Ç·Ô ÂÒÈÒʵÃคูมือครรู ายวิชาพ้ืนฐาน àÅ‹Á ñ ตามมาตรฐานการเรยี นรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
คูมอื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๑ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรียนรูและตวั ชวี้ ดั กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร (ฉบับปรบั ปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จัดทาํ โดย สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คําชี้แจง สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจัดทําตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู แกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเนนเพื่อตองการพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถท่ี ทัดเทียมกับนานาชาติ ไดเรียนรูวิทยาศาสตรท่ีเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการในการสืบเสาะหาความรูและ การแกปญหาที่หลากหลาย มีการทํากิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติเพื่อใหผูเรียนไดใชทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษที่ ๒๑ ซ่ึงในปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนไปนี้ โรงเรียนจะตองใชหลักสูตร กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศักราช ๒๕๖๐) สสวท. จึงไดจัดทําหนังสือเรียนที่เปนไป ตามมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชี้วดั ของหลกั สตู รเพือ่ ใหโรงเรยี นไดใชสาํ หรับจดั การเรยี นการสอนในชนั้ เรยี น คูมือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เลมน้ี สสวท. ไดพัฒนาข้ึน เพื่อนําไปใชประกอบหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษา ปที่ ๑ เลม ๑ โดยภายในคูมอื ครูประกอบดวยผังมโนทัศน ตัวชี้วัด ขอแนะนําการใชคูมือครู ตารางแสดงความ สอดคลอ งระหวางเนอ้ื หาและกิจกรรมในหนังสือเรียนกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตลอดจนแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่มุงเนนการพัฒนาทักษะรอบดาน ทั้งการอาน การฝกปฏิบตั ิ การสาํ รวจตรวจสอบ การปฏิบตั ิการทดลอง การสืบคน ขอมูล และการอภปิ ราย โดยมีเปาหมาย ใหนักเรียนพัฒนาท้ังดานความรู ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะแหงศตวรรษที่ ๒๑ จิตวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู ทักษะการคิด การอาน การสื่อสาร การแกปญหา ตลอดจน การนาํ ความรไู ปใชในชีวติ ประจําวันอยางมีคุณธรรมและคานิยมท่ีเหมาะสม สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมแหง การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ อยางมีความสุข ในการจัดทําคูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมนี้ ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจาก คณาจารย ผูทรงคณุ วุฒิ นกั วิชาการ และครูผสู อน จากสถาบนั การศึกษาตาง ๆ จึงขอขอบคุณไว ณ ที่นี้ สสวท. หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรเลมน้ี จะเปนประโยชนแกครูและผูเกี่ยวของทุกฝาย ท่ีจะชวยใหการจัด การศึกษาดานวิทยาศาสตรมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้ สมบรู ณย่งิ ขน้ึ โปรดแจง สสวท. ทราบดว ย จกั ขอบคณุ ยงิ่ (ศาสตราจารยชกู ิจ ลมิ ปจํานงค) ผูอํานวยการ สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร
สารบญั หนา คาํ ช้แี จง เปาหมายของการจัดการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร......................................................................................... ก คุณภาพของผูเรยี นวิทยาศาสตร เม่อื จบชน้ั ประถมศึกษาปที่ 3......................................................................... ข ทกั ษะทีส่ าํ คัญในการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ......................................................................................................... ค ผงั มโนทัศน (concept map) รายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปที่ 1 เลม 1............................... ช ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรูแกนกลาง วิทยาศาสตร ป.1 เลม 1............................................................................. ซ ขอแนะนําการใชคูม ือครู.................................................................................................................................. ฌ การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรใ นระดับประถมศึกษา ............................................................................ ท การจัดการเรียนการสอนที่เนนการสบื เสาะหาความรทู างวิทยาศาสตร............................................................. ท การจดั การเรียนการสอนท่สี อดคลอ งกบั ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร ................................................................. ผ และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร............................................................................................. ฟ ตารางแสดงความสอดคลองระหวา งเนือ้ หาและกิจกรรม ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1 เลม 1........................... ย กบั ตัวชว้ี ดั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) รายการวสั ดอุ ุปกรณวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1................................................................................................... ล หนว ยท่ี 1 การเรยี นรูสง่ิ ตาง ๆ รอบตัว 1 ภาพรวมการจดั การเรียนรปู ระจําหนวยท่ี 1 การเรียนรูส ่งิ ตาง ๆ รอบตวั ...................................................1 บทท่ี 1 เรียนรแู บบนกั วทิ ยาศาสตร .......................................................................................................3 บทนีเ้ ริ่มตน อยางไร ..................................................................................................................................... 6 เร่อื งที่ 1 การสืบเสาะหาความรู................................................................................................................. 11 กจิ กรรมท่ี 1 จมหรอื ลอย............................................................................................................ 15 เรื่องที่ 2 การสงั เกตและการลงความเหน็ จากขอ มูล................................................................................... 25 กิจกรรมที่ 2 การสงั เกตและการลงความเหน็ จากขอมลู ไดอยา งไร .............................................. 31 เรอื่ งที่ 3 การจาํ แนกประเภท .................................................................................................................... 46 กจิ กรรมที่ 3 จาํ แนกสงิ่ ของไดอ ยางไร......................................................................................... 51 เร่อื งท่ี 4 การพยากรณ .............................................................................................................................. 61 กจิ กรรมที่ 4 พยากรณไดอยางไร................................................................................................ 65 กิจกรรมทา ยบทท่ี 1 เรยี นรแู บบนกั วทิ ยาศาสตร....................................................................................... 74 แนวคาํ ตอบในแบบฝกหดั ทายบท 76
หนว ยท่ี 2 ตัวเรา สตั ว และพืชรอบตวั เรา สารบญั ภาพรวมการจดั การเรยี นรูประจาํ หนว ยที่ 2 ตัวเรา สัตว และพชื รอบตวั เรา หนา 80 บทที่ 1 รา งกายของเรา 80 82 บทน้เี ร่มิ ตน อยางไร 85 90 เรอื่ งที่ 1 สวนตาง ๆ ของรางกาย 94 กจิ กรรมที่ 1.1 สว นตา ง ๆ ของรา งกายเรามีอะไรบา ง 105 กิจกรรมท่ี 1.2 สวนตา ง ๆ ของรา งกายทาํ หนา ทอี่ ะไร 118 120 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 1 รางกายของเรา 124 แนวคําตอบในแบบฝกหดั ทายบท 127 133 บทท่ี 2 สตั วแ ละพชื รอบตวั เรา 137 148 บทน้ีเรม่ิ ตน อยางไร 159 163 เรือ่ งท่ี 1 สวนตาง ๆ ของสตั วและพืช 175 กิจกรรมท่ี 1.1 มารูจ กั สตั วก ันไหม 178 กจิ กรรมท่ี 1.2 มารูจกั พืชกนั ไหม 182 186 เรอ่ื งท่ี 2 บริเวณท่ีสัตวและพืชอาศยั อยู 187 กิจกรรมท่ี 2 สตั วแ ละพชื อยูทีใ่ ดบาง กิจกรรมทายบทที่ 2 สตั วแ ละพืชรอบตัวเรา แนวคาํ ตอบในแบบฝกหดั ทา ยบท แนวคาํ ตอบในแบบทดสอบทา ยเลม บรรณานกุ รม คณะทํางาน
ก คูมอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 เปาหมายของการจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร วิทยาศาสตรเปนเรื่องของการเรียนรูเกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษยใชกระบวนการสังเกต สํารวจ ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณทางธรรมชาติและนําผลท่ีไดมาจัดระบบหลักการ แนวคิด และทฤษฎี ดังน้ันการเรียนการสอนวิทยาศาสตรจึงมุงเนนใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด น่นั คือใหไ ดทัง้ กระบวนการและองคความรู การจดั การเรียนรูว ทิ ยาศาสตรใ นสถานศึกษามเี ปา หมายสาํ คัญ ดงั นี้ 1. เพือ่ ใหเ ขาใจแนวคิด หลกั การ ทฤษฎี กฎและความรูพ้นื ฐานในวิทยาศาสตร 2. เพอื่ ใหเขาใจขอบเขตของธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร และขอจํากัดของวทิ ยาศาสตร 3. เพอ่ื ใหมที กั ษะทีส่ ําคญั ในการสืบเสาะหาความรแู ละพัฒนาเทคโนโลยี 4. เพื่อใหตระหนักการมีผลกระทบซึ่งกันและกันระหวางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี มวลมนุษย และ สภาพแวดลอม 5. เพื่อนําความรูในแนวคิดและทักษะตาง ๆ ทางวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชนตอ สังคมและการดํารงชวี ติ 6. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการ แกปญหาและการจัดการ ทักษะใน การสือ่ สาร และความสามารถใน การประเมินและตดั สนิ ใจ 7. เพ่ือใหเปนผูที่มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมในการใชวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีอยางสรา งสรรค สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คูมอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ข คณุ ภาพของผูเรยี นวิทยาศาสตร เมื่อจบชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 3 นกั เรียนท่ีเรียนจบช้ันประถมศึกษาปท่ี 3 ควรมีความรู ความคิด ทักษะ กระบวนการ และจิตวิทยาศาสตร ดังนี้ 1. เขา ใจลักษณะทัว่ ไปของส่ิงมชี ีวิตและการดํารงชวี ติ ของสิง่ มชี ีวติ รอบตวั 2. เขา ใจลักษณะที่ปรากฏ ชนดิ และสมบตั ิบางประการของวัสดุท่ีใชทําวัตถุและการเปล่ียนแปลงของวัสดุ รอบตวั 3. เขาใจการดึง การผลัก แรงแมเหล็ก และผลของแรงที่มีตอการเปล่ียนแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุ พลังงานไฟฟา และการผลติ ไฟฟา การเกดิ เสียง แสงและการมองเห็น 4. เขาใจการปรากฏของดวงอาทิตย ดวงจันทร และดาว ปรากฏการณขึ้นและตกของดวงอาทิตย การเกิดกลางวันกลางคืน การกําหนดทิศ ลักษณะของหิน การจําแนกชนิดดิน และการใชประโยชน ลกั ษณะและความสาํ คัญของอากาศ การเกดิ ลม ประโยชนและโทษของลม 5. ต้ังคําถามหรอื กําหนดปญ หาเก่ยี วกับส่งิ ทจี่ ะเรียนรูตามที่กําหนดใหห รือตามความสนใจ สังเกต สํารวจ ตรวจสอบโดยใชเคร่ืองมืออยางงาย รวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบดวย การเขียนหรือวาดภาพ และส่ือสารสิ่งที่เรียนรูดวยการเลาเรื่อง หรือดวยการแสดงทาทางเพื่อใหผูอ่ืน เขาใจ 6. แกปญ หาอยา งงายโดยใชข้ันตอนการแกปญหา มีทกั ษะในการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เบอื้ งตน รกั ษาขอมลู สว นตัว 7. แสดงความกระตือรือรน สนใจที่จะเรียนรู มีความคิดสรางสรรคเก่ียวกับเร่ืองที่จะศึกษาตามท่ี กาํ หนดใหหรอื ตามความสนใจ มีสว นรวมในการแสดงความคดิ เหน็ และยอมรบั ฟง ความคดิ เหน็ ผูอ น่ื 8. แสดงความรับผิดชอบดวยการทํางานท่ีไดรับมอบหมายอยางมุงมั่น รอบคอบ ประหยัด ซ่ือสัตย จนงานลุลว งเปนผลสาํ เร็จ และทํางานรว มกับผูอน่ื อยางมีความสขุ 9. ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ศึกษา หาความรูเ พ่มิ เตมิ ทาํ โครงงานหรอื ชิน้ งานตามท่ีกําหนดใหหรอื ตามความสนใจ สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ค คูมอื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ทักษะทสี่ าํ คญั ในการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ทักษะสําคัญท่ีครูผูสอนจําเปนตองพัฒนาใหเกิดขึ้นกับผูเรียนเม่ือมีการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร เชน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร (Science Process Skills) การเรียนรูทางวิทยาศาสตรจําเปนตองใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพื่อนําไปสู การสืบเสาะคนหาผานการสังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง และวิธีการอื่นๆ เพ่ือนําขอมูล สารสนเทศและ หลักฐานเชิงประจักษมาสรางคําอธิบายเก่ียวกับแนวคิดหรือองคความรูทางวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร ประกอบดว ย ทักษะการสังเกต (Observing) เปน ความสามารถในการใชประสาทสมั ผัสอยา งใดอยางหนึ่ง หรือ หลายอยางสํารวจวัตถุหรือปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไมลงความคิดเห็นของ ผูสังเกตลงไปดวย ประสาทสัมผัสท้ัง 5 อยา ง ไดแก การดู การฟง เสียง การดมกล่นิ การชิมรส และการสมั ผสั ทักษะการวัด (Measuring) เปนความสามารถในการเลือกใชเครื่องมือในการวัดปริมาณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม รวมถึงความสามารถในการหาปริมาณของส่ิงตาง ๆ จากเคร่ืองมือที่เลือกใชออกมาเปน ตวั เลขไดถกู ตองและรวดเร็ว พรอ มระบุหนวยของการวัดไดอ ยา งถกู ตอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) เปนความสามารถในการคาดการณอยางมี หลักการเกี่ยวกับเหตุการณหรือปรากฏการณ โดยใชขอมูล (Data) หรือสารสนเทศ (Information) ท่ีเคย เกบ็ รวบรวมไวใ นอดีต ทักษะการจําแนกประเภท (Classifying) เปนความสามารถในการแยกแยะ จัดพวกหรือจัดกลุม ส่ิงตาง ๆ ท่ีสนใจ เชน วัตถุ ส่ิงมีชีวิต ดาว และเทหะวัตถุตาง ๆ หรือปรากฏการณท่ีตองการศึกษาออกเปน หมวดหมู นอกจากนี้ยังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑหรือลักษณะรวมลักษณะใดลักษณะ หนึง่ ของสิง่ ตา ง ๆ ท่ีตอ งการจําแนก ทักษะการหาความสัมพันธของสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ คือ พ้ืนที่ที่วัตถุครอบครอง ในที่น้ีอาจเปนตําแหนง รูปราง รูปทรงของวัตถุ สิ่งเหลาน้ีอาจมีความสัมพันธกัน ดังนี้ การหาความสัมพนั ธร ะหวา งสเปซกับสเปซ เปนความสามารถในการหาความเก่ียวของ สั ม พั น ธ กั น ร ะ ห ว า ง พ้ื น ท่ี ที่ วั ต ถุ ต า ง ๆ (Relationship between Space and Space) ครอบครอง การหาความสมั พนั ธระหวางสเปซกบั เวลา เปนความสามารถในการหาความเกี่ยวของ สัมพันธกันระหวางพื้นท่ีที่วัตถุครอบครอง (Relationship between Space and Time) เมื่อเวลาผา นไป สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ง ทักษะการใชจํานวน (Using Number) เปนความสามารถในการใชความรูสึกเชิงจํานวน และ การคาํ นวณเพอื่ บรรยายหรือระบุรายละเอยี ดเชิงปริมาณของสงิ่ ที่สงั เกตหรอื ทดลอง ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล (Organizing and Communicating Data) เปนความสามารถในการนําผลการสงั เกต การวดั การทดลอง จากแหลงตาง ๆ มาจัดกระทําใหอยูในรูปแบบท่ี มคี วามหมายหรอื มคี วามสัมพันธกนั มากขน้ึ จนงา ยตอการทําความเขาใจหรอื เห็นแบบรปู ของขอมูล นอกจากน้ี ยังรวมถึงความสามารถในการนําขอมูลมาจัดทําในรูปแบบตาง ๆ เชน ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เพื่อส่ือสารใหผูอ ื่นเขา ใจความหมายของขอ มูลมากข้ึน ทักษะการพยากรณ (Predicting) เปนความสามารถในบอกผลลัพธของปรากฏการณ สถานการณ การสังเกต การทดลองท่ีไดจากการสังเกตแบบรูปของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณที่ แมนยําจึงเปนผลมาจากการสังเกตท่ีรอบคอบ การวัดที่ถูกตอง การบันทึก และการจัดกระทํากับขอมูลอยาง เหมาะสม ทักษะการตั้งสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เปนความสามารถในการคิดหาคําตอบ ลวงหนากอนจะทําการทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู ประสบการณเดิมเปนพ้ืนฐานคําตอบที่คิด ลวงหนาที่ยังไมรูมากอน หรือยังไมเปนหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมากอน การตั้งสมมติฐานหรือคําตอบท่ีคิดไว ลวงหนามักกลาวไวเปนขอความที่บอกความสัมพันธระหวางตัวแปรตนกับตัวแปรตาม ซึ่งอาจเปนไปตามที่ คาดการณไวหรือไมกไ็ ด ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เปนความสามารถในการ กาํ หนดความหมายและขอบเขตของสงิ่ ตาง ๆ ทีอ่ ยูในสมมติฐานของการทดลอง หรือที่เกี่ยวของกับการทดลอง ใหเขา ใจตรงกัน และสามารถสังเกตหรือวดั ได ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เปนความสามารถในการ กําหนดตัวแปรตาง ๆ ท้ังตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงท่ี ใหสอดคลองกับสมมติฐาน ของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอ่ืน ๆ นอกเหนือจากตัวแปรตน แตอาจ สงผลตอผลการทดลอง หากไมควบคุมใหเหมือนกันหรือเทากัน ตัวแปรท่ีเกี่ยวของกับการทดลอง ไดแก ตวั แปรตน ตวั แปรตาม และตัวแปรทต่ี องควบคุมใหคงท่ี ซ่งึ ลว นเปนปจจัยทเี่ ก่ียวของกบั การทดลอง ดงั น้ี ตัวแปรตน สิง่ ทเ่ี ปน ตนเหตุทาํ ใหเ กิดการเปลีย่ นแปลง จงึ ตอ งจดั (Independent Variable) สถานการณใหม ีสงิ่ น้แี ตกตา งกัน ตัวแปรตาม สิ่งทเ่ี ปน ผลจากการจัดสถานการณบางอยางให (Dependent Variable) แตกตางกัน และเราตอ งสังเกต วดั หรือติดตามดู สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
จ คูมือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ตวั แปรทตี่ องควบคุมใหค งท่ี สงิ่ ตา ง ๆ ทอี่ าจสง ผลตอการจัดสถานการณ จึงตอ งจดั (Controlled Variable) สิง่ เหลา นใ้ี หเ หมอื นกันหรอื เทากัน เพื่อใหม ่ันใจวาผล จากการจัดสถานการณเกดิ จากตัวแปรตนเทา น้นั ทกั ษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการ ทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเปนความสามารถในการ ออกแบบและวางแผนการทดลองไดอยางรอบคอบ และสอดคลองกับคําถามการทดลองและสมมติฐาน รวมถึงความสามารถในการดําเนินการทดลองไดตามแผน และความสามารถในการบันทึกผลการทดลองได ละเอยี ด ครบถวน และเทย่ี งตรง ทักษะการตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป (Interpreting and Making Conclusion) ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของขอมูลท่ีมีอยู ตลอดจน ความสามารถในการสรุปความสมั พันธของขอมูลท้ังหมด ทักษะการสรางแบบจําลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสรางและใชสิ่งท่ีทํา ขึ้นมาเพื่อเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณท่ีศึกษาหรือสนใจ เชน กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ ภาพเคล่อื นไหว รวมถึงความสามารถในการนําเสนอขอมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพ่ือใหผูอ่ืนเขาใจในรูป ของแบบจาํ ลองแบบตาง ๆ ทักษะแหง ศตวรรษท่ี 21 (21st Century Skills) ราชบัณฑิตยสถานไดระบุทักษะที่จําเปนแหงศตวรรษที่ 21 ที่สอดคลองกับสมรรถนะท่ีควรมีในพลเมือง ยุคใหมรวม 7 ดาน (สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ, 2558; ราชบัณฑิตยสถาน, 2557) ในระดบั ประถมศกึ ษาจะเนน ใหค รูผสู อนสงเสรมิ ใหนักเรียนมีทักษะ ดงั ตอ ไปน้ี การคิดอยางมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) หมายถึง การคิดโดยใชเหตุผลที่หลากหลาย เหมาะสมกบั สถานการณ มีการคดิ อยางเปนระบบ วิเคราะห และประเมินหลักฐานและขอคิดเห็นดวยมุมมองท่ี หลากหลาย สังเคราะห แปลความหมาย และจัดทําขอสรุป สะทอนความคิดอยางมีวิจารณญาณโดยใช ประสบการณและกระบวนการเรียนรู การแกปญหา (Problem Solving) หมายถึง การแกปญหาท่ีไมคุนเคย หรือปญหาใหมได โดย อาจใชความรู ทักษะ วิธีการและประสบการณที่เคยรูมาแลว หรือการสืบเสาะหาความรู วิธีการใหมมาใช แกปญหาก็ได นอกจากน้ียังรวมถึงการซักถามเพ่ือทําความเขาใจมุมมองที่แตกตาง หลากหลายเพื่อใหไดวิธี แกป ญหาทด่ี ีมากขึน้ การส่อื สาร (Communications) หมายถงึ ความสามารถในการส่ือสารไดอ ยางชดั เจน เช่อื มโยง เรียบเรยี งความคดิ เเละมุมมองตา ง ๆ แลว ส่ือสารโดยการใชคาํ พดู ไมใชค ําพดู หรือการเขียน เพอ่ื ใหผ ูอื่นเขาใจ สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ฉ ไดหลากหลายรูปแบบและวตั ถปุ ระสงคน อกจากนย้ี ังรวมไปถึงการฟง อยางมปี ระสิทธิภาพเพอื่ ใหเ ขา ใจ ความหมายของผูส ง สาร ความรวมมือ (Collaboration) หมายถึง การแสดงความสามารถในการทํางานรวมกับคนกลุม ตาง ๆ ที่หลากหลายอยางมีประสิทธิภาพและใหเกียรติ มีความยืดหยุนและยินดีท่ีจะประนีประนอม เพ่ือให บรรลุเปาหมาย การทํางาน พรอ มท้งั ยอมรบั และแสดงความรับผิดชอบตองานที่ทํารวมกัน และเห็นคุณคาของ ผลงานทพี่ ฒั นาขึ้นจากสมาชกิ แตล ะคนในทีม การสรางสรรค (Creativity) หมายถึง การใชเทคนิคท่ีหลากหลายในการสรางสรรคแนวคิด เชน การระดมพลังสมอง รวมถึงความสามารถในการพัฒนาตอยอดแนวคิดเดิม หรือไดแนวคิดใหม และ ความสามารถในการกลน่ั กรอง ทบทวน วเิ คราะห และประเมินแนวคิด เพ่ือปรับปรุงใหไดแนวคิดท่ีจะสงผลให ความพยายามอยางสรา งสรรคน ีเ้ ปน ไปไดมากท่ีสดุ การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology (ICT)) หมายถึง การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือเปนเคร่ืองมือในการสืบคน จัดกระทํา ประเมิน และส่อื สารขอ มูลความรตู ลอดจนรเู ทา ทนั สือ่ โดยการใชส่ือตาง ๆ ไดอยา งเหมาะสมมปี ระสิทธิภาพ สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ช คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ผงั มโนทศั น (concept map) รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 เลม 1 ประกอบดว ย ไดแก ไดแ ก สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ซ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง วทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง ว 1.1 ป.1/1 บริเวณตาง ๆ ในทองถิ่น เชน สนามหญา ใตตนไม สวนหยอม แหลงนํ้า อาจพบ ระบุช่ือพืชและสัตวท่ีอาศัยอยูบริเวณ พืชและสตั วห ลายชนิดอาศยั อยู ตา ง ๆ จากขอมูลท่รี วบรวมได ว 1.1 ป.1/2 • บริเวณท่ีแตกตางกันอาจพบพืชและสัตวแตกตางกัน เพราะสภาพแวดลอมของแตละ บอกสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมกับการ บริเวณจะมีความเหมาะสมตอการดาํ รงชวี ิตของพืชและสัตว ที่อาศัยอยูในแตละบริเวณ ดํารงชีวิตของพืชและสัตวในบริเวณที่ เชน สระน้ํา มีนํ้าเปนที่อยูอาศัยของหอย ปลา สาหราย เปนท่ีหลบภัยและมีแหลง อาศยั อยู อาหารของหอยและปลา บริเวณตนมะมวงมีตนมะมวงเปนแหลงที่อยู และมีอาหาร สําหรบั กระรอกและมด • ถาสภาพแวดลอมในบริเวณท่ีพืชและสัตวอาศัยอยูมีการเปลี่ยนแปลง จะมีผลตอการ ดํารงชีวิตของพืชและสตั ว ว 1.2 ป.1/1 มนุษยมีสวนตาง ๆ ที่มีลักษณะและหนาท่ีแตกตางกัน เพื่อใหเหมาะสมในการ ระบุชื่อ บรรยายลักษณะและบอก ดํารงชีวิต เชน