การดําเนนิ งานการรบั รองปริญญา และประกาศนยี บัตรทางการศกึ ษาเพอื่ การประกอบวชิ าชพี การรบั รองปรญิ ญาโทการบรหิ ารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย พ.ศ. 2562 (น. 129) สาํ นักงานเลขาธกิ ารครุ สุ ภา Secretariat Office of the Teachers’ Council of Thailand ISBN : 978-616-7746-29-6
การดาํ เนินงานการรับรองปริญญา และประกาศนยี บตั รทางการศกึ ษาเพอื่ การประกอบวชิ าชพี พมิ พค์ รัง้ ที่ ๑ สงิ หาคม ๒๕๕๘ จาํ นวน ๑,๐๐๐ เลม่ ISBN 978-616-7746-29-6 ผู้จดั พิมพเ์ ผยแพร่ สํานักมาตรฐานวิชาชีพ สาํ นกั งานเลขาธิการคุรุสภา ๑๒๘/๑ ถนนนครราชสมี า แขวงดสุ ติ เขตดสุ ิต กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ ผ้พู มิ พ์ โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว ๒๒๔๙ ถนนลาดพรา้ ว แขวงสะพานสอง เขตวงั ทองหลาง กรุงเทพฯ ๑๐๓๑๐
คํานํา คุรุสภา ดําเนินการตามอํานาจหน้าท่ีในการรับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรของสถาบันต่าง ๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพ ตามที่กําหนดในมาตรา ๙(๗) แหง่ พระราชบัญญัตสิ ภาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.๒๕๔๖ โดยออกประกาศคุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพื่อการประกอบวิชาชีพ พ.ศ.๒๕๕๗ ซ่ึงมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๗ แทนฉบับเดิม ซ่ึงออกต้ังแต่ พ.ศ.๒๕๔๙ โดยประกาศฉบับใหม่มีคุณวุฒิท่ีสามารถย่ืนขอรับรองเพิ่มเติม จากฉบับเดิม ครอบคลุมทั้งระดับปริญญาตรีถึงระดับปริญญาเอก นอกจากนี้คุรุสภา ยังได้ปรับเปลี่ยนมาตรฐานวิชาชีพ รวมทั้งสาระความรู้ และสมรรถนะ ทั้งทางวิชาชีพครู และวิชาชีพบริหารการศกึ ษา อีกด้วย ดังน้ัน สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา จึงจัดทําหนังสือการดําเนินงาน การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพ่ือการประกอบวิชาชีพ เพ่ือให้ ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งใช้เปน็ แนวทางในการดาํ เนนิ งานใหเ้ ปน็ ตามหลกั เกณฑท์ ี่คุรุสภากําหนด สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้ จะเป็นแนวทาง ท่สี ามารถนําไปปฏบิ ตั ไิ ด้บรรลุวตั ถปุ ระสงค์อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ (นายกมล ศิรบิ รรณ) รองปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปฏิบตั หิ นา้ ท่ใี นตาํ แหนง่ เลขาธิการคุรุสภา
สารบญั หนา้ y ข้อบงั คับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ พ.ศ.๒๕๕๖ ๑ y ขอ้ บังคบั ครุ ุสภา ว่าด้วยจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ.๒๕๕๖ ๘ y ประกาศคุรสุ ภา เรอื่ ง การรบั รองปริญญาและประกาศนียบตั รทางการศึกษา ๑๑ เพื่อการประกอบวิชาชพี พ.ศ.๒๕๕๗ y ประกาศคณะกรรมการครุ ุสภา เรื่อง สาระความรู้ สมรรถนะ ๒๘ และประสบการณ์วิชาชพี ของผูป้ ระกอบวิชาชพี ครู ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา และศึกษานิเทศก์ ตามข้อบงั คบั ครุ ุสภา ว่าดว้ ยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ.๒๕๕๖ y ประกาศคณะกรรมการครุ สุ ภา เรื่อง หลักเกณฑค์ ุณสมบตั ิ ๔๐ ของสถานศึกษาสําหรับปฏิบตั ิการสอน y แบบคําขอรบั รองปรญิ ญาและประกาศนยี บัตรทางการศกึ ษา ๔๗ y ตารางวเิ คราะห์เน้ือหาความรู้ตามรายวชิ าท่เี ปิดสอน - วิชาชีพครู ๔๘ - วชิ าชพี บรหิ ารการศึกษา ๕๒ y แบบประเมนิ มาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานการผลิต และมาตรฐานบัณฑติ - ปริญญาตรีทางการศึกษา (หลักสตู ร ๕ ป)ี ๕๘ - ประกาศนียบตั รบณั ฑิตทางการศกึ ษา ๗๒ - ปรญิ ญาโททางการศึกษา (วิชาชีพคร)ู ๙๑ - ปริญญาโท / ปริญญาเอก (วิชาชีพบรหิ ารการศึกษา) ๑๑๐
เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๓๐ ง หนา้ ๖๕ 1 ราชกิจจานเุ บกษา ๔ ตลุ าคม ๒๕๕๖ ข้อบงั คับคุรสุ ภา วา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยท่ีเป็นการสมควรยกเลิกข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๙ (๑) (๑๑) (ฉ) และมาตรา ๔๙ แห่งพระราชบัญญัติ สภาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกอบกับมติคณะกรรมการคุรุสภา ในการประชุม คร้งั ที่ ๕/๒๕๕๖ วนั ท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖ และครัง้ ท่ี ๑๑/๒๕๕๖ วันท่ี ๒ กันยายน ๒๕๕๖ โดยความเห็นชอบของรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร คณะกรรมการคุรุสภาจึงออกข้อบังคับคุรุสภา วา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี ไว้ ดังต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ขอ้ บังคับนีเ้ รียกว่า “ขอ้ บงั คับครุ ุสภา วา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๕๖” ขอ้ ๒ ขอ้ บงั คับน้ีให้ใช้บังคบั ต้ังแตว่ ันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป ข้อ ๓ ให้ยกเลกิ (๑) ข้อบังคับคุรสุ ภา วา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๔๘ (๒) ขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภา วา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ (๓) ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ือง มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ สาระความรู้ สมรรถนะ และมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ านของผปู้ ระกอบวชิ าชพี ศึกษานิเทศก์ (๔) ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ สาระความรู้ สมรรถนะ และมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านของผู้ประกอบวชิ าชพี ศกึ ษานเิ ทศก์ (ฉบับท่ี ๒) ข้อบงั คบั ครุ ุสภาฉบับใดอ้างองิ ข้อบงั คับคุรุสภาฉบับท่ียกเลิกแล้วตามวรรคหนึ่ง รวมทั้งระเบียบ หรอื ประกาศใดทอี่ อกภายใต้ข้อบังคับดังกล่าว ให้ถือว่าอ้างอิงข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ หรือขอ้ บงั คับคุรสุ ภา ว่าด้วยจรรยาบรรณของวชิ าชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ แล้วแต่กรณี ข้อ ๔ ในขอ้ บงั คับน้ี “วชิ าชพี ” หมายความว่า วชิ าชีพทางการศกึ ษาทท่ี ําหน้าท่ีหลักทางด้านการเรียนการสอนและ การส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ รวมทั้งการรับผิดชอบการบริหารสถานศึกษา ในสถานศกึ ษาปฐมวยั ข้นั พื้นฐาน และอุดมศึกษาทีต่ ํา่ กว่าปริญญาท้งั ของรัฐและเอกชน และการบริหาร การศกึ ษานอกสถานศกึ ษาในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา ตลอดจนการสนับสนุนการศึกษา ให้บริการหรือ ปฏิบัติงานเก่ียวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษา ในหน่วยงานการศกึ ษาต่าง ๆ “สถาบัน” หมายความว่า มหาวิทยาลัย วิทยาลัย สถาบัน บัณฑิตวิทยาลัย คณะ หรือ หนว่ ยงานทเ่ี รียกชอื่ อย่างอื่นทมี่ ีฐานะเทียบเท่า ซึ่งจดั การศึกษาตามหลักสตู รปริญญา หรอื ประกาศนียบตั ร
2 เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๓๐ ง หนา้ ๖๖ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา “ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา” หมายความวา่ ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบคุ ลากรทางการศึกษาอน่ื ซ่ึงได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพตามพระราชบัญญัติสภาครูและ บุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๖ “คร”ู หมายความว่า บุคคลซึ่งประกอบวชิ าชีพหลักทางด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริม การเรยี นรู้ของผู้เรยี นด้วยวธิ กี ารตา่ ง ๆ ในสถานศกึ ษาปฐมวัย ข้ันพ้ืนฐาน และอุดมศึกษาที่ตํ่ากว่าปริญญา ท้งั ของรัฐและเอกชน “ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา” หมายความว่า บุคคลซ่งึ ปฏบิ ัตงิ านในตาํ แหน่งผู้บริหารสถานศึกษาภายใน เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา และสถานศกึ ษาอื่นท่ีจัดการศึกษาปฐมวัย ขั้นพ้ืนฐาน และอุดมศึกษาท่ีตํ่ากว่าปริญญา ทงั้ ของรัฐและเอกชน “ผู้บริหารการศกึ ษา” หมายความวา่ บุคคลซ่ึงปฏิบัติงานในตําแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษา ในระดบั เขตพืน้ ที่การศกึ ษา “บุคลากรทางการศกึ ษาอืน่ ” หมายความว่า บุคคลซ่ึงทําหน้าท่ีสนับสนุนการศึกษา ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเก่ียวเน่ืองกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษา ในหนว่ ยงานการศกึ ษาตา่ ง ๆ ซ่งึ หน่วยงานการศึกษากาํ หนดตําแหนง่ ให้ตอ้ งมีคณุ วฒุ ิทางการศกึ ษา “มาตรฐานวชิ าชพี ทางการศึกษา” หมายความวา่ ข้อกําหนดเก่ยี วกบั คณุ ลกั ษณะ และคุณภาพ ที่พงึ ประสงคใ์ นการประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ซ่งึ ผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษาต้องประพฤติปฏิบัตติ าม ประกอบด้วย มาตรฐานความร้แู ละประสบการณ์วชิ าชีพ มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงานและมาตรฐานการปฏบิ ตั ติ น “มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ” หมายความว่า ข้อกําหนดเก่ียวกับความรู้และ ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา ซ่ึงผู้ต้องการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมเี พียงพอท่สี ามารถนาํ ไปใช้ในการประกอบวิชาชพี ได้ “มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน” หมายความวา่ ข้อกําหนดเก่ยี วกับคุณลกั ษณะหรือการแสดงพฤติกรรม การปฏิบัติงานและการพัฒนางาน ซ่ึงผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตามเพ่ือให้เกิดผล ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายการเรียนรู้ หรือการจัดการศึกษา รวมทั้งต้องฝึกฝนให้มีทักษะหรือ ความชาํ นาญสงู ขึน้ อย่างตอ่ เน่อื ง “มาตรฐานการปฏิบัติตน” หมายความว่า จรรยาบรรณของวิชาชีพท่ีกําหนดข้ึนเป็นแบบแผน ในการประพฤติตน ซง่ึ ผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องปฏิบัติตาม เพ่ือรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นที่เช่ือถือศรัทธาแก่ผู้รับบริการและสังคม อันจะนาํ มาซง่ึ เกียรตแิ ละศักดศ์ิ รแี หง่ วิชาชพี ข้อ ๕ ให้ประธานกรรมการคุรุสภารักษาการตามข้อบังคับน้ี และให้มีอํานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่งเพ่ือปฏิบัติตามข้อบังคับน้ี รวมท้ังให้มีอํานาจตีความและวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาเก่ียวกับ การปฏบิ ัตติ ามทีก่ าํ หนดไว้ในขอ้ บังคบั
3 เลม่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๓๐ ง หนา้ ๖๗ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา หมวด ๑ มาตรฐานความรแู้ ละประสบการณว์ ิชาชีพ ข้อ ๖ ผ้ปู ระกอบวชิ าชีพครู ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ํากว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือมคี ุณวุฒิอ่ืนท่คี รุ สุ ภารบั รอง โดยมมี าตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชพี ดังต่อไปนี้ (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบด้วยความรู้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) ความเปน็ ครู ๒) ปรชั ญาการศกึ ษา ๓) ภาษาและวัฒนธรรม ๔) จิตวทิ ยาสาํ หรบั ครู ๕) หลกั สูตร ๖) การจดั การเรียนรแู้ ละการจดั การชั้นเรียน ๗) การวิจัยเพ่อื พฒั นาการเรยี นรู้ ๘) นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา ๙) การวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๑๐) การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ๑๑) คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ (ข) มาตรฐานประสบการณ์วชิ าชพี ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาทางการศึกษา เปน็ เวลาไมน่ ้อยกว่าหนง่ึ ปี และผา่ นเกณฑ์การประเมินปฏิบัติการสอนตามหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขท่ีคณะกรรมการครุ ุสภากําหนด ดงั ต่อไปน้ี ๑) การฝกึ ปฏบิ ัติวิชาชพี ระหว่างเรียน ๒) การปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษาในสาขาวิชาเฉพาะ ขอ้ ๗ ผูป้ ระกอบวิชาชพี ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา ต้องมีคุณวุฒิไม่ตํ่ากว่าปริญญาตรีทางการบริหาร การศกึ ษา หรอื เทียบเทา่ หรือมคี ุณวฒุ ิอื่นท่ีคุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ดังตอ่ ไปน้ี (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบด้วยความรู้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑) การพฒั นาวิชาชีพ ๒) ความเป็นผนู้ าํ ทางวิชาการ ๓) การบริหารสถานศึกษา ๔) หลกั สูตร การสอน การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๕) กจิ การและกจิ กรรมนักเรยี น ๖) การประกันคุณภาพการศึกษา ๗) คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ
4 เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๓๐ ง หนา้ ๖๘ ๔ ตลุ าคม ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา (ข) มาตรฐานประสบการณว์ ิชาชีพ ดังต่อไปนี้ ๑) มปี ระสบการณด์ า้ นปฏบิ ตั กิ ารสอนมาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่าหา้ ปี หรอื ๒) มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนและต้องมีประสบการณ์ในตําแหน่ง หัวหน้าหมวด หรือหัวหน้าสาย หรือหัวหน้างาน หรือตําแหน่งบริหารอ่ืน ๆ ในสถานศึกษามาแล้ว ไม่นอ้ ยกวา่ สองปี ขอ้ ๘ ผู้ประกอบวชิ าชีพผ้บู ริหารการศกึ ษา ตอ้ งมคี ุณวุฒไิ ม่ตํ่ากว่าปริญญาตรีทางการบริหาร การศึกษา หรอื เทยี บเทา่ หรือมีคณุ วุฒิอ่ืนท่ีครุ ุสภารบั รอง โดยมีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ดังตอ่ ไปนี้ (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบด้วยความรู้ ดังต่อไปน้ี ๑) การพฒั นาวชิ าชีพ ๒) ความเป็นผูน้ ําทางวชิ าการ ๓) การบริหารการศึกษา ๔) การสง่ เสรมิ คณุ ภาพการศกึ ษา ๕) การประกนั คุณภาพการศึกษา ๖) คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ (ข) มาตรฐานประสบการณว์ ชิ าชพี ดงั ต่อไปนี้ ๑) มีประสบการณ์ด้านปฏิบัตกิ ารสอนมาแล้วไมน่ ้อยกวา่ แปดปี หรอื ๒) มีประสบการณ์ในตําแหน่งผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษามาแล้วไมน่ ้อยกวา่ สามปี หรอื ๓) มีประสบการณใ์ นตาํ แหนง่ บคุ ลากรทางการศกึ ษาอ่นื ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาแล้วไมน่ ้อยกวา่ สามปี หรือ ๔) มีประสบการณ์ในตาํ แหนง่ บุคลากรทางการศึกษาอื่นที่มีประสบการณ์การบริหาร ไม่ตํา่ กว่าหัวหน้ากลุ่ม หรอื ผอู้ ํานวยการกลุม่ หรือเทยี บเท่ามาแลว้ ไม่น้อยกว่าห้าปี หรอื ๕) มีประสบการณ์ด้านปฏบิ ตั กิ ารสอน และมีประสบการณ์ในตําแหน่งผู้บริหาร สถานศึกษา หรือบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน ตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง หรือบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน ท่ีมปี ระสบการณ์การบรหิ ารไมต่ า่ํ กว่าหัวหน้ากลุ่ม หรือผู้อํานวยการกลุ่ม หรือเทียบเท่า รวมกันมาแล้ว ไม่นอ้ ยกวา่ แปดปี ข้อ ๙ ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่ํากว่าปริญญาโททางการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิอ่ืนท่ีคุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ดังตอ่ ไปนี้ (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบดว้ ยความรู้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑) การพัฒนาวชิ าชพี ๒) การนิเทศการศกึ ษา ๓) แผนและกิจกรรมการนิเทศ
5 เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๓๐ ง หน้า ๖๙ ๔ ตลุ าคม ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา ๔) การพัฒนาหลักสตู รและการจดั การเรียนรู้ ๕) การวิจัยทางการศกึ ษา ๖) นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา ๗) การประกันคุณภาพการศกึ ษา ๘) คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ (ข) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชพี ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑) มีประสบการณด์ ้านปฏบิ ัตกิ ารสอนมาแล้วไมน่ อ้ ยกว่าห้าปี หรือมีประสบการณ์ ดา้ นปฏบิ ัตกิ ารสอนและมีประสบการณ์ในตําแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษา รวมกันมาแล้ว ไม่นอ้ ยกวา่ ห้าปี ๒) มีผลงานทางวชิ าการท่มี ีคณุ ภาพและมกี ารเผยแพร่ ขอ้ ๑๐ สาระความรู้และสมรรถนะของผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาตามมาตรฐานความรู้ และประสบการณ์วชิ าชีพให้เปน็ ไปตามทีค่ ณะกรรมการคุรุสภากาํ หนด หมวด ๒ มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน ขอ้ ๑๑ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพครู ต้องมีมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑) ปฏิบัตกิ จิ กรรมทางวิชาการเพ่อื พฒั นาวชิ าชีพครใู หก้ า้ วหนา้ อยู่เสมอ ๒) ตดั สินใจปฏบิ ัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ โดยคํานงึ ถึงผลท่จี ะเกิดแก่ผเู้ รียน ๓) มุ่งม่ันพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ตบิ โตเต็มตามศกั ยภาพ ๔) พฒั นาแผนการสอนใหส้ ามารถปฏบิ ตั ิไดจ้ ริงในช้นั เรยี น ๕) พฒั นาสือ่ การเรยี นการสอนให้มปี ระสทิ ธิภาพอยูเ่ สมอ ๖) จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์โดยเน้น ผลถาวรทเ่ี กิดแก่ผเู้ รยี น ๗) รายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรยี นไดอ้ ย่างมรี ะบบ ๘) ปฏบิ ัติตนเป็นแบบอยา่ งท่ดี ีแกผ่ ้เู รียน ๙) รว่ มมอื กับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสรา้ งสรรค์ ๑๐) รว่ มมือกบั ผูอ้ นื่ ในชุมชนอยา่ งสร้างสรรค์ ๑๑) แสวงหาและใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการพัฒนา ๑๒) สร้างโอกาสให้ผูเ้ รียนได้เรียนรใู้ นทุกสถานการณ์ ขอ้ ๑๒ ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา ต้องมีมาตรฐาน การปฏบิ ัตงิ าน ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมทางวิชาการเพ่ือพัฒนาวิชาชพี การบริหารการศึกษาให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ
6 เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๓๐ ง หน้า ๗๐ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา ๒) ตดั สินใจปฏิบัติกจิ กรรมต่าง ๆ โดยคํานึงถงึ ผลทจ่ี ะเกดิ ขึ้นกบั การพัฒนาของผู้เรียน บุคลากร และชมุ ชน ๓) มุง่ ม่นั พฒั นาผ้รู ่วมงานใหส้ ามารถปฏบิ ัตงิ านได้เต็มศกั ยภาพ ๔) พฒั นาแผนงานขององค์การใหม้ ีคณุ ภาพสงู สามารถปฏบิ ตั ิให้เกดิ ผลได้จรงิ ๕) พฒั นาและใช้นวตั กรรมการบรหิ ารจนเกดิ ผลงานท่ีมคี ณุ ภาพสูงขนึ้ เป็นลําดับ ๖) ปฏิบัติงานขององค์การโดยเน้นผลถาวร ๗) ดาํ เนินการและรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาได้อย่างเป็นระบบ ๘) ปฏิบตั ิตนเปน็ แบบอย่างท่ดี ี ๙) ร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานอื่นอย่างสร้างสรรค์ ๑๐) แสวงหาและใชข้ ้อมูลข่าวสารในการพัฒนา ๑๑) เป็นผู้นาํ และสรา้ งผนู้ ําทางวชิ าการในหน่วยงานของตนได้ ๑๒) สรา้ งโอกาสในการพัฒนาได้ทุกสถานการณ์ ขอ้ ๑๓ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ศกึ ษานเิ ทศก์ ต้องมีมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑) ปฏบิ ัติกจิ กรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาการนิเทศการศึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนา วิชาชพี ทางการศกึ ษาอยา่ งสมํ่าเสมอ ๒) ตดั สนิ ใจปฏิบัติกจิ กรรมการนเิ ทศการศกึ ษา โดยคาํ นึงถึงผลที่จะเกิดแกผ่ รู้ ับการนิเทศ ๓) มุ่งม่ันพัฒนาผู้รับการนิเทศให้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจนเกิดผลต่อการพัฒนา อยา่ งมีคณุ ภาพ เต็มศักยภาพ ๔) พฒั นาแผนการนเิ ทศใหม้ คี ณุ ภาพสงู สามารถปฏบิ ัตใิ ห้เกดิ ผลได้จริง ๕) พฒั นาและใชน้ วัตกรรมการนเิ ทศการศึกษาจนเกดิ ผลงานทมี่ คี ุณภาพสูงขึ้นเป็นลําดับ ๖) จดั กจิ กรรมการนเิ ทศการศกึ ษาโดยเนน้ ผลถาวรท่เี กิดแกผ่ ู้รับการนเิ ทศ ๗) ดาํ เนนิ การและรายงานผลการนิเทศการศกึ ษาให้มคี ณุ ภาพสงู ได้อยา่ งเป็นระบบ ๘) ปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี ๙) ร่วมพัฒนางานกับผู้อนื่ อยา่ งสร้างสรรค์ ๑๐) แสวงหาและใชข้ อ้ มลู ข่าวสารในการพฒั นา ๑๑) เปน็ ผนู้ าํ และสร้างผ้นู ําทางวิชาการ ๑๒) สรา้ งโอกาสในการพัฒนางานได้ทุกสถานการณ์ หมวด ๓ มาตรฐานการปฏิบตั ิตน ข้อ ๑๔ ผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติตนตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าดว้ ยจรรยาบรรณของวิชาชีพ
7 เลม่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๓๐ ง หน้า ๗๑ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ ราชกิจจานเุ บกษา หมวด ๔ บทเฉพาะกาล ข้อ ๑๕ ข้อบังคับนี้ไม่กระทบสิทธิและหน้าที่ของบรรดาผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ทางการศกึ ษา ทีใ่ ช้มาตรฐานวชิ าชีพตามข้อบงั คับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘ ขอ้ ๑๖ ให้สถาบันที่ยังปรับปรุงหลักสูตรไม่แล้วเสร็จตามข้อบังคับนี้ ยังคงใช้หลักสูตร ตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘ ไปพลางก่อน ทัง้ น้ี ตอ้ งไมเ่ กนิ สามปหี ลังจากวนั ทขี่ อ้ บังคบั นใ้ี ช้บงั คับ ข้อ ๑๗ ผทู้ ่สี าํ เรจ็ การศึกษาตามหลักสูตรที่ใช้มาตรฐานวิชาชีพตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วย มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘ ท่ีต้องการขึ้นทะเบียนขอรับใบอนุญาต ให้มาขอข้นึ ทะเบียนใบอนญุ าตใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในห้าปนี ับตัง้ แต่วันท่สี ําเร็จการศึกษา ผูม้ คี ณุ วุฒไิ ม่ต่าํ กว่าปริญญาตรีทางการศกึ ษา หรือเทียบเทา่ หรือคุณวุฒิอื่นท่ีคุรุสภาให้การรับรอง ตามขอ้ บังคบั ครุ สุ ภา ว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวชิ าชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘ สามารถใช้เป็น คุณวฒุ ิในการขอรบั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพครูไดภ้ ายในห้าปีนบั แตว่ ันที่ข้อบังคับนใ้ี ชบ้ งั คบั ผู้มีคุณวฒุ ไิ มต่ ่าํ กวา่ ปรญิ ญาตรีทางการบรหิ ารการศึกษา หรอื เทียบเทา่ หรอื คุณวุฒิอ่ืนท่ีคุรุสภา ให้การรบั รองตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘ สามารถใชเ้ ปน็ คุณวฒุ ใิ นการขอรบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษาได้ ภายในห้าปนี ับแต่วนั ที่ข้อบงั คบั นใ้ี ชบ้ ังคับ ผมู้ ีคณุ วฒุ ิไมต่ ํา่ กว่าปริญญาโททางการศกึ ษา หรือเทยี บเท่า หรอื คณุ วุฒอิ นื่ ที่คุรุสภาให้การรับรอง ตามข้อบังคบั ครุ สุ ภา ว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘ สามารถใช้เป็น คุณวุฒใิ นการขอรับใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพศึกษานเิ ทศกไ์ ดภ้ ายในหา้ ปีนับแต่วันทีข่ ้อบงั คับน้ีใช้บังคบั ประกาศ ณ วันท่ี ๑๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ศาสตราจารย์ไพฑูรย์ สนิ ลารัตน์ ประธานกรรมการครุ สุ ภา
เลม่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๓๐ ง หน้า ๗๒ 8 ราชกิจจานุเบกษา ๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ ข้อบงั คับคุรสุ ภา วา่ ดว้ ยจรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยท่ีเป็นการสมควรยกเลิกข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ ของวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๔๘ อาศยั อํานาจตามความในมาตรา ๙ วรรคหน่ึง (๑) (๑๑) (จ) และมาตรา ๕๐ แห่งพระราชบัญญัติ สภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกอบกับมติคณะกรรมการคุรุสภา ในการประชุม ครัง้ ที่ ๕/๒๕๕๖ วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖ โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการคุรุสภาจึงออกขอ้ บงั คับครุ สุ ภา ว่าดว้ ยจรรยาบรรณของวิชาชพี ดังต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ข้อบงั คับนี้เรียกว่า “ข้อบังคบั ครุ ุสภา ว่าดว้ ยจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๕๖” ข้อ ๒ ข้อบังคบั น้ใี ห้ใชบ้ ังคับตัง้ แต่วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป ข้อ ๓ ใหย้ กเลกิ ขอ้ บังคบั คุรุสภา วา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘ ขอ้ บังคบั คุรสุ ภาฉบับใดอ้างองิ ข้อบังคับครุ สุ ภาฉบับที่ยกเลิกแล้วตามวรรคหนึ่ง รวมทั้งระเบียบ หรอื ประกาศใดทอี่ อกภายใตข้ อ้ บังคับดังกล่าว ให้ถือว่าอ้างอิงข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ หรอื ข้อบงั คับครุ ุสภา ว่าดว้ ยจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๕๖ แลว้ แต่กรณี ขอ้ ๔ ในข้อบังคบั น้ี “วิชาชีพ” หมายความว่า วิชาชีพทางการศึกษาที่ทาํ หน้าท่ีหลักทางด้านการเรียนการสอน และการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ รวมทั้งการรับผิดชอบการบริหารสถานศึกษา ในสถานศึกษาปฐมวยั ข้ันพื้นฐาน และอุดมศึกษาทต่ี ํา่ กวา่ ปริญญาทั้งของรัฐและเอกชน และการบริหาร การศึกษานอกสถานศึกษาในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา ตลอดจนการสนับสนุนการศึกษาให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษา ในหนว่ ยงานการศึกษาต่าง ๆ “ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา” หมายความว่า ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศกึ ษา และบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน ซึ่งได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพตามพระราชบัญญัติสภาครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ “คร”ู หมายความวา่ บุคคลซึ่งประกอบวชิ าชีพหลักทางด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริม การเรียนรขู้ องผ้เู รยี นด้วยวิธีการตา่ ง ๆ ในสถานศกึ ษาปฐมวัย ขั้นพ้ืนฐาน และอุดมศึกษาท่ีตํ่ากว่าปริญญา ทัง้ ของรัฐและเอกชน
