63 3D Printer ภาพท่ี 3.9 เคร่ืองพิมพแ์ บบสามมิติ ที่มา: 3D Printing New Zealand (2018) 3. การแสดงผลข้อมูลผ่านลาโพง (Speaker) ข้อมูลท่ีออกมาจากคอมพิวเตอร์และผ่าน ลาโพงออกมามีเพียงอย่างเดียวคือเสียง ซ่ึงอาจจะเป็นเสียงพูด เสียงบรรยาย เสียงเพลง เสียงบรรเลง เสยี งประกอบ เปน็ ตน้ ลาโพงถอื วา่ เปน็ อปุ กรณแ์ สดงผลข้อมลู ท่ีสาคญั เน่อื งจากปจั จุบันมีโซเชยี ลมีเดีย (Social Media) จานวนมากท่ีสามารถเข้าถึงเพื่อศึกษาหาความรู้ หาความบันเทิง และส่ือสารด้วย เสียงระหว่างกัน เช่น การพูดคุยกับเพื่อนด้วยเสียงผ่านทางโปรแกรม LINE การดูหนัง ฟังเพลงทาง YouTube โดยปกติคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะ คอมพิวเตอร์โน้ตบกุ๊ แท็บเล็ต และสมาร์ทโฟน มักจะมีลาโพงติดตั้งมาพร้อมแล้วเสมอ แต่หากผู้ใช้งานไม่สะดวกท่ีจะใช้ ลาโพงของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ดังกล่าวก็สามารถฟังเสียงผ่านทางหูฟัง (Headphone) ซ่ึงเป็นลาโพง อีกชนดิ หน่งึ ท่ีไดร้ บั ความนิยม เนอ่ื งจากสามารถเปิดฟังเสยี งไดโ้ ดยไมร่ บกวนบุคคลอื่น ๆ ปจั จบุ นั หฟู ัง มีทง้ั แบบมีสายและแบบไรส้ ายให้เลอื กใช้งาน ภาพท่ี 3.10 ลาโพงและหูฟังสาหรับนาขอ้ มลู เสยี งออกจากคอมพวิ เตอร์สู่ผู้ใช้
64 หน่วยจดั เกบ็ ข้อมลู (Storage Unit) หน่วยจัดเก็บข้อมูล (Storage Unit) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับจัดเก็บข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ ได้รับมาผ่านทางหน่วยนาเข้าข้อมูล เพื่อทยอยส่งให้หน่วยประมวลผลนาไปประมลผล และจัดเก็บ ข้อมูลไว้สาหรับเรียกใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยจัดเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท ประกอบด้วย หน่วยความจาหลัก (Primary Memory) และหน่วยความจาสารอง (Secondary Memory) ซึ่งแต่ละประเภทมีอุปกรณ์สาหรบั จดั เกบ็ ข้อมูลตามภาพที่ 3.11 มรี ายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปนี้ ภาพท่ี 3.11 หน่วยจดั เก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์ 1. หน่วยความจาหลัก (Primary Memory or Main Memory) เป็นอุปกรณ์ที่มี ความสาคัญท่ีทางานควบคู่และใกล้ชิดกับหน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์อยู่ตลอดเวลา สาเหตุท่ี เรยี กหนว่ ยความจาหลกั หรือ Primary Memory เน่ืองจากเป็นหนว่ ยความจาหรอื แหล่งจัดเกบ็ ข้อมูล แรกสุดที่จัดเก็บข้อมูลและรอให้หน่วยประมวลผลนาไปประมวลผลต่อไป มีความเร็วในการทางานสูง เทียบเท่ากับหน่วยประมลผล หน่วยความจาหลักแบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่ หน่วยความจาถาวร (Read Only Memory: ROM) เป็นหน่วยความจาที่เก็บข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้จากโรงงานผลิต โดยปกติแล้ว ผ้ใู ชโ้ ดยทั่วไปไมจ่ าเปน็ ต้องไปเปล่ียนแปลงข้อมลู ในหนว่ ยความจาชนิดนี้ เน่อื งจากอาจทาให้เกิดความ เสียหายของข้อมูลได้ นิยมนาไปทา BIOS หรือโปรแกรมขนาดเล็กที่ถูกเขียนและบันทึกเก็บไว้ใช้ใน การ Booted Up หรือเปิดใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลท่ีอยู่ในหน่วยความจาชนดิ น้ีสามารถเก็บไวไ้ ด้ แม้จะไม่มีไฟเล้ียงหรือปิดคอมพิวเตอร์ไปแล้ว และหน่วยความจาชั่วคราว (Random Access Memory: RAM) เป็นหน่วยความจาท่ีทางานควบคู่กับหน่วยประมวลผลกลาง ทาหน้าที่เสมือนเป็น ผ้ชู ว่ ยของหนว่ ยประมวลผลขอ้ มูล เชน่ จดบนั ทกึ ข้อมูลหรือคาสัง่ ตา่ ง ๆ พกั รอขอ้ มูลกอ่ นและหลังการ
65 ประมวลผล ข้อมูลในหน่วยความจาชนิดน้ีจะสูญหายไปทันทีหากไม่มีไฟเล้ียงหรือปิดคอมพิวเตอร์ และปริมาณพื้นที่สาหรับเก็บข้อมูลของหน่วยความจาทั้งสองชนิดน้ีมีไม่นากมัก เนื่องจากข้อจากัด เรือ่ งของราคา และความเรว็ ในการทางาน RAM ROM ภาพที่ 3.12 หนว่ ยความจาชั่วคราว (RAM) และหนว่ ยความจาถาวร (ROM) 2. หน่วยความจาสารอง (Secondary Memory) เป็นอุปกรณ์หลักสาหรับเก็บบันทึก ข้อมูลท่ีมีพื้นท่ีหรือความจุในการเก็บรวบรวมจานวนมาก สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้อย่างยาวนานโดย ข้อมูลไม่หายไปไหนถึงแม้จะไม่มีกระแสไฟมาเลี้ยงก็ตาม สามารถลบข้อมูลและเขียนทับลงไปใหม่ได้ ตลอดเวลาและที่สาคัญราคาไม่แพงเม่ือเทียบกับปริมาณพื้นที่จัดเก็บข้อมูล มีความเร็วในการทางาน สูงแต่ไม่สามารถเทียบกับการทางานของหน่วยความจาหลักได้ แต่หากหน่วยความจาหลักมีพื้นท่ีใน การจัดเก็บข้อมูลเพอื่ รอใหห้ น่วยประมวลผลเรียกไปทางานไมเ่ พยี งพอ หนว่ ยความจาสารองกส็ ามารถ ทาหน้าที่นั้นได้ กล่าวคือเป็นที่พักช่ัวคราวของข้อมูลระหว่างการทางานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ อกี ดว้ ย ตวั อยา่ งของหนว่ ยความจาสารองประกอบด้วย ฮาร์ดดสิ ก์ (Hard Disk) ซีดี (CD) ดีวดี ี (DVD) ยเู อสบเี ฟลชไดร์ (USB Flash Drive) เม็มโมรี่คาร์ด (Memory Card) และ คลาวด์ (Cloud Storage) เชน่ OneDrive และ Google Drive เป็นตน้
66 Memory Card USB Flash Drive Hard Disk ภาพที่ 3.13 หนว่ ยความจาสารองของคอมพิวเตอร์ สรุป ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ คือ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ท่ีเป็นฮาร์ดแวร์ หรือตัวเครื่อง และอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ทุกชิ้นท่ีสามารถจับต้องและมองเห็นได้ ประกอบด้วย 1) หน่วย นาเข้าข้อมูล (Input Unit) คืออุปกรณ์ทุกชนิดท่ีเป็นส่วนแรกที่ต้องติดต่อและสัมผัสกับผู้ใช้งาน คอมพิวเตอร์โดยตรง ทาหน้าที่ตอบสนองการสั่งงานจากผู้ใช้แล้วรับเป็นสัญญาณข้อมูลส่งต่อไป ประมวลผลด้วยซอฟต์แวร์ระบบปฏิบตั ิการ เช่น คีย์บอร์ด (Keyboard) เมาส์ (Mouse) เคร่ืองสแกน (Scanning Device) กล้องถ่ายภาพน่ิงและภาพเคลื่อนไหว (Capture Device) และไมโครโฟน (Audio Input Device) 2) หน่วยประมวลผลข้อมูล (Processing Unit) อุปกรณ์ท่ีเก่ียวข้องกับการ ประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU (Central Processing Unit) แผงวงจรหลักของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ (Mainboard) 3) หน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Unit) อุปกรณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการแสดงผลข้อมูลออกมาให้ผู้ใช้เห็นและสามารถนาไปใช้งาน ต่อไปได้ ประกอบด้วย จอภาพ (Monitor) เครื่องพิมพ์ (Printer) และลาโพง (Speaker) และ 4) หน่วยจัดเก็บข้อมูล (Storage Unit) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับจัดเก็บข้อมูลท่ีคอมพิวเตอร์ได้รับมา ผ่านทางหน่วยนาเข้าข้อมูล เพื่อทยอยส่งให้หน่วยประมวลผลนาไปประมลผล และจัดเก็บข้อมูลไว้ สาหรับเรียกใช้งานในครั้งต่อไป ประกอบด้วย หน่วยความจาหลัก (Primary Memory หรือ Main Memory) และหนว่ ยความจาสารอง (Secondary Memory)
67 แบบฝึกหัด 1. หน่วยนาเข้าข้อมูลของคอมพวิ เตอร์คืออะไร จงอธบิ ายพร้อมยกตวั อย่างประกอบ 2. หนว่ ยประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอรค์ ืออะไร จงอธบิ ายพรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ 3. หน่วยแสดงผลข้อมลู ของคอมพิวเตอร์คอื อะไร จงอธบิ ายพรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ 4. หนว่ ยจัดเก็บข้อมูลของคอมพิวเตอร์คืออะไร จงอธบิ ายพรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ 5. จงอธิบายให้เห็นถึงการทางานร่วมกันของส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ พร้อมวาดรปู ประกอบ 6. ในชีวิตประจาวันนักศึกษาใช้อุปกรณ์ใดในการหน่วยนาเข้าข้อมูลสู่คอมพิวเตอร์บ้าง จงยกตัวอยา่ งมา 3 ชนิด พรอ้ มอธบิ ายวธิ กี ารนาเขา้ ขอ้ มลู 7. อุปกรณ์ใดของคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าท่ีเป็นทั้งหน่วยนาเข้าข้อมูลและหน่วยแสดงผล ข้อมูลของคอมพวิ เตอร์ จงยกตวั อย่างมา 2 ชนดิ พร้อมอธบิ ายว่านาเข้าและแสดงผลอย่างไร 8. หากเปรียบเทียบสมองของมนุษย์เสมือนหน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU ของ คอมพิวเตอร์ จงแสดงเหตุผลประกอบการเปรียบเทียบน้ใี ห้เขา้ ใจ 9. จงบอกหน้าที่ของแผงวงจรหลักของเครื่องคอมพิวเตอร์ หากไม่มีแผงวงจรหลักจะ สง่ ผลอยา่ งไรต่อคอมพิวเตอร์บ้าง 10. เคร่ืองพมิ พ์ หรือ Printer มีก่ปี ระเภท แต่ละประเภทมกี ารทางานแตกต่างกนั อย่างไร
68 เอกสารอ้างอิง ภาสกร พาเจรญิ . (2561). คมู่ ือช่างคอม 2019 ฉบบั สมบรู ณ์. กรงุ เทพฯ: โปรวิชัน่ . Faithe Wempen. (2014). Computing Fundamentals DIGITAL LITERACY EDITION. United Kingdom: John Wiley & Sons. J.I.B. Computer Group. (2018). Mainboard 1151 ASUS EX-B150M-V5. Retrieved June 15, 2019, from https://www.jib.co.th/web/product/readProduct/25443/46/ MAINBOARD 3D Printing New Zealand. (2018). 3D PRINTER New Zealand. Retrieved June 15, 2019, from https://3dprinting.co.nz/products/3d-printers/up-3d-printers/up-plus-2- 3d-printer
69 แผนการสอนประจาสปั ดาห์ที่ 4 หวั ขอ้ เรอ่ื ง เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์: ซอฟตแ์ วร์ รายละเอียด เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์: ซอฟต์แวร์ ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับไบออส (BIOS) ระบบปฏิบัติการสาหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Operating System) โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utilities Software) และซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ (Application Software) จานวนชว่ั โมงที่สอน 4 ช่ัวโมง กิจกรรมการเรียนการสอน 1. นกั ศึกษาทดสอบกอ่ นเรียน 2. ผู้สอนบรรยายด้วย Power Point ในหัวข้อไบออส (BIOS) ระบบปฏิบัติการ (Operating Systems) ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utilities Software) และซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) 3. นักศึกษาชมวีดิทัศน์ออนไลน์หัวข้อเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ : ซอฟต์แวร์ และร่วมกัน อภิปรายและแสดงความคิดเห็น 4. บรรยายพิเศษโดยวิทยากร หัวขอ้ หวั ขอ้ MOS เพ่ือการศกึ ษา 5. ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารซอฟต์แวร์คอมพวิ เตอร์ 6. ใบงานกลุ่ม: ผู้เรียนจินตนาการเร่ืองราวสาหรับออกแบบและพัฒนาสื่อการสอน (Imagine) จากการศึกษาและดูงานจากโรงเรียนประถม ตามเทคนิคการสอนแบบ Thinks, Pairs, Share และ Show สื่อการสอน 1. แผนการสอนประจาสปั ดาห์ที่ 4 2. พาวเวอร์พอยต์สปั ดาหท์ ี่ 4 3. อนิ เทอร์เน็ต และ Line 4. โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ 5. แบบฝึกหัดทบทวนประจาสัปดาห์ 6. วดี ทิ ัศนอ์ อนไลน์
70 แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 นักศกึ ษาสามารถอธบิ ายไบออส (BIOS) ระบบปฏบิ ตั ิการ (Operating Systems) ซอฟตแ์ วรอ์ รรถประโยชน์ (Utilities Software) และซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ (Application Software) 1.2 นักศกึ ษาสามารถอภปิ รายและแสดงความคิดร่วมกับผสู้ อนและผเู้ รยี น 1.3 นกั ศึกษาสามารถสรปุ ประเด็นสาคัญดว้ ย Mind Mapping ในหวั ข้อ “เทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์: ซอฟต์แวร์” 2. วธิ กี ารประเมินผลการเรยี นรู้ 2.1 สังเกตจากการตอบคาถาม และการแสดงความคิดเหน็ ในชั้นเรียน 2.2 ประเมินจากการมสี ว่ นรว่ มในการทางานกลุ่มและการอภิปราย 2.3 สงั เกตพฤติกรรม ความกระตอื รอื ร้นในการทากจิ กรรม 2.4 คะแนนแบบฝกึ หดั ทบทวนประจาสปั ดาห์ 3. สดั ส่วนของการประเมนิ 3.1 อธิบายไบออส (BIOS) ระบบปฏิบัติการ (Operating Systems) ซอฟต์แวร์ อรรถประโยชน์ (Utilities Software) และซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) จานวน 10 คะแนน 3.2 นักศึกษาสามารถอภิปรายและแสดงความคิดเห็นหลังชมวีดิทัศน์ออนไลน์แต่ละ เร่ือง จานวน 10 คะแนน 3.3 ผลการสรปุ ประเด็นสาคัญดว้ ย Mind Mapping ในหัวข้อ “เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์: ซอฟต์แวร”์ จานวน 5 คะแนน เน้อื หาทส่ี อน คอมพิวเตอร์มีสองประเภทดังกล่าวแล้วในแผนการสอนประจาสัปดาห์ท่ี 1 คือ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) และคอมพิวเตอร์ที่มีผู้ใช้ได้หลายคน (Multi-User Computer) และไดก้ ลา่ วไว้ในแผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 3 แล้ววา่ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ออกเป็น 4 หนว่ ยดว้ ยกัน ประกอบดว้ ย หน่วยนาเข้าขอ้ มลู (Input Unit) หน่วยประมวลผลขอ้ มูล (Processing Unit) หน่วยแสดงผลข้อมลู (Output Unit) และหนว่ ยจัดเกบ็ ขอ้ มูล (Storage Unit) แนน่ อนวา่ การมี เพียงฮาร์ดแวร์อย่างเดียวคอมพิวเตอร์จะยังคงไม่สามารถทางานได้ จาเป็นจะต้องมีส่วนประกอบท่ี สาคัญอีกอย่างหนึ่งคอมพิวเตอร์จึงจะสามารถทางานได้ตามความต้องการของผู้ใช้ ส่วนประกอบที่ว่า น้ันก็คือคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ (Software) ซ่ึงมีเพียง 4 ชนิดเท่านั้น ได้แก่ ไบออส (BIOS) ระบบปฏิบัตกิ าร (Operating System) ซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์ (Application Software) และซอฟต์แวร์ อรรถประโยชน์ (Utilities Software) ดังภาพท่ี 4.1 ที่แสดงสว่ นประกอบของซอฟต์แวร์ของคอมพิวเตอร์
71 ภาพที่ 4.1 สว่ นประกอบของคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ การทางานของซอฟต์แวร์ของคอมพิวเตอร์เร่ิมจากผู้ใช้งานกดปุ่มเปิดสวิชต์แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) เพ่ือให้กระแสไฟว่ิงเข้าสู่เคร่ืองคอมพิวเตอร์ สัญญาณไฟฟ้าจะเดินทางไปกระตุ้นให้ ซอฟต์แวร์ของคอมพิวเตอร์ทางาน โดยซอฟต์แวร์ตัวแรกท่ีเริ่มทางานงานก่อนใครคือไบออสด้วย กระบวนการ POST เพื่อตรวจเชค็ อุปกรณ์ เมือ่ ไบออสทางานเสร็จกจ็ ะไปส่ังให้ซอฟต์แวร์ระบบปฎิบัติ การซึ่งถูกติดตั้งไว้ในฮาร์ดดิสก์ทางานต่อด้วยการถ่ายโอนระบบปฏิบัติการลงในหน่วยความจาหลัก (RAM) ระบบปฏิบัติการเข้าควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์และแสดงผลออกทางจอภาพ เพื่อแสดงให้ผ้ใู ช้ ทราบว่าคอมพิวเตอร์พร้อมใช้งานแล้ว (วศิน เพ่ิมทรัพย์, 2561) โดยมีโปรแกรมอรรถประโยชน์ทา หน้าที่เป็นผู้ช่วยซอฟต์แวร์ระบบปฎิบัติการอีกแรงหน่ึง และสุดท้ายซอฟต์แวร์ประยุกต์ถึงจะทางาน การทางานของซอฟต์แวร์ประยุกต์น้ีขึ้นอยู่กับผู้ใช้งานว่าต้องการใ ห้คอมพิวเตอร์ทาอะไรให้ก็เปิดใช้ โปรแกรมประยุกต์ท่ีเหมาะกับงานน้ันและและถูกติดต้ังไว้ในคอมพิวเตอร์แล้ว เช่น ต้องการใช้ คอมพิวเตอร์ตกแต่งรูปภาพ ผู้ใช้ก็อาจจะเปิดใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ท่ีช่ือว่า Adobe Photoshop เป็นตน้ หากเปรียบเทียบการทางานของซอฟต์แวร์ของคอมพิวเตอร์กับการส่ังไก่ทอดจากร้านดัง มากินสักชุดหนึ่ง User ก็คือลูกค้าท่ีผลักประตูแล้วเดินเข้าไปในร้านเพื่อจะสั่งอาหาร พนักงานรับ รายการอาหารคอื ดา่ นแรกท่ีจะเจอลูกค้าเพ่ือทาหน้าทร่ี ับและตรวจสอบรายการอาหารจากลูกค้า หาก
72 รายการสนิ คา้ ท่ลี ูกค้าสั่งหมด พนักงานรับรายการอาหารก็จะบอกกบั ลูกคา้ ว่าสินคา้ หมด เพ่อื ให้ลูกค้า เลือกรายการอาหารใหม่หรือเปล่ียนใจไม่สั่งอาหารต่อ พนักงานรับรายการอาหารจึงเปรียบเสมือน ไบออส (BIOS) ของคอมพิวเตอร์ท่ีทางานเป็นด่านแรกเมื่อคอมพิวเตอร์ถูกเปิดใช้งาน ทาหน้าที่ ตรวจสอบความพร้อมของคอมพิวเตอร์โดยภาพรวมและร้องเตือนเม่ือพบปัญหาท่ีผิดปกติ หลังจาก พนักงานรับรายการอาหารจากลูกค้าแล้วเสร็จ จะส่งต่อรายการไปยังพ่อครัวใหญ่ของร้านที่ทาหน้าท่ี ควบคุมดูแลทุกอย่างเก่ียวกับการทาอาหารในรา้ นท้งั หมดเปรียบเสมือนระบบปฏบิ ตั ิการ (Operating System) ของคอมพิวเตอร์ท่ีทาหนา้ ท่บี ริหารจดั การหลักทั้งหมดของคอมพิวเตอร์ โดยมีผู้ชว่ ยคอยปัด กวาด เช็ดถู และดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยของร้าน เปรียบเสมือนซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utilities Software) ที่ทาหน้าที่เป็นผู้ช่วยของระบบปฏิบัติการ ( Operating System) ส่วน ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ (Application Software) ซง่ึ เปน็ ซอฟต์แวร์ทมี่ ใี หเ้ ลอื กมากมายและถูกติดต้งั ไว้ใน คอมพิวเตอร์ก็เปรียบเสมือนอุปกรณ์สาหรับปรุงอาหารแต่ละอย่างตามรายการท่ีลูกค้าต้องการ เช่น อุปกรณ์สาหรับทอดไก่ อุปกรณ์สาหรับทอดมันฝรั่ง ตู้กดน้าอัดลม เป็นต้น รายละเอียดของซอฟต์แต่ ละชนดิ มีดงั ต่อไปน้ี ไบออส (Basic Input Output System: BIOS) ไบออส (Basic Input Output System: BIOS) เป็นซอฟต์แวร์ โปรแกรม หรือชุดคาส่ัง ของคอมพิวเตอร์ที่ถูกบรรจุอยู่ในหนว่ ยความจาหลกั ประเภทรอม (ROM) มาจากโรงงาน ถูกติดต้ังอยู่ บนเมนบอร์ด (Mainboard) มีแบตเตอรี่ขนาดเล็กเป็นแหล่งจ่ายไฟ โดยมากแล้วมักจะไม่ได้รับ อนุญาตให้แก้ไขโดยผู้ใช้หรือผู้ไม่เช่ียวชาญ เนื่องจากอาจทาให้ชุดคาส่ังเสียหายได้ อย่างมากก็อาจ ปรับเปลี่ยนได้เฉพาะส่วนท่ีจาเป็นเท่าน้ัน เช่น วันเดือนปี ลาดับการปลุกเครื่อง (Boot) ของอุปกรณ์ คอมพวิ เตอร์ หรอื เพอ่ื ให้รจู้ ักกับอุปกรณ์ใหม่ ๆ แมใ้ นปัจจุบันการแก้ไขข้อมลู ในไบออสไม่เสย่ี งเหมือน เม่ือก่อน เพราะสามารถอัพเดทข้อมูลใหม่ ๆ ผ่านอินเทอร์เน็ตได้ แต่ต้องทาในสถานท่ีท่ีอินเทอร์เน็ต ค่อนข้างเสถียรและคอมพิวเตอร์บางรุ่นก็มีไบออสสองตัวเพื่อทาหน้าที่แทนกัน กรณีไบออสอีกตัวไม่ สามารถทางานได้ และควรมีเครื่องสารองไฟ (UPS) ติดต้ังไว้กับคอมพิวเตอร์เสมอเพื่อเป็นแหล่ง สารองไฟฟ้าเม่อื เกดิ ไฟตก ไฟดับ จะได้ไมส่ ง่ ผลตอ่ คอมพิวเตอร์และไบออส เมื่อสวิชต์ของคอมพิวเตอร์ถูกกดเปิด ไบออสจะทาหน้าที่เป็นลาดับแรก โดยมีหน้าท่ีใน การควบคุมการจัดการขั้นพื้นฐานในตอนเร่ิมต้นการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ในข้ันตอนของการ POST (Power On Self-Test) เพื่อตรวจสอบความพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ เป็นต้น ว่าติดต้ังเรียบร้อยและพร้อมใช้งาน หากไม่พร้อมใช้งานจะมีเสียงร้องเตือนออกมาจาก คอมพิวเตอร์ (กลุ างกรู พฒั นเมธาดา, 2562) เชน่ 1. เสยี ง Beep สนั้ ๆ 1ครัง้ (Beep) > เครือ่ งทางานปกติ 2. เสียง Beep สั้น ๆ 2-3 ครั้ง (Beep Beep) > เคร่ืองทางานผิดปกติ แรมหรือแมน บอร์ดอาจมีปัญหา POST ไมผ่ ่าน 3. ไม่มีเสียง (...) > แหล่งจา่ ยไฟหรือแมนบอร์ดมีปัญหา
73 4. เสียง Beep สั้น ๆ หลายครั้งอย่างต่อเน่ือง (Beep Beep Beep Beep Beep) > แหล่งจ่ายไฟหรอื เมนบอรด์ มปี ัญหา 5. เสียง Beep ยาว ๆ 1 คร้ัง และส้ันๆ 1 ครัง้ (Beep...Beep) > เมนบอรด์ มีปญั หา 6. เสียง Beep ยาว ๆ 1 ครั้ง และส้ันๆ 2 คร้ัง (Beep...Beep Beep) > การ์ดจอเสียบ ไม่แน่น หรือเสีย 7. เสียง Beep ยาว ๆ หลายครัง้ อย่างต่อเนอื่ ง (Beep...Beep...Beep...Beep...Beep...) > แรมเสียบไมแ่ น่น หรือหนา้ สมั ผัสสกปรก ภาพท่ี 4.2 ซอฟต์แวร์ไบออส ซอฟตแ์ วรร์ ะบบปฏิบตั กิ าร (Operating System) ไบออส (BIOS) ทาหน้าท่ีเริ่มต้นการทางานให้กับคอมพิวเตอร์ หลังจากน้ันจะเป็นหน้าที่ ของซอฟต์แวร์ระบบปฏบิ ัติการ (Operating System) ท่ีเข้ามารับช่วงต่อเพ่ือให้คอมพิวเตอร์สามารถ ทางานได้อย่างต่อเน่ืองต่อไป จุฑาวุฒิ จันทรมาลี (2557) กล่าวว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเป็น ระบบชุดคาสั่งท่ีผู้พัฒนามีจุดประสงค์สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และซอฟต์แวร์ (Software) ประเภทต่างๆ ให้สามารถทางานร่วมกันกับบุคลากร (Peopleware) ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ท้ังทางตรงและทางอ้อมได้อย่างราบร่ืนและ เกิดประสิทธิภาพสงู สดุ นอกจากนี้ระบบปฏบิ ัตกิ ารที่ดียังมีหนา้ ที่ควบคุมการทางานให้ผ้ใู ชใ้ หส้ ามารถ ทางานหลายงาน (Multitasking) หรือทางานหลายคน (Multi-user) ได้ในเวลาเดียวกันโดยไม่ส่ง กระทบกบั การทางานของบคุ คลอน่ื รวมไปถงึ การควบคมุ (Control) การใช้งาน การใหส้ ิทธิการเข้าถึง ไฟล์ข้อมูล (Access File) การรักษาความปลอดภัย (Security) การป้องกันการรุกราน (Protection)
74 จากผู้ไม่หวังดีเข้ามาใช้งานระบบได้ และ Faithe Wempen (2014) กล่าวว่าซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบตั ิการเปน็ สว่ นประสานงานระหว่างผู้ใช้งานคอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการรบั สง่ ข้อมูล ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ เช่น การควบคุมคีย์บอร์ดและเมาส์เพื่อนาข้อมูลเข้าระบบ คอมพิวเตอร์ ส่ังให้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทางานและช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถทางานร่วมกับซอฟต์แวร์ เหลา่ นไ้ี ด้ และควบคมุ และจดั การระบบจดั เกบ็ ไฟล์ขอ้ มูลของคอมพิวเตอร์ดังภาพท่ี 4.3 สรุปได้ว่า ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ (Operating System) เป็นซอฟต์แวร์ระบบท่ีเป็น ตัวกลางประสานการทางานระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ประยุกต์ โดยทาหหน้าที่จัดสรร ทรัพยากรในระบบคอมพิวเตอร์เพ่ือให้บริการแก่ซอฟต์แวร์ประยุกต์เมื่อมีการติดต่อกับฮารด์ แวร์ เช่น การรับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ การส่งข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพ และการจัดเก็บไฟล์ข้อมูลลงใน ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น รวมทั้งอานวยความสะดวกในการจัดหาสภาพแวดล้อมการทางานที่เหมาะสม ให้กับผูใ้ ช้ เพือ่ ให้ผูใ้ ชส้ ามารถใชง้ านคอมพิวเตอร์ได้อย่างสะดวกและมีประสทิ ธิภาพ โดยไม่จาเปน็ ต้อง ทราบกลไกการทางานภายในที่ซบั ซ้อน (พริ พร หมนุ สนิท และอัจจิมา เลีย้ งอยู่, 2553) ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการมี 2 ประเภทด้วยกัน คือ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการสาหรับ คอมพิวเตอร์ท่ีมีผู้ใช้ได้หลายคน (Multi-User Computer) เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows ระบบปฏิบัติการ Unix ระบบปฏิบัติการ Linux และซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการสาหรับคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล (Personal Computer) เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows ระบบปฏิบัติการ Mac OS ระบบปฏิบัตกิ าร iOS และระบบปฏบิ ัติการ Android ในท่ีน้กี ลา่ วถงึ เฉพาะซอฟตแ์ วร์ระบบปฏบิ ัติการ สาหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล 4 ระบบ ได้แก่ ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows ระบบปฏิบตั กิ าร Mac ระบบปฏิบัตกิ าร iOS และระบบปฏบิ ัติการ Android เทา่ นัน้ ภาพท่ี 4.3 แสดงความสัมพันธข์ องสว่ นท่เี ก่ยี วข้องกับระบบปฏบิ ัตกิ าร ที่มา: Faithe Wempen (2014)
