของพระสงฆ หมายถึง ท่ีน่ังสําหรับพระสงฆ ท่ีประกอบพิธี ซงึ่ มีวธิ ีปลู าด ๒ วธิ ี คือ ๑) ปลู าดแบบยกพื้น ๒) ปูลาดบนพื้นธรรมดา ๗. การเตรียมเคร่ืองรับรองและไทยธรรม เครื่องรับรอง หมายถึง เครื่องตอนรับ พระสงฆตามแบบโบราณประเพณี เชน นํ้าดื่ม หมาก พลู เปนตน สวนไทยธรรม หมายถึง ส่ิงของท่จี ะถวายพระสงฆน อกจากภตั ตาหารคาวหวาน สว นใหญจะเปนสง่ิ ของเคร่ืองใชท่ีจําเปน สําหรับพระสงฆ โดยไมข ัดตอ พระธรรมวินยั ซึ่งเรียกวา ทานวตั ถุ ๑๐ ประการ ๘. การต้ังภาชนะสําหรับทําน้ํามนต ควรเตรียมภาชนะสําหรับใสน้ํามนตใหพรอม ถาไมมีครอบน้ํามนต จะใชบาตร หรือขันนํ้าพานรองแทนก็ได แตไมนิยมใชขันเงินหรือ ขันทองคํา เพราะเปนวัตถุอนามาส คือสิ่งไมควรจับตองสําหรับพระสงฆ สวนน้ําควรเปนนํ้า สะอาด เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 203

๒2๐0๒4 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ลําดับตอจากน้ีก็เปนการประกอบพิธีทําบุญงานมงคล คือ เจาภาพจุดธูปเทียนบูชา พระรัตนตรัย กลาวคําบูชาพระรัตนตรัย อาราธนาศีล ๕ รับศีล อาราธนาพระปริตร จุดเทยี น นํามนต์ เมอื พระสงฆ์เจรญิ พระพุทธมนต์ถึงบทมงคลสูตรว่า อเสวนา จ พาลานํ... ถ้ามีการ ตักบาตรด้วยก็ให้ทําในขณะทีพระสงฆ์สวดบทพุทธชัยมงคลคาถาว่า พาห฿... พอพระ เจริญพระพุทธมนต์จบ ก็ยกอาหารคาวหวานประเคน เมือพระสงฆ์ฉันเสร็จแล้ว พึงถวาย เครอื งไทยธรรม (ถ้าม)ี และเมอื พระสงฆ์อนุโมทนาเป็นภาษาบาลวี ่า “ยถา วาริวหา...” พงึ เรมิ กรวดนําอทุ ศิ สว่ นกศุ ลใหเ้ สรจ็ กอ่ นหรอื พรอ้ มกบั การทพี ระสงฆท์ งั นนั จะสวดพรอ้ มกนั วา่ สพพฺ ตี ิโย... แลว้ พงึ ประนมมอื รบั พรตลอดไปจนจบ แล้วกราบลาพระรตั นตรยั อกี ครงั และส่งพระสงฆ์กลบั เป็นอนั เสรจ็ พธิ ี วธิ ีการจัดและถวายขา วบชู าพระพุทธ โดยเหตุทีพระพุทธรูปนันเป็นเสมือนองค์แทนพระพุทธเจ้า และพระพุทธเจ้านัน ทรงดํารงอยู่ในฐานะเป็นสงั ฆบดิ ร คอื ทรงเป็นพ่อของพระภกิ ษุสงฆ์ ดงั นัน การจดั สํารบั คาว หวานบชู าพระพทุ ธ จงึ นยิ มจดั ใหด้ กี ว่า ประณีตกว่าจดั ถวายพระสงฆ์ เพราะเป็นการบชู าพอ่ เมอื พระภกิ ษุสงฆเ์ จรญิ พระพทุ ธมนตใ์ กลจ้ ะจบหรอื จบแลว้ ใหจ้ ดั สาํ รบั คาวหวานไปตงั ทหี น้าบชู าพระโดยตงั บนโต๊ะทมี ผี า้ ขาวปรู อง หรอื ตงั ทพี นื มผี า้ ขาวปรู อง แลว้ กล่าวคาํ ถวายขา้ ว บูชาพระพุทธ โดยตงั นโม ๓ จบ แลว้ กล่าวคําบูชาขา้ วพระพุทธว่า อิมํ สูปพยฺชนสมฺปนฺนํ สาลนี ํ โภชนํ (โอทนํ) สอทุ กํ วรํ พทุ ธฺ สฺส ปูเชมิ แปลว่า ขาวสกุ แหงขา วสาลี อันสมบูรณ ดว ยแกงและกบั ขา ว พรอมดวยนํ้าอนั ประเสริฐนี้ ขา พเจา ขอบูชาพระพุทธเจา การลาขา้ วพระพุทธมหี ลกั ปฏบิ ตั โิ ดยผลู้ าพงึ เขา้ ไปนังคุกเข่าหน้าสาํ รบั ทหี น้าโต๊ะหมู่ บูชานันแล้วกราบ ๓ ครงั ก่อน แล้วกล่าวคําลาข้าวพระพุทธว่า เสสํ มงฺคลํ ยาจามิ แปลว่า ขา พเจา ทูลขอสง่ิ ทีเ่ หลืออันเปนมงคล แลว้ กราบ ๓ ครงั การประกอบพธิ ีทําบญุ งานอวมงคล ตามคตินิยมของชาวไทยมีพิธีทําบุญเพื่ออุทิศสวนกุศลใหแกผูตาย ท่ีเรียกวา ทําบุญ งานอวมงคล มี ๒ งาน คือ 204

 2๒0๐5๓ วชิ า พทุ ธประวัติ ๑. งานทําบุญหนาศพ ที่เรียกวา ทําบุญ ๗ วัน (สัตตมวาร) ๕๐ วัน (ปญญาสมวาร) ๑๐๐ วนั (สตมวาร) หรอื ทาํ บุญหนา วนั ปลงศพ (ฌาปนกิจศพ) ๒. งานทําบญุ อัฐิ การทําบุญหนาศพ เจาภาพอาราธนาพระสงฆ ๘ รูป หรือ ๑๐ รูป หรือเกินกวานั้นข้ึนไป แลวแตกรณี แตตองเปนจํานวนคู โดยใชคําอาราธนาวา “ขออาราธนาสวดพระพุทธมนต” โดยไมตองต้ังภาชนะสําหรับใสน้ํามนตและไมมีการวงดายสายสิญจน แตเตรียมสายโยงหรือ ภูษาโยงตอจากศพไวเพื่อใชบังสุกุล ซึ่งสายโยงก็คือดายสายสิญจนน่ันเอง ถาไมใชสายสิญจน กใ็ ชทําเปน แผนผา แทนเรยี กวา ภษู าโยง โดยมีหลักในการเดินสายโยงหรือภูษาโยง คือ ไมควร โยงในท่ีสูงกวาพระพุทธรูปท่ีต้ังในพิธี และไมควรปลอยใหลาดมากับพ้ืนท่ีเดินหรือนั่งเพราะ สายโยงน้เี ปนสายที่โยงตอมาจากศพหรือเปน สงิ่ เนอื่ งดว ยศพจงึ ตองโยงใหส มควร สว นการปฏิบตั ิบญุ กิจในเมื่อพระสงฆมาถึงตามกําหนดแลวก็ปฏิบัติคลายกับงานมงคล ในขั้นตอนนี้มีขอท่ีจะพึงปฏิบัติพิเศษอยูขอเดียว คือ การจุดธูปเทียนท่ีหนาศพ กับการจุด ธปู เทยี นท่โี ตะ บูชา บางแหงจุดท่โี ตะ บูชากอนแลว จุดท่หี นาศพภายหลัง บางแหงใหจุดที่หนาศพ กอนเพ่ือเปนการแสดงความเคารพและเปนการเตือนใหศพบูชาพระรัตนตรัย การสวด พระอภิธรรมหนา ศพนยิ มสวด ๓ คนื ๕ คนื หรือ ๗ คืน แลว แตกรณี ในการประกอบพิธีทําบุญครบ ๗ วัน ซึ่งเรียกวา สัตตมวาร นิยมอาราธนาพระสงฆ ๘ รูป เทานนั้ การจัดเคร่ืองไทยธรรมกจ็ ดั ๘ ท่ี และอาจมกี ารจัดสังฆทานประเภทมตกภัต ในการประกอบพิธีทําบุญครบ ๕๐ วัน ซึ่งเรียกวา ปญญาสมวาร และพิธีทําบุญครบ ๑๐๐ วัน ซ่ึงเรียกวา สตมวาร นิยมอาราธนาพระสงฆ ๑๐ รูป เทานั้น เปนสวนมากและนิยม ทอดผาบงั สกุ ุลดว ย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 205

2๒๐0๔6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี หมวดท่ี ๓ ทานพิธี ทานพธิ ี คอื ระเบียบพธิ ีเกี่ยวกบั การถวายทานแดพ ระสงฆ ผถู วายทาน เรียกวา ทายก (ชาย) และ ทายิกา (หญิง) ผรู บั ทานวัตถุ เรียกวา ปฏคิ าหก ส่ิงของทถี่ วาย เรียกวา ทานวตั ถุ มี ๑๐ ประการ คือ ๑. อนนฺ ํ ภตั ตาหาร ๒. ปานํ นาํ้ เครือ่ งด่มื ๓. วตถฺ ํ ผา ๔. ยานํ ยานพาหนะ ๕. มาลา มาลัยและดอกไมเครอื่ งบูชาตา ง ๆ ๖. คนฺโธ ของหอม หรือธปู เทียนบชู าพระ ๗. วเิ ลปนํ เครื่องลูบไล หรือ สุขภัณฑสําหรับชําระรางกายใหสะอาดมีสบู เปนตน ๘. เสยยฺ ํ เครอื่ งนอนท่ีสมควรแกสมณะ ๙. ตวสถํ ทีอ่ ยูอาศยั มีกฎุ ี เสนาสนะ และเครอ่ื งสําหรับเสนาสนะ มีเตียง โตะ เกาอ้ี เปนตน ๑๐. ปทีเปยฺยํ เครื่องตามประทีป มีตะเกียง นํ้ามันตะเกียง และไฟฟาท่ีสมควรแก สมณะ เปน ตน ทาน แบง ตามกาลเวลาท่ถี วาย มี ๒ อยาง การถวายทานในพระพุทธศาสนา เม่อื แบง ตามกาํ หนดระยะเวลาทถี่ วาย มี ๒ อยาง คือ ๑. กาลทาน ไดแก ทานท่ีถวายตามระยะเวลาที่มีพระพุทธานุญาตใหถวายได เชน กฐินทาน การถวายผากฐิน ซ่ึงมีกําหนดเวลาถวายภายใน ๑ เดือน หลังจากวันปวารณา ออกพรรษา คือ ตัง้ แตว นั แรม ๑ คา่ํ เดือน ๑๑ ถงึ วนั ข้ึน ๑๕ คํ่า เดอื น ๑๒ ๒. อกาลทาน คือ ทานท่ีสามารถถวายไดทุกฤดูกาล เชน ส่ิงของใชสอยสําหรับ พระภกิ ษสุ ามเณร ผาปา เสนาสนะ เปนตน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 206

 2๒0๐7๕ วชิ า พทุ ธประวตั ิ การถวายทาน มี ๒ อยาง การถวายทานในพระพุทธศาสนาเม่ือจําแนกตามลักษณะที่เจาะจงและไมเจาะจง มี ๒ อยา ง ๑. ปาฏิบคุ ลกิ ทาน หมายถึง การถวายทานเจาะจงเฉพาะพระภกิ ษสุ งฆรปู ใดรปู หนง่ึ ๒. สังฆทาน คอื การถวายแกส งฆใ หเ ปนของกลาง ไมเจาะจงภกิ ษุรูปใดรปู หน่ึง ทาน ๒ อยา งน้ี สังฆทานมอี านิสงสม ากกวาปาฏิบุคลกิ ทาน คําถวายสงั ฆทาน (ประเภททวั่ ไป) อิมานิ มยํ ภนฺเต ภตฺตานิ สปริวารานิ ภิกฺขุสงฆฺ สฺส โอโณชยาม สาธุ โน ภนฺเต ภิกฺขสุ งโฺ ฆ อิมานิ ภตฺตานิ สปริวารานิ ปฏคิ ฺคณหฺ าตุ อมฺหากํ ทฆี รตตฺ ํ หิตาย สุขาย. ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขาพเจาท้ังหลาย ขอนอมถวาย ซ่ึงภัตตาหาร กับทั้ง บริวารทั้งหลายเหลานี้ แดพระภิกษุสงฆ ขอพระภิกษุสงฆ จงรับ ซึ่งภัตตาหาร กับท้ัง บริวารท้ังหลายเหลาน้ี ของขาพเจาทั้งหลาย เพ่ือประโยชน และความสุข แกขาพเจา ทงั้ หลาย สิ้นกาลนานเทอญ คาํ ถวายสงั ฆทาน (ประเภทมตกภตั อุทิศผูต าย) อิมานิ มยํ ภนเฺ ต มตกภตฺตานิ สปรวิ ารานิ ภกิ ขฺ สุ งฺฆสสฺ โอโณชยาม สาธุ โน ภนเฺ ต ภกิ ขฺ ุสงโฺ ฆ อิมานิ มตกภตฺตานิ สปรวิ ารานิ ปฏคิ คฺ ณหฺ าตุ อมหฺ ากเฺ จว มาตาปต ุอาทนี จฺ าตกานํ กาลกตานํ ทฆี รตตฺ ํ หติ าย สขุ าย. ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลาย ขอนอมถวาย ซึ่งมตกภัต (ภัตเพ่ือผูตาย) กับท้ังบริวารท้ังหลายเหลาน้ี แดพระภิกษุสงฆ ขอพระภิกษุสงฆ จงรับซ่ึงมตกภัต กับทั้ง บริวารทั้งหลายเหลาน้ี ของขาพเจาทั้งหลาย เพ่ือประโยชน และความสุข แกขาพเจา ท้ังหลายดวย แกญาติท้ังหลายมีบิดามารดาเปนตน ผูลวงลับไปแลวดวย ส้ินกาลนาน เทอญ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 207

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 208 208

 2๒0๐9๗ วชิ า พทุ ธประวตั ิ การกราบดวยเบญจางคประดิษฐนี้ ชายพึงนั่งคุกเขาตั้งฝาเทาชัน น่ังทับลงบนสนเทาทั้งคู เรียกการนั่งอยางน้ีวา น่ังทาเทพบุตร หรือ น่ังทาพรหม สําหรับหญิงพึงน่ังคุกเขาราบ คือ ไมต้ัง ฝา เทาชันแบบชาย เหยียดฝาเทาราบไปทางหลัง ใหปลายเทาท้ังสองทับกันเพียงเล็กนอย แลวน่ังทบั ลงบนฝาเทาทงั้ สองใหราบกับพ้ืนใหเขาทั้งสองชิดกนั ประนมมอื การนง่ั อยา งน้ี เรียกวา นงั่ ทาเทพธดิ า ๒. วิธีประเคนของพระ การประเคนของพระ คอื การถวายของใหพระภิกษุไดรับถึงมือดว ยอาการเคารพ วธิ ีการประเคนที่ถูกตอ งนั้น ตองประกอบดวยองค ๕ คือ ๑. ของทจ่ี ะประเคนนัน้ ตองไมใหญหรอื หนกั เกนิ ไป ๒. ผปู ระเคนตอ งอยูในหตั ถบาส คอื ตองอยหู า งจากพระผรู ับประเคนประมาณ ๑ ศอก ๓. นอมสิง่ ของเขา ไปถวายดวยความเคารพ ๔. กิรยิ าทน่ี อ มไปจะสง ใหดว ยมือ หรอื ส่ิงของท่ีเนื่องดวยกาย เชน ทพั พตี ักถวายก็ได ๕. พระภิกษุจะรับดวยมือก็ได หรือจะรับดวยของที่เนื่องดวยกาย เชน ผา หรือ บาตร ก็ได ๓. วิธีทาํ หนงั สอื อาราธนาและทําใบปวารณาถวายจตุปจจยั อาราธนาพระสงฆหรือการนิมนตพระสงฆไปประกอบพิธีตาง ๆ ทั้งงานมงคล และ อวมงคล ตองทําใหเปนกิจลักษณะ ถาทําเปนหนังสืออาราธนาเรียกวา “ฎีกาอาราธนา” หรือ “ฎีกานิมนต” ซ่งึ ตองระบจุ าํ นวนพระ ระบงุ าน ระบุสถานที่ ระบุวัน เดือน ป เวลา และระบุการ ไป – กลบั เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 209

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 210 210

 2๒1๐๙1 วชิ า พุทธประวัติ ๔. วิธีอาราธนาศีล อาราธนาพระปรติ ร และอาราธนาธรรม การอาราธนา คือ การเช้ือเชิญ หรือนิมนตพระสงฆ ใหยินดีในการประกอบ พุทธศาสนพิธีตาง ๆ ดวยถอยคําท่ีกําหนดเปนแบบ คําอาราธนาท่ีเกี่ยวของกับวิถีชีวิตของ ชาวพุทธ มอี ยู ๓ อยา ง คอื คําอาราธนาศลี คําอาราธนาพระปริตร คําอาราธนาธรรม วิธีอาราธนา ถาพระสงฆน่ังบนอาสนะ ผูอาราธนาควรเขาไปยืนระหวางเจาภาพกับแถวพระสงฆ ตรงกับรูปท่ี ๑ หรือที่ ๔ หางแถวพระสงฆพอสมควร ประนมมือไหวพระพุทธรูปกอน แลวยืน ประนมมอื ตงั้ ตวั ตรงกลาวคาํ อาราธนา ถาพระสงฆน่ังอาสนะต่ํา ผูอาราธนาตองเขาไปน่ังคุกเขาตรงหนาพระสงฆผูเปน ประธาน กราบพระท่ีโตะ บชู า ๓ ครั้ง แลวประนมมือกลาวคาํ อาราธนา หลักการอาราธนา พิธีเจริญพระพุทธมนต หรือ สวดพระพุทธมนต : อาราธนาศีล, อาราธนาพระปริตร ถามีเทศนตอจากเจริญพระพุทธมนต หรือสวดพระพุทธมนต ใหอาราธนาพระปริตรกอน แลว อาราธนาศลี และอาราธนาธรรม พธิ ีเทศน : อาราธนาศลี , อาราธนาธรรม พิธเี ล้ียงพระ, พธิ ีถวายทาน : อาราธนาศลี คาํ อาราธนาศลี ๕ มยํ ภนฺเต วิส฿ วิส฿ รกฺขณตฺถาย, ตสิ รเณน สห, ปฺจ สลี านิ ยาจาม. ทตุ ยิ มฺป มยํ ภนฺเต, วิส฿ วสิ ฿ รกฺขณตถฺ าย, ตสิ รเณน สห, ปจฺ สลี านิ ยาจาม. ตตยิ มปฺ  มยํ ภนเฺ ต, วิส฿ วสิ ฿ รกฺขณตถฺ าย, ตสิ รเณน สห, ปจฺ สลี านิ ยาจาม. เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 211

2๒๑1๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี คาํ อาราธนาพระปริตร วปิ ตตฺ ิปฏิพาหาย สพฺพสมฺปตตฺ ิสิทฺธิยา สพฺพทกุ ฺขวินาสาย ปริตตฺ ํ พฺรถู มงคฺ ลํ วปิ ตฺตปิ ฏิพาหาย สพพฺ สมปฺ ตตฺ ิสิทธฺ ยิ า สพฺพภยวนิ าสาย ปริตฺตํ พรฺ ถู มงคฺ ลํ วปิ ตตฺ ปิ ฏิพาหาย สพฺพสมปฺ ตตฺ ิสทิ ฺธิยา สพพฺ โรควินาสาย ปรติ ฺตํ พฺรถู มงฺคลํ. คําอาราธนาธรรม พรฺ หมฺ า จ โลกาธปิ ตี สหมปฺ ติ กตอฺ ชฺ ลี อนธฺ วิ รํ อยาจถ สนตฺ ธี สตตฺ าปปฺ รชกขฺ ชาตกิ า เทเสตุ ธมมฺ ํ อนกุ มปฺ ม ํ ปช.ํ ๕. วธิ ีกรวดนํา้ การกรวดนํ้า หมายถงึ การบรรจงเทนําสะอาดทเี ตรยี มไวใ้ นภาชนะนําใหห้ ยดลงบน ภาชนะรองหรอื ทใี ดทหี นึง เพอื อุทศิ ส่วนกุศลไปใหแ้ ก่ผู้ล่วงลบั ไปและเพือเป็นสกั ขพี ยานใน การบาํ เพญ็ กศุ ล หลกั การกรวดนํา เตรยี มนําสะอาดใสค่ ณฑี หรอื แกว้ หรอื ภาชนะอยา่ งอนื พอพระสงฆ์ เรมิ อนุโมทนาดว้ ยบทว่า ยถา วาริวหา..... ใหเ้ รมิ รนิ นํา โดยตงั ใจนึกอทุ ศิ ส่วนกศุ ล มอื ขวาจบั ภาชนะใส่นํา มอื ซา้ ยประคอง ไม่ควรใชน้ ิวมอื รอง เวลารนิ ไม่ใหน้ ําขาดสาย พอพระสงฆ์ ว่าบท สพฺพีตโิ ย ... พงึ รนิ นําใหห้ มดแลว้ ประนมมอื รบั พรตอ่ ไป คํากรวดนํา้ แบบส้ัน อิทํ เม ญาตนี ํ โหตุ, สุขิตา โหนตฺ ุ ญาตโย. ขอผลบญุ นี้ จงสําเร็จแกญาตทิ ง้ั หลายของขาพเจา ขอใหญาตทิ ัง้ หลายจงมีความสุขเถดิ . เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 212

 2๒1๑3๑ วชิ า พุทธประวัติ ¢ŒÍÊͺ¸ÃÃÁʹÒÁËÅǧ ËÅ¡Ñ Êμ٠ùѡ¸ÃÃÁªÑ¹é μÃÕ ÇÔªÒ¾·Ø ¸»ÃÐÇμÑ Ô »‚ ¾.È. òõõö - òõõø เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 213

2๒๑1๒4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 »Þ˜ ËÒáÅÐà©ÅÂÇÔªÒ¾·Ø ¸»ÃÐÇÑμÔ ¹Ñ¡¸ÃÃÁª¹Ñé μÃÕ Êͺã¹Ê¹ÒÁËÅǧ Ç¹Ñ ÈØ¡Ã ·Õè òó μÅØ Ò¤Á ¾.È. òõõø ๑. พทุ ธประวตั ิ คอื อะไร ? มีความสาํ คญั อยา่ งไรจงึ ตอ้ งเรยี นรู้ ? เฉลย คอื เรอื งทพี รรณนาความเป็นไปของสมเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ฯ มคี วามสาํ คญั ในการศึกษาและปฏบิ ตั พิ ระพทุ ธศาสนา เพราะแสดงพระพทุ ธจรยิ าใหป้ รากฏ ฯ ๒. เจา้ ชายสทิ ธตั ถะทรงปรารภถงึ อะไร จงึ เสด็จออกบรรพชา ? และทรงบรรพชาไดก้ ปี ีจงึ ตรสั รู้ ? เฉลย ทรงปรารภถงึ ความแก่ ความเจบ็ ความตาย และสมณะฯ ทรงบรรพชาได้ ๖ ปี ฯ ๓. ผูป้ ระกาศตนเป็นอบุ าสกดว้ ยการถงึ รตั นะ ๒ เป็นครงั แรก คอื ใคร ? ไดพ้ บพระพทุ ธเจา้ ทไี หน ? เฉลย คอื ตปสุ สะ และภลั ลกิ ะ ฯ ทใี ตต้ น้ ราชายตนะ ฯ ๔. พระพทุ ธเจา้ ประสูติ ตรสั รู้ ปรนิ ิพพานทใี ตต้ น้ ไมอ้ ะไร ? เฉลย ประสูติและปรนิ ิพพาน ใตต้ น้ สาละ ฯ ตรสั รู้ ใตต้ น้ โพธิ (อสั สตั ถพฤกษ)์ ฯ ๕. ปญั จวคั คีย์ ไดแ้ กใ่ ครบา้ ง ? ทา่ นเหลา่ นันอปุ สมบทดว้ ยวธิ อี ะไร ? เฉลย ไดแ้ ก่พระอญั ญาโกณฑญั ญะ พระวปั ปะ พระภทั ทยิ ะ พระมหานามะ และ พระอสั สชิ ฯ ดว้ ยวธิ เี อหภิ กิ ขอุ ปุ สมั ปทา ฯ ๖. อนุปพุ พกี ถา ๕ วา่ ดว้ ยเรอื งอะไร ? ทรงแสดงครงั แรกแกใ่ คร ? เฉลย วา่ ดว้ ยทาน ศีล สวรรค์ โทษแหง่ กาม และอานิสงสแ์ ห่งการออกจากกาม ฯ แก่ยสกลุ บตุ ร ฯ 214

 2๒1๑5๓ วชิ า พทุ ธประวตั ิ ๗. สถานทถี วายพระเพลงิ พระพทุ ธสรรี ะ ชือว่าอะไร ? ตงั อยูใ่ นเมืองอะไร ? เฉลย ชอื ว่า มกฏุ พนั ธนเจดยี ์ ฯ เมอื งกสุ นิ ารา ฯ ๘. ใครถวายบณิ ฑบาตแด่พระพทุ ธองคก์ อ่ นตรสั รู้ และกอ่ นปรนิ ิพพาน ? เฉลย ก่อนตรสั รู้ คอื นางสุชาดา ก่อนปรนิ ิพพาน คือนายจนุ ทะ ฯ ศาสนพธิ ี ๙. การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ คอื อะไร ? เฉลย คอื การประกาศตนของผูแ้ สดงว่า ยอมรบั นบั ถอื พระพทุ ธศาสนาประจาํ ชวี ติ ของตน ฯ ๑๐. วนั สาํ คญั ทางพระพทุ ธศาสนา กาํ หนดไวก้ วี นั ? มีวนั อะไรบา้ ง ? เฉลย ๔ วนั ฯ มวี นั วสิ าขบูชา วนั อฏั ฐมบี ูชา วนั อาสาฬหบูชา และวนั มาฆบูชา ฯ ********* เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 215

2๒๑1๒6 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 »Þ˜ ËÒáÅÐà©ÅÂÇªÔ Ò¾Ø·¸»ÃÐÇμÑ Ô ¹¡Ñ ¸ÃÃÁª¹Ñé μÃÕ Êͺã¹Ê¹ÒÁËÅǧ Ç¹Ñ àÊÒÏ ·Õè ô μØÅÒ¤Á ¾.È. òõõ÷ 216

 2๒1๑7๓ วชิ า พทุ ธประวัติ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 217

2๒๑๒1๒๑8๒ คมูคอืูมกอื ากราศรกึศษกึ าษนากั นธกั รธรรมรชมน้ั ชตนั้ รตีรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ปญ หาและเฉลยวิชาพุทธประวัติ นักธรรมชน้ั ตรี สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๑๕ ตลุ าคม พ.ศ.๒๕๕๖ ๑. คนในชมพูทวปี แบง ออกเปนกี่วรรณะ ? อะไรบาง ? ๑. แบ่งเป็น ๔ วรรณะ ฯ คอื วรรณะกษตั รยิ ์ วรรณะพราหมณ์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศทู ร์ ฯ ๒. พระพทุ ธบดิ าทรงมพี ระนามวา อะไร ? ทรงปกครองแควน อะไร ? เมอื งหลวงชอ่ื อะไร ? ๒. พระนามว่าพระเจา้ สทุ โธทนะ ฯ แควน้ สกั กะ ฯ ชอื กบลิ พสั ดุ์ ฯ ๓. อสติ ดาบส อาฬารดาบส และอุทกดาบส มีความเก่ยี วขอ งกับพระมหาบุรษุ อยางไร ? ๓. อสติ ดาบส เป็นผคู้ นุ้ เคยเป็นทเี คารพนับถอื ของศากยสกุล ในเวลาทพี ระมหาบุรษุ ประสตู ิ ใหมๆ่ ทา่ นไดไ้ ปเยยี ม และไดพ้ ยากรณ์ทาํ นายพระลกั ษณะของพระมหาบุรษุ ว่ามคี ตเิ ป็น ๒ กอ่ นคนอนื ทงั หมด อาฬารดาบสและอุทกดาบส เป็นผทู้ พี ระองคไ์ ดเ้ คยอย่อู าศยั ศกึ ษาลทั ธิ ของทา่ นทงั ๒ ฯ ๔. เม่ือเจาชายสิทธัตถะประสูติได ๕ วัน พระราชบิดาโปรดใหทําอะไรเพ่ือพระราชกุมาร บา ง ? ๔. โปรดให้ชุมนุมพระญาติวงศ์ และเสนามาตย์พร้อมกบั เชญิ พราหมณ์ร้อยแปดคนมาฉัน โภชนาหาร แลว้ ทาํ มงคลรบั พระลกั ษณะ และขนานพระนามวา่ สทิ ธตั ถกมุ าร ฯ ๕. พระมหาบุรษุ ทรงทอดพระเนตรเห็นคนแกค นเจบ็ คนตาย และบรรพชิตแลว ทรงดําริ อยา งไร ? ๕. เมอื ทรงเหน็ คนแกค่ นเจบ็ คนตายแลว้ ทรงน้อมเขา้ มาเปรยี บกบั พระองคเ์ องเกดิ ความสงั เวช ว่า เราจะตอ้ งแกต่ อ้ งเจบ็ ตอ้ งตายเชน่ กนั เมอื ทรงเหน็ บรรพชติ ทรงดาํ รวิ ่า สาธุโขปพฺพชฺชา บวชดนี กั แล ฯ 218

 2๒1๑9๓ วชิ า พุทธประวัติ  ๒๑๓ วชิ า พุทธประวัติ ๖. พระมหาบรุ ุษเสด็จประทบั บําเพ็ญเพยี รจนถึงตรสั รู ณ ตําบลใด ? ๖. ณ ตาํ บลอรุ เุ วลาเสนานคิ ม ฯ ๗. เม่ือพระศาสดาเสด็จไปเมืองพาราณสีเพื่อโปรดปญจวัคคีย ทรงพบใครในระหวาง ทาง ? และหลงั สนทนากันแลวผูนัน้ ไดบ รรลุผลอะไร ? ๗. ทรงพบอปุ กาชวี ก ฯ ไมไ่ ดบ้ รรลุผลอะไร ฯ ๘. บุคคลผแู สดงตนเปนอุบาสกดวยการถงึ รตั นะ ๒ และรตั นะ ๓ เปน คนแรกคือใคร ? ๘. ผถู้ งึ รตั นะ ๒ คอื ตปุสสะและภลั ลกิ ะ ฯ ผถู้ งึ รตั นะ ๓ คอื บดิ าพระยสะ ฯ ศาสนพิธี ๙. บญุ พิธมี กี ่อี ยาง ? อะไรบา ง ? ๙. มี ๒ อยา่ ง ฯ คอื ๑. การทาํ บุญงานมงคล ๒. การทาํ บุญงานอวมงคล ฯ ๑๐. การแสดงความเคารพพระสงฆม ีก่วี ิธี ? อะไรบาง ? ๑๐. มี ๓ วธิ ี ฯ คอื ๑. ประนมมอื เรยี กวา่ อญั ชลี ๒. ไหว้ เรยี กวา่ นมสั การ ๓. กราบ เรยี กวา่ อภวิ าท ฯ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 219

2๒๑2๒0 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 220

 วิชา วินัย 2๒๑2๙1 221 เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1

2๒๒2๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ขอบขายเน้ือหา วชิ าวนิ ัย : วินัยบัญญัติ 222

 2๒2๒3๑ วชิ า วนิ ัย กัณฑท่ี ๑ อุปสัมปทา คําวา อุปสัมปทา แปลวา ความถึงพรอม การเขาถึง การยอมรับ แปลทับศัพทวา อุปสมบท ซ่ึงนํามาเรียกการรับกุลบุตรผูเขามาบวชเปนพระภิกษุในพระพุทธศาสนาวา การอุปสมบท คอื การบวชเปนภิกษุ หรอื การไดรับอนญุ าตใหเปน ภกิ ษุ วิธอี ปุ สมบท วธิ อี ปุ สมบทในพระพทุ ธศาสนา โดยท่ัวไปมี ๓ วิธี คือ ๑. เอหิภิกขุอุปสัมปทา คือ การอุปสมบทเปนภิกษุ โดยพระพุทธเจาเปนผูบวชให โดยการเปลงพระวาจาวา ทานจง เปนภิกษุมาเถิด พรอมกับการเปลงพระวาจาน้ัน บุคคลนั้น กส็ ําเร็จเปนภกิ ษุโดยสมบูรณ ๒. ติสรณคมนูปสัมปทา คือ การอุปสมบทดวย การเปลงวาจาถึงไตรสรณคมน หมายถึง การอุปสมบทดวย การเปลงวาจาขอถึงพระรัตนตรัยเปนสรณะที่พึ่ง ที่ระลึกวา พุทฺธํ สรณํ คจฉฺ ามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฆฺ ํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺป ฯลฯ ตติยมฺป ฯลฯ เปนวิธีอุปสมบท ที่พระพุทธเจาทรงอนุญาตใหพระสาวกบวชกุลบุตรในคร้ังพุทธกาล ตอมา เมื่อทรงอนุญาต การอปุ สมบทดวยญัตติจตุตถกรรมวาจาแลว ก็ทรงอนุญาตใหการอุปสมบทดวยติสรณคมนูปสัมปทา เปน การบวชสําหรบั สามเณรสบื มาจนถึงปจ จบุ ัน แตเ รียกวา ปพ พัชชา หรอื บรรพชา ๓. ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา คือ การอุปสมบทดวยญัตติจตุตถกรรม หมายถึง หมูสงฆเปนผูบวชใหดวยการสวดตั้งญัตติ คือ คําประกาศใหสงฆทราบเพ่ือทํากิจรวมกัน ๑ ครั้ง และสวดอนุสาวนา คือ คําสวดประกาศเพ่ือขอมติอนุมัติในกิจน้ัน ๆ จากสงฆ ๓ คร้ัง เปนวิธี อปุ สมบทท่ที รงอนุญาตใหส งฆกระทําตั้งแตครั้งพุทธกาลจนถึงปจ จบุ ันน้ี วิธีอุปสมบททั้ง ๓ อยางนี้ เปนวิธีที่ใชเปนหลัก แตยังมีวิธีอุปสมบทแบบยอยๆ ที่ ทรงประทานเฉพาะแกบ ุคคลอีก ๕ วิธี รวมท้ังหมดเปน ๘ วิธี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 223

๒2๒2๒4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 อนึ่ง ปจจุบันมีเฉพาะการอุปสมบทดวยวิธีที่ ๓ เทานั้น และเรียกวา การบรรพชา อุปสมบท และเรียกวิธีบวชสามเณรวา การบรรพชา (จะเห็นวาวิธีเรียกการบวชเปนสามเณร และการบวชเปนพระภิกษุจะตางกัน คือ บรรพชาใชสําหรับบวชสามเณร สวนบรรพชา อุปสมบท ใชเรียกการบวชเปนพระภิกษุ เหตุที่มีคําวา บรรพชา เรียงไวขางหนาอุปสมบท เน่ืองจากผูอุปสมบทเปนภิกษุทุกคนจะตองผานกระบวนการบวชเปนสามเณรเสียกอนแลวจึงจะ เขาสูกระบวนการอุปสมบทเปนพระภิกษุได จนกระท่ังบางครั้งนักปราชญโบราณจะกลาววา “พระภิกษุทุกรูปจะตองเคยบวชเณรมากอน แตผูที่เคยบวชเณรไมจําเปนตองเคยบวชเปนพระ มากอ น” วธิ กี ารอปุ สมบทดวยญตั ตจิ ตุตถกรรม การอุปสมบทดวยญตั ตจิ ตุตถกรรม มขี อกําหนดและระเบียบวธิ ใี นการอุปสมบทสรุปได ดังนี้ สมบัตขิ องการอปุ สมบท ๕ ประการ การอุปสมบทดวยวิธีญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทาตองประกอบดวยองคประกอบ หรือที่ เรยี กวา สมบัติ ๕ ประการ จึงถือวา เปน การอปุ สมบทท่ถี ูกตองสมบูรณ ดงั นี้ ๑. วตั ถุสมบตั ิ หมายถึง คุณสมบัติของผอู ุปสมบท ๕ คอื 224

 2๒2๒5๓ วชิ า วนิ ัย ๑.๑ ตอ งเปนมนุษยผ ชู าย ๑.๒ มีอายคุ รบ ๒๐ ปบ รบิ รู ณ นบั แตป ฏสิ นธิ ๑.๓ ไมเปนบคุ คลวบิ ัติ เชน ถูกตอน แปลงเพศ เปนตน ๑.๔ ไมเ คยทําความผิดอยา งรา ยแรงในพระพุทธศาสนา เชน ฆา บดิ ามารดา เปนตน ๑.๕ ไมเคยทําความเสียหายอยางหนักในพระพุทธศาสนา เชน ตองอาบัติ ปาราชิก เปนตน ๒. ปรสิ สมบตั ิ คือ ความถึงพรอมแหงภิกษบุ รษิ ัท หมายถงึ ภิกษุทําการอุปสมบท ตองมีจํานวนครบตามท่ีกําหนด คือ ในปจจันตประเทศหรือทองถิ่นทุรกันดารหาภิกษุยาก อยา งนอยตอ งมภี ิกษุ ๕ รูป ในมัชฌิมประเทศ หรือมธั ยมประเทศ คอื ถน่ิ เจริญอยางนอยจะตองมี พระภิกษุ ๑๐ รูป รวมพระอุปชฌายดวย ถาขาดหรือหยอนโดยไมครบองคกําหนดเรียกวา ปริสวิบตั ิ มผี ลใหก ารอุปสมบทนั้นไมสาํ เรจ็ ๓. สีมาสมบัติ ความถึงพรอมแหงสีมา หมายถึง ในการอุปสมบทน้ัน สงฆตอง พรอ มกันทาํ ในเขตทก่ี ําหนดเรียกวา สีมา คือ สถานที่ประชุมทําสังฆกรรมนั้นตองไดมาตรฐานถูกตอง ตามพระธรรมวนิ ัยไดข นาดถูกตองมีนิมิตไมเสยี เปนตน ๔. บพุ กจิ หมายถึง กจิ ท่จี ะตองทําใหแ ลว เสร็จกอนการอปุ สมบท มี ๔ ประการ คอื ๔.๑ ตรวจตราผอู ุปสมบทตอ งมีคณุ สมบตั ิครบ ๔.๒ มอี ปุ ช ฌายรบั รอง หรอื ชักนาํ เขา หมู ๔.๓ ตรวจดูบริขารท่ีจําเปน มีบาตรและจีวรเปนตน ตองพรอม ถาขาด ผูเปน อุปชฌายตองจัดหา ๔.๔ ผอู ุปสมบทตอ งเปลง วาจาขออุปสมบทดว ยตนเอง ๕. กรรมวาจาสมบัติ คือ การสวดประกาศรับเขาหมูคือเปนภิกษุ โดย พระกรรมวาจาจารยจะสวดประกาศใหสงฆฟง วาจาที่สวดประกาศน้ันเรียกวา ญัตติจตุตถ- กรรมวาจา แปลวา การสวดประกาศในทามกลางสงฆโดยมีวาจาครบ ๔ รวมท้ังญัตติ คือ ครั้งท่ี ๑ สวดญัตติ คือ คําประกาศใหสงฆทราบเพื่อทํากิจของสงฆรวมกัน อีก ๓ คร้ัง เรียกวา อนุสาวนา แปลวา วาจาขอความเห็น คือตั้งญัตติแลวสวดอนุสาวนา ๓ หน ในระหวาง สวดอนุสาวนา ถา มีภิกษุรูปหนึ่งคัดคานข้ึน การใหอุปสมบทน้ันเสียไปทันที ถาทุกรูปน่ิงถือ ๒วา๒ย๔อมรบั การอุปสมบทครัง้ นนั้ ถอื วาสาํ เรจ็ หากสมคบูมอืัตกิขารอศใกึ ดษขานอกั หธนรร่ึงมบชนั้กตพรีรอง ถือวา การบวชดวยญัตติจตุตถกรรมน้ี การบวชใชไมไ ด เปนอุปสมบทวบิ ตั ิ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 225

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 226 226

 2๒2๒7๕ วชิ า วนิ ัย สงฆมี ๒ ประเภท ๑. อริยสงฆ หมายถึง พระภิกษุผูเปนอริยบุคคลตั้งแตพระโสดาบันจนถึง พระอรหนั ต ๒. สมมติสงฆ หมายถงึ ภกิ ษตุ งั้ แต ๔ รูปข้ึนไปที่สมมติข้ึนเพื่อทํากิจน้ันๆ เรียก อกี อยา งหนึ่งวา การกสงฆ (พระสงฆผ ูทาํ กจิ ) มี ๔ ประเภท คอื ๒.๑ จตุวรรค คือ ภิกษุมีจํานวน ๔ รูป ทําสังฆกรรมไดทุกอยาง ยกเวน ปวารณาใหผากฐิน อปุ สมบท และอพั ภาณ (จตุ แปลวา ๔) ๒.๒ ปญจวรรค คือ ภิกษุมีจํานวน ๕ รูปข้ึนไป ทําสังฆกรรม คือ ทําปวารณาให ผาพระกฐิน และใหอ ปุ สมบทในปจ จันตประเทศได (ปญ จ แปลวา ๕) ๒.๓ ทสวรรค คือ ภิกษุมีจํานวน ๑๐ รูปข้ึนไป ทําสังฆกรรมไดทุกอยาง และ ใหอ ุปสมบทในมธั ยมประเทศได (ทส แปลวา ๑๐) ๒.๔ วีสตวิ รรค คอื ภิกษมุ จี าํ นวน ๒๐ รปู ข้ึนไป ทําสังฆกรรมไดทุกอยางและ ทาํ อัพภาณได (วีสติ แปลวา ๒๐) อฏั ฐวาจกิ าอปุ สมั ปทา (การบวชภิกษุณี) อัฏฐวาจิกาอุปสัมปทา คือ การอุปสมบทมีวาจา ๘ คือ บวชดวยญัตติ จตุตถกรรมวาจา ๒ ครั้ง จากสงฆสองฝาย คือ จากภิกษุณีสงฆคร้ังหน่ึงจากภิกษุสงฆครั้งหน่ึง (พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต) ๒๕๓๘ - ๔๓๑) เปนวิธกี ารบวชทีใ่ ชบ วชเปนภิกษุณี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 227

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 228 228

 2๒2๒9๗ วชิ า วนิ ยั มนุษย ภิกษุน้ันเปนปาราชิก หาสังวาสมิได” จัดเปนมูลบัญญัติ ตอมา มีภิกษุเสพเมถุนกับ นางลิง จึงทรงบัญญัติเพ่ิมเติมข้ึนอีกวา “อน่ึง ภิกษุเสพเมถุนธรรม โดยที่สุด แมกับสัตวดิรัจฉาน ตวั เมีย ภิกษุน้นั เปน ปาราชิก หาสงั วาสมิได” เชนน้ี จดั เปน อนบุ ัญญตั ิ สิกขาบทหน่ึง ๆ ทรงปรับโทษไวหนักบาง เบาบาง ตามสมควรแกความผิด เรียกวา อาบตั ิ อาบัติ โทษท่ีเกิดจากการละเมิดสิกขาบทที่พระพุทธเจาทรงบัญญัติไว เรียกวา อาบัติ แปลวา ความตอง คือ ตองไดรับโทษหรือถูกปรับโทษตามความหนักเบาแหงการกระทําผิด พุทธบญั ญตั ินนั้ ๆ อาบัติ กลาวโดยช่ือมี ๗ อยาง คือ ปาราชิก สังฆาทิเสส ถุลลัจจัย ปาจิตตีย ปาฏเิ ทสนียะ ทุกกฏ และทพุ ภาสิต อาบัติ กลาวตามโทษ มี ๓ สถาน คอื ๑. โทษอยางหนกั ตองเขาแลว ขาดจากความเปนภิกษุ ไดแ ก อาบตั ปิ าราชกิ ๒. โทษอยา งกลาง ตองเขา แลวตอ งอยูกรรมจงึ พนได ไดแ ก อาบตั ิสงั ฆาทเิ สส ๓. โทษอยางเบา ตองเขาแลวตองแสดงอาบัติตอภิกษุอ่ืนจึงพนได ไดแก อาบัติ ๕ อยา งทเี่ หลือ ประเภทของอาบัติ ๑. จัดตามวิธีแกไข มี ๒ อยาง คอื ๑.๑ อาบตั ทิ แ่ี กไ ขไมได เรยี กวา อเตกิจฉา ไดแ ก อาบตั ปิ าราชิก ๑.๒ อาบตั ทิ ่แี กไ ขได เรียกวา สเตกจิ ฉา ไดแก อาบตั ิ ๖ อยา งทเ่ี หลือ ๒. จัดตามความหนกั – เบา มี ๒ อยาง คอื ๒.๑ ครุกาบัติ อาบตั ิหนัก ไดแ ก อาบัตปิ าราชิก และ สงั ฆาทเิ สส ๒.๒ ลหกุ าบตั ิ อาบตั เิ บา ไดแ ก อาบตั ทิ ่เี หลือ ๓. จดั ตามความชวั่ หยาบ มี ๒ อยาง คือ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 229

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 230 230

 2๒3๒๙1 วชิ า วนิ ยั อาการทต่ี องอาบัติ ๖ อยาง ภิกษทุ ่ีลว งละเมดิ อาบตั ิ มีสาเหตุ ๖ ประการ คอื ๑. ตองดวยไมล ะอาย (อลชั ชิตา) ๒. ตองดว ยความไมรู (อัญญาณตา) ๓. ตอ งดว ยสงสยั แลว ขืนทํา (กกุ กุจจปกตา) ๔. ตองดว ยเขา ใจวา ควรทาํ ในส่ิงที่ไมค วรทํา (อกปั ปเย กปั ปยสัญญติ า) ๕. ตอ งดวยเขา ใจวา ไมค วรทาํ ในสิ่งทีค่ วรทํา (กปั ปเย อกปั ปย สญั ญิตา) ๖. ตอ งดว ยหลงลืมสติ (สตสิ ัมโมสา) หลักการปฏบิ ตั ใิ นการออกจากอาบัติ ๑. เปน หนาทข่ี องภิกษผุ ลู วงละเมดิ จะตองทาํ คืนดว ยวธิ ีนนั้ ๆ ๒. เปน หนา ทข่ี องภิกษผุ ูรูเ ห็น จะตักเตือนดว ยจิตเมตตา เมื่อเธอปด บังไมทาํ คนื ๓. เปน หนาทข่ี องสงฆ จะทําตามสมควรแกธรรมวินัย ในเมือ่ เธอดื้อดึง อาการที่ทรงบญั ญัตพิ ระวินัย ๑. เมอ่ื มเี รือ่ งเสยี หายเกดิ ขึ้น ทรงรับสั่งใหประชมุ สงฆ ๒. ตรสั ถามภกิ ษผุ ูก อเหตุ ใหยอมรบั ตามเปน จรงิ ๓. ทรงชีโ้ ทษแหง การประพฤตเิ ชนนั้น แลวจงึ แสดงอานสิ งสแหง การสาํ รวม ๔. ทรงบัญญตั สิ กิ ขาบทหามภกิ ษทุ ําเชน นนั้ อกี และวางโทษไวแ กผ ลู วงละเมิด อานสิ งสแหง การปฏบิ ตั ติ ามพระวนิ ัย ภกิ ษุผูเ ครงครดั ในพระวินัย รกั ษาไวด ว ยดี ยอมไดร บั อานสิ งส ๓ ประการ คอื ๑. ไมเ กิดวิปฏิสาร คือ ไมม ีความเดอื ดรอ นใจภายหลัง ๒. ไดรับความแชมชื่นใจ มีจิตใจเบิกบาน เพราะรูสึกวาตนไดประพฤติดีงาม เม่ือ ระลึกถงึ ศลี ของตนเมือ่ ใดก็เบิกบานใจตลอดเวลา ๓. มคี วามองอาจในหมภู กิ ษผุ มู ีศลี ไมสะทกสะทาน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 231

๒2๓3๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 จดุ มงุ หมายของการบญั ญัตพิ ระวนิ ยั ๘ อยา ง ๑. เพอื่ ปอ งกนั ไมใ หเปน คนเห้ียมโหด เชน หามฆา ๒. เพือ่ ปองกันการหลอกผูอ นื่ เลี้ยงชพี ๓. เพื่อปองกนั ไมใ หเปน คนดรุ าย ๔. เพื่อปอ งกันไมใหเปนคนประพฤติเลวทราม ๕. เพอ่ื ปองกนั ไมใหเ ปนคนประพฤติเสียหาย ๖. เพ่ือปอ งกันไมใหเลนซุกซน ๗. เพอ่ื ใหส อดคลอ งกับความนยิ มของคนสมยั นน้ั ๘. เพื่อใหเ ปนธรรมเนียมของภกิ ษุ ประโยชนของการบญั ญตั ิพระวินยั ๑. เพอ่ื ความดงี ามแหงสงฆ ๒. เพ่ือความอยผู าสุกแหง สงฆ ๓. เพื่อขมบุคคลผูเกอ ยาก (หนาดา น) ๔. เพือ่ ความผาสกุ ของภิกษุผูมีศลี เปนทร่ี ัก ๕. เพอ่ื กําจดั อาสวะอันจะเกดิ ข้นึ ในปจจุบนั ๖. เพอื่ ปด กนั้ อาสวะที่จะเกดิ ขึน้ ในอนาคต ๗. เพ่ือยังผูทไ่ี มเล่อื มใสใหเ ล่ือมใส ๘. เพอ่ื ยงั ผูท ่เี ล่ือมใสแลวใหเล่อื มใสย่งิ ขน้ึ ๙. เพื่อความต้งั มนั่ แหง พระสัทธรรม ๑๐. เพื่อเอือ้ เฟอแกพระวินยั ขอ ๑, ๒ ทรงบญั ญัตเิ พ่อื ประโยชนแ กหมคู ณะ ขอ ๓, ๔ ทรงบญั ญัตเิ พือ่ ประโยชนแ กบุคคล ขอ ๕, ๖ ทรงบัญญัติเพ่อื ประโยชนแ กความบรสิ ทุ ธห์ิ รือแกชวี ิต ขอ ๗, ๘ ทรงบญั ญัติเพ่อื ประโยชนแ กประชาชน ขอ ๙, ๑๐ ทรงบญั ญัติเพ่ือประโยชนแ กพ ระศาสนา 232

 2๒3๓3๑ วชิ า วนิ ัย มังสะ (เนอ้ื ) ๑๐ อยา งท่หี ามภกิ ษฉุ นั เน้อื สัตวท่ีทรงบัญญัตหิ ามไมใหภิกษุฉนั ๑๐ อยา ง ไดแก ๑. เนอื้ ชา ง ๒. เนื้อมา ๓. เนอื้ สนุ ัข ๔. เนื้องู ๕. เนอื้ ราชสหี  (สงิ โต) ๖. เนอ้ื หมี ๗. เนอ้ื เสอื โครง ๘. เนื้อเสอื ดาว ๙. เนอื้ เสอื เหลือง ๑๐. เนอ้ื มนษุ ย ภิกษุฉนั เน้ือ ๙ อยางแรก ตองอาบัติทกุ กฏ ฉันเนอ้ื มนษุ ยตองอาบัติถุลลจั จัย อนึ่ง เน้ือสตั วด ิบและเนื้ออุททิสสมังสะ (เนื้อท่ีเขาฆาเจาะจงเพื่อถวายแกตน) ภิกษุฉัน ตองอาบัตทิ กุ กฏ ถา ไมรู ไมเห็น ไมส งสัย ฉันไมเปน อาบัติ วนิ ยั ๒ ประเภท วนิ ยั แบงเปนประเภทตามผรู กั ษามี ๒ ประเภท คอื ๑. อาคารยิ วินัย วนิ ยั สาํ หรับผคู รองเรอื น ไดแ ก ศลี ๕ ศลี ๘ ๒. อนาคารยิ วนิ ยั วินยั ของนักบวช ไดแก ศลี ๑๐ ศีล ๒๒๗ ศลี ๓๑๑ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 233

2๒๓3๒4 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 กัณฑท ่ี ๓ สกิ ขาบท พระบัญญัติ ไดแก มูลบัญญัติและอนุบัญญัติที่ทรงบัญญัติไวแตละขอ เรียกวา สิกขาบท คือ ขอทต่ี องศกึ ษา หรอื บทแหงการศกึ ษา มี ๒ อยาง คือ ๑. อาทิพรหมจริยกาสิกขา ไดแก สิกขาบทท่ีทรงบัญญัติเปนพุทธอาณา สําหรับ ปองกันความประพฤติเสียหาย หมายถึง ศีล ๒๒๗ ที่มาในพระปาติโมกข ทรงอนุญาตใหสวดในท่ี ประชมุ สงฆทุกกึง่ เดือน ๒. อภิสมาจาริกาสิกขา ไดแก สิกขาบทที่ทรงบัญญัติเปนอภิสมาจารเปนหลัก การศึกษาอบรมในฝายขนบธรรมเนียมท่ีชักนําความประพฤติความเปนอยูของสงฆไดดีงามมีคุณคา ยงิ่ ขึ้น เปนสิกขาบทท่ีมานอกพระปาตโิ มกข สกิ ขาบทที่มาในพระปาติโมกข ทา นแสดงไว ๒ นัย ดังนี้ ๑. ตามบาลีพระสูตร ทุติยปณณาสก ติกนิบาต อังคุตตรนิกายมี ๑๕๐ สิกขาบท คือ ปาราชิก ๔ สังฆาทิเสส ๑๓ นิสสัคคิยปาจิตตีย ๓๐ สุทธิปาจิตตีย ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ และ อธกิ รณสมถะ ๗ ๒. ในพระปาตโิ มกขท ่ีสวดกันอยใู นคมั ภรี วิภงั คแหง สกิ ขาบทแสดงไว มี ๒๒๗ สิกขาบท โดยเพ่ิมอนิยต ๒ และเสขิยวตั ร ๗๕ การปรับอาบตั ิ ๒ อยาง ๑. ปรับอาบัติโดยตรง ไดแก สิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข ๔ อยาง คือ ปาราชิก สงั ฆาทเิ สส ปาจติ ตยี  ปาฏเิ ทสนียะ ๒. ปรับอาบัติโดยออม ไดแก สิกขาบทท่ีมานอกพระปาติโมกข ๓ อยาง คือ ถุลลัจจัย ทกุ กฏ ทุพภาสิต 234

 2๒3๓๓5 วชิ า วนิ ยั การปรับอาบตั โิ ดยตรง จะปรบั ก็ตอ เม่ือภิกษุละเมิดจนถึงท่ีสุดแหงสิกขาบท เชน ภิกษุ แกลงฆามนุษยใหตายตองปาราชิก การปรับโดยออมจะปรับเมื่อภิกษุละเมิด แตยังไมถึงท่ีสุด เชน แกลงฆามนุษย แตไมตายเพียงบาดเจ็บ จะปรับอาบัติปาราชิกไมได ตองลดโทษลงมา เปน ถลุ ลัจจัย ทุกกฏ ตามสมควรแกค วามผดิ ชื่อวา ปรับโดยออ ม อาบตั ิโดยออมทัง้ ๓ นั้น เปนอาบัติท่ีลดโทษมาจากอาบตั ิท่ีปรับโดยตรง คือ ๑. ถลุ ลัจจัย ทกุ กฏ ลดลงมาจากปาราชิกและสังฆาทเิ สส ๒. ทกุ กฏอยา งเดียว ลดลงมาจากปาจิตตีย เวน แตโ อมสวาทสกิ ขาบท และปาฏเิ ทสนียะ ๓. ทุพภาสติ ลดลงมาจากปาจิตตยี  เฉพาะโอมสวาทสิกขาบท สวนอนิยตสิกขาบท เปนสิกขาบทท่ีแฝงอยูเหมือนกาฝาก ไมไดปรับอาบัติเหมือน สกิ ขาบทอนื่ ๆ เสขิยวัตรแตล ะขอ ถา ไมเอ้อื เฟอประพฤตติ าม ทา นปรบั อาบัตทิ กุ กฏ อุทเทส สิกขาบทท่ีมาในพระปาติโมกขน้ัน จัดเขาเปนหมวดหมูตามชนิดของอาบัติ เรียกวา อุทเทส มี ๙ คือ ๑. นิทานุทเทส วิธีทภี่ ิกษุผูฟงปาติโมกขควรปฏบิ ัติกอนสวดสิกขาบท ๒. ปาราชกิ ทุ เทส หัวขอ วา ดวยปาราชิก ๔ ๓. สังฆาทเิ สสทุ เทส หวั ขอวา ดว ยสังฆาทิเสส ๑๓ ๔. อนยิ ตุทเทส หัวขอวาดวยอนยิ ต ๒ ๕. นิสสัคคิยทุ เทส หวั ขอ วาดว ยนสิ สัคคิยปาจิตตยี  ๓๐ ๖. ปาจิตตยิ ทุ เทส หวั ขอ วา ดว ยสุทธปิ าจิตตยี  ๙๒ ๗. ปาฏิเทสนยี ทุ เทส หวั ขอ วาดวยปาฏเิ ทสนียะ ๔ ๘. เสขิยทุ เทส หัวขอวา ดว ยเสขิยวัตร ๗๒ ๙. อธกิ รณสมถทุ เทส หวั ขอ วา ดว ยอธกิ รณสมถะ ๗ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 235

2๒๓3๔6 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี อนั ตราย ๑๐ อันตราย คอื เหตุขัดของท่ีทรงอนญุ าตใหสวดปาติโมกขยอได มี ๑๐ อยา ง คือ ๑. พระราชาเสดจ็ มา ๒. โจรปลน ๓. ไฟไหม ๔. นํา้ หลากมา ๕. คนมามาก ๖. ผเี ขา ภิกษุ ๗. มีสตั วรา ยมา ๘. มีงูเลอ้ื ยมา ๙. มเี ร่ืองเปน เรื่องตายเก่ยี วกบั ภิกษุ ๑๐. มอี ันตรายแกพรหมจรรย เชน มีคนมาจบั ภิกษุ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 236

 2๒3๓7๕ วชิ า วนิ ัย กัณฑที่ ๔ ปาราชกิ ๔ ปาราชิก แปลวา ผูพายแพ หาสังวาสมิได คือ ไมมีสิทธิของความเปนภิกษุในการ เขารวมอุโบสถ ปาวารณา และทําสังฆกรรมเหมือนกับภิกษุอื่น จัดเปน ครุกาบัติ มีโทษ รายแรงที่สุด เทียบเทากับโทษประหารชีวิต ภิกษุลวงละเมิดเขาแลวตองขาดจากความเปน ภิกษุในทันที แมเธอจะปกปดอาบัติไว นุงหมผากาสาวพัสตรอยูในเพศบรรพชิต ก็ไมถือวาเปน ภกิ ษุ และเม่อื สกึ ออกไปแลว จะกลบั มาบวชเปน ภิกษอุ กี กไ็ มไ ด แมป กปด แลวมาบวชใหมก็ไมเ ปน ภิกษุ อาบตั ิปาราชกิ นี้ ภกิ ษุพึงทําการศึกษาใหเขาใจชัดเจนและพึงระมัดระวังสํารวมใหมาก อยาไดลว งละเมิด มีท้งั หมด ๔ สกิ ขาบท คือ ๑. ภกิ ษเุ สพเมถนุ (รวมประเวณี มีเพศสัมพนั ธ) ตอ งปาราชิก ๒. ภกิ ษุลักเอาทรัพยของผอู ื่น มรี าคาตงั้ แต ๕ มาสกข้นึ ไป ตองปาราชกิ ๓. ภิกษุแกลง ฆามนษุ ยใ หต ายตอ งปาราชกิ ๔. ภิกษุพดู อวดอตุ ริมนุสสธรรมท่ไี มม ใี นตนตองปาราชกิ ๑. ภกิ ษเุ สพเมถุนตองปาราชกิ ภกิ ษุเสพเมถุน คอื มเี พศสมั พนั ธก บั มนษุ ย อมนุษย หรอื กบั สัตวด ิรัจฉานอยางใด อยางหน่ึง ไมวาจะเปน เพศชาย เพศหญิง เปนอุภโตพยัญชนก (คนสองเพศ) หรือเปนบัณเฑาะก กต็ าม โดยการสอดอวัยวะเพศของตนใหลํ้าเขาไปในชองอวัยวะเพศ ทวารหนัก หรือปาก ทางใด ทางหน่ึง เพียงชั่วเมล็ดงาหน่ึงแมจะมีอะไรสวมไว ไมวาผูน้ันจะมีชีวิตหรือตายแลว ตองอาบัติ ปาราชิก ภิกษุถูกลักหลับ รูสึกตัวข้ึนยินดีในการสัมผัส หรือภิกษุถูกขมขืน แตยินดีกับการ สมั ผัสในขณะใดขณะหนงึ่ ตองปาราชิก ถาไมยินดไี มเ ปน อาบตั ิ ภิกษุอา ปากอมอวยั วะเพศของชายอ่นื แมเ ปน เด็กตองปาราชิก ภิกษุหลังออนกมลงอมอวัยวะเพศของตน หรือมีอวัยวะเพศยาวสอดเขาไปใน ทวารหนักของตน ตองปาราชิก อน่ึง ภิกษุยินยอมใหบุรุษอ่ืนเสพเมถุนทางทวารหนักของตน หรือถูกบุรุษขมขืน หรอื ลกั หลับทางทวารหนกั หรอื ชอ งปาก เกิดความยนิ ดี ตอ งปาราชกิ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 237

2๒๓3๖8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 อาการทปี่ รบั อาบตั ริ องลงมา ภกิ ษเุ สพเมถุนในทางทวารทัง้ ๓ ของมนษุ ย อมนุษย หรือของสัตวดิรัจฉานที่ตายแลว แตทวารนั้นขาดว่ินเวาแหวงไปหมดจนไมเหลือรูปทรงปรากฏ หรือเสพในอวัยวะเพศของชาย ตองถุลลจั จัย เสพในอวัยวะอื่นนอกจากทวารทั้ง ๓ น้ัน เชน สะดือ รักแร ซอกคอ เปนตน หรือกับ สิง่ ที่ไมม ีชีวิต เชน ตกุ ตา เปนตน ตองทุกกฏ แตถาเปนอวัยวะของมนุษยผูหญิง ตองสังฆาทิเสส เพราะจับตองกายหญิง องคแ หง การเสพเมถนุ ๒ อยาง การเสพเมถนุ จะถือวา สาํ เรจ็ คอื ตองอาบัติ ประกอบดวยองค ๒ อยาง คอื ๑. มีจิตคดิ จะเสพ (เสวนจติ ฺต)ํ ๒. ยังมรรคใหถงึ มรรค (มคเฺ คน มคฺคปฏิปาทน)ํ ผูย กเวนไมต อ งอาบัติ อาบตั ใิ นสกิ ขาบทน้ี เปน สจติ ตกะ ไมเ ปน อาบตั แิ กผไู มม ีเจตนา คอื ๑. ภกิ ษถุ ูกลกั หลับ ไมรูสึกตวั ๒. ภิกษุถกู ขมขืน แตไ มยินดี ๓. ภิกษวุ กิ ลจรติ เปนบา ๔. ภกิ ษุเพอจนไมมีสติ ๕. ภิกษุกระสับกระสา ยเพราะเวทนากลา (ไดรบั ความทรมานอยา งแรงกลา) ๖. ภกิ ษุผูเปนตนบญั ญตั ิ เรียกวา อาทกิ มั มิกะ (ไดแกพ ระสทุ ิน) ภิกษุ ๔ ประเภทหลังนี้ (ขอ ๓ - ๖) ไดรับยกเวนไมตองอาบัติทุกสิกขาบท แตภิกษุท่ีเปน อาทกิ มั มกิ ะไดรบั ยกเวน เฉพาะสิกขาบททตี่ นเปนตน เหตเุ ทาน้ัน ๒. ภิกษุลักเอาทรัพยของผอู น่ื มรี าคาต้งั แต ๕ มาสกข้นึ ไป ตองปาราชกิ ทรัพยในท่ีนี้มี ๒ ประเภท คือ ทรัพยที่เคลื่อนท่ีได เรียกวาสังหาริมทรัพย และ 238

 2๒3๓9๗ วชิ า วนิ ยั ทรัพยที่เคลื่อนที่ไมได เรียกวา อสังหาริมทรัพย โดยตรงหมายเอาท่ีดินอยางเดียว โดยออม หมายเอาสิ่งปลูกสรางบนทด่ี ินดว ย สังหารมิ ทรัพย เปนอาบัติเม่ือทรพั ยท่ีถอื เอาน้ันเคลื่อนจากฐาน อสังหาริมทรัพย เปนอาบตั เิ มื่อเจาของสละกรรมสิทธ์ิ อวหาร ๑๓ อวหาร คือ อาการท่ีจัดวาเปนการลักทรัพย ซ่ึงมีความหมายและเขตกําหนดใหตอง อาบัติถึงท่ีสดุ มี ๑๓ อยา ง ดังนี้ ๑. ลัก ภิกษุมีจิตคิดจะลักขโมย ถือเอาทรัพยน้ัน ขณะท่ีทําของใหพนจากที่ ตองอาบตั ิ ๒. ชงิ ๓. ลกั ตอน ๔. แยง ๕. ลักสบั ๖. ตู ๗. ขูฉ อ ๘. ยักยอก ๙. ตระบัด ๑๐. ปลน ๑๑. หลอกลวง ๑๒. กรรโชก ๑๓. ลักซอ น สาณัตติกะ ตอ งอาบตั ิเพราะสง่ั สิกขาบทนี้เปนสาณัตติกะ คือ สั่งใหผูอื่นทําก็เปนอาบัติ ฉะน้ัน ภิกษุลักเองก็ดี ใชให ผอู ืน่ ลกั ก็ดี ดวยอวหารอยา งใดอยางหนึง่ ตามกาํ หนดราคาทรพั ยท ่ที าํ ใหต อ งอาบตั ิ ดังนี้ ๑. ถา ทรพั ยนนั้ มีราคาตัง้ แต ๕ มาสก (เทา กับ ๑ บาท) ข้ึนไป เม่ือจับตองเปนทุกกฏ ทาํ ใหไหวตองถุลลัจจัย ทําใหเ คล่อื นที่ตอ งปาราชกิ ๒. ถา ทรพั ยนัน้ มีราคาหยอนกวา ๕ มาสก แตม ากกวา ๑ มาสก ภิกษุจับตองก็ดี ทําให ไหวก็ดี ตอ งทกุ กฏ ทาํ ใหเ คลอ่ื นจากที่ ตอ งถลุ ลัจจัย ๓. ทรัพยมีราคา ๑ มาสกลงมา จับตองก็ดี ทําใหไหวก็ดี ทําใหเคล่ือนจากท่ีก็ดีตอง ทกุ กฏ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 239

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 240 240

 2๒4๓๙1 วชิ า วนิ ัย องคแ หง การฆา การฆาจะถือวา ถงึ ท่สี ุดนัน้ ตอ งประกอบดว ยองค ๕ ประการ คือ ๑. ผูถูกฆา เปนมนุษยมีชวี ติ ๒. รูวา มีชวี ติ ๓. มีจิตคดิ จะฆา ๔. พยายามฆา ดวยวิธใี ดวธิ หี นึ่ง ๕. มนุษยนั้นตาย อาการที่ไมตองอาบัติ สกิ ขาบทนเี้ ปนสจิตตกะ ไมเ ปนอาบัติแหงภิกษผุ ู ภิกษุผูเปนอาทิกัมมิกะ ๑. ไมจ งใจ คือไมม ีเจตนา ๒. ไมรู ๓. ไมป ระสงคจะใหตาย และภิกษุอีก ๔ ประเภท ที่ไดรับการยกเวนในทุกสิกขาบท ในสกิ ขาบทน้ี คอื พระฉัพพคั คยี  ๔. ภกิ ษุพูดอวดอุตตริมนสุ สธรรมทไ่ี มม ีในตน ตอ งปาราชิก อุตตรมิ นสุ สธรรม คือ ธรรมอันยอดยิ่งของมนุษย เรียกงาย ๆ วา คุณวิเศษหรือ ธรรมวิเศษ ไดแก ฌาน วิโมกข สมาธิ สมาบัติ มรรค ผล โดยยอมี ๒ คือ ฌาน ๔ และ โลกุตตรธรรม ๙ การอวดอุตตริมนุสสธรรม คือ การกลาวอวดนอมเขามาในตน อวดจังๆ วา ขาพเจา ไดถ ึงธรรมอยางนน้ั อยางนี้ มาแตค รง้ั นั้น ครง้ั นี้ ภิกษุพูดโกหกวา ขาพเจาไดบรรลุธรรมอยางน้ัน อยางน้ี เมื่อนั้น เม่ือนี้ ถาผูฟง เขาใจคําพูดน้ัน แมคนเดียวจะเชื่อหรือไมเชื่อก็ตาม ภิกษุนั้นตองปาราชิก ถาผูฟงไมเขาใจ ตองถุลลัจจัย ภิกษุพูดอวดโดยออม โดยอางรูปพรรณสัณฐาน บริขารหรือสถานที่ เชนวา ภิกษรุ ูปรา งเชน นน้ั ถอื บาตรหมจีวรเชนนั้นอาศัยอยูในวัดน้ัน ไดบรรลุธรรม โดยประสงคใหผูฟง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 241

2๒๔4๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 เขา ใจวาคนท่พี ดู ถงึ นัน้ คือตน ถาผูฟง เขา ใจ ตอ งถุลลัจจยั ถาไมเขา ใจตองทุกกฏ ภิกษุอวดอุตตริมนุสสธรรมที่มีในตน อวดแกภิกษุไมเปนอาบัติ อวดแกผูอ่ืนที่ ไมใ ชภ ิกษุ ตอ งปาจติ ตีย ภิกษุผูเปนอาทิกัมมิกะในสิกขาบทนี้ คือเหลาภิกษุอยูจําพรรษาท่ีใกลฝงแมนํ้า วัคคุมทุ า องคแหง การอวดอุตตริมนุสสธรรม การพูดอวดอุตตริมนุสสธรรม จะถือวาเปนอาบัติน้ัน ตองประกอบดวยองค ๕ ประการ คอื ๑. อวดอตุ ตรมิ นสุ สธรรมทีไ่ มมีในตน ๒. อวดเพอื่ หวังลาภ หวังใหเ ขาสรรเสรญิ ๓. พดู ระบถุ งึ ตนเอง ไมอา งผูอ่ืน ๔. ผูฟงเปน มนษุ ย ๕. ผฟู งเขา ใจคําพดู นัน้ สิกขาบทน้ี เปนสจติ ตกะ ไมเ ปนอาบตั ิแกภิกษุ ๒ ประเภท คือ ๑. ผพู ดู ดว ยสาํ คัญวา ไดบ รรลุ ๒. ผูไมม ปี ระสงคจ ะอวดอาง สรปุ อาบตั ิปาราชกิ ๑. อาบัติปาราชกิ ท้ัง ๔ ขอ นน้ั ภิกษลุ วงละเมิดขอใดขอหน่ึง ยอมขาดจากความเปน ภิกษุ หาสงั วาสมิได คอื ไมม สี ิทธ์เิ ชน กับภิกษอุ ่ืน ๒. แมจะอุปสมบทอีก ก็ไมเปนภิกษุชอบดวยพระวินัยตลอดชาติ แตบรรพชาเปน สามเณร หรอื ถอื ตนเปน อบุ าสกได ๓. อาบัติปาราชิกน้ี เปนอเตกิจฉา แกไขไมได เปนอนวเสสา ไมมีสวนเหลือ และ เปน มูลเฉท ตดั รากเหงา ผตู องเขาแลว ยอมเปนดจุ ตาลยอดดว น หรือดุจใบไมเ หลืองหลดุ จากขัว้ ๔. สิกขาบทที่ ๑ ท่ี ๔ ทําเองจึงตองอาบัติ ส่ังผูอื่นทําไมเปนอาบัติ สิกขาบทท่ี ๒ ท่ี ๓ ทาํ เองก็ตอ งอาบตั ิ ส่ังผอู ื่นทาํ ก็ตอ งอาบตั ิ สกิ ขาบทที่ ๒ ที่ ๓ ท่ี ๔ ตอ งอาบตั เิ พราะพดู ดว ย ๕. อาบัตปิ าราชิกท้ัง ๔ สิกขาบท เปน สจิตตกะ ไมเปนอาบตั แิ กผ ไู มมเี จตนา 242

 2๒4๔3๑ วชิ า วนิ ยั กัณฑท ่ี ๕ สังฆาทิเสส ๑๓ สงั ฆาทิเสส คือ หมวดอาบัติที่ตองอาศัยสงฆในข้ันตอนการพนจากอาบัติ ท้ังในกรรม เบ้ืองตนและกรรมเบ้ืองปลาย หมายความวา ภิกษุเม่ือตองอาบัตินี้แลว ประสงคจะทําตนให บริสทุ ธต์ิ องดําเนนิ การตามข้นั ตอนการออกจากอาบตั โิ ดยอาศยั สงฆเทาน้ัน คอื สงฆเ ปน ผูลงโทษ ใหอยกู รรมและสงฆเ องเปนผูระงับอาบัติ อาบัติสังฆาทิเสสจัดเปนครุกาบัติ มีโทษหนักรองจากปาราชิก แตเปน สเตกิจฉา คือ อาบัติที่แกไขได มีท้งั หมด ๑๓ สิกขาบท ดังนี้ ๑. ภกิ ษแุ กลงทาํ ใหนา้ํ อสจุ เิ คล่อื น ตองสังฆาทเิ สส เวนไวแ ตฝ น ภิกษมุ ีความจงใจใหนํ้าอสุจิเคลื่อน ดวยความพยายามอยางใดอยางหนึ่ง นํ้าอสุจิ มีปริมาณเทา แมลงวนั ตัวเดียวกนิ อ่มิ ตองสังฆาทิเสส ถา พยายามแลวแตอ สจุ ิไมเ คลือ่ น ตองถลุ ลจั จยั สิกขาบทนี้ เปน อนาณัตตกิ ะทาํ เองจงึ เปน สัง่ ใหผูอ่ืนทําไมได แตถาสั่งใหผูอื่นทําให ไมพนอาบตั ิ และเปนสจิตตกะคือไมเปน อาบตั แิ กผูไมต ัง้ ใจทาํ ภกิ ษุผูเ ปนอาทกิ ัมมกิ ะในสิกขาบทน้ี คือ พระอทุ ายี ๒. ภิกษมุ ีความกําหนัดอยู จบั ตอ งกายหญงิ ตองสงั ฆาทเิ สส ภิกษุจับตองกายหญงิ แมเ พยี งปลายขน ตองอาบตั สิ ังฆาทิเสส หญิง ในสิกขาบทนี้ หมายเอา หญิงมนุษยโดยท่ีสุดแมหญิงทารกท่ีเกิดใน วันนัน้ ภิกษจุ บั ตองกายหญงิ โดยรูอยูวา เปนหญงิ หรอื สงสัยวาเปนหญิงก็ตาม กายตอกายสัมผัส กนั แมเพยี งปลายขน ตอ งสังฆาทิเสส ภกิ ษมุ ีความกําหนัดจบั ตองกายหญิง แตเขาใจวาไมใชผูหญิงก็ดี จับตองดวยขาง หนึ่งเปนกาย ขางหนึ่งเปนของเนื่องดวยกายก็ดี จับตองกายบัณเฑาะก หญิงอมนุษย หรือศพของ หญิงมนุษยก ด็ ี ตองถลุ ลัจจยั ภิกษุมีความกําหนัดจับตองกายบัณเฑาะก แตเขาใจวาไมใชบัณเฑาะกก็ดี จับตอง กายหญิงดวยของเน่ืองดวยกายทั้งสองทางก็ดี จับกายมนุษยผูชายก็ดี สัตวดิรัจฉานตัวผูหรือตัว เมียกด็ ี จะเขาใจวา เปนอะไรก็ตาม ตอ งทุกกฏ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 243

๒2๔4๒4 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ภิกษุจับกายมารดา หรือพ่ี-นองสาว ดวยความรักตองทุกกฏ เพราะหญิงเปน วัตถุอนามาส คอื ผูทีภ่ ิกษุไมค วรจบั ตอง หญิงจับตองกอน และภิกษุยินดีใหสัมผัส ตองสังฆาทิเสส ถาไมยินดี ไมเปน อาบัติ ภิกษุจับผูหญิงคนเดียว ครั้งเดียว ไมปลอยตลอดเวลาตลอดคืนเปนอาบัติ ตัวเดยี ว ถา จบั แลว ปลอ ย เปนอาบัติเทาจํานวนครั้งที่จับ ภิกษุจับหญิงหลายคนในขณะเดียวกัน เปน อาบัติเทาจาํ นวนคน สิกขาบทน้ี เปนสจิตตกะ ไมเปน อาบัตแิ กภิกษุไมเ จตนา ไมรู และไมมคี วามกําหนัด ภิกษุผเู ปน อาทกิ ัมมิกะในสกิ ขาบทนี้ คอื พระอทุ ายี ๓. ภิกษมุ ีความกาํ หนดั อยู พูดเกย้ี วหญงิ ตองสงั ฆาทิเสส หญิง ในสิกขาบทน้ี หมายเอา หญงิ มนษุ ยผ รู ูเ ดยี งสาพอจะเขาใจถอยคําท่ีเก้ียวน้ันได ภิกษุมีความใครในกามพูดเก้ียวหญิง ประเลาประโลมในเชิงชูสาว กลาวคําลามกเกาะแกะถึง ทวารหนกั ทวารเบา และกริยาแหงการรวมประเวณี (เมถุนธรรม) ตอ งสงั ฆาทเิ สส พูดเกาะแกะถึงอวัยวะตั้งแตไหปลาราลงมาถึงหัวเขา ภายในสีขางทั้งสองเขาไป เปนถุลลัจจยั พดู เกาะแกะถงึ อวยั วะเหนือไหปลาราข้นึ ไป ใตเขาลงมา และนอกสีขางทั้งสองออกไป เปนทุกกฏ ภิกษุพูดเก้ียวบัณเฑาะก ลวนลามถึงทวารหนัก และกริยาแหงการรวมประเวณี เปน ถุลลัจจยั เกาะแกะถงึ อวยั วะนอกนีก้ ด็ ี พูดเก้ียวบุรุษหรือสตั วเ ดรัจฉานกด็ ี เปนทุกกฏ อนง่ึ ภิกษุพูดเก้ียวหญิง แตเ ขา ใจวาไมใชหญิง เปน ถลุ ลัจจัย ภิกษพุ ูดเก้ยี วบณั เฑาะก แตเ ขาใจวาไมใ ชบ ัณเฑาะก เปน ทุกกฏ สิกขาบทน้ไี มเปนอาบตั แิ กภิกษุผูกลา วมุงธรรมและมงุ จะส่ังสอน ๔. ภิกษุมีความกําหนดั พูดลอใหห ญงิ บาํ เรอตนดว ยกาม ตอ งสงั ฆาทเิ สส พูดลอ หมายถึง พูดหวานลอมชักชวนหญิงใหรวมประเวณีกับตน ถาหญิงฟงรู ความ ตองสาฆาทเิ สส ถา ฟง ไมเ ขาใจไมต องอาบตั ิ ภิกษผุ เู ปนอาทกิ มั มิกะในสิกขาบทนี้ คือ พระอุทายี 244

 2๒4๔๓5 วชิ า วนิ ัย ๕. ภกิ ษชุ กั สื่อใหช ายหญิงเปน ผัวเมียกัน ตองสังฆาทเิ สส ภิกษุชักสื่อ คือ ทําตัวเปนพอส่ือใหชายหญิงเปนสามี - ภรรยากัน หรือใหไดเสียกัน ชว่ั คราวกด็ ี สามีภรรยาหยาขาดกันแลว ภกิ ษชุ ักส่ือใหเขาคืนดีกนั ก็ดี ตองสังฆาทเิ สส ภิกษผุ ูเ ปนอาทกิ มั มกิ ะในสกิ ขาบทน้ี คอื พระอุทายี การชักส่ือมี ๓ ลกั ษณะ คือ ๑) ภกิ ษุรบั คาํ ของผูวาน (ตอ งทุกกฏ) ๒) นาํ ความนน้ั ไปบอกแกอีกฝา ยหน่งึ (เปนถุลลัจจัย) ๓) กลบั มาบอกแกผ ูว าน (ตองสงั ฆาทิเสส) แตม ตขิ องสมเดจ็ พระมหาสมณเจาฯ กาํ หนดไว ๒ อยา ง คอื ๑) ภิกษถุ กู เขาวานแลว รบั คาํ (เปน ถุลลจั จัย) ๒) นาํ คํานั้นไปบอกแกอกี ฝา ยหนึง่ (เปน สงั ฆาทเิ สส) ภิกษุหลายรูปถูกวานแลวรับคํา แมภิกษุรูปเดียวนําคําน้ันไปบอก ตองอาบัติ สังฆาทเิ สสทง้ั หมด อาบัติในสิกขาบทนี้เปนสาณัตติกะ สั่งใหทําตองอาบัติ เปนอจิตตกะ แมไมรูทํา กเ็ ปน อาบตั ิ ๖. ภิกษสุ รา งกฎุ ีท่ตี อ งกอ และโบกดว ยปูนหรือดนิ ซ่งึ ไมมใี ครเปน เจา ของ จาํ เพาะ เปนท่ีอยูของตน ตองทําใหไดประมาณ โดยยาว ๑๒ คืบพระสุคต โดยกวางประมาณ ๗ คืบ วัดในรวมใน และตองใหสงฆแสดงที่ใหกอน ถาไมใหสงฆแสดงท่ีใหกอนก็ดี ทําใหเกิ น ประมาณก็ดี ตอ งสังฆาทิเสส ถาภิกษุตองการจะสรางกุฎีเปนท่ีอยูของตน แตไมมีเจาภาพสรางถวาย จึงอยากจะสรางเอง พึงใหแผวถางที่ใดที่หนึ่งที่ตนตองการ เสร็จแลวจึงเขาไปหาสงฆ แจงความประสงคของตน ใหสงฆทราบและขอใหสงฆไปตรวจดูท่ีน้ัน และสวดญัตติประกาศ อนุมัติใหแกตนเรียกวา ใหสงฆแสดงที่ให สงฆพึงแสดงหรืออนุมัติท่ีที่ไมมีเจาของจับจอง ไมมี อนั ตราย และเปน ท่ีมีบรเิ วณรอบ คอื เม่อื สรา งกฎุ ีเสร็จแลวตองมีลานรอบกฎุ ี หางจากฝาดานนอก ประมาณชั่ววัวเทียมเกวียนเดินวนรอบได และกุฎีตองสรางใหไดขนาดท่ีกําหนด คือดานยาววัด ได ๑๒ คืบพระสุคต โดยวัดจากฝาดานนอก ดานกวางวัดได ๗ คืบพระสุคต โดยวัดจากฝา ดานใน จุดประสงคของการกําหนดประมาณเทาน้ี ก็เพ่ือไมใหภิกษุรบกวนชาวบานในการขอ มากเกินไป และเพอ่ื ใหเหมาะสมกบั สมณะผูสันโดษ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 245

2๒๔4๔6 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 สิกขาบทนภ้ี กิ ษุตอ งอาบตั ิสงั ฆาทิเสสใน ๒ กรณี คือ ๑) ไมใหส งฆแ สดงทใ่ี ห (ตองเพราะไมท ํา) ๒) ทาํ เกินประมาณ (ตองเพราะทํา) ภิกษตุ อ งทุกกฏใน ๒ กรณี คอื ๑) ทาํ ในท่ีมอี ันตรายหรือมเี จา ของ ๒) ไมมบี ริเวณรอบนอก ภกิ ษุผเู ปน อาทิกมั มิกะในสกิ ขาบทน้ี คือ ภิกษทุ ้ังหลายชาวเมอื งอาฬาวี ๗. ถาท่ีอยูที่จะสรางนั้น มีทายกเปนเจาของ ทําใหเกินประมาณน้ีได แตตองให สงฆแ สดงทใี่ หกอน ถาไมใหสงฆแ สดงทใ่ี หกอ น ตองสงั ฆาทเิ สส สกิ ขาบทน้ีเหมือนกับสิกขาบทท่ี ๖ ตางกันแตมีเจาภาพสรางถวายสามารถสรางเกิน ประมาณที่กําหนดได แตต องใหส งฆตรวจดูทีแ่ ละสวดญัตติประกาศอนุมัติกอนจงึ สรา งได ภิกษุผเู ปนอาทิกมั มิกะในสิกขาบทน้ี คือ พระฉันนะ ๘. ภกิ ษโุ กรธเคอื ง แกลง โจทภกิ ษอุ ่นื ดว ยอาบัติปาราชิก ตอ งสงั ฆาทเิ สส การโจท คือ การฟองกลาวหากันดวยเรื่องละเมิดสิกขาบทคืออาบัติอยางใดอยางหน่ึง จัดเปน อนุวาทาธิกรณ ซ่ึงพระพุทธองคทรงอนุญาตใหภิกษุโจทภิกษุไดในการณที่มีภิกษุด้ือดาน ตองอาบัติแลวไมทําคืน (ไมยอมปลงอาบัติ ไมแสดงอาบัติ) แมผูอื่นตักเตือนก็ไมฟง จึงใหโจท ฟอ งเธอในทามกลางสงฆ เพอ่ื เหน็ แกพระศาสนาเปนทม่ี าของการบัญญัติสิกขาบทน้ี ภิกษุแกลงโจท คือ กลาวใสความภิกษุที่ตนเกลียดชังวาตองอาบัติปาราชิก โดยไมมีมูล คือไมไดเห็นเอง ไมมีคนบอก ไมไดนึกสงสัย รังเกียจ โจทเองก็ดี สั่งใหผูอ่ืนโจทก็ดี โจทตามคําสัง่ ของผอู น่ื ก็ดี ตองอาบัตสิ ังฆาทเิ สส ท้ังผสู ง่ั และผูโจทก เรือ่ งมีมลู หลกั ฐานยอ หยอ น แตภ ิกษุโจททําใหร ัดกุมนาเช่ือถือนั้น เชน ไดยินเขาพูด มา แตโจทวาไดเหน็ เอง เชนนี้ตอ งสังฆาทิเสส อน่ึง แมภิกษุผูเปนจําเลยตองอาบัติปาราชิกแลว แตภิกษุไมรู แกลงโจทเธอดวย อาบัตปิ าราชิกไมมีมูล ตองสงั ฆาทเิ สสเชนกนั ถาโจทตามอาการท่ีไดเห็นไดยินหรือนึกสงสัยรังเกียจ ไมวาเร่ืองน้ันจะจริงหรือ ไมจ รงิ ก็ตาม ไมเ ปน อาบตั ิ ภกิ ษุผูเปนอาทิกัมมิกะในสิกขาบทน้ี คือ พระเมตติยะและพระภุมมชกะ 246

 2๒4๔7๕ วชิ า วนิ ยั ๙. ภกิ ษุโกรธเคือง แกลง หาเลศโจทภกิ ษอุ ่นื ดว ยอาบัติปาราชกิ ตองสังฆาทเิ สส คาํ วา แกลง หาเลศ หมายถึง เร่ืองท่ียกขึ้นอางเพ่ือกลาวหาหรือฟองภิกษุอ่ืน แบง เปน ๒ ลกั ษณะ คอื ๑) ยกเอาความผิดของผูอื่นมาเปนเลศโจท กลาวคือ อางเอาชาติกําเนิด ช่ือ ตระกูล รูปลักษณ อาบัติ บาตร จีวร พระอุปชฌาย พระอาจารย และเสนาสนะ ๑๐ อยางน้ี อยางใดอยางหนึ่ง ของภิกษุอื่นข้ึนมาโจท เชน ภิกษุผูโจทกเห็นภิกษุรูปอื่นตองอาบัติปาราชิก ครนั้ ไปพบภกิ ษผุ ูอนื่ มชี ่อื เหมือนกนั มาจากตระกลู เดียวกัน หรือมีรูปรางเหมือนกัน ก็ยกเอาเร่ือง นน้ั ข้ึนโจท เพือ่ ทําใหภกิ ษุทั้งหลายเขา ใจวาเปนเธอเชน นี้ ตอ งสงั ฆาทเิ สส ๒) ยกเอาความผดิ เล็กนอยท่ีเธอทํา มาเปนเลศโจทใหรายแรงถึงปาราชิก เชน ภกิ ษุ ผโู จทกเ หน็ เขาอาบัติปาจติ ตีย แตโ จทวาเขาตอ งอาบตั ิปาราชกิ เชนน้ี ตอ งสังฆาทิเสส ภิกษผุ เู ปนอาทกิ ัมมกิ ะในสกิ ขาบทนี้ คือ พระเมตตยิ ะ และพระภมุ มชกะ ๑๐. ภิกษุพากเพียร เพื่อจะทําลายสงฆใหแตกกัน ภิกษุอื่นหามไมฟง สงฆ สวดกรรมเพือ่ ใหละขอทปี่ ระพฤตนิ ัน้ ถาไมละตองสังฆาทเิ สส คําวา สงฆ หมายถึง ภิกษุท้ังหมูท่ีอยูโดยพรอมเพรียงกัน คือ มีสังวาสเสมอ กนั อยูในสมี าเดยี วกัน ภิกษุใดพยายามทําเพื่อใหสงฆต้ังแต ๔ รูปขึ้นไป ที่อยูในสีมาเดียวกัน แตกแยก กันเปนฝกฝาย ไมท าํ อุโบสถรวมกันดวยวิธีการอยางใดอยางหนึ่ง ภิกษุอ่ืนรูเขาพึงกลาวหามเสีย (ถาไมหามตองทุกกฏ) ภิกษุนั้นแมถูกภิกษุอื่นหามแลว คร้ังที่ ๑ ครั้งท่ี ๒ และครั้งท่ี ๒ เลิกลม ความพยายามเสีย ไมเปนอาบตั ิ ถาไมเลิกตอ งอาบัติทกุ กฏ จากนนั้ ภิกษุทัง้ หลายพึงนําตัวเธอเขาสูทามกลางสงฆ สงฆวากลาวตักเตือนเธอ ๓ ครั้ง ถา เธอเลกิ เสียไมเปน อาบัติ ถาไมเลิกตอ งทุกกฏ ตอจากน้ัน สงฆพงึ สวดสมนุภาสนแกเธอ คอื สวดคําประกาศหามไมใ หด ้ือรัน้ โดยสวดญัตติ ๑ ครัง้ สวดกรรมวาจา ๓ ครั้ง เม่ือสงฆสวดจบ ญตั ติ ยงั ไมล ะตองทกุ กฏ จบกรรมวาจา ๒ คร้ัง ยังไมละตอ งถลุ ลัจจัย จบกรรมวาจาคร้ังที่ ๓ เปน สงั ฆาทิเสส ๑๑. ภกิ ษปุ ระพฤตติ ามภิกษุผูทําลายสงฆนั้น ภิกษุอื่นหามไมฟง สงฆสวดกรรม เพอื่ จะใหละขอท่ปี ระพฤตินัน้ ถา ไมละ ตองสังฆาทิเสส ภิกษใุ ดเขาขา ง สนบั สนุน สมรูร ว มคิด หรอื พดู ปกปองภิกษุผูทําลายสงฆ ภิกษุนั้น ชื่อวา ประพฤติตามภิกษุผูทําลายสงฆ การปรับอาบัติและการสวดสมนุภาสน มีอธิบายเหมือน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 247

๒2๔4๖8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 สกิ ขาบทท่ี ๑๐ ตา งแตว า ถาภิกษุผูประพฤติตาม มีหลายรูป คือ ตั้งแต ๔ รูปขึ้นไป สงฆตองแยก สวดสมนุภาสน แกพวกเธอคราวละไมเกิน ๓ รูป เพราะสงฆไมสามารถทํากรรมแกสงฆ ผดิ ระเบยี บพระวนิ ัย ภิกษุผูเปนอาทิกัมมิกะ คือ พระโกกาลิกะ พระ กฏโมรกติสสกะ พระขนั ฑเทวบุตร และพระสมุททัต ๑๒. ภิกษุวายากสอนยาก ภิกษุอ่ืนหามไมฟง สงฆสวดกรรมเพ่ือใหละขอที่ ประพฤตนิ ้นั ถาไมล ะ ตอ งสงั ฆาทิเสส ภิกษุทําตัวเปนคนหัวดื้อ ไมเช่ือฟงคํากลาวตักเตือนอันชอบพระธรรมวินัยของ ภิกษุอ่ืน กลับกลาวยอกยอนภิกษุทั้งหลายไมใหกลาวสอนตน ดวยประการตาง ๆ ภิกษุอื่นรูเขา พึงหามเธอเสีย ถาไมฟงทรงอนุญาตใหสงฆสวดสมนุภาสนแกเธอ การปรับอาบัติ และข้ันตอน การสวดสมนภุ าสน เหมือนกับสกิ ขาบทท่ี ๑๐ ภกิ ษผุ ูเปนอาทกิ มั มกิ ะในสกิ ขาบทนี้ คอื พระฉันนะ ๑๓. ภิกษุประทุษรายตระกูล คือ ประจบคฤหัสถ สงฆขับไลเสียจากวัด กลับ วากลาวติเตียนสงฆ ภิกษุอ่ืนหามไมฟง สงฆสวดกรรมเพ่ือใหละขอที่ประพฤตินั้น ถาไมละ ตอ งสงั ฆาทิเสส คําวา ประทุษรายตระกูล คือ เขาไปประจบเขาดวยกิริยาทําตนอยางคฤหัสถ เอาใจเขาตาง ๆ เชน ใหของกํานัลเล็ก ๆ นอย ๆ หรือยอมใหเขาใชสอย เพื่อมุงใหเขาชอบตน เปนสวนตัว เปนเหตุใหเขาคลายศรัทธาในพระพุทธศาสนา ละเลิกการทําบุญ ภิกษุประพฤติ เชน น้ี ชื่อวา ประทษุ รายตระกลู อนงึ่ ภิกษปุ ระพฤตเิ ลวทรามทําตัวไมควรแกสมณเพศ เชน ทําตัวสุงสิงกับหญิงสาว ในตระกูล เลนพนัน เลนซุกซน เลนตลกคะนอง รองรําทําเพลงตาง ๆ ภิกษุประทุษรายตระกูล ก็ดี ประพฤตเิ ลวทรามเชน นี้ก็ดี ทรงอนญุ าตใหสงฆลงโทษดว ย ปพ พาชนียกรรม คือ ขับไลออกจาก อาวาส ภกิ ษนุ ั้นกลบั วากลาว ติเตียนสงฆวา มีอคติ ตัดสินไมยุติธรรม ภิกษุอ่ืนหามไมฟง สงฆพึง สวดสมนุภาสนประกาศหาม ข้ันตอนการสวดและการปรบั อาบัติ เชน เดียวกบั สิกขาบทท่ี ๑๐ ภิกษผุ ูเ ปน อาทกิ ัมมิกะในสกิ ขาบทนี้ คอื พวกพระธสั สชแิ ละพระปุนมี สกุ ะ 248

 2๒4๔9๗ วชิ า วนิ ัย สรุปอาบตั ิสงั ฆาทเิ สส อาบัติสังฆาทิเสสทงั้ ๑๓ ขอน้ี แบง เปน ๒ สว น ดังน้ี ๑. สิกขาบทท่ี ๑ - ๙ เรียกวา ปฐมาปตติกะ คือ ตองอาบัติสังฆาทิเสสทันทีใน ขณะท่สี าํ เรจ็ ๒. สิกขาบทที่ ๑๐- ๑๓ เรียกวา ยาวตติยกา คือ ตองอาบัติสังฆาทิเสส ตอเม่ือ สงฆสวดกรรมวาจาครบ ๓ ครงั้ วุฏฐานวิธี วุฏฐานวธิ ี คือ วิธอี อกจากอาบตั ิสงั ฆาทิเสส มีข้ันตอนดังน้ี ๑. เมอื่ ภกิ ษุตองอาบัตสิ ังฆาทิเสสแลว จะตองแจงความนั้นแกสงฆ ๔ รูปข้ึนไป แลว ขอประพฤตวิ ตั ร ช่ือ มานตั ๒. เม่ือภิกษุอนุญาตแลว พึงประพฤติมานัตน้ันใหถูกตอง ๖ ราตรี เสร็จแลวจึงขอ อัพภาน ตอสงฆว สี ตวิ รรค (๒๐ รูป) เมอื่ สงฆส วดอพั ภานระงบั อาบตั ิแลว ถอื เปนผูบริสุทธิ์ ๓. แตถาภิกษตุ อ งอาบัตแิ ลว ปกปดไวไมบอกแกภิกษุดวยกัน ปลอยใหวันเวลาลวงไป เทาใดตองอยูปริวาสประพฤติวัตรตาง ๆ เทากับวันเวลาที่ตนปกปดอาบัติไว (ปริวาส แปลวา การอยูชดใช นิยมเรียกวา การอยูกรรม) เสร็จแลว จึงประพฤติวัตรชื่อมานัตน้ันตอไป ตามท่ี พระวินัยกําหนด อาบัติสังฆาทิเสส จัดเปน ครุกาบัติ เพราะเปนอาบัติหนัก แตสามารถแกไขได จัดเปนทุฏลุ ลาบตั ิ เพราะมเี รอ่ื งหยาบคายอยมู าก อนยิ ต ๒ อนิยต แปลวา ไมแนนอน กลาวคือ ไมแนวาจะปรับอาบัติแกภิกษุผูลวงละเมิด ดวยอาบัติปาราชิก สังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย กันแน ทรงบัญญัติไวเพื่อเปนหลักวินิจฉัยตัดสิน อนุวาทาธิกรณ (เร่ืองที่โจทกันดวยอาบัติ) อันไมแนนอนเก่ียวกับผูซึ่งเปนตนเรื่องที่ตองให พระวนิ ัยธรพจิ ารณาพยาน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 249

2๒๔5๘0 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 เกณฑก ารปรบั อาบตั ิมี ๒ ขอ คอื ๑. ภิกษุน่ังในท่ีลับตากับหญิงสองตอสอง ถามีคนที่ควรเชื่อไดมาพูดดวยธรรม (อาบัติ) ๓ อยาง คือ ปาราชิก หรือสังฆาทิเสส หรือปาจิตตียอยางใดอยางหน่ึง ภิกษุรับ อยางใดใหปรบั อยา งนนั้ หรอื เขาวาจําเพาะธรรม (อาบตั ิ) อยา งใดใหป รบั อยา งนน้ั ภิกษุน่ังหรือนอนในท่ีลับตากับหญิงตามลําพังสองตอสอง ถามีคนท่ีควรเชื่อไดมา กลา วโทษเธอดว ยอาบตั ิ ๓ อยางวา เธอตองอาบตั ิปาราชกิ สังฆาทิเสส หรือปาจิตตียอยางใดอยางหนึ่ง หรือสองอยาง หรือสามอยาง ถาไมมีพยานหรือผูโจทกมิไดระบุชัดวาทําอะไรกันบาง พระวินัยธร (ผตู ัดสนิ ทางวนิ ยั สงฆวาผิดหรือถูก คลายกับพิพากษา) ควรปรับอาบัติตามคํายอมรับของภิกษุ ถาผู โจทกมีพยานหลักฐานและระบุชัดเจนวา ภิกษุทําอยางนั้นตองอาบัตินั้น แมภิกษุไมรับ พระวินัยธร กค็ วรพจิ ารณาตามรูปความและฟง คําของพยานแลวปรบั อาบัตติ ามสมควร ๒. ภิกษุน่ังในท่ีลับหูกับหญิงสองตอสอง ถามีคนท่ีควรเช่ือไดมากลาวขึ้นดวย ธรรม ๒ อยาง คือ สังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย อยางใดอยางหนึ่ง ภิกษุยอมรับอยางใดใหปรับ อยา งน้ัน หรอื เขาวา จําเพาะธรรมอยา งใดใหปรบั อยางนั้น สิกขาบทนมี้ คี ําอธบิ ายเหมอื นสิกขาบทแรก ตา งกันแตน่งั ในที่ลบั หู และกลาวโทษ เพียงสังฆาทเิ สส หรือปาจติ ตยี  เทา น้นั (โอกาสที่จะเสพเมถุนหรือฆามีนอย จึงไมมีการกลาวอาง วาเปนอาบตั ิปาราชิก) ภิกษุผเู ปนอาทิกัมมกิ ะใน ๒ สิกขาบทนี้ คอื พระอทุ ายี สรปุ อนิยต ทล่ี บั มี ๒ อยาง ๑. ทม่ี ีวัตถุกาํ บงั มองไมเห็น พอจะเสพเมถนุ ได เรยี กวา ทล่ี บั ตา ๒. ท่แี จง แตห างกนั จนไมส ามารถไดย ินคําทพี่ ูดได เรียกวา ที่ลบั หู วธิ ีปรบั อาบตั ิ สกิ ขาบทท้งั ๒ นี้ ไมใชอาบัติแผนกหน่ึง แตเปนแบบสําหรับพิจารณาอธิกรณเก่ียวกับ ผหู ญิง ๑. ถาไมมีผูอนื่ เปนพยาน ควรปรบั อาบัติตามคาํ ใหก ารของภิกษุ ๒. ถามีพยานหลักฐานพอเชื่อถือได แมภิกษุจะไมยอมรับ ก็ใหปรับอาบัติตาม หลักฐานนัน้ ๆ ได 250


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook