Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อในนักธรรมชั้นตรี_1-334 หน้า

เนื้อในนักธรรมชั้นตรี_1-334 หน้า

Published by อาจูหนานภิกขุ, 2019-12-25 16:20:50

Description: เนื้อในนักธรรมชั้นตรี_1-334 หน้า

Search

Read the Text Version

 2๒5๔๙1 วชิ า วนิ ัย กณั ฑท่ี ๖ นิสสคั คิยปาจติ ตยี  ๓๐ คําวา นิสสัคคิยปาจิตตีย ประกอบดวยคํา ๒ คํา คือ นิสสัคคิยะ แปลวา สิ่งของ อันควรสละ และ ปาจิตตีย แปลวา การละเมิดท่ีทําใหกุศลตกไป หมายถึง อาบัติปาจิตตีย ตองใหสละส่ิงของจึงแสดงอาบัติตก กลาวคือ ภิกษุเม่ือลวงละเมิดสิกขาบทใดสิกขาบทหน่ึงเขา แลว กอนท่ีจะแสดงอาบัติตอหนาสงฆ คณะหรือบุคคล ตองสละสิ่งของที่เปนเหตุใหตองอาบัติ เสียกอน จึงจะแสดงอาบัติตก ทรงบัญญัติข้ึนเพื่อปรับโทษแกภิกษุผูใชสอยเคร่ืองอุปโภคบริโภค เชน บาตร จีวร ผาปูนั่ง เปนตน ในทางท่ีไมเหมาะสม จัดเปน ๓ วรรค วรรคละ ๑๐ สิกขาบท ดังน้ี ก. จีวรวรรคที่ ๑ (หมวดวา ดว ยจวี ร) ๑. ภิกษุทรงอติเรกจีวรไดเพียง ๑๐ วัน เปนอยางยิ่ง ถาลวง ๑๐ วันไป ตอ งนสิ สัคคิยปาจิตตยี  อตเิ รกจีวร คือ ผาท่นี อกเหนือจากผาท่ีอธิษฐานเปน ไตรจีวร มีขนาดอยางตํ่า ยาวประมาณ ๘ นิ้วพระสุคต กวางประมาณ ๔ นิ้วพระสุคต ภิกษุจะครอบครองผาอติเรกจีวรไว ไดเ ฉพาะในชว งกาลจีวร คอื ถา ภกิ ษุจาํ พรรษาแลวไมไดก รานกฐิน นบั ต้ังแต แรม ๑ คา่ํ เดือน ๑๑ ถึงขน้ึ ๑๕ ค่าํ เดอื น ๑๒ ถา ไดก รานกฐิน จวี รกาลจะยดื ออกไปถึงข้นึ ๑๕ ค่ํา เดอื น ๔ รวม ๕ เดือน เม่ือพนเขตจีวรกาลแลว จะเก็บไวไดเพียง ๑๐ คืนเทานั้น หากเก็บไวเกินกวานี้ ตองนิสสัคคิยปาจิตตีย เวนไวแตกอนจะพนเขตกาลจีวรภิกษุไดทําวิกัปป คือ ทําใหเปนสอง เจา ของ ไมเปนอาบัติ การสละมี ๓ วิธี คอื สละแกสงฆ สละแกคณะ และสละแกบ ุคคล สิกขาบทนี้เปน อจิตตกะ แมน ับวนั ผดิ ปลอยใหลวง ๑๐ วัน ก็เปนอาบัติ ถาอติเรก จีวรสูญหายหรือพน จากการครอบครองของภิกษุกอนครบ ๑๐ วัน ไมเ ปน อาบตั ิ ภกิ ษุผูเ ปน อาทกิ ัมมกิ ะในสิกขาบทนี้ คือ พระอานนท ๒. ภกิ ษุอยูปราศจากไตรจีวร แมเพียงคืนเดียว ตองนิสสัคคิยปาจิตตีย เวนไว เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 251

๒2๕5๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 แตไ ดสมมติ ไตรจีวร แปลวา ผา ๓ ผืน คือ ๑) อันตรวาสก ผานุง (สบง) ๒) อุตตราสงค ผาหม (จีวร) และ๓) สังฆาฏิ ผาซอนหรือผาคลุม (ผาพาดบา) เปนผาท่ีทรงอนุญาตใหภิกษุ อธษิ ฐานเปนบรขิ ารประจําตัวตง้ั แตว นั บวช เรยี กวา จีวรอธิษฐาน หรือ ไตรครอง กไ็ ด กําหนดใหภิกษุอยูปราศจากไตรจีวรได คือ ท่ีอยูของภิกษุ เชน บริเวณวัด ในกุฏิ ซึ่งอยูในภายในสีมา ท่ีไดสมมติติจีวราวิปปวาส คือ สถานที่ท่ีอยูท่ีสมมติใหอยูปราศจาก ไตรจีวรได ไดแก ๑) สิง่ ปลูกสราง ไดแก กุฎี วิหาร ศาลา เรอื น เปนตน ถาภกิ ษุอยูรูปเดียวกําหนด เอาทัง้ หลังเปนเขต ถา อยู ๒ รูป กําหนดเฉพาะหองที่เก็บผา ถาอยูหลายรูปในหองเดียว กําหนด เอาหัตถบาส หา งจากตัวประมาณ ๑ ศอก ๒) โคนตนไม กําหนดเอาเคร่ืองลอม ถาไมมีเครื่องลอม กําหนดเอาบริเวณ เงาแดดเวลาเท่ยี ง ถา อยู ๒ รปู กําหนดเอาหัสถบาส ๓) ทแี่ จง กาํ หนดเอาหัตถบาส เงอื่ นไขท่ีภกิ ษุจะอยูปราศจากไตรจวี รได คอื ๑. จําพรรษาครบไตรมาส (๓ เดือนในพรรษา โดยไมข าดพรรษา) ๒. ไดกรานกฐนิ แลว ๓. อาพาธหนกั ไดรับสมมติ (ยกเวน ) จากสงฆ ๔. ในเขตท่ีสงฆสมมติติจีวราวปิ ปวาส เมื่ออยูนอกเขตกาลจีวร และพนเขตอานิสงสแหงกฐินแลว ภิกษุเก็บไตรจีวรไวใน ท่ีใด ตองกลับเขาไปในเขตนั้นกอนอรุณข้ึน ถาอรุณขึ้นแลวกลับเขามา ตองนิสสัคคิยปาจิตตีย เวน แตไ ดสมมติ คือ ไดร บั การตกลงจากสงฆใหอยูปราศจากไตรจีวรไดในคราวอาพาธหรือพนจาก กรรมสทิ ธิ์ของตนกอนอรณุ ขึ้น เชน ถกู ลักขโมยไป หรอื ภกิ ษถุ อนอธิษฐานกอน ไมเปน อาบัติ ๓. ถาผาเกิดข้ึนแกภิกษุ ภิกษุประสงคจะทําจีวร แตยังไมพอ ถามีที่หวังวาจะ ไดมาอีก พงึ เก็บผา นน้ั ไวไ ดเ พยี ง ๑ เดอื น เปนอยางย่ิง ถาเกบ็ ไวเ กิน ๑ เดือนไป แมถึงยัง มที ี่หวงั วาจะไดผา อยู ตองนิสสคั คิยปาจติ ตีย ผาที่เกิดข้ึนแกภิกษุในสิกขาบทน้ี หมายเอา อกาลจีวร ไดแก อติเรกจีวรท่ีไดมา นอกเขตจีวรกาลและนอกเขตอานิสงสกฐิน ซึ่งปกติภิกษุจะเก็บไวไดเพียง ๑๐ วัน (ตาม 252

 2๒๕5๑3 วชิ า วนิ ัย สิกขาบทท่ี ๑) ถา ภกิ ษุประสงคจะทําจีวรตอ งทาํ ใหเ สรจ็ ภายใน ๑๐ ถาผาท่ไี ดมานั้นไมพอท่ีจะทํา ไตรจีวรผนื ใดผืนหนึง่ แตม หี วงั วา จะไดม าเพมิ่ อกี ภกิ ษุพึงเก็บผานั้นไวไดไมเกิน ๑ เดือน เพ่ือจะ ใหผา ที่ยังขาดครบบริบูรณ ถาเก็บไวเกินกําหนดน้ี แมมีหวังจะไดมาเพ่ิมอีก ตองอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย ยกเวน กอนถงึ อรณุ ท่ี ๓๑ ภกิ ษุอธษิ ฐานวกิ ปั ป หรือสละใหแกผ ูอ่นื เสียกอนไมเ ปน อาบัติ ๔. ภิกษุใชนางภิกษุณีท่ีมิใชญาติ ใหซักผาก็ดี ใหยอมผาก็ดี ใหทุบก็ดี ซ่ึงจีวร เกา ตอ งนิสสัคคิยปาจติ ตีย คาํ วา จวี รเกา หมายถงึ ผา ที่ใชนงุ หมแลว แมคราวเดยี ว คําวา ญาติ หมายถึง คนท่ีเก่ียวเนื่องกันโดยสายเลือดทางบิดาหรือมารดา เจด็ ชั่วโคตรโดยนับลาํ ดับเหนือขนึ้ ไปจากตวั เองสามช้นั และนบั ลาํ ดบั ตํ่าลงมาอกี สามชั้น รวมเปน ๗ ชั้น สวนสามี-ภรรยา เขย หรือสะใภ ถามิไดเก่ียวของกันดวยสายเลือด ๗ ชั่วโคตร ไมนับวาเปน ญาติ ภิกษุใชนางภิกษุณีท่ีมิใชญาติใหเอาจีวรเกาไปซัก หรือยอม หรือทุบอยางใด อยางหนึ่งตองนิสสัคคิยปาจิตตีย ถาใชใหทํา ๓ อยางพรอมกัน ทําอยางแรกเสร็จเปนนิสสัคคีย ทาํ ๒ อยางหลงั เสรจ็ เปนทุกกฏ ใชใหซักผาปนู งั่ ผา ปูนอน เปนอาบตั ทิ ุกกฏ ภิกษใุ ชใหซัก ยอ ม หรอื ทุบจีวรใหม หรือบรขิ ารอืน่ นอกจากจวี ร หรอื เขาทําเอง ภิกษุ ไมไดใ ช ไมเปนอาบัติ ภิกษผุ เู ปนอาทิกมั มิกะในสกิ ขาบทนี้ คือ พระอุทายี ๕. ภิกษุรับจีวรแตมือนางภิกษุณีที่มิใชญาติ ตองนิสสัคคิยปาจิตตีย เวนแต แลกเปลยี่ นกัน สิกขาบทน้ีทรงบัญญัติไวเพ่ือปองกันไมใหภิกษุเบียดเบียนนางภิกษุณีผูมีลาภ นอย ถาจะรบั ก็ทรงใหแลกเปลี่ยนดว ยของทีม่ ีราคาเทากนั ภิกษผุ เู ปน อาทิกมั มิกะในสกิ ขาบทน้ี คือ พระอทุ ายี ๖. ภกิ ษขุ อจีวรตอคฤหสั ถ ผไู มใ ชญ าติ ไมใชป วารณา (คือไมไดบอกใหขอ) ไดมา ตองนิสสัคคิยปาจิตตีย เวนไวแตสมัยท่ีจะขอจีวรได คือ เวลาภิกษุมีจีวรอันโจร ลักไปหรือ เวลาที่จีวรฉิบหาย คําวา ผูไมใชญาติ คือ ผูมิไดเกี่ยวของกันโดยสายเลือด ๗ ชั่วโคตร (มีอธิบาย เหมือนสิกขาบทที่ ๔) คําวา ไมใชปวารณา คือ คนที่มิไดออกปากบอกภิกษุใหขอวา “ถาพระคุณเจา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 253

๒2๕5๒4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ประสงคสง่ิ ใดสิ่งหน่ึง พงึ ขอจากขาพเจา” คาํ วา จวี ร ในทน่ี ี้ หมายถึง ไตรจีวร ภิกษุขอตอคฤหัสถที่ไมใชญาติ ไมใชปวารณา ตอ งทกุ กฏ ทกุ คร้ังที่ขอ ไดม าเปน นสิ สัคคยิ ปาจติ ตีย สกิ ขาบทน้ีเปน อจิตตกะ ตองอาบัติดวยอาการ ๓ อยา ง เรยี กวา ติกปาจติ ตยี  คือ ๑. ถาเขามใิ ชญ าติ รอู ยูวามใิ ชญ าติ ๒. ถา เขามใิ ชญ าติ แตส งสยั วา เปน ญาติ ภกิ ษุขอไดมาเปน นสิ สคั คิยปาจิตตีย ๓. ถา เขามใิ ชญาติ แตเขา ใจวาเปนญาติ ถา เขาเปน ญาติ แตเ ขาใจหรือสงสยั วา ไมใ ชญ าติ ขอไดมา เปนทุกกฏ ภิกษุผูเปนอาทกิ ัมมกิ ะในสิกขาบทน้ี คือ พระอปุ นนั ทศากยบุตร ๗. ในสมัยเชนนั้น จะขอเขาไดก็เพียงผานุงผาหมเทาน้ัน ถาขอเกินกวานั้น ไดม า ตองนสิ สัคคยิ ปาจิตตีย สิกขาบทนี้มีเนื้อความตอจากสกิ ขาบทท่ี ๖ คําวา ในสมัยเชนน้ันกค็ อื ในคราวท่ีภิกษุ ถูกลกั ไตรจีวร หรือไตรจวี รชํารุดเสียหาย ดวยเหตอุ ยา งใดอยา งหนึ่ง ใชนุงหมไมได ทรงอนุญาตให ขอจากคฤหัสถท่ีไมใชญ าติ มใิ ชป วารณาได ตามกาํ หนดดังน้ี คือ ถาไตรจีวรหายหรอื ชาํ รดุ ๓ ผืน ขอไดเพียง ๒ ผืน ถาหายหรือชํารุด ๒ ผืน ขอไดผืนเดียว ถาหายหรือชํารุดผืนเดียว ไมท รงอนุญาตใหข อ ถา เกนิ กาํ หนดน้ี ตอ งทกุ กฏขณะขอ ไดมาเปน นสิ สัคคยิ ปาจิตตีย ภิกษผุ เู ปน อาทิกมั มิกะในสิกขาบทน้ี คอื พระฉพั พัคคีย ๘. ถาคฤหัสถท่ีมิใชญาติ ไมใชปวารณา เขาพูดวาเขาจะถวายจีวร แกภิกษุ ช่ือน้ี ภิกษุน้ันทราบความแลว เขาไปพูดใหเขาถวายจีวรอยางนั้นอยางนี้ ที่มีราคาแพง กวา ดกี วาทเ่ี ขากาํ หนดไวเดมิ ไดม า ตองนิสสัคคิยปาจติ ตยี  ภิกษุทราบวาเขาจะถวายจีวรแกตน เขาไปพูดใหถวายจีวรที่มีราคาแพงกวา ดีกวา เขาจา ยทรัพยไ ปตามคําแนะนํา ตอ งทกุ กฏ ไดม า เปน นิสสัคคิยปาจติ ตยี  ถาเขาปวารณาจะ ถวายจวี รท่ีมีราคามาก พดู ใหถ วายนอยลง ไมเปนอาบตั ิ ภิกษุผูเปนอาทิกัมมิกะในสิกขาบทน้ี คือ พระอปุ นันทศากยบุตร ๙. ถาคฤหัสถผูจะถวายจีวรแกภิกษุมีหลายคน แตเขาไมใชญาติ ไมใช ปวารณาภิกษุไปพูดใหเขารวมทุนเขาเปนอันเดียวกันใหซ้ือจีวรที่แพงกวา ดีกวาที่เขา กาํ หนดไวเดิม ไดม า ตอ งนิสสัคคยิ ปาจติ ตีย ภกิ ษรุ วู า จะมีคนถวายแกต นหลายคน จงึ เขา ไปพดู แนะนําใหเขารวมทุนกนั จัดซ้ือ จวี รทด่ี ีกวา แพงกวา ทีเ่ ขาตง้ั ใจไว ถา เขาทําตาม ตองทุกกฏ ไดม า เปน นิสสคั คิย-ปาจติ ตยี  254

 2๒5๕5๓ วชิ า วนิ ัย ภกิ ษุผเู ปนอาทิกัมมกิ ะในสิกขาบทน้ี คอื พระอุปนันทศากยบุตร ๑๐. ถาใคร ๆ นําทรัพยมาเพ่ือจายคาจีวรแลวถามภิกษุวา ใครเปนไวยาวัจกรของ เธอ ถา ภกิ ษตุ อ งการจีวร ก็พงึ แสดงคนวัดหรอื อบุ าสกวา ผนู ้ีเปน ไวยาวัจกรของภิกษุท้ังหลาย ครน้ั เขามอบหมายไวยาวัจกรน้ันแลว สั่งภิกษุวา ถาตองการจีวรใหเขาไปหาไวยาวัจกร ภิกษุ นั้นพึงเขาไปหาเขาแลวทวงวา เราตองการจีวรดังนี้ ได ๓ คร้ัง ถาไมไดจีวรไปยืนแตพอเขา เห็นได ๖ ครัง้ ถา ไมไ ด ขนื ทวงเกิน ๓ ครง้ั ยนื เกิน ๖ คร้งั ไดมา ตอ งนสิ สัคคิยปาจติ ตีย ถาไปทวงและยืนครบกําหนดแลวไมไดจีวร จําเปนตองไปบอกเจาของเดิมวา ของนั้นไมส าํ เร็จประโยชนแ กตน ใหเขาเรียกเอาของเขาคืนมาเสยี ในการยืนน้ัน ทานใหยืนนิ่ง ๆ ใหเขาเห็น ไมพึงน่ังบนอาสนะ ไมพึงรับอามิส (ของถวาย) ไมพ งึ กลาวธรรมะ เม่ือเขาถามวา “มาธรุ ะอะไร” พึงกลาววา “ทานจงรูเองเถิด” ถานั่ง บนอาสนะ หรือรบั อามสิ หรอื กลา วธรรม ชอื่ วา ตัดโอกาสแหงการยืน คอื ไมนบั วายนื ทวง ๑ ครง้ั เทากับยนื ๒ ครัง้ ยนื ๒ คร้ัง เทากับทวง ๑ ครั้ง ภิกษุยืนทวงตามอัตรานี้ ไดมาไมเปนอาบัติ ถาไมไดตองบอกแกเจาของเดิม ถา ไมบอก ตองทุกกฏ เพราะวัตตเภท คือ ละเลยกิจวัตร ถายืนและทวงเกินกําหนด ไดมาตอง นสิ สคั คยิ ปาจติ ตีย ภกิ ษผุ เู ปน อาทิกมั มิกะในสิกขาบทนี้ คอื พระอปุ นันทศากยบุตร ข. โกสยิ วรรคที่ ๒ (หมวดวา ดว ยสนั ถตั ) ๑. ภิกษุหลอ สนั ถตั ดว ยขนเจียมเจอื ดว ยไหม ตองนิสสัคคิยปาจิตตยี  สันถัต คือ อาสนะสําหรับรองน่ังชนิดหน่ึงท่ีใชกรรมวิธีการหลอ ไมใชทอ เหมือนกับผา ชนดิ อื่น คอื นาํ ขนเจยี ม (ขนสัตวป ระเภทกวาง เชน ขนแพะ ขนแกะ เปนตน) ปูลาด ลงแลวเอานํ้าขาวหรือของอื่นท่ีมียางเหนียวพอจะใหขนเจียมจับกันพรมลงบนขนเจียม แลวนํา ขนเจียมมาทับลงอีก เสร็จแลว ใชเคร่อื งรดี หรือทับ ทาํ ใหเปนแผน หนาหรือบางตามตองการ ภิกษุทําเองก็ดี ใชใหผูอื่นทําก็ดี ซ่ึงสันถัตเจือดวยไหมตั้งแตเริ่มทําจนเสร็จ หรือ ทาํ คางไวแลว ใชผอู ่นื ทาํ ตอ จนเสร็จ หรือใชผูอ่ืนใหทําคางไวตนทําตอจนเสร็จ เปนนิสสัคคิยปาจิตตีย หลอทําอยางอ่ืน นอกจากสันถัต เจือดวยไหม เปนทุกกฏ สิกขาบทน้ีมีจุดมุงหมายเพื่อปองกัน มใิ หต ัวไหมตอ งถกู ตม เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 255

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 256 256

 2๒5๕7๕ วชิ า วนิ ยั ภิกษผุ เู ปน อาทิกัมมกิ ะในสิกขาบทน้ี คอื พระฉพั พัคคีย ๘. ภิกษุรับเองก็ดี ใชใหผูอ่ืนรับก็ดี ซึ่งทองและเงิน หรือยินดีทองและเงินที่เขา เก็บไวเพอื่ ตน ตองนิสสคั คิยปาจิตตยี  ทอง หมายเอา ทองคาํ แทง และทองคําทีท่ าํ เปนรูปพรรณ เชน ทําเปนสรอยคอ กําไล แหวน เครือ่ งประดบั ตาง ๆ เงิน หมายเอา เงินแทที่ทําเปนรูปพรรณ หรือยังไมทําเปนรูปพรรณและเงิน ประเภทตาง ๆ ท่ีมีการกําหนดราคาสําหรับใชจายซื้อขาย ถูกตองตามกฏหมาย เชน เงินบาทไทย เงินดอลลา ร เงินปอนด เงินกีบ เปนตน ทองและเงินดังท่ีกลาวมานี้ ทางวินัยเรียกวา รูปยะ จัดเปนวัตถุอนามาส ภิกษุ ไมควรจับตอง ถาจับตองเปนทุกกฏ ภิกษุรับหรือใชใหผูอื่นรับเอามาเปนของตน หรือยินดี คือ ถือกรรมสิทธ์ิเปนเจาของของนั้นเปนนิสสัคคีย ตองสละแกสงฆ สงฆพึงสละใหแกคฤหัสถผูใดผู หน่งึ ถาเขาไมรบั พึงใหเธอชวยท้ิง ถาเธอไมช วย สงฆพ งึ สมมติภกิ ษรุ ปู หนง่ึ เปน ผทู ง้ิ อาบัติในสิกขาบทน้ีเปนอจิตตกะ ไมรูก็เปนอาบัติ ถามีคฤหัสถนํารูปยะมามอบ ใหแกไวยาวัจกร แลวพูดวา “จงจัดหาของอันเปนกัปปยะ ถวายภิกษุ” ภิกษุยินดีในของท่ี เขาซ้ือถวายไมเ ปน อาบตั ิ แตห ามยินดใี นรูปยะนน้ั ภกิ ษพุ บทองและเงินตกอยใู นวดั ใหคนอื่นเก็บ ไวเพือ่ คืนเจาของไมเ ปนอาบัติ ถา ไมใหเก็บตอ งทุกกฏ ภกิ ษผุ เู ปนอาทิกัมมกิ ะในสิกขาบทนี้ คอื พระอปุ นนั ทศากยบุตร ๙. ภิกษุทําการซ้ือขายรูป ยะ คือ ของท่ีเขาใช เปนทองและเงิน ตอง นิสสคั คิยปาจิตตีย ทําการซ้ือขายรูปยะ หมายถึง การเอารูปยะกับรูปยะแลกเปลี่ยนกันหรือซ้ือขาย กนั เชน เอาเงินซอ้ื ทอง หรอื เอาทองแลกกับทอง เปนตน แตมตขิ องสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส หมายถงึ การเอารปู ย ะ จายซ้ือกัปปยบริขาร (ของท่ีควรใชสอย) ตาง ๆ ก็ดี จายเปนคาแรงคนทํางานตาง ๆ ก็ดี หรือจาย เปน คาอ่นื ๆ กด็ ี ชอื่ วา ทําการซอื้ ขายดวยรูปยะ ภิกษใุ ชธนบัตรซอื้ ของตามรานคา จัดเขาในสกิ ขาบทนด้ี วย รูปยะ หรือของที่ไดมาดวยการซื้อขายแลกเปล่ียนเชนน้ี เปนนิสสัคคีย ตองสละ แกส งฆ วิธสี ละเหมอื นสกิ ขาบทท่ี ๘ ภกิ ษุผเู ปนอาทิกัมมกิ ะในสกิ ขาบทนี้ คือ พระฉัพพคั คยี  เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 257

2๒๕5๖8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ๑๐. ภิกษแุ ลกเปลี่ยนสง่ิ ของกบั คฤหัสถ ตองนิสสัคคิยปาจิตตีย คําวา แลกเปล่ียนส่ิงของ คือ การแลกเอาหรือรับเอาของเปนกัปปยะ ดวยของเปน กัปปย ะเหมอื นกนั ไดม า เปน นสิ สัคคยี  ตองสละแกส งฆแกค ณะหรือแกบ ุคคลก็ได ภิกษุผเู ปนอาทกิ มั มิกะในสิกขาบทน้ี คือ พระอปุ นันทศากยบุตร ค. ปต ตวรรคที่ ๓ (หมวดวาดว ยบาตร) ๑. บาตรนอกจากบาตรอธษิ ฐาน เรียกวา อติเรกบาตร อติเรกบาตรนั้น ภิกษุเก็บ ไวไ ดเพยี ง ๑๐ วนั เปน อยา งย่งิ ถา ใหลว ง ๑๐ วนั ไป ตอ งนสิ สัคคยิ ปาจิตตีย บาตรทที่ รงอนญุ าตใหใ ชม ี ๒ ชนิด คอื บาตรเหล็กและบาตรดนิ เผา มี ๓ ขนาด คอื ๑. ขนาดเลก็ ใสข า วเต็มบาตร ภิกษรุ ปู เดียวฉันอม่ิ ๒. ขนาดกลาง จขุ าวเตม็ บาตร ภกิ ษุ ๒ รปู ฉันอม่ิ หรือใสผา สงั ฆาฏไิ ด ๓. ขนาดใหญ จุขาวเต็มบาตร ภิกษุ ๔ รูป ฉนั อมิ่ บาตรทรงอนุญาตใหอธิษฐานมีไดใบเดียว เรียกวา บาตรอธิษฐาน นอกน้ัน จัดเปนอติเรกบาตร ทรงอนุญาตใหเก็บไวได ๑๐ วัน ถาเกิน ๑๐ วันไป เปนนิสสัคคีย ยกเวนแตได วกิ ปั ปหรือบาตรน้ันหาย หรอื ภิกษขุ าดกรรมสิทธ์ิ กอนครบ ๑๐ วัน ไมเปน อาบตั ิ ภกิ ษผุ ูเ ปน อาทกิ ัมมิกะในสิกขาบทน้ี คือ พระฉัพพัคคยี  ๓. ภิกษุรับประเคนเภสัชทั้ง ๕ คือ เนยใน เนยขน นํ้ามัน น้ําผ้ึง น้ําออย แลว เก็บไวฉนั ไดเพยี ง ๗ วนั เปนอยา งย่ิง ถา ลว ง ๗ วนั ไป ตองนสิ สคั คิยปาจติ ตีย เภสัชทั้ง ๕ นั้น ถาเก็บไวนานเกินไปจะกลายเปนของเสีย เม่ือนํามาบริโภคแลว จะทําใหทองเสีย แมไมบริโภคเก็บไวก็จะมีกล่ินหื่น ทําใหท่ีอยูสกปรก ดวยเหตุนี้จึงทรงบัญญัติ หา มมิใหเ ก็บเภสชั ไวเ กนิ ๗ วัน เภสชั ที่เปน นิสสัคคียภกิ ษุสละแลว มีผูนํากลับมาถวายอีก ไมทรง อนญุ าตใหฉนั แตใ หน าํ ไปทําอยางอ่นื เชน ใชเปน เชอื้ ไฟทาแผล เปนตน ไมทรงหา ม อน่ึง เภสัชทั้ง ๕ นั้น ถาภิกษุรับประเคนไวเพ่ือบริโภคเก็บไวได ๗ วัน เกินน้ันเปน 258

 2๒5๕๗9 วชิ า วนิ ยั นิสสัคคยี  ถา รบั เพ่อื ทาํ อยา งอ่นื เกบ็ ไวเ กินกวา น้นั ไมเปนอาบตั ิ ภิกษุผเู ปน อาทกิ ัมมกิ ะในสิกขาบทน้ี คอื พระปลันทวัจฉะ ๔. เม่ือฤดูรอนยังเหลืออยูอีก ๑ เดือน คือ ต้ังแตแรม ๑ คํ่า เดือน ๗ จึงแสวงหา ผาอาบนํ้าฝนได เม่ือฤดูรอนยังเหลืออยูอีกกึ่งเดือน คือ ตั้งแตขึ้น ๑ ค่ํา เดือน ๘ จึงทํานุงได ถา แสวงหรือทํานุงใหล้ํากวากําหนดนน้ั เขา มา ตองนสิ สคั คิยปาจติ ตีย ผาอาบน้ําฝนนั้น จัดเปนบริขารพิเศษช่ัวคราวของภิกษุท่ีทรงอนุญาตใหอธิษฐาน ใชไดตลอด ๔ เดือน ของฤดูฝน ถาพน ฤดูฝนไปแลว ตอ งวกิ ปั ป ภกิ ษผุ ูเปน อาทิกมั มกิ ะในสกิ ขาบทนี้ คือ พระฉัพพัคคยี  กําหนดเวลาเกย่ี วกบั ผาอาบนา้ํ ฝน ดงั น้ี - ต้ังแตแรม ๑ คํ่า เดือน ๘ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ํา เดือน ๘ (๓๐วันกอนถึงฤดูฝน) เปน เขตแสวงหา - ต้ังแตข้ึน ๑ คํ่า เดือน ๘ ถึงข้ึน ๑๕ คํ่า เดือน ๘ (๑๕ วันกอนถึงฤดูฝน) เปน เขตใหท ํานุง หมายถึง การเย็บ ยอม พนิ ทุ นุง แตย ังอธิษฐานเปนผาอาบนา้ํ ฝนไมไ ด - ตั้งแตแ รม ๑ คํา่ เดอื น ๘ ถึง ขึน้ ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๒ ตลอดฤดูฝนใหอธิษฐาน ใชพนจากน้ีใหวกิ ัปป สิกขาบทน้ีเปนอจิตตกะ ภิกษุสําคัญวาถึงแลวดวยนับพลาดไป แสวงหา ผา อาบน้ําฝนในท่อี ยูของคฤหสั ถท มี่ ิใชญาติมิใชปวารณา แมเ ชน นี้ก็เปน อาบตั ิ ๕. ภิกษุใหจีวรแกภิกษุอ่ืนแลว โกรธ ชิงเอาคืนมาเองก็ดี ใชใหผูอื่นชิงมาก็ดี ตอ งนิสสัคคิยปาจติ ตยี  การชิงเอาจีวรคืนเชนนี้ ไมจัดเปนอวหาร การลักขโมย เพราะภิกษุชิงเอาดวย สกสัญญา คือ สําคัญวาเปนของของตน และทานถือวาภิกษุรูปเดิมนั้น ยังมีกรรมสิทธ์ิ ครอบครองอยู หากจีวรท่ีชิงเอามาน้ันมีราคาเกิน ๕ มาสก ก็คงเปนนิสสัคคิยปาจิตตีย ไมเปน ปาราชิก ภิกษุใหบริขารอยางอ่ืนนอกจากจีวรแลว ชิงเอาคืนก็ดี ชิงเอาของท่ีตนใหทุกประเภทจาก อนปุ สัมบนั กด็ ี เปน ทกุ กฏ ภกิ ษุผเู ปน อาทิกัมมิกะในสิกขาบทน้ี คือ พระอปุ นนั ทศากยบุตร ๖. ภิกษุขอดายตอคฤหัสถทีไ่ มใ ชญ าติ ไมใชปวารณา เอามาใหชางหูกทอจีวร ไดมา ตอ งนสิ สัคคยิ ปาจิตตีย ภิกษุผเู ปน อาทิกมั มิกะในสกิ ขาบทน้ี คอื พระฉพั พัคคยี  เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 259

2๒๕6๘0 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ๗. ถาคฤหัสถที่ไมใชญาติ ไมใชปวารณา สั่งใหชางหูกทอจีวร เพ่ือถวายแกภิกษุ ถาภิกษไุ ปกาํ หนดใหเขาทําใหด ขี ึ้นดวยจะใหรางวลั แกเขา ตอ งนสิ สคั คยิ ปาจิตตีย ภกิ ษผุ เู ปนอาทิกมั มกิ ะในสิกขาบทน้ี คอื พระอปุ นันทศากยบุตร ๘. ถา อีก ๑๐ วัน จะถึงวนั ปวารณา คือ ตั้งแตข้ึน ๖ คํ่า เดือน ๑๑ ถาทายก รีบจะ ถวายผา จํานาํ พรรษากร็ บั เก็บไวไ ด แตถาเกบ็ ไวเ กนิ กาลจวี รไป ตอ งนิสสัคคยิ ปาจิตตีย กาลจีวร คือ ถาจําพรรษาแลว ไมไดกรานกฐิน นับแตวันปวารณาไป เดือนหน่ึง คือ ตั้งแตแ รม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถาไดก รานกฐนิ นบั แตวันปวารณา ไป ๕ เดอื น คือ ต้ังแตแ รม ๑ คํา่ เดอื น ๑๑ ถงึ กลางเดอื น ๔ ผาจํานําพรรษา คือ ผาท่ีทายกถวายแกภิกษุจําพรรษาครบไตรมาสแลวในชวง จวี รกาล เรียกวา ผาวสั สาวาสิกา ผาจํานําพรรษาหรือผาวัสสาวาสิกา ถาหากทายกมีความจําเปน เชน จะไปทัพ จะยายท่ีอยู เจ็บไข เปนตน จะถวายแกภิกษุกอนจะถึงกอนวันออกพรรษา ๑๐ วัน ทรงอนุญาต ใหร บั กอนได เรียกวา อจั เจกจวี ร คือ จวี รเรงดวนหรอื ผาทีเ่ ขาดว นถวาย อัจเจกจีวรน้ี ภิกษุเก็บไวไดตลอดกาลจีวร โดยไมตองวิกัปป ถาพนเขตกาลจีวร แลว ไมวิกัปป ผา นั้นเปน นิสสคั คีย ตอ งสละเสยี ๙. ภิกษุจําพรรษาในเสนาสนะปาซ่ึงเปนที่เปลี่ยว ออกพรรษาแลวอยากจะเก็บ ไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งไวในบาน เมื่อมีเหตุเก็บไวไดเพียง ๖ คืน เปนอยางยิ่ง ถาเก็บไว เกินกวานน้ั ตอ งนิสสคั คยิ ปาจิตตยี  เวน ไวแ ตไ ดสมมติ เสนาสนะปา คือ เสนาสนะท่ีตั้งอยูหางไกลจากบาน ๕๐๐ ช่ัวธนู เทากับ ๒๕ เสน (๑ กิโลเมตร) จดั เปนเขตปา ในวินัยสงฆ ภิกษุท่ีอยูในปาเชนน้ี มักถูกโจรปลน ฉะนั้น จะทรงอนุญาตใหภิกษุเก็บไตรจีวร ผืนใดผืนหน่ึง ในบาน ๖ ราตรี ซ่ึงตามปกติ ภิกษุจะอยูปราศจากไตรจีวรไดเพียงราตรีเดียว (ตามสกิ ขาบทที่ ๒ จีวรวรรค) และสิกขาบทน้ีทรงอนุญาตเฉพาะเมื่อมีเหตุจําเปนเทาน้ัน ถาเก็บไว หรือปราศจาก ๖ ราตรี ผาน้นั เปนนสิ สัคคีย ตอ งสละเสีย ๑๐. ภกิ ษรุ ูอยู นอ มลาภท่เี ขาจะถวายสงฆมาเพ่ือตน ตองนิสสคั คยิ ปาจิตตีย ปจ จยั ๔ คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ เภสัช และกัปปยภัณฑอ่ืน ๆ ชื่อวา ลาภ ภิกษรุ อู ยวู า ลาภนั้นเขาตั้งใจนาํ ถวายแกส งฆ นอ ม คอื เอยปากขอตรงๆ ก็ดี พดู เลียบเคียงใหเ ขา 260

 2๒๕6๙1 วชิ า วนิ ยั เปล่ยี นใจถวายตนแทนก็ดี ในขณะท่ีพดู เปนอาบตั ทิ ุกกฏ ถา ไดล าภน้นั มา ตองนสิ สคั คยิ ปาจติ ตยี  ภิกษุนอมลาภเชนนั้นใหแกภิกษุอ่ืน เปนปาจิตตีย (ตามสิกขาบทที่ ๑๒ สหธรรมมกิ วรรคปาจติ ตยี ) นอ มลาภเชน นใ้ี หสงฆแ กห มูอื่นหรือแกเจดีย เปน ทกุ กฏ นอมลาภท่ีถวายเจดยี หรอื ถวายแกบคุ คลใหสับกันเสยี เปน ทุกกฏ สิกขาบทนี้เปนสจิตตกะ ไมเปนอาบัติแกผูไมรู ถาสงสัยแลวขืนทําเปนอาบัติ ทุกกฏ เขาปรึกษาใหค ําแนะนาํ ไมเปนอาบัติ ภิกษผุ เู ปนอาทิกัมมกิ ะในสกิ ขาบทนี้ คอื พระฉัพพคั คยี  นสิ สคั คียปาจติ ตยี  ๓๐ สกิ ขาบทน้ี ทานจดั เปน ๓ หมวด คอื หมวดที่ ๑ เปนนิสสัคคียโดยวัตถุ ตองสละแกสงฆ และสละเสียแลว จะนํามา ใชอีกไมได หมวดท่ี ๒ เปน นสิ สัคคยี  โดยอาการของภิกษุ หมวดท่ี ๓ เปนนิสสคั คียโดยลวงเวลา ของที่เปนนิสสคั คยี  โดยอาการและโดยลว งเวลา สละแกคณะหรือแกบุคคลก็ได เมื่อสละแลว นํากลับมาใชอีกได ยกเวนสิกขาบทที่ ๒ แหงปตตวรรค บาตรท่ีขอตอคนท่ี ไมใชญ าติ ไมใชป วารณา ตอ งสละแกสงฆ ของที่เปนนิสสัคคีย แตสญู หายไป ภกิ ษุแสดงแตอาบตั ิก็พน ได เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 261