75 1. ระบบปฏิบัติการวินโดว์ (Windows Operating System) เมื่อพูดถึงซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการ ผู้ใช้งานส่วนมากจะนึกถึงระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows เป็นอันดับแรก เน่ืองจากเป็นระบบปฏิบัติการท่ีถูกใช้งาน และได้รับการพัฒนาให้ทันสมัยรองรับความต้องการของผู้ใช้ มาอย่างยาวนาน ต้ังแต่สมัยเป็น Command Line Interface ซ่ึงต้องใช้การพิมพ์ข้อความเพื่อควบคุม การทางาน จนพัฒนามาเป็น Graphical User Interface (GUI) หรือกราฟฟิกซึ่งช่วยให้การทางานงา่ ย มากข้ึน จนกลายเป็นมาตรฐานของระบบปฏิบัตการทั้งหลายในปัจจุบัน มากกว่าร้อยละเก้าสิบของ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลประเภทคอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะ (Desktop PC) และคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค (Notebook PC) ในปัจจุบันนยิ มใช้ระบบปฏิบัตกิ าร Microsoft Windows (Faithe Wempen, 2014) แม้แต่แท็บเล็ต (Tablet PC) และสมาร์ทโฟน (Smartphone) ก็ยังใช้ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows ถึงแม้จะไม่เป็นที่นิยมมากเท่ากับคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop PC) และคอมพิวเตอร์ โน๊ตบุ๊ค (Notebook PC) ด้วยการควบคุมผ่านคีย์บอร์ด เมาส์ และการสัมผัสหน้าจอของคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows เป็น Graphical User Interface (GUI) ทป่ี ระกอบด้วยไอคอน ท่ีมีลักษณะเป็นรูปกราฟิกใช้แทนโปรแกรม ไฟล์งานต่าง ๆ ทาให้สามารถจดจาและใช้เมาส์คลิกเรียก โปรแกรมทต่ี อ้ งการได้อยา่ งง่ายดาย ระบบปฏิบัติการ Windows มีพัฒนาการที่ยาวนานเร่ิมต้ังแต่ปี ค.ศ. 1980 บริษัท Microsoft ได้พัฒนาระบบปฏิบัติการแรกข้ึนมาในรูปของ DOS (Disk Operating System) เป็น ระบบปฏิบัติการที่ต้องใช้ Command Line Interface ในการทางาน ซ่ึงผู้ใช้ต้องมีความเข้าใจในคาสั่ง และมีความเชี่ยวชาญพอสมควรจึงจะสามารถทางานได้ ถัดมาในปี ค.ศ. 1990 Windows 3.0 ที่มี ลักษณะเป็น Graphical User Interface (GUI) แต่ยังคงทางานบนระบบปฏิบัติการ DOS จาเป็นต้องใช้ Command Line Interface ในการใช้งาน จนมาถึงของ Windows 95 ในปี ค.ศ. 1995 ซึ่งเป็นรับบ ปฏิบัติการที่มีความเป็น Graphical User Interface (GUI) โดยแท้ ทางานแบบ Multitasking หรือ สามารถทางานได้หลาย ๆ งานหรือหลายโปรแกรมในเวลาเดียวกัน สามารถเช่ือมต่ออุปกรณ์แบบ Plug and Play และสนับสนุนการติดต่อส่ือสารผ่านเครือข่าย ถือเป็นระบบปฏิบัติการท่ีเป็นท่ีนิยมอย่างมาก ในสมัยน้ัน และครองตลาดอยู่นานหลายปี จนในปี ค.ศ. 2001 Windows ME ถูกพัฒนาขึ้นมาโดย เพ่ิมเติมเครื่องมือและความสามารถด้านมัลติมีเดีย เพิ่ม System Restore เพื่อให้สามารถย้อนกลับได้ เม่ือ Driver หรือ Application เกิดปัญหา ในปี ค.ศ. 2002 Windows XP ถูกพัฒนาขึ้น ถือเป็น ระบบปฏิบัติการที่เป็นที่นิยมกันมากที่สุดและยาวนานอีกระบบหน่ึง เนื่องจากปรับปรุงเคร่ืองมือและ GUI ให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น ในปี ค.ศ. 2007 Windows Vista ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยปรับปรุงความ ม่ันคงปลอดภัย และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในปี ค.ศ. xxxx Windows 7 ในปี ค.ศ. xxxx Windows 8 ถูกพัฒนาขึ้นมาและเปลี่ยนแปลงรูปโฉมของระบบไปมากทีเดียว เน่ืองจากปรับปรุงประสิทธิภาพให้ทางานได้เร็วข้ึน และรองรับระบบ Multi-touch screen ของ คอมพิวเตอร์ประเภทแท็บเล็ต (Tablet PC) จนมาถึงปัจจุบันนี้เป็นยุคของระบบปฏิบัติการ Windows 10 ที่ได้รับการออกแบบใหม่จากทางไมโครซอฟท์ให้สามารถใช้งานได้กับทุกอุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows ในทุกขนาดหน้าจอ ทกุ รูปแบบการใช้งาน ไมว่ ่าจะเป็นหน้าจอแบบระบบสัมผสั ทชั สกรีน หรือ อุปกรณ์ควบคุมอย่างเมาส์หรือคีย์บอร์ด รวมไปถึงยังมีระบบแอปพลิเคชั่นต่าง ๆ ที่สามารถใช้งานได้บน ทกุ อุปกรณอ์ ีกด้วย ซงึ่ ระบบปฏบิ ตั กิ าร Windows 10 จะไดก้ ล่าวถึงอย่างละเอียดอีกครั้งในหัวข้อถัดไป
76 ภาพที่ 4.4 พฒั นาการของซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ Windows และ Windows 10 2. ระบบปฏิบัติการ Mac OS (Mac Operating System) ช่ือ Mac มีท่ีมาจากเคร่ือง Macintosh ที่บริษัท Apple เริ่มผลิตออกมาตั้งแต่ยุค 1980 สาหรับใช้งานบนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ตระกูล Mac (Macintosh) เช่น iMac, MacBook ระบบปฏิบติการนี้ใช้โครงสร้างท่ีพัฒนาต่อจาก ระบบปฏิบัติการ Unix ซึ่งเป็นต้นแบบของระบบปฏิบัติการหลาย ๆ ตัว เดิม Mac OS ทางานได้ เฉพาะบนเคร่ือง Mac ของ Apple เท่าน้ัน ปัจจุบันมีการพัฒนาให้รองรับการใช้งานกับคอมพิวเตอร์ อื่น ๆ มากข้ึน Mac OS เป็นระบบปฏิบัติการท่ีมีลักษณะเป็น Graphical User Interface (GUI) ท่ีง่ายต่อการทาความเข้าใจและใช้งาน นิยมใช้กับโปรแกรมการออกแบบและพัฒนาด้านกราฟิกและ แอนเิ มชัน Mac OS คือระบบปฏิบตั กิ ารทเ่ี ป็นหัวใจสาคัญของ Mac ทุกเครือ่ งซงึ่ จะชว่ ยให้ผู้ใชง้ านทา ส่ิงต่าง ๆ ได้ เช่น ฮาร์ดแวร์ท่ีออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อทางานร่วมกันโดยเฉพาะ แอปพลิเคชัน มากมายที่ออกแบบมาอย่างสวยงาม ทางานควบคู่กับ iCloud ในการทาให้รูปภาพ เอกสาร และไฟล์ ประเภทอื่น ๆ บนอุปกรณ์ทุกเคร่ืองของผู้ใช้งานตรงกันและอัพเดทอยู่เสมอ สามารถทางานร่วมกับ iPhone และอปุ กรณ์ Apple อื่น ๆ ได้ และยังคานงึ ถึงความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยเป็นสาคัญ อีกด้วย ปัจจุบันการถ่ายโอนไฟล์ รูปภาพ และข้อมูลอื่น ๆ จากคอมพิวเตอร์ที่ใช้ Windows มายัง Mac สามารถทาได้แล้ว เช่น JPEG, MP3 และ PDF รวมถึงเอกสาร Microsoft Word, Excel และ PowerPoint และผู้ใช้ยังสามารถใช้งาน Microsoft Office บน Mac ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถติดตัง้ Windows บน Mac ไดอ้ ยา่ งไมม่ ีปญั หา
77 ภาพที่ 4.5 ซอฟต์แวร์ระบบปฏบิ ัตกิ าร Mac OS 3. ระบบปฏิบัติการ iOS ก่อนท่ีจะเป็น iOS ระบบปฏิบัติการตัวนี้ใช้ช่ือว่า iPhone OS มาก่อน เปิดตัวคร้ังแรกในปี 2007เพื่อใชบ้ น iPhone และมกี ารพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อให้สามารถใช้ได้กับ อุปกรณ์อ่ืน ๆ ของ Apple iOS เป็นระบบปฏิบัติการของอุปกรณ์พกพาของ Apple ที่ควบคุม แอปพลิเคชัน การทางานด้านต่าง ๆ สามารถดาวน์โหลดแอพจาก App Store ของ Apple เพ่ิมเติม ได้ เป็นระบบปฏิบัติการปิด ท่ีสามารถใช้งานได้เฉพาะอุปกรณ์ของ Apple เท่าน้ัน เป็นระบบปฏิบัติการ ที่ใช้กับแท็บเล็ต (Tablet PC) และสมาร์ทโฟน (Smartphone) ของบริษัท Apple เช่น iPad และ iPhone รุ่นต่าง ๆ โดยมาพร้อมกับซอฟต์แวร์หรือแอปพลิเคชัน (App) ท่ีช่วยอานวยความสะดวก เช่น ระบบจัดการข้อมูลส่วนตัว ปฏิทินและบันทึกกาหนดการต่าง ๆ การท่องเว็บด้วยเบราว์เซอร์ Safari การถา่ ยภาพพรอ้ มตกแต่งภาพ การส่อื สารออนไลนด์ ้วยแอปตา่ ง ๆ แผนทีแ่ ละการนาทาง และ อื่น ๆ อีกมากมาย ปัจจุบัน iOS ได้รับการออกแบบมาเพ่ือยกระดับประสบการณ์การใช้งาน iPhone และ iPad ของผใู้ ช้งานใหร้ วดเร็วทันใจ ตอบสนองได้ดีย่ิงข้ึน แถมยังเพลิดเพลินย่ิงกว่าเดิม iOS ไดร้ ับ การปรับแต่งมาเพ่ือยกระดับประสบการณ์การใช้งานให้รวดเร็วทันใจย่ิงข้ึนในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะใช้ iPhone หรือ iPad ก็ตาม ดังนั้นสิ่งต่าง ๆ ท่ีผู้ใช้งานทาอยู่เป็นประจา อย่างการเปิดแอพกล้อง หรือ การพิมพ์บนคีย์บอร์ดก็จะทาได้เร็วข้ึนกว่าท่ีเคย อีกท้ังยังมีการปรับปรุงการทางานอีกมากมายที่ดีข้ึน แบบเห็น ๆ ซ่ึงจะรู้สึกได้ในเวลาท่ีผู้ใช้ต้องทาอะไรหลายอย่างพร้อมกันบนอุปกรณ์ แน่นอนว่าการ ปรับปรุงครั้งน้ียังช่วยยกระดับประสิทธิภาพการทางานของอุปกรณ์รุ่นอ่ืน ๆ ท่ีรองรับอีกด้วย โดยเวอรช์ ันลา่ สดุ ของ iOS คือ iOS 13 กาลังจะอนญุ าตให้ผใู้ ชง้ านอัพเดทกนั เรว็ ๆ นี้
78 ภาพที่ 4.6 ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบตั ิการ iOS ทมี่ า: แอปเปิล (2562) 4. ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android Operating System) แอนดรอยด์เป็น หน่ึงในระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุด เน่ืองจากเป็นระบบเปิดและรองรับอุปกรณ์ ได้หลากหลาย ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เร่ิมต้นมาจากบริษัท แอนดรอยด์ (Android Inc.) เม่ือปี พ.ศ. 2546 โดยมีนาย Andy Rubin ผู้ให้กาเนิดระบบปฏิบัติการนี้ และถูกบริษัท Google ซื้อกิจการ เม่ือเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2548 ทาหน้าท่ีในการควบคุมดูแล บริหารจัดการฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และ ความมั่นคงปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ แอนดรอยด์เป็นระบบปฏิบัติการแบบเปิดเผยซอฟต์แวร์ ต้นฉบับ (Open Source) ให้กับนักพัฒนาซอฟต์แวร์ที่สนใจพัฒนาซอฟต์แวร์ทั้งเชิงการค้าและให้ใช้ งานได้ฟรี จงึ เป็นระบบปฏบิ ัตกิ ารท่ีได้รับความนิยมอย่างสูงในการนาไปใช้กบั อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ที่มขี นาด หน้าจอและความละเอียดท่ีแตกต่างกัน เช่น แท็บเล็ต (Tablet PC) และสมาร์ทโฟน (Smartphone) แอปพลิเคชัน (Applications) ท่ีพัฒนาข้ึนมาเพื่อใช้งานบนสาหรับระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์มี 2 แบบคือ แบบท่ีพัฒนาโดย Google เอง เช่น การค้นหาข้อมูลผ่าน Chrome การใช้แผนที่นาทางผ่าน Google Map การจัดการอีเมลด้วย Gmail การดูวิดีโอจาก YouTube การจัดการเอกสารด้วย Google Docs และ Google Sheet และอีกมากมาย และแบบทนี่ กั พฒั นาโปรแกรม (Programmer) พัฒนาโปรแกรมขึ้นมาใช้งานบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ซอฟต์แวร์ท่ีพัฒนาโดย Google และ นักพัฒนาโปรแกรมท้ังหมดจะถูกเผยแพร่ผ่าน Android Market ซึ่งเป็นร้านซอฟต์แวร์ออนไลน์ พัฒนาโดย Google โดยผู้ใช้งานสามารถเข้าถึงแอปพลิเคชัน (Apps) เกม (Games) ภาพยนต์ (Movies) และหนังสือ (Books) ท่ีให้บริการใน Android Market ด้วยการดาวน์โหลดผ่านทาง Play Store ได้ท้ังแบบฟรีและแบบเสียเงิน และใช้งานผ่านอุปกรณ์ที่รองรับและใช้งานระบบปฏิบัติการ แอนดรอยดเ์ ทา่ น้ัน
79 ภาพที่ 4.7 ซอฟต์แวร์ระบบปฏบิ ัตกิ าร Android การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการ สาหรับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ มีข้อกาหนดความต้องการของอุปกรณ์สาหรับใช้ในการตัดสินใจก่อนท่ีจะ ตดิ ต้งั โปรแกรมหรือเปลีย่ นแปลงโปรแกรม มดี ังนี้ 1. สารวจความตอ้ งการใชโ้ ปรแกรมประยุกต์ของผู้ใชว้ ่า โปรแกรมยุกต์ท่ีต้องการใชน้ ั้นใช้ กับระบบปฏบิ ัตกิ ารใด 2. สารวจความเหมาะสมกับฮาร์ดแวร์โดยเฉพาะหน่วยประมวลผลกลาง ขนาดความจุ ของหน่วยความจาหลัก และขนาดความจุของฮาร์ดดิสก์ ซ่ึงระบบปฏิบัติการทุกชนิดจะบอก คณุ ลกั ษณะของระบบคอมพิวเตอรท์ ต่ี ้องการ (System requirement) ไว้เสมอ ซอฟตแ์ วรอ์ รรถประโยชน์ (Utility Software) ซอฟตแ์ วร์อรรถประโยชน์ (Utilities Software) มหี น้าที่ในการช่วยงานของระบบปฏบิ ัติการ ทาใหผ้ ู้ใช้งานสามารถใชง้ านคอมพิวเตอร์ได้อย่างสะดวก รวดเรว็ และมีความปลอดภยั ยิง่ ข้ึน โดยรวม แล้วโปรแกรมในกลุ่มซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์มีหน้าท่ีช่วยงานของระบบปฏิบัติการ ทาให้ผู้ใช้ สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้อย่างสะดวกรวดเร็วและปลอดภัยข้ึน บางโปรแกรมเป็นที่นิยมมาก จนกระทั่งถูกรวมความสามารถน้นั เข้าไปในระบบปฏบิ ตั ิการรนุ่ ใหม่เลยก็มี แบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ดังตอ่ ไปนี้
80 1. โปรแกรมอรรถประโยชน์สาหรับระบบปฏิบัติการ (OS Utility Programs) เป็น โปรแกรมที่ติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซ่ึงช่วยอานวยความสะดวกในการทางาน รว่ มกบั ฮาร์ดแวร์ ตัวอย่างโปรแกรม มีดังตอ่ ไปนี้ 1.1 โปรแกรมจดั การไฟล์ (File manager) เป็นโปรแกรมทีอ่ อกแบบมาเพื่อช่วยจัดการ ไฟล์ต่าง ๆ ได้แก่ การคัดลอกแฟ้มข้อมูล การเปล่ียนช่ือแฟ้มข้อมูล การลบแฟ้มข้อมูล การเรียกใช้งาน โปรแกรมต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก นอกจากนี้ระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ ๆ ได้เพ่ิมความสามารถการแสดง ไฟลเ์ ป็นรปู ภาพเหมือนจรงิ (Image view) ทาให้การใชง้ านมีความสะดวกและรวดเรว็ มากยิ่งขน้ึ 1.2 โปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม (Uninstaller) เป็นโปรแกรมท่ีใช้ในการนา โปรแกรมและส่วนประกอบของโปรแกรมท่ีติดต้ังไว้ในระบบออกจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์จะติดตั้งโปรแกรมยกเลิกการติดต้ังโปรแกรมไว้เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม ประยกุ ตอ์ ยู่แลว้ 1.3 โปรแกรมสแกนดิสก์ (Disk scanner) เปน็ โปรแกรมช่วยตรวจสอบความเสียหาย หรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นกับฮารด์ ดสิ ก์ กล่าวคือ เม่ือใช้ฮาร์ดดิสก์เป็นเวลานาน มักเกิดส่วนท่ีเสียหาย ที่เรียกว่า bad sector ส่งผลให้การทางานของฮาร์ดดิสก์ช้าลง หรืออาจทาให้การบันทึกหรือเขียน ข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ยากขึ้น ดังน้ัน ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมดังกล่าวตรวจสอบฮาร์ดดิสก์ เพ่ือค้นหา ส่วนทีเ่ สยี หาย ไฟลท์ ีม่ ขี ้อผิดพลาด และซ่อมแซมสว่ นที่เสียหายได้ 1.4 โปรแกรมจัดเรียงพื้นที่จัดเก็บข้อมูลของฮาร์ดดิสก์ (Disk defragmenter) เป็น โปรแกรมท่ีใช้การจัดเรียงข้อมูลให้เป็นระเบียบ ช่วยให้สามารถเข้าถึงข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ได้อย่าง รวดเร็ว กล่าวคือ เม่ือมีการเรียกใช้งานฮาร์ดดิสก์ของคอมพิวเตอร์น้ันอยู่บ่อย ๆ ไฟล์จะถูกจัดเก็บ กระจัดกระจาย ไม่เป็นระเบียบและไม่ได้อยู่เป็นกลุ่มก้อนเดียวกัน เม่ือต้องการเรียกใช้อีกในภายหลัง จะทาให้เวลาในการดึงข้อมูลน้ัน ๆ ช้าลง ดังน้ัน ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมดังกล่าวช่วยจัดเรียงไฟล์ ตา่ ง ๆ ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ 1.5 โปรแกรมรักษาหน้าจอ (Screen saver) เปน็ โปรแกรมรักษาและช่วยยดื อายุการ ใชง้ านจอภาพของคอมพวิ เตอร์ กลา่ วคือ การเปดิ จอภาพของคอมพิวเตอรใ์ ห้ทางานและปลอ่ ยทงิ้ ไว้ให้ แสดงภาพเดิมโดยไม่มีการเคล่ือนไหวใด ๆ เป็นเวลานาน จะทกให้เกิดรอยไหม้บนสารเรืองแสงท่ีฉาบ ผิวจอ และไม่สามารถลบหายออกไปได้ ถ้าปล่อยท้ิงไว้นานจะส่งผลให้อายุการใช้งานของหน้า จอคอมพิวเตอร์สิ้นลง ในการใช้โปรแกรมดังกล่าวผู้ใช้สามารถต้ังค่าระยะเวลาให้โปรแกรมตรวจสอบ และเร่ิมทางานได้ หากไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ ของจอภาพ เช่น 5 นาที หรือ 10 นาที เป็นต้น เมื่อ เราขยบั เมาส์ หรือเร่ิมท่จี างานใหม่ โปรแกรมนี้จะปดิ ไปอัตโนมตั ิ 2. โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่น ๆ (Standalone Utility Programs) เป็นโปรแกรม ทช่ี ่วยใหเ้ ครือ่ งคอมพวิ เตอรท์ างานได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ตัวอย่างโปรแกรมมดี งั ต่อไปนี้ 2.1 โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File compression utility) เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่บีบ อัดไฟล์ที่มีขนาดใหญ่ให้มีขนาดเล็กลง ไฟล์ท่ีได้จากการบีบอัดไฟล์ เรียกว่า ซิปไฟล์ (Zip file) โปรแกรมบีบอดั ไฟล์ที่นยิ ม เชน่ WinZip, WinRAR เป็นต้น
81 2.2 โปรแกรมไฟรว์ อลล์ (Firewall) เป็นโปรแกรมทชี่ ว่ ยป้องกนั บคุ คลภายนอกเข้ามา ในระบบโดยไม่ได้รับอนุญาตท้ังจากระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ตโดยโปรแกรมจะทา การตรวจสอบขอ้ มูลทีเ่ ข้าและออกจากระบบ ถ้าพบวา่ มขี ้อมูลทไี่ ม่ไดร้ ับอนุญาต ซึ่งอาจเปน็ ขอ้ มูลจาก ผู้ไม่ประสงค์ดีที่เข้ามาในระบบ โปรแกรมจะไม่อนุญาตให้ข้อมูลดังกล่าวเข้ามาในระบบ โปรแกรม ไฟร์วอลล์เป็นซอร์ฟแวร์ที่ผู้ใช้สามารถนาไปใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย นิยมใช้กับระบบปฏิบัติการ Windows เช่น Windows Firewall เป็นตน้ 2.3 โปรแกรมป้องกันไวรัส (Antivirus Program) การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีมี ผู้ใช้งานร่วมกันหลายคนหรือการใช้งานในระบบเครือข่าย มักเกิดการเผยแพร่จากไวรัสคอมพิวเตอร์ซึง่ ไวรัสเป็นโปรแกรมที่ผู้ไม่ประสงค์ดีพัฒนาข้ึนมาเพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เช่น ทาลายระบบปฏิบัติการ ทาลายข้อมูลที่อยู่ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ หรือแม้กระท้ังรบกวนการทางานต่าง ๆ เช่น ทาให้บูตระบบ ชา้ ลง ไมส่ ามารถเรียกใช้โปรแกรมไดส้ มบรู ณ์ ทาให้คอมพวิ เตอร์เกิดอาการค้าง (Hang) หรือมขี อ้ ความ พิมพ์อัตโนมัติที่หน้าจอ เป็นต้น ดังนั้น บริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์จึงได้พัฒนาโปรแกรมข้ึนเพื่อค้นหาและ กาจดั ไวรสั คอมพวิ เตอร์ หรือทเ่ี รยี กวา่ โปรแกรมปอ้ งกนั ไวรสั ซ่ึงแบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ดังน้ี 1) แอนติไวรัส เป็นโปรแกรมป้องกันไวรัสทั่ว ๆ ไป จะค้นหาและทาลายไวรัสใน เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ เชน่ McAfee Virus Scan, Kaspersky, AVG Antivirus, Panda Titanium เปน็ ต้น 2) แอนตสิ ปายแวร์ เป็นโปรแกรมป้องกันการโจรกรรมข้อมูลจากไวรสั สปายแวร์ และจากแฮก็ เกอร์ รวมถงึ การกาจดั แอดเวอร์ (adware) ซึง่ เป็นปอ๊ ปอพั โฆษณาในอนิ เทอรเ์ น็ตอีกด้วย เช่น McAfee AntiSpyWare เป็นต้น อย่างไรก็ดีไวรัสคอมพิวเตอร์นั้นเกิดข้ึนใหม่ตลอดเวลา ผู้ใช้จึง ต้องปรับปรุงโปรแกรมอย่างสม่าเสมอ เพื่อจะได้รับมือ และหาวิธีการป้องกันไวรัสตัวใหม่ ๆ ไดท้ นั ท่วงที การใชง้ านคอมพวิ เตอรจ์ ึงจะสามารถทางานได้อยา่ งเต็มประสทิ ธิภาพ ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ (Application System) จากที่กล่าวมาท้ังหมดสามซอฟต์แวร์ ได้แก่ ไบออส ระบบปฏิบัติการ และโปรแกรม อรรถประโยชน์ล้วนเป็นซอฟต์แวร์สาหรับควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ คอมพิวเตอร์พร้อมใช้งานมากที่สุด แต่ถึงอย่างไรการมีเพียงสามซอฟต์แวร์ดังกล่าวไม่สามารถทาให้ คอมพิวเตอร์ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของผู้ใช้งาน ดังนั้น จึงจาเป็นต้องจัดหาซอฟต์แวร์อีกชนิดหนึ่งเพ่ือมาตอบโจทย์การทางานและความต้องการของผ้ใู ช้งาน น่ันคือซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application System) ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการ ทางานใหอ้ อกมาตรงตามความตอ้ งการของผู้ใช้งาน เปน็ ซอฟต์แวรท์ ีไ่ ดร้ ับการพัฒนาข้นึ มาต่างหากไม่ เกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ทั้งสามตัวดังกล่าวโดยตรง แต่ในการทางานจะต้องทางานอยู่บน ระบบปฏิบัติการ เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการทาเอกสาร การคานวณ การนาเสนอ การทาฐานข้อมูล การทากราฟฟิกและแอนิเมชัน หรือแม้แต่ซอฟต์แวร์สาหรับการเล่นเกม ซ่ึงซอฟต์แวร์ประยุกต์มีท้ัง แบบออนไลน์หรอื ทางานผา่ นอินเทอร์เนต็ และออฟไลนห์ รือทางานไดโ้ ดยไมต่ ้องเช่ือมตอ่ อนิ เทอร์เน็ต ซึ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์สาหรบั คอมพิวเตอร์มีให้เลือกใช้มากมาย ทั้งท่ีใช้งานได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย และแบบที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายก่อนจะใช้งาน เช่น ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ใช้งานบนระบบปฏิบัติการ
82 Android ท่ีสามารถเข้าถึงและดาวน์โหลดได้จาก Play Store ส่วนซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ใช้งานบน ระบบปฏิบัติการ iOS สามารถเข้าถึงได้จาก App Store เป็นต้น และปัจจุบันน้ีนิยมเรียกกันอย่างย่อ ว่า แอป (App) ซง่ึ มาจากคาว่าแอปพลิเคชัน (Application) นนั่ เอง โดยท่วั ไปสามารถแบ่งซอฟต์แวร์ ประยุกต์ออกได้ 2 ลักษณะ คือ ตามลักษณะการผลิต และตามลักษณะการใช้งาน (วศิน เพิ่มทรัพย์, 2561) มีรายละเอียดดังน้ี 1. ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ตามลักษณะการผลติ แบง่ เป็น 2 ประเภท คอื 1.1 ซอฟต์แวร์ท่ีพัฒนาข้ึนใช้เอง (Custom-made Software) เป็นซอฟต์แวร์ ที่พัฒนาเพื่อใช้เฉพาะงาน มักทาเม่ือหน่วยงานหรือองค์กรไม่สามารถจัดหาซอฟต์แวร์ท่ีเหมาะสมและ สอดคล้องกบั ความต้องการ จงึ ตอ้ งมีการสรา้ งซอฟต์แวร์ข้นึ มาใหมเ่ พ่ือใช้ในหนว่ ยงานโดยเฉพาะอาจทา ได้ 2 วิธี ได้แก่ การสร้างและพัฒนาโดยหน่วยงานในบริษัท (In-House Development) โดยทีมงานที่ มีทักษะและความเชี่ยวชาญด้านการออกแบบเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะ และการจ้างบุคคลภายนอกให้ จัดทาขึ้นมา (Outsource) อาจเป็นบริษัทท่ีมีความเชี่ยวชาญมักเรียกว่า Software House ให้เป็น ผ้เู ขียนเขียนโปรแกรมให้ซึง่ แนน่ อนจะต้องมีคา่ ใชจ้ า่ ยในการเขยี น 1.2 ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป (Package Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถหามาใช้งาน ได้และได้รับความนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในเกือบทุก ๆ องค์กร ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อให้ผู้ใช้งาน ส่วนมากได้ใช้งานง่ายข้ึนตามวัตถุประสงค์เดียวกัน เช่น การพิมพ์เอกสาร การนาเสนองาน การทา ฐานข้อมูล เป็นต้น ซึ่งซอฟต์แวร์เหล่าน้ีมีท้ังแบบฟรีและแบบมีค่าใช้จ่าย และสามารถใช้งานได้ทันที จึงเรียกกันว่าโปรแกรมสาเร็จรูป อาจแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ โปรแกรมมาตรฐาน (Standard Package) ท่ีผู้ผลิตสร้างโปรแกรมขึ้นมาเพ่ือสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น Microsoft Office และ โปรแกรมเฉพาะ (Customized Package) ซ่ึงเป็นโปรแกรมที่อาจต้องขอให้ผู้ผลิตเพิ่มเติมคุณสมบัติ บางอยา่ งลงไปเพอื่ ให้เหมาะสมกบั งานขององคก์ รมากขน้ึ 2. ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ตามลักษณะการใชง้ าน แบ่งเปน็ 4 ประเภท คอื 2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับสานักงาน (Office Automation) ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้จะเน้นการ ใช้ในสานักงาน เชน่ ใชส้ าหรบั การพิมพ์รายงานเอกสาร ตารางคานวณงานนาเสนอ ซอฟต์แวร์สาหรับ สานักงานท่ีได้รับความนิยมมากท่ีสุดอย่าง Microsoft Office เช่น Microsoft Word, Microsoft Excel, Microsoft PowerPoint, Microsoft Access เปน็ ตน้ 2.2 ซอฟต์แวร์ออกแบบกราฟิกและมัลติมีเดีย (Design, Graphic and Multimedia) เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ท่ีพัฒนาขึ้นมาเพื่อช่วยจัดการงานด้านการออกแบบ งานกราฟิก และ มัลติมีเดียให้เป็นไปได้โดยง่าย เช่น ซอฟต์แวร์ช่วยออกแบบ ซอฟต์แวร์จัดหน้าสิงพิมพ์ ซอฟต์แวร์ ตกแต่งภาพ ซอฟต์แวร์ตัดต่อวิดีโอ ซอฟต์แวร์สร้างสื่อมัลติมีเดีย ซอฟต์แวร์สาหรับสร้างเว็บและ จัดการเนื้อหา 2.3 กลุ่มซอฟต์แวร์เว็บและการสื่อสาร (Web and Communications) การเติบโต ของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเพ่ือใช้งานเฉพาะอย่างเพิ่มมากข้ึน เช่น โปรแกรม สาหรับจัดการอีเมล การท่องเว็บไซต์ การสื่อสารผ่านเน็ตในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับ ท่องเว็บ (Browser) ซอฟต์แวร์จัดการอีเมล (E-Mail) ซอฟต์แวร์สื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต (Chat and Messaging, Voice and VDO Call)
83 2.4 กลุ่มซอฟต์แวร์สาหรับองค์กรธุรกิจ (Enterprise Software) ซอฟต์แวร์ในกลุ่มนี้ ครอบคลุมการทางานทุกอย่างในองค์กร เช่น งานบริหารทรัพยากรบุคคล การตลาด การผลิต การ จัดซ้ือ ตลอดจนกระบวนการส่ือสารท้ังภายในและภายนอกองค์กร เรียกว่าเป็น Enterprise Resource Planning (ERP) ที่เชื่อมโยงการทางานทั้งหมดในองค์กรประสานการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ เช่น ระบบบัญชี ระบบ ERP ระบบเงินเดือนและทรัพยากรบุคคล และระบบ CRM และการตลาด เปน็ ตน้ ภาพที่ 4.8 ตวั อยา่ งซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ (Application Software) สรปุ ซอฟต์แวร์ของคอมพิวเตอร์เป็นคาส่ังท่ีเขียนข้ึนมาด้วยภาษาคอมพิวเตอร์เพ่ือส่ังการให้ คอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ตามความต้องการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย 1) ไบออส (BIOS) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาสั่งของคอมพิวเตอร์ท่ีถูกบรรจุอยู่ในหน่วยความจาหลักประเภทรอม (ROM) มาจากโรงงาน ถกู ติดตงั้ อยู่บนเมนบอรด์ (Mainboard) มแี บตเตอร่ีขนาดเล็กเป็นแหลง่ จ่ายไฟ ไบออสมีหน้าที่ควบคุมการจัดการขั้นพื้นฐานตอนเร่ิมต้นการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ในข้ันตอน ของการ POST (Power On Self-Test) เพ่ือตรวจสอบความพร้อมใช้งานของอุปกรณ์ต่าง ๆ 2) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) เป็นระบบชุดคาส่ังท่ีผู้พัฒนามีจุดประสงค์สร้างขึ้นมาเพื่อ ใช้ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และซอฟต์แวร์ (Software) ประเภทต่าง ๆ ให้สามารถทางานร่วมกันกับบุคลากร (Peopleware) ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ท้ัง ทางตรงและทางอ้อมได้อย่างราบร่ืนและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด แบ่งเป็นซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ สาหรับคอมพิวเตอร์ที่มีผู้ใช้ได้หลายคน (Multi-User Computer) เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows
84 ระบบปฏิบัติการ Unix ระบบปฏิบัติการ Linux และซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการสาหรับคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล (Personal Computer) เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows ระบบปฏิบัติการ Mac OS ระบบปฏิบัติการ iOS และระบบปฏิบตั ิการ Android 3) โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utilities Software ) ทาหน้าที่ช่วยงานของระบบปฏิบติการให้ผู้ใช้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีความ ปลอดภัยยิ่งขึ้น ประกอบด้วย โปรแกรมอรรถประโยชน์สาหรับระบบปฏิบัติการ (OS Utility Programs) และโปรแกรมอรรถประโยชน์อ่ืน ๆ (Standalone Utility Programs) และ 4) ซอฟต์แวร์ ประยุกต์ (Application Software) เป็นซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการทางานให้ออกมาตรงตามความต้องการ ของผู้ใช้งานที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาต่างหากใหส้ ามารถทางานใดงานหน่ึงหรือหลาย ๆ งานได้ หากแบ่ง ตามลักษณะการผลิต ได้แก่ ซอฟต์แวร์ท่ีพัฒนาขึ้นใช้เอง (Custom-made Software) และซอฟต์แวร์ สาเร็จรูป (Package Software) แตห่ ากแบ่งตามลักษณะการใชง้ าน ได้แก่ ซอฟต์แวรส์ าหรับสานักงาน (Office Automation) ซอฟต์แวร์ออกแบบกราฟิกและมัลติมีเดีย (Design, Graphic and Multimedia) ซอฟต์แวร์เว็บและการสื่อสาร (Communications) และซอฟต์แวร์สาหรับองค์กรธุรกิจ (Enterprise Software) แบบฝึกหดั 1. จงอธิบายไบออส (BIOS : Basic Input Output System) มาให้เข้าใจ 2. จงอธบิ ายระบบปฏิบัติการ (Operating System) มาใหเ้ ขา้ ใจ พรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ 3. จงอธิบายซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) มาให้เขา้ ใจ พร้อมยกตวั อยา่ ง ประกอบ 4. จงอธิบายซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utilities Software) มาให้เข้าใจ พร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ 5. จงอธบิ ายภาพรวมการทางานของซอฟตแ์ วร์ของคอมพวิ เตอร์ตั้งแตเ่ ปิดจนปดิ เครอื่ ง 6. ระบบปฏิบัติการ Windows มีความแตกต่างจากระบบปฏิบัติการ Mac OS อย่างไรบ้าง จงอธบิ าย 7. ระบบปฏิบัติการในมือถือของนักศึกษาคือระบบปฏิบัติการใด จงอธิบายให้เห็นถึง ระบบปฏิบตั ิการนั้น 8. โปรแกรมอรรถประโยชนส์ าหรับระบบปฏิบตั ิการคืออะไร จงอธบิ าย และนักศกึ ษาเคย ใชโ้ ปรแกรมใดบา้ ง 9. จงเขียนซอฟต์แวร์ประยุกต์ หรือ Application System ท่ีนักศึกษาใช้งานเป็นประจา มาอยา่ งน้อย 10 โปรแกรม 10. ความแตกต่างระหวา่ งซอฟต์แวรท์ ่พี ัฒนาข้ึนใชเ้ องและซอฟต์แวรส์ าเร็จรปู คืออะไร
85 เอกสารอา้ งองิ กลุ างกูร พัฒนเมธาดา. (2562). คอมพิวเตอร์ มีอาการเสยี งรอ้ งดงั ตดิ๊ ติ๊ด ตด๊ิ ๆ ๆ ๆ. สถาบันวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่. สืบคน้ เม่อื 15 มิถนุ ายน 2562. จาก https://stri.cmu.ac.th/km_it_detail.php?id=4. จุฑาวฒุ ิ จันทรมาลี. (2557). ระบบปฏบิ ตั ิการ (Operating Systems). กรงุ เทพฯ: โครงการสวนดุสิต กราฟฟิคไซท์ มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ . พิรพร หมุนสนิท และอัจจิมา เลย้ี งอยู่. (2553). การพัฒนาเวบ็ ไซตด์ ้วย XHTML, CSS และ JavaScript. กรงุ เทพฯ: เคทีพี. ภาสกร พาเจริญ. (2561). คู่มือชา่ งคอม 2019 ฉบบั สมบูรณ์. กรุงเทพฯ: โปรวชิ ่ัน. วศนิ เพม่ิ ทรัพย์. (2561). ความร้เู บือ้ งตน้ เกี่ยวกบั คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรงุ เทพฯ: โปรวชิ ัน่ . แอปเปิล. (2562). Mac OS นีแ่ หละเหตุผลทท่ี าให้ไม่มีอะไรเหมอื น Mac. สบื ค้นเมื่อ 15 มถิ นุ ายน 2562. จาก https://www.apple.com/th/macos/what-is/ Faithe Wempen. (2014). Computing Fundamentals DIGITAL LITERACY EDITION. United Kingdom: John Wiley & Sons.
86
87 แผนการสอนประจาสัปดาห์ที่ 5 หวั ขอ้ เร่ือง ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรเ์ พอื่ การศึกษา รายละเอยี ด ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพ่ือการศึกษา ประกอบด้วยเน้ือหาเก่ียวกับการส่อื สารข้อมูล ของคอมพิวเตอร์ (Data Communication) ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์สาหรับการสื่อสารข้อมูล (Hardware and Software) ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Classification) จานวนชั่วโมงท่สี อน 4 ชวั่ โมง กจิ กรรมการเรียนการสอน 1. นกั ศึกษาทดสอบกอ่ นเรียน 2. ผู้สอนบรรยายด้วย Power Point ในหัวข้อการส่ือสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (Data Communication) ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์สาหรับการสื่อสารข้อมูล (Hardware and Software) ประเภทของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ (Network Classification) 3. บรรยายพิเศษโดยวิทยากร ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์เพอื่ การเรยี นรู้ 4. ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารเชือ่ มต่อระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ บอ้ื งต้น 5. ดูงานและสรปุ ผลการดูงานระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรส์ านักวิทยบริการฯ มสด. 6. นาเสนอผลการจนิ ตนาการเรื่องราวสาหรบั ออกแบบและพัฒนาส่อื การสอน (Imagine) สื่อการสอน 1. แผนการสอนประจาสปั ดาหท์ ี่ 5 2. พาวเวอร์พอยท์สัปดาห์ท่ี 5 3. อินเทอรเ์ นต็ และ Line 4. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 5. ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ 6. แบบฝกึ หัดทบทวนประจาสปั ดาห์ แผนการประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 นักศึกษาสามารถอธิบาย การส่ือสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ( Data Communication) ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์สาหรับการส่ือสารข้อมูล (Hardware and Software) ประเภทของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ (Network Classification)
88 1.2 นกั ศกึ ษาสามารถอภปิ รายและแสดงความคดิ ร่วมกับผสู้ อนและผเู้ รยี น 1.3 นักศึกษาสามารถสรุปประเด็นสาคัญด้วย Mind Mapping ในหัวข้อเครือข่าย คอมพิวเตอร์เพอ่ื การศึกษา 2. วธิ ีการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 2.1 สังเกตจากการตอบคาถาม และการแสดงความคิดเหน็ ในชัน้ เรียน 2.2 ประเมินจากการมสี ่วนรว่ มในการทางานกลุ่มและการอภิปราย 2.3 สงั เกตพฤตกิ รรม ความกระตอื รอื รน้ ในการทากจิ กรรม 2.4 คะแนนแบบฝึกหดั ทบทวนประจาสปั ดาห์ 3. สดั ส่วนของการประเมนิ 3.1 อธิบายการสื่อสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (Data Communication) ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์สาหรับการสื่อสารข้อมูล (Hardware and Software) ประเภทของเครือข่าย คอมพวิ เตอร์ (Network Classification) จานวน 10 คะแนน 3.2 นักศึกษาสามารถอภิปรายและแสดงความคิดเห็นหลังฟังบรรยายพิเศษโดย วทิ ยากร ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์เพอื่ การเรียนรู้ จานวน 10 คะแนน 3.3 ผลการสรุปประเด็นสาคัญด้วย Mind Mapping ในหัวข้อ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อการศกึ ษา จานวน 5 คะแนน เน้ือหาทีส่ อน ด้วยความสามารถของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อพ่วง และเทคโนโลยีด้านการส่ือสารที่ ได้รับการพัฒนาให้มีความทันสมัยและรองรบั การใชง้ านท่ีงา่ ยขึ้น ครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ในโลกใบนี้ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกัน สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน และความสะดวกใน การดแู ลและรักษาระบบ การติดตอ่ สอ่ื สารและการแลกเปลย่ี นข้อมลู ระหว่างกันเปล่ยี นรูปแบบไปมาก ทางานไดอ้ ย่างรวดเร็วและถกู ต้องมากย่งิ ขนึ้ โดยไม่มีขอ้ จากดั เกี่ยวกบั ระยะทางอีกต่อไป คอมพวิ เตอร์ จะติดต่อส่ือสารและการแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างกันได้จาเป็นจะต้องมีคอมพิวเตอร์มากกว่าหนึ่ง เคร่ืองและจะต้องมีตัวกลางที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อและนาส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ ตัวกลางเหล่าน้ี อาจเป็นตัวกลางแบบมีสาย (Wire) และไร้สาย (Wireless) ก็ได้ ซึ่งตัวกลางแบบไร้สายกาลังเป็นท่ี นิยมและได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถมากขึ้น การเช่ือมต่อเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารของ คอมพิวเตอร์อาจเริ่มจากการเช่ือมต่อและแลกเปลี่ยนกันด้วยคอมพิวเตอร์เพียงไม่กี่เคร่ืองภายใน องค์กรหรือสานักงาน อาจจะเป็นแค่การเชื่อมต่อเพ่ือใช้เคร่ืองพิมพ์ร่วมกัน ขยายการเช่ือมต่อออกไป มากย่ิงขึ้นไปสู่ระดับเมือง ระดับประเทศ และสุดท้ายเชื่อมต่อกันระดับโลกด้วยฮาร์ดแวร์และ ซอฟตแ์ วร์ทเ่ี ป็นตัวชว่ ยในการเชอื่ มตอ่ จนกลายเป็นระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ เรียกกันว่า อินเทอร์เน็ต ภาพที่ 5.1 เป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงการเชือ่ มต่อระหว่างบคุ คลผ่านเส้นทางจานวน มากเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน ซ่ึงจะเห็นว่าอาจไม่มีความซับซ้อนมากนัก แต่หาก เปรียบเทียบบุคคลเหล่านี้เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์กว่าที่คอมพิวเตอร์จะสื่อสารกันได้จาเป็นต้องอาศัย ตัวช่วยมากมาย ซ่ึงในแผนการสอนประจาสัปดาห์น้ีจึงจะได้กล่าวถึงส่ิงเหล่านั้นกัน เริ่มตั้งแต่การ
89 สอ่ื สารขอ้ มูลของคอมพวิ เตอร์ (Data Communication) ฮาร์ดแวร์ และซอฟตแ์ วร์สาหรบั การส่ือสาร ข้อมูล (Hardware and Software) ประเภทของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ (Network Classification) ภาพท่ี 5.1 ตวั อย่างการเช่อื มต่อเพ่ือแลกเปลยี่ นข้อมูลข่าวสาร การส่อื สารขอ้ มลู ของคอมพิวเตอร์ (Data Communication) มนุษย์เราเป็นสัตว์สังคม จาเป็นต้องมีการส่ือสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เพื่อความอยู่รอดและดารงเผ่าพันธ์ุ อาจเป็นการสื่อสารระหว่างคนสองคนดว้ ยรูปแบบการส่ือสารท่ีไม่ ซับซ้อน เช่น การใช้ภาพ สัญลักษณ์ อักขระ ร่างกาย และคาพูด ตามแต่ความพร้อม ความสะดวก และวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร ซ่ึงอาจมีองค์ประกอบของการสื่อสาร 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ผู้ส่ง (Sender) ขอ้ มูล (Data) ชอ่ งทางในการส่งขอ้ มูล (Transmission Medium) และผ้รู บั (Destination) แต่สาหรบั การส่ือสารข้อมลู ระหว่างคอมพิวเตอร์จะมคี วามซับซ้อนมากกว่านัน้ เน่ืองจากคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีอาศัยการทางานจากพลังงานที่ได้จากแหล่งต่าง ๆ เป็นหลัก เช่น ไฟฟ้า แบตเตอรี่ เปน็ หลกั แล้วต้องแปลงพลงั งานเหล่านี้ใหก้ ลายเปน็ สัญญาณที่คอมพิวเตอร์ท้งั สองฝ่ังเข้าใจ ตรงกัน หากข้อมูลที่ส่งไปมีความผิดพลาดเกิดข้ึนก็จะต้องมีการตรวจสอบ แก้ไข หรือแจ้งให้ส่งข้อมูล ไปใหม่ จนกว่าข้อมูลจะถูกต้อง หรือจนกว่าจะหมดข้อมูลท่ีจะส่ง และท่ีสาคัญการส่ือสารของ คอมพิวเตอร์มักจะเป็นการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลกัน จึงสามารถแบ่งองค์ประกอบของ การสื่อสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์ได้ 6 องค์ประกอบ ได้แก่ ผู้ส่ง (Sender) ข้อมูล (Data) ตัวแปลง
90 สัญญาณฝ่ายส่ง (Transmitter) ช่องทางในการส่งข้อมูล (Transmission Medium) ตัวแปลง สัญญาณฝา่ ยรับ (Receiver) และผรู้ บั (Destination) ภาพที่ 5.2 องคป์ ระกอบของการสอื่ สารข้อมลู ของคอมพิวเตอร์ การทางานขององค์ประกอบของการส่ือสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์ เร่ิมต้นจาก คอมพิวเตอร์เครื่องต้นทางต้องการส่งข้อมูลไปให้เคร่ืองปลายทาง จาเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบของ การสื่อสารข้อมูลของอคมพิวเตอร์ที่สามารถอธิบายจากภาพท่ี 5.2 เร่ิมต้นจากคอมพิวเตอร์ A (Sender) ส่งข้อมูล (Data) ท่ีเป็นเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 ไปให้ตัวแปลงสัญญาณฝ่ายส่ง (Transmitter) เพ่ือให้ตัวแปลงสัญญาณฝ่ายส่งแปลงเป็นสัญญาณแอนะล็อก (Analog) หรือดิจิทัล (Digital) เพื่อส่งไปตามช่องทางในการส่ง (Transmission Medium) ท่ีได้สร้างไว้ก่อนหน้านี้แล้ว อาจจะเป็นช่องทางแบบมีสาย (Wire) หรือไร้สาย (Wireless) ก็ได้ เม่ือสัญญาณไปถึงตัวแปลง สัญญาณฝ่ายรับ (Receiver) ตัวแปลงสัญญาณฝ่ายรบั ก็จะแปลงสญั ญาณให้กลบั เปน็ เลขฐานสองเพ่ือ ส่งต่อไปยังคอมพิวเตอร์ B ซ่ึงเป็นผู้รับปลายทาง (Destination) และในทางกลับกันคอมพิวเตอร์ B ก็อาจเป็นผู้ส่ง ส่งข้อมูลไปยัง คอมพิวเตอร์ A ด้วยก็ได้ เรียกว่าเป็นการสื่อสารข้อมูลระหว่าง คอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์ ซึ่งคอมพิวเตอร์ท่ีว่าน้ีอาจจะเป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคล (Personal Computer) ส่งข้อมูลหาคอมพิวเตอรส์ ่วนบคุ คล หรอื คอมพวิ เตอรส์ ว่ นบุคคลสง่ ข้อมูลหาคอมพวิ เตอร์ ทม่ี ผี ใู้ ชไ้ ด้หลายคน (Multi-User Computer) หรืออาจสง่ สลบั กันกไ็ ด้ ยกตัวอยา่ งการสง่ ข้อความ “สวัสดียามเช้า” จากไลน์ผ่านมอื ถอื ของเราไปหาเพ่ือน ตวั เรา จะทาหน้าท่ีเป็นผู้ใช้ด้วยการพิมพ์ข้อความลงไปในแอปไลน์ มือถือของเราจะทาหน้าที่เป็นผู้ส่ง (Sender) โดยจะแปลงข้อความสวัสดียามเช้าให้กลายเป็นรหัสเลขฐานสอง 0 และ 1 สลับกันไปตาม พยัญชนะ ส่งต่อไปยัง NIC ที่ถูกติดต้ังอยู่ในมือถือจากโรงงาน NIC จะทาหน้าท่ีแปลงรหัสเลฐานสอง ให้กลายเป็นสัญญาณแอนะล็อก (Analog) หรือดิจิทัล (Digital) ผ่านไปทางอากาศไปยัง NIC ปลายทางซ่ึงก็คือเพื่อนของเรา NIC เพื่อนของเราจะแปลงสัญญาณให้กลับไปเป็นเลขฐานสอง และ แสดงผลบนแอปไลน์ว่า “สวัสดยี ามเชา้ ” ผา่ นทางหน้าจอมือถือ หากเพื่อของเราต้องการจะส่งดอกไม้ ยามเช้ากลบั มาขบวนการกจ็ ะเปน็ เหมอื นทเี่ ราส่งขอ้ ความใหเ้ พอื่ น สลับไปมากนั แบบน้ี
91 ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟต์แวรส์ าหรับการสื่อสารข้อมูล (Hardware and Software) การส่ือสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องใช้ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟ ต์แวร์สาหรับการ นาส่งข้อมูลจากผู้ส่งไปยังผู้รับ และเพื่อเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นเครือข่าย โดยฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์สาหรับการสื่อสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย อุปกรณ์เครือข่ายสาหรับการ สื่อสารขอ้ มลู (Hardware) และซอฟต์แวรเ์ ครือข่ายสาหรบั การสอื่ สารขอ้ มลู (Software) มรี ายละเอียด ดงั นี้ 1. อุปกรณ์เครือข่ายสาหรับการส่ือสารข้อมูล (Hardware) อุปกรณ์ที่เป็นตัวกลางทา หน้าที่ส่งและรับข้อมูลระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์ตามคาส่ังของผู้ใช้งาน ประกอบด้วยอุปกรณ์ เครือข่าย (Hardware) และตัวกลางนาส่งข้อมูลหรือช่องทางในการส่งข้อมูล (Transmission Medium) มีรายละเอยี ด ดงั น้ี 1.1 อุปกรณเ์ ครือขา่ ย (Hardware) คืออุปกรณท์ เ่ี ป็นตวั กลาง และชว่ ยให้คอมพวิ เตอร์ สามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารซึ่งกันและกันได้ คอมพิวเตอร์ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะ (Desktop PC) คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค (Notebook PC) แท็บเล็ต (Tablet PC) สมาร์ทโฟน (Smartphone) และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์บาง ชนิด เช่น เครอื่ งพมิ พ์ในปจั จุบนั จาเป็นจะตอ้ งมีอุปกรณท์ ่ีเป็นตัวชว่ ยในการสอ่ื สารข้อมลู ประกอบด้วย 1) การ์ดแลน (Network Interface Card: NIC) เป็นอุปกรณ์สาหรับช่วยให้ คอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารถึงกันและกันได้ โดยท้ังฝั่งผู้ส่งและผู้รับจาเป็นจะต้องมี NIC ซึ่ง NIC ในปัจจุบันมีท้ังแบบใช้สาย และแบบไร้สาย หากเป็นแบบใช้สายมักมีช่องให้เสียเข้ากับเมนบอร์ด (Mainboard) ซึ่งมักใช้กับคอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะ (Desktop PC) แต่หากเป็นแบบไร้สายก็มักจะถูก ติดตั้งมาพร้อมกับเมนบอร์ด (Built in) อยู่แล้ว พบได้ในโน๊ตบุ๊ค (Notebook PC) แท็บเล็ต (Tablet PC) และสมาร์ทโฟน (Smartphone) เป็นหลัก NIC แต่ละตัวจะมีหมายเลขประจาตัวที่ไม่ซ้ากันเพื่อ ประโยชน์ในการส่งข้อมูลไปยงั ปลายทาง ในการซื้อคอมพิวเตอร์ชนิดใดก็ตามผู้ใช้ไม่ต้องกังวลกับ NIC เพราะจะมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองอยู่แล้ว เน่ืองจาก NIC เป็นอุปกรณ์สาคัญที่ช่วยให้ผู้ใช้ เข้าถงึ เครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ และเขา้ ถึงขอ้ มลู ต่าง ๆ อีกมากมายต่อไป 2) ฮับ (Hub) เป็นอุปกรณ์กลางที่ใช้ในการรวมหรือรับสัญญาณท่ีส่งออกมาจาก คอมพวิ เตอรแ์ ตล่ ะเคร่ืองมาไว้ที่ตัวมันก่อนทีจ่ ะกระจายหรือส่งออกไปยงั คอมพวิ เตอรท์ ี่เชือ่ มต่ออยู่กับ ตัวมันทุก ๆ เคร่ือง นิยมใช้กับเครือข่ายขนาดเล็กในสานักงาน เน่ืองจากมีพอร์ท (Port) สาหรับการ เช่ือมต่อไม่มากนัก อาจจะแค่ 4-24 พอร์ทเท่าน้ัน คอมพิวเตอร์ที่จะเช่ือมต่อไปยังคอมพิวเตอร์ ในเครือข่ายจะใช้การเช่ือมต่อผ่านการ์ดแลนไปยังฮับอีกครั้งนึง ซึ่งฮับเป็นอุปกรณ์ที่ถูกสร้างมา เพ่ือ กระจายข้อมูลไปยังคอมพิวเตอร์ทุก ๆ เคร่ืองที่เชื่อมต่ออยู่บนตัวมัน ดังนั้น จึงอาจจะขาดความ ปลอดภยั และสง่ ข้อมูลได้ชา้ ไปบา้ ง 3) สวิทซ์ (Switch) สวิทซ์ทาหน้าที่คลา้ ยฮับคือเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ต่าง ๆ ให้อยู่ภายใต้เครือข่ายเดียวกัน แต่ข้อแตกต่างระหว่างฮับกับสวิทซ์คือการส่งข้อมูลไปยัง ปลายทางของฮับจะกระจายข้อมูลไปยังทุก ๆ พอร์ทหรือคอมพิวเตอร์ทุก ๆ เคร่ืองที่เช่ือมต่ออยู่กับ ตัวมัน แต่สวิทซ์ถูกสร้างมาให้มีความฉลดกว่าฮับเน่ืองจากมีหน่วยความจาสาหรับจัดเก็บข้อมูลของ
92 NICของคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องท่ีเชื่อมต่ออยู่บนตัวมัน ดังน้ัน มันจะไม่ทาเช่นฮับ คือจะไม่ส่งข้อมูล ออกไปยังปลายทางทุก ๆ พอร์ทหรือทุก ๆ เคร่ือง แต่จะส่งไปยังปลายทางน้ัน ๆ โดยตรง โดยอาศัย หมายเลขประจาตัวของ NIC ทาให้สวิทซ์มีความปลอดภัยและทางานได้เร็วกว่าฮับอยู่มาก แต่อย่างไร กต็ ามเม่อื ทางานไดด้ ีกวา่ ราคากย็ ่อมจะสูงกวา่ เชน่ เดยี วกัน 4) เราเตอร์ (Router) เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถเข้าถึง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตอีกชนิดหนึ่งที่มีความสาคัญ มีความคล้ายคลึงกันมากกับสวิทซ์ เพียงแต่มี ซอฟต์แวร์พิเศษที่สามารถค้นหาเส้นทางท่ีจะเดินทางไปยังปลายทางที่ดีท่ีสุดได้ และสามารถส่งผ่าน ขอ้ มลู ข้ามไปยงั เครอื ขา่ ยอืน่ ได้อีกด้วย 5) รีพีตเตอร์ (Repeater) ข้อจากัดของการส่ือสารข้อมูลคือระยะทาง ระยะทาง ย่ิงไกลจากจุดกาเนิดสัญญาณมากเท่าไรสัญญาณก็จะย่ิงอ่อนลงมากเท่าน้ัน ดังนั้น หากต้องการทาให้ สญั ญาณทอ่ี อ่ นน้ันแรงขนึ้ มา จาเปน็ อย่างยิ่งทีจ่ ะต้องมีอุปกรณ์ท่ีทาหนา้ ที่ขยายหรือทวนสัญญาณของ เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ตวั น้ันก็คือรีพีตเตอร์ ทานองเดียวกันกับสัญญาณของเครือข่ายมือถือจะ สังเกตได้ว่าหากอยู่ในพื้นท่ีห่างไกลหรือพื้นท่ีอับสัญญาณ มือถือมักจะไม่สามารถใช้งานหรือไม่สามารถ เช่ือมต่อเครือข่ายได้ ดังนั้น หน้าท่ีของค่ายมือถือจึงจะต้องติดต้ังตัวขยายสัญญาณให้ครอบคลุมเพื่อให้ สัญญาณของมอื ถือแรงและผู้ใชส้ ามารถใช้งานได้ดีท่สี ุด 1.2 ตัวกลางนาสง่ ข้อมูล (Transmission Medium) เป็นช่องทางสาหรับนาส่งและรับ ข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีเป็นผู้ส่งไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีเป็นผู้รับ ซ่ึงมีอยู่ด้วยกันหลาย 2 แบบ คือตัวกลางแบบมีสาย (Wired) ได้แก่ สาย UTP (Unshielded-Twisted Pair: UTP) สาย Coaxial (Coaxial Cable) และสาย Fiber optic (Fiber optic cable) และตัวกลางแบบไร้สาย (Wireless) มรี ายละเอยี ดดังนี้ 1) สาย UTP (Unshielded-Twisted Pair: UTP) ปกติมักเรียกกันว่าสาย LAN เป็นตัวกลางนาส่งข้อมูลที่ทาด้วยลวดทองแดงที่ถูกหุ้มด้วยฉนวนหุ้มสายและบิดกันเป็นเกลียวเป็นคู่ จานวน 4 คู่ เพื่อลดผลที่อาจจะได้รับจากสัญญาณรบกวน และได้รับการป้องกันไม่ให้สัญญาณ ท่ีเดินทางไปมาในสายได้รับความเสียหายอีกช้ันหนึ่งด้วยฉนวนหุ้มภายนอก เป็นตัวกลางนาส่งข้อมูล ท่ไี ด้รับความนิยมใช้งานอยา่ งแพร่หลาย เนอื่ งจากมขี นาดสายเลก็ น้าหนกั เบา และตดิ ตั้งใช้งานได้งา่ ย 2) สาย Coaxial (Coaxial Cable) เป็นสายชนดิ เดียวกับสายเคเบิลของโทรทัศน์ ท่ีใช้สาหรับส่งข้อมูลจากเครื่องส่งไปยังโทรทัศน์ตามบ้าน ซึ่งเคยได้รับความนิยมอย่างมากมาก่อน แต่เม่ือการเข้ามาของเทคโนโลยีการส่ือสารข้อมูลอย่างอินเทอร์เน็ตเข้ามาและครอบคลุมพ้ื นท่ีใช้งาน มากย่ิงข้ึนเคเบิลชนิดน้ีก็ค่อย ๆ หายไปจากวงการโทรทัศน์ จะมีใช้อยู่บ้างก็จากจานรับสัญญาณ ดาวเทียมจากหน้าบ้านไปยังเคร่ืองรับโทรทัศน์ ในการนามาใช้เป็นตัวกลางในการนาส่งข้อมูลก็ได้รับ ความนิยมน้อยลงเป็นอย่างมาก เนื่องจากมีราคาสูงแม้จะนาส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็วกว่าสาย UTP ก็ตาม สาย Coaxial ประกอบด้วย สายทองแดงที่เป็นแกนกลางและเป็นตัวนาส่งข้อมูล ฟรอยด์ สาหรับหุ้มสายทองแดงเพื่อกันสัญญาณรบกวน สายนาสัญญาณกราวด์ที่มีลักษณะเป็นโลหะถัก และ ฉนวนที่เป็นวสั ดุปอ้ งกันสายสัญญาณ
93 3) สาย Fiber optic (Fiber optic cable) เป็นช่องทางการนาส่งสัญญาณ ที่ไดร้ บั ความนิยมสูงขึ้นในปจั จบุ ัน เนอื่ งจากสามารถสง่ สัญญาณได้มากและไดร้ ะยะทางไกล ๆ ป้องกัน การเข้าถึงข้อมูลได้ดี และราคาถูกลงมาก แต่ยังยังใช้งานในระดับองค์กรมากกว่าจะใช้งานตามบ้าน เร่ือนเนื่องจากติดต้ังยากต้องใช้ผู้เช่ียวชาญเท่าน้ัน สาย Fiber optic เป็นสายที่ใช้แสงเป็นตัวนาส่ง ข้อมูลมีท้ังแบบ Multi-Mode เหมาะกับภายในอาคารและระยะทางไม่ไกลนัก และ Single Mode นาส่งข้อมูลได้ดีกว่า จึงนิยมใช้สาหรับการนาส่งข้อมูลท่ีมีระยะทางไกล ๆ หรือเคเบิลใต้น้าเชื่อมต่อ ระหวา่ งประเทศ เปน็ ตน้ 4) ตัวกลางแบบไร้สาย (Wireless) ช่องทางนาส่งข้อมูลระหว่างเครือข่าย คอมพิวเตอร์ด้วยคลื่นวิทยุ (Radio frequency) และอินฟาเรด (Infrared) เป็นท่ีนิยมใช้กันมากขึ้นใน ปัจจุบัน เน่ืองจากสามารถลดข้อจากัดในเร่ืองของระยะทางของสัญญาณได้มากข้ึน และช่วยลดข้อจากัด เรื่องสายสัญญาณท่ีรกรุงรังไม่น่าดู มักพบว่าตัวกลางแบบไร้สายนิยมใช้กับโน๊ตบุ๊ค (Notebook PC) แท็บเล็ต (Tablet PC) และสมาร์ทโฟน (Smartphone) เป็นหลัก เนื่องจากเป็นคอมพิวเตอร์แบบ พกพาท่ีสามารถถือติดตัวไปไหนได้ทุกที่และตลอดเวลา จึงไม่สะดวกหากต้องใช้ช่องทางนาส่งข้อมูล แบบสาย ตัวกลางแบบไร้สายที่รู้จักกันเป็นอย่างดี ได้แก่ Wi-Fi (Wireless Fidelity) ท่ีนิยมใช้ตาม มหาวิทยาลยั สานักงาน อาคารบ้านเรอื น รา้ นอาหาร โรงแรม และพืน้ ท่ีสาธารณะท่ัวไป ซ่งึ ในปจั จบุ นั Wi-Fi ไดร้ บั ความนยิ มและสามารถเขา้ ถงึ ไดเ้ กอื บทุกท่ี แตอ่ าจมีขอ้ จากดั เรื่องระยะทางของ Wi-Fi เอง ที่อาจส่งได้ไม่ไกลนัก หากอยากจะให้ Wi-Fi ส่งได้ระยะไกลขึ้นก็จาเป็นต้องมี Access Point เป็น ระยะ ๆ เพือ่ ให้สามารถเชื่อมต่อเครือขา่ ยไดโ้ ดยสัญญาณไม่ขาดหายไป บลทู ูธ (Bluetooth) ช่องทาง นาส่งข้อมูลระยะใกล้ ๆ เช่น นาส่งข้อมูลจากสมาร์ทโฟนสู่หูฟัง นาส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ สู่เคร่ืองพิมพ์ เป็นต้น ไมโครเวฟ (Microwave) นิยมนาไปใช้สาหรับการนาส่งข้อมูลในพ้ืนท่ีห่างไกล เนื่องจากสามารถส่งข้อมูลได้ระยะทางไกล ๆ ซึ่งมักจะพบเจอเสาสัญญาณไมโครเวฟได้บนภูเขาสูง ๆ และอินฟาเรด (Infrared) ท่ีไม่เป็นที่นิยมมากนักในปัจจุบัน จะพบเห็นได้จากรีโมทโทรทัศน์เสียเป็น ส่วนใหญ่
94 ภาพท่ี 5.3 อปุ กรณเ์ ครือข่ายสาหรับการสอ่ื สารข้อมูล ทม่ี า: ConceptDraw (2019) จากภาพท่ี 5.3 แสดงการนาอุปกรณ์เครือข่ายสาหรับการส่ือสารข้อมูลแต่ละชนิดมา เช่ือมต่อกันเป็นเครือข่าย เช่น การเช่ือมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะกับเคร่ืองพิมพ์เคร่ือง สแกน เครื่องโทรสาร การเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะกับฮับโดยใช้สาย UTP การ เชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะด้วยกันโดยใช้สาย Coaxial การเชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค สมาร์ทโฟนกับเราเตอร์ด้วย Wi-Fi เป็นต้น โดยมีอุปกรณ์ท่ีเกี่ยวข้องได้แก่ ฮับ สวิทซ์ และเราเตอร์ ทท่ี าหน้าท่ีในการรวมสัญญาณ กระจายสญั ญาณ และคน้ หาเสน้ ทางนาสง่ ข้อมูลท่ี ดที ี่สุดไปยังอินเทอร์เนต็ ตามลาดับ 2. ซอฟต์แวร์เครือข่ายสาหรับการส่ือสารข้อมูล (Software) อย่างท่ีได้กล่าวไว้ใน แผนการสอนประจาสัปดาห์ท่ีหน่ึงแล้วว่าคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล (Personal Computer) ได้แก่ คอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะ (Desktop PC) คอมพิวเตอร์ โน๊ตบุ๊ค (Notebook PC) แท็บเล็ต (Tablet PC) สมาร์ทโฟน (Smartphone) และคอมพิวเตอร์ท่ีมี ผู้ใช้ได้หลายคน (Multi-User Computer) ได้แก่ เซิฟเวอร์ (Server) เมนเฟรม (Mainframe) และ ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) คอมพิวเตอร์ทั้งสองประเภทนี้จาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องมี ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ (Operating System Software) เพื่อทาหน้าท่ีในการบริหารจัดการ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ท่ถี ูกติดต้งั อยู่กบั เครื่องคอมพิวเตอร์เหล่านัน้ คอมพวิ เตอรส์ ว่ นบุคคลจะมซี อฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการตดิ ต้ังอยู่ทุกเครื่องเพ่ือทาหน้าที่ใน การบริหารจัดการฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่ถูกติดตง้ั อยู่ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์เครือ่ งน้ัน ๆ และหากนา คอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลมาเช่อื มต่อเป็นเครอื ขา่ ยเขา้ ดว้ ยกนั คอมพวิ เตอร์เหล่าน้นั ก็จะสามารถแบ่งปัน
95 หรือแลกเปล่ียนข้อมูล (Share) ซึ่งกันและกันได้เช่นเดียวกัน โดยคอมพิวเตอร์เหล่านั้นจะมีสถานะที่ เทา่ เทยี มกัน เรียกว่า Peer to Peer (Roy Winkelman, 2013) ดังภาพที่ 5.3 เครือขา่ ยแบบนีจ้ ะเก็บ ไฟล์และการเชือ่ มต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้ท่ีเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ของผู้ใช้แตล่ ะคน โดยไมม่ คี อมพิวเตอร์ ส่วนกลางที่ทาหน้าท่ีนี้ เรียกได้ว่าต่างคนต่างเก็บ ต่างคนต่างใช้ แต่ผู้ใช้ในเครือข่ายสามารถเรียกใช้ ไฟล์จากคอมพิวเตอร์เคร่ืองอ่ืนได้ ถ้าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นทาการแชร์ไฟล์เหล่าน้ันไว้ เครือข่ายแบบ Peer-to-Peer น้ีเหมาะสาหรบั องคก์ รขนาดเลก็ ท่มี คี อมพวิ เตอรเ์ ชอ่ื มต่อกนั ไม่ก่ีเครื่อง เน่อื งจากตดิ ต้ัง ง่าย ราคาไม่แพง และการดูแลไม่ยุ่งยากนัก และจะมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการที่ติดต้ังอยู่ทุกเครื่อง ทาหน้าท่ีเปน็ ซอฟต์แวร์ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครอื ขา่ ย (Network Operating System: NOS) ไปดว้ ย คอมพิวเตอร์ที่มีผู้ใช้ได้หลายคนก็จาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการ ตดิ ตัง้ ไวเ้ ช่นเดียวกัน แตซ่ อฟตแ์ วร์ระบบปฏิบัตกิ ารของคอมพิวเตอรป์ ระเภทน้ตี ้องสามารถรองรับการ ทางานบนเครือข่ายสาหรับการสื่อสารข้อมูลกับคอมพิวเตอร์อื่น ๆ อีกจานวนมาก ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการสาหรับคอมพิวเตอร์ประเภทน้ีจึงถูกเรียกว่าซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network Operating System: NOS) ซ่ึงก็คือระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ท่ีถูกออกแบบและ พัฒนาขึ้นมาเพ่ือรองรับคอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าที่ในการบรหิ ารจัดการคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง ท่ีอยู่ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่ายสามารถติดต่อสื่อสาร แลกเปล่ียนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ เป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับการออกแบบ ข้ึนมาเพ่ือจัดการงานด้านการส่ือสารระหว่างคอมพิวเตอร์ให้สามารถใช้ทรัพยากร ฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ร่วมกันได้หลาย ๆ เคร่ืองพร้อม ๆ กัน เช่น เครื่องพิมพ์ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น จัดการด้านการ รักษาความปลอดภัย ของระบบเครือข่าย และยังมีหน้าที่ควบคุมการนาโปรแกรมประยุกต์ด้านการ ติดต่อสื่อสารมาทางานในระบบเครือข่ายอีกด้วย ซึ่งซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่ายทาหน้าท่ี ในการบริหารจัดการระบบเครือข่ายได้จากศูนย์กลาง รองรับการบริหารจัดการคอมพิวเตอร์ ในเครือข่าย เชน่ การเชอ่ื มต่อแบบอตั โนมตั ิ เป็นจดุ รวมของการเก็บข้อมลู บรหิ ารจัดการและแบ่งปัน ทรัพยากรได้สะดวก ทาให้สามารถทางานพร้อมกันโดยใช้ข้อมูลเดียวกันได้ และจัดการด้านความ ม่ันคงปลอดภัยของเครือข่าย ระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะใช้หลักการประมวลผลแบบไคลแอนด์ เซิร์ฟเวอร์ (Client - Server) ดังภาพท่ี 5.3 โดยระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะถูกติดตั้งไว้ในเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่ายหรือเซิร์ฟเวอร์ (Server) เพื่อใช้ในการควบคุมการทางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ลูกข่ายหรือไคลเอนต์ (Client) เช่น การเรียกใช้ข้อมูลและโปรแกรมจะทางานอยู่บนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ในขณะท่ีส่วนประกอบอ่ืน ๆ ของระบบปฏิบัติการเครือข่ายจะทางานอยู่บนเคร่ืองไคลแอนด์ เช่น การประมวลผล และการติดต่อกับผู้ใช้ ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่ได้รับความนิยม ได้แก่ Microsoft Windows Server 2019, Linux, Unix, และ Macintosh OS X เปน็ ต้น
96 ภาพท่ี 5.4 การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบ Client/Server และ Peer to Peer ท่มี า: Billy Phillips (2014) ประเภทของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ (Network Classification) การเชอ่ื มต่อของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์มีความหลากหลายสามารถแบ่งออกได้ 4 ประเภท ได้แก่ แบ่งตามตามขนาด (Network Scale) แบ่งตามโทโปโลยี (Network Topology) แบ่งตาม สถาปัตยกรรม (Network Architecture) และแบ่งตามตัวกลางท่ีใช้เป็นช่องทางในการส่งข้อมูล (Communication Mediums) ในแผนการสอนนี้กล่าวถึงเพียงการแบ่งประเภทของเครือข่าย คอมพิวเตอร์ตามขนาด (Network Scale) และแบ่งตามโทโปโลยี (Network Topology) เท่านั้น โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี 1. เครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ บ่งตามขนาด (Network Scale) การแบ่งประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ออกตามขนาดและพ้ืนที่การให้บริการ ช่วยให้ การเชื่อมต่อเครือข่าย การส่งข้อมูล การดูแลความม่ันคงปลอดภัยของเครือข่ายทาได้สะดวกยิ่งขึ้น เนอ่ื งจากในโลกนี้มเี ครือขา่ ยคอมพิวเตอร์จานวนมากเชื่อมตอ่ กนั อาจจะตั้งแตค่ อมพวิ เตอรส์ องเครื่อง เชื่อมต่อกัน จนถงคอมพิวเตอร์เป็นล้านเคร่ืองเช่ือมต่อกัน ซ่ึงในท่ีนี้จะได้กล่าวถึงเครือข่าย คอมพวิ เตอรท์ ่แี บง่ ตามขนาด 4 เครือขา่ ยดว้ ยกนั (โยธิน ศริ ิเอ้ย, 2558) ประกอบด้วย 1.1 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Area Network: PAN) เป็น เครอื ข่ายที่ใชส้ ่วนบคุ คล เชน่ การเชือ่ มต่อคอมพวิ เตอร์กบั โทรศัพทม์ ือถอื การเชื่อมต่อพีดเี อกับเคร่ือง คอมพิวเตอร์ซง่ึ การเชือ่ มต่อแบบนีจ้ ะอย่ใู นระยะใกล้ และมกี ารเช่อื มตอ่ แบบไร้สาย 1.2 ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์เฉพาะที่ (Local Area Network: LAN) เป็นเครือข่าย ทใี่ ชใ้ นการเชือ่ มโยงคอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ทีอ่ ยใู่ นพน้ื ท่ีเดียวกนั หรอื ใกล้เคยี งกนั เช่น ภายใน บ้าน ภายในสานักงาน และภายในอาคาร สาหรับการใช้งานภายในบา้ นน้นั อาจเรยี กเครือข่ายประเภท น้ีว่า เครือข่ายที่พักอาศัย (Home network) โดยอาจเป็นการเชื่อมต่อเคร่ืองคอมพิวเตอร์ต้ังแต่ 2 เคร่ือง หรือมากกว่า เครือข่ายแลนจัดได้ว่าเป็นเครือข่ายเฉพาะองค์กร การเชื่อมต่อเครือข่ายแลน สามารถสื่อสารข้อมูลได้อยา่ งรวดเร็วและเกิดประสทิ ธภิ าพกบั องคก์ รมากท่ีสดุ เน่อื งจากเครือข่ายแลน
97 น้ีจะทาหน้าท่ีเช่ือมประสานงานการทางาน บริหารการจัดการทรัพยากรต่าง ๆ ได้ดีที่สุด เช่น การ ติดตั้งเคร่ืองพิมพ์ส่วนกลาง การจัดการฐานข้อมูล การจัดการแฟ้ม การรับ-ส่งเอกสาร รายงาน ต่าง ๆ เพ่ือใช้ตัดสินใจในองค์กร เน่ืองจากอุปกรณ์แต่ละชิ้นจะอยู่ในตาแหน่งที่ไม่ห่างไกลมากนัก จึงสามารถทาความเร็วในการสื่อสารและมีอัตราการถูกรบกวนของสัญญาณน้อย ซึ่งอาจใช้การ เช่อื มตอ่ แบบใชส้ ายหรือไรส้ ายกไ็ ด้ 1.3 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นครหลวง (Metropolitan Area Network: MAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้เชื่อมโยงแลนท่ีอยู่ห่างไกลออกไป เช่น การเช่ือมต่อเครือข่ายระหว่างสานักงานที่ อาจอยู่คนละอาคารและมีระยะทางไกลกัน การเช่ือมต่อเครือข่ายชนิดน้ีอาจใช้สายไฟเบอร์ออพติก หรือบางครั้งอาจใช้ไมโครเวฟเช่ือมต่อ เครือข่ายแบบน้ีใช้ในสถานศึกษามีช่ือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครือข่ายแคมปัส (Campus Area Network: CAN) ซึ่งถือว่าเป็นระบบเครือข่ายท่ีมีการเช่ือมต่อกัน ในระหว่างที่กว้างใหญ่ ครอบคลุมระยะทางเป็น 100 กิโลเมตร ท่ีมีการติดต่อกันในระยะท่ีไกลกว่า ระบบแลนและใกล้กว่าระบบแวน เป็นการติดต่อระหว่างเมือง เช่น กรุงเทพฯ กับเชียงใหม่ เชียงใหม่ กบั ยะลาหรอื เป็นการตดิ ต่อระหว่างรัฐ โดยมรี ปู แบบการเชือ่ มต่อแบบ Ring ตวั อยา่ งเชน่ ระบบ FDDI (Fiber Data Distributed Interface) ท่ีมีรัศมีหรือระยะทางการเช่ือมต่ออยู่ท่ี 100 กิโลเมตร อัตรา ความเร็วอยู่ท่ี 100 Mbps มีรูปแบบการเช่ือมต่อท่ีประกอบด้วยวงแหวนสองช้ัน ๆ แรกเป็น Primary Ring ส่วนช้ันที่ 2 เป็น Secondary Ring หรือ Backup Ring โดยชั้น Secondary Ring จะทางาน แทนกนั ทันทีท่สี ายสัญญาณใน Primary Ring ขาด FDDI เป็นโปรโตคอลของเครอื ขา่ ยทเี่ นน้ การจัดส่ง ข้อมูลท่ีความท่ีความเร็วสูง ส่งได้ในระยะทางที่ไกลและมีความน่าเช่ือถือสูง เน่ืองจากใช้สายใยแก้ว นาแสง จึงมีผู้นา FDDI สูง มาใช้เป็นแบ็กโบนเพ่ือการขนส่งข้อมูล อย่างไรก็ดีค่าใช้จ่ายในการติดต้ัง ระบบ FDDI สูง ประกอบกับการท่ีระบบ Gigabit Ethernet ถูกออกแบบมาให้แทนท่ี FDDI ดังนั้น โครงข่ายนกี้ าลังถกู กลืนด้วยวิวฒั นาการทางเทคโนโลยีในทีส่ ุด 1.4 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์วงกว้าง (Wide Area Network: WAN) เป็นการ เชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระยะไกล ซ่ึงมีอยู่ท่ัวโลกเข้าด้วยกัน โดยอุปกรณ์แปลงสัญญาณ เช่น โมเดม็ ชว่ ยในการตดิ ต่อสื่อสารหรือสามารถนาเครือข่ายท้องถน่ิ มาเช่ือมต่อกันเป็นเครือขา่ ยระยะไกล เชน่ เครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ เครอื ขา่ ยระบบธนาคารท่วั โลก เครอื ขา่ ยของสายการบนิ เปน็ ต้น ภาพท่ี 5.5 เครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ บง่ ตามขนาด ทมี่ า: Faithe Wempen (2014)
98 จากภาพที่ 5.5 แสดงให้เห็นถึงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดต่าง ๆ ในบริษัทแห่งหน่ึง โดยเครือข่ายที่มีขนาดเล็กท่ีสุดคือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PAN) ซึ่งอาจจะมีเพียง คอมพิวเตอร์ของพนักงานคนหนึ่งและเครื่องพิมพ์อย่างละเครื่องเชื่อมต่อกันเพื่อให้สามารถพิมพ์งาน ออกทางเคร่ืองพิมพ์ได้ นั่นหมายถึงพนักงานคนอื่นอาจจะไม่สามารถใช้เคร่ืองพิมพ์เคร่ืองน้ีได้ หรือ หากจะใช้เคร่ืองพิมพ์เคร่ืองน้ีก็ต้องสั่งพิมพ์ผ่านทางคอมพิวเตอร์ของพนักงานคนน้ี โดยพนักงานคนน้ี เชื่อมตอ่ เครอื ขา่ ยอยู่กบั เพื่อนในแผนกเดียวกนั เป็นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์เฉพาะท่ี (LAN) บรษิ ัทแห่งน้ีมี สาขาอยหู่ ลายแห่งท้ังในประเทศและต่างประเทศ การเชื่อมต่อเครือข่ายภายในประเทศกเ็ ปรียบเสมือน การเชื่อมต่อผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นครหลวง (MAN) ส่วนการเชื่อมมต่อแต่ละเครือข่ายของ สาขาในประเทศกับต่างประเทศก็เปรียบเสมือนการเชื่อมต่อผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์วงกว้าง (WAN) หรืออินเทอรเ์ นต็ นั่นเอง 2. เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ บง่ ตามโทโปโลยี (Network Topology) โทโปโลยี (Topology) เป็นลักษณะทางกายภาพของการเชื่อมต่อเครือข่ายของ คอมพวิ เตอร์ โดยอาศยั อุปกรณ์และตัวกลางในการนาส่งขอ้ มลู ไปยงั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ปลายทาง การ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์แต่ละโทโปโลยีจะมีความเหมาะสม ข้อจากัด และข้อดีที่แตกต่างกัน เครือข่าย คอมพิวเตอรห์ ากแบง่ ตามโทโปโลยีทสี่ าคญั และมักได้รับการกล่าวถงึ มี 4 แบบ ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 2.1 เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบัส (Bus Topology) เป็นโทโปโลยีที่ได้รับความนิยม ลกั ษณะการทางานคอื คอมพิวเตอร์เครือ่ งในเครือข่ายจะต้องเช่ือมตอ่ เขา้ กบั สายส่อื สารหลักทเี่ รียกว่า “บัส” (BUS) จะไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องใดเคร่ืองหนึ่งเป็นศูนย์กลางในการเช่ือมต่อ เมื่อคอมพิวเตอร์ เครื่องใดหยุดทางานหรือใช้งานไม่ได้ก็ไม่มีผลกับคอมพิวเตอร์เครื่องอ่ืน ๆ ในเครือข่าย และเมื่อ คอมพิวเตอรเ์ คร่ืองใดต้องการจะสง่ ข้อมูลไปใหย้ งั ปลายทางภายในเครือข่ายเดยี วกนั จะตอ้ งตรวจสอบ ให้แน่ใจก่อนว่าบัสว่างหรือไม่ ถ้าหากไม่ว่างคอมพิวเตอร์เครื่องน้ันก็ไม่สามารถจะส่งข้อมูลออกไปได้ ทั้งนี้เพราะสายสื่อสารหลักมีเพียงสายเดียว ในกรณีที่มีข้อมูลวิ่งมาในบัส ข้อมูลนี้ จะวิ่งผ่าน คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ไปเรื่อย ๆ ในขณะที่คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะคอยตรวจสอบข้อมูลท่ีผ่านมาว่า เป็นของตนเองหรือไม่ หากไม่ใช่กจ็ ะปล่อยให้ข้อมูลวิง่ ผ่านไป แต่หากใช่กจ็ ะรบั ข้อมูลไป 2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบสตาร์ (Star Topology) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ ออกจากคอมพวิ เตอร์ที่ทาหน้าที่เปน็ ศนู ย์กลางหรือคอมพวิ เตอร์แม่ขา่ ยที่เรียกว่า Server คอมพิวเอต์ แต่ละเครื่องจะมีสายสัญญาณเช่ือมต่อกับศูนย์กลาง จะไม่มีการใช้สายสัญญาณร่วมกัน ดังนั้นเม่ือ คอมพิวเตอร์เครื่องใดเกิดความเสียหายจะไม่มีผลกระทบกับคอมพิวเตอร์เครื่องอ่ืน ๆ ปัจจุบันนิยมใช้ HUB เป็นตัวกลางเช่ือมต่อไปยังคอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ือง ซ่ึงข้อเสียของการใช้ HUB ก็คือทาให้ คอมพวิ เตอร์ในเครือขา่ ยสามารถส่งสญั ญาณไปยังปลายทางได้ทีละเครอ่ื ง โดย HUB จะกระจายขอ้ มูล ไปยังคอมพิวเตอร์ทุก ๆ เครื่อง หากคอมพิวเตอร์เครื่องใดเป็นเจ้าของข้อมูลก็จะรับเอาไป การแก้ไข ไม่ให้มีการกระจายข้อมูลของ HUB สามารถทาได้โดยใช้ Switch เข้ามาแทน นอกจากแก้ไขการ กระจายข้อมูลแล้ว Switch ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถส่งข้อมูลได้พร้อม ๆ กัน โดย Switch จะทา หนา้ ท่เี ป็นผตู้ รวจสอบและนาส่งข้อมลู ไปยังเครอ่ื งปลายทาง
99 2.3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (Ring Topology) เป็นการเชื่อมต่อ เครือข่ายเป็นรูปวงแหวนหรือแบบวนรอบ โดยคอมพิวเตอร์เคร่ืองแรกจะเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ เครอ่ื งสุดทา้ ย การรบั สง่ ขอ้ มูลในเครือขา่ ยจะต้องผ่านคอมพวิ เตอร์ทุกเครื่อง โดยมตี วั นาสาร (Token) ว่ิงไปบนสายสัญญาณ คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องต้องคอยตรวจสอบข้อมูลท่ีส่งมาว่าใช่ของตนเอง หรือไม่ หากใช่กร็ บั ข้อมลู มา แตห่ ากไมใ่ ช่ก็ต้องส่งผา่ นตวั นาสารไปยงั คอมพิวเตอร์อืน่ ต่อไป 2.4 เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบผสม (Hybrid Topology) เป็นเครือข่ายท่ีผสมผสาน เครือขา่ ยหลายประเภทเข้าด้วยกันท้ังแบบบสั สตาร์ และวงแหวน เช่น สถานทท่ี ่มี อี าคารหลายอาคาร เครือข่ายของแต่ละอาคารอาจใช้การเชื่อมต่อแบบบัสเพ่ือเชื่อมต่อไปยังอาคารอื่น ๆ ที่ภายในอาคาร ใช้การเชือ่ มต่อระบบเครอื ขา่ ยแบบสตรแ์ ละวงแหวน ภาพท่ี 5.6 เครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ บง่ ตามโทโปโลยี ทม่ี า: TechTarget (2019) สรปุ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา ประกอบด้วยการส่ือสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์ (Data Communication) ท่มี ี 6 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ ผู้สง่ (Sender) ขอ้ มูล (Data) ตวั แปลงสญั ญาณ ฝ่ายส่ง (Transmitter) ช่องทางในการส่งข้อมูล (Transmission Medium) ตัวแปลงสัญญาณฝ่ายรับ (Receiver) และผู้รับ (Destination) ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์สาหรับการสื่อสารข้อมูล (Hardware and Software) เป็นส่ิงจาเป็นสาหรับการส่ือสารของคอมพิวเตอร์สาหรับการนาส่งข้อมูลจากผู้ส่งไป ยังผู้รับ และเพื่อเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเป็นเครือข่าย โดยฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์สาหรับ การส่ือสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย อุปกรณ์เครือข่ายสาหรับการสื่อสารข้อมูล (Hardware) เช่น การ์ดแลน (Network Interface Card: NIC) ฮับ (Hub) สวิทซ์ (Switch) เราเตอร์
100 (Router) สาย UTP (Unshielded-Twisted Pair: UTP) สาย Coaxial (Coaxial Cable) สาย Fiber optic (Fiber optic cable) ตัวกลางแบบไร้สาย (Wireless) ซอฟต์แวร์เครือข่ายสาหรับการสื่อสาร ขอ้ มูล (Software) ท่ีไดร้ ับความนยิ ม ได้แก่ Microsoft Windows Server 2019, Linux , Unix, และ Macintosh OS X และประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Classification) ซ่ึงแบ่ง ออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ แบ่งตามตามขนาด (Network Scale) เช่น ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล (Personal Area Network: PAN) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เฉพาะที่ (Local Area Network: LAN) ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์นครหลวง (Metropolitan Area Network: MAN) และ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์วงกว้าง (Wide Area Network: WAN) แบ่งตามโทโปโลยี (Network Topology) ได้แก่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบสั (Bus Topology) เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบสตาร์ (Star Topology) เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน (Ring Topology) และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบผสม (Hybrid Topology) แบ่งตามสถาปัตยกรรม (Network Architecture) และแบ่งตาม ตัวกลางทใ่ี ชเ้ ปน็ ช่องทางในการส่งข้อมูล (Communication Mediums) แบบฝึกหดั 1. จงอธิบายนยิ ามของการสอื่ สารข้อมลู ของคอมพวิ เตอร์ตามที่นักศึกษาเขา้ ใจ 2. องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอะไรบ้าง แต่ละ องคป์ ระกอบมคี วามสาคัญอย่างไร 3. จงอธิบายการทางานขององค์ประกอบของการส่ือสารข้อมูลของคอมพิวเตอร์มาให้ เขา้ ใจ โดยเรมิ่ ตน้ จากคอมพวิ เตอรเ์ ครือ่ งตน้ ทางตอ้ งการสง่ ข้อมูลไปใหเ้ คร่ืองปลายทาง 4. ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์สาหรับการสื่อสารข้อมูลมีความเหมือนหรือแตกต