ตามีหนาที่ไวมองดู โดยมีหนังตาและขนตาเพ่ือปองกันอันตรายใหกับ หนาที่ของสวนตางๆ ของรางกาย ตา หมู ีหนา ทรี่ ับฟง เสียง โดยมีใบหูและรูหูเพื่อเปนทางผานของเสียง ปากมีหนาที่พูด มนุษย สัตว และพืช รวมทั้งบรรยาย กนิ อาหาร มีชอ งปากและมรี ิมฝปากบนลาง แขนและมือมีหนาท่ียก หยิบ จับ มีทอน การทําหนาที่รวมกันของสวนตาง ๆ แขนและนิ้วมือที่ขยบั ได สมองมีหนาท่ีควบคุมการทํางานของสวนตาง ๆ ของรางกาย ของ รางกายมนุษยในการทาํ กิจกรรม อยูในกะโหลกศีรษะ โดยสวนตาง ๆ ของรางกายจะทําหนาท่ีรวมกันในการทํา ตาง ๆ จากขอมูลท่ีรวบรวมได กิจกรรมในชีวิตประจําวนั สัตวมีหลายชนิด แตละชนิดมีสวนตาง ๆ ท่ีมีลักษณะและหนาท่ีแตกตางกัน เพ่ือให เหมาะสมในการดํารงชวี ิต เชน ปลามีครีบเปน แผน สว นกบ เตา แมว มีขา 4 ขาและมี เทา สาํ หรบั ใชในการเคล่ือนที่ พืชมีสวนตาง ๆ ที่มีลักษณะและหนาท่ีแตกตางกัน เพ่ือใหเหมาะสมในการดํารงชีวิต โดยทว่ั ไป รากมีลักษณะเรยี วยาว และแตกแขนงเปน รากเลก็ ๆ ทําหนาท่ีดูดนํ้า ลําตนมี ลักษณะเปนทรงกระบอกต้ังตรงและมีกิ่งกาน ทําหนาที่ชูกิ่งกาน ใบ และดอก ใบมี ลักษณะเปนแผนแบน ทําหนาท่ีสรางอาหาร นอกจากนี้พืชหลายชนิดอาจมีดอกที่มีสี รูปรางตาง ๆ ทําหนาท่ีสืบพันธุ รวมท้ังมีผลท่ีมีเปลือก มีเน้ือหอหุมเมล็ด และมีเมล็ด ซึ่งสามารถงอกเปนตน ใหมไ ด ว 1.2 ป.1/2 มนุษยใชสวนตาง ๆ ของรางกายในการทํากิจกรรมตาง ๆ เพื่อการดํารงชีวิต มนุษย ตระหนกั ถึงความสําคัญของสวนตาง ๆ จึงควรใชสวนตาง ๆ ของรางกายอยางถูกตอง ปลอดภัย และรักษาความสะอาดอยู ของรางกายตนเอง โดยการดูแลสวน เสมอ เชน ใชตามองตัวหนังสือในที่ที่มีแสงสวางเพียงพอ ดูแลตาใหปลอดภัยจาก ตางๆ อยาง ถูกตอง ใหปลอดภัยและ อันตราย และรักษาความสะอาดตาอยเู สมอ รกั ษาความสะอาดอยเู สมอ สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ฌ คูมอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ขอ แนะนําการใชค ูมอื ครู คูมือครูเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางการจัดกิจกรรมสําหรับครู ในแตละหนวยการเรียนรู นกั เรียนจะไดฝ ก ทักษะจากการทํากิจกรรมตาง ๆ ทั้งการสังเกต การสํารวจ การทดลอง การสืบคนขอมูล การ อภิปราย การทํางานรวมกัน ซึ่งเปนการฝกใหนักเรียนชางสังเกต รูจักตั้งคําถาม รูจักคิดหาเหตุผล เพื่อตอบ ปญหาตาง ๆ ไดดวยตนเอง ใหนักเรียนไดเรียนรูและคนพบดวยตนเองมากที่สุด ดังนั้นในการจัดการเรียนรูครู จึงเปนผูชวยเหลือ สงเสริม และสนับสนุนนักเรียนใหรูจักสืบเสาะหาความรูและมีทักษะจากการศึกษา หาความรูจ ากสื่อและแหลง การเรียนรตู าง ๆ และเพ่มิ เตมิ ขอ มลู ท่ีถกู ตองแกนักเรยี น เพ่ือใหเกิดประโยชนจากคูมือครูเลมน้ีมากที่สุด ครูควรทําความเขาใจในรายละเอียดของแตละหัวขอ และขอเสนอแนะเพม่ิ เตมิ ดงั นี้ 1. สาระการเรยี นรูแ กนกลาง เปนสาระการเรียนรูเฉพาะกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรที่ปรากฏในมาตรฐานการเรียนรูและ ตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซึง่ กําหนดไวเฉพาะสว นทจี่ าํ เปนสําหรับเปนพื้นฐานเก่ียวของกับชีวิตประจําวัน และเปนพื้นฐานในการศึกษาตอในระดับท่ีสูงขึ้น โดยสอดคลองกับสาระและความสามารถ ความถนัด และความสนใจของนักเรียน และในทุกกิจกรรมจะมีสาระสําคัญ ซ่ึงเปนเน้ือหาสาระท่ีปรากฏอยูตาม สาระการเรียนรโู ดยสถานศึกษาสามารถพัฒนาเพิ่มเติมไดตามความเหมาะสม สําหรับสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ฯ (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดเพิ่มสาระเทคโนโลยี ซ่ึงประกอบดวยการออกแบบและเทคโนโลยี และวิทยาการคํานวณ ท้ังนี้เพ่ือเอื้อตอการจัดการเรียนรู บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กับกระบวนการเชิงวิศวกรรม ตามแนวคิด สะเต็มศกึ ษา 2. ภาพรวมการจัดการเรยี นรปู ระจาํ หนว ย เปน ภาพรวมการจัดการเรยี นรูประจําหนวยมีไวเพื่อเชื่อมโยงเนื้อหาสาระกับมาตรฐานการเรียนรู และตวั ชว้ี ดั ทจ่ี ะไดเ รียนในแตละกิจกรรมของหนวยน้ัน ๆ และเปนแนวทางใหครูผูสอนนําไปปรับปรุง และเพิ่มเตมิ ตามความเหมาะสม 3. จดุ ประสงคการเรียนรู ในแตละหนวยการเรียนรูนักเรียนจะไดทํากิจกรรมอยางหลากหลาย ในแตละสวนของหนังสือเรียน ทั้งสวนนําบท นําเรื่อง และกิจกรรมมีจุดประสงคการเรียนรูที่สอดคลองกับตัวชี้วัดชั้นปเพื่อให นักเรียน เกิดการเรยี นรู โดยยึดหลักใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติ สืบเสาะหาความรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการแกปญหา การส่ือสาร และความสามารถในการตัดสินใจ การนําความรูไปใชในชีวิตและ ในสถานการณใหม มีทักษะในการใชเ ทคโนโลยี มีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่เหมาะสม สามารถอยูในสังคมไทยไดอ ยา งมีความสุข สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ญ 4. บทนม้ี อี ะไร เปนสวนท่ีบอกรายละเอียดในบทน้ัน ๆ ซ่ึงประกอบดวยชื่อเร่ือง คําสําคัญ และช่ือกิจกรรม เพื่อ ครจู ะไดทราบองคประกอบโดยรวมของแตล ะบท 5. สอื่ การเรยี นรูและแหลงเรยี นรู เปนสวนทีบ่ อกรายละเอียดส่อื การเรยี นรูและแหลงเรียนรูท่ีตองใชสําหรับการเรียนในบท เรื่อง และ กิจกรรมนั้น ๆ โดยสือ่ การเรียนรูและแหลงเรียนรูประกอบดวยหนาหนังสือเรียนและแบบบันทึกกิจกรรม และอาจมีโปรแกรมประยุกต เว็บไซต ส่ือส่ิงพิมพ ส่ือโสตทัศนูปกรณหรือตัวอยางวีดิทัศนปฏิบัติการ ทางวิทยาศาสตรเพอ่ื เสรมิ สรางความมัน่ ใจในการสอนปฏบิ ัติการวิทยาศาสตรสําหรับครู 6. ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 เปนทักษะที่นักเรียนจะไดฝกปฏิบัติในแตละกิจกรรม โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เปนทักษะท่ีนักวิทยาศาสตรนํามาใชในกระบวนการตาง ๆ ในการสืบเสาะหาความรู สวนทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 เปนทักษะท่ีชวยเสริมสรางการเรียนรูและพัฒนาความสามารถของนักเรียนในดานตาง ๆ เพื่อใหท นั ตอการเปล่ยี นแปลงของโลก สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ฎ คูมอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ตวั อยางวดี ิทัศนป ฏิบัตกิ ารวิทยาศาสตรเ พือ่ ฝกฝนทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรต า ง ๆ มดี ังน้ี รายการตัวอยางวดี ิทัศน ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code วทิ ยาศาสตร ปฏบิ ตั ิการ ทางวิทยาศาสตร วีดทิ ัศน การสังเกตและการ การสังเกตและการลง http://ipst.me/8115 ลงความเหน็ จากขอ มลู ความเหน็ จากขอมูล ทาํ ไดอยา งไร วดี ิทศั น การวดั ทาํ ไดอ ยา งไร การวดั http://ipst.me/8116 วดี ิทศั น การใชต วั เลขทาํ ได การใชจาํ นวน http://ipst.me/8117 อยางไร วดี ทิ ศั น การจําแนกประเภท การจําแนกประเภท http://ipst.me/8118 ทาํ ไดอยางไร วดี ทิ ัศน การหาความสมั พันธ การหาความสัมพันธ http://ipst.me/8119 ระหวางสเปซกบั สเปซ ระหวางสเปซกับสเปซ http://ipst.me/8120 ทาํ ไดอยา งไร http://ipst.me/8121 http://ipst.me/8122 วีดิทศั น การหาความสมั พนั ธ การหาความสัมพันธ ระหวางสเปซกบั เวลา ระหวางสเปซกบั เวลา ทําไดอยางไร วีดิทศั น การจัดกระทําและส่ือ การจดั กระทาํ และส่อื ความหมายขอมูล ความหมายขอมลู ทําไดอยางไร วดี ิทศั น การพยากรณทาํ ได การพยากรณ อยางไร สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ฏ รายการตวั อยา งวดี ิทศั น ทักษะกระบวนการทาง Short link QR code ปฏิบตั ิการ วิทยาศาสตร http://ipst.me/8123 ทางวิทยาศาสตร การทดลอง วีดิทศั น ทําการทดลองได อยางไร วีดทิ ศั น การตงั้ สมมติฐานทํา การตัง้ สมมตฐิ าน http://ipst.me/8124 ไดอยางไร วดี ิทศั น การกาํ หนดและ การกําหนดและควบคุม http://ipst.me/8125 ควบคุมตวั แปรและ ตวั แปรและ การกาํ หนดนิยามเชิง การกาํ หนดนิยามเชิง ปฏิบัติการทําได ปฏิบตั กิ าร อยา งไร การตีความหมายขอมลู และ http://ipst.me/8126 วดี ิทัศน การตีความหมาย ลงขอสรุป ขอ มลู และลงขอสรปุ ทาํ ไดอยางไร การสรา งแบบจาํ ลอง http://ipst.me/8127 วีดิทัศน การสรา งแบบจาํ ลอง ทาํ ไดอยางไร สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ฐ คมู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 7. แนวคดิ คลาดเคลือ่ น เปนความเช่ือ ความรู หรือความเขาใจที่เกิดข้ึนกับนักเรียน ซ่ึงอาจเกิดขึ้นจากประสบการณใน การเรียนรูท่ีรับมาผิดหรือนําความรูที่ไดรับมาสรุปความเขาใจของตนเองผิด แลวไมสามารถอธิบาย ความเขาใจนั้นได โดยเมื่อเรียนจบบทนี้แลวครูควรแกไขแนวคิดคลาดเคล่ือนน้ันใหเปนแนวคิดท่ี ถกู ตอ ง 8. บทนเี้ ริ่มตน อยา งไร เปนแนวทางสาํ หรบั ครูในการจดั การเรยี นรูวิทยาศาสตรเพ่ือสง เสรมิ ใหนักเรยี นรูจักคดิ ดวยตนเอง รูจกั คนควาหาเหตุผล โดยครูกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนน้ัน ๆ และใหนักเรียนตอบ คาํ ถามสาํ รวจความรกู อนเรียน จากน้นั ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนโดยครูยังไมเฉลยคําตอบ ทถี่ กู ตอง เพื่อใหน กั เรยี นไปหาคําตอบจากเรอื่ งและกจิ กรรมตาง ๆ ในบทน้นั 9. เวลาทใ่ี ช เปนการเสนอแนะวาในแตละสวนควรใชเวลาประมาณก่ีช่ัวโมง เพื่อชวยใหครูผูสอนไดจัดทํา แผนการจดั การเรยี นรไู ดอยา งเหมาะสม อยางไรก็ตามครูอาจปรับเปล่ียนเวลาไดตามสถานการณและ ความสามารถของนักเรียน 10. วัสดุอปุ กรณ เปนรายการวัสดุอุปกรณท่ีใชท้ังหมดในการจัดกิจกรรม โดยอาจมีทั้งวัสดุสิ้นเปลือง อุปกรณ สําเร็จรปู อปุ กรณพนื้ ฐาน หรืออ่นื ๆ 11. การเตรยี มตวั ลว งหนา สําหรับครู เพอื่ จัดการเรียนรูใ นคร้ังถัดไป เปน การเตรียมตัวลวงหนาสําหรับครูสําหรับการจดั การเรียนรูในคร้ังถัดไป เพื่อครูจะไดเตรียมสื่อ อุปกรณ เคร่ืองมือตาง ๆ ท่ีตองใชในกิจกรรมใหอยูในสภาพที่ใชการไดดีและมีจํานวนที่เพียงพอกับ นักเรียน โดยอาจมีบางกิจกรรมตองทําลวงหนาหลายวัน เชน การเตรียมถุงปริศนาและขาวโพดคั่ว หรือสิง่ ทกี่ นิ ได ขอ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษา มีกระบวนการคิดท่ีเปนรูปธรรม จึงควรจัดการเรียนการสอนที่ มุงเนนใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติหรือทําการทดลองซึ่งเปนวิธีหน่ึงที่นักเรียนจะไดมีประสบการณตรง ดังนั้น ครูผูสอนจึงตอ งเตรยี มตวั เองในเรือ่ งตอ ไปน้ี 11.1 บทบาทของครู โดยครูจะตองเปล่ียนแปลงบทบาทจากการเปนผูชี้นําหรือผูถายทอด ความรูเปนผูชวยเหลือ สงเสริมและสนับสนุนนักเรียนในการแสวงหาความรูจากส่ือและ แหลงการเรียนรูตาง ๆ และใหขอมูลท่ีถูกตองแกนักเรียน เพ่ือนําขอมูลเหลานั้นไปใช สรางสรรคค วามรูของตนเอง สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คมู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ฑ 11.2 การเตรียมตัวของครูและนักเรียน โดยครูควรเตรียมนักเรียนใหพรอมอยูเสมอในการทํา กิจกรรมตาง ๆ บางครัง้ นกั เรยี นไมเ ขา ใจและอาจจะทาํ กจิ กรรมไมถูกตอง ดังนั้นครูจึงตอง เตรียมตวั เอง โดยทาํ ความเขาใจในเรอื่ งตอ ไปน้ี การสืบคนขอมูลหรือการคนควาเปนการหาความรูดวยตนเอง โดยวิธีการตาง ๆ เชน การสอบถามจากผูรูในทองถ่ิน การดูจากรูปภาพแผนภูมิ การอานหนังสือหรือเอกสาร เทาท่ีหาได น่ันคือการใหนักเรียนเปนผูหาความรูและพบความรูหรือขอมูลดวยตนเอง ซ่ึง เปน การเรยี นรวู ธิ ีแสวงหาความรู การนําเสนอ มีหลายวิธี เชน การใหนักเรียนหรือตัวแทนกลุมออกมาเลาเร่ืองที่ไดรับ มอบหมายใหไ ปสํารวจ สังเกต หรือทดลองหรืออาจใหเขียนเปนคําหรือเปนประโยคลงใน แบบบันทึกกิจกรรมหรือสมุดอื่นตามความเหมาะสม นอกจากน้ีอาจใหวาดรูป หรือตัด ขอความจากหนังสือพิมพ แลว นาํ มาติดไวในหอง เปนตน การสํารวจ ทดลอง สืบคนขอมูล สรางแบบจําลองหรืออ่ืน ๆ เพื่อสรางองคความรูเปน สิ่งสําคัญย่ิงตอการเรียนรูวิทยาศาสตร ครูผูสอนสามารถใหนักเรียนทํากิจกรรมไดท้ังใน หองเรียน นอกหองเรียนหรือท่ีบาน โดยไมจําเปนตองใชอุปกรณวิทยาศาสตรราคาแพง ซ่ึงอาจดัดแปลงจากส่ิงของเหลือใช หรือใชวัสดุธรรมชาติมาทํากิจกรรมได ขอสําคัญ คือ ครผู สู อนตองใหนักเรียนทราบวา ทําไมจึงตองทํากิจกรรมน้ัน และจะตองทําอะไร อยางไร ผลจากการทํากิจกรรมจะสรุปผลอยางไร ซึ่งจะทําใหนักเรียนไดความรู ความคิด และ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรพรอมกับเกิดคานิยม คุณธรรม เจตคติทาง วิทยาศาสตรดวย 12. แนวการจดั การเรยี นรู เปนแนวทางสําหรับครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตรที่มุงสงเสริมใหนักเรียนรูจักคิด ดวยตนเอง รูจักคนควาหาเหตุผลและสามารถแกปญหาไดดวยการนําเอาวิธีการตาง ๆ ของกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรไปใช วิธีการจัดการเรียนรูที่ สสวท. เห็นวาเหมาะสมท่ีจะนํานักเรียนไปสูเปาหมายที่ กําหนดไวก็คือ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู ซึ่งมีองคประกอบที่สําคัญ คือ การมองเห็นปญหา การสํารวจตรวจสอบ และอภิปรายซักถามระหวา งครูกับนักเรียนเพ่ือนําไปสูข อมลู สรุป ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม นอกจากครูจะจัดกิจกรรมตาง ๆ ตามคูมือครูนี้ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูตามบริบทของ ตนเองใหบรรลุจดุ มุงหมาย โดยจะคาํ นงึ ถึงเรอื่ งตาง ๆ ดังตอ ไปนี้ 12.1 การมีสวนรว มในกิจกรรมการเรียนรูของนักเรียน โดยครูควรใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมใน กจิ กรรมการเรียนรูตลอดเวลาดวยการกระตุนใหนักเรียนลงมือทํากิจกรรมและอภิปรายผล โดยใชเทคนิคตาง ๆ ของการสอน เชน การใชคําถาม การเสริมพลังมาใชใหเปนประโยชน ท่ีจะทาํ ใหการเรียนการสอนนา สนใจและมีชีวติ ชวี า สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ฒ คูมอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 12.2 การใชคําถาม โดยครูควรวางแผนการใชคําถามอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือจะนํานักเรียนเขา สูบทเรียนและลงขอสรุปไดโดยท่ีไมใชเวลานานเกินไป ซึ่งครูควรเลือกใชคําถามท่ีมีความ ยากงา ยพอเหมาะกบั ความสามารถของนักเรียน 12.3 การสํารวจตรวจสอบซ้ํา เปนสิ่งจําเปนเพื่อใหไดขอมูลที่นาเช่ือถือ ดังน้ันในการจัดการเรียนรู ครู ควรเนนย้าํ ใหนกั เรยี นไดส ํารวจตรวจสอบซา้ํ เพื่อนําไปสขู อ สรปุ ทถ่ี ูกตองมากขึ้นและเชือ่ ถือได 13. ขอ เสนอแนะเพ่มิ เติม เปน ขอเสนอแนะสําหรับครูท่ีอาจเปนประโยชนในการจัดการเรียนรู เชน ตัวอยางวัสดุอุปกรณที่ เหมาะสม หรือใชแทน ขอควรระวัง วิธีการใชอุปกรณใหเหมาะสมและปลอดภัย วิธีการทํากิจกรรม เพื่อลดขอผิดพลาด ตัวอยา งตาราง และเสนอแหลง เรยี นรเู พื่อการคน ควาเพ่ิมเติม 14. ความรเู พมิ่ เตมิ สาํ หรับครู เปนความรูเพิ่มเติมในเน้ือหาท่ีสอนซ่ึงจะมีรายละเอียดท่ีลึกข้ึน เพื่อเพิ่มความรูและความมั่นใจ ใหกับครูในเรื่องที่จะสอนและแนะนํานักเรียนท่ีมีความสามารถสูง แตครูตองไมนําไปสอนนักเรียน เพราะไมเ หมาะสมกบั วยั และระดับชัน้ 15. อยา ลมื นะ เปนสว นที่เตอื นไมใหครเู ฉลยคําตอบท่ีถูกตองใหกับนักเรียน หรือครูรับฟงความคิดและเหตุผลของ นักเรียนกอน โดยครูควรใหคําแนะนําท่ีจะชวยใหนักเรียนหาคําตอบไดดวยตนเองและใหความสนใจ ตอคําถามของนักเรียนทุกคน เพ่ือใหนักเรียนไดคิดดวยตนเองและครูจะไดทราบวานักเรียนมีความรู ความเขาใจในเรอื่ งนั้นอยา งไรบาง 16. แนวการประเมินการเรยี นรู เปนการประเมินการเรียนรูของนักเรียนท่ีไดจากการอภิปรายในช้ันเรียน คําตอบของนักเรียน ระหวางการจัดการเรียนรูและในแบบบันทึกกิจกรรม รวมท้ังการฝกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรและทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรียน 17. กิจกรรมทายบท เปนสว นที่ใหน ักเรยี นไดส รปุ ความรู ความเขา ใจ ในบทเรยี น และไดต รวจสอบความรใู น เนื้อหาทีเ่ รียนมาทงั้ บท หรอื อาจตอยอดความรูในเรอ่ื งนน้ั ๆ ขอแนะนําเพิ่มเตมิ 1. การสอนการอา น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ใหความหมายของคําวา “อาน” หมายถึง วาตาม ตัวหนังสือ ถาออกเสียงดว ย เรียกวา อานออกเสียง ถาไมตองออกเสียง เรียกวา อานในใจ หรืออีกความหมาย ของคําวา “อาน” หมายถึง สังเกตหรือพิจารณาดูเพื่อใหเขาใจ เชน อานสีหนา อานริมฝปาก อานใจ ตีความ เชน อา นรหสั อานลายแทง สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คูม อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ณ เมื่อปพุทธศักราช 2541 กรมวิชาการ ไดกลาวถึงความสําคัญของการอานไววา การอานเปนทักษะท่ี สําคญั จําเปนตองเนนและฝกฝนใหแ กนกั เรยี นเปนอยางมาก เนื่องจากการอานเปนกระบวนการสําคัญท่ีทําให ผูอ า นสรา งความหมายหรอื พฒั นาการวเิ คราะห ตีความในระหวางอาน ผอู า นจะตองรหู วั เรื่อง รูจุดประสงคการ อาน มีความรูทางภาษาใกลเคียงกับภาษาที่ใชในหนังสือท่ีอานและจําตองใชประสบการณเดิมที่เปน ประสบการณพ้ืนฐานของผูอาน ทําความเขาใจเร่ืองที่อาน ท้ังน้ีนักเรียนแตละคนอาจมีทักษะในการอานที่ แตกตา งกัน ข้ึนกับองคป ระกอบหลายอยาง เชน ประสบการณเดิมของนักเรียน ความสามารถดานภาษา หรือ ความสนใจเรื่องที่อาน ครูควรสังเกตนักเรียนวานักเรียนแตละคนมีความสามารถในการอานอยูในระดับใด ซ่ึง ครูจะตองพิจารณาท้ังหลักการอาน และความเขาใจในการอานของนักเรียน ทั้งนี้ สสวท. ขอเสนอแนะวิธีการ สอนแบบตา ง ๆ เพ่ือเปน การฝกทกั ษะการอา นของนักเรียน ดังน้ี เทคนิคการสอนแบบ DR-TA (The directed reading-thinking activity) เปน การสอนอานท่ีมุงเนนใหนักเรียนไดฝกกระบวนการคิด กลั่นกรองและตรวจสอบขอมูลท่ีไดจากการ อานดว ยตนเอง โดยใหนักเรียนคาดคะเนเนื้อหาหรือคําตอบลวงหนาจากประสบการณเดิมของนักเรียน โดยมี ขนั้ ตอนการจัดการเรยี นการสอน ดังน้ี 1. ครจู ดั แบง เนื้อเร่อื งทจี่ ะอานออกเปนสวนยอ ย และวางแผนการสอนอานของเนอ้ื เร่ืองทั้งหมด 2. ในการนาํ เขาสบู ทเรียน ครชู ักชวนใหน กั เรยี นคดิ วา นกั เรียนรอู ะไรเกยี่ วกับเร่ืองท่ีจะอานบา ง 3. ครูใหนกั เรยี นสังเกตรปู ภาพ หวั ขอ หรืออ่ืน ๆ ท่เี ก่ียวกบั เน้อื หาทีจ่ ะเรียน 4. ครูต้ังคําถามใหนักเรียนคาดคะเนเนื้อหาของเรื่องท่ีกําลังจะอาน ซึ่งอาจใหนักเรียนคิดวาจะไดเรียน เก่ยี วกบั อะไร โดยครูพยายามกระตุนใหนกั เรียนไดแสดงความคิดเหน็ หรือคาดคะเนเน้ือหา 5. ครูอาจใหนักเรียนเขียนสิ่งที่ตนเองคาดคะเนไว โดยจะทําเปนรายคนหรือเปนคูก็ได หรือครูนํา อภปิ รายแลวเขยี นแนวคดิ ของนกั เรยี นแตละคนไวบนกระดาน 6. นักเรียนอานเนื้อเร่ือง จากนั้นประเมินหรือตรวจสอบ และอภิปรายวาการคาดคะเนของตนเองตรง กับเนือ้ เร่ืองทีอ่ านหรือไม ถานักเรียนประเมินวาเร่ืองที่อานมีเน้ือหาตรงกับท่ีคาดคะเนไวใหนักเรียน แสดงขอ ความที่สนับสนนุ การคาดคะเนของตนเองจากเนื้อเรื่อง 7. ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกัน โดยครูวิเคราะหวานักเรียนแตละคนสามารถใชการคาดคะเนดวย ตนเองอยา งไรบาง 8. ทําซํ้าข้ันตอนเดิมในการอานเนื้อเรื่องสวนอ่ืน ๆ เม่ือจบท้ังเรื่องแลว ครูปดเรื่องโดยการทบทวน เน้อื หาและอภิปรายถงึ วิธีการคาดคะเนของนักเรียนทคี่ วรใชส ําหรบั การอา นเรื่องอื่น ๆ เทคนคิ การสอนแบบ KWL (Know – Want – Learning) เปนการสอนอานท่ีมุงเนนใหนักเรียนไดเชื่อมโยงประสบการณเดิมกับประสบการณใหมอยางเปน รปู ธรรมและเปนระบบ โดยผานตาราง 3 ชอง คือ K-W-L (นักเรียนรูอะไรบางเกี่ยวกับเรื่องท่ีจะอาน นักเรียน ตอ งการรูอะไรเกย่ี วกับเรอื่ งที่จะอา น นกั เรียนไดเรยี นรูอะไรบา งจากเร่ืองที่อาน) โดยมีข้ันตอนการจัดการเรียน การสอน ดังนี้ สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ด คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 1. ครนู ําเขาสบู ทเรยี นดว ยการกระตนุ ความสนใจของนกั เรยี นเพอ่ื เชื่อมโยงเขาสเู รื่องท่ีจะอาน เชน การ ใชคําถาม การนําดวยรูปภาพหรอื วีดิทัศนท ่ีเกีย่ วกบั เนื้อเรอ่ื ง 2. ครูทําตารางแสดง K-W-L และอธิบายขั้นตอนการทํากิจกรรมโดยใชเทคนิค K-W-L วามีข้ันตอน ดงั นี้ ขน้ั ที่ 1 กิจกรรมกอนการอาน เรียกวา ข้ัน K มาจาก know (What we know) เปนข้ันตอนที่ให นักเรียนระดมสมองแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องท่ีจะอาน แลวบันทึกสิ่งที่ตนเองรูลงใน ตารางชอง K ข้ันตอนนี้ชวยใหนักเรียนรูวาตนเองรูอะไรแลวตองอานอะไร โดยครูพยายาม ตงั้ คําถามกระตุน ใหน ักเรยี นไดแสดงความคดิ เห็น ขนั้ ท่ี 2 กิจกรรมระหวางการอาน เรียกวา ข้ัน W มาจาก want (What we want to know) เปน ขั้นตอนท่ีใหนักเรียนตั้งคําถามเกี่ยวกับส่ิงที่ตองการรูเกี่ยวกับเรื่องท่ีกําลังจะอาน โดยครูและ นักเรยี นรวมกันกาํ หนดคําถาม แลวบันทกึ ส่ิงท่ตี อ งการรูลงในตารางชอง W ข้ันท่ี 3 กิจกรรมหลังการอาน เรียกวา ข้ัน L มาจาก learn (What we have learned) เปน ข้ันตอนที่สํารวจวาตนเองไดเรียนรูอะไรบางจากการอาน โดยหลังจากอานเน้ือเร่ือง นักเรียน หาขอความมาตอบคําถามท่ีกําหนดไวในตารางชอง W จากนั้นนําขอมูลที่ไดจากการอานมา จัดลาํ ดับความสําคัญของขอมลู และสรุปเน้ือหาสําคัญลงในตารางชอง L 3. ครแู ละนกั เรียนรว มกนั สรุปเน้อื หา โดยการอภปิ รายหรอื ตรวจสอบคําตอบในตาราง K-W-L 4. ครูและนกั เรยี นอาจรว มกนั อภิปรายเกีย่ วกบั การใชตาราง K-W-L มาชวยในการเรยี นการสอนการอาน เทคนคิ การสอนแบบ QAR (Question-answer relationship) เปนการสอนอานที่มุงเนนใหนักเรียนมีความเขาใจในการจัดหมวดหมูของคําถามและตั้งคําถาม เพ่ือจะ ไดมาซง่ึ แนวทางในการหาคําตอบ ซ่ึงนักเรียนจะไดพิจารณาจากขอมูลในเน้ือเรื่องท่ีจะเรียนและประสบการณ เดมิ ของนักเรยี น โดยมขี ้ันตอนการจดั การเรยี นการสอน ดังนี้ 1. ครูจัดทําชุดคําถามตามแบบ QAR จากเร่ืองท่ีนักเรียนควรรูหรือเร่ืองใกลตัวของนักเรียน เพื่อชวยให นักเรียนเขา ใจถึงการจัดหมวดหมูของคําถามตามแบบ QAR และควรเช่ือมโยงกับเร่ืองท่ีจะอานตอไป 2. ครูแนะนําและอธิบายเก่ียวกับการสอนแบบ QAR โดยครูควรช้ีแจงนักเรียนในการอานและต้ังคําถาม ตามหมวดหมู ไดแ ก คําถามที่ตอบโดยใชเน้ือหาจากสิ่งที่อาน คําถามที่ตองคิดและคนควาจากส่ิงท่ีอาน คาํ ถามท่ไี มมคี ําตอบโดยตรงในเน้ือหาซึ่งนักเรียนใชความรูเดิมและสิ่งท่ีผูเขียนเขียนไว และคําถามที่ ใชความรูเดมิ ของนกั เรยี นในการตอบคําถาม 3. นกั เรยี นอา นเนื้อเร่ือง ตั้งคําถามและตอบคําถามตามหมวดหมู และรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปคําตอบ ของคาํ ถาม 4. ครูและนกั เรียนรว มกนั อภิปรายเกย่ี วกับการใชเ ทคนิคนด้ี วยตนเองไดอยา งไร 5. ครูและนักเรียนอาจรวมกันอภปิ รายเก่ียวกับการใชตาราง K-W-L มาชว ยในการเรยี นการสอนการอาน สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ต 2. การใชงานส่อื QR CODE QR CODE เปนรหัสหรือภาษาท่ีตองใชโปรแกรมอานหรือสแกนขอมูลออกมา ซ่ึงตองใชงานผาน โทรศัพทเคล่ือนที่หรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ติดตั้งกลองไว แลวอาน QR Code ผานโปรแกรมตาง ๆ เชน LINE (สําหรับโทรศัพทเคล่ือนท่ี) Code Two QR Code Reader (สําหรับคอมพิวเตอร) Camera (สําหรับ ผลติ ภณั ฑข อง Apple Inc.) ขัน้ ตอนการใชงาน 1. เปด โปรแกรมสาํ หรับอา น QR Code 2. เล่อื นอปุ กรณอิเล็กทรอนิกส เชน โทรศัพทเ คลือ่ นท่ี แท็บเลต็ เพือ่ สองรปู QR Code ไดท ง้ั รปู 3. เปดไฟลหรือลงิ กท่ีขึ้นมาหลังจากโปรแกรมไดอาน QR CODE **หมายเหตุ อปุ กรณท ่ใี ชอา น QR CODE ตองเปด Internet ไวเ พื่อดึงขอมูล 3. การใชง านโปรแกรมประยุกตความจรงิ เสริม (ภาพเคลื่อนไหว 3 มติ ิ) โปรแกรมประยุกตความจริงเสริม (AR) เปนโปรแกรมที่สรางข้ึนเพื่อเปนส่ือเสริมชวยใหนักเรียน เขาใจเน้ือหาสาระของแตละชั้นปอยางเปนรูปธรรมมากขึ้น ซ่ึงสําหรับระดับประถมศึกษาปท่ี 1 จะใชงานผาน โปรแกรมประยกุ ต “วทิ ย ป.1” ซึง่ สามารถดาวนโหลดไดท าง Play Store หรอื Apps Store **หมายเหตุ เนื่องจากโปรแกรมมีขนาดไฟลท่ีใหญประมาณ 150 เมกะไบต หากพ้ืนท่ีจัดเก็บไมเพียงพออาจ ตอ งลบขอ มูลบางอยางออกกอนติดต้ังโปรแกรม ข้นั ตอนการตดิ ต้งั โปรแกรม 1. เขา ไปที่ Play Store ( ) หรอื Apps Store ( ) 2. คนหาคําวา “วิทย ป.1” 3. กดเขา ไปท่ีโปรแกรมประยุกตที่ สสวท. พัฒนา 4. กด “ติดตั้ง” และรอจนติดตั้งเรยี บรอ ย 5. เขา สูโ ปรแกรมจะปรากฏหนาแรก จากน้นั กด “วธิ กี ารใชงาน” เพื่อศึกษาการใชง านโปรแกรม เบ้ืองตนดว ยตนเอง 6. หลังจากศกึ ษาวิธกี ารใชงานดว ยตนเองแลว กด “สแกน AR” และเปด หนังสือเรียนหนา ที่มสี ัญลักษณ AR 7. สอ งรปู ท่อี ยูบริเวณสัญลักษณ AR โดยมีระยะหางประมาณ 10 เซนติเมตร และเลือกดูภาพในมุมมองตาง ๆ ตาม ความสนใจ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ถ คูม ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรในระดับประถมศกึ ษา นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน (ป.1 - ป.3) ตามธรรมชาติแลวมีความอยากรูอยากเห็น เกย่ี วกบั สิง่ ตา งๆ รอบตัว และเรยี นรูไดดีที่สดุ ดวยการคน พบ จากการลงมอื ปฏิบตั ดิ วยตนเองโดยอาศัยประสาท สัมผัสทั้งหา สวนนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.4 - ป.6) มีพัฒนาการทางสติปญญาจากขั้นการคิด แบบรูปธรรมไปสูข้ันการคิดแบบนามธรรม มีความสนใจในสิ่งตาง ๆ รอบตัว และสนใจวาสิ่งตาง ๆ ถูกประกอบ เขาดวยกันอยางไร และส่ิงเหลานั้นทํางานกันอยางไร นักเรียนในชวงวัยน้ีสามารถทํางานรวมกันเปนกลุมได ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนใหกับนักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนตน คือ การใหโอกาสนักเรียนมีสวน รวมในการลงมือปฏิบัติ การสํารวจตรวจสอบ การคนพบ ตามดว ยการต้ังคําถามเพ่ือนําไปสูการอภิปราย มีการ แลกเปลี่ยนผลการทดลองดวยคําพูด หรือวาดภาพ และมีการอภิปรายเพื่อสรุปผลรวมกัน สําหรับนักเรียนใน ระดับช้ันประถมศึกษาตอนปลายตองการโอกาสที่จะมีสวนรวมในการทํากิจกรรมกลุมโดยการทํางานแบบ รวมมือ ดังน้ันจึงควรสงเสริมใหนักเรียนทําโครงงานวิทยาศาสตรรวมกันซ่ึงจะเปนการสรางความสามัคคี และ ประสานสัมพนั ธร ะหวางนกั เรยี นในระดบั นดี้ ว ย การจัดการเรยี นการสอนทเี่ นนการสืบเสาะหาความรทู างวทิ ยาศาสตร การสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร หมายถึงวิธีการที่นักวิทยาศาสตรใชเพ่ือศึกษาสิ่งตาง ๆ รอบตัว อยางเปนระบบ และเสนอคําอธิบายเก่ียวกับส่ิงท่ีศึกษาดวยขอมูลที่ไดจากการทํางานทางวิทยาศาสตร มีวิธีการอยู หลากหลาย เชน การสํารวจ การสบื คน การทดลอง การสรา งแบบจําลอง นกั เรียนทุกระดับชน้ั ควรไดร บั โอกาสในการสบื เสาะหาความรูทางวทิ ยาศาสตรและพัฒนาความสามารถใน การคิดและแสดงออกดวยวิธีการที่เช่ือมโยงกับการสืบเสาะหาความรูซ่ึงรวมท้ังการต้ังคําถาม การวางแผนและ ดําเนินการสืบเสาะหาความรู การใชเคร่ืองมือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมในการรวบรวมขอมูล การคิดอยางมี วิจารณญาณและมีเหตุผลเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางพยานหลักฐานและการอธิบาย การสรางและวิเคราะห คําอธิบายทหี่ ลากหลาย และการสื่อสารขอ โตแยง ทางวิทยาศาสตร การจดั การเรยี นการสอนที่เนน การสืบเสาะหาความรู เปน การจัดการเรียนการสอนท่ีใหนักเรียนมีสวนรวม ในกระบวนการทํานาย จัดกระทําและตีความหมายขอมูล และส่ือสารเกี่ยวกับผลท่ีไดโดยใชคําศัพททางวิทยาศาสตร วิธีการนี้มีศักยภาพสูงในการจูงใจนักเรียนและทําใหนักเรียนตื่นตัว เปนการกระตุนความอยากรูอยากเห็นเก่ียวกับ ส่ิงตางๆ รอบตัวนักเรียน และในขณะเดียวกันก็พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรดวย การนําวิธีนี้ไปใชได อยา งประสบความสําเร็จ ตองอาศัยการเตรยี มตวั และการคิดลวงหนาของครูผูสอน การจัดการเรียนการสอนที่เนนการ สืบเสาะหาความรู ควรมีหลายรูปแบบ แตละรูปแบบมีความตอเนื่องกันจากท่ีเนนครูเปนสําคัญไปจนถึงเนนนักเรียน เปนสาํ คญั ดังน้ี การสบื เสาะหาความรูแบบครเู ปน ผกู าํ หนดแนวทาง (Structured Inquiry) การสืบเสาะหาความรูแบบ ท้ังครูและนักเรียนเปนผกู าํ หนดแนวทาง (Guided Inquiry) การสืบเสาะหาความรูแบบนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทาง (Open Inquiry) นักเรียนทํากจิ กรรมตามที่ครูกําหนด นกั เรียนพฒั นาวิธี ดําเนินการสํารวจ ตรวจสอบจากคําถามท่ีครู ต้งั ขึ้น นักเรยี นตง้ั คาํ ถามในหัวขอทค่ี รูเลือก พรอ มทั้งออกแบบการสํารวจตรวจสอบดวยตนเอง สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คูมอื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ท การสืบเสาะหาความรูแบบครูเปน ผกู ําหนดแนวทาง (Structured Inquiry) การสืบเสาะหาความรูดวยวิธีนี้ครูเปนผูต้ังคําถามและบอกวิธีการใหนักเรียนคนหาคําตอบ ครูชี้แนะ นักเรียนทุกข้ันตอนโดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร เน้ือหาบางเรื่องในสาระการเรียนรูเหมาะท่ีจะใชการ สบื เสาะดวยวธิ ีน้ี โดยเฉพาะเร่อื งทีเ่ กยี่ วของกับคําถามตามมาตรฐานการเรียนรูที่ตองใชเครื่องมือทดลองพิเศษ เชน พชื สญู เสยี นาํ้ โดยผา นทางใบใชหรือไม อะไรบางที่จาํ เปนตอการเผาไหม อะไรคอื ความสมั พันธร ะหวา งแรงและการเคลือ่ นท่ี ประโยชนของการสบื เสาะหาความรูโดยวธิ ีน้คี ือ ทําใหน ักเรียนคนุ เคยกับวิธกี ารสบื เสาะหาความรู เพ่ือนําไปสู การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร เน่ืองจากนักเรียนจะไดรับการฝกฝนเทคนิคบางอยาง เชน การทดสอบ คา pH หรอื การคํานวณหาคาความหนาแนน ซ่ึงครูสามารถทราบลวงหนาถึงคําถามท่ีนักเรียนจะตั้งข้ึนเพ่ือหาคําตอบ จึงทําใหครูมคี วามพรอ มในสิ่งท่ีตอ งอภปิ รายรวมกัน การสืบเสาะหาความรูแบบครูเปนผูกําหนดแนวทางอาจไมไดทําใหนักเรียนมีสวนรวมทั้งหมดหรือไมได พัฒนาทักษะการคิดวิจารณญาณขั้นสูงเหมือนอยางสองรูปแบบถดั ไป การสืบเสาะหาความรูแบบทั้งครูและนักเรยี นเปนผูก ําหนดแนวทาง (Guided Inquiry) การสืบเสาะหาความรูดวยวิธีนี้ครูเปนผูต้ังคําถามและจัดหาวัสดุอุปกรณที่ใชในการสํารวจตรวจสอบ ใหกับนักเรียน นักเรียนจะเปนผูออกแบบการทดลองดวยตัวเอง หัวขอเรื่องตามมาตรฐานการเรียนรูหลายหัวขอ สามารถใชการสืบเสาะหาความรูแบบนี้ คาํ ถามที่ครอู าจใชถ ามนักเรียน เชน ● จะเกดิ อะไรขึ้นกับบอลลนู ถาบอลลูนลอยจากบรเิ วณทม่ี ีอากาศรอนไปสูบ ริเวณท่ีมีอากาศเยน็ ● พืชโดยทัว่ ไปมีโครงสรา งอะไรท่ีเหมือนกนั ● จะเกดิ อะไรข้ึนเมื่อหยอนวตั ถทุ ่ีมีมวลตา งกันลงในนํ้า การสืบเสาะหาความรแู บบทง้ั ครูและนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทางตองการใหนักเรียนคุนเคยกับขั้นตอน หลักของการสืบเสาะหาความรู ครูมีความรับผิดชอบในการเตรียมการประเมินท่ีเนนการสืบเสาะหาความรูและ ติดตามประเมินนักเรียน การสบื เสาะหาความรูแบบนกั เรียนเปน ผกู ําหนดแนวทาง (Open Inquiry) การสืบเสาะหาความรูดวยวิธีน้ีครูเปนผูจัดหาวัสดุอุปกรณท่ีใชในการสํารวจตรวจสอบใหกับนักเรียน แตนักเรียนเปนผูตั้งคําถามและออกแบบการสํารวจตรวจสอบดวยตัวเอง ตอไปน้ีเปนตัวอยางวัสดุอุปกรณท่ีครู จัดหาใหก บั นักเรยี น แลว ใหนกั เรียนตัง้ คําถามปญหาท่ีเกี่ยวของกับวัสดุอปุ กรณที่จดั ให เชน ● เทียนไข ไมข ดี ไฟ แผนกนั แสงท่ีแสงผา นไดต างกัน ● สงิ่ ของตางๆ หลายชนดิ ทีอ่ าจจมหรือลอยน้ํา ● ของแข็ง บีกเกอร น้าํ และแทงแกว คน ● ถุงที่มกี อ นหินขนาดตา ง ๆ 1 ถุง สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ธ คูม ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 เนือ่ งจากนักเรียนเปนผูออกแบบการทดลองตามคําถามที่ต้ังขึ้นเอง จึงเปนการยากท่ีจะใชวิธีการน้ีกับ หัวขอเรื่องตามมาตรฐานการเรียนรู ส่ิงสําคัญในการสืบเสาะหาความรูแบบนี้คือ การท่ีนักเรียนเลือกหัวขอเร่ือง หลังจากการตรวจสอบวัสดุอุปกรณท่ีกําหนดมาให เพื่อใหประสบความสําเร็จกับการสืบเสาะหาความรูดวยวิธีนี้ ครคู วรสามารถ จัดการเรียนการสอนไดดงั นี้ ● วางแผนการประเมินทีเ่ นน การสบื เสาะหาความรูอยางรอบคอบ ● สรางกฎระเบียบในหองเรียนในการทํางานรวมกันของนักเรียน และการใชวัสดุอุปกรณการ ทดลองไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ● ใหค ําแนะนํากบั นกั เรยี นทีย่ ังสบั สนเกยี่ วกบั การสบื เสาะหาความรูโดยวธิ นี ี้ ● เตรียมคาํ ถามหลงั จากการทาํ กจิ กรรมเพ่ือเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู การจัดการเรียนการ สอนแบบการสืบเสาะหาความรูแบบนักเรียนเปนผูกําหนดแนวทางน้ี อาจทําใหครูตองเผชิญ ปญหาเฉพาะหนามากข้ึนกวา การจัดการเรียนการสอนแบบการสืบเสาะหาความรูแบบครู เปน ผูกําหนดแนวทาง แตถาใชหัวขอที่เหมาะสมและมีการเตรียมบทเรียนอยางรอบคอบ วิธี น้ีสามารถทําใหท้ังนักเรียนและครูต่ืนตัว และยังเปนการใหโอกาสนักเรียนในการพัฒนา ทกั ษะการสบื เสาะหาความรแู ละการใหเหตผุ ลเชิงวิทยาศาสตรอ ีกดว ย การสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตรในหองเรียน เราสามารถจัดการเรียนรูวิทยาศาสตรในหองเรียนโดยจัดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะหาความรู ทางวิทยาศาสตรตามทห่ี ลักสูตรกําหนด ดวยกระบวนการแบบเดียวกันกับที่นักวิทยาศาสตรสืบเสาะ แตอาจมี รปู แบบทีห่ ลากหลายตามบรบิ ทและความพรอมของครูและนกั เรียน เชน การสืบเสาะหาความรูแบบปลายเปด (Opened Inquiry) ท่ีนักเรียนเปนผูควบคุมการสืบเสาะหาความรูของตนเองต้ังแตการสรางประเด็นคําถาม การสํารวจตรวจสอบ (Investigation) และอธิบายส่ิงทศี่ ึกษาโดยใชขอ มลู (Data) หรือหลักฐาน (Evidence) ที่ ไดจากการสํารวจตรวจสอบ การประเมินและเชื่อมโยงความรูที่เกี่ยวของหรือคําอธิบายอื่นเพื่อปรับปรุง คําอธิบายของตนและนําเสนอตอผูอื่น นอกจากน้ี ครูอาจใชการสืบเสาะหาความรูที่ตนเองเปนผูกําหนด แนวทางในการทํากิจกรรม (Structured Inquiry) โดยครสู ามารถแนะนํานักเรียนไดตามความเหมาะสม ในการจัดการเรียนรูแบบสืบเสาะหาความรูทางวิทยาศาสตร ครูสามารถออกแบบการสอนใหมี ลักษณะสําคัญของการสืบเสาะ ดังนี้ 1. นักเรียนมสี วนรวมในประเดน็ คําถามทางวิทยาศาสตร คําถามทางวิทยาศาสตรในท่ีน้ีหมายถึงคําถาม ที่นําไปสูการสืบเสาะคนหาและรวบรวมขอมูลหลักฐาน คําถามท่ีดีควรเปนคําถามที่นักเรียนสามารถ หาขอ มลู หรอื หลักฐานเชิงประจักษเ พือ่ ตอบคําถามนน้ั ๆ ได 2. นักเรียนใหความสําคัญกับขอมูลหลักฐานในการอธิบายและประเมินคําอธิบายหรือคําตอบ นักเรียน ตองลงมือทําปฏิบัติการ เชน สังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง เพื่อนําหลักฐานเชิงประจักษตาง ๆ มาเชื่อมโยง หาแบบรปู และอธบิ ายหรอื ตอบคาํ ถามทศี่ ึกษา สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 น 3. นักเรียนอธิบายแนวคิดทางวิทยาศาสตรจากหลักฐานเชิงประจักษ โดยตองอยูบนพื้นฐานของเหตุผล ตองแสดงความสัมพันธชองขอมูลเชิงประจักษท่ีรวบรวมได สามารถจําแนก วิเคราะห ลงความเห็น จากขอ มลู พยากรณ ตงั้ สมมติฐาน หรอื ลงขอสรุป 4. นักเรียนประเมินคําอธิบายของตนกับคําอธิบายอ่ืนๆ ท่ีสะทอนใหเห็นถึงความเขาใจแนวคิด ทางวิทยาศาสตร นักเรียนสามารถประเมิน (Judge) ขอมูลและหลักฐานตางๆ เพ่ือตัดสินใจ (Make Decision) วาควรเพิกเฉยหรือนําคําอธิบายนั้นมาพิจารณาและปรับปรุงคําอธิบายของตนเอง ในขณะเดียวกันก็สามารถประเมินคําอธิบายของเพ่ือน บุคคลอื่น หรือแหลงขอมูลอื่น แลวนํามา เปรียบเทียบ เช่ือมโยง สัมพนั ธ แลวสรางคาํ อธิบายอยา งมเี หตุผลและหลักฐานสนับสนนุ ซึ่งสอดคลอง กบั ความรูทางวทิ ยาศาสตรทไี่ ดร ับการยอมรบั แลว 5. นักเรียนสื่อสารการคนพบของตนใหผูอ่ืนเขาใจ นักเรียนไดส่ือสารและนําเสนอการคนพบของตนใน รูปแบบที่ผูอ่ืนเขาใจ สามารถทําตามได รวมท้ังเปดโอกาสใหไดมีการซักและตอบคําถาม ตรวจสอบ ขอมูล ใหเหตุผล วิจารณและรับคําวิจารณและไดแนวคิดหรือมุมมองอ่ืนในการปรับปรุงการอธิบาย หรอื วิธีการสืบเสาะคนหาคําตอบ แผนผงั การสืบเสาะหาความรู มีสวนรวมในคาํ ถาม ส่ือสารและใหเหตผุ ล เก็บขอมูลหลักฐาน เช่อื มโยงส่ิงทีพ่ บกับส่ิงทผี่ ูอ่ืนพบ อธิบายสิ่งทพี่ บ ภาพ วัฏจักรการสืบเสาะหาความรูทางวทิ ยาศาสตรในหอ งเรยี น สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
บ คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ในการจัดการเรียนรวู ิทยาศาสตรแบบสืบเสาะหาความรู ครูสามารถออกแบบการสอนใหเหมาะสม และสอดคลองกับเนื้อหาที่สอน สภาพหองเรียน ความพรอมของครูและนักเรียน และบริบทอื่นๆ การยืดหยุน ระดบั การเรียนรแู บบสบื เสาะหาความรสู ามารถอธบิ ายไดดงั ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ลกั ษณะจําเปนของการสืบเสาะหาความรใู นช้นั เรียนและระดับของการสบื เสาะหาความรู ลักษณะจาํ เปน ระดบั การสืบเสาะหาความรู 1. นักเรยี นมสี วนรว ม นักเรยี นเปน ผถู าม นักเรียนเลอื กคาํ ถาม นกั เรียนพิจารณา นกั เรยี นสนใจคาํ ถาม ในประเดน็ คาํ ถาม คําถาม และสรางคําถามใหม และปรบั คาํ ถามท่ีครู จาก ส่ือการสอนหรอื ทางวิทยาศาสตร จากรายการคําถาม ถามหรือคาํ ถามจาก แหลง อนื่ ๆ แหลงอืน่ 2. นักเรียนให นกั เรียนกาํ หนด นกั เรียนไดรบั การ นกั เรียนไดร บั ขอมลู นักเรียนไดรับขอมลู ความสําคญั กบั ขอ มลู ทจี่ ําเปน ในการ ชน้ี าํ ในการเก็บ เพื่อนาํ ไปวิเคราะห และการบอกเลา ขอ มลู หลักฐานท่ี ตอบคาํ ถามและ รวบรวมขอ มลู ท่ี เกย่ี วกบั การวิเคราะห สอดคลองกับ รวบรวมขอมลู จําเปน ขอมลู คําถาม 3. นักเรยี นอธิบายสิง่ นักเรียนอธิบายสงิ่ ท่ี นักเรียนไดรับการ นักเรยี นไดร บั นักเรยี นไดร บั หลกั ฐาน ที่ศกึ ษาจาก ศกึ ษาหลังจาก ชแี้ นะในการสรา ง แนวทาง หรือขอ มูล หลักฐานหรือ รวบรวมและสรปุ คําอธบิ ายจากขอ มลู ทเี่ ปนไปไดเ พ่อื สราง ขอมลู ขอมลู /หลักฐาน หลกั ฐาน คําอธิบายจากขอ มลู หลกั ฐาน 4. นักเรียนเชือ่ มโยง นกั เรียนตรวจสอบ นักเรียนไดร ับการ นกั เรยี นไดรบั การ นักเรยี นไดร ับการ คาํ อธิบายกบั แหลงขอมลู อนื่ และ ชนี้ ําเก่ยี วกบั แนะนาํ ถึงความ เชือ่ มโยงทงั้ หมด องคความรูท าง เชอื่ มโยงกับ แหลง ขอมูลและ เชื่อมโยงท่ีเปนไปได วิทยาศาสตร คําอธบิ ายทส่ี รา งไว ขอบเขตความรูทาง วทิ ยาศาสตร 5. นักเรยี นสอ่ื สาร นักเรียนสราง นกั เรยี นไดรับการ นักเรียนไดรบั นกั เรียนไดร ับ และใหเหตุผล ขอคิดเหน็ ทีม่ เี หตุผล ฝก ฝนในการพัฒนา แนวทางกวางๆ คาํ แนะนาํ ถงึ ขั้นตอน เกย่ี วกับการ และมหี ลกั การเพอ่ื วธิ ีการสอื่ สาร สําหรบั การสื่อสารท่ี และวิธกี ารสอ่ื สาร คนพบของตน สอ่ื สารคาํ อธบิ าย ชัดเจน ตรงประเดน็ มาก ปรมิ าณการจัดการเรยี นรโู ดยนักเรียน นอย นอ ย ปรมิ าณการชนี้ าํ โดยครหู รอื ส่ือการสอน มาก สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คูม ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ป การจดั การเรยี นการสอนทส่ี อดคลอ งกับธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร และกระบวนการทางวิทยาศาสตร ธรรมชาติของวิทยาศาสตร เปนลักษณะเฉพาะตัวของวิทยาศาสตรที่มีความแตกตางจากศาสตรอ่ืน ๆ เปนคานิยม ขอสรุป แนวคิด หรือคําอธิบายที่บอกวา วิทยาศาสตรคืออะไร มีการทํางานอยางไร นักวิทยาศาสตรคือใคร ทํางานอยางไร และงานดานวิทยาศาสตรมีความสัมพันธอยางไรกับสังคม คานิยม ขอ สรปุ แนวคดิ หรือคําอธิบายเหลาน้ีจะผสมกลมกลนื อยูในตัววิทยาศาสตร ความรูทางวิทยาศาสตร และการ พฒั นาความรทู างวิทยาศาสตรส ําหรับนักเรียนในระดบั ประถมศึกษาตอนตน ความเขาใจเกี่ยวกับธรรมชาติของ วิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตรขึ้นอยูกับระดับพัฒนาการทางสติปญญาของนักเรียนและ ประสบการณที่ครูจัดใหกับนักเรียน ความสามารถของนักเรียนในการสังเกตและการส่ือความหมายในสิ่งท่ี สังเกตของนักเรียนในระดับนี้คอย ๆ พัฒนาขึ้น ครูควรอํานวยความสะดวกในการพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรและแนวคิดทางวิทยาศาสตรของนักเรียน นักเรียนในระดับน้ีเริ่มท่ีจะเขาใจวาวิทยาศาสตร คืออะไร วิทยาศาสตรทํางานอยางไร และนักวิทยาศาสตรทํางานกันอยางไรจากการทํากิจกรรมในหองเรียน จากเร่ืองราวเกย่ี วกบั นักวทิ ยาศาสตร และจากการอภปิ รายในหอ งเรียน นักเรียนในระดับประถมศึกษาตอนปลายซ่ึงกําลังพัฒนาฐานความรูโดยใชการสังเกตมากข้ึน สามารถนําความรูมาใชเพ่ือกอใหเกิดความคาดหวังเก่ียวกับส่ิงตาง ๆ รอบตัว โอกาสการเรียนรูสําหรับนักเรียน ในระดับนี้ ควรเนนไปท่ีทักษะการตั้งคําถามเชิงวิทยาศาสตร การสรางคําอธิบายที่มีเหตุผลโดยอาศัย พยานหลกั ฐานท่ปี รากฏ และการสอ่ื ความหมายเกี่ยวกบั ความคดิ และการสาํ รวจตรวจสอบของตนเองและของ นกั เรยี นคนอนื่ ๆ นอกจากน้ีเร่ืองราวทางประวัติศาสตรสามารถเพ่ิมความตระหนักถึงความหลากหลายของคน ในชุมชนวิทยาศาสตร นักเรียนในระดับนี้ควรมีสวนรวมในกิจกรรมท่ีชวยใหเขาคิดอยางมีวิจารณญาณ เก่ยี วกับพยานหลกั ฐานและความสมั พันธร ะหวา งพยานหลกั ฐานกบั การอธบิ าย การเรยี นรูว ทิ ยาศาสตรของนักเรียนแตละระดับชั้นมีพัฒนาการเปน ลาํ ดบั ดงั น้ี นกั เรยี นในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 สามารถตั้งคําถาม บรรยายคําถามดวยคําพูด และเขียน เก่ียวกับคําถาม เขาสามารถสํารวจตรวจสอบคําถาม และรวบรวมพยานหลักฐานจากการสังเกต การสังเกต ของเขาจะมีรายละเอียดมากขึ้นและมีความสัมพันธกับคําถามท่ีมีอยู นักเรียนสามารถบันทึกขอมูลในสิ่งท่ี สังเกตและจากประสบการณของเขา นักเรียนควรไดรับโอกาสในการฝกทักษะเหลาน้ีโดยผานการสํารวจ ตรวจสอบในหองเรียน นักเรียนควรไดรับโอกาสในการมองหาพยานหลักฐานและสังเกตแบบแผนท่ีเกิดขึ้น การอภิปรายในช้ันเรียนเพ่ือแลกเปล่ียนพยานหลักฐานและความคิดควรไปดวยกันกับการสํารวจตรวจสอบ เพ่ือใหนักเรียนไดใชความสามารถท่ีเกิดข้ึนในการทบทวนความคิดที่ตั้งอยูบนพยานหลักฐานใหม เร่ืองราว ตางๆ ที่เก่ียวกับนักวิทยาศาสตรสามารถชวยใหนักเรียนในระดับช้ันน้ีเรียนรูวา นักวิทยาศาสตรมีความคิด สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
ผ คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 สรา งสรรคแ ละมคี วามอยากรอู ยากเหน็ และเขาสามารถเรียนรูรวมกันและแลกเปล่ียนความคิดของกันและกัน โดยผานเร่อื งราวตางๆทีป่ รากฏ นักเรียนสามารถเรียนรูวาทกุ คนสามารถเรียนรวู ทิ ยาศาสตรไ ด นักเรียนในระดบั ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 สามารถพัฒนาความสามารถในการออกแบบและดําเนินการ สํารวจตรวจสอบเพื่อตอบคําถามที่ไดต้ังไว เขาควรไดรับการกระตุนในการวาดภาพส่ิงที่สังเกตไดและ ส่ือความหมายความคิดของเขาจากสิ่งท่ีสังเกต เขาควรไดรับคําแนะนําในการใชการสังเกตเพ่ือสรางคําอธิบายท่ี มีเหตุผลในการตอบคําถามของตัวเอง การอานและการอภิปรายเรื่องราวตางๆ วาวิทยาศาสตรคืออะไร และ วิทยาศาสตรทํางานไดอยางไร เหลาน้ีลวนเปนกลวิธีที่มีประสิทธิภาพที่จะทําใหนักเรียนเรียนรูธรรมชาติของ วทิ ยาศาสตรแ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร และสามารถชว ยนําเสนอแนวคิดเชงิ วิทยาศาสตรใ หม ๆ ดวย นักเรียนในระดบั ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 3 ในระดับนีค้ รูสามารถสรางความอยากรูอยากเห็นเก่ียวกับ ส่ิงตาง ๆ รอบตัว โดยการใหนักเรียนไดต้ังคําถามท่ีสามารถตอบไดโดยการใชฐานความรูทางวิทยาศาสตรและ การสังเกตของตัวนักเรียนเอง นักเรียนสามารถทํางานในกลุมแบบรวมมือเพ่ือทําการสํารวจตรวจสอบท่ี เร่ิมตนจากคําถามและกระบวนการที่นําไปสูการคนหาขอมูลและการส่ือความหมายเก่ียวกับคําตอบของ คําถามน้ันๆ ครูควรเนนใหนักเรียนสังเกตอยางละเอียดถ่ีถวนและสรางคําบรรยายและคําอธิบายจากสิ่งที่ สังเกต ควรนําเสนอตัวอยางทางประวัติศาสตรท่ีนาสนใจของความแตกตางระหวางนักวิทยาศาสตรหญิงและ ชายท่ีทํางานในชุมชนวิทยาศาสตรจากเร่ืองราวและวีดิทัศน ตัวอยางเหลาน้ีสามารถใหขอมูลเก่ียวกับวา วิทยาศาสตรคอื อะไรและวทิ ยาศาสตรทํางานอยา งไร นกั เรยี นในระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี 4 ควรไดรับโอกาสท่ีจะพัฒนาและทําการทดลองอยางงาย ๆ ท่ีมีการเปล่ียนแปลงตัวแปรเพียงตัวเดียวในแตละครั้งที่ทําการทดลอง นักเรียนอาจตองการคําแนะนําบางใน การทดลอง ครูจึงควรเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมท่ีจะชวยเขาใหเหตุผลเกี่ยวกับการสังเกต การส่ือ ความหมายกับคนอื่น ๆ และวิจารณการทํางานของตนเองและของคนอ่ืน ๆ โดยผานกิจกรรมที่ลงมือ ปฏิบัติการทดลองและการอภิปราย นักเรียน สามารถเรียนรูถึงความแตกตางระหวางการสังเกตและการลง ความคิดเห็น (การตีความหมายส่ิงท่ีสังเกตได) ขณะที่นักเรียนสํารวจตรวจสอบคําถาม นักเรียนตองการ คาํ แนะนําในการคนหาแหลง ขอมลู ท่เี ชื่อถอื ไดและบูรณาการขอมูลเหลานั้นกับการสังเกตของตนเอง นักเรียน ควรอานเร่อื งราวตาง ๆ และดูวดี ทิ ัศนเกยี่ วกบั ตัวอยา งทางประวตั ศิ าสตรข องนักวิทยาศาสตรชายและหญิงที่ได ชวยพัฒนาวิทยาศาสตร นักเรียนควรมีสวนรวมในการอภิปรายเก่ียวกับวาวิทยาศาสตรคืออะไร วิทยาศาสตร ทาํ งานอยางไร และใครทาํ งานวทิ ยาศาสตร นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ตองการคําแนะนําในการพัฒนาและนําการสํารวจ ตรวจสอบไปใช การสํารวจตรวจสอบน้ีตองทันสมัยและแสดงถึงความสัมพันธระหวางการอธิบายและ พยานหลกั ฐานทมี่ ี กจิ กรรมท่นี ักเรยี นทําใหคําถามชัดเจนชวยใหเขาพัฒนาความสามารถในการต้ังคําถามทาง วิทยาศาสตรท่ีทดสอบได นักเรียนควรไดรับโอกาสในการตีความหมายขอมูลและคิดอยางมีวิจารณญาณวา ใชหรือไมท่ีพยานหลักฐานสนับสนุนหรือไมสนับสนุนคําอธิบายทางวิทยาศาสตร ตัวอยางทางประวัติศาสตร สามารถนํามาใชเพื่อชวยใหนักเรียนเขาใจธรรมชาติของวิทยาศาสตรและกระบวนการทางวิทยาศาสตรที่วา สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ฝ วทิ ยาศาสตรคือความมานะอุตสาหะของมนษุ ยและของคนในชุมชนวิทยาศาสตร และมนุษยจะไดผลประโยชน จากความรทู ีเ่ พิ่มขนึ้ โดยผานทางวิทยาศาสตร นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ควรเนนการสํารวจตรวจสอบที่ทาทายคําอธิบายและ ความเขา ใจในปจ จบุ นั ของพวกเขา นักเรียนในระดับน้ีควรดําเนินการสํารวจตรวจสอบที่เนนการหาคําอธิบาย ของคําถาม การสํารวจตรวจสอบเหลานี้จะพัฒนานักเรียนในเร่ืองทักษะการสังเกต การทดสอบความคิด การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของ การมองหาแบบแผนของขอมูล การสื่อความหมายและการแลกเปล่ียน เรียนรูกับคนอ่ืน ๆ การฟงและการถามคําถามเกี่ยวกับคําอธิบายที่นําเสนอโดยคนอื่นๆ เมื่อนักเรียนไดพัฒนา ทักษะเหลาน้ี นกั เรียนเริ่มตนทจ่ี ะเขาใจวา นกั วิทยาศาสตรสรางคําอธิบายโดยอาศัยพยานหลักฐานจํานวนมาก วิทยาศาสตรเปดกวางสูแนวคิดใหม วิทยาศาสตรยอมรับความคิดใหมถาพยานหลักฐานช้ีวาความคิดใหมเปน คําอธิบายที่ดีท่ีสุด และพยานหลักฐานใหมอาจเปนสาเหตุใหเกิดการทบทวนความคิด การทําใหเกิดความ แตกตางระหวางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สามารถเริ่มตนไดในนักเรียนระดับน้ีถึงแมวาจะไมงายนัก สําหรับนักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ก็ตาม การมีสวนรวมในการออกแบบและการแกปญหาเปน พื้นฐานท่ีทําใหเขาใจถึงความเหมือน ความแตกตาง และความสัมพันธระหวางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และสามารถชวยใหน ักเรียนเกิดการเรยี นรวู าวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยตี า งกข็ ึน้ อยูก ับกันและกัน การใชกรณี ตัวอยางและเรื่องราวทางประวัติศาสตรสามารถชวยใหนักเรียนเขาใจวาชุมชนวิทยาศาสตรมีหลากหลาย นักวิทยาศาสตรจํานวนมากทํางานเปนทีม และนักวิทยาศาสตรทั้งหมดสื่อสารกันและกันในเร่ืองงานวิจัย พยานหลักฐาน และคําอธิบายของพวกเขา โดยผานท้ังตัวอยางทางประวัติศาสตรและตัวอยางสมัยใหม ครู สามารถแสดงใหนักเรียนเห็นวานักวิทยาศาสตรชายและหญิงไมวาจะมาจากภูมิหลังทางเชื้อชาติ หรือ วัฒนธรรมท่ีแตกตางกันสามารถมีสวนรวมในกิจกรรมทางวิทยาศาสตร และวิทยาศาสตรก็คือ ความมานะ พยายาม และความอุตสาหะของมนษุ ยและคนในชุมชนวทิ ยาศาสตรท ี่มีพน้ื ฐานของความซื่อสัตยทางสติปญญา ความสงสยั ใครร ู และใจกวางตอ แนวคิดใหม สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี
พ คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรูวิทยาศาสตร แนวคิดสําคัญของการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และทแ่ี กไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศกั ราช 2545 ท่เี นนผูเ รยี นเปนสําคัญ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเปด โอกาสใหผ ูเรียนคดิ และลงมอื ปฏิบตั ดิ วยกระบวนการท่หี ลากหลาย เพื่อใหเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองเต็ม ตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางย่ิงตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูใน หอ งเรียน เพราะสามารถทําใหผ สู อนประเมินระดบั พฒั นาการการเรยี นรขู องผูเรียนได กิจกรรมการเรียนรูของนักเรียนมีหลากหลาย เชน กิจกรรมสํารวจภาคสนาม กิจกรรมการสํารวจ ตรวจสอบ การทดลอง กจิ กรรมศกึ ษาคนควา กจิ กรรมศกึ ษาปญ หาพิเศษ หรือโครงงานวิทยาศาสตร อยางไรก็ ตามในการทํากิจกรรมเหลาน้ีตองคํานึงวานักเรียนแตละคนมีศักยภาพแตกตางกัน นักเรียนจึงอาจทํางาน ชิน้ เดียวกันไดเสรจ็ ในเวลาที่แตกตางกัน และผลงานท่ีไดก็อาจแตกตางกันดวย เม่ือนักเรียนทํากิจกรรมเหลาน้ี แลวก็ตองเก็บรวบรวมผลงาน เชน รายงาน ช้ินงาน บันทึก และรวมถึงทักษะปฏิบัติตาง ๆ เจตคติทาง วิทยาศาสตร เจตคติตอวิทยาศาสตร ความรัก ความซาบซึ้ง กิจกรรมท่ีนักเรียนไดทําและผลงานเหลาน้ีตองใช วิธีประเมินท่ีมีความเหมาะสมและแตกตางกันเพื่อชวยใหสามารถประเมินความรูความสามารถและความรูสึก นึกคิดทแี่ ทจรงิ ของนกั เรียนได การวัดผลและประเมินผลจะมีประสิทธิภาพก็ตอเม่ือมีการประเมินหลายๆ ดาน หลากหลายวิธี ในสถานการณต า ง ๆ ทีส่ อดคลอ งกับชีวิตจริง และตองประเมินอยางตอเน่ือง เพื่อจะไดขอมูลท่ี มากพอท่จี ะสะทอนความสามารถทแ่ี ทจ รงิ ของนกั เรียนได จุดมงุ หมายหลกั ของการวดั ผลและประเมินผล 1. เพ่อื คน หาและวนิ ิจฉัยวานักเรียนมีความรูความเขาใจเน้ือหาวิทยาศาสตร มีทักษะความชํานาญ ในการสํารวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร รวมถึงมีเจตคติทางวิทยาศาสตรอยางไรและในระดับใด เพื่อเปน แนวทางใหครสู ามารถวางแผนการจัดการเรียนการสอนไดอยางเหมาะสมเพ่ือพัฒนาการเรียนรูของนักเรียนได อยา งเตม็ ศกั ยภาพ 2. เพื่อใชเปน ขอมลู ยอนกลับใหก ับนักเรยี นวา มีการเรยี นรอู ยางไร 3. เพื่อใชเ ปนขอมลู ในการสรปุ ผลการเรยี น และเปรยี บเทียบระดบั พัฒนาการดานการเรยี นรูข องนกั เรยี น แตล ะคน การประเมินการเรียนรูของนักเรียน มี 3 แบบ คือ การประเมินเพ่ือคนหาและวินิจฉัย การประเมิน เพือ่ ปรบั ปรุงการเรียนการสอน และการประเมินเพื่อตดั สินผลการเรยี นการสอน การประเมินเพื่อคนหาและวินิจฉัย เปนการประเมินเพ่ือบงชี้กอนการเรียนการสอนวา นักเรียนมี พื้นฐานความรู ประสบการณ ทักษะ เจตคติ และแนวคิดท่ีคลาดเคล่ือนอะไรบาง การประเมินแบบน้ีสามารถ บง ชี้ไดวา นักเรยี นคนใดตอ งการความชว ยเหลือเปน พเิ ศษในเร่ืองท่ีขาดหายไป หรือเปนการประเมินเพ่ือพัฒนา ทักษะที่จําเปนกอนท่ีจะเรียนเร่ืองตอไป การประเมินแบบน้ียังชวยบงช้ีทักษะหรือแนวคิดที่มีอยูแลวของ นักเรียนอีกดวย การประเมินเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน เปนการประเมินในระหวางชวงท่ีมีการเรียนการ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คมู อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ฟ สอน การประเมินแบบน้ีจะชวยครูบงชี้ระดับท่ีนักเรียนกําลังเรียนอยูในเร่ืองที่ไดสอนไปแลว หรือบงช้ีความรู ของนกั เรียนตามจดุ ประสงคการเรียนรูท่ีไดวางแผนไว เปนการประเมินที่ใหขอมูลยอนกลับกับนักเรียนและกับ ครวู า เปน ไปตามแผนการทวี่ างไวหรือไม ขอมูลที่ไดจากการประเมินแบบนไ้ี มใชเพ่ือเปาประสงคในการใหระดับ คะแนน แตเ พ่อื ชว ยครใู นการปรับปรงุ การสอน และเพือ่ วางแผนประสบการณต า งๆ ท่ีจะใหก บั นักเรยี นตอไป การประเมนิ เพ่อื ตัดสินผลการเรยี นการสอน เกิดขน้ึ เม่ือสิน้ สดุ การเรียนการสอนแลว สว นมากเปน “การสอบ” เพ่ือใหระดับคะแนนกับนักเรยี น หรือเพ่ือใหตําแหนงความสามารถของนักเรียน หรือเพื่อเปนการบงชี้ ความกาวหนาในการเรียนของนักเรียน การประเมินแบบน้ีถือวาสําคัญในความคิดของผูปกครองนักเรียน ครู ผบู รหิ าร อาจารยแนะแนว ฯลฯ แตกไ็ มใชเปนการประเมินภาพรวมทั้งหมดของความสามารถของนักเรียน ครูตองระมัดระวังเมื่อประเมินผลรวมในการตัดสินผลการเรียนของนักเรียนเพ่ือใหเกิดความสมดุล ความ ยตุ ิธรรม และเกิดความตรง การตัดสินผลการเรียนของนักเรียนมักจะมีการเปรียบเทียบกับส่ิงอางอิง สวนมากการประเมิน มักจะอางอิงกลุม (norm reference) คือเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนโดยเปรียบเทียบกับกลุม หรือคะแนนของนักเรียนคนอื่นๆ การประเมินแบบกลุมน้ีจะมี “ผูชนะ” และ “ผูแพ” แตในหลายบริบท กลุม อางอิงหรือกลุมเปรียบเทียบน้ีจะมีความตรงและเหมาะสม อยางไรก็ตาม การประเมินแบบอิงกลุมนี้จะมีนักเรียน ครึ่งหน่ึงท่ีอยูตํ่ากวาระดับคะแนนเฉล่ียของกลุม นอกจากนี้ยังมีการประเมินแบบอิงเกณฑ (criterion reference) ซึ่งเปนการเปรียบเทียบความสามารถของนักเรียนกับเกณฑท่ีตั้งเอาไวโดยไมคํานึงถึงคะแนนคนอื่นๆ ฉะน้ัน จุดมุงหมายในการเรียนการสอนจะตองชัดเจนและมีเกณฑที่บอกใหทราบวาความสามารถระดับใดจึงจะเรียกวา บรรลุถึงระดับ “รอบรู” โดยที่นักเรียนแตละคน หรือชั้นเรียนแตละชั้น หรือโรงเรียนแตละโรงจะไดรับการตัดสิน วาประสบผลสําเร็จก็ตอเม่ือ นักเรียนแตละคน หรือชั้นเรียนแตละช้ัน หรือโรงเรียนแตละโรงไดสาธิตผลสําเร็จ หรือสาธิตความรอบรูตามจุดประสงคการเรียนรูหรือตามเกณฑที่ตั้งไว ขอมูลที่ใชสําหรับการประเมินเพ่ือวินิจฉัย หรือเพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน หรือเพื่อตัดสินผลการเรียนการสอนสามารถใชการประเมินแบบอิงกลุมหรือ อิงเกณฑ เทาที่ผานมาการประเมนิ เพื่อตัดสินผลการเรยี นการสอนจะใชการประเมินแบบอิงกลุม แนวทางการวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู การเรียนรจู ะบรรลตุ ามเปา หมายของการจัดกิจกรรมการเรยี นรูท่ีวางไวได ควรมแี นวทางดังตอไปน้ี 1. วัดและประเมินผลทั้งความรูความคิด ความสามารถ ทักษะกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรม คา นิยมในวทิ ยาศาสตร รวมทั้งโอกาสในการเรยี นรูของนักเรยี น 2. วธิ ีการวัดและประเมินผลตองสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูท่ีกําหนดไว 3. เก็บขอมลู ท่ีไดจากการวดั และประเมินผลอยางตรงไปตรงมา และตอ งประเมนิ ผลภายใตข อมลู ที่มีอยู 4. ผลของการวัดและประเมินผลการเรียนรูของนักเรียนตองนาํ ไปสูการแปลผลและลงขอสรุปที่สมเหตุสมผล 5. การวัดและประเมินผลตองมีความเที่ยงตรงและเปนธรรม ท้ังในดานของวิธีการวัดและโอกาสของการ ประเมนิ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ภ คมู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 วธิ ีการและแหลง ขอมูลทใี่ ชใ นการวดั ผลและประเมินผล เพือ่ ใหการวัดผลและประเมนิ ผลไดสะทอนความสามารถที่แทจ ริงของนักเรยี น ผลการประเมินอาจ ไดม าจากแหลง ขอมูลและวิธกี ารตา งๆ ดงั ตอไปนี้ 1. สังเกตการแสดงออกเปนรายบุคคลหรือรายกลมุ 2. ชิ้นงาน ผลงาน รายงาน 3. การสัมภาษณท้ังแบบเปน ทางการและไมเปน ทางการ 4. บนั ทกึ ของนักเรียน 5. การประชมุ ปรึกษาหารอื รว มกันระหวางนักเรยี นและครู 6. การวัดและประเมินผลภาคปฏิบัติ 7. การวัดและประเมินผลดา นความสามารถ 8. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรโู ดยใชแ ฟมผลงาน สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คูมือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ม ตารางแสดงความสอดคลองระหวางเน้อื หาและกิจกรรม ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 เลม 1 กับตวั ช้ีวดั กลุมสาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 หนว ยการ ช่ือกิจกรรม เวลา ตวั ชว้ี ดั เรยี นรู (ชัว่ โมง) - หนวยที่ 1 บทที่ 1 เรียนรแู บบนักวิทยาศาสตร 2 • ระบุชอ่ื บรรยาย ลกั ษณะและบอก การเรยี นรูส่งิ เรอื่ งท่ี 1 การสืบเสาะหาความรู 2 หนา ทขี่ องสวน ตางๆ ของรางกาย ตา ง ๆ กจิ กรรมที่ 1 จมหรอื ลอย 2 มนุษย สตั ว และ พืช รวมท้ังบรรยาย รอบตัว เรอ่ื งท่ี 2 การสังเกตและการลงความเห็นจากขอมูล 2 การทําหนาที่รวมกนั ของสวนตาง ๆ ของ กจิ กรรมที่ 2 การสังเกตและการลง 3 รางกายมนุษยใ น การทํากจิ กรรมตา ง ความเห็นจากขอมลู ทําไดอยา งไร 1 ๆ จากขอมูลท่ี รวบรวมได เรอื่ งท่ี 3 การจําแนกประเภท 1 • ตระหนักถึง กิจกรรมท่ี 3 จําแนกสง่ิ ของไดอยางไร 1 ความสําคญั ของ สว นตา ง ๆ ของ เรื่องท่ี 4 การพยากรณ 1 กจิ กรรมท่ี 4 พยากรณไ ดอยางไร 2 กจิ กรรมทายบทท่ี 1 เรยี นรแู บบนกั วิทยาศาสตร หนวยที่ 2 ตัว บทท่ี 1 รา งกายของเรา 1 เรา สตั ว และ เรอ่ื งท่ี 1 สว นตา ง ๆ ของรา งกาย 1 พชื รอบ กิจกรรมท่ี 1.1 สว นตาง ๆ ของรางกายเรา 3 ตัวเรา มอี ะไรบา ง 3 กิจกรรมท่ี 1.2 สว นตาง ๆ ของรา งกายทํา 2 หนาท่อี ะไร กจิ กรรมทายบทท่ี 1 รางกายของเรา 1 1 บทท่ี 2 สัตวและพชื รอบตวั เรา 2 เร่ืองที่ 1 สว นตา ง ๆ ของสตั วแ ละพืช 3 กิจกรรมที่ 1.1 มารจู ักสตั วก ันไหม 1 กจิ กรรมท่ี 1.2 มารูจ ักพชื กันไหม 2 เรอ่ื งที่ 2 บริเวณทส่ี ัตวและพชื อาศยั อยู 3 กิจกรรมที่ 2 สตั วและพืชอยูที่ใดบาง กิจกรรมทายบทท่ี 2 สัตวและพืชรอบตัวเรา สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ย คูม อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 หนว ยการ ชือ่ กิจกรรม เวลา ตัวชว้ี ัด เรียนรู (ชั่วโมง) รางกายตนเอง โดย 40 การดูแลสว นตา งๆ อยา ง ถูกตอ ง ให ปลอดภยั และรกั ษา ความสะอาดอยู เสมอ • ระบชุ ื่อพืชและสตั ว ทอี่ าศัยอยบู รเิ วณ ตาง ๆ จากขอมูลที่ รวบรวมได • บอกสภาพแวดลอ ม ที่เหมาะสมกับการ ดาํ รงชีวติ ของพืช และสัตวใ นบริเวณ ที่อาศยั อยู รวมจํานวนชว่ั โมง หมายเหตุ: กิจกรรม เวลาทใี่ ช และส่งิ ทตี่ องเตรยี มลวงหนานั้น ครสู ามารถปรบั เปล่ียนเพิ่มเติมไดต ามความ เหมาะสมของสภาพทองถ่ิน สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ร รายการวสั ดุอุปกรณวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 ลําดับท่ี รายการ จาํ นวน/กลุม จาํ นวน/หอง จาํ นวน/คน 1 ถงั นํ้ากนลึก 1 ใบ 2 ลกู บอลพลาสติก 1 ลกู 1 อนั 3 ยางลบ 1 กอน 1 บาน 4 ชอ นสเตนเลส 1 คนั 1 เพลง 5 ชอ นพลาสตกิ 1 คนั 6 ไมบรรทดั เหล็ก 1 อัน 1 รปู 7 ดินนํา้ มนั 1 กอน 1 เร่ือง 8 แผนโฟม (ตดั เปนแผนขนาดเล็ก) 1 แผน 9 1 แผน 10 ฟองน้ํา (ตัดเปน แผน ขนาดเล็ก) 1 ใบ 11 ถุงกระดาษ ขนาดประมาณ 12 x 13 นวิ้ 12 ไมเสียบ 1 ถงุ ขา วโพดคั่วหรอื ของที่สามารถกินได และมีกลิน่ เพื่อใสใน 13 ถุงปริศนาประมาณ 1/3 ของถงุ 1 ชุด 14 กระดุมแบบตา ง ๆ 1 -2 กลอง 15 กระจก 16 รูปสวนตาง ๆ ทอ่ี ยูภายในรางกาย 1 ชนิด 17 1 ดอก 18 ดินสอสี 1 เลม 19 เพลง 3 อนั 20 อาหาร 21 ดอกไม 1 ชนิด 22 หนังสือ 23 แวน ขยาย 24 รปู สตั ว ตน พืชท่ตี ดิ บนกระดาษ A4 วีดทิ ศั นส ารคดีเกี่ยวกบั สัตวแ ละพืชท่ีอาศยั อยูในบริเวณ ตาง ๆ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี
1 คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 ˹‹Ç·Õè 1 ¡ÒÃàÃÕ¹Ãʌ٠Ô觵‹Ò§ æ ÃͺµÑÇ ภาพรวมการจดั การเรยี นรูประจาํ หนวยท่ี 1 การเรียนรสู งิ่ ตาง ๆ รอบตวั บท เร่อื ง กจิ กรรม ลาํ ดับการจดั การเรียนรู ตวั ช้วี ัด - บทท่ี 1 การเรียนรูแบบ เร่ืองที่ 1 การสืบเสาะหา กิจกรรมท่ี 1 จมหรือ • การสืบเสาะเปน การเรียนรู นักวทิ ยาศาสตร ความรู ลอย สิง่ ตาง ๆ หรือการคน หา คําตอบที่สงสยั เรอื่ งที่ 2 การสงั เกตและการ กิจกรรมที่ 2 การสังเกต • การสังเกต เปนการใช ลงความเห็นจาก และการลงความเห็นจาก ประสาทสัมผัสตาง ๆ โดย ขอมูล ขอมลู ทาํ ไดอยางไร มีตา หู จมูก ล้ิน ผิวหนัง ในการรบั สมั ผัส • การลงความเห็นจากขอมูล เ ป น ก า ร นํ า ค ว า ม รู ห รื อ ประสบการณมาอธิบายสิ่ง ทส่ี ังเกตได เ รื่ อ ง ท่ี 3 ก า ร จํ า แ น ก กิจกรรมท่ี 3 จําแนก • การจําแนกประเภท เปน ประเภท สง่ิ ของไดอ ยา งไร การจัดกลุมส่ิงตาง ๆ โดย ใชลักษณะท่ีเหมือนหรือ แตกตา งกัน เรื่องที่ 4 การพยากรณ กิจกรรมที่ 4 พยากรณ • การพยากรณ เปนการใช ไดอยางไร ข อ มู ล ค ว า ม รู ห รื อ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ที่ มี อ ยู ม า คาดการณสง่ิ ทีจ่ ะเกดิ ข้นึ รว มคดิ รวมทํา
คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 2
3 คูม ือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 บทที่ 1 เรียนรแู บบนกั วิทยาศาสตร จุดประสงคการเรยี นรูประจาํ บท บทน้มี อี ะไร การสบื เสาะหาความรู การสืบเสาะ (inquiry) เม่อื เรยี นจบบทนี้ นักเรยี นสามารถ เร่อื งที่ 1 จมหรอื ลอย 1. อธิบายและใชการสืบเสาะในการตอบคําถามที่ คาํ สําคัญ การสังเกตและการลงความเห็นจาก สงสยั กจิ กรรมที่ 1 ขอ มูล 2. อธิบายและใชทักษะการสังเกต การลงความเหน็ เรือ่ งที่ 2 การสังเกต (observing) จากขอมลู การจําแนกประเภท และการพยากรณ การลงความเหน็ จากขอมูล (inferring) ในการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร คําสาํ คญั การสังเกตและการลงความเห็นจาก ขอมูลทาํ ไดอยา งไร แนวคดิ สําคญั กิจกรรมท่ี 2 การจําแนกประเภท การจําแนกประเภท (classifying) ความรูทางวิทยาศาสตรเกิดจากความสงสัยเกี่ยวกับ เรือ่ งที่ 3 จาํ แนกส่งิ ของไดอยางไร สิ่งตาง ๆ ในธ รรมช าติ เราสามารถเรียนรูแบบ คาํ สาํ คญั การพยากรณ นักวิทยาศาสตรไ ด โดยใชการสืบเสาะในการตอบคําถามที่ กิจกรรมที่ 3 การพยากรณ (predicting) สงสยั เรื่องที่ 4 พยากรณไดอยา งไร คาํ สาํ คญั สื่อการเรยี นรูและแหลงเรียนรู กิจกรรมที่ 4 1. หนังสือเรียน ป.1 เลม 1 หนา 1-24 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 1 หนา 1-27
คูมือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 4 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ ละทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 รหสั ทกั ษะ กจิ กรรมที่ 1234 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสงั เกต S2 การวัด S3 การใชจ ํานวน S4 การจําแนกประเภท S5 การหาความสมั พนั ธร ะหวาง สเปซกับสเปซ สเปซกับเวลา S6 การจดั กระทาํ และสือ่ ความหมายขอมูล S7 การพยากรณ S8 การลงความเหน็ จากขอมลู S9 การต้ังสมมตฐิ าน S10 การกาํ หนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร S11 การกาํ หนดและควบคุมตวั แปร S12 การทดลอง S13 การตคี วามหมายขอมูลและลงขอ สรุป S14 การสรา งแบบจาํ ลอง ทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 C1 การสรางสรรค C2 การคดิ อยางมวี จิ ารณญาณ C3 การแกป ญหา C4 การสอ่ื สาร C5 ความรวมมอื C6 การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
5 คมู ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 แนวคดิ คลาดเคลอ่ื น ครบู นั ทึกแนวคดิ ท่ีไดจ ากการฟงการสนทนาและการอภปิ ราย เพ่ือนําไปใชในการจดั การเรยี นรใู หส ามารถแกไ ขแนวคดิ คลาดเคล่อื นและตอยอดแนวคดิ ที่ถูกตอ ง แนวคิดคลาดเคล่อื น แนวคดิ ทถี่ ูกตอ ง การสงั เกตคือการมองดู การสงั เกตคือการใชประสาทสมั ผัสทั้ง การดู การดม การฟง การชิมรส และการสัมผสั เพอ่ื บอกลักษณะของส่งิ ตาง ๆ
คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 6 บทนีเ้ ร่มิ ตนอยา งไร (1 ชัว่ โมง) ค รู รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเปนสําคัญ ครูยังไม 1. ครูนําเขาสูบทเรียนดวยการสนทนาซักถามเกี่ยวกับการเรียนรู เฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวนให ส่ิงรอบตัว โดยอาจนําวัตถุปริศนามาใหนักเรียนสังเกต แลวถาม หาคาํ ตอบที่ถูกตองจากกิจกรรม นักเรียนวาถาพบสิ่งของหรือวัตถุท่ีนักเรียนไมเคยพบเห็นมากอน ตาง ๆ ในบทเรียนี้ นักเรยี นจะมีวธิ กี ารหาคําตอบหรือเรยี นรูเก่ยี วกับสง่ิ น้นั ๆ ไดอยางไร บา ง (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง) 2. ครูชักชวนใหนักเรียนศึกษาเก่ียวกับการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร โดยอานหนังสือเรียน บทที่ 1 ของหนวยที่ 1 เร่ิมจากการอานชื่อ หนว ย ช่อื บท และจุดประสงคการเรียนรูประจําบท ครูใชคําถามใน การอภิปรายวาเมื่อเรียนจบบทน้ี นักเรียนสามารถทําอะไรได (อธิบายและใชการสืบเสาะในการตอบคําถามท่ีสงสัย อธิบายและใช ทักษะการสังเกต การลงความเห็นจากขอมูล การจําแนกประเภท และการพยากรณ ในการเรยี นรูว ิทยาศาสตร) 3. นกั เรยี นอานช่ือบท และแนวคิดสําคัญ จากหนังสือเรียนหนา 2 ครู ใชคาํ ถามในการอภิปรายวาในบทน้ีจะไดเรียนเรื่องอะไรบาง (การใช การสืบเสาะในการตอบคาํ ถามท่สี งสยั ) 4. นักเรียนอา นเนือ้ เรื่องในหนงั สอื เรียนหนา 2 ครูอาจใชวิธีฝกการอาน ท่เี หมาะสมกบั นักเรยี น จากน้นั ตอบคําถามเพือ่ ตรวจสอบความรูเดิม ของนกั เรยี นโดยใหน ักเรยี นรว มกนั อภิปราย ดังนี้ 4.1 นักเรียนสังเกตเห็นอะไรในภาพบาง (นักเรียนตอบตามความ เขา ใจของตนเอง) 4.2 นักเรียนเคยสงสัยหรือไม ทําไมแมลงปอจึงบินได หรือทําไม ปลาจึงหายใจในน้ําได (นักเรียนตอบตามประสบการณของ ตนเอง) 4.3 นักเรียนจะมีวิธีการคนหาคําตอบที่ตนเองสงสัยไดอยางไรบาง (นกั เรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง) 5. นักเรียนทําสํารวจความรูกอนเรียนในแบบบันทึกกิจกรรมหนา 2 โดยอานช่อื หนวย ชอื่ บท
7 คมู ือครรู ายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 การเตรยี มตวั ลวงหนา สาํ หรับครู เพ่ือจดั การเรียนรูในครง้ั ถัดไป 6. นักเรียนอานคําถาม ครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเก่ียวกับ การตอบคําถามแตละขอ จนแนใจวานักเรียนสามารถทําไดดวย ในครั้งถัดไป นักเรียนจะไดอาน ตนเอง จึงใหนักเรียนบันทึกคําตอบตามความเขาใจของตนเอง ซ่ึง เร่ืองท่ี 1 การสืบเสาะหาความรู ซ่ึง คําตอบของแตละคนอาจแตกตางกนั ได และอาจตอบถกู หรอื ผิดกไ็ ด มีเน้ือเรือ่ งเกยี่ วกับการสังเกตการเคลื่อนท่ี ของหอยทาก เพ่ือใหน กั เรียนเขาใจเน้ือหา 7. ครูสังเกตการตอบคําถามของนักเรียนเพ่ือตรวจสอบวานักเรียนมี ที่เรียนไดดีย่ิงข้ึน ครูควรเตรียมภาพ แนวคิดเกยี่ วกับการเรยี นรูแบบนักวิทยาศาสตรอ ยา งไรบาง หรืออาจ หอยทาก หรือวีดิทัศนเก่ียวกับหอยทาก สุมใหนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําตอบของตนเองในแตละขอ โดย มาเปนส่อื ประกอบการเรียนรู หรืออาจนํา ยังไมตองเฉลยคําตอบ แตจะใหนักเรียนยอนกลับมาตรวจสอบ ตัวหอยทากมาใหน กั เรยี นศึกษา อีกครง้ั หลงั เรยี นจบบทนีแ้ ลว ท้ังน้ีครูอาจบันทกึ แนวคิดคลาดเคล่ือน หรือแนวคิดที่นาสนใจของนักเรียน แลวนํามาออกแบบการจัดการ เรียนการสอนเพ่อื แกไขแนวคิดใหถ กู ตอ ง
คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 8 แนวคาํ ตอบในแบบบันทึกกิจกรรม การสาํ รวจความรูกอนเรียน นักเรยี นอาจตอบคําถามถกู หรือผิดก็ไดข ้ึนอยูกบั ความรูเ ดิมของนักเรยี น แตเ ม่ือเรยี นจบบทเรียนแลว ใหน กั เรียนกลับมาตรวจสอบคําตอบอกี ครั้งและแกไขใหถกู ตอง ดังตัวอยาง ตวั อยางรปู วาดนักวิทยาศาสตรใ นความคิดของนักเรยี น
9 คูมอื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1
คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 10
11 คูม ือครรู ายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 เรื่องที่ 1 การสืบเสาะหาความรู ในเร่ืองนี้นักเรียนจะไดเรียนรูเก่ียวกับการสืบเสาะที่ ใชในการหาความรูหรือคาํ ตอบในเรอ่ื งทส่ี งสัย จุดประสงคการเรยี นรู สังเกตและอธิบายวิธีการสืบเสาะเพ่ือตอบคําถามท่ี สงสัย เวลา 4 ชวั่ โมง วัสดุ อปุ กรณส ําหรบั ทาํ กจิ กรรม สอ่ื การเรียนรแู ละแหลงเรียนรู ถังนํ้ากนลึก ลูกบอลพลาสติก ยางลบ ชอนสเตนเลส 1. หนงั สอื เรยี น ป.1 เลม 1 หนา 4-7 ชอนพลาสตกิ ไมบรรทดั เหลก็ ดินนาํ้ มนั แผน โฟม ฟองนา้ํ 2. แบบบันทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 1 หนา 5-8
คูม ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 1 12 แนวการจดั การเรียนรู (120 นาที) ขั้นตรวจสอบความรู (20 นาท)ี 1. ครูเริ่มตนการสอนโดยใหนักเรียนชมภาพหอยทาก หรือชมวิดีทัศน ในการตรวจสอบความรู ครู ชีวิตของหอยทากตามธรรมชาติ จากน้ันถามคําถาม ดังนี้ เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียนและ 1.1 นักเรียนรูจักสัตวในรูป/วีดิทัศนหรือไม (นักเรียนตอบตาม ยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวน ประสบการณข องตนเอง) ใหนักเรียนไปหาคําตอบดวยตนเอง 1.2 นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบาง (นักเรียนตอบตามส่ิงท่ีตนเอง จากการอา นเน้อื เรอ่ื ง สังเกตเห็น เชน หอยทากมีตา มีเปลือก หอยทากเคล่ือนที่ไป อยา งชา ๆ) 1.3 หลังจากดูรูป/วีดิทัศนแลว นักเรียนมีคําถามเพิ่มเติมเก่ียวกับ สัตวในรูป/วีดิทัศนหรือไม และจะมีวิธีการใดบางในการหา คาํ ตอบ (นักเรยี นตอบตามความเขาใจของตนเอง) ขั้นฝก ทักษะจากการอาน (40 นาที) 2. นักเรียนอานหนังสือเรียนหนา 4 อานช่ือเรื่อง และคําถามคิดกอน อาน นักเรียนตอบคําถามตามความเขาใจของตนเอง ครูบันทึก คําตอบของนักเรียนบนกระดานเพ่ือใชเปรียบเทียบกับคําตอบหลัง การอา นเรอ่ื ง 3. นักเรียนอานคําในคําสําคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หาก นักเรียนอานคําไมได ครูควรสอนการอานและใหนักเรียนอธิบาย ความหมายตามความเขาใจของตนเอง นอกจากน้ีครูแนะนําใหไปหา ความหมายของคําตาง ๆ ท่ีพบในเนื้อเรอ่ื ง 4. นักเรียนอานเน้ือเร่ืองตามวิธีการอานที่เหมาะสมกับความสามารถ ของนักเรยี น จากนนั้ รวมกนั อภปิ รายตามแนวคําถาม ดังน้ี 4.1 หอยทากมลี ักษณะอยางไร (หอยทากมหี นวด ตา และบนลําตัวมี เปลือกแข็ง หอยทากมีการเคล่ือนทอ่ี ยา งชา ๆ)
13 คูมอื ครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 1 การเตรียมตัวลว งหนา สาํ หรบั ครู เพอ่ื จัดการเรยี นรใู นครงั้ ถดั ไป 4.2 จากเรอื่ งท่อี า น มีขอสงสัยใดเกิดข้ึนเก่ียวกับหอยทาก (หอยทาก เคลื่อนทไ่ี ดอยา งไร) ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะไดทํา กิจกรรมท่ี 1 จมหรือลอย ผานการสังเกต 4.3 จากขอสงสัย เราสามารถใชวิธีใดบางในการหาคําตอบเก่ียวกับ ซึ่งกิจกรรมน้ีจะมีการนําส่ิงของตาง ๆ มา การเคลื่อนท่ีของหอยทาก (สังเกตการเคล่ือนที่ของหอยทากอีก ลอยนํ้า ดังนั้นครูควรเตรียมหาสถานที่ทํา หลายตวั สอบถามคนอืน่ ๆ วาสงั เกตไดอยา งเดียวกนั หรอื ไม) กจิ กรรมท่ีเหมาะสม และเตรียมผาหรือถัง รองนํา้ สําหรับใชร ะหวา งการทํากจิ กรรม ข้นั สรปุ จากการอาน (60 นาท)ี 5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายจนไดขอสรุปจากเร่ืองท่ีอานวาการ สืบเสาะเปนการคนหาคําตอบหรือความอยากรูผานกระบวนการ ตางๆ เชน การต้ังคําถาม การรวบรวมขอมูลจากการสังเกต การ เปรียบเทียบคําตอบที่พบกับคําตอบของผูอื่น และการส่ือสารสิ่งที่ คน พบใหผ ูอ่ืนทราบ 6. นักเรียนตอบคําถามจากเรื่องที่อานในรูหรือยัง ในแบบบันทึก กิจกรรม หนา 5 7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียน ในรหู รอื ยังกับคําตอบท่ีเคยตอบและบันทึกไวในคิดกอนอาน จากนั้น ใหนักเรียนฝกเขียนคําวา การสืบเสาะ ในเขียนเปน ในแบบบันทึก กจิ กรรมหนา 5 8. ครูเนนย้ําเก่ียวกับคําถามทายเร่ืองท่ีถามวา เราจะสืบเสาะเพ่ือหา คําตอบในเรื่องที่สงสัยไดอยางไรบาง ครูบันทึกคําตอบของนักเรียน บนกระดานโดยยังไมเฉลยคําตอบแตชักชวนใหนักเรียนหาคําตอบ จากการทํากจิ กรรมตอ ไป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226