9 เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๓๐ ง หนา้ ๗๓ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา “ผู้บริหารสถานศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตําแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา ภายในเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา และสถานศกึ ษาอืน่ ทีจ่ ัดการศึกษาปฐมวัย ข้ันพ้ืนฐาน และอุดมศึกษาท่ีต่ํากว่าปริญญา ทั้งของรฐั และเอกชน “ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา” หมายความว่า บุคคลซ่ึงปฏิบัติงานในตําแหน่งผู้บริหารนอกสถานศึกษา ในระดับเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา “บุคลากรทางการศึกษาอนื่ ” หมายความวา่ บุคคลซ่ึงทําหน้าที่สนับสนุนการศึกษา ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเก่ียวเน่ืองกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษา ในหน่วยงานการศกึ ษาตา่ ง ๆ ซึง่ หน่วยงานการศกึ ษากาํ หนดตาํ แหน่งใหต้ ้องมีคุณวุฒทิ างการศึกษา “จรรยาบรรณของวชิ าชีพ” หมายความว่า มาตรฐานการปฏิบัติตนที่กําหนดข้ึนเป็นแบบแผน ในการประพฤตติ น ซงึ่ ผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษาต้องปฏิบัติตาม เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียง และฐานะของผ้ปู ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษาให้เปน็ ทเี่ ชอื่ ถอื ศรัทธาแกผ่ รู้ บั บรกิ ารและสังคม อันจะนํามา ซง่ึ เกียรติและศักดิศ์ รแี หง่ วชิ าชพี ขอ้ ๕ ให้ประธานกรรมการคุรุสภารักษาการตามข้อบังคับน้ี และให้มีอํานาจออกระเบียบ ประกาศ หรือคําส่ังเพ่ือปฏิบัติตามข้อบังคับน้ี รวมทั้งให้มีอํานาจตีความและวินิจฉัยชี้ขาดปัญหา เกี่ยวกบั การปฏบิ ตั ติ ามทก่ี าํ หนดไว้ในขอ้ บงั คับ ขอ้ ๖ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ และแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชพี หมวด ๑ จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง ข้อ ๗ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทศั น์ ใหท้ นั ตอ่ การพัฒนาทางวทิ ยาการ เศรษฐกจิ สังคม และการเมอื งอยเู่ สมอ หมวด ๒ จรรยาบรรณตอ่ วิชาชพี ข้อ ๘ ผู้ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตอ้ งรัก ศรัทธา ซอื่ สตั ยส์ ุจรติ รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชกิ ทดี่ ขี ององค์กรวิชาชพี หมวด ๓ จรรยาบรรณต่อผรู้ ับบรกิ าร ข้อ ๙ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม ใหก้ ําลงั ใจแกศ่ ิษย์ และผู้รับบริการ ตามบทบาทหน้าที่โดยเสมอหนา้
10 เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๓๐ ง หน้า ๗๔ ๔ ตลุ าคม ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา ข้อ ๑๐ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะ และนิสัย ทถี่ ูกตอ้ งดงี ามแกศ่ ษิ ย์ และผู้รับบรกิ าร ตามบทบาทหน้าท่ีอยา่ งเตม็ ความสามารถ ด้วยความบริสุทธใิ์ จ ขอ้ ๑๑ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา ต้องประพฤติปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอยา่ งท่ีดี ทั้งทางกาย วาจา และจติ ใจ ขอ้ ๑๒ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ต้องไม่กระทําตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปญั ญา จิตใจ อารมณ์ และสงั คมของศษิ ย์ และผรู้ บั บริการ ขอ้ ๑๓ ผ้ปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตอ้ งให้บริการดว้ ยความจรงิ ใจและเสมอภาค โดยไมเ่ รียกรับ หรือยอมรบั ผลประโยชนจ์ ากการใช้ตาํ แหน่งหน้าท่ีโดยมชิ อบ หมวด ๔ จรรยาบรรณตอ่ ผ้รู ่วมประกอบวชิ าชพี ขอ้ ๑๔ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงช่วยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมัน่ ในระบบคณุ ธรรม สรา้ งความสามัคคใี นหมูค่ ณะ หมวด ๕ จรรยาบรรณต่อสงั คม ข้อ ๑๕ ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นําในการอนุรักษ์ และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ส่ิงแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ ของส่วนรวม และยดึ ม่ันในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ ประกาศ ณ วันท่ี ๑๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ศาสตราจารย์ไพฑูรย์ สนิ ลารัตน์ ประธานกรรมการคุรุสภา
11 เลม่ ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๔๖ ง หน้า ๑๖ ๑๔ มนี าคม ๒๕๕๗ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคุรสุ ภา เรอ่ื ง การรับรองปริญญาและประกาศนียบตั รทางการศกึ ษาเพื่อการประกอบวชิ าชพี พ.ศ. ๒๕๕๗ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๙ (๗) และมาตรา ๒๐ (๑) แห่งพระราชบัญญัติสภาครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกอบกับมติคณะกรรมการคุรุสภา ในการประชุม คร้ังที่ ๑๖/๒๕๕๖ วันท่ี ๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ คุรุสภาจึงกําหนดเกณฑ์การรับรองปริญญา และประกาศนยี บตั รทางการศึกษาเพอื่ การประกอบวชิ าชพี ไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ให้ยกเลิก (๑) ประกาศคุรุสภา เร่ือง การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพื่อ การประกอบวิชาชีพ (๒) ประกาศคุรุสภา เร่ือง การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพ่ือ การประกอบวชิ าชีพ (ฉบับที่ ๒) (๓) ประกาศคุรุสภา เร่ือง การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพ่ือ การประกอบวิชาชพี (ฉบับท่ี ๓) ข้อ ๒ นอกจากจะกาํ หนดไวเ้ ปน็ อย่างอื่น ในประกาศนี้ “เกณฑ์การรับรอง” หมายความว่า เกณฑ์การรับรองปริญญาตรี โท และเอกทางการศึกษา ประกาศนียบตั ร “ปริญญา” หมายความว่า ปริญญาตรี โท และเอกทางการศึกษา หรือที่เรียกชื่ออย่างอื่น ซึ่งกาํ หนดให้มีการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสูตรเป็นเวลาไม่น้อยกว่าหนึ่งปีในสาขาวิชาชีพครู และมีการปฏบิ ัติการวิชาชีพในสาขาบริหารการศกึ ษา “ประกาศนียบตั ร” หมายความวา่ ประกาศนยี บัตรบัณฑติ วชิ าชพี ครู หรือทีเ่ รยี กช่อื อยา่ งอ่นื “หลักสูตร” หมายความว่า หลักสูตรปริญญาตรี โท และเอกทางการศึกษา ประกาศนียบัตร บณั ฑติ วิชาชีพครู “สถาบัน” หมายความว่า มหาวิทยาลัย วิทยาลัย สถาบัน บัณฑิตวิทยาลัย คณะ หรือหน่วยงาน ที่เรยี กชอ่ื อย่างอ่ืนท่ีมีฐานะเทยี บเท่า ซ่ึงจดั การศกึ ษาตามหลกั สตู รปรญิ ญา หรือประกาศนียบัตร
12 เลม่ ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๔๖ ง หน้า ๑๗ ๑๔ มนี าคม ๒๕๕๗ ราชกจิ จานุเบกษา “การปฏิบัติการสอน” หมายความว่า การสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะหรือวิชาเอก ตามหลักสูตรปริญญาหรือประกาศนียบัตร เป็นเวลาไม่น้อยกว่าหน่ึงปีการศึกษาในสถานศึกษาท่ีมี คณุ สมบตั ิตามทคี่ ณะกรรมการกาํ หนด “คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการครุ ุสภา “คณะอนุกรรมการ” หมายความว่า คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการแต่งตั้งให้มีหน้าที่ ประเมินเพ่ือการรับรองปริญญา หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการศึกษา รวมท้ังพิจารณาเปรียบเทียบ มาตรฐาน องค์ประกอบและรายละเอียดอื่น ๆ ในกรณีที่สถาบันจัดการศึกษาที่ต่างไปจากมาตรฐาน ท่ีกําหนด “เลขาธิการ” หมายความว่า เลขาธิการครุ สุ ภา ข้อ ๓ การรับรองปริญญาหรือประกาศนียบตั ร พิจารณาจากมาตรฐาน ๓ ดา้ น ดังนี้ (๑) มาตรฐานหลกั สูตร (๒) มาตรฐานการผลติ (๓) มาตรฐานบัณฑติ องค์ประกอบของมาตรฐานและเกณฑ์การรับรองตามวรรคหนึ่ง การขอรับการรับรอง และ การติดตามผลการรับรองให้เป็นไปตามรายละเอยี ดแนบท้ายประกาศน้ี ข้อ ๔ หลักสูตรปริญญา หรือประกาศนียบัตรท่ีจะเสนอให้คุรุสภารับรอง ต้องเป็นหลักสูตร ทไี่ ดร้ ับความเห็นชอบหรือได้รับอนมุ ตั จิ ากสภาสถาบนั ข้อ ๕ สถานทเี่ ปดิ สอนหลักสตู รปรญิ ญาหรือประกาศนยี บัตรทางการศึกษาต้องได้รับความเห็นชอบ หรอื ไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากสภาสถาบัน ขอ้ ๖ ผู้สําเร็จการศึกษาท่ีได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตรที่คุรุสภาให้การรับรอง ซึ่งเป็นไป ตามเกณฑก์ ารรับรองในขอ้ ๓ ตอ้ งผา่ นการทดสอบ เพื่อขอรบั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพตามท่ีคุรสุ ภากําหนด ข้อ ๗ สถาบันที่ประสงค์จะขอรับการประเมินเพ่ือรับรองปริญญาหรือประกาศนียบัตร ให้ย่ืนคําขอเป็นหนังสือ พร้อมท้ังจัดส่งเอกสารตามแบบท่ีคุรุสภากําหนดต่อเลขาธิการก่อนเปิดสอน ไมน่ อ้ ยกว่า ๖๐ วัน ข้อ ๘ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพ่ือทําหน้าท่ีประเมินเพ่ือรับรอง ประกอบดว้ ย
13 เลม่ ๑๓๑ ตอนพิเศษ ๔๖ ง หนา้ ๑๘ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๗ ราชกจิ จานุเบกษา (๑) ประธานอนุกรรมการซ่ึงมีความรู้และประสบการณ์ด้านบริหารจัดการการศึกษาและ มาตรฐานวิชาชีพ โดยมีตําแหน่งทางวิชาการไม่ตํ่ากว่ารองศาสตราจารย์ หรือดํารงตําแหน่ง หรือ เคยดาํ รงตาํ แหน่งทางการบริหารในระดับอุดมศึกษาไมต่ ํ่ากวา่ คณบดีหรือเทยี บเทา่ (๒) อนุกรรมการ จํานวนไม่น้อยกว่าสี่คน ซ่ึงเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ หรือเป็นผู้มีความรู้ และประสบการณ์ดา้ นบริหารจัดการการศึกษา ดา้ นวิชาการ หรอื ด้านการนเิ ทศการศกึ ษา ในระดับอุดมศึกษา (๓) อนุกรรมการจากกรรมการคุรสุ ภา จํานวนไม่เกินสองคน ให้เลขาธกิ ารแต่งตง้ั พนักงานเจา้ หนา้ ทีค่ รุ ุสภาคนหนึ่งเป็นอนกุ รรมการและเลขานุการ ขอ้ ๙ คณะอนุกรรมการอาจขอข้อมูลเพิ่มเติม หรือให้สถาบันชี้แจงรายละเอียดเพ่ิมเติม ประกอบการพิจารณาด้วยก็ได้ โดยสถาบันจะต้องสง่ ข้อมูลเพิ่มเติมภายใน ๔๕ วนั ขอ้ ๑๐ เมื่อคณะอนุกรรมการประเมินมาตรฐานหลักสูตรและมาตรฐานการผลิตแล้วให้เสนอ คณะกรรมการพิจารณาต่อไปโดยเร็ว ข้อ ๑๑ เมื่อคณะกรรมการให้การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาแล้ว ใหเ้ ลขาธกิ ารจัดทาํ ประกาศครุ ุสภาและแจ้งใหส้ ถาบนั ทราบ ในกรณีท่ีคณะกรรมการเห็นว่า ผลการประเมินไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ให้เลขาธิการแจ้ง ให้สถาบันปรบั ปรงุ ให้เป็นไปตามเกณฑภ์ ายในระยะเวลาท่คี ณะกรรมการกําหนด ข้อ ๑๒ ในกรณีท่ีสถาบันเปลี่ยนแปลงรายละเอียดที่ได้รับการรับรองแล้ว ให้แจ้ง การเปล่ียนแปลงเป็นหนังสือต่อเลขาธิการ เพื่อดําเนินการประเมินตามท่ีมีการเปลี่ยนแปลง หรือในกรณี ที่คณะอนุกรรมการติดตามผลการรับรอง ให้นําความในข้อ ๗ ข้อ ๘ ข้อ ๙ ข้อ ๑๐ และข้อ ๑๑ มาใชบ้ งั คับโดยอนโุ ลม คณะกรรมการอาจเพิกถอนการรับรองตามข้อ ๑๑ หากผลการประเมินตามวรรคหนึ่งไม่เป็น ไปตามเกณฑท์ ่กี าํ หนด โดยจดั ทําประกาศครุ สุ ภาและแจง้ ให้สถาบันทราบ ข้อ ๑๓ การรับรองปริญญาหรือประกาศนียบัตรของแต่ละสถาบันไม่เกินคราวละห้าปี และสถาบนั ต้องขอรบั การประเมนิ ใหมก่ ่อนครบกําหนดไม่นอ้ ยกว่า ๖๐ วัน ข้อ ๑๔ การดําเนินงานรับรองปริญญาหรือประกาศนียบัตรของแต่ละสถาบันต้องให้แล้วเสร็จ ภายใน ๑๘๐ วนั ข้อ ๑๕ สถาบันจะต้องส่งข้อมูลหลังการรับรองตามที่คุรุสภากําหนด โดยคณะอนุกรรมการ จะไปติดตามผลเชิงประจกั ษ์ ไมน่ ้อยกว่าหลกั สตู รละ ๑ คร้งั
14 เล่ม ๑๓๑ ตอนพเิ ศษ ๔๖ ง หนา้ ๑๙ ๑๔ มนี าคม ๒๕๕๗ ราชกิจจานุเบกษา ข้อ ๑๖ ปริญญาและประกาศนียบัตรท่ีคุรุสภาให้การรับรอง เป็นคุณวุฒิที่ขอรับใบอนุญาต ประกอบวิชาชพี ได้ตามเกณฑ์ทคี่ ุรสุ ภากาํ หนด ให้สถาบันเสนอรายชื่อผู้ได้รับปริญญา หรือประกาศนียบัตรในแต่ละปีการศึกษาเพ่ือ ประกอบการขอรบั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพต่อเลขาธิการ ขอ้ ๑๗ หากสถาบันยังปรับปรุงหลักสูตรไม่แล้วเสร็จตามประกาศน้ี ให้ใช้เกณฑ์การรับรอง ตามประกาศคุรสุ ภา เร่ือง การรับรองปรญิ ญาและประกาศนียบตั รทางการศึกษาเพ่ือการประกอบวิชาชีพ (ประกาศ ณ วันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๙) ท้ังนี้ ต้องไม่เกินสามปีหลังจากวันที่ประกาศน้ี ใช้บังคับ ข้อ ๑๘ ในกรณีที่ไมเ่ ปน็ ไปตามประกาศขอ้ ใดข้อหนง่ึ ใหค้ ณะกรรมการพิจารณาเปน็ กรณี ๆ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ศาสตราจารย์ไพฑรู ย์ สินลารัตน์ ประธานกรรมการคุรุสภา
15 มาตรฐานและเกณฑ์การรับรอง การขอรับการรับรอง และการติดตามผลการรับรอง ปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษา รายละเอยี ดแนบท้ายประกาศคุรุสภา เร่ือง การรับรองปริญญา และประกาศนียบตั รทางการศึกษา เพอื่ การประกอบวชิ าชีพ พ.ศ.๒๕๕๗ ส่วนท่ี ๑ มาตรฐานและเกณฑ์การรับรอง ประกอบดว้ ย ๓ ตอน คือ (๑) มาตรฐานหลกั สูตร (๒) มาตรฐานการผลิต และ (๓) มาตรฐานบณั ฑิต ดงั น้ี ตอนท่ี ๑ : มาตรฐานหลกั สูตร มาตรฐานหลกั สูตร เกณฑ์การรับรอง ก. วชิ าชีพครู ๑. โครงสร้างของหลกั สูตร ๑. มาตรฐานหลกั สูตร ๑.๑ ปริญญาตรี (๕ ปี ) ๑.๑ โครงสร้างหลกั สูตรวิชาชีพครู (๑) จาํ นวนหน่วยกิตรวม ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๖๐ หน่วยกิต (หลกั สูตรปริญญาตรี ๕ ปี และ (๒) หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป ไม่นอ้ ยกวา่ ๓๐ หน่วยกิต ปริญญาตรีควบโท ๖ ปี ) (๓) หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒๔ หน่วยกิต (๑) มีจาํ นวนหน่วยกิตไม่นอ้ ยกวา่ (๓.๑) วชิ าชีพครู ไม่นอ้ ยกวา่ ๔๖ หน่วยกิต มาตรฐาน (รายวชิ า ไม่นอ้ ยกวา่ ๓๔ หน่วยกิต (๒) มีการกาํ หนดจาํ นวนหน่วยกิตท่ีให้ ปฏิบตั ิการสอน ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒ หน่วยกิต) เทียบโอนไดต้ ามเกณฑ์ สกอ. และ (๓.๒) วชิ าเอก ไม่นอ้ ยกวา่ ๗๘ หน่วยกิต ตอ้ งเป็นวชิ าที่เรียนมาแลว้ ไม่เกิน (ถา้ เป็นวชิ าเอกคู่ไม่นอ้ ยกวา่ วชิ าเอกละ๓๙ หน่วยกิต) ๕ ปี (๔) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หน่วยกิต (๓) มีการลงทะเบียนเรียนแต่ละภาค ๑.๒ ปริญญาตรีควบโท (๖ ปี ) การศึกษาตามเกณฑข์ อง สกอ. (๑) จาํ นวนหน่วยกิตรวม ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๘๐ หน่วยกิต (๔) มีการกาํ หนดใหก้ ารทาํ วทิ ยานิพนธ์ (๒) หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป ไม่นอ้ ยกวา่ ๓๐ หน่วยกิต (๓) หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๓๒ หน่วยกิต หรือสาระนิพนธ์ เป็นงานเดี่ยว และมีกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ (๓.๑) วิชาชีพครู ไม่นอ้ ยกวา่ ๔๖ หน่วยกิต ตามเกณฑ์ สกอ. (สาํ หรับหลกั สูตร (รายวชิ าไม่นอ้ ยกวา่ ๓๔ หน่วยกิต ปริญญาตรีควบโท ๖ ปี ) ปฏิบตั ิการสอนไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒ หน่วยกิต) (๓.๒) วชิ าเอก ไม่นอ้ ยกวา่ ๘๖ หน่วยกิต (ถา้ เป็นวชิ าเอกคูไ่ ม่นอ้ ยกวา่ วชิ าเอกละ๔๓ หน่วยกิต) (๔) หมวดวชิ าเลือกเสรี ไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หน่วยกิต (๕) วิทยานิพนธ์ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒ หน่วยกิต หรือสาระนิพนธ์ ๓ - ๖ หน่วยกิต
16 ๒ มาตรฐานหลกั สูตร เกณฑ์การรับรอง ๑.๓ ประกาศนียบตั รบณั ฑิต ๑.๒ โครงสร้างหลกั สูตรวิชาชีพครู (๑) จาํ นวนหน่วยกิตรวม ไม่นอ้ ยกวา่ ๓๓ หน่วยกิต (หลกั สูตรประกาศนียบตั รบณั ฑิต (๒) รายวชิ า ไม่นอ้ ยกวา่ ๒๗ หน่วยกิต ปริญญาโท ปริญญาโทควบเอก ๔ ปี (๓) ปฏิบตั ิการสอน ไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หน่วยกิต และปริญญาเอก) ๑.๔ ปริญญาโท (๒ ปี ) (๑) มีจาํ นวนหน่วยกิตไมน่ อ้ ยกวา่ (๑) จาํ นวนหน่วยกิตรวม ไม่นอ้ ยกวา่ ๔๕ หน่วยกิต มาตรฐาน (๒) รายวชิ า ไม่นอ้ ยกวา่ ๓๓ หน่วยกิต (๒) มีการกาํ หนดจาํ นวนหน่วยกิตที่ให้ (รายวิชาไมน่ อ้ ยกวา่ ๒๗ หน่วยกิต เทียบโอน ตามเกณฑ์ สกอ. และ ปฏิบตั ิการสอนไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หน่วยกิต) ตอ้ งเป็นวิชาท่ีเรียนมาแลว้ ไม่เกิน (๓) วิทยานิพนธ์ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒ หน่วยกิต ๕ ปี กรณีหลกั สูตร หรือสาระนิพนธ์ ๓ - ๖ หน่วยกิต ประกาศนียบตั รบณั ฑิตวชิ าชีพครู ๑.๕ ปริญญาโทควบเอก (๔ ปี ) เป็นหลกั สูตรเฉพาะ จะตอ้ งเรียนใหค้ รบ (๑) จาํ นวนหน่วยกิตรวม ไม่นอ้ ยกวา่ ๗๖ หน่วยกิต ตามท่ีกาํ หนด ไม่สามารถเทียบโอนได้ (๒) รายวิชา ไม่นอ้ ยกวา่ ๔๐ หน่วยกิต (๓) มีการลงทะเบียนเรียนในแต่ละ (รายวชิ าไมน่ อ้ ยกวา่ ๓๒ หน่วยกิต ภาคการศึกษาตามเกณฑข์ อง สกอ. ปฏิบตั ิการสอนไม่นอ้ ยกวา่ ๘ หน่วยกิต) (๔) มีการกาํ หนดใหท้ าํ วทิ ยานิพนธ์ (๓) วทิ ยานิพนธ์ ไม่นอ้ ยกวา่ ๓๖ หน่วยกิต หรือสาระนิพนธ์ เป็นงานเด่ียว ๑.๖ ปริญญาเอก (๓ ปี ) และมีกรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์ (๑) จาํ นวนหน่วยกิตรวม ไม่นอ้ ยกวา่ ๖๙ หน่วยกิต ตามเกณฑ์ สกอ. (๒) รายวิชา ไม่นอ้ ยกวา่ ๓๓ หน่วยกิต (รายวชิ าไม่นอ้ ยกวา่ ๒๗ หน่วยกิต ปฏิบตั ิการสอนไม่นอ้ ยกวา่ ๖ หน่วยกิต (๓) วิทยานิพนธ์ ไม่นอ้ ยกวา่ ๓๖ หน่วยกิต
17 ๓ มาตรฐานหลกั สูตร เกณฑ์การรับรอง ๒. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วชิ าชีพ ๑.๓ ความรู้วชิ าชีพครู ๒.๑ มาตรฐานความรู้ (๑) คาํ อธิบายรายวชิ าบงั คบั ในหลกั สูตร ๑) ความเป็นครู ประกอบดว้ ย มาตรฐาน ๒) ปรัชญาการศึกษา สาระความรู้ และสมรรถนะ ๓) ภาษาและวฒั นธรรม ในแต่ละมาตรฐานไม่นอ้ ยกวา่ ท่ี ๔) จิตวิทยาสาํ หรับครู คุรุสภากาํ หนด ๕) หลกั สูตร (๒) มีการวดั และประเมินผลรายวิชา ๖) การจดั การเรียนรู้และการจดั การช้นั เรียน อยา่ งเป็นระบบ ๗) การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการเรียนรู้ ๘) นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา ๙) การวดั และการประเมินผลการเรียนรู้ ๑๐) การประกนั คุณภาพการศึกษา ๑๑) คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ๒.๒ มาตรฐานประสบการณ์วชิ าชีพ ๑.๔ ประสบการณ์วิชาชีพครู ๑) การฝึกปฏิบตั ิวชิ าชีพระหวา่ งเรียน (๑) คาํ อธิบายรายวชิ าบงั คบั ในหลกั สูตร ๒) การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา ประกอบดว้ ย มาตรฐาน ในสาขาวิชาเฉพาะ สาระการฝึกทกั ษะ และสมรรถนะ ไม่นอ้ ยกวา่ ท่ีคุรุสภากาํ หนด (๒) มีแผนการจดั กิจกรรมเสริม ความเป็ นครูเป็ นกิจกรรมเสริ ม หลกั สูตรเป็นระยะๆ ตลอดหลกั สูตร เพม่ิ เติมจากกิจกรรมรายวิชา (๓) มีขอ้ กาํ หนดการปฏิบตั ิการสอน จะตอ้ งแบ่งเป็น ๒ ภาคการศึกษา มีหน่วยกิตรวมกนั ไม่นอ้ ยกวา่ มาตรฐาน และมีชว่ั โมงสอนใน วิชาเอกไมน่ อ้ ยกวา่ สปั ดาห์ละ ๘ ชว่ั โมง เป็นเวลาไม่นอ้ ยกวา่ ๑๕ สปั ดาห์ รวมไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒๐ ชวั่ โมง ต่อภาคการศึกษา มีเวลาเตรียมสอน ตรวจงาน และ
18 ๔ มาตรฐานหลกั สูตร เกณฑ์การรับรอง การปฏิบตั ิงานอื่นท่ีไดร้ ับมอบหมาย ไม่นอ้ ยกวา่ ภาคการศึกษาละ ๑๒๐ ชวั่ โมง (๔) มีการพบคณาจารยแ์ ละเขา้ ร่วม สมั มนาการศึกษากบั คณาจารยแ์ ละ เพื่อนนิสิตนกั ศึกษา โดยการใชส้ ่ือ และ/หรือ Face to face ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๕ ชว่ั โมง ต่อภาคการศึกษา (๕) มีการวดั และประเมินผลการ ฝึกปฏิบตั ิวชิ าชีพระหวา่ งเรียน และการปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา อยา่ งเป็นระบบ ๓. การพฒั นาหลกั สูตร ๑.๕ การพฒั นาหลกั สูตรวชิ าชีพครู ๓.๑ กระบวนการพฒั นาหลกั สูตร (๑) มีคาํ สงั่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการพฒั นา (๑) มีคณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร หลกั สูตรสอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน (๒) มีองคป์ ระกอบของคณะกรรมการที่มาจาก (๒) มีเอกสารรายงานการวิพากษห์ ลกั สูตร ผเู้ กี่ยวขอ้ งดา้ นวชิ าชีพครูและวิชาเน้ือหา และการนาํ ผลไปใชป้ รับปรุงแกไ้ ข (๓) มีการวิพากษห์ ลกั สูตรจากผทู้ รงคุณวฒุ ิภายนอก หลกั สูตร และบุคคลที่เก่ียวขอ้ ง (๓) มีเอกสารระบุนโยบายและ ๓.๒ คุณสมบตั ิของคณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร แผนงานการปรับปรุงหลกั สูตร (๑) มีคุณวฒุ ิตรงตามสาขา และวิชาเอก (๒) มีประสบการณ์ที่เก่ียวขอ้ ง ๓.๓ การพฒั นาหรือการปรับปรุงหลกั สูตร (๑) มีนโยบายในการพฒั นาหรือการปรับปรุงหลกั สูตร (๒) มีแผนงานที่ชดั เจนในการพฒั นาหรือการ ปรับปรุงหลกั สูตร
19 ๕ มาตรฐานหลกั สูตร เกณฑ์การรับรอง ข. วชิ าชีพผ้บู ริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา ๑. โครงสร้างของหลกั สูตร ๑.๖ โครงสร้างหลกั สูตรวชิ าชีพผบู้ ริหาร ๑.๑ ประกาศนียบตั รบณั ฑิต สถานศึกษาและผบู้ ริหารการศึกษา (๑) จาํ นวนหน่วยกิตรวม ไม่นอ้ ยกวา่ ๓๐ หน่วยกิต (๑) มีจาํ นวนหน่วยกิตไม่นอ้ ยกวา่ มาตรฐาน (๒) รายวิชา ไม่นอ้ ยกวา่ ๒๗ หน่วยกิต (๒) มีการกาํ หนดจาํ นวนหน่วยกิต (๓) ปฏิบตั ิการวชิ าชีพบริหารการศึกษา ท่ีใหเ้ ทียบโอนได้ ตามเกณฑ์ สกอ. ไม่นอ้ ยกวา่ ๓ หน่วยกิต โดยตอ้ งเป็นวชิ าท่ีเรียนมาแลว้ ไม่เกิน๕ปี ๑.๒ ปริญญาโท (๒ ปี ) (๓) มีการลงทะเบียนเรียนในแต่ละ (๑) จาํ นวนหน่วยกิตรวม ไม่นอ้ ยกวา่ ๔๒ หน่วยกิต ภาคการศึกษาตามเกณฑ์ สกอ. (๒) รายวชิ า ไม่นอ้ ยกวา่ ๓๐ หน่วยกิต (๔) มีการกาํ หนดใหท้ าํ วทิ ยานิพนธ์ (มีวิชาปฏิบตั ิการวชิ าชีพบริหารการศึกษา หรือสาระนิพนธ์ เป็นงานเดี่ยว และ ไม่นอ้ ยกวา่ ๓ หน่วยกิต) มีกรรมการสอบวทิ ยานิพนธต์ ามเกณฑ์สกอ. (๓) วิทยานิพนธ์ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒ หน่วยกิต หรือสาระนิพนธ์ ๓ - ๖ หน่วยกิต ๑.๓ ปริญญาโทควบเอก (๔ ปี ) (๑) จาํ นวนหน่วยกิตรวม ไม่นอ้ ยกวา่ ๖๙ หน่วยกิต (๒) รายวชิ า ไม่นอ้ ยกวา่ ๓๓ หน่วยกิต (มีวิชาปฏิบตั ิการวชิ าชีพบริหารการศึกษา ไม่นอ้ ยกวา่ ๓ หน่วยกิต) (๓) วิทยานิพนธ์ ไม่นอ้ ยกวา่ ๓๖ หน่วยกิต ๑.๔ ปริญญาเอก (๑) จาํ นวนหน่วยกิตรวม ไม่นอ้ ยกวา่ ๖๐ หน่วยกิต (๒) รายวิชา ไม่นอ้ ยกวา่ ๒๔ หน่วยกิต (มีวชิ าปฏิบตั ิการวชิ าชีพบริหารการศึกษา ไม่นอ้ ยกวา่ ๓ หน่วยกิต) (๓) วิทยานิพนธ์ ไม่นอ้ ยกว่า ๓๖ หน่วยกิต ๒. มาตรฐานความรู้และปฏบิ ตั กิ ารวชิ าชีพบริหารการศึกษา ๒.๑ มาตรฐานความรู้ ๑.๗ ความรู้วชิ าชีพผบู้ ริหารสถานศึกษาและ ๒.๑.๑ มาตรฐานความรู้ผบู้ ริหารสถานศึกษา ผบู้ ริหารการศึกษา ๑) การพฒั นาวิชาชีพ (๑) คาํ อธิบายรายวิชาบงั คบั ในหลกั สูตร ๒) ความเป็นผนู้ าํ ทางวชิ าการ ประกอบดว้ ย มาตรฐาน ๓) การบริหารสถานศึกษา สาระความรู้ และสมรรถนะ
๖ 20 มาตรฐานหลกั สูตร ๔) หลกั สูตร การสอน การวดั และประเมินผล เกณฑ์การรับรอง การเรียนรู้ ในแต่ละมาตรฐานไม่นอ้ ยกวา่ ที่ ๕) กิจการและกิจกรรมนกั เรียน คุรุสภากาํ หนด ๖) การประกนั คุณภาพการศึกษา (๒) มีการวดั และประเมินผลรายวิชา ๗) คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ อยา่ งเป็นระบบ ๒.๑.๒ มาตรฐานความรู้ผบู้ ริหารการศึกษา ๑.๘ ปฏิบตั ิการวชิ าชีพผบู้ ริหารสถานศึกษาและ ๑) การพฒั นาวชิ าชีพ ผบู้ ริหารการศึกษา ๒) ความเป็นผนู้ าํ ทางวิชาการ (๑) คาํ อธิบายรายวิชาบงั คบั ในหลกั สูตร ๓) การบริหารการศึกษา ประกอบดว้ ย มาตรฐาน ๔) การส่งเสริมคุณภาพการศึกษา สาระความรู้ และสมรรถนะ ๕) การประกนั คุณภาพการศึกษา ในแต่ละมาตรฐานไม่นอ้ ยกวา่ ท่ี ๖) คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ คุรุสภากาํ หนด (๒) มีแผนการจดั กิจกรรมเสริมความเป็น ๒.๒ ปฏิบตั ิการวชิ าชีพบริหารการศึกษา ผบู้ ริหารสถานศึกษา และผบู้ ริหาร การฝึกปฏิบตั ิการบริหารสถานศึกษาและปฏิบตั ิการ การศึกษาเป็นระยะ ๆ ตลอดหลกั สูตร (๓) มีการกาํ หนดการฝึกปฏิบตั ิการบริหาร บริหารการศึกษาระหวา่ งเรียนตามหลกั สูตรท่ีคุรุสภารับรอง สถานศึกษาและการบริหารการศึกษา ไม่นอ้ ยกวา่ ๓ หน่วยกิต และมีชว่ั โมง ปฏิบตั ิไม่นอ้ ยกวา่ ๙๐ ชว่ั โมง (๑๕ x ๖ ชวั่ โมง) ประกอบดว้ ย การฝึกการบริหารสถานศึกษา ร้อยละ๕๐ และฝึกการบริหารการศึกษา ร้อยละ๕๐
21 ๗ มาตรฐานหลกั สูตร เกณฑ์การรับรอง ๓. การพฒั นาหลกั สูตร ๑.๙ การพฒั นาหลกั สูตรวชิ าชีพผบู้ ริหาร ๓.๑ กระบวนการพฒั นาหลกั สูตร สถานศึกษาและผบู้ ริหารการศึกษา (๑) มีคณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร (๑) มีคาํ สงั่ แต่งต้งั คณะกรรมการพฒั นา (๒) มีองคป์ ระกอบของคณะกรรมการท่ีมาจาก หลกั สูตรสอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ผเู้ กี่ยวขอ้ งดา้ นวชิ าชีพครูและวชิ าเน้ือหา (๒) มีเอกสารรายงานการวิพากษห์ ลกั สูตร (๓) มีการวิพากษห์ ลกั สูตรจากผทู้ รงคุณวฒุ ิภายนอก และการนาํ ผลไปใชป้ รับปรุงแกไ้ ข และบุคคลท่ีเก่ียวขอ้ ง หลกั สูตร ๓.๒ คุณสมบตั ิของคณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร (๓) มีเอกสารระบุนโยบายและแผนงาน (๑) มีคุณวฒุ ิตรงตามสาขา และวชิ าเอก การปรับปรุงหลกั สูตร (๒) มีประสบการณ์ที่เก่ียวขอ้ ง ๓.๓ การพฒั นาหรือการปรับปรุงหลกั สูตร (๑) มีนโยบายในการพฒั นาหรือการปรับปรุงหลกั สูตร (๒) มีแผนงานที่ชดั เจนในการพฒั นาหรือการปรับปรุง หลกั สูตร ตอนที่ ๒ : มาตรฐานการผลิต มาตรฐานการผลติ เกณฑ์การรับรอง ๒. มาตรฐานการผลติ ๑. กระบวนการคดั เลอื กนิสิตนักศึกษา ๒.๑ กระบวนการคดั เลือกนิสิตนกั ศึกษา (๑) มีการกาํ หนดคุณสมบตั ิและเกณฑก์ ารคดั เลือกนิสิต (๑) มีประกาศกาํ หนดคุณสมบตั ิและ นกั ศึกษา ท่ีเนน้ การสรรหาผทู้ ่ีมีความรู้ความสามารถสูง เกณฑก์ ารคดั เลือกนิสิตนกั ศึกษา เขา้ ศึกษา ไม่นอ้ ยกวา่ มาตรฐาน (๒) มีการคดั เลือกหรือสอบคดั เลือก โดยการสอบขอ้ เขียน (๒) มีการใชเ้ คร่ืองมือในการประเมิน และ/หรือการสอบสมั ภาษณ์อยา่ งเป็นระบบ ผสู้ มคั ร ประกอบการคดั เลือกนิสิต นกั ศึกษา เช่น ขอ้ สอบวดั หรือประเมิน ความรู้พ้นื ฐาน ขอ้ สอบวดั แววความเป็นครู ๒. จาํ นวนนิสิตนักศึกษา ๒.๒ จาํ นวนนิสิตนกั ศึกษา (๑) มีการรับนิสิตนกั ศึกษาตามแผนการรับท่ีกาํ หนดไวใ้ น (๑) ขอ้ มูลการรับนิสิตนกั ศึกษา และ หลกั สูตร และแผนความตอ้ งการกาํ ลงั คนในวชิ าชีพใน แผนการรับนิสิตนกั ศึกษาตามที่กาํ หนด ระยะยาว ในเล่มหลกั สูตร (๒) มีการรับนิสิตนกั ศึกษาสอดคลอ้ งกบั จาํ นวนคณาจารย์ (๒) ขอ้ มูลสดั ส่วนคณาจารยต์ ่อนิสิต นกั ศึกษา ๑:๓๐ (อาจารย์ : นกั ศึกษา)
22 ๘ มาตรฐานการผลติ เกณฑ์การรับรอง (๓) หน่ึงหอ้ งเรียนมีนิสิตนกั ศึกษา ไม่เกิน ๓๐ คน ๓. คณาจารย์ ๒.๓ คณาจารย์ (๑) คณาจารยป์ ระจาํ หลกั สูตรมีจาํ นวนและคุณวฒุ ิตาม (๑) มีขอ้ มูลการแต่งต้งั คณาจารยป์ ระจาํ เกณฑข์ องสาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หลกั สูตรไม่นอ้ ยกวา่ มาตรฐาน (๒) มีการแต่งต้งั คณาจารยท์ ่ีปรึกษาสาํ หรับนิสิตนกั ศึกษา (๒) มีขอ้ มลู การแต่งต้งั คณาจารยท์ ี่ปรึกษา โดยมีการกาํ หนดหนา้ ท่ีอยา่ งชดั เจน ไม่นอ้ ยกวา่ มาตรฐาน (๓) คณาจารยผ์ สู้ อนรายวชิ าชีพครูมีคุณวฒุ ิไม่ต่าํ กวา่ (๓) มีขอ้ มูลการแต่งต้งั คณาจารยผ์ สู้ อน ปริญญาโท หรือดาํ รงตาํ แหน่งทางวิชาการไม่ต่าํ กวา่ ไม่นอ้ ยกวา่ มาตรฐาน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ หรือมีความเชี่ยวชาญในสาขาวชิ า (๔) มีขอ้ มลู การแต่งต้งั คณาจารยน์ ิเทศก์ ท่ีสอนโดยมีประสบการณ์ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๐ ปี ไม่นอ้ ยกวา่ มาตรฐาน (๔) คณาจารยผ์ สู้ อนมีจาํ นวนและคุณวฒุ ิตามเกณฑข์ อง สาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (๕) คณาจารยน์ ิเทศกม์ ีคุณวฒุ ิไม่ต่าํ กวา่ ปริญญาโท (กรณี หลกั สูตร ป.ตรี) และไม่ต่าํ กวา่ ป.เอก (ในกรณีหลกั สูตร ป.โท/เอก) ในสาขาวชิ าที่จะนิเทศ หรือมีประสบการณ์ ในการนิเทศมาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ ๒ ปี ในกรณีท่ีมี ประสบการณ์ไม่ไดต้ ามมาตรฐาน ใหใ้ ชก้ ารนิเทศ ร่วมกบั ผทู้ ่ีมีประสบการณ์ตามมาตรฐาน (๖) คณาจารยน์ ิเทศกม์ ีจาํ นวนที่เหมาะสม ท้งั น้ี ไม่เกิน ๑ : ๑๐ (๗) ผคู้ วบคุมและผสู้ อบวิทยานิพนธ์มีจาํ นวนและคุณวฒุ ิ ตามเกณฑข์ องสาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (๘) ครูพเี่ ล้ียง และผบู้ ริหารพเี่ ล้ียง มีคุณวฒุ ิและมีประสบการณ์ ตรงกบั การปฏิบตั ิการสอน หรือการบริหาร ๔. ทรัพยากรการเรียนรู้ ๒.๔ ทรัพยากรการเรียนรู้ ๔.๑ หอ้ งเรียน มีขอ้ มลู ทรัพยากรการเรียนรู้ไม่นอ้ ยกวา่ (๑) มีสภาพหอ้ งเรียนท่ีเหมาะสม เพยี งพอกบั การจดั การเรียน มาตรฐาน การสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั (๒) มีวสั ดุ อุปกรณ์ และสื่อการเรียนรู้ในปริมาณท่ีเหมาะสม กบั จาํ นวนผเู้ รียน
23 ๙ มาตรฐานการผลติ เกณฑ์การรับรอง ๔.๒ หอ้ งปฏิบตั ิการ (๑) มีหอ้ งปฏิบตั ิการท่ีเหมาะสมกบั สาขาวชิ าหรือวชิ าเอก ท่ีเปิ ดสอน เช่น หอ้ งปฏิบตั ิการเทคโนโลยสี ารสนเทศ หอ้ งปฏิบตั ิการสอนแบบจุลภาค และหอ้ งปฏิบตั ิการ ส่ือการสอน ฯลฯ (๒) มีวสั ดุ อปุ กรณ์ และสื่อการเรียนรู้ในปริมาณที่เหมาะสม กบั จาํ นวนผเู้ รียน (๓) มีการใชห้ อ้ งปฏิบตั ิการสาํ หรับการฝึกเพม่ิ เติม นอกเหนือจากการจดั การเรียนการสอนปกติ ๔.๓ หอ้ งสมดุ (๑) มีหนงั สือ ตาํ รา วารสาร และเอกสารทางวชิ าการ ในสาขาวชิ าที่เปิ ดสอนที่เหมาะสมกบั จาํ นวนผเู้ รียน (๒) มีบริการสืบคน้ โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งเพยี งพอ (๓) มีวสั ดุ อปุ กรณ์ และส่ือการเรียนรู้ในปริมาณ ท่ีเหมาะสมกบั จาํ นวนผเู้ รียน ๔.๔ ส่ิงแวดลอ้ ม มีการจดั ส่ิงแวดลอ้ มเพ่ือเสริมสร้างคุณลกั ษณะบณั ฑิต ที่พงึ ประสงคต์ ามมาตรฐานบณั ฑิต ๕. การบริหารหลกั สูตรและการเรียนการสอน ๕.๑ การบริหารหลกั สูตร ๒.๕ การบริหารหลกั สูตร (๑) มีคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร (๑) มีคาํ สง่ั แต่งต้งั คณะกรรมการบริหาร (๑.๑) องคป์ ระกอบครอบคลุมบุคคลท่ีเก่ียวขอ้ ง หลกั สูตรและมีการกาํ หนดหนา้ ท่ี (๑.๒) มีคุณวฒุ ิตรงกบั หลกั สูตรที่รับผดิ ชอบ ไม่นอ้ ยกวา่ มาตรฐาน (๒) มีการกาํ หนดหนา้ ท่ีของคณะกรรมการอยา่ งชดั เจน ไดแ้ ก่ (๒) มีแผนการประเมินและพฒั นา (๒.๑) การวางแผนการจดั การเรียนรู้ตลอดหลกั สูตร คณาจารย์ (๒.๒) การประเมินการเรียนรู้ (๒.๓) การพฒั นาหรือปรับปรุงหลกั สูตร (๒.๔) การกาํ หนดกิจกรรมเสริมหลกั สูตร (๒.๕) การรายงานผลการปฏิบตั ิงาน (๓) มีการประเมินและพฒั นาคณาจารยอ์ ยา่ งเป็นระบบ
24 ๑๐ มาตรฐานการผลติ เกณฑ์การรับรอง ๕.๒ การบริหารการเรียนการสอน ๒.๖ การบริหารการเรียนการสอน (๑) มีการจดั ทาํ ประมวลรายวชิ า หรือรายละเอียดรายวิชา (๑) มีเอกสารประมวลรายวชิ า หรือ ตามมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อดุ มศึกษา รายละเอียดรายวิชาไมน่ อ้ ยกวา่ (๒) มีการจดั การเรียนการสอนตามขอ้ บงั คบั ระเบียบ มาตรฐาน หรือประกาศ ที่สถาบนั กาํ หนด (๒) มีการระบุการนาํ ผลการประเมิน (๓) มีการจดั การเรียนการสอนครบตามคาํ อธิบายรายวชิ า การสอนไปใชใ้ นการปรับปรุงการเรียน รายละเอียดรายวิชา จาํ นวนหน่วยกิต และจาํ นวน การสอนในประมวลรายวชิ าหรือ ชว่ั โมง ตามที่หลกั สูตรกาํ หนด รายละเอียดรายวชิ า (๔) มีการนาํ ผลการประเมินการสอนไปใชใ้ นการปรับปรุง ประมวลรายวชิ า หรือรายละเอียดรายวชิ าอยา่ งต่อเนื่อง ๕.๓ การจดั การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา การฝึกปฏิบตั ิ ๒.๗ การจดั การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา การบริหารสถานศึกษา การบริหารการศึกษา การฝึกปฏิบตั ิการบริหารสถานศึกษา (๑) สถานศึกษาหรือหน่วยงานที่รับนิสิตนกั ศึกษาตอ้ งมี การบริหารการศึกษา และการนิเทศการศึกษา คุณสมบตั ิตามเกณฑท์ ี่คุรุสภากาํ หนด (๑)มีรายชื่อโรงเรียนสาํ หรับปฏิบตั ิการสอน (๒) สถานศึกษาหรือหน่วยงานมีการจดั ครูพเี่ ล้ียง และ การฝึกปฏิบตั ิการบริหารสถานศึกษา ผบู้ ริหารพี่เล้ียง ที่มีคุณสมบตั ิ และประสบการณ์ตามที่ การบริหารการศึกษา และการนิเทศ คุรุสภากาํ หนด การศึกษา ไม่นอ้ ยกวา่ มาตรฐาน (๓) มีการจดั หรือแต่งต้งั คณาจารยน์ ิเทศกต์ ามที่คุรุสภา (๒) มีรายช่ือครูพ่เี ล้ียง ผบู้ ริหารพเี่ ล้ียง กาํ หนด และคณาจารยน์ ิเทศกไ์ มน่ อ้ ยกวา่ มาตรฐาน ๕.๔ การจดั กิจกรรมเสริมความเป็นครู เสริมความเป็น ๒.๘ การจดั กิจกรรมเสริมความเป็นครู ผบู้ ริหารสถานศึกษา และผบู้ ริหารการศึกษา เสริมความเป็นผบู้ ริหารสถานศึกษา (๑) มีคณะกรรมการบริหารกิจกรรม และผบู้ ริหารการศึกษา (๒) มีโครงการตลอดหลกั สูตร โดยจดั เป็นระยะอยา่ ง (๑) มีคาํ สง่ั แตง่ ต้งั คณะกรรมการบริหาร ต่อเนื่อง กิจกรรมไม่นอ้ ยกวา่ มาตรฐาน (๓) มีการกาํ หนดเกณฑข์ ้นั ต่าํ ของการเขา้ ร่วมกิจกรรม (๒) มีแผนการจดั กิจกรรมตลอดหลกั สูตร (๔) มีการประเมินผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมอยา่ งเป็นระบบ (๓) มีคูม่ ือการประเมินผลและสมุดบนั ทึก (๕) มีสมุดบนั ทึก หรือระเบียนรายงานผลการเขา้ ร่วมกิจกรรม หรือระเบียนรายงานผลตามมาตรฐาน และใชใ้ นการพิจารณาอนุมตั ิการสาํ เร็จการศึกษา ควบคูก่ บั ระเบียนผลการเรียนรายวิชา
25 ๑๑ มาตรฐานการผลติ เกณฑ์การรับรอง ๖. การประกนั คุณภาพการศึกษา ๒.๙ การประกนั คุณภาพการศึกษา ๖.๑ มีคณะกรรมการรับผดิ ชอบการประกนั (๑) มีคาํ สงั่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการ คุณภาพการศึกษา (๒) มีเอกสารระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา (๓) มีแผนการดาํ เนินงานประกนั คุณภาพ ๖.๒ มีระบบและแผนการดาํ เนินงาน การประกนั คุณภาพการศึกษา การศึกษา (๔) มีรายงานการประกนั คุณภาพการศึกษา ๖.๓ มีรายงานการประกนั คุณภาพการศึกษา ตอนท่ี ๓ : มาตรฐานบณั ฑิต เกณฑ์การรับรอง ๓. มาตรฐานบณั ฑติ มาตรฐานบัณฑิต ๓.๑ เรียนครบตามหลกั สูตรท่ีไดร้ ับการรับรองจากคุรุสภา ๓.๒ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินของสถาบนั การผลิต ๑. ความรู้ ๓.๓ วชิ าชีพครู ๒. การปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา และ ๑) มีการปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษาที่มี การปฏิบตั ิการวชิ าชีพบริหารสถานศึกษา / คุณสมบตั ิตามท่ีคณะกรรมการคุรุสภากาํ หนด บริหารการศึกษา ไม่นอ้ ยกวา่ ๑ ปี ๒) มีรายงานผลการผา่ นเกณฑก์ ารประเมินการ ปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษาตามมาตรฐาน ประสบการณ์วิชาชีพครูที่คุรุสภากาํ หนด ไดแ้ ก่ ๒.๑) สามารถจดั การเรียนรู้ในสาขาวชิ าเฉพาะ ๒.๒) สามารถประเมิน ปรับปรุง และ พฒั นาการจดั การเรียนรู้ใหเ้ หมาะสม กบั ศกั ยภาพของผเู้ รียน ๒.๓) สามารถทาํ วจิ ยั ในช้นั เรียนเพือ่ พฒั นา ผเู้ รียน ๒.๔) สามารถจดั ทาํ รายงานผลการจดั การเรียนรู้ และพฒั นาผเู้ รียน ๓.๔ วิชาชีพผบู้ ริหารสถานศึกษา / ผบู้ ริหารการศึกษา ๑) มีการปฏิบตั ิการวิชาชีพบริหารสถานศึกษา / บริหารการศึกษา ในหน่วยงานที่มีคุณสมบตั ิ ตามท่ีคณะกรรมการคุรุสภากาํ หนด ไม่นอ้ ยกวา่ ๙๐ ชวั่ โมง
มาตรฐานบัณฑติ 26 ๓. การปฏิบตั ิตน ๑๒ ๔. การพฒั นาคุณลกั ษณะความเป็นครู / เกณฑ์การรับรอง ความเป็นผนู้ าํ ๒) มีรายงานผลการผา่ นเกณฑก์ ารประเมินการปฏิบตั ิการ วิชาชีพบริหารสถานศึกษา/บริหารการศึกษา ๓.๕ มีการปฏิบตั ิตนท่ีเหมาะสมกบั ความเป็นครูและ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา โดยมีผลการ รับรองความประพฤติจากสถาบนั การผลิต ๓.๖ วชิ าชีพครู ๑) เขา้ ร่วมกิจกรรมการพฒั นาคุณลกั ษณะ ความเป็นครู ปี ละไม่นอ้ ยกวา่ ๑ กิจกรรม ไดแ้ ก่ ๑.๑) การปฏิบตั ิธรรม หรือกิจกรรมอาสา ๑.๒) กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณของวชิ าชีพ ๓.๗ วิชาชีพผบู้ ริหารสถานศึกษา / ผบู้ ริหารการศึกษา ๑) เขา้ ร่วมกิจกรรมการพฒั นาคุณลกั ษณะ ความเป็นผนู้ าํ ปี ละไม่นอ้ ยกวา่ ๑ กิจกรรม ไดแ้ ก่ ๑.๑) กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณของวิชาชีพ ๑.๒) กิจกรรมประชุมสมั มนาทางวิชาการ บริหารการศึกษา / นิเทศการศึกษา ๓.๘ มีหลกั ฐานที่แสดงการเขา้ ร่วมกิจกรรมครบ ตามเกณฑท์ ี่กาํ หนด และผา่ นการประเมินจาก สถาบนั การผลิต ส่วนท่ี ๒ การขอรับการรับรอง ๒.๑ ระยะเวลาการขอรับการรับรอง สถาบนั อุดมศึกษา ที่ประสงคจ์ ะเปิ ดสอนหลกั สูตรใดหลกั สูตรหน่ึงท่ีผสู้ าํ เร็จการศึกษาสามารถ ขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา จะตอ้ งยนื่ ขอรับการรับรองปริญญาหรือประกาศนียบตั รตาม เกณฑก์ ารรับรองน้ี ก่อนเปิ ดรับนิสิตนกั ศึกษาไม่นอ้ ยกวา่ ๖๐ วนั ท้งั น้ีจะตอ้ งเป็นหลกั สูตรท่ีไดร้ ับอนุมตั ิ จากสภาสถาบนั แลว้
27 ๑๓ ๒.๒ สถานท่ีเปิ ดสอนและแผนการรับนิสิตนกั ศึกษา สถาบนั อุดมศึกษา จะตอ้ งระบุสถานที่เปิ ดสอนและจาํ นวนนิสิตนกั ศึกษาท่ีจะรับจาํ แนกเป็นปี การศึกษา หากมีการเปิ ดสอนนอกที่ต้งั จะตอ้ งแนบหลกั ฐานการรับทราบจากสาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยหลกั เกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไข ใหเ้ ป็นไปตามท่ีสาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาํ หนด ๒.๓ เอกสารขอรับการรับรอง สถาบนั อุดมศึกษา จะตอ้ งส่งขอ้ มลู ตามมาตรฐานและเกณฑก์ ารรับรองอยา่ งครบถว้ นทุกรายการ ตามแบบฟอร์มท่ีคุรุสภากาํ หนดพร้อมกบั การขอรับการรับรอง เมื่อเจา้ หนา้ ท่ีตรวจสอบแลว้ ขอเอกสารเพมิ่ เติม ขอใหส้ ่งเอกสารเพ่ิมเติมภายใน ๑๕ วนั นบั ต้งั แต่วนั ท่ีมีการลงนามรับทางไปรษณีย์ ๒.๔ การตรวจสอบเชิงประจกั ษ์ คุรุสภาจะส่งคณะอนุกรรมการ ฯ ไปตรวจสอบขอ้ มลู เชิงประจกั ษ์ ภายใน ๓๐ วนั นบั ต้งั แต่วนั ที่ ไดร้ ับเอกสารขอ้ มลู ครบถว้ น ก่อนสรุปผลการประเมินเสนอคณะกรรมการคุรุสภาใหก้ ารรับรอง ส่วนที่ ๓ การติดตามผลการรับรอง ๓.๑ การส่งขอ้ มลู หลงั การรับรอง สถาบนั อุดมศึกษาจะตอ้ งส่งขอ้ มูลการเปิ ดสอนตามหลกั สูตรใหค้ ุรุสภาปี ละ ๑ คร้ัง ภายในสิ้นเดือน พฤษภาคม ตามแบบฟอร์มท่ีคุรุสภากาํ หนด ๓.๒ การติดตามผลเชิงประจกั ษ์ คุรุสภาจะส่งคณะอนุกรรมการ ฯ ไปติดตามผลเชิงประจกั ษ์ หลกั สูตรละไม่นอ้ ยกวา่ ๑ คร้ัง โดยจะ มีการขอพบนิสิตนกั ศึกษา คณาจารย์ พเี่ ล้ียง และผบู้ ริหารสถานศึกษาท่ีนิสิตนกั ศึกษาไปปฏิบตั ิการสอน ปฏิบตั ิการบริหารสถานศึกษา และการบริหารการศึกษา หรือนิเทศการศึกษา โดยสถาบนั อุดมศึกษาจะตอ้ ง เตรียมเอกสารขอ้ มูลใหค้ ณะอนุกรรมการตรวจสอบตามแบบฟอร์ม และรายละเอียดท่ีคุรุสภากาํ หนด เพอื่ พจิ ารณาการขยายเวลาการรับรอง พกั การรับรอง หรือยตุ ิการรับรอง
28 เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๕๖ ง หน้า ๔๓ ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ือง สาระความรู้ สมรรถนะและประสบการณว์ ชิ าชพี ของผู้ประกอบวิชาชพี ครู ผู้บริหารสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ ารการศึกษา และศกึ ษานเิ ทศก์ ตามข้อบังคบั คุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ อาศัยอํานาจตามความในข้อ ๕ และข้อ ๑๐ แห่งข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกอบกับมติคณะกรรมการคุรุสภา ในการประชุมครั้งท่ี ๕/๒๕๕๖ วันท่ี ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖ จึงมีมติให้ยกเลิกประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง สาระความรู้และสมรรถนะ ของผู้ประกอบวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาตามมาตรฐานความรู้และ ประสบการณ์วชิ าชพี ลงวันท่ี ๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๙ ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง มาตรฐาน ความรู้ มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ สาระความรู้ สมรรถนะ และมาตรฐานการปฏิบัติงานของ ผปู้ ระกอบวิชาชพี ศึกษานเิ ทศก์ ลงวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๔๙ และประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณว์ ชิ าชพี สาระความรู้ สมรรถนะ และมาตรฐานการปฏิบัติงาน ของผปู้ ระกอบวิชาชีพศึกษานเิ ทศก์ (ฉบับที่ ๒) ลงวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๕๓ คณะกรรมการคุรุสภา จึงออกประกาศคณะกรรมการคุรุสภากําหนดสาระความรู้ สมรรถนะและประสบการณ์ของผู้ประกอบ วิชาชพี ทางการศกึ ษา ดังต่อไปนี้ หมวด ๑ ผปู้ ระกอบวิชาชพี ครู สาระความร้แู ละสมรรถนะของผูป้ ระกอบวิชาชพี ครูตามมาตรฐานความรู้ ๑. ความเป็นครู ประกอบด้วย (ก) สาระความรู้ (๑) สภาพงานครู คณุ ลักษณะ และมาตรฐานวิชาชพี ครู (๒) การปลูกฝงั จติ วิญญาณความเปน็ ครู (๓) กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับครูและวิชาชีพครู (๔) การจัดการความรเู้ กี่ยวกับวิชาชีพครู (๕) การสร้างความกา้ วหน้าและพัฒนาวชิ าชีพครูอยา่ งต่อเนอื่ ง (ข) สมรรถนะ (๑) รอบรู้ในเนื้อหาวิชาท่ีสอนและกลยุทธ์การสอน เพ่ือให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ สร้างสรรค์สงิ่ ใหม่ ๆ ได้ (๒) แสวงหาและเลือกใช้ขอ้ มูลขา่ วสารความร้เู พ่อื ใหท้ นั ต่อการเปลี่ยนแปลง
29 เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๕๖ ง หน้า ๔๔ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกิจจานเุ บกษา (๓) ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งครูกับผูเ้ รียนท่ีสง่ เสริมการพัฒนาศักยภาพผู้เรยี น (๔) มีจติ วญิ ญาณความเปน็ ครู ๒. ปรชั ญาการศึกษา ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) ปรชั ญา แนวคิด และทฤษฎีทางการศกึ ษา ศาสนา เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม (๒) แนวคิด และกลวิธีการจดั การศึกษา เพื่อเสรมิ สร้างการพัฒนาที่ยง่ั ยนื (ข) สมรรถนะ (๑) ประยุกตใ์ ช้เพ่อื พฒั นาสถานศึกษา (๒) วิเคราะห์เกยี่ วกบั การศกึ ษาเพอ่ื การพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ๓. ภาษาและวฒั นธรรม ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพื่อการเปน็ ครู (๒) ภาษาตา่ งประเทศเพือ่ พัฒนาวชิ าชีพครู (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถใช้ทกั ษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียนภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ เพื่อการสื่อความหมายอยา่ งถูกตอ้ ง (๒) ใชภ้ าษาและวัฒนธรรมเพ่ือการอยรู่ ว่ มกันอย่างสันติ ๔. จิตวทิ ยาสําหรบั ครู ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) จติ วิทยาพน้ื ฐานและจิตวิทยาพัฒนาการของมนุษย์ (๒) จติ วทิ ยาการเรียนรู้และจติ วทิ ยาการศกึ ษา (๓) จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คาํ ปรกึ ษา (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถใหค้ าํ แนะนาํ ช่วยเหลอื ผู้เรยี นใหม้ คี ณุ ภาพชวี ิตทดี่ ีขนึ้ (๒) ใช้จิตวิทยาเพ่อื ความเขา้ ใจและสนบั สนุนการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียนให้เต็มศกั ยภาพ ๕. หลกั สตู ร ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) หลักการ แนวคิดในการจดั ทาํ หลกั สตู ร (๒) การนาํ หลักสูตรไปใช้ (๓) การพัฒนาหลักสตู ร
30 เลม่ ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๕๖ ง หนา้ ๔๕ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา (ข) สมรรถนะ (๑) วเิ คราะหห์ ลักสตู รและสามารถจดั ทาํ หลักสูตรได้ (๒) ปฏบิ ตั ิการประเมินหลกั สูตรและนาํ ผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการพฒั นาหลักสตู ร ๖. การจัดการเรียนรู้และการจัดการช้นั เรียน ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) หลกั การ แนวคดิ แนวปฏบิ ตั ิเก่ียวกับการจัดทาํ แผนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ และสิ่งแวดลอ้ มเพ่ือการเรยี นรู้ (๒) ทฤษฎีและรปู แบบการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และแกป้ ญั หาได้ (๓) การบูรณาการการเรยี นรูแ้ บบเรยี นรวม (๔) การจัดการช้นั เรียน (๕) การพัฒนาศนู ยก์ ารเรียนในสถานศึกษา (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถจดั ทาํ แผนการเรียนร้แู ละนาํ ไปสู่การปฏบิ ตั ใิ ห้เกดิ ผลจริง (๒) สามารถสรา้ งบรรยากาศการจดั การชัน้ เรยี นให้ผูเ้ รยี นเกิดการเรียนรู้ ๗. การวิจยั เพื่อพฒั นาการเรียนรู้ ประกอบด้วย (ก) สาระความรู้ (๑) หลกั การ แนวคิด แนวปฏิบัติในการวิจัย (๒) การใชแ้ ละผลิตงานวจิ ัยเพ่ือพฒั นาการเรียนรู้ (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถนาํ ผลการวจิ ัยไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอน (๒) สามารถทําวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรียนการสอนและพฒั นาผู้เรยี น ๘. นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) หลกั การ แนวคิด การออกแบบ การประยุกต์ใช้ และการประเมินสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การเรียนรู้ (๒) เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการส่อื สาร (ข) สมรรถนะ (๑) ประยกุ ต์ใช้ และประเมินสื่อ นวตั กรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรยี นรู้ (๒) สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสอ่ื สาร
31 เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๕๖ ง หนา้ ๔๖ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา ๙. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) หลักการ แนวคดิ และแนวปฏบิ ัติในการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของผเู้ รียน (๒) ปฏิบตั กิ ารวดั และการประเมินผล (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถวัดและประเมนิ ผลได้ (๒) สามารถนาํ ผลการประเมนิ ไปใช้ในการพฒั นาผู้เรียน ๑๐. การประกนั คุณภาพการศกึ ษา ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) หลกั การ แนวคิด แนวปฏบิ ัติเกี่ยวกับการจดั การคุณภาพการศึกษา (๒) การประกนั คุณภาพการศึกษา (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถจัดการคณุ ภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ อยา่ งต่อเนอื่ ง (๒) สามารถดําเนินการจัดกิจกรรมประเมินคุณภาพการจดั กจิ กรรมการเรียนรไู้ ด้ ๑๑. คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณ ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) หลกั ธรรมาภิบาล และความซอ่ื สตั ยส์ ุจริต (๒) คณุ ธรรม และจริยธรรมของวชิ าชีพครู (๓) จรรยาบรรณของวิชาชีพทค่ี ุรสุ ภากาํ หนด (ข) สมรรถนะ (๑) ปฏิบตั ติ นเปน็ แบบอย่างท่ีดี มจี ติ สํานึกสาธารณะ และเสียสละใหส้ ังคม (๒) ปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ สาระการฝกึ ทกั ษะและสมรรถนะของผู้ประกอบวชิ าชพี ครูตามมาตรฐานประสบการณว์ ชิ าชพี ๑๒. การฝกึ ปฏิบตั วิ ชิ าชีพระหวา่ งเรยี น ประกอบด้วย (ก) สาระการฝกึ ทกั ษะ (๑) การสังเกตการจัดการเรยี นรู้ (๒) การจดั ทาํ แผนการจดั การเรยี นรู้ใหผ้ ้เู รียนสรา้ งความรดู้ ว้ ยตนเอง (๓) การทดลองสอนในสถานการณจ์ าํ ลอง และสถานการณจ์ รงิ (๔) การออกแบบทดสอบ ขอ้ สอบหรอื เครือ่ งมอื วัดผล (๕) การตรวจขอ้ สอบ การใหค้ ะแนน และการตดั สนิ ผลการเรียน
32 เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๕๖ ง หน้า ๔๗ ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา (๖) การสอบภาคปฏิบัตแิ ละการใหค้ ะแนน (๗) การวิจัยแก้ปัญหาผู้เรียน (๘) การพัฒนาความเป็นครมู อื อาชีพ (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถจัดทาํ แผนการจดั การเรียนรู้ เพือ่ จุดประสงคก์ ารสอนที่หลากหลาย (๒) สามารถปฏิบตั กิ ารสอน ออกแบบทดสอบ วดั และประเมินผลผเู้ รยี น ๑๓. การปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ ประกอบดว้ ย (ก) สาระการฝกึ ทักษะ (๑) การปฏบิ ัตกิ ารสอนวชิ าเอก (๒) การวัดและประเมนิ ผล และนําผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรยี น (๓) การวจิ ัยเพ่ือพฒั นาผูเ้ รียน (๔) การแลกเปลย่ี นเรียนรู้ หรอื แบง่ ปนั ความร้ใู นการสัมมนาการศกึ ษา (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถจดั การเรยี นรใู้ นสาขาวิชาเอก (๒) สามารถประเมิน ปรับปรุง และศกึ ษาวจิ ยั เพ่ือพัฒนาผู้เรยี น (๓) ปฏบิ ตั ิงานอน่ื ท่ีไดร้ บั มอบหมาย หมวด ๒ ผ้ปู ระกอบวิชาชีพผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา สาระความรู้และสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาตามมาตรฐานความรู้ ๑๔. การพัฒนาวิชาชพี ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) จิตวิญญาณ อุดมการณ์ของผบู้ ริหาร (๒) การจดั การความรูเ้ ก่ียวกบั การบรหิ ารสถานศกึ ษา (๓) ความเป็นผบู้ ริหารมืออาชพี (๔) การวิจยั เพ่ือพัฒนาวชิ าชีพ (ข) สมรรถนะ (๑) มีอดุ มการณ์ของผู้บริหารและแนวทางการพฒั นาเป็นผ้บู รหิ ารมืออาชพี (๒) สามารถศกึ ษาวิจัยเพื่อพัฒนาวชิ าชพี ๑๕. ความเป็นผูน้ ําทางวิชาการ ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้
33 เลม่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๕๖ ง หน้า ๔๘ ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา (๑) การเปลี่ยนแปลงของโลกและสงั คม ผู้นําการเปลย่ี นแปลง พฤติกรรมผนู้ ํา ภาวะผนู้ าํ (๒) การระดมทรพั ยากรเพ่อื การศึกษา (๓) การนเิ ทศเพ่อื พัฒนาครใู หจ้ ดั การการเรยี นร้ขู องผู้เรยี นใหเ้ ติบโตเตม็ ตามศักยภาพ (๔) การบรหิ ารความเสยี่ งและความขดั แย้ง (๕) ปฏสิ ัมพนั ธแ์ ละการพฒั นาเพ่ือนรว่ มงาน (๖) ความสัมพันธ์ระหวา่ งสถานศกึ ษากบั ชมุ ชน และท้องถน่ิ (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถระดมทรัพยากรเพือ่ การศกึ ษา (๒) สามารถบริหารการศึกษาและสร้างความสัมพันธก์ บั ชมุ ชนและท้องถิน่ ได้ ๑๖. การบริหารสถานศึกษา ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) ทฤษฎี หลกั การ กระบวนการ และหนา้ ที่ในการบรหิ าร (๒) การบรหิ ารงานวิชาการเพ่อื คณุ ภาพและความเป็นเลิศ (๓) การบริหารแหลง่ เรยี นร้แู ละสง่ิ แวดล้อมเพอ่ื สง่ เสริมการจัดการเรียนรู้ (๔) นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการบริหารและการเรียนรู้ (๕) การบรหิ ารงานบคุ คล (๖) การบรหิ ารงานธรุ การ การเงนิ พสั ดุ และอาคารสถานท่ี (๗) กฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกบั การศกึ ษา และผู้บรหิ ารสถานศึกษา (๘) การวางแผนเพมิ่ ประสิทธภิ าพ และประสทิ ธผิ ลการบรหิ ารสถานศกึ ษา (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถกําหนดนโยบาย แผน กลยุทธ์ และนําไปสู่การปฏิบัติให้สอดคล้องกับ บรบิ ทของสถานศกึ ษา (๒) เลอื กใชท้ ฤษฎี หลักการ และกระบวนการบริหารใหส้ อดคล้องกับบริบทมหภาค และภูมิสงั คม (๓) สามารถบริหารงานวิชาการ บริหาร แหล่งเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมเพ่ือส่งเสริม การจัดการเรียนรู้ ๑๗. หลกั สูตร การสอน การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) พฒั นาหลักสตู รและหลกั สูตรสถานศกึ ษา (๒) การจดั การเรยี นการสอนและการสอนเสริม (๓) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
34 เลม่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๕๖ ง หน้า ๔๙ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกิจจานเุ บกษา (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถพัฒนาหลักสูตรและบรหิ ารการจัดการเรียนการสอนในแนวทางใหมไ่ ด้ (๒) ปฏบิ ตั ิการประเมิน และปรบั ปรงุ การบรหิ ารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ ๑๘. กิจการและกิจกรรมนกั เรียน ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) บริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรและกิจกรรมนักเรียนเพ่ือพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ใหร้ ูจ้ ักการจดั การและคดิ เปน็ (๒) บริหารจดั การใหเ้ กดิ การพัฒนาทกั ษะชวี ติ ของผู้เรยี น (๓) บรหิ ารจดั การใหเ้ กดิ การดแู ลชว่ ยเหลอื ผ้เู รยี น (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถบรหิ ารจดั การใหเ้ กดิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น การดูแลช่วยเหลอื ผเู้ รยี น (๒) สามารถส่งเสริมวนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม และความสามัคคีในหม่คู ณะ ๑๙. การประกนั คณุ ภาพการศึกษา ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) หลักการและกระบวนการในการประกนั คุณภาพการศึกษา (๒) การประกันคุณภาพภายในและภายนอก (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถจดั ทาํ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาเพ่ือรองรับการประเมิน ภายนอก (๒) นาํ ผลการประกันคณุ ภาพการศึกษาไปใชเ้ พอื่ พัฒนาสถานศึกษา ๒๐. คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) หลกั ธรรมาภบิ าล และความซ่อื สัตยส์ ุจรติ (๒) คุณธรรม และจริยธรรมของวชิ าชพี ผ้บู ริหารสถานศึกษา (๓) จรรยาบรรณของวิชาชพี ที่คุรุสภากําหนด (ข) สมรรถนะ (๑) ปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอย่างทีด่ ี มจี ติ สาํ นกึ สาธารณะและเสยี สละให้สังคม (๒) ปฏบิ ตั ิตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ หมวด ๓ ผู้ประกอบวชิ าชพี ผู้บริหารการศึกษา สาระความรู้และสมรรถนะของผูป้ ระกอบวิชาชพี ผู้บรหิ ารการศกึ ษาตามมาตรฐานความรู้
35 เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๕๖ ง หน้า ๕๐ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา ๒๑. การพัฒนาวชิ าชีพ ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) จติ วญิ ญาณ อดุ มการณข์ องผู้บริหาร (๒) การจดั การความรู้เกี่ยวกับการบรหิ ารการศกึ ษา (๓) ความเป็นผูบ้ รหิ ารมืออาชีพ (๔) การวจิ ัยเพือ่ พัฒนาวิชาชีพ (ข) สมรรถนะ (๑) มอี ดุ มการณ์ของผู้บริหารและแนวทางการพัฒนาเป็นผู้บริหารมอื อาชพี (๒) สามารถศึกษาวิจยั เพอื่ พัฒนาวิชาชพี ๒๒. ความเป็นผูน้ ําทางวิชาการ ประกอบด้วย (ก) สาระความรู้ (๑) ผูน้ าํ การเปลยี่ นแปลง พฤติกรรมผู้นาํ ภาวะผู้นํา (๒) การระดมทรพั ยากรเพ่ือการศกึ ษา (๓) การบริหารงานระบบเครือข่าย (๔) การบรหิ ารความเส่ียงและความขดั แยง้ (๕) ปฏิสัมพันธแ์ ละการพฒั นาเพ่ือนรว่ มงาน (๖) การนิเทศการศึกษา (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถบริหารงานระบบเครือข่าย (๒) สามารถบรหิ ารการศึกษา และกํากบั ติดตาม ส่งเสริม และประเมินสถานศึกษา ๒๓. การบริหารการศึกษา ประกอบด้วย (ก) สาระความรู้ (๑) ทฤษฎี หลกั การ กระบวนการ และหนา้ ที่ในการบรหิ าร (๒) การบรหิ ารองค์การ สํานกั งาน และองคค์ ณะบุคคล (๓) การบรหิ ารงานบคุ คล (๔) กฎหมายที่เกยี่ วข้องกับการศึกษา และผู้บรหิ ารการศกึ ษา (๕) นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการเรยี นรู้ (๖) การวางแผนเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธิผลการบรหิ ารการศกึ ษา (ข) สมรรถนะ (๑) กําหนดนโยบาย แผน กลยุทธ์ และนําไปสู่การปฏิบัติให้สอดคล้องกับบริบทของ หน่วยงานทางการศกึ ษา
36 เลม่ ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๕๖ ง หนา้ ๕๑ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา (๒) เลือกใชท้ ฤษฎี หลกั การ และกระบวนการบริหารใหส้ อดคล้องกับบริบทมหภาค และภมู สิ งั คม (๓) สามารถบรหิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการบรหิ ารและการเรียนรู้ ๒๔. การส่งเสรมิ คณุ ภาพการศึกษา ประกอบด้วย (ก) สาระความรู้ (๑) การพฒั นาศกั ยภาพผ้เู รยี น (๒) การบรหิ ารแหลง่ เรยี นรู้และสงิ่ แวดล้อมเพื่อสง่ เสรมิ การจดั การเรยี นรู้ (๓) การพัฒนาหลักสตู ร และหลักสตู รสถานศกึ ษา (๔) การประเมนิ หลักสูตร (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถพัฒนาหลกั สตู ร สง่ เสริมการจัดการเรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี น (๒) ติดตาม ประเมินผล รายงาน และนาํ ผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ๒๕. การประกนั คุณภาพการศกึ ษา ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาทงั้ ภายในและภายนอก (๒) การกาํ กับติดตามการประกนั คุณภาพการศึกษา (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถกํากบั ตดิ ตามการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา (๒) นาํ ผลการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาไปใช้เพ่อื พัฒนาการศึกษา ๒๖. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) หลกั ธรรมาภิบาล และความซ่อื สตั ยส์ จุ ริต (๒) คุณธรรม และจริยธรรมของวิชาชีพผ้บู ริหารการศกึ ษา (๓) จรรยาบรรณของวิชาชีพที่คุรสุ ภากําหนด (ข) สมรรถนะ (๑) ปฏิบตั ติ นเป็นแบบอยา่ งท่ดี ี มจี ติ สาํ นกึ สาธารณะและเสียสละใหส้ งั คม (๒) ปฏบิ ัตติ นตามจรรยาบรรณของวิชาชพี หมวด ๔ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ศึกษานิเทศก์ สาระความรู้และสมรรถนะของผูป้ ระกอบวชิ าชีพศึกษานิเทศกต์ ามมาตรฐานความรู้
37 เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๕๖ ง หน้า ๕๒ ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา ๒๗. การพัฒนาวชิ าชีพ ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) สภาพงาน คณุ ลักษณะ และมาตรฐานวิชาชพี ศกึ ษานิเทศก์ (๒) ทกั ษะในการแสวงหาความร้ใู นบริบทของการเปลีย่ นแปลง (๓) การจัดการความรเู้ กี่ยวกบั การนิเทศการศึกษา (๔) กฎหมายและระเบยี บทเี่ กย่ี วข้องกับการศึกษา และศกึ ษานิเทศก์ (ข) สมรรถนะ (๑) สร้างศรทั ธาผรู้ บั การนเิ ทศเพอ่ื ให้ตระหนักและมองเห็นประโยชน์ของการนเิ ทศ (๒) สรา้ งความก้าวหนา้ และพัฒนาวิชาชพี อย่างตอ่ เนอ่ื ง ๒๘. การนเิ ทศการศกึ ษา ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) หลักการ แนวคิด แนวปฏบิ ัติเกยี่ วกับการนิเทศ (๒) ผ้นู ํา ภาวะผนู้ าํ และภาวะผูน้ ําทางวิชาการ (๓) จิตวิทยาการนิเทศและการสอื่ สาร (๔) กลวธิ ีการถา่ ยทอดความรู้ แนวคิด ทฤษฎี และผลงานทางวิชาการ (๕) การเสริมแรง การสรา้ งพลงั อํานาจ และการพัฒนาศักยภาพครู (ข) สมรรถนะ (๑) ใชเ้ ทคนคิ การนิเทศอย่างหลากหลายด้วยความเปน็ กลั ยาณมิตร (๒) สรา้ งวฒั นธรรมในการพัฒนางานวชิ าการ และนําสูก่ ารเป็นบุคคลแหง่ การเรียนรู้ ๒๙. แผนและกจิ กรรมการนิเทศ ประกอบด้วย (ก) สาระความรู้ (๑) นโยบายการศึกษาและการเชอ่ื มโยงระบบการศกึ ษากับระบบอน่ื ในสังคม (๒) การวางแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา (๓) การพัฒนาแผนการนิเทศตามบรบิ ทมหภาคและภมู ิสังคม (๔) การจัดทาํ แผนปฏิบัติการนิเทศ โครงการ และการนําสกู่ ารปฏบิ ัติ (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และพัฒนาแผนการนิเทศที่นําสู่ การปฏบิ ัตไิ ด้จริง (๒) ประเมินและปรบั ปรุงแผนการนิเทศ ๓๐. การพฒั นาหลกั สตู รและการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย (ก) สาระความรู้
38 เล่ม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๑๕๖ ง หน้า ๕๓ ๑๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา (๑) หลักการ แนวคิด ในการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน รู้จกั คิดวิเคราะห์ และสร้างสรรค์งานได้ (๒) การวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (ข) สมรรถนะ (๑) สรา้ ง ใช้ ประเมิน และปรับปรงุ หลักสตู ร (๒) นเิ ทศเพอื่ พัฒนาหลักสตู ร การจดั การเรียนรู้ และการวดั ประเมนิ ผล ๓๑. การวิจยั ทางการศึกษา ประกอบด้วย (ก) สาระความรู้ (๑) หลักการ แนวคดิ แนวปฏบิ ัตใิ นการวจิ ัย (๒) การใชแ้ ละผลิตงานวิจัยเพือ่ พฒั นานวัตกรรมการนเิ ทศ (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถดาํ เนินการวจิ ัยเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา (๒) สามารถนาํ ผลการวิจัยไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๓๒. นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ประกอบดว้ ย (ก) สาระความรู้ (๑) หลกั การ แนวคิด การออกแบบสื่อ นวตั กรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การเรยี นรู้ (๒) เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการส่อื สาร (ข) สมรรถนะ (๑) ประยุกตใ์ ช้ และการประเมินส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การเรยี นรู้ (๒) สามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การส่อื สาร ๓๓. การประกนั คณุ ภาพการศึกษา ประกอบด้วย (ก) สาระความรู้ (๑) การบรหิ ารจดั การการศึกษา (๒) ระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาทัง้ ภายในและภายนอก (ข) สมรรถนะ (๑) สามารถบรหิ ารจัดการการศกึ ษา (๒) นําผลการประกนั คุณภาพการศึกษาไปใช้เพอื่ พัฒนาสถานศกึ ษา ๓๔. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ ประกอบด้วย (ก) สาระความรู้ (๑) หลกั ธรรมาภิบาล และความซอื่ สัตยส์ ุจริต (๒) คุณธรรม และจรยิ ธรรมของวชิ าชีพศกึ ษานิเทศก์
39 เล่ม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๑๕๖ ง หน้า ๕๔ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา (๓) จรรยาบรรณของวิชาชีพทคี่ ุรุสภากําหนด (ข) สมรรถนะ (๑) ปฏิบัตติ นเปน็ แบบอย่างท่ดี ี มีจติ สาํ นกึ สาธารณะและเสียสละให้สงั คม (๒) ปฏิบตั ิตนตามจรรยาบรรณของวิชาชพี ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ศาสตราจารย์ไพฑรู ย์ สินลารตั น์ ประธานกรรมการคุรุสภา
40 เลม ๑๒๓ ตอนที่ ๑๐๖ ง หนา ๑๒๓ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๙ ราชกิจจานเุ บกษา ประกาศคณะกรรมการครุ ุสภา เร่อื ง หลกั เกณฑค ุณสมบัตขิ องสถานศึกษาสาํ หรบั ปฏบิ ัติการสอน เพื่ออนุวัติใหเปนไปตามมาตรา ๔๔ (ก) (๓) แหงพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากร ทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ท่ีกําหนดใหผูขอรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพควบคุมตองผาน การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษาเปนเวลาไมนอยกวาหนึ่งป และผานเกณฑการประเมินปฏิบัติการสอน ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการ คุรุสภากําหนด และประกาศคุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษา เพอ่ื การประกอบวิชาชีพ กําหนดใหสถานศึกษาสําหรับปฏิบัติการสอนมีคุณสมบัติตามท่ีคณะกรรมการ คุรุสภากําหนด ประกอบกับมติคณะกรรมการคุรุสภา ในการประชุมคร้ังท่ี ๓/๒๕๔๙ วันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๔๙ คณะกรรมการคุรุสภาจึงกําหนดคุณสมบัติของสถานศึกษาสําหรับปฏิบัติการสอนไว ดังตอไปนี้ ๑. สถานศกึ ษาสาํ หรบั ปฏบิ ัตกิ ารสอน ตอ งมีคุณสมบัติ ดงั น้ี (๑) มมี าตรฐานคณุ สมบตั ติ ามทก่ี าํ หนดทา ยประกาศนี้ หรอื (๒) เปนสถานศึกษาท่ีผานการประเมินและไดมาตรฐานคุณภาพจากสํานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา (องคก ารมหาชน) ๒. ใหสถาบันซึ่งจัดการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาตรีทางการศึกษา (หลักสูตร ๕ ป) จัดสง รายชื่อสถานศึกษาสําหรับปฏิบัติการสอนท่ีเปนเครือขายของสถาบันตอเลขาธิการคุรุสภา เพื่อนําเสนอ คณะกรรมการคุรุสภาพจิ ารณาใหค วามเห็นชอบ ทั้งน้ี ใหสถาบันจัดใหมีการใหความชวยเหลือและพัฒนาสถาบันที่เปนเครือขายอยางเปนระบบ เพ่ือใหม คี ุณภาพตามมาตรฐานท่กี ําหนด และแจงใหค ุรสุ ภาทราบทกุ ๕ ป ในกรณีท่ีมีการเปล่ียนแปลง เพ่ิมเติมสถานศึกษาสําหรับปฏิบัติการสอน ใหสถาบัน เสนอตอ เลขาธิการคุรุสภาเพื่อนําเสนอคณะกรรมการครุ ุสภาพจิ ารณาใหความเหน็ ชอบเพมิ่ เติม
41 เลม ๑๒๓ ตอนท่ี ๑๐๖ ง หนา ๑๒๔ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๔๙ ราชกิจจานุเบกษา ๓. ในกรณีท่ีสถานศึกษาสําหรับปฏิบัติการสอนมีคุณสมบัติไมเปนไปตามหลักเกณฑในขอ ๑ ใหสถาบันซ่ึงจัดการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาตรีทางการศึกษา (หลักสูตร ๕ ป) เสนอตอเลขาธิการ ครุ สุ ภาเพ่ือนาํ เสนอคณะกรรมการคุรสุ ภาพิจารณาใหความเห็นชอบเปนรายกรณี ๔. ใหเลขาธิการคุรุสภาจัดทําประกาศรายช่ือสถานศึกษาสําหรับปฏิบัติการสอนท่ีไดรับ ความเห็นชอบตามขอ ๒ และแจง ใหสถาบันทราบ ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๓ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ เสรมิ ศกั ดิ์ วศิ าลาภรณ ประธานกรรมการครุ สุ ภา
42 มาตรฐานคุณสมบตั ขิ องสถานศกึ ษาสาํ หรับปฏิบัติการสอน ………………… ก. มาตรฐานดา นกระบวนการ ประกอบดว ยมาตรฐานและตวั บง ชี้การพิจารณา ดังตอไปนี้ (๑) สถานศึกษามีการจดั องคก าร โครงสรางและการบริหารงานอยา งเปน ระบบครบวงจรใหบรรลเุ ปาหมายการศกึ ษา โดยพจิ ารณาจากตัวบง ช้ี ดงั ตอ ไปน้ี (๑.๑) สถานศกึ ษามกี ารจดั องคการ โครงสรางการบริหาร และระบบการ บรหิ ารงานอยางเปน ระบบ (๑.๒) สถานศึกษามกี ารบรหิ ารเชงิ กลยุทธ (๑.๓) สถานศกึ ษามกี ารบริหารโดยหลกั การมสี วนรวม (๑.๔) สถานศกึ ษามกี ารตรวจสอบและถว งดลุ (๒) สถานศึกษาสงเสรมิ ความสัมพนั ธแ ละความรว มมือกับชมุ ชนในการ พัฒนาการศึกษา โดยพิจารณาจากตัวบงช้ี ดังตอ ไปน้ี (๒.๑) สถานศึกษามรี ะบบและกลไกในการสงเสริมความสัมพนั ธและรว มมอื กบั ชมุ ชนในการพัฒนาการศึกษา (๒.๒) สถานศกึ ษามกี ิจกรรมทส่ี งเสรมิ ความสัมพันธและความรวมมือกับ ชุมชนในการพัฒนาการศกึ ษา (๓) สถานศึกษามีการจดั สภาพแวดลอ มทีเ่ อือ้ ตอ การเรยี นรู สงเสริมสขุ ภาพ อนามยั และความปลอดภยั ของผเู รยี น โดยพจิ ารณาจากตวั บง ช้ี ดังตอไปนี้ (๓.๑) สถานศึกษามีสภาพแวดลอมทสี่ ะอาด เปน ระเบียบ และปลอดภัย (๓.๒) มีระบบปอ งกันใหสถานศกึ ษาปลอดสารพิษ สงิ่ เสพตดิ อาชญากรรม และอบายมุข (๓.๓) สถานศึกษามสี าธารณูปโภคทด่ี ี (๓.๔) สถานศึกษามสี งิ่ อาํ นวยความสะดวกใหครูและบคุ ลากรอยางเพยี งพอ และมีสภาพแวดลอมใหเ ออื้ ตอ การเรียนรู (๔) สถานศกึ ษาสงเสริมและพัฒนาบคุ ลากร ครูตามความจาํ เปน และ เหมาะสมอยา งสม่ําเสมอ โดยพิจารณาจากตวั บงชี้ ดงั ตอไปนี้ (๔.๑) สถานศกึ ษาจดั ครเู ขา สอนตรงตามสาขาวชิ า หรอื ความถนดั หรือความรู ความสามารถ (๔.๒) ครูไดร บั การพฒั นาเกย่ี วกบั เรื่องทใ่ี ชส อนหรอื ปฏิบัติงานอยางตอ เน่อื ง และสอดคลอ งกบั สภาพการเปลย่ี นแปลง (๔.๓) สถานศึกษาสง เสริมการทาํ งานเปน ทมี
43 -๒- (๕) สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนสอดคลอ งกบั หลกั สตู ร ตามความ ตอ งการของผเู รยี นและทอ งถ่นิ โดยพิจารณาจากตวั บงชี้ ดังตอไปน้ี (๕.๑) สถานศกึ ษามีการพัฒนาหลกั สูตรใหส อดคลอ งกบั สภาพและความ ตอ งการของทองถิ่นโดยใหชมุ ชนเขามามสี วนรวม (๕.๒) สถานศึกษามีการจัดแนวการเรียนการสอนใหสอดคลองกับหลักสตู ร ความตองการของผูเรียน ทองถนิ่ และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกจิ สังคมใหสามารถเชอ่ื มโยง แกปญ หาทอ งถ่นิ ได และนาํ ไปปฏิบตั ิไดจ รงิ (๖) สถานศึกษาจดั กิจกรรมและการเรยี นการสอนโดยเนนผูเ รียนเปนสาํ คญั โดยพจิ ารณาจากตัวบง ช้ี ดงั ตอ ไปน้ี (๖.๑) สถานศึกษามีการจดั กิจกรรมการบรหิ าร กิจกรรมการเรียนการสอน และ กจิ กรรมเสริมหลกั สตู รอยางหลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาตแิ ละสอดคลอ งกับความตองการ ของผูเ รียน (๖.๒) สถานศึกษามกี ารจัดกิจกรรมการบริหาร กิจกรรมการเรียนการสอน และ กิจกรรมเสริมหลกั สูตรทกี่ ระตุน ใหผูเรยี นรจู ักศึกษาหาความรู แสวงหาคําตอบ และสรางองคค วามรู ดวยตวั เอง (๖.๓) สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการบรหิ าร กจิ กรรมการเรยี นการสอน และ กิจกรรมเสริมหลักสูตรทกี่ ระตุนใหผูเ รยี นรูจักคดิ วิเคราะห คิดสังเคราะห คิดสรางสรรค คิดแกปญหา และตดั สนิ ใจ (๖.๔) สถานศึกษามีการจดั กิจกรรมการบรหิ าร กิจกรรมการเรียนการสอน และ กิจกรรมเสริมหลกั สูตรทบี่ รู ณาการ เชื่อมโยงสาระความรู ทกั ษะดานตาง ๆ และแนวคดิ ของสิง่ ที่ เรียนรูในหองเรยี นกับความจริงของชีวติ รวมท้ัง ปลูกฝง คณุ ธรรม จริยธรรมที่ตอ งปฏบิ ัติในสงั คม รว มกับผอู น่ื (๖.๕) สถานศกึ ษามกี ารจดั กจิ กรรมการบรหิ าร กจิ กรรมการเรยี นการสอน และ กจิ กรรมเสริมหลักสูตรที่สง เสริมความเปนประชาธปิ ไตย การทํางานรว มกบั ผอู ื่น และความรบั ผิดชอบ ตอสวนรวม (๖.๖) สถานศกึ ษามกี ารจัดกิจกรรมการบริหาร กิจกรรมการเรียนการสอน และ กจิ กรรมเสริมหลักสตู รใหผ เู รียนไดรับการพัฒนาอยางครบถวน ทัง้ ดา นดนตรี ศลิ ปะ และกีฬา (๖.๗) สถานศกึ ษามีการประเมินพัฒนาการของผูเรียนดว ยวิธีการทหี่ ลากหลาย และตอ เนอ่ื ง (๖.๘) สถานศกึ ษามีการจัดกจิ กรรมการบริหาร กจิ กรรมการเรียนการสอน และ กิจกรรมเสริมหลกั สูตรใหผเู รยี นมคี วามกระตอื รือรนในการเรียนและรกั สถานศึกษา
44 -๓- ข. มาตรฐานดา นปจ จยั ประกอบดวยมาตรฐานและตัวบง ชกี้ ารพจิ ารณา ดังตอไปน้ี (๑) ผูบ รหิ ารมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และเปนแบบอยางทดี่ ี โดยพิจารณาจาก ตวั บงชี้ ดงั ตอไปน้ี (๑.๑) ผูบริหารอทุ ศิ ตนใหก ับการปฏบิ ัตงิ านในสถานศกึ ษาอยา งตอ เนื่อง (๑.๒) ผูบริหารมคี วามเมตตากรุณา มีความรับผดิ ชอบ ยุตธิ รรม และซ่ือสัตย (๑.๓) ผูบริหารมกี ารครองตนทีด่ ี ไมมีหนสี้ ินลนพนตัว ไมเ กีย่ วขอ งกับ อบายมขุ และส่งิ เสพตดิ (๒) ผบู ริหารมีภาวะผนู ําและมคี วามสามารถในการบริหารจดั การ โดย พจิ ารณาจากตวั บง ช้ี ดงั ตอ ไปน้ี (๒.๑) ผูบริหารมวี สิ ัยทัศนในการจดั การศึกษาใหท นั กับการเปลย่ี นแปลง (๒.๒) ผูบริหารมคี วามเปนผูนํา มีมนุษยสัมพนั ธ และเปนที่ยอมรบั ของ ผเู ก่ยี วขอ ง (๒.๓) ผูบริหารมีความเปนประชาธปิ ไตย (๒.๔) ผูบรหิ ารมคี วามรคู วามสามารถดา นวชิ าการและหลักการบริหารจดั การ (๓) ครมู จี ติ วิญญาณความเปน ครู มคี ุณธรรม และจริยธรรม โดยพิจารณาจาก ตัวบงชี้ ดังตอ ไปนี้ (๓.๑) ครมู คี วามเออ้ื อาทร เขา ใจ และเอาใจใสผ เู รียนทุกคนอยา งสมา่ํ เสมอและ เทา เทียมกนั (๓.๒) ครมู ีมนุษยสมั พนั ธ ควบคมุ อารมณไ ด และรับฟงความคิดเห็นของผอู ืน่ (๓.๓) ครูมีความรบั ผดิ ชอบ ซือ่ สตั ย ตรงตอ เวลา และอทุ ศิ ตนใหก ับการพัฒนา ผูเรียน (๓.๔) ครูวางตนเหมาะสม เปน แบบอยางท่ีดใี นเร่ืองความประพฤติ บคุ ลิกภาพ (๓.๕) ครูมเี จตคตทิ ่ีดีตอ วชิ าชีพครู (๓.๖) ครศู กึ ษาหาความรู และพัฒนาการสอนอยเู สมอ (๔) ครูมคี วามสามารถในการจดั การเรียนการสอนอยางมีประสทิ ธภิ าพและ เนน ผูเรยี นเปนสาํ คญั โดยพจิ ารณาจากตัวบงชี้ ดังตอไปน้ี (๔.๑) ครรู เู ปาหมายของการจัดการศึกษา และเปาหมายหลกั สตู ร (๔.๒) ครูมคี วามสามารถในการวเิ คราะหห ลกั สตู ร และจัดทําแผนการเรียนรทู ่ี เนน ผูเ รยี นเปน สําคญั (๔.๓) ครสู ามารถจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นนผเู รียนเปนสําคญั ในชว งชน้ั ที่ ๑ ถงึ ชวงชนั้ ที่ ๔ (๔.๔) ครูสามารถประเมนิ ผลการเรยี นการสอนตามสภาพจริงและองิ พฒั นาการ ของผเู รียน มกี ารประเมนิ เพือ่ วนิ จิ ฉัยจุดเดน จดุ ดอ ย การประเมินเพอื่ ปรับปรุงการเรยี นการสอนและ การประเมินเพอื่ ตดั สินผลการเรียน
45 -๔- (๔.๕) ครูนาํ ผลการประเมินการเรียนการสอนมาปรบั การเรยี นและเปลี่ยน การสอนเพอื่ พฒั นาคุณภาพอยา งตอเน่ือง (๕) ครูมีความสามารถในการแสวงหาความรู คิดวเิ คราะห และสรา ง องคความรเู พ่อื พฒั นาการเรยี นการสอน โดยพิจารณาจากตัวบง ช้ี ดังตอ ไปนี้ (๕.๑) ครมู นี ิสัยรักการแสวงหาความรูและขา วสารขอ มลู จากแหลงตา ง ๆ เพ่ือ นํามาพฒั นาการเรยี นการสอน (๕.๒) ครมู ีความสามารถในการศกึ ษา วิจัย เพื่อพฒั นากระบวนการเรยี นการสอน (๕.๓) ครูมีความสามารถในการวเิ คราะหปญหาและแกไขสถานการณได (๖) ครมู คี ุณวุฒิ ความรูค วามสามารถตรงกบั งานทีร่ บั ผดิ ชอบ โดยพิจารณาจากตวั บงช้ี ดงั ตอไปน้ี (๖.๑) ครทู ี่จบระดับปริญญาตรีข้ึนไป (๖.๒) ครูท่ีสอนตรงตามวิชาเอก โท (๖.๓) ครไู ดส อนตรงกับความถนัด (๖.๔) ครไู ดร บั การพัฒนาในวชิ าทสี่ อนปละไมน อ ยกวา ๒๐ ชว่ั โมง (๗) สถานศึกษามหี ลักสตู รท่ีเหมาะสมกบั ผเู รยี นและทองถิ่น มสี ่อื การเรียน การสอนทเี่ ออื้ ตอ การเรยี นรู โดยพจิ ารณาจากตวั บงชี้ ดงั ตอ ไปน้ี (๗.๑) สถานศึกษามีหลกั สูตรและเนอ้ื หาสาระของหลักสตู รทเ่ี หมาะสม สอดคลองกบั เปาหมายการศกึ ษาและความตอ งการของผเู รียนและทอ งถนิ่ (๗.๒) สถานศึกษามสี อ่ื การเรยี นการสอนท่ีเหมาะสมและเอือ้ ตอการเรียนรู (๘) สถานศกึ ษามีอาคาร สถานท่ี และสง่ิ อาํ นวยความสะดวกเพียงพอ (๘.๑) สถานศึกษามีอาคาร สถานที่ และส่ิงอาํ นวยความสะดวกเพียงพอ (๘.๒) สถานศกึ ษามหี อ งเรยี นและหอ งปฏบิ ตั ิการท่จี าํ เปนตอ การเรยี นการสอน (๙) สถานศกึ ษามกี ารจัดองคการ โครงสราง และการบริหารงานอยางเปน ระบบ เพอื่ ใหม ีความพรอ มในการเปน โรงเรียนรว มพฒั นาวชิ าชีพครู (๙.๑) สถานศึกษามีการกําหนดแผนเกย่ี วกบั การฝกประสบการณว ิชาชพี ครใู น แผนพัฒนา (๙.๒) สถานศกึ ษามีการกาํ หนดผูร ับผิดชอบงานเกีย่ วกับการฝก ประสบการณ วิชาชพี ครู (๙.๓) สถานศึกษามรี ะบบการดูแล นิเทศ และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานของ นักศกึ ษา (๙.๔) สถานศึกษาจดั และสงเสรมิ ใหน ักศกึ ษาฝกประสบการณว ิชาชีพ จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนที่กระตนุ ใหผ ูเรยี นรูจกั ศกึ ษาหาความรู แสวงหาคําตอบ และ สรางความรูด ว ยตนเอง
46 -๕– (๙.๕) สถานศกึ ษากาํ หนดงานใหนักศึกษาฝกประสบการณวชิ าชพี ครู อยา งเหมาะสมและตรงตามสาขาวิชาของนักศึกษาฝกประสบการณ (๙.๖) สถานศึกษามีการกาํ หนดแผนกลยุทธจากการมีสวนรวมของบุคลากรท่ี เกย่ี วของ เปน แผนแมบทการพัฒนาโรงเรียนรวมพฒั นาวชิ าชพี ครู (๙.๗) สถานศึกษามกี ารจดั กจิ กรรมสรางความสัมพันธอันดรี ะหวางนักศกึ ษา ฝก ประสบการณว ิชาชพี ครกู บั บคุ ลากรทเี่ ก่ยี วขอ งของโรงเรียน (๙.๘) สถานศึกษาจดั กิจกรรมในทองถน่ิ ท่ใี หน กั ศกึ ษาฝกประสบการณ วิชาชพี ครไู ดเขา รวมเพือ่ รูจักบคุ คลสําคญั และขนบธรรมเนยี มประเพณขี องทองถิน่ (๙.๙) สถานศึกษามกี ารจดั สวัสดิการทจ่ี ําเปน แกน ักศึกษาฝก ประสบการณ วชิ าชีพครู (๙.๑๐) สถานศกึ ษาสามารถจดั โอกาสใหน กั ศึกษาฝกประสบการณว ิชาชพี ครู เขารว มกิจกรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวจิ ยั ในช้นั เรยี น การพัฒนาสื่อนวัตกรรมการ เรียนรู การพฒั นานักเรยี น และกิจกรรมพัฒนาวิชาชพี ครอู นื่ ๆ (๑๐) ผบู รหิ ารมีความสามารถในการบริหารหนว ยฝก ประสบการณว ชิ าชพี ครู โดยพิจารณาจากตวั บง ชี้ ดงั ตอไปนี้ (๑๐.๑) ผูบริหารมคี วามรคู วามเขา ใจเกย่ี วกบั เปาหมายและกระบวนการ ฝกประสบการณว ชิ าชพี ครู (๑๐.๒) ผูบรหิ ารมกี ารวางแผนบรหิ ารจัดการเกยี่ วกับการเปน หนว ยฝก ประสบการณว ิชาชพี ครู (๑๐.๓) ผบู ริหารมคี วามสามารถในการประสานงานและรว มมอื กับสถาบัน ผลิตครแู ละผเู กย่ี วของในการพฒั นานกั ศกึ ษา และการจดั การฝกประสบการณว ชิ าชพี ครูให มปี ระสิทธภิ าพสงู สดุ (๑๑) ครมู คี วามสามารถในการเปน ครพู ่เี ลีย้ งนักศกึ ษาฝก ประสบการณ วชิ าชพี ครู โดยพจิ ารณาจากตวั บง ช้ี ดงั ตอ ไปน้ี (๑๑.๑) ครูรูและเขาใจเก่ียวกับเปาหมายและกระบวนการฝก ประสบการณ วชิ าชีพครู (๑๑.๒) ครูมีทักษะและเทคนคิ ในการนเิ ทศแบบกลั ยาณมติ ร (๑๑.๓) ครูครองตนเปนแบบอยา งทีด่ ตี ามจรรยาบรรณครู และการเปนครู มืออาชีพ (๑๑.๔) ครูมคี วามสามารถในการประสานงานและรวมมือกับสถาบันผลติ ครู และผเู กีย่ วขอ งในการพฒั นานกั ศึกษา และการจัดการฝก ประสบการณว ิชาชีพครู ---------------------------------
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218