2๒๖6๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 กัณฑที่ ๗ ปาจิตตีย ๙๒ คําวา ปาจิตตีย แปลวา การลวงละเมิดที่ทําใหกุศลจิตกลาวคือกุศลธรรมของผู จงใจลวงละเมิดใหตกไป หมายถึง ส่ิงท่ีทําใหจิตใจตกตํ่า เม่ือจิตใจตกต่ําก็ทําใหดําเนินทางผิด ตออริยมรรค ปาจิตตียจ ัดเปน อาบัติทีม่ ีสิกขาบทมากทส่ี ุดในบรรดาอาบัตทิ ั้งหลาย จดั เปนลหุกาบัติ มีโทษเบา และจัดเปนสเตกิจฉา ยังแกไขได ภิกษุตองเขาแลว ตองแสดงอาบัติตอหนาสงฆ ตอหนาคณะ หรือบุคคลอยางใดอยางหนึ่งก็พนได เรียกช่ืออีกอยางหน่ึงวา สุทธิกปาจิตตีย แปลวา ปาจิตตียล ว น ๆ ไมเ กย่ี วดว ยสิ่งของ มที ั้งหมด ๙ วรรค ๙๒ สิกขาบท ดังนี้ ๑. มุสาวาทวรรค หมวดวาดวยพดู ปด ๑. ภกิ ษุพูดปด ตอ งปาจิตตยี  คาํ วา พดู ปด หมายถึง การกลาวเท็จทง้ั ท่ีรตู ัวอยู มี ๒ ลักษณะ คอื ๑) เรื่องจริงแตภิกษุจงใจพูด เขียน หรือแสดงทาทางอยางใดอยางหน่ึง ใหเขา เขาใจคลาดเคลอ่ื นจากความเปน จริง ชือ่ วา พูดปด ๒) ภิกษุรับคําของผูอ่ืนดวยความจริงใจ ภายหลังทําไมไดตามที่พูด เรียกวา “ปฏิสสวะ” ฝนคําที่รับปากเขาไว ปรับทุกกฏ ภิกษุพูดพล้ัง คือ พูดไปโดยไมทันยั้ง (ไมทันคิด) พดู พลาด คอื พูดดว ยความเขาใจผิดไมเปน อาบัติ ภกิ ษุผูเปนอาทกิ มั มกิ ะในสกิ ขาบทน้ี คอื พระหตั ถกศากยบตุ ร ๒. ภกิ ษดุ า ภิกษุ ตองปาจิตตีย คําดา หรือ โอมสวาท คือ คําพูดที่เสียดแทงใหผูอื่นเกิดความเจ็บใจ ซ่ึงมี ลักษณะ ๒ อยาง คือ ๑)แกลงพูดยกยอประชดประชัน ๒)พูดเหยียดหยาม กดใหตํ่าลงดวยคํา หยาบ ท้ัง ๒ อยา งนี้ ช่อื วา ดา ในสกิ ขาบทน้ี อักโกสวัตถุ คือ เร่ืองสําหรับยกข้ึนดา มี ๑๐ อยาง คือ ๑.ชาติกําเนิด ๒.ช่ือ ๓.โคตร ๔.การงาน ๕.ศลิ ปะ ๖.โรค ๗.รปู พรรณ ๘.กเิ ลส ๙.อาบตั ิ ๑๐.คาํ สบประมาทตา ง ๆ 262

 2๒6๖3๑ วชิ า วนิ ัย ภิกษุดาภิกษุโดยเจาะจงตัวเปนปาจิตตีย ไมเจาะจงตัวเปนทุกกฏ ดาแตมุงจะ ลอเลนเปนทุพภาสติ (อาบัตทิ พุ ภาสติ มเี ฉพาะในสกิ ขาบทนีเ้ ทา น้ัน) ภิกษผุ ูเปนอาทกิ มั มิกะในสกิ ขาบทน้ี คอื พระฉัพพคั คีย ๓. ภกิ ษพุ ูดสอ เสียดภิกษุ ตอ งปาจิตตยี  ภิกษุจงใจพูดยุแหยใหผูอ่ืนแตกคอกัน เชน นําคําของฝายหนึ่งไปพูดใหอีกฝายหน่ึง ฟง แลว นําคําของฝา ยหลังกลบั ไปพูดใหฝา ยแรกฟง จนทาํ ใหเขาแตกสามัคคี ชอ่ื วา พูดสอเสียด ภิกษุสอเสียดภิกษุกับภิกษุใหแตกคอกัน เปนปาจิตตีย ถาฝายหน่ึงเปนภิกษุ อกี ฝา ยหน่ึงไมใ ชภิกษุ หรอื ไมใชภิกษุท้งั ๒ ฝาย เปนทุกกฏ พดู โดยไมไ ดตง้ั ใจจะใหเขาแตกแยก กนั ไมเ ปนอาบตั ิ ภิกษุผูเปนอาทิกัมมกิ ะในสิกขาบทนี้ คือ พระฉพั พคั คยี  ๔. ภิกษุสอนธรรมแกอ นปุ สมั บนั ถาใหเขาวาพรอมกนั (กบั ตน) ตองปาจิตตยี  อนุปสัมบัน คือ ผูท่ีไมไดรับการอุปสมบทเปนพระภิกษุหรือภิกษุณี ไดแก สามเณร สามเณรี และอุบาสก อุบาสกิ า ทงั้ ชายหญงิ ภกิ ษสุ อนอนุปสมั บนั ใหก ลา วธรรมเปน บท ๆ พรอมกับตนไมวาจะวาพรอมกันท้ังบท หรอื วาพรอมกันบางสว น คอื วา พรอมกนั หนึง่ อักขระ หรอื หนึง่ พยัญชนะ ตองปาจติ ตีย ภิกษุผูเปน อาทกิ มั มิกะในสกิ ขาบทน้ี คือ พระฉพั พัคคีย ๕. ภกิ ษนุ อนในทีม่ งุ ท่บี งั อนั เดียวกนั กบั อนปุ สมั บันเกนิ ๓ คืน ตองปาจิตตยี  คําวา นอนรวม หมายถึง นอนในเคร่ืองลาดอันเดียวกัน หรือนอนในหอง เดยี วกนั ซ่งึ สามารถมองเห็นกนั ไดในเวลานอน สิกขาบทนี้ ทรงบัญญัติข้ึนเพื่อไมใหอนุปสัมบันเห็นกิริยานาเกลียดของภิกษุ ในขณะนอนหลับ เบื้องตน ทรงหามเด็ดขาดแตภายหลังจึงทรงผอนผันใหนอนรวมไดไมเกิน ๓ คืน ถานอนเกินกวาน้ี คือ แสงอรุณของวันท่ี ๔ ข้ึนไป ตองปาจิตตีย ถาออกไปกอนสวางและ กลบั มาเมอื่ สวา งแลว ไมเปนอาบัติ สกิ ขาบทนีเ้ ปน อจิตตกะ แมน บั ราตรพี ลาดกเ็ ปน อาบัติ อนุปสัมบันในสกิ ขาบทน้หี มายเอาเฉพาะผชู ายเทานน้ั ภิกษุผูเ ปนอาทิกัมมิกะในสิกขาบทนี้ คอื ภกิ ษุชน้ั นอกเมอื งอานงั วี ๖. ภิกษุนอนในที่มุงที่บงั อนั เดียวกับผหู ญิง แมค นื แรก ตองปาจิตตีย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 263

๒2๖6๒4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 หญิงในสิกขาบทนี้หมายเอาหญิงมนุษยต้ังแตแรกเกิด ภิกษุนอนรวมกับผูหญิง ไมว าจะนอนพรอ มกันกด็ ี นอนคนละครัง้ ก็ดี นอนแลวลกุ ขน้ึ แลวกลบั มานอนกด็ ี ตอ งปาจิตตีย ภกิ ษผุ เู ปนอาทิกมั มิกะในสิกขาบทน้ี คอื พระอนุรุทธะ ๗. ภิกษุแสดงธรรมแกหญิงเกิน ๖ คําขึ้นไป ตองปาจิตตีย เวนไวแตมีบุรุษผูรู เดียงสาอยดู ว ย หญงิ ในท่นี ห้ี มายเอาหญงิ มนษุ ยผ ูร เู ดยี งสาพอรเู ขาใจเน้อื ความได วรรคหน่งึ ๆ เรียกวา ๑ บาท และ ๑ บาท เทากับ ๑ คํา ๔ บาท/คํา เปน ๑ คาถา ภิกษุ แสดงธรรมเกิน ๖ คาํ คอื เกนิ ๖ บาท (เกิน ๑ คาถา กับ ๒ บาท) แกหญิงคนเดียวหรือหลายคน ท่ีไมมผี ูชายรูเดียงสาอยูดว ย ตอ งปาจติ ตยี  ๘. ภิกษุบอกอุตตริมนุสสธรรมทม่ี ีจริงแกอนุปสัมบัน ตองปาจิตตีย การอวดอุตตริมนุสสธรรมท่ีตนมี เปนปาจิตตีย เพราะทานถือวาการโออวดเปน มลทินแหงพรหมจรรย ภิกษผุ ูเ ปน อาทกิ มั มกิ ะในสิกขาบทนี้ คอื ภิกษวุ ัคคมุ ทุ า ๙. ภิกษุบอกอาบัติชั่วหยาบของภิกษุอื่นแกอนุปสัมบัน ตองปาจิตตีย เวนไวแต ไดสมมติ อาบัติชั่วหยาบในสิกขาบทนี้ คือ อาบัติปาราชิกและสังฆาทิเสส ทรงบัญญัติไว เพอื่ ปองกันไมใ หภ กิ ษเุ อาความเสยี หายของภิกษุดวยกนั ไปประจานแกผูอ่ืน บอกอาบตั ิชั่วหยาบเปน ปาจิตตีย บอกอาบัตินอกนี้ เปน ทกุ กฏ อน่ึง แมภิกษุผูไดรับสมมติใหบอก ก็บอกไดเฉพาะเทาที่สงฆกําหนดเทานั้น คือ สงฆมอบหมายใหบอกอยางไร บอกแกใ คร ตอ งบอกอยา งนัน้ แกค นนั้น ภกิ ษผุ เู ปนอาทิกัมมิกะในสกิ ขาบทน้ี คือ พระฉัพพคั คยี  ๑๐. ภิกษขุ ุดเองก็ดี ใชใ หผ ูอ ่นื ขุดกด็ ี ซงึ่ แผน ดนิ ตอ งปาจติ ตยี  ในคัมภีรว ิภังคจําแนกแผนดินไว ๒ ประเภท คือ ๑) แผนดนิ แท (ชาตปฐพี) ไดแ ก ดนิ ลวน ไมม กี รวด หิน ทราย หรือของอ่ืนปน หรือ มีบางก็เพยี งบางสวน ๒) แผนดนิ ไมแท (อชาตปฐพ)ี ไดแ ก หิน ทราย หรอื กรวดลวน ๆ หรือมีดินปน นดิ หนอย ภกิ ษขุ ุดชาตปฐพจี งึ เปนอาบตั ิ ขุดอชาตปฐพไี มเ ปนอาบัติ 264

 2๒๖6๓5 วชิ า วนิ ัย ๒. ภตู คามวรรค หมวดวา ดว ยการพรากภูตคาม ๑. ภิกษุพรากของเขยี วซง่ึ เกดิ อยูกบั ท่ี ใหห ลดุ จากที่ ตอ งปาจติ ตยี  ของเขียวในสิกขาบทน้ี เรียกช่ือวา ภูตคาม หมายเอา ตนไมและพืชพันธุตางๆ ที่ เกดิ อยูกับท่ี ๕ ชนดิ คือ ๑. พืชทข่ี ยายพนั ธดุ ว ยเหงา หรอื หวั เชน ขม้นิ ขิง ขา เปนตน ๒. พืชทข่ี ยายพนั ธจุ ากลาํ ตน ดว ยการตอนกง่ิ หรอื ไปปลกู ได เชน ตนโพธิ์ตนไทร ๓. พืชทขี่ ยายพันธุดว ยตาหรือขอ เชน ออย มนั สาํ ปะหลงั ไมไผ เปนตน ๔. พชื ทีข่ ยายพันธดุ วยยอด เชน ผกั บงุ ลอม แมงลัก กะเพรา เปนตน ๕. พืชท่ขี ยายพนั ธดุ วยเมล็ด เชน ขาว ถ่ัว งา เปนตน ภิกษุ พราก คือ ขุด ถอน ตัดกิ่ง เด็ดยอด ของภูตคาม ท่ีเกิดอยูกับท่ีเองก็ดี ใชค นอืน่ พรากก็ดี ตอ งปาจิตตยี  พรากพีชคาม คือ พืชพันธุอันถูกพราก จากท่ีแลวแตยังจะปลูก ไดอีก เปนทกุ กฏ ภิกษุผเู ปน อาทกิ มั มกิ ะในสิกขาบทน้ี คือ ภิกษุชาวเมืองอาฬวี ๒. ภิกษุประพฤติอนาจาร สงฆเรียกตัวมาถาม แกลงพูดกลบเกลื่อนก็ดี นิ่ง เสยี ไมพูดก็ดี ถาสงฆสวดประกาศหา มขอ ความนัน้ จบ ตอ งปาจิตตีย คําวา ภิกษุประพฤติอนาจาร คือ ประพฤติไมดีไมงามไมเหมาะสมแกสมณเพศ แยกเปน ๓ ประเภท คือ ๑. การเลนตา ง ๆ เชน เลนเหมอื นเด็ก ๒. การรอ ยดอกไม ๓. การเรยี นดิรจั ฉานวชิ า เชน ใบหวย ทาํ เสนห เปนตน ภกิ ษปุ ระพฤตอิ นาจารแลว ถูกซักถามในทามกลางสงฆ ไมใหการตามตรง กลับพูด เรื่องอ่นื กลบเกล่อื นเสีย ทรงอนญุ าตใหสงฆสวดอญั ญาวาทกรรม หรอื วเิ สสกกรรมแกเธอ หรือ เม่ือถูกซกั ถามแลว กลบั นิ่งเสยี ไมพดู ทรงอนุญาตใหสวดอเวหสกรรมแกเธอ ถาสงฆสวดประกาศ อยา งใดอยางหนึ่งจบ เปนปาจิตตีย ภกิ ษุประพฤตอิ นาจาร แตส งฆยงั ไมไดส วดกรรม เปนทกุ กฏ สิกขาบทน้ีทรงบัญญัติขึ้น เพื่อเปนแบบสําหรับไตสวนอธิกรณ ท่ีจําเลย ใหการโยกโย หรอื นั่งน่งิ ทําใหสงฆผพู จิ ารณาลําบากในการสอบสวน ภกิ ษผุ ูเ ปน อาทิกมั มิกะในสกิ ขาบทน้ี คือ พระฉันนะ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 265

๒2๖6๔6 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ๓. ภิกษุติเตียนภิกษุอื่นท่ีสงฆสมมติ (แตงต้ัง) ใหเปนผูทําการกสงฆ ถาเธอทํา โดยชอบ ตเิ ตยี นเปลา ๆ ตองปาจิตตีย ภิกษุอื่นที่สงฆสมมติ หมายถึง ภิกษุผูมีความสามารถท่ีสงฆสมมติ คือ ลงมติ แตง ตั้งใหทาํ กิจสงฆซึง่ เปน ธรรมเนียมของสงฆที่จะแตงตั้งใหภิกษุรูปใดรูปหนึ่งรับทํากิจของสงฆ ถาภิกษุผูไดรับสมมตินั้นทําหนาที่ไดถูกตองชอบธรรมแลว แตภิกษุบางรูปไมพอใจ ติเตียนเธอ ตอหนาภิกษอุ ่ืนหรอื บนวา ตองปาจิตตยี  ถาติเตียนหรือบนวาตอหนาอนุปสัมบัน ตองทุกกฏ ติเตียนภิกษุทําหนาที่ ไมช อบธรรมจริง ๆ ไมเ ปนอาบตั ิ ภกิ ษผุ เู ปนอาทกิ ัมมิกะในสิกขาบทนี้ คือ พระเมตตยิ ะและพระภุมมชกะ ๔. ภิกษุเอาเตียง ต่ัง ฟูก เกาอี้ ของสงฆไปตั้งในท่ีแจงแลว เม่ือหลีกไปจาก ท่นี ้ัน ไมเก็บเองก็ดี ไมใชใ หผอู ื่นเกบ็ ก็ดี ตองปาจติ ตยี  สิกขาบทนี้นี้ทรงบัญญัติข้ึนเพ่ือใหภิกษุรูจักรับผิดชอบ และชวยกันดูแลของสงฆ ไมใหเสียหาย ภิกษุนําของอื่นที่มิใชของสงฆ หรือวัตถุอื่นจากท่ีระบุไว ออกไปแลวไมเก็บตอง ทกุ กฏ ภกิ ษุนง่ั อยูกอ น มีผูอื่นมานั่งภายหลัง ภิกษุลุกไปแลว แตเธอยังน่ังอยูก็ดี เกิดเหตุฉุกเฉิน ตอ งรีบไปกะทนั หนั กด็ ี ไมเ ปน อาบัติ ๕. ภกิ ษเุ อาที่นอนของสงฆปูนอนในกุฎีสงฆแลว เมื่อหลีกไปจากที่น่ัน ไมเก็บ เองก็ดี ไมใชใหผอู ่นื เกบ็ ก็ดี ไมมอบหมายแกผ ูอน่ื ก็ดี ตองปาจิตตีย ท่ีนอน ในที่น้ีหมายถึง ฟูก เสื่อ ผาปูนอน และของอยางอื่นที่ใชในการนอน ถาเปนของสงฆ ปนู อนในกุฎีสงฆแลวไมเก็บ เปนปาจิตตีย ปูนอนในกุฎีของบุคคลอ่ืนเปนทุกกฏ ปนู อนในกุฎขี องตนไมเ ปนอาบัติ ภิกษุผเู ปน อาทกิ ัมมกิ ะในสกิ ขาบทน้ี คอื พระสัตตรสวคั คีย ๖. ภิกษุรูอยูวากุฎีน้ีมีผูอยูกอน แกลงไปนอนเบียด ดวยหวังจะใหผูอยูกอน คับแคบใจเขา กจ็ ะหลีกไปเอง ตอ งปาจิตตยี  ภิกษุรูอยวู า กุฎีหรือวิหารนั้นเปนของสงฆ และมีภิกษุแกกวาหรือมีภิกษุไขเขาอยู กอ น เขา ไปนอนเบยี ด หรอื นอนแทรกแซงใกลเ ตียงหรือต่ัง หรือใกลทางเขาออก โดยไมมีเหตุผล อยางอ่ืน เปนปาจิตตีย นอนเบียดในที่ของบุคคลท่ีไมใชของตน เปนทุกกฏ ถามีเหตุจําเปน เชน ปวยไข ไมส บาย มอี นั ตราย หรือนอนเบยี ดในทอ่ี ยูข องตนไมเ ปนอาบัติ ภิกษผุ ูเปนอาทิกัมมกิ ะในสิกขาบทน้ี คือ พระฉัพพคั คยี  266

 2๒6๖7๕ วชิ า วนิ ัย ๗. ภิกษโุ กรธเคอื งภิกษุอน่ื ฉดุ คราออกจากกฎุ สี งฆ ตองปาจติ ตีย ภิกษุทําเองหรือใชใหผูอื่นทํา เปนปาจิตตีย ขนเอาเฉพาะบริขารออกไปเปน ทุกกฏ ถาฉุดคราสัทธิวิหาริกหรืออันเตวาสิกผูประพฤติช่ัวหยาบ หรือฉุดคราภิกษุสงฆผูไม สมควรจะใหอยอู อกจากสาํ นักของตน ไมเ ปน อาบตั ิ ภกิ ษผุ ูเ ปน อาทกิ ัมมกิ ะในสิกขาบทน้ี คือ พระฉัพพคั คีย ๘. ภิกษุนั่งทับก็ดี นอนทับก็ดี บนเตียงก็ดี บนตั่งก็ดี อันมีเทาไมไดตรึงใหแนน ซ่ึงเขาวางไวบ นรา งรา น (สองชั้น) ในวิหารสงฆ ตอ งปาจิตตยี  ในสิกขาบทนี้หมายเอาเตียงชนิด อาหัจจบาท คือ มีขาเสียบติดไวกับแมแครไมมี สลักยึดสามารถถอดได เมื่อนําไปพาดบนคาน ขาท้ัง ๔ ก็จะพนลงมาดานลาง ถานั่งกระแทกแรง ๆ ขาเตียงก็จะหลนลงมาถูกภิกษุที่อยูช้ันลาง ฉะน้ัน เพื่อปองกันอันตรายแกภิกษุท่ีอยูช้ันลาง จึงทรงบญั ญัตสิ กิ ขาบทนีไ้ ว ๙. ภิกษุจะเอาดินหรือปูนโบกหลังคากุฎี พึงโบกไดเพียง ๓ ช้ัน ถาโบกเกินกวา น้นั ตองปาจิตตีย ภิกษุสรางกุฎีเอาดินหรือปูนโบกหลังคากุฎีมากไป จะทําใหกุฎีรับน้ําหนักไมไหว เสีย่ งตอ อนั ตราย จงึ ทรงหามดว ยสกิ ขาบทนี้ ภิกษุผเู ปนอาทกิ มั มกิ ะในสกิ ขาบทน้ี คอื พระฉนั นะ ๑๐. ภิกษรุ อู ยู (วา ) นาํ้ มตี ัวสัตว เอารดหญาหรือดนิ ตอ งปาจิตตีย นํ้ามีตัวสัตว หมายถึง นํ้านั้นมีสัตวเล็ก ๆ เชน ลูกน้ํา ภิกษุรูอยูวา นํ้าน้ันมีตัว สัตวรดเองหรือใชใ หค นอื่นรดหญาหรอื ดนิ ตองปาจิตตีย สิกขาบทน้ีเปนสจิตตกะ แมนํ้ามีตัวสัตว ภกิ ษุสาํ คญั วาไมมี รดน้ําไป ไมเปนอาบตั ิ ภิกษุผเู ปนอาทกิ มั มิกะในสิกขาบทน้ี คอื พวกภกิ ษุชาวเมอื งอานงั วี ๓. โอวาทวรรค หมวดวาดว ยเรือ่ งส่ังสอนภกิ ษณุ ี ๑. ภกิ ษุทส่ี งฆไ มไ ดส มมติ(ไมไ ดแ ตงตั้ง)สั่งสอนภกิ ษุณีตอ งปาจิตตีย ภิกษุท่ียังไมไดรับสมมติจากสงฆ คือ ผูที่สงฆยังไมไดสวดแตงต้ังดวยญัตติ จตุตถกรรมวาจา สง่ั สอนครุธรรม ๘ ประการ แกนางภิกษุณี ตองปาจิตตีย ส่ังสอนธรรมอยางอ่ืน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 267

2๒๖6๖8 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ตอ งทุกกฏ สั่งสอนภิกษุณีท่ีอุปสมบทในสงฆฝ ายเดียว ตองทกุ กฏ คุณสมบตั ขิ องภิกษผุ ทู ี่ควรไดร บั สมมตใิ หสอนนางภกิ ษณุ ี ๑) เปนผูมศี ีลสํารวมในพระปาติโมกข ๒) เปนพหูสูต มคี วามรดู ี ๓) รพู ระปาติโมกขทั้งของภกิ ษุ และของภิกษณุ ี โดยแจม แจง ๔) เปน ผูมีวาจาเรยี บรอ ย ๕) เปนผทู ภ่ี กิ ษุณชี น่ื ชอบในการแสดงธรรม ๖) เปน ผูสามารถสอนนางภิกษณุ ไี ด ๗) เปนผูไมเคยมีความสัมพันธฉันชูสาวกับภิกษุณี และไมเคยลวงครุธรรมกับ นางภกิ ษณุ ี ๘) มพี รรษาไมน อยกวา ๒๐ พรรษาขน้ึ ไป ภกิ ษผุ ูเ ปนอาทกิ มั มิกะในสกิ ขาบทนี้ คือ พระฉัพพัคคีย ๒. แมภิกษุทส่ี งฆส มมติแลว ต้งั แตอ าทติ ยอัสดง (ตกดนิ ) ไปสอนภิกษุณี ตอง ปาจิตตีย ภิกษุผเู ปน อาทิกัมมิกะในสิกขาบทน้ี คือ พระจูฬปน ถกเถระ ๓. ภกิ ษุเขาไปสอนภิกษุณถี ึงในท่อี ยู ตองปาจติ ตีย เวนไวแตภิกษุณีปวยไข ภกิ ษผุ ูเ ปนอาทกิ ัมมกิ ะในสกิ ขาบทน้ี คือ พระฉพั พคั คยี  ๔. ภกิ ษตุ เิ ตยี นภิกษุอน่ื วา สอนภกิ ษณุ เี พราะเห็นแกล าภ ตองปาจิตตยี  ภกิ ษุผเู ปน อาทกิ ัมมิกะในสกิ ขาบทน้ี คือ พระฉัพพคั คีย ๕. ภกิ ษใุ หจวี รแกน างภิกษุณีทไ่ี มใ ชญาติ ตองปาจิตตยี  เวน ไวแตแลกเปล่ยี นกนั ๖. ภิกษุเย็บจีวรของนางภิกษุณีที่ไมใชญาติเองก็ดี ใชใหผูอ่ืนเย็บก็ดี ตอง ปาจิตตยี  ภิกษผุ ูเ ปน อาทิกัมมกิ ะในสกิ ขาบทนี้ คอื พระอทุ ายี ๗. ภิกษุชวนนางภิกษุณีเดินทางดวยกัน แมสิ้นระยะบานหน่ึง ตองปาจิตตีย เวนไวแตท างเปลยี่ ว ๘. ภิกษุชวนนางภิกษุณีลงเรือลําเดียวกัน ข้ึนน้ําก็ดี ลองนํ้าก็ดี ตองปาจิตตีย 268

 2๒6๖9๗ วชิ า วนิ ยั เวน ไวแ ตขา มฟาก ภิกษผุ ูเปน อาทกิ มั มกิ ะในสกิ ขาบทนี้ คอื พระฉัพพคั คีย ๙. ภิกษุรูอยูฉันของเคี้ยวของฉันที่นางภิกษุณีแนะนําใหคฤหัสถเขาถวาย ตอ งปาจิตตีย เวน ไวแ ตคฤหัสถเขาเรม่ิ ไวก อน คาํ วา แนะนําใหถวาย คือ เขาไมป ระสงคจ ะถวาย แตนางภิกษุณีไปพูดจาหวานลอม หรือบังคับใหเขาถวาย ภิกษุรับภัตตาหารเชนน้ี เปนทุกกฏ ถาฉันเปนปาจิตตีย ทุก ๆ คํากลืน เวนไวแตข องน้ันเขาต้งั ใจจะถวายภกิ ษุน้นั อยูแลว ภกิ ษุผูเปน อาทิกัมมิกะในสิกขาบทนี้ คอื พระเทวทัต ๑๐. ภกิ ษุนั่งกด็ ี นอนก็ดี ในทีล่ ับสองตอ สองกับภิกษณุ ีตองปาจิตตีย สิกขาบทในโอวาทวรรคนี้ทรงบัญญัติข้ึนเพื่อปองกันความประพฤติเสียหายของ ภกิ ษุอันจะเกิดจากการวางตนไมส มควรตอนางภกิ ษุณี ภิกษุผูเ ปนอาทกิ มั มิกะในสกิ ขาบทนี้ คือ พระอุทายี ขอควรรเู พิม่ เตมิ ๑) ภกิ ษณุ ีรปู แรกในพระพุทธศาสนา คือ พระนางปชาบดโี คตมี ๒) การบวชนางภิกษุณีนั้นตองบวชดวยสงฆสองฝาย คือ ฝายภิกษุสงฆและ ฝา ยภิกษณุ ีสงฆ เรียกวา อัฏฐวาจิกาอุปสมั ปทา ๓) ภิกษุณผี ูไดรบั อุปสมบทในภกิ ษุสงฆฝายเดียว หรือในภิกษุณีฝายเดียว เรียกวา เอกโตอุปสมั ปนนา ถา บวชครบสงฆส องฝาย เรยี กวา อุภโตอุปสัมปนนา (๑) ผูหญิงที่ไดรับการบรรพชาเปน สามเณร เรียกวา สามเณรี (๒) สามเณรีที่อยูระหวางการอบรมตน สมาทานศีล ๖ ขอ เปนเวลา ๒ ป เพื่ออุปสมบทเปนนางภิกษุณี กลาวคือ ผูท่ีจะบวชเปนนางภิกษุณีนั้น จะตองใหภิกษุสงฆสวดให สิกขาสมมติ คือ สวดใหสมาทานศีล ๖ คือ ต้ังแตขอ ๑ ปาณาติปาตา เวรมณี จนถึง ขอ ๖ วิกาลโภชนา เวรมณี ใหรกั ษาเครง ครดั ไมใ หขาดเปนเวลา ๒ ปเต็ม ถาลวงละเมิดขอใดขอหนึ่ง ตองสมาทานตั้งตนนับใหม เมื่อครบ ๒ ปแลว จึงขออุปสมบทเปนภิกษุณีได ในระหวางท่ี สมาทานสิกขาบท ๖ ประการ เครงครัดอยนู ้ี เรยี กวา สกิ ขมานา ๔) ภกิ ษุณถี อื ศลี ทง้ั หมด ๓๑๑ ขอ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 269

เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 270 270

 2๒7๖1๙ วชิ า วนิ ัย ๓. ภิกษุรับนิมนตแหงหนึ่ง ดวยโภชนะทั้ง ๕ อยางใดอยางหน่ึง ไมไปฉันในที่ นิมนต ไปฉันเสียที่อ่ืน ตองปาจิตตีย เวนไวแตยกสวนท่ีรับนิมนตไวกอนน้ันใหแก ภิกษุอน่ื เสีย หรือหนา จีวรกาลและเวลาทําจีวร ในสิกขาบทน้ี ทรงบญั ญตั ิหามไมใ หภิกษุฉันปรัมปรโภชนะท่ีรับนิมนตซํ้าซอนกัน กลาวคือ ภิกษรุ บั นมิ นตใ นที่แหง หนง่ึ แลว คร้ันไดเวลา กลับไปฉันในอีกที่หน่ึงท่ีตนรับนิมนตไวที หลัง เชนน้ีเปนปาจิตตีย เวนไวแตวิกัปป คือ ยกใหแกภิกษุอื่น หรือในชวงที่ไดรับอานิสงส การจําพรรษา และอานสิ งสกฐิน (จีวรกาล) และในเวลาทีท่ าํ จีวร ๔. ภิกษุเขาไปบิณฑบาตในบาน ทายกเขาเอาขนมมาถวายเปนอันมาก จะรับไดเปนอยางมากเพียง ๓ บาตรเทาน้ัน ถารับเกินกวานั้น ตองปาจิตตีย และของท่ี รบั มามากเชน นีต้ อ งแบงใหภิกษอุ ื่น ขนม หมายถึง ขนมสดและขาวสัตตุผง สิกขาบทนี้ ทรงบัญญัติไวเพื่อจะใหภิกษุรูจักประมาณในการรับและเพื่อปองกัน ไมใหทายกสน้ิ เปลืองจนเกินไป ขนมท่ีภกิ ษุรับมาน้ัน ตองแบง ใหภ กิ ษอุ ่ืน ถา ไมแบง เปนทุกกฏ ๕. ภิกษุฉันคางอยูมีผูเอาโภชนะท้ัง ๕ อยางใดอยางหนึ่ง เขามาประเคน หา มเสยี แลว ลกุ จากทนี่ ่งั น้ันแลว ฉนั ของเค้ยี วของฉันซึ่งไมเปนเดนภิกษุไข หรือไมไดทํา วนิ ยั กรรม ตองปาจิตตีย คาํ วา หา มเสยี แลว คือ หามโภชนะที่เขาประเคน ตองพรอมดว ยลกั ษณะที่ทาน แสดงไว ๕ ประการ คือ ๑) กาํ ลงั ฉันอาหารอยู ๒) เขาเอาโภชนะมาถวายอกี ๓) เขาอยูในหัตถบาส ๔) เขานอมถวาย ๕) ภิกษุหามเสียภิกษุผูฉันเสร็จและหามเสียแลวเชนน้ี จะฉันไดเฉพาะของเปนเดน ซง่ึ มี ๒ อยางคอื (๑) ของภกิ ษุไขฉ ันเหลอื (๒) ของที่ภิกษุทําใหเ ปนเดน เหตุท่ีทรงบัญญัติหามไมใหภิกษุฉันอีก หลังจากที่บอกไมรับอาหารท่ีทายกเขา ประเคนในเรือน เพราะตองการใหรักษาน้ําใจของทายกผูมีศรัทธา เวนไวแตจะฉันของที่เปนเดน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 271

2๒๗7๐2 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ของภิกษไุ ขแ ละของที่ทําวินัยกรรม คือ ภิกษุอื่นรับประเคนโภชนะอยางใดอยางหน่ึงแลว ตักเอา พอประมาณ แลว ยกสงใหภิกษุ ผูหา มอาหารท่นี ั่งอยูใ นระยะหัตถบาส พรอ มกับบอกวา “พอแลว” การทาํ เชน น้ี ชอื่ ทําวินัยกรรม ภกิ ษผุ หู า มภตั สามารถฉันไดอีก โดยไมต อ งอาบัติ ๖. ภิกษุรูอยูวา ภิกษุอ่ืนหามขาวแลว คิดจะยกโทษเธอ แกลงเอาของเคี้ยวของ ฉนั ทไี่ มเปน เดนภิกขไุ ขไปลอ ใหเ ธอฉนั ถาเธอฉันแลว ตองปาจิตตีย ความมุงหมายสิกขาบทน้ี เพ่ือหามภิกษุผูมีเจตนาไมดีแกลงหลอกภิกษุอ่ืนให สาํ คญั ผิด ไมเปนอาบตั แิ กภ ิกษุผูสาํ คญั ผิด ๗. ภิกษุฉันของเค้ียวของฉันท่ีเปนอาหารในเวลาวิกาล คือ ต้ังแตเท่ียงแลว ไปจนถงึ วันใหม ตอ งปาจิตตีย ของเคี้ยว ไดแ ก ผลไม เผอื ก มนั เปน ตน ของฉัน ไดแ ก โภชนะทงั้ ๕ รวมถงึ ของทบี่ รโิ ภคเปน อาหารดว ย ภิกษุผเู ปนอาทกิ มั มกิ ะในสกิ ขาบทนี้ คือ พระสัตตรสวัคคยี  ๘. ภิกษุฉันของเคย้ี วของฉันทเ่ี ปนอาหารซ่ึงรับประเคนไวค า งคืน ตอ งปาจิตตีย การเก็บอาหารไวคางคืนเชนน้ี เรียกวา สันนิธิ แปลวา การส่ังสม ภิกษุฉัน ของท่เี ปนสนั นิธิ เปนปาจิตตียทุก ๆ คํากลืน ภิกษุผเู ปนอาทิกมั มกิ ะในสกิ ขาบทนี้ คอื พระเวพฏั ฐสลี ะ ๙. ภิกษุไมใชผูอาพาธ ขอโภชนะอันประณีต คือ ขาวสุกระคนดวยเนยใส เนยขน นํ้ามัน น้ําผ้ึง น้ําออย ปลา เนื้อ นมสด นมสม ตอคฤหัสถท่ีไมใชญาติ ไมใช ปวารณา เอามาฉัน ตองปาจิตตีย ภิกษผุ เู ปนอาทกิ มั มิกะในสิกขาบทนี้ คอื พระฉัพพัคคยี  ๑๐. ภกิ ษุกลืนกินอาหารที่ไมมีผูให คือ ยังไมไดประเคนใหลวงทวารปากเขาไป ตอ งปาจิตตยี  เวน ไวแตน ํา้ และไมสฟี น คําวา อาหาร ในสิกขาบทนี้ หมายเอา กาลิก คือ ของท่ีจะพึงกลืนกินท่ัวไป ๔ อยา ง คือ ๑) ยาวกาลิก คือ ของที่รับประเคนไวและฉันไดชั่วเวลาเชาถึงเท่ียงวันของวัน นน้ั ไดแ ก โภชนะทั้ง ๕ และผักผลไมต าง ๆ ๒) ยามกาลิก คือ ของที่รับประเคนไวและฉันไดช่ัววันหนึ่งกับคืนหน่ึง คือ 272

 2๒7๗3๑ วชิ า วนิ ัย กอ นอรณุ ขน้ึ ไดแ ก นาํ้ ปานะ (นํ้าคน้ั ผลไมท่ที รงอนุญาต) ๓) สัตตาหกาลิก คอื ของทร่ี บั ประเคนไวแ ลว ฉนั ไดภายใน ๗ วัน ไดแก เภสัช ท้งั ๕ คือ เนยใส เนยขน นํา้ มัน น้ําผ้งึ นาํ้ ออ ย ๔) ยาวชีวิก คือ ของท่ีรับประเคนไวแลว ฉันไดตลอดไปไมจํากัดเวลา ไดแก ของท่ใี ชป รงุ เปน ยา นอกจากกาลกิ ทัง้ ๓ ขางตน เชน ขม้ิน ขงิ ขา เปนตน กาลิกท้ัง ๔ นั้น ตองประเคนเสียกอน จึงฉันได แมถารับประเคนแลว มีผูอ่ืน แตะตอ ง ก็ตอ งประเคนใหม ลกั ษณะของการประเคน ๕ อยา ง ๑) ของนั้นไมใ หญ หรอื หนักเกินไป คนเดียวกย็ กได ๒) ผปู ระเคนอยูในหัตถบาส คือ หา งไมเกนิ ๑ ศอก ๓) เขานอมเขา มาถวาย ๔) เขายื่นถวายดว ยมอื หรอื ของเน่ืองดว ยกาย ๕) ภิกษรุ บั ดวยมือ หรือรับดว ยผา หรอื ของอยา งอืน่ ภกิ ษุฉนั ของที่ยงั ไมไ ดประเคน เปนปาจิตตีย น้ําและไมช ําระฟน ไมต องประเคนก็ ฉนั ได น้ําในท่ีน้ี หมายถึง นํ้าเปลา ภิกษุอาพาธหนักเขาขั้นอันตราย ฉันของที่เปนยาที่ ไมไ ดรับประเคน เชน ถูกงูพิษกัด จะถอื เอายามหาวกิ ตั ิ ๔ อยา ง คือ มูตร คถู เถา ดนิ ฉันไมเปน อาบตั ิ ๕. อเจลกวรรค หมวดวา ดวยนกั บวชนอกศาสนา อเจลกวรรค แปลวา สิกขาบทหมวดที่วาดวยนักบวชนอกศาสนา ต้ังชื่อตามเนื้อหา ของสิกขาบทแรก ทเ่ี กยี่ วกบั การใหอาหารแกนักบวชเปลอื ย ๑. ภกิ ษุใหข องเค้ียวของฉัน แกนักบวชนอกศาสนาดวยมือของตน ตอ งปาจติ ตยี  นักบวชนอกศาสนา หมายถึง นักบวชในศาสนาอ่ืนนอกจากพุทธศาสนา เชน อเจลกะ (พวกชีเปลือย) ปริพพาชก เปนตน ภิกษุใหของเค้ียวของฉันดวยมือของตนเปน ปาจติ ตีย ถา ใชใหค นอ่นื ใหหรือวางให หรอื ใหข องอยา งอื่นนอกจากของกิน ไมเปน อาบตั ิ สกิ ขาบทน้ีทรงบัญญตั เิ พื่อไมใ หผูอ่ืนมองวา ภิกษยุ อมตวั เปน คนรับใชหรือนับถือเขา ๒. ภิกษุชวนภิกษุอ่ืนไปเที่ยวบิณฑบาตดวยกัน หวังจะประพฤติอนาจาร ไลเธอ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 273

๒2๗7๒4 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 กลบั เสยี ตองปาจิตตยี  หวังจะประพฤติอนาจาร คือ ภิกษุมีความคิดอยากจะสนุกสนานจะนั่งในที่ลับ กับหญิง หรือประพฤติสิ่งไมดีไมงามอยางใดอยางหน่ึง ไลเธอกลับกอน เพ่ือปกปดความช่ัวของตน เชนนี้ เปน ปาจิตตีย บอกใหเ ขากลบั ดวยเหตุอ่นื เชน บาตรเตม็ บอกใหกลบั ไมเ ปน อาบตั ิ ภกิ ษุผูเ ปนอาทิกัมมกิ ะในสิกขาบทน้ี คอื พระอุปนนั ทศากยบตุ ร ๓. ภิกษุสําเร็จการนั่งแทรกแซง ในสกุลที่เขากําลังบริโภคอาหารอยู ตองปาจติ ตีย การเขาไปน่ังพูดคุยในบานของคฤหัสถที่กําลังรับประทานอาหารกันอยู ถือเปน การเสยี มารยาท และไมเ หมาะสม จึงทรงบัญญตั ิสกิ ขาบทนี้หามไว ภกิ ษุผูเ ปนอาทิกัมมิกะในสิกขาบทน้ี คอื พระอุปนนั ทศากยบตุ ร ๔. ภิกษุน่ังในที่ลบั กับผหู ญงิ ไมม ผี ูชายอยูเปน เพอื่ น ตอ งปาจติ ตีย ภิกษุน่ังหรือนอนในท่ีลับตากับผูหญิงคนเดียว หรือหลายคนก็ตาม ตองอาบัติ ปาจติ ตีย ถายืนหรอื เดนิ หรอื มีผชู ายอยูด ว ยไมเปนอาบัติ ภกิ ษผุ เู ปน อาทิกัมมกิ ะในสกิ ขาบทนี้ คอื พระอุปนันทศากยบุตร ๕. ภกิ ษนุ ่ังในท่แี จง กบั หญงิ สองตอ สอง ตอ งปาจิตตยี  ท่ีแจง คือ ที่สามารถมองเห็นได แตไมไดยินเสียงพูดคุยกัน ภิกษุน่ังหรือนอนกับ หญิงสองตอสองในท่แี จง ตอ งปาจิตตยี  ถา มีคนอ่นื อยดู วยจะเปน ชายหรอื หญิงไมเปนอาบัติ ภกิ ษผุ ูเปน อาทกิ มั มิกะในสกิ ขาบทน้ี คือ พระอปุ นันทศากยบุตร ๖. ภิกษุรับนิมนตด วยโภชนะทง้ั ๕ แลว จะไปในท่อี ่นื จากที่นมิ นตนั้น ในเวลากอน ฉันก็ดี ฉันกลับมาแลวก็ดี ตองลาภิกษุท่ีมีอยูในวัดกอน จึงจะไปได ถาไมลากอน เท่ียวไป ตองปาจติ ตีย เวนไวแ ตส มยั คอื จวี รกาล และเวลาทําจีวร ทหี่ า มไปทอี่ ่ืนกอ นเวลาฉัน เพือ่ ปองกันไมใหไปชา หรือตามตัวไมพบ ที่หามไปที่ อื่นหลงั ฉันเพ่อื ไมใหถ อื โอกาสเท่ยี วไปและอาจมีผตู องการพบในเวลากลับ ฉะนั้น ถาจําเปนจะไป ก็ใหบอกแกภกิ ษรุ ปู อนื่ ไวก อ น ถาเท่ยี วไปในสมัยจีวรกาล หรอื เวลาทําจวี รไมตองอาบตั ิ ภิกษผุ เู ปนอาทิกัมมกิ ะในสิกขาบทน้ี คือ พระอุปนนั ทศากยบตุ ร ๗. ถาเขาปวารณาดวยปจจัย ๔ เพียง ๔ เดือน พึงขอเขาไดเพียงกําหนดนั้น เทาน้ัน ถาขอใหเกินกวากําหนดน้ันไป ตองปาจิตตีย เวนไวแตเขาปวารณาอีก หรือ ปวารณาเปน นติ ย 274

 2๒7๗๓5 วชิ า วนิ ัย ปจ จยั ๔ ไดแก จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ทานแบงการปวารณาไวใน คัมภีรว ิภังค ๔ ประเภท คอื ๑. ปวารณากาํ หนดปจ จัย คือ ระบชุ อ่ื จํานวน ราคา และขนาด ของปจจัยท่จี ะใหข อ ๒. ปวารณากําหนดกาล คอื กาํ หนดระยะเวลาทีจ่ ะใหข อ ๓. ปวารณากาํ หนดท้ังปจจยั และกาล คอื ระบุปจจัยและกําหนดเวลา ๔. ปวารณาไมกําหนดท้ังปจจัยและกาล ขอนี้แมทายกจะไมกําหนดกาล แต ทรงอนุญาตใหขอไดเพียง ๔ เดือน เทานัน้ เกินนไ้ี มไ ด ทายกเขาปวารณากาํ หนดอยา งไร พึงใหข ออยา งนั้น ถาขอใหเกินกําหนดนั้น ถือเปน การขอเกนิ ศรัทธา ทาํ ใหเ ขาลาํ บากไดม าตอ งปาจติ ตีย ภิกษุผเู ปน อาทกิ มั มิกะในสิกขาบทนี้ คอื พระฉพั พัคคีย ๘. ภกิ ษไุ ปดูกระบวนทพั ซึ่งเขายกไปเพื่อจะรบกัน ตองปาจิตตีย เวนไวแ ตมีเหตุ เหตทุ ไ่ี ดร บั ยกเวน คือ ไปเหน็ โดยเหตุจําเปน อยา งอน่ื มใิ ชไ ปเพ่อื จะดเู ลน ภิกษุผูเ ปน อาทกิ ัมมกิ ะในสกิ ขาบทน้ี คือ พระฉพั พัคคีย ๙. ถามีเหตุท่ีจะตองไปมีอยู พึงไปอยูในกองทัพไดเพียง ๓ วัน ถาอยูใหเกิน กาํ หนดนนั้ ตอ งปาจติ ตีย การนับวันนั้น นับเอาเวลาที่ตะวันตกดินเปน ๑ วัน ถาอยูถึงวันท่ี ๔ พอตะวันตกดิน เปนปาจิตตีย ถาอยู ๓ วันเวนหน่ึงวัน กลับมาอยูใหมอีก ๓ วัน เชนน้ีก็ดี มีเหตุจําเปนออกไป ไมไดก็ดี ไมเ ปน อาบตั ิ ภกิ ษุผเู ปนอาทิกมั มิกะในสิกขาบทนี้ คอื พระฉพั พคั คยี  ๑๐. ในเวลาที่อยูในกองทัพตามกําหนดน้ัน ถาไปดูเขารบกันก็ดี หรือไปดูเขา ตรวจพลก็ดี ดูเขาจัดกระบวนทัพก็ดี ดูหมูเสนาที่จัดเปนกระบวนแลวก็ดี ตองปาจิตตีย ภกิ ษุผูเปนอาทกิ มั มกิ ะในสกิ ขาบทนี้ คือ พระฉัพพัคคีย ๖. สรุ าปานวรรค หมวดวาดว ยด่ืมนํา้ เมา ๑. ภิกษดุ ่มื น้ําเมา ตอ งปาจิตตยี  คําวา น้ําเมา เรยี กวา มัชชะ แปลวา นาํ้ อนั ยงั ผดู มื่ ใหเมา หมายเอา ๑. น้ําเมรัย คอื น้าํ เมาทีย่ ังไมไ ดกลนั่ หรือน้ําเมาท่เี กิดจากการหมัก เชน สาโท เปน ตน และ ๒. สรุ า คอื เมรัย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 275

๒2๗7๔6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ทีก่ ลน่ั แลว ฝน เฮโรอีน กัญชา ใบกระทอม ยาเสพติดใหโทษ ทุกชนิด จัดเขาในสิกขาบทนี้ ดว ย (พระศรีวสิ ทุ ธิญาณ (อุบล นนทฺ โก ป.ธ.๙). ๒๕๓๕ : ๕๑) ภกิ ษผุ ูเปนอาทกิ ัมมกิ ะในสิกขาบทน้ี คือ พระสาคตะ ๒. ภิกษจุ ้ภี ิกษุ ตองปาจติ ตยี  จ้ีคนอืน่ นอกจากภกิ ษุ ตองทกุ กฏ ภกิ ษผุ ูเปน อาทกิ มั มกิ ะในสิกขาบทน้ี คอื พระฉพั พคั คีย ๓. ภิกษวุ า ยนา้ํ เลน ตอ งปาจิตตยี  ลักษณะแหงอาบัติคือ วายนํ้าเลน ดําลง ผุดขึ้น วายไปในท่ีลึก พอที่จะดําไดมิดตัว เปนปาจิตตยี  เลนอยา งอนื่ เชน เอามือกวักน้ํา พายเรอื เลน เปน ตน ตอ งทุกกฏ ภิกษุผเู ปนอาทกิ มั มกิ ะในสกิ ขาบทน้ี คอื พระสตั ตรสวัคคยี  ๔. ภิกษุแสดงความไมเ ออ้ื เฟอ ในวนิ ยั ตอ งปาจติ ตยี  ความไมเอื้อเฟอ ในวนิ ัย มี ๒ อยา ง คอื ๑) ไมเอื้อเฟอในบุคคล กลาวคือ เมื่อภิกษุกลาวตักเตือนดวยพระวินัย แลว ไมเ ช่ือฟง โตเถยี ง ดูหมนิ่ ดวยประการตา ง ๆ ๒) ไมเอือ้ เฟอ ในขอบัญญัติ กลา วคือ แสดงอาการท่ีไมเคารพ เชน อานหนังสือ คุยกัน เลน กัน ในขณะท่ีภิกษุอื่นอธบิ ายบทบัญญตั ิในพระวนิ ัย สิกขาบทนี้ทรงบัญญัติไว เพ่ือปองกันไมใหภิกษุเปนคนหัวด้ือ ไมเคารพในกฏ ขอบังคบั ของหมูคณะ ภิกษุผเู ปนอาทกิ ัมมิกะในสิกขาบทนี้ คือ พระฉันนะ ๕. ภิกษุหลอนภิกษุใหกลวั ผี ตอ งปาจติ ตยี  ภิกษุหลอน คือ พูดก็ดี แสดงทาทางก็ดี ขูใหผูอ่ืนตกใจกลัวก็ดี ผูถูกหลอนจะ ตกใจหรือไมกต็ าม ถาหลอนภกิ ษดุ วยกนั เปนปาจิตตยี  หลอนผูอน่ื ทีม่ ิใชภ ิกษุเปนทุกกฏ ภกิ ษุผูเปนอาทกิ มั มิกะในสกิ ขาบทน้ี คอื พระฉพั พคั คยี  ๖. ภิกษุไมเปนไข ติดไฟใหเปนเปลวเองก็ดี ใชใหผูอื่นติดก็ดี เพ่ือจะผิง ตอ งปาจิตตีย ติดเพ่อื เหตอุ น่ื ไมเปน อาบัติ เหตุที่ทรงหามกอไฟในสิกขาบทน้ี ก็เพ่ือปองกันไฟไหมกุฎีที่มุงดวยหญา ถากอไฟ 276

 2๒7๗7๕ วชิ า วนิ ยั ในทส่ี าํ หรบั ผิงไฟหรอื กอเพ่ือเหตุอ่ืนท่ีไมใ ชเ พ่อื ผิง ไมเ ปนอาบตั ิ ๗. ภิกษุอยูในมัชฌิมประเทศ คือ จังหวัดกลางแหงประเทศอินเดีย ๑๕ วัน จึงอาบนํ้าไดหนหนึ่ง ถายังไมถึง ๑๕ วัน อาบนํ้า ตองปาจิตตีย เวนไวแตมีเหตุจําเปน ในปจ จันตประเทศ เชน ประเทศไทย อาบน้ําไดเปนนติ ย ไมเ ปนอาบัติ สิกขาบทน้ี ทรงบัญญัติหามเฉพาะในถ่ินทุรกันดาร ขาดแคลนนํ้า ถาอยูใน ประเทศทม่ี ีน้าํ อุดมสมบรู ณไมทรงหาม ถามเี หตจุ าํ เปน เชน รา งกายเลอะเทอะเปอ นมากอาบได ๘. ภิกษุไดจีวรใหม ตองพินทุดวยสี ๓ อยางคือ เขียวคราม โคลน ดําคลํ้า อยางใดอยางหน่ึงกอ น จึงนงุ หมได ถา ไมท ําพนิ ทุกอนแลว นงุ หม ตอ งปาจิตตยี  การทําพินทุ หรือ พินทุกัปปะ คือ การทําจุดกลม ๆ อยางใหญเทาแววตานกยูง อยา งเล็กเทาหลังตัวเรือดไวทม่ี ุมจวี ร ดว ยสีเขยี วคราม โคลน หรอื สีดําคลํา้ มีจุดประสงคเ พื่อทําจวี รให เสยี สี หรือมตี าํ หนิ และเปนเครอื่ งหมายใหจาํ จีวรของตนไดไมหลงกบั ผอู นื่ วิธีทําพินทุ ใหใชสีตามกําหนด (ปากกาหรือดินสอก็ได) จุดทําวงกลมดําเต็มวง ๓ จดุ พรอ มกบั กลาวคําวา อิมํ พินฺทุกปฺป กโรมิ (๓ ครง้ั ) ๙. ภิกษุวิกัปปจีวรแกภิกษุ หรือสามเณรแลว ผูรับยังไมไดถอน นุง หมจีวรน้ัน ตองปาจิตตยี  วิกัปป คือ การทําใหเปนของสองเจาของ เปนวิธีการทางวินัย เพ่ือปองกันอาบัติ ตามสกิ ขาบทที่วา ดวยการเกบ็ อติเรกจวี รหรืออตเิ รกบาตรไวเ กนิ ๑๐ วนั เพราะหากภิกษุตองการ เก็บอติเรกจีวรหรืออตเิ รกบาตรไวเกิน ๑๐ วัน โดยไมตองอาบัติ ตองทําการวิกัปปจีวรหรือบาตร ใหผ ูอ น่ื รวมเปนเจา ของ วธิ ีกปั ปมี ๒ อยาง คอื ๑. วกิ ปั ปตอหนา คอื วกิ ปั ปต อ หนา ผรู บั ๒. วิกัปปลับหลัง คือ วิกัปปใหแกภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง ผูไมอยูในที่นั้น โดย เปลง วาจาวกิ ัปปออกช่ือภิกษนุ นั้ ตอหนา ภิกษอุ ื่น จีวรที่ภิกษุวิกัปปแลว ตองใหผูรับกลาวคําถอนเสียกอนจึงใชได ถาผูรับยังไมได ถอนนํามาใชสอย ตอ งปาจติ ตยี  ภิกษผุ เู ปน อาทกิ ัมมกิ ะในสกิ ขาบทนี้ คอื พระอุปนันทศากยบุตร เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 277

๒2๗7๖8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 วิธีวิกัปปตอ หนา ภิกษนุ าํ จีวรที่จะวกิ ปั ป วางไวในหัตถบาสระหวา งผใู หกับผรู บั นั่งกระโหยงประนมมือ กลาว คําบาลี พรอมคาํ แปลวา อิมํ จีวรํ ตุยฺหํ วิกปฺเปมิ. ขาพเจาขอวิกัปปจีวรน้ีแกทาน ถามีจีวรหลาย ผืนใหเปลีย่ น คาํ วา อิมํ จวี รํ เปน อมิ านิ จวี รานิ วิธีวิกัปปลับหลงั ทําเหมือนกับการวิกัปปตอหนา เพียงเปลี่ยนคําวา อิมํ จีวรํ จนฺทสารสฺส ภิกฺขุโน วิกปฺเปมิ. ขาพเจาขอวิกัปปจีวรน้ี แกภิกษุชื่อวา จันทสาระ ถาผูนั้นแกกวาเปลี่ยน จนฺทสารสฺส ภิกขฺ โุ น เปน อายสฺสมโต จนทฺ สารสฺส วธิ ถี อนวิกัปป ถาแกกวาใหวา “อิมํ จีวรํ มยฺหํ สนฺตกํ ปริภุฺช วิสชฺเชหิ วา ยถาปจฺจยํ วา กโรหิ. จีวร ผนื น้ขี องขา พเจา ทา นจงใชส อย จงสละ หรอื จงทาํ ตามแตสมควรเถิด” ถา ออนกวาใหเ ปลี่ยนคําวา ปรภิ ุฺช เปน ปรภิ ุ ฺชถ คําวา วสิ ชเฺ ชหิ เปน วิสชเฺ ชถ และ คําวา กโรหิ เปน กโรถ การวกิ ัปปน ี้ เม่ือภิกษเุ ขา ใจดแี ลว จะกลา วคาํ วกิ ปั ปเปนภาษาไทยก็ได ๑๐. ภิกษุซอนบริขาร คือ บาตร จีวร ผาปูน่ัง กลองเข็ม ประคตเอว สิ่งใดส่ิงหน่ึง ของภกิ ษุอื่น ดว ยคิดจะลอ เลน ตอ งปาจติ ตยี  ซอ นบริขารอยา งอ่นื นอกจากทร่ี ะบไุ วขางตน ก็ดี ซอนบริขารของสามเณรก็ดี เปน ทกุ กฏ ไมมเี จตนาจะลอ เลน เหน็ ของวางไมด ี ชวยเกบ็ ไวใ หไ มเ ปนอาบัติ ซอนไวด วยคิดจะลักเอา ปรบั อาบัติตามราคาของ ภิกษุผูเปนอาทกิ ัมมกิ ะในสกิ ขาบทน้ี คือ พระฉัพพัคคยี  ๗. สัปปาณวรรค หมวดวา ดวยฉันน้ํามตี ัวสัตว ๑. ภกิ ษุแกลงฆาสัตวด ิรจั ฉาน ตองปาจติ ตยี  แกลงฆา คือ จงใจฆาสัตวดิรัจฉานทุกชนิด ไมวาเล็กหรือใหญอยูในไขหรือใน ทองแม สัตวตาย เปน ปาจิตตีย ไมต าย แตบาดเจบ็ เปนทกุ กฏ ถา ฆา โดยไมตัง้ ใจ ไมเปน อาบตั ิ 278

 2๒7๗9๗ วชิ า วนิ ยั ภิกษุผูเปน อาทกิ มั มิกะในสิกขาบทน้ี คือ พระอุทายี ๒. ภิกษรุ ูอ ยวู า น้ํามตี วั สัตว บรโิ ภคนา้ํ นัน้ ตองปาจติ ตยี  คําวา บริโภค หมายถึง ดื่ม อาบ หรือใชท่ัวไป ถารูแลวบริโภค เปนปาจิตตีย ถา ไมร ู ไมเปนอาบัติ ภกิ ษผุ ูเ ปน อาทิกัมมิกะในสิกขาบทนี้ คอื พระฉพั พัคคีย ๓. ภิกษุรูอยูวา อธิกรณนี้สงฆทําแลวโดยชอบ เลิกถอนเสียกลับทําใหม (รือ้ ฟนใหม) ตองปาจิตตยี  อธิกรณ คือ เรื่อง (คดีความ) ที่เกิดข้ึนแลว สงฆจะตองพิจารณาตัดสิน หรือ ดาํ เนนิ การใหเ รียบรอ ย มี ๔ เรอื่ ง คือ ๑) วิวาทาธิกรณ เรื่องถกเถยี งกนั เกยี่ วกับเรอื่ งธรรมวินยั ๒) อนวุ าทาธกิ รณ เร่ืองการโจทหรือกลา วหากนั ดว ยอาบตั ิ ๓) อาปตตาธิกรณ เร่ืองการตองอาบัติ การปรับอาบัติ การแกไขใหพนจาก อาบัติ ๔) กจิ จาธกิ รณ เร่ืองกจิ ธรุ ะตาง ๆ ที่สงฆต อ งทํา เชน ใหอุปสมบท ภิกษุรูอยูวา อธิกรณน้ัน สงฆตัดสินและดําเนินการถูกตองชอบธรรมแลว กลับร้ือฟน อธิกรณนั้นขึ้นมาเพ่ือใหสงฆพิจารณาใหม กอความลําบากแกสงฆ ตองปาจิตตีย ถาไมรู หรือ ร้อื ฟน ดวยเห็นวาอธิกรณนัน้ ตดั สินไมเ ปน ธรรมจรงิ ๆ ไมเปนอาบัติ ภกิ ษผุ เู ปนอาทกิ มั มิกะในสิกขาบทนี้ คอื พระฉพั พคั คีย ๔. ภกิ ษุรูอยู แกลงปกปดอาบตั ชิ ว่ั หยาบของภกิ ษุอื่น ตอ งปาจิตตยี  คําวา อาบัติช่ัวหยาบ หมายถึง ปาราชิก ๔ และสังฆาทิเสส ๑๓ ปดไวดวยเกรงวา ตนจะยุงยาก พอทอดธุระวาจะไมบ อก ตอ งปาจิตตยี  ปกปดอาบัตินอกน้ี ตอ งทุกกฏ ภิกษุผูเปนอาทกิ ัมมกิ ะในสิกขาบทน้ี คือ พระอปุ นันทศากยบตุ ร ๕. ภิกษุรูอยู เปนอุปชฌายะอุปสมบทกุลบุตรผูมีอายุหยอนกวา ๒๐ ป ตอง ปาจิตตีย เม่ือรูอยูวา กุลบุตรท่ีจะอุปสมบทใหนั้นมีอายุไมถึง ๒๐ ป แตยังฝนอุปสมบทให พระอปุ ช ฌายตองอาบัตปิ าจิตตีย พระคูสวดและพระน่ังอันดับทั้งหมดตองอาบัติทุกกฏ กุลบุตรท่ี อุปสมบทใหนั้น ก็ไมเปนภิกษุ เปนเพียงสามเณรเทาน้ัน การนับอายุนั้นทานใหนับวันเกิด เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 279

๒2๗8๘0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 เปนหลัก แตก ใ็ หน ับรวมในครรภอ ีก ๙ เดอื นได ๖. ภิกษรุ อู ยู ชวนพอคาผูซอนภาษีเดินทางดวยกัน แมสิ้นระยะบานหนึ่ง ตอง ปาจติ ตยี  พอคาผูซอนภาษี คือ ผูลักซอนของตองหาม หรือของเถ่ือนเขามา ถาภิกษุ ชักชวนกันเดินในหมูบาน หรือในเขตชุมชน เดินทางส้ินระยะจากบานหลังหนึ่งสูบานหลังหนึ่ง หรอื ชวั่ ระยะไกบ ินตก เปน ปาจิตตีย ทุก ๆ ระยะ ถา เดินในปา เปนอาบตั ทิ ุก ๆ ก่ึงโยชน ๗. ภกิ ษชุ วนหญงิ เดินทางดวยกัน แมสน้ิ ระยะบา นหนง่ึ ตอ งปาจติ ตีย ในสกิ ขาบทน้หี มายเอาเฉพาะหญิงมนุษยผรู เู ดียงสา ๘. ภิกษุกลาวคัดคานธรรมเทศนาของพระพุทธเจา ภิกษุอื่นหามไมฟง สงฆส วดประกาศขอ ความนน้ั จบ ตอ งปาจติ ตยี  ภิกษุอวดดี กลาวคัดคานคําสอนของพระพุทธเจา วาไมถูกตอง กอใหเกิด ความสับสนในหมูภิกษุ ภิกษุอ่ืนที่รูพึงหามปราม (ถาไมหามตองทุกกฏ) เธอไมฟง สงฆพึงสวด ประกาศหาม ถา เธอเลกิ เสยี ถอื วาดี ถา ไมเลิกสงฆสวดประกาศจบ เปนปาจิตตีย และจะตองถูกสงฆ ขับออกจากหมู (ลงอุกเขปนียกรรม) จัดเปนอุกขิตตกบุคคล ภายหลังเม่ือเธอเลิกเสีย หันมา ประพฤตดิ ี สงฆส วดประกาศระงับโทษจงึ เขาสมาคมอีกได ภกิ ษผุ เู ปน อาทกิ มั มิกะในสิกขาบทนี้ คอื พระอรฏิ ฐะ ๙. ภิกษุคบภิกษุเชนนั้น (ผูกลาวคัดคานธรรมเทศนาของพระพุทธเจา) คือ รว มกนิ ก็ดี รว มอโุ บสถสงั ฆกรรมกด็ ี รวมนอนก็ดี ตองปาจติ ตีย ภิกษใุ ดคบกบั ภิกษุที่เปน อุกขติ ตกบุคคล คือ ผูที่สงฆยกออกจากหมู เพราะกลาว คดั คา นคาํ สอนของพระพุทธเจา ดว ยอาการ ๓ อยา ง คือ ๑. รวมกิน ไดแ ก การคบดวยอาการ ๒ อยาง คือ ๑.๑ อามสิ สมโภค คบหาดว ยอามิส ๑.๒ ธมั มสมโภค คบหาดว ยการเรียนธรรมสอนธรรม ๒. รว มอยู คือ รว มทาํ อโุ บสถ รว มสังฆกรรม รวมปวารณา ๓. รวมนอน คือ นอนในที่มุงท่ีบงั อันเดยี วกนั คบดวยอาการอยา งใดอยา งหนง่ึ ตองปาจิตตีย ถาคบภิกษุผูท่ีสงฆยกโทษแลวไม 280

281 281 เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1

2๒๘8๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ภกิ ษุทาํ ไขสือ คือ รูแลว แตแกลงทําเปนไมรู แสรงพูดขึ้นในขณะฟงปาติโมกขวา ขาพเจาเพ่ิงรูวาการทําอยางน้ี เปนอาบัติ ถาภิกษุอื่นรูอยูวา ภิกษุรูปนั้นเคยฟงพระปาติโมกข มากอน เชนน้ี ภิกษุน้ันตองอาบัติตามสิกขาบทที่ตนละเมิด และสงฆพึงสวด “โมหาโรปนกรรม” คือ สวดประกาศเพิ่มโทษ ปรับอาบัตปิ าจติ ตยี  แกเธออีก โทษฐานเพราะแกลง ไขสือ ภิกษุผูเปนอาทิกัมมิกะในสกิ ขาบทน้ี คอื พระฉพั พคั คีย ๔. ภกิ ษุโกรธ ใหป ระหารแกภ กิ ษอุ ่ืน ตอ งปาจิตตยี  ใหประหาร คือ การทํารายรางกายดวยอวัยวะสวนใดสวนหนึ่งของรางกาย โดยวิธีอยางใดอยา งหนึ่ง คือ ชกดวยกําปน ตีดวยไม ขวางดวยกอนหิน เปนตน ดวยความโกรธ ทาํ เองหรือใชใ หผ ูอืน่ ทาํ กเ็ ปนอาบตั เิ ชนกนั ภิกษุผเู ปน อาทกิ ัมมิกะในสิกขาบทน้ี คือ พระฉัพพัคคีย ๕. ภิกษุโกรธ เงือ้ มือดุจใหประหารแกภกิ ษุอืน่ ตอ งปาจิตตีย เงื้อมือดุจใหประหาร คือ เงื้อมือ เงื้อไมทําทาจะชกหรือตีดวยกิริยาทาทางของ คนโกรธทําแกภิกษุ เปนปาจิตตีย ทําแกบุคคลอื่นนอกจากภิกษุ เปนทุกกฏ ถาทําโดยไมโกรธ ไมเปน อาบตั ิ ภิกษผุ ูเปนอาทิกัมมิกะในสิกขาบทนี้ คือ พระฉพั พคั คีย ๖. ภิกษุโจทฟองภิกษุอื่นดวยอาบัติสังฆาทิเสสไมมีมูล (คือ ไมไดเห็นเอง ไมไดฟ งมา และไมไ ดส ังสยั ) ตอ งปาจติ ตีย โจทดวยอาบัติสังฆาทิเสสไมมีมูล ตองปาจิตตีย ตามสิกขาบทนี้ แตถาโจทดวย อาบัติอยางอ่ืนท่ีต่ํากวาสังฆาทิเสสไมมีมูลความจริง ตองอาบัติปาจิตตีย เพราะพูดมุสา (ตามสกิ ขาบทที่ ๑ มสุ าวาทวรรค) ภิกษุผูเปนอาทกิ ัมมกิ ะในสิกขาบทนี้ คอื พระฉัพพคั คยี  ๗. ภกิ ษแุ กลง กอ ความรําคาญใหเกดิ แกภ ิกษุอนื่ ตองปาจติ ตยี  คําวา แกลงกอความรําคาญ คือ หาเรื่องแกลงพูดใหเขาเกิดความกังวลใจ อยูไมเปนสุข เชน พูดวา ในเวลาท่ีทานอุปสมบท ทานแนใจไดอยางไรวา การอุปสมบทน้ัน ถึงพรอมดวยสมบัติทุกประการ ถาขาดหรือบกพรองไปอยางเดียว ทานก็ไมเปนพระแลว ทําให ภกิ ษนุ ัน้ เกดิ ความกงั วลสงสยั เชนนี้ เปน ปาจติ ตีย ภิกษผุ เู ปนอาทกิ มั มิกะในสกิ ขาบทนี้ คือ พระฉัพพัคคยี  282

 2๒8๘3๑ วชิ า วนิ ัย ๘. เม่ือภิกษุวิวาทกันอยู ภิกษุไปแอบฟงความ เพ่ือจะไดรูวา เขาวาอะไรตนหรือ พวกของตน ตองปาจติ ตีย การแอบฟงความลับของผูอ่ืน ทางโลกถือวา เปนกิริยาท่ีไมเหมาะสม เปนการ ละเมิดสิทธสิ วนบุคคล จงึ ทรงบญั ญัติหามไวใ นสิกขาบทน้ี ภิกษุแอบฟงความที่ภิกษุวิวาทกัน เพ่ือเก็บมาเปนเคร่ืองโตเถียง เพื่อหาโทษ ใสกัน หรอื เพอ่ื เปนเครอื่ งมือยุยงใหแตกกัน ตอ งปาจติ ตีย ถา ไมไดต้งั ใจแอบฟง ไมตองอาบตั ิ ภกิ ษุผูเปนอาทิกัมมิกะในสกิ ขาบทน้ี คอื พระฉัพพัคคยี  ๙. ภกิ ษใุ หฉันทะ คือ ความยอมใหท าํ สงั ฆกรรมทีเ่ ปน ธรรมแลว ภายหลังกลับ ตเิ ตียนสงฆผทู าํ สังฆกรรมนน้ั ตอ งปาจติ ตีย การทําสังฆกรรมน้ัน ทรงอนุญาตใหภิกษุทุกรูปประชุมพรอมกันในเขตสีมา ถาภิกษุบางรูปไมสามารถเขารวมสังฆกรรมได ใหนําฉันทะของภิกษุนั้นมา หากไมนํามา สงั ฆกรรมทสี่ งฆท าํ นนั้ ใชไ มไ ด ภิกษุใหฉันทะแลว ภายหลังกลับติเตียนสังฆกรรมท่ีสงฆทําถูกตองแลว เปนปาจิตตยี  ติเตยี นสังฆกรรมท่ที าํ ไมถ กู ตอ ง ไมเปนอาบัติ ภกิ ษผุ เู ปน อาทิกมั มิกะในสิกขาบทน้ี คอื พระฉัพพคั คีย ๑๐. เมื่อสงฆกําลังประชุมกันตัดสินขอความขอหน่ึง ภิกษุใดอยูในท่ีประชุมนั้น จะหลีกไปในขณะท่ตี ัดสินขอน้ันยังไมเสร็จ ไมใ หฉ นั ทะลกุ ขน้ึ เสยี ตอ งปาจิตตยี  ลุกไปเสียเพ่ือตองการจะใหกรรมเสีย พอละหัตถบาสไป ตองปาจิตตีย ลุกไป เพราะเหตุอยางอื่น เชน ลุกไปเพราะสงฆทํากรรมไมเปนธรรม เพราะเกรงจะเกิดการทะเลาะ วิวาท ปวดปสสาวะ อุจจาระ ลุกไปโดยต้ังใจจะกลับมาอีก หรือภิกษุเปนไขนั่งตอไปไมไหว เปนตน ไมเ ปน อาบัติ ภิกษผุ ูเปนอาทกิ มั มิกะในสกิ ขาบทน้ี คือ พระฉัพพัคคีย ๑๑. ภิกษุพรอมกับสงฆใหจีวรเปนบําเหน็จแกภิกษุรูปใดรูปหน่ึงแลว ภายหลัง กลบั ติเตยี นภกิ ษุอนื่ วา ใหเ พราะเห็นแกหนากัน ตอ งปาจติ ตยี  มีธรรมเนียมอยูวา เมื่อลาภเกิดข้ึนแกสงฆ ไมสามารถท่ีจะแจกใหท่ัวถึงกันได ถาเปน บณิ ฑบาตหรอื เภสัช เก็บไวนานจะเสยี ทรงอนุญาตใหแจกตามลําดับ ถาเปนของท่ีเก็บไว ได เชน จีวร เปนตน ทรงอนุญาตใหเก็บไวจนกวาจะครบจํานวนภิกษุ จึงแจกกันได ถาจีวรแจก กันแลว เหลือเศษหรือจีวรนอย ไมพอแจกทรงอนุญาตใหสงฆอปโลกน ยกใหภิกษุผูทํากิจสงฆ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 283

2๒๘8๒4 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 เชน ผจู ัดการเสนาสนะ เปนตน ในสกิ ขาบทน้ี หมายเอาการใหจีวรเปนบําเหนจ็ ภิกษผุ ูเ ปน อาทกิ มั มกิ ะในสิกขาบทน้ี คือ พระฉัพพคั คีย ๑๒. ภิกษุรูอยู นอมลาภที่ทายกเขาตั้งใจจะถวายสงฆ มาเพ่ือบุคคล ตองปาจิตตีย ภิกษผุ เู ปนอาทิกมั มิกะในสิกขาบทนี้ คอื พระฉัพพัคคีย ๙. รตนวรรค หมวดวาดวยรตั นะ ๑. ภิกษุไมไดรับอนุญาตกอน เขาไปในหองท่ีพระเจาแผนดินเสด็จอยูกับ พระมเหสี ตอ งปาจิตตีย ภิกษผุ ูเ ปน อาทกิ มั มกิ ะในสกิ ขาบทนี้ คือ พระอานนท ๒. ภิกษุเห็นเคร่ืองบริโภคของคฤหัสถตกอยู ถือเอาเปนของเก็บไดเองก็ดี ให ผูอนื่ ถือเอาก็ดี ตองปาจิตตีย เวนไวแตของน้ันตกอยูในวัด หรือในที่อาศัย ตองเก็บไวให เจาของถา ไมเก็บ ตองทกุ กฏ เครื่องบรโิ ภคของคฤหัสถในสิกขาบทน้ี ทานหมายเอา รัตนะ คือ ของมีราคา ๑๐ ประการ ไดแ ก แกวมุกดา มณี ไพฑูรย สังข ศิลา ประพาฬ เงิน ทอง ทับทิม โมรา รวมถึงของมี ราคาอยางอื่น ภิกษุเก็บเอง หรือใชใหผูอ่ืนเก็บเอาของเชนนั้น ในที่นอกเขตวัดตองปาจิตตีย ภายในเขตวัดไมตองอาบตั ิ ไมเ ก็บเปน ทุกกฏ ๓. ภิกษุไมบอกลาภิกษุอ่ืนที่มีอยูในวัดกอน เขาไปในบานในเวลาวิกาล ตอง ปาจติ ตีย เวนไวแตมีกจิ ดวน เวลาวิกาล ในสิกขาบทนี้ คัมภีรวิภังคกําหนดเอาตั้งแตเท่ียงวันไปจนถึง รุงอรณุ ของอกี วัน เหมือนกบั สกิ ขาบททว่ี า ดว ยการฉนั ภตั ตาหารในเวลาวิกาลในโภชนวรรค มีกจิ ดว น เชน ไฟไหมว ัด งพู ิษกดั เขาไปเพื่อหาคนมาชวย เปนตน ไมเปนอาบัติ ภิกษุผเู ปนอาทกิ ัมมกิ ะในสกิ ขาบทน้ี คอื พระฉัพพัคคีย ๔. ภิกษุทํากลองเข็ม ดวยกระดูกก็ดี ดวยงาก็ดี ดวยเขาก็ดี ตองปาจิตตีย ตอ งตอ ยกลองนน้ั เสียกอน จงึ แสดงอาบตั ิตก สิกขาบทน้ี มีชื่อเรียกวา เภทนกปาจิตตีย คือ อาบัติปาจิตตียที่ตองตอย (ทุบท้ิง 284

 2๒8๘๓5 วชิ า วนิ ัย หรือทาํ ลาย) วัตถใุ หแ ตกเสียกอน จงึ จะแสดงอาบัติตก มีสกิ ขาบทนส้ี กิ ขาบทเดียว ใชกระดกู งา หรือเขา ทาํ บรขิ ารอยางอ่ืนใชสอย เปน ทกุ กฏ ๕. ภิกษุจะทําเตียงหรือตั่ง พึงทําใหมีเทาเพียง ๘ นิ้วพระสุคต เวนไวแตแมแคร ถาทําใหเกนิ กําหนดน้ี ตอ งปาจติ ตีย ตอ งตัดใหไดป ระมาณเสียกอน จึงแสดงอาบัตติ ก ขนาด ๑ น้ิวพระสุคต เทากับ ๓ น้ิวของคนปานกลางในบัดน้ี (พระไตรปฎกฉบับ ภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เลม ๒. ๒๕๓๙ : ๑๐๘) ภิกษุทําเองก็ดี ใชใ หผอู ืน่ ทาํ ก็ดี ใหเกนิ ประมาณ เปนปาจติ ตยี  ถา ผอู ืน่ นํามาถวายแลว ใชสอย เปนทกุ กฏ สิกขาบทนี้ มีชื่อเรียกวา เฉทนกปาจิตตีย คือ อาบัติปาจิตตียที่ตองตัดวัตถุ เสียกอนจงึ แสดงอาบตั ติ ก ภิกษุผูเปนอาทิกมั มิกะในสิกขาบทน้ี คอื พระอุปนนั ทศากยบตุ ร ๖. ภิกษุจะทําเตียงหรือตั่งหุมนุน ตองปาจิตตีย ตองรื้อเสียกอน จึงแสดง อาบัตติ ก สิกขาบทน้ี มีชื่อเรียกวา อุททาลนกปาจิตตีย คือ อาบัติปาจิตตียที่ตองรื้อถอน นุนเสยี กอน จงึ แสดงอาบตั ติ ก ทําใชเอง เปนปาจิตตีย ทําใหผูอื่นเปนทุกกฏ ทําอยางอ่ืนนอกจากเตียงและต่ัง เปนทุกกฏเชน กัน ภิกษผุ ูเปนอาทิกัมมิกะในสิกขาบทน้ี คือ พระฉพั พคั คยี  ๗. ภิกษุทําผาปูน่ัง (ผานิสีทนะ) พึงทําใหไดประมาณ ประมาณนั้นยาว ๒ คืบ พระสุคต กวางคืบคร่ึง ชายคืบครึ่ง ถาทําใหเกินกําหนดน้ี ตองปาจิตตีย ตองตัดใหได ประมาณเสียกอน จงึ แสดงอาบตั ิตก ผาปูนั่ง เรียกอีกอยางหน่ึงวา ผานิสีทนะ เบ้ืองตนทรงอนุญาตใหทํา ขนาดยาว ๒ คืบพระสุคต กวาง ๑ คืบคร่ึงพระสุคตเทาน้ัน ตอมา ปรากฏขนาดท่ีทรงกําหนดน้ัน ไมพอนัง่ สําหรบั ภกิ ษตุ วั ใหญ จึงทรงอนุญาตใหต อ ชายไดอกี คืบหน่งึ ภกิ ษุผูเ ปน อาทกิ มั มิกะในสกิ ขาบทนี้ คอื พระฉัพพัคคยี  ๘. ภิกษุทําผานุงปดแผลพึงทําใหไดประมาณ ประมาณน้ันยาว ๔ คืบพระสุคต กวาง ๒ คืบ ถาทําใหเกินกําหนดนี้ ตองปาจิตตีย ตองตัดใหไดประมาณเสียกอน จึงแสดง อาบตั ติ ก เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 285

2๒๘8๔6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ผา นุง ปดแผลน้ี ทรงอนุญาตสําหรับผูอาพาธ คือ เปนโรคอีสุกอีใส โรคมีนํ้าหนอง หรือโรคฝด าษ ใชนุงเพ่อื ปด บาดแผลภิกษตุ องทําใหไดป ระมาณตามท่ีกําหนด หากทําใหเกินตอง ปาจติ ตีย ตอ งตัดใหไ ดป ระมาณเสยี กอน จึงแสดงอาบัตติ ก ภกิ ษุผเู ปน อาทกิ มั มิกะในสิกขาบทน้ี คือ พระฉพั พัคคีย ๙. ภิกษุทําผาอาบน้ําฝน พึงทําใหไดประมาณ ประมาณนั้นยาว ๖ คืบพระสุคต กวาง ๒ คืบคร่ึง ถาทําใหเกินกําหนดน้ี ตองปาจิตตีย ตองตัดใหไดประมาณเสียกอน จงึ แสดงอาบตั ติ ก ภกิ ษุผูเปนอาทกิ มั มิกะในสกิ ขาบทน้ี คือ พระฉพั พัคคีย ๑๐. ภกิ ษุทําจีวรใหเทา จวี รพระสุคต (จีวรของพระพุทธเจา ) ก็ดี เกินกวา นัน้ ก็ดี ตอง ปาจิตตีย ประมาณจีวรของพระสุคตน้ัน ยาว ๙ คืบพระสุคต กวาง ๖ คืบ ตองตัดใหได ประมาณเสยี กอ น จึงแสดงอาบัตติ ก ภิกษผุ ูเ ปน อาทกิ มั มิกะในสกิ ขาบทน้ี คอื พระนนั ทะ สิกขาบทตั้งแต ๗ - ๑๐ จัดเปน เฉทนกปาจิตตีย ตองตัดใหไดประมาณ เสยี กอน จงึ จะแสดงอาบตั ิตก สรปุ ปาจติ ตยี  การละเมิดสิกขาบทในปาจิตติยกัณฑน้ี ใหตองอาบัติปาจิตตียเสมอกัน แตมีความ เสยี หายเกดิ ขึ้นยง่ิ หยอนกวากัน ดงั น้ี หมวดที่ ๑ ลวงเขา แลว ทาํ ใหเ ปน คนเลว เชน พูดปด พดู สอเสยี ด ดม่ื สรุ าเมรัย หมวดที่ ๒ ลวงเขาแลวทําใหเปนคนดุราย เชน ดา ใหประหาร เง้ือมือดุจประหาร ฆา สัตวดริ จั ฉาน เปน ตน หมวดท่ี ๓ ลวงเขาแลวทําใหเสียหาย เชน นอนรวมในเขตหลังคาเดียวกันกับหญิง น่ังทล่ี บั กับหญิง เดนิ ทางกับผซู อ นภาษี หมวดที่ ๔ ลวงเขาแลวสอใหเปนคนซุกซน เชน วายนํ้าเลน หลอนใหกลัว ซอนของ เพือ่ ลอเลน แกลงพดู ใหเ กิดความราํ คาญ หมวดที่ ๕ ลวงเขาแลวสอใหคนเปนเสียกิริยา เชน นอมลาภ ฉันปรัมปรโภชนะ เขาไปนั่งแทรกแซงในบานที่เขากําลังบริโภคอาหาร ใชจีวรที่ไมไดถอนวิกัปป ติเตียนพระที่ทํา 286

 2๒8๘7๕ วชิ า วนิ ัย กิจสงฆ เปนตน หมวดที่ ๖ ลวงเขาแลว สอ ใหเ หน็ ความสะเพรา เชน เอาของสงฆไปใชแลวไมเก็บ เอานํ้า มตี ัวสตั วร ดหญา บริโภคนา้ํ มีตัวสตั ว หมวดที่ ๗ ลวงเขาแลวทําใหเสียธรรมเนียม เชน นอนรวมกับอนุปสัมบัน ขุดดิน พราก ภตู คาม ฉนั อาหารในเวลาวกิ าล เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 287

๒2๘8๖8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 กัณฑท ี่ ๘ ปาฏเิ ทสนียะ ๔ และเสขยิ วัตร ๗๕ ปาฏิเทสนยี ะ ๔ ปาฏิเทสนียะ แปลวา อาบัติท่ีตองแสดงคืน เปนช่ือของอาบัติท่ีภิกษุตองเขาแลว จะตองแสดงคืน จัดเปนลหุกาบัติ มีโทษเบา เปนสเตกิจฉา สามารถแกไขไดดวยการแสดง อาบตั ิตอ หนา ภกิ ษอุ นื่ มีท้ังหมด ๔ สิกขาบท ดังนี้ ๑. ภิกษุรับของเค้ียวของฉันแตมือนางภิกษุณี ผูไมใชญาติ ดวยมือของตนมา บริโภค ตอ งปาฏิเทสนยี ะ ของเคี้ยว ไดแก ของที่จัดเปนยาวกาลิก ยามกาลิก สัตตาหกาลิก ยาวชีวิก ภิกษุรับ ประเคนไวดว ยต้งั ใจวาจะฉนั เปน ทกุ กฏ ฉนั เขาไปเปนปาฏเิ ทสนยี ะทุก ๆ คาํ กลืน สิกขาบทนี้ทรงบัญญัติไวเพื่อไมใหภิกษุเบียดเบียนนางภิกษุณีผูมีลาภนอย หาม เฉพาะการรบั จากมือโดยตรง ถา นางภิกษณุ ีใชใ หผ อู นื่ ถวาย รับได ไมเปนอาบัติ ๒. ภิกษุฉันอยูในท่ีนิมนต ถามีนางภิกษุณีมาส่ังทายกใหเอาส่ิงน้ันส่ิงนี้มาถวาย เธอพงึ ไลนางภิกษุณีนน้ั ใหถ อยออกไปเสยี ถาไมไ ล ตองปาฏเิ ทสนียะ สกิ ขาบทน้ที รงบัญญัตไิ วเพ่ือปองกันไมใหภิกษุถูกตําหนิ เพราะการที่นางภิกษุณี ทาํ ตัวเจากี้เจาการใหทายกถวายของอยางน้ันอยางน้ี แกภิกษุรูปใดรูปหน่ึง ยอมจะทําใหคนมอง ไมดี และเขาใจผดิ วา ภกิ ษกุ บั นางภกิ ษณุ มี อี ะไรกันแบบชูสาว ๓. ภิกษุไมเปนไข เขาไมไดนิมนต รับของเคี้ยวของฉันในสกุลที่สงฆสมมติ (ยอมรบั รว มกัน) วาเปนเสขะ มาบรโิ ภค (ฉนั ) ตองปาฏเิ ทสนียะ ตระกูลท่ีไดรับสมมติวา เสขะ ทานหมายเอาตระกูลท่ีมีศรัทธามาก แตบริจาค ทรัพยทําบุญหมดส้ิน ประสบปญหาทางเศรษฐกิจยากจน ไดรับความลําบากในการกิน การอยู ตระกูลเชนนี้ทรงบัญญัติหามภิกษุบิณฑบาต เวนไวแตเขานิมนตหรือภิกษุอาพาธรับได เพราะ ไมตองการใหเ บยี ดเบยี นเขาใหลําบากซํา้ ลงไปอีก ๔. ภกิ ษุอยใู นเสนาสนะปาเปน ท่ีเปลย่ี ว ไมเปนไข รับของเคี้ยวของฉันที่ทายก 288

289 289 เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1

๒2๘9๘0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ผอู ่นื มี ๑๖ สกิ ขาบท หมวดท่ี ๔ ช่ือวา ปกิณณกะ วาดวยกิริยามารยาทในการถายอุจจาระ ปสสาวะ และ บว นน้ําลาย มี ๓ สกิ ขาบท เสขยิ วตั รทัง้ ๗๕ สิกขาบทน้ี ทรงกําหนดใหส ามเณรศึกษาและปฏบิ ัตติ ามดว ย หมวดที่ ๑ สารูปะ (วาดวยขอ ประพฤตใิ นเวลาเขา บา น) ในสารูปหมวดท่ี ๑ มีทั้งหมด ๒๖ สิกขาบท จดั เปนคู ๆ ได ๑๓ คู ดังน้ี ¾ คทู ่ี ๑ (๑ – ๒) ภิกษุพงึ ทาํ ความศกึ ษาวา เราจกั นงุ - หมใหเ รยี บรอย นุงใหเรียบรอย ไดแก นุงสบงใหไดปริมณฑล เบ้ืองบนสูงเพียงเอวใหปดสะดือ ชายเบื้องลางใหอ ยรู ะดับประมาณครึ่งแขง หมใหเรียบรอย ไดแก หมจีวรใหไดปริมณฑล ทํามุมผาท้ัง ๒ ใหเสมอกัน ไมป ลอ ยใหผ าเลอื้ ยหนาเลือ้ ยหลัง ธรรมเนียมในปจจุบัน ถาอยูในบริเวณวัด ใหหมเฉวียงบา โดยปดบาและแขนซาย เปด บา ขา งขวา ถา ออกนอกวดั ใหห มคลุมปดบาและแขนท้ัง ๒ ขาง สูงปดหลุมคอ ชายอยูระหวาง ครง่ึ แขง ¾ คูที่ ๒ (๓ – ๔) ภกิ ษุพึงทําความศกึ ษาวา เราจักปด กายดวยดี ไป – น่งั ในบา น เมื่อนุงหมเรียบรอยแลว เวลายืน เดิน น่ังในบานตองระมัดระวัง อยาใหผาเลื่อนลง ตอ งคอยชักปกปดอวยั วะทก่ี ําหนดใหปด ¾ คูท่ี ๓ (๕ – ๖) ภกิ ษุพงึ ทาํ ความศึกษาวา เราจักระวงั มือเทาดวยดี ไป – นัง่ ในบาน คอื หา มเลนมือ เลนเทาขณะอยูในบาน เชน กระดิกมือ กระดิกเทาเลน เปนตน ซึ่งสอ ใหเหน็ การไมสํารวม ¾ คทู ี่ ๔ (๗ – ๘) ภกิ ษพุ งึ ทาํ ความศกึ ษาวา เราจกั มีตาทอดลง ไป – นง่ั ในบาน คือ ทอดสายตาตา่ํ ลงหางตวั ประมาณหน่ึงวา มิใหสอดสา ยสายตาหันมองโนนมองน่ี 290

 2๒9๘๙1 วชิ า วนิ ยั ¾ คทู ่ี ๕ (๙ – ๑๐) ภิกษุพึงทาํ ความศกึ ษาวา เราจกั ไมเ วิกผา ไป – นงั่ ในบา น การเวกิ ผา คือการถกชายจวี รขน้ึ พาดบา เปด ใหเห็นสีขางดูไมงาม ¾ คทู ่ี ๖ (๑๑ – ๑๒) ภกิ ษุพงึ ทาํ ความศกึ ษาวา เราจักไมห วั เราะ ไป – นง่ั ในบา น การหวั เราะเฮฮา หรอื การกระซิกกระซีเ้ พือ่ ใหค ร้ืนเครงเปนการเสยี สงั วร ¾ คทู ่ี ๗ (๑๓ – ๑๔) ภิกษพุ งึ ทําความศึกษาวา เราจกั ไมพดู เสยี งดัง ไป – นั่ง ในบาน พูดเสียงปกติธรรมดา คือ นั่งหางกัน ๖ ศอก ไดยินชัดเจนไมใหเปลงเสียงดังหรือ ตะโกน แตพดู ไมลออกเสียงเพ่อื แสดงธรรมไมผ ิด ¾ คทู ่ี ๘ (๑๕ – ๑๖) ภิกษพุ ึงทาํ ความศกึ ษาวา เราจักไมโคลงกาย ไป – นงั่ ในบาน หามไมใหโคลงกายไปมา เวลาเดิน ยืน หรือนั่ง ตองต้ังตัวใหตรง แตมิใชนั่งเบงตัว เพ่ืออวดตวั เอง ¾ คูท ่ี ๙ (๑๗ – ๑๘) ภกิ ษุพึงทาํ ความศึกษาวา เราจกั ไมไกวแขน ไป – นงั่ ในบาน หามกางแขนออกแกวงไกว เพอื่ แสดงตนใหดดู ี หรือเพื่อแสดงลีลานวยนาด ใหหอย แขนแนบลาํ ตัวตามปกติ ถากางแขนออกเพราะจาํ เปน ไมต อ งอาบัติ ¾ คูท ่ี ๑๐ (๑๙ – ๒๐) ภกิ ษุพึงทําความศกึ ษาวา เราจักไมส่ันศรี ษะ ไป – นงั่ ในบา น หามไมใหเ ดินหรอื นั่งคอพับ เอียงไปขางใดขางหน่ึง ตองตั้งศีรษะใหตรง การพยักหนา ในขณะพดู ก็จดั เปนการสน่ั ศรี ษะเหมือนกนั ¾ คูท่ี ๑๑ (๒๑ – ๒๒) ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักไมเอามือค้ํากาย ไป – น่ัง ในบา น หามไมใหเอามือเทาสะเอว ไมนั่งเทาแขน ไมเทาศอกบนโตะ หรือนั่งคํ้าคาง เปน ตน เพราะดูไมง าม ¾ คูที่ ๑๒ (๒๓ – ๒๔) ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักไมเอาผาคลุมศีรษะ ไป – นง่ั ในบาน หา มไมใ หเอาผาคลุม โพกหรอื มัดศรี ษะเหมือนฆราวาส ¾ ขอท่ี ๒๕ ภิกษุพงึ ทําความศึกษาวา เราจักไมเดนิ กระโหยง เทาในบา น คือหามเดินเขยงเทา ทําตัวใหสูง รวมถึงการเดินอยางอื่น ท่ีไมใชการเดินเหยียบ ตามปกติ เชน การเดนิ ตะแคงเทา การเดนิ ลากสน เปน ตน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 291

2๒๙9๐2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ¾ ขอ ท่ี ๒๖ ภกิ ษพุ งึ ทําความศกึ ษาวา เราจักไมน งั่ รัดเขาในบา น หา มมใิ หน งั่ ยอง ๆ เอามอื รดั เขา หรอื เอาผารดั รอบ เพราะดไู มงาม ขอท่ี ๑ – ๒ ตองถือปฏิบัติท้ังในวัดและในบาน ต้ังแตขอ ๓ – ๒๖ ตองถือปฏิบัติ เครง ครัดในบาน แตถาเขาจัดทพี่ ักแรมในบา น ภกิ ษจุ ะปฏิบตั ติ นเหมอื นอยใู นวดั กไ็ ด หมวดท่ี ๒ โภชนปฏสิ ังยุต (วาดวยการรบั และฉันภตั ตาหาร) มีทัง้ หมด ๓๐ สกิ ขาบท ดงั นี้ ๑. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักรับบิณฑบาตโดยเคารพ คือ รับบิณฑบาต ดวยความเต็มใจ ไมแสดงอาการดหู มนิ่ ดูแคลน ๒. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เมื่อรับบิณฑบาตเราจักแลดูแตในบาตร คือ ในขณะทร่ี ับบิณฑบาต หา มมองดูหนาทายก หรอื มองไปทางอ่ืน ใหมองดูแตในบาตรเทานั้น ๓. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักรับแกงพอควรแกขาวสุก คือเวลารับ บณิ ฑบาต ทานหามรบั แตรายทีม่ กี ับขา ว โดยผานทายกผใู สแตขาวเปลาไปเสีย และเวลารับกับขาว กใ็ หรับแตพ อดีกับขาวสกุ รับอาหารมากกวา ขาวไมค วร ๔. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักรับบิณฑบาตแตพอเสมอขอบปากบาตร คือ ขอบบาตรนน้ั หมายเอาขอบลา ง ภิกษุรับเอาเกินของปากบาตร เพราะโลภเปนอาบัติ ถารับดวย อาการรกั ษาศรทั ธา หรือเพอื่ อนุเคราะหด ว ยเมตตา ไมถ ือวาผดิ ๕. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักฉันบิณฑบาตโดยเคารพ คือ ฉันเพ่ือยังชีพให เปน อยู ไมแสดงอาการรงั เกยี จวา เปน ของท่ีไมด ี ไมอ รอย ไมช อบ ๖. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เม่ือฉันบิณฑบาต เราจักแลดูแตในบาตร คือ ขณะ ฉันหามแลดูสง่ิ อืน่ เพราะการมองดโู นนดนู ่ี ขณะกําลงั เคย้ี วอยูในปากเปนกริ ิยาท่ีไมงาม ๗. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักไมขุดขาวสุกใหแหวง คือ หามไมใหหยิบ ขาวในที่เดยี ว จนเปน หลุมลึกลงไป ๘. ภกิ ษุพงึ ทาํ ความศึกษาวา เราจักฉันแกงพอสมควรแกขาวสุก คือ หามไมให ฉันเฉพาะแกง ใหฉันขาวกบั อาหารพอ ๆ กัน และไมฉันแบบตะกละตะกลาม ๙. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักไมฉันขยุมขาวสุกแตยอดลงไป คือ เมื่อมี 292

 2๒9๙3๑ วชิ า วนิ ยั ขา วพูนเปน ยอดตองเกลย่ี ใหเ สมอกนั แลว จงึ ฉนั ๑๐. ภกิ ษพุ ึงทาํ ความศึกษาวา เราจกั ไมกลบแกงหรือกับขาวดวยขาวสุก เพราะ อยากไดมาก คอื เมอื่ ฉันในกจิ นิมนตทายกจะคอยอังคาส คือ เติมของฉันถวาย หามมิใหเอาขาว สกุ กลบแกง ๑๑. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราไมเจ็บไข จักไมขอแกงหรือขาวสุก เพ่ือ ประโยชนแกตนมาฉัน คือ ถา ขอกบั ญาตหิ รือผูปวารณาได หรือขอมาใหภกิ ษผุ อู าพาธกไ็ ด ๑๒. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักไมดูบาตรของผูอ่ืนดวยคิดจะยกโทษ คือ ไมแลดูบาตรของภิกษุสามเณรอื่นดวยคิดจะตําหนิวาฉันมาก ฉันมูมมาม เปนตน ถาแลดูดวยคิด จะใหของฉนั ทีเ่ ขายังไมม ี ควรอยู ๑๓. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราไมทําคําขาวใหใหญนัก ของอยางอ่ืนที่ไมใช ขา วก็หา ม ไมใ หทาํ คาํ ใหญ เพราะทําใหดูไมงาม ๑๔. ภิกษุพึงทําความศกึ ษาวา เราจักทําคาํ ขา วใหกลมกลอม คือ ทําใหเปนคําขนาด พอดปี าก ๑๕. ภกิ ษพุ งึ ทําความศึกษาวา เม่ือคําขาวยังไมถึงปาก จักไมอาปากไวคอยทา คือ ไมใหอา ปากไวก อนสงขา วเขา ปาก เมื่อยกคําขาวมาจอท่ีปากแลวจึงอารับได และขณะที่เคี้ยวอยู หามอา ปาก ใหห บุ ปากเคี้ยว ๑๖. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เมื่อฉันอยู เราจักไมเอามือสอดเขาปาก คือ หา มเอาน้ิวมอื ลว งเขาไปในปาก หรือดดู เลยี นว้ิ มือ เพราะทําใหด สู กปรก ๑๗. ภกิ ษพุ ึงทําความศึกษาวา เมื่อคําขาวอยูในปาก เราจักไมพูด คือ ขณะท่ีเค้ียว อาหารอยู หามพูด เพราะจะทําใหเหน็ อาหารท่ีอยใู นปาก และอาหารอาจรว งจากปาก ดนู าเกลียด ๑๘. ภกิ ษุพึงทาํ ความศึกษาวา เราจักไมโยนคําขาวเขา ปาก คือ ไมโยนคําขาวแลวอา ปากรบั เพราะเปน กิริยาทซ่ี ุกซน ๑๙. ภิกษพุ ึงทําความศึกษาวา เราจักไมฉันกัดคําขาว กัดของอ่ืน เชน ขนมแข็ง หรือ ผลไม ไมหาม ขอ นี้บัญญตั เิ พอื่ มิใหฉนั มูมมาม ๒๐. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักไมฉันทํากระพุงแกมใหตุย หามฉันอมไว มาก ๆ จงึ เคี้ยว เพราะเวลาเคย้ี วจะทําใหแ กมตยุ ออกมา ดไู มง าม ๒๑. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักไมฉันพลางสะบัดมือพลาง ขอน้ีทาน หามสะบดั มอื เมื่อมีขาวสุกติดมือใหลางดวยนํา้ ๒๒. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักไมฉันโปรยเมล็ดขาว คือ หามไมใหทําขาว เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 293

๒2๙9๒4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 หกลงในบาตรหรอื บนพ้นื ๒๓. ภกิ ษุพึงทําความศกึ ษาวา เราจกั ไมฉนั แลบลิ้น เพราะเปนกิรยิ าท่ีนาเกลยี ด ๒๔. ภิกษพุ ึงทาํ ความศกึ ษาวา เราจักไมฉนั ดังจบั ๆ ๒๕. ภิกษพุ งึ ทําความศึกษาวา เราจักไมฉันดงั ซดู ๆ ๒๖. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักไมฉันเลียมือ คือแลบล้ินเลียอาหารท่ีติดมือ หรอื ตดิ ชอ นสอ มเขาปาก ๒๗. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักไมฉันขอดบาตร คือขาวเหลือนอยไมพอคํา หา มไมใหต ะลอมรวมเขาฉนั ๒๘. ภิกษพุ งึ ทาํ ความศกึ ษาวา เราจกั ไมฉ นั เลียรมิ ฝปาก ๒๙. ภกิ ษุพึงทาํ ความศกึ ษาวา เราจกั ไมเ อามือท่เี ปอนจบั ภาชนะนํ้า ๓๐. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักไมเอานํ้าลางบาตร ท่ีมีเมล็ดขาวเทในบาน แมไ มมีเมล็ดขา วกไ็ มควรเท ควรเทในทท่ี ่ีควรเท หมวดท่ี ๓ ธมั มเทสนาปฏิสังยตุ (วา ดวยการแสดงธรรม) มี ๑๖ สิกขาบท ดงั นี้ ๑. ภิกษพุ ึงทาํ ความศกึ ษาวา เราจกั ไมแ สดงธรรมแกค นไมเ ปนไข มรี ม ในมอื ๒. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข มีไมพลอง ในมอื ๓. ภกิ ษุพึงทาํ ความศกึ ษาวา เราจกั ไมแ สดงธรรมแกคนไมเปนไข มอี าวุธ ในมอื ๔. ภิกษพุ งึ ทาํ ความศกึ ษาวา เราจกั ไมแสดงธรรมแกคนไมเ ปนไข มีศสั ตราในมือ ๕. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราจักไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข สวมเขียงเทา คือ สวมรองเทา มีสน ๖. ภิกษพุ งึ ทําความศึกษาวา เราจักไมแ สดงธรรมแกคนไมเปนไข สวมรองเทา ๗. ภิกษพุ ึงทําความศกึ ษาวา เราจักไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข ผูไปในยาน คือ อยูระหวางเดินทางดวยยานพาหนะ ถาน่ังในรถหรือเรือลําเดียวกัน แสดงได แตถาไมไดนั่งในยาน เดยี วกนั หามแสดง 294

 2๒9๙๓5 วชิ า วนิ ยั ๘. ภกิ ษพุ งึ ทําความศกึ ษาวา เราจกั ไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข อยบู นทน่ี อน ๙. ภกิ ษพุ งึ ทาํ ความศึกษาวา เราจกั ไมแ สดงธรรมแกคนไมเ ปนไข นงั่ รัดเขา ๑๐. ภกิ ษพุ งึ ทําความศึกษาวา เราจักไมแสดงธรรมแกค นไมเ ปนไข พนั ศีรษะ ๑๑. ภกิ ษพุ งึ ทําความศึกษาวา เราจักไมแสดงธรรมแกคนไมเ ปนไข คลมุ ศรี ษะ ๑๒. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เรานั่งอยูบนดิน จักไมแสดงธรรมแกคนไมเปนไข นง่ั บนอาสนะ ๑๓. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เรานั่งบนอาสนะตํ่า จักไมแสดงธรรมแก คนไมเปนไข นั่งบนอาสนะสูง ๑๔. ภิกษุพงึ ทําความศกึ ษาวา เรายนื อยู จกั ไมแ สดงธรรมแกคนไมเปนไข นั่งอยู ๑๕. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราเดินไปขางหลัง จักไมแสดงธรรมแกคนไม เปนไข ผูเดนิ ไปขางหนา ๑๖. ภิกษุพึงทําความศึกษาวา เราเดินไปนอกทาง จักไมแสดงธรรมแกคน ไมเ ปนไข ผูไ ปในทาง ท้ัง ๑๖ สิกขาบทนี้ เปนขอหามไมใหภิกษุแสดงธรรมแกผไู มทําความเคารพใน พระธรรม ภิกษผุ ไู มเ อื้อเฟอ ตองอาบัติทุกกฏในทุกสกิ ขาบท หมวดที่ ๔ ปกณิ ณกะ (วา ดว ยเรอื่ งเบ็ดเตล็ด) มี ๓ สกิ ขาบท ดงั นี้ ๑. ภกิ ษพุ งึ ทาํ ความศกึ ษาวา เราไมเปน ไข จักไมยืนถายอจุ จาระ ถา ยปสสาวะ ๒. ภกิ ษพุ งึ ทําความศึกษาวา เราไมเปนไข จักไมยืนถายอุจจาระ ถายปสสาวะ บว นเขฬะ (เสมหะหรือเสลด, นํ้าลาย) ลงในของเขยี ว ของเขียวในสิกขาบทน้ี ไดแก พืช ผัก หญา หรือขาวกลา เปนตน ที่เขาปลูกไวเพ่ือ นาํ ไปใชประโยชน ของเขียวท่คี นไมตอ งการ ไมจัดเขา ในสกิ ขาบทน้ี ๓. ภิกษพุ งึ ทาํ ความศึกษาวา เราไมเปนไข จักไมยืนถายอุจจาระ ถายปสสาวะ บว นเขฬะ ลงในน้าํ ในนาํ้ ในสิกขาบทนี้ หมายเอา นํ้าทเ่ี ขาตองใชส อย น้าํ ที่ไมม ีคนใช ไมเ ปน อาบตั ิ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 295

๒2๙9๔6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 กัณฑท่ี ๙ อธิกรณสมถะ ๗ อธิกรณ คือ เรื่องที่เกิดขึ้นแลว สงฆจะตองดําเนินการใหเรียบรอย แบงเปน ๔ ประเภท คือ ๑. ความเถียงกันวา สิ่งน้ันเปนธรรมเปนวินัย ส่ิงน้ีไมใชธรรมไมใชวินัย เรียก วิวาทาธิกรณ คือ เรือ่ งท่ภี กิ ษโุ ตเถียงกนั เกย่ี วกับพระธรรมวนิ ยั วา ถกู หรือผิด ใชหรือไมใ ช ๒. ความโจทกันดวยอาบัตินั้น เรียก อนุวาทาธิกรณ คือ เรื่องที่ภิกษุโจท (หรือกลาวหา) กันดว ยอาบัติ การโจทกันดวยอาบัตินี้ พระพทุ ธองคทรงอนุญาตใหทําแกภิกษุผูไมมียางอาย คือ ตองอาบัติแลววางเฉยเสีย เพ่ือใหสงฆวินิจฉัยปรับโทษตามอาบัติ อนุวาทาธิกรณน้ี เมื่อเกิดข้ึนแลว สงฆจ ะตอ งวนิ ิจฉยั วา จริงตามท่ีโจทหรอื ไม ๓. อาบตั ทิ ั้งปวง เรียก อาปต ตาธกิ รณ การปรับอาบัติ และวิธีการออกจากอาบัติ เปนเรื่องท่ีภิกษุผูตองอาบัติจะตอง ทําคืน กลาวคือ ทําตัวเองใหพนจากอาบัติ โดยการแสดงอาบัติบาง อยูกรรมบาง ลาสิกขาบาง ตาม โทษแหงอาบัติที่ตนลวงละเมดิ ๔. กจิ ท่ีสงฆจะพึงทํา เรยี ก กิจจาธิกรณ คอื เรือ่ งท่เี กี่ยวกบั กิจตา ง ๆ ของพระสงฆ เชน การใหอ ปุ สมบท การกรานกฐิน การลงอโุ บสถ เปนตน กจิ จาธกิ รณน้ี เมอ่ื เกิดข้นึ แลว สงฆจะตอ งทําใหเสร็จ อธกิ รณทง้ั ๔ นี้ เมื่อเกิดข้ึนแลว เปนหนาที่ของสงฆที่ตองจัดตองทําแกไขใหเรียบรอย และใหถ ูกตอ งตามหลักที่พระพุทธองคทรงบัญญัติไว ท่เี รยี กวา อธิกรณสมถะ ๗ 296

 2๒9๙7๕ วชิ า วนิ ยั อธิกรณสมถะ ๗ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 อธิกรณสมถะ คือ ธรรมเครือ่ งระงับอธิกรณ หรือ วธิ รี ะงับอธกิ รณ มี ๗ อยา ง คอื ๑. สัมมุขาวินัย คือ วิธีระงับในที่พรอมหนา ไดแก การระงับที่พรอมดวยองค ๔ ประการ คอื ๑) สงฆป ระชมุ กันครบกําหนด (พรอ มหนา สงฆ) ๒) บคุ คลท่ีเก่ียวขอ งในเร่ืองน้ัน (พรอมหนา บคุ คล) ๓) ยกเร่ืองท่ีเกดิ ข้ึนแลวมาวนิ ิจฉยั (พรอมหนาวตั ถุ) ๔) ผลการวนิ ิจฉยั ถกู ตอ งตามพระธรรมวนิ ัย (พรอมหนาธรรม) สมั มขุ าวินัยใชร ะงับอธกิ รณไ ดทกุ เรื่อง ๒. สติวินัย คือ วิธีระงับโดยยกสติขึ้นเปนหลัก กลาวคือ สวดประกาศใหสมมติ แดพระอรหันตวาเปนผูมีสติสมบูรณ เปนผูไดรับการยกเวนจากอาบัติทุก ๆ อยาง เพื่อระงับ อนวุ าทาธกิ รณในกรณีทม่ี ผี โู จทดวยอาบัตทิ ่เี ธอลวงละเมดิ ในขณะเปนบา ๓. อมฬู หวินัย คือ วิธรี ะงบั โดยการสวดประกาศสมมติใหแกภิกษุผูหายเปนบา แลว เพือ่ ระงบั อนุวาทาธิกรณในกรณีท่ีมผี โู จทดว ยอาบัติทเี่ ธอลว งละเมิดในขณะเปน บา ๔. ปฏญิ ญาตกรณะ คือ วิธีระงับตามคํารับสารภาพของจําเลย กลาวคือ จําเลย ยอมรับสารภาพวาตองอาบัติเชนใด ก็ใหปรับอาบัติตามที่รับ การปลงอาบัติ จัดเปน ปฏญิ ญาตกรณะดว ยวธิ ีน้ี ใชระงบั เฉพาะอาปตตาธกิ รณ ๕. เยภุยยสิกา คือ วิธีระงับดวยถือเสียงขางมาก คือ ตัดสินตามเสียงขางมาก (ระบบประชาธิปไตย) สงฆจะใชวธิ ีนีใ้ นกรณีที่บุคคลหลายฝา ยมคี วามเห็นไมต รงกนั 297

2๒๙9๖8 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ ตรี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 ๖. ตัสสปาปยสิกา คือ กิริยาที่ลงโทษแกผูผิด หรือ วิธีระงับดวยการลงโทษแก ผูทําผิดจริง ซึ่งเบื้องตนไมยอมรับ ตอเม่ือพิจารณาตัดสินแลวจึงยอมรับ เปนวิธีเพ่ิมโทษ แกภิกษุ ผูประพฤติผิดอีกโสดหน่ึงจากความผิดเดิม เชนเดียวกับคนทําความผิดหลายคร้ัง ตองรับโทษเพิ่ม ตามกฏหมายของบานเมือง ๗. ติณวัตถารกวินัย คือ ระเบียบดังกลบไวดวยหญา หรือ วิธีระงับดุจใชหญา กลบไวในลักษณะแบบประนีประนอม ไดแก กิริยาที่ใหประนีประนอมกันท้ังสองฝาย ไมตอง ชําระสาวหาความ เดิมวิธีน้ี สําหรับใชในเร่ืองที่ยุงยากและเปนเรื่องสําคัญอันจะเปนเคร่ือง กระทบกระเทอื นไปทั่ว เชน เรอ่ื งภิกษชุ าวเมืองโกสัมพแี ตกสามัคคีกันเปนตวั อยาง วิธรี ะงับอธกิ รณ อธกิ รณสมถะ ๗ อยางน้ี กาํ หนดใหใชระงบั อธิกรณ ๔ อยา งได ดงั นี้ ๑. สัมมุขาวินัย ใชร ะงบั อธิกรณไดท้ัง ๔ อยาง ๒. สติวินัย อมฬู หวนิ ัย และ ตัสสปาปย สกิ า ใชร ะงับไดเฉพาะอนุวาทาธิกรณ ๓. ปฏญิ ญาตกรณะ และ ติณวัตถารกวนิ ยั ใชระงบั อาปตตาธกิ รณแ ละอนุวาทาธิกรณ ๔. เยภยุ ยสิกา ใชระงับเฉพาะววิ าทาธกิ รณ 298

 2๒9๙๗9 วชิ า วนิ ัย กัณฑท ี่ ๑๐ มาตรา กิรยิ ากําหนดประมาณ เรียกวา มาตรา ในพระวินัยบัญญตั มิ บี างสิกขาบทระบุถึงมาตราไว ซึ่งในวนิ ัยมุขทา นแจกเปน ๕ ประเภท คือ ๑. มาตราเวลา หลักแหงมาตรา กําหนดเอาการหมุนเวียนแหงพระอาทิตยรอบโลกครั้งหน่ึงเปน วันหน่ึง นับต้ังแตเห็นแสงอาทิตยเร่ือ ๆ ซึ่งเรียกวา อรุณ มีท้ังวิธีกระจายออก และวิธีผนวกเขา จะกลา วเฉพาะวิธหี ลังกําหนดตามโคจรแหงพระจันทร ดงั น้ี ๑๕ วนั บา ง ๑๔ วนั บา ง เปน ๑ ปกษ ๒ ปกษ เปน ๑ เดอื น ๔ เดอื น เปน ๑ ฤดู ๓ ฤดู เปน ๑ ป เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 299

3๒๙0๘0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั ตรี ๑๕ วนั บาง ๑๔ วันบา ง พระจันทรโคจรรอบโลก ๑ หน ใน ๒๙ วันครึ่ง จะนับ ๒๙ วัน เปน ๑ เดือน ก็หยอนไป จะนับ ๓๐ วัน เปนเดือนก็ย่ิงไป จึงตองนับ ๕๙ วัน เปน ๒ เดือน แลวแบงเดือนหน่ึงใหมี ๓๐ วัน อกี เดอื นหนึ่งใหมี ๒๙ วัน เพราะเหตุน้นั ๑ ปกษ จงึ มี ๑๕ วนั บาง ๑๔ วนั บา ง ในช่ัวพระจันทรโคจรรอบโลกน้ัน ถึงจักรราศีหางจากพระอาทิตยออกเพียงใด ก็ยิ่ง สวา งขึน้ เพียงนัน้ จนแลเหน็ สวา งเต็มดวง เรียกวา พระจันทรเพ็ญ วันที่พระจันทรสวางเต็มดวง เรียกวา วันปุรณมี หรือ วันเพ็ญ สวนปกษที่พระจันทรโคจรหางจากพระอาทิตย เรียกวา ศุกลปก ษ แปลวา ซกี มืด ๒ ปกษนับเปน ๑ เดือน เดือนนั้น ตัง้ ช่ือตามดาวฤกษ ท่วี าพระจันทรโคจรถึงวนั เพญ็ เวลาเทีย่ งคืน ดังนี้ เดือนทัง้ ๑๒ มชี ือ่ เรยี กอยา งนี้ มาคสริ มาส เดือน ๑ (อาย) ปุสสมาส เดอื น ๒ (ย่ี) มาฆมาส เดอื น ๓ ผคั คุณมาส เดอื น ๔ จติ ตมาส เดอื น ๕ เวสาขมาส หรอื วิสาขมาส เดอื น ๖ เชฏฐมาส เดอื น ๗ อาสาฬหมาส เดอื น ๘ สาวนมาส เดอื น ๙ ภทั ทปทมาส เดอื น ๑๐ อสั สยุชมาส หรอื ปฐมกตั ตกิ มาส เดือน ๑๑ กตั ติกมาส เดือน ๑๒ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั ตรี เลม 1 300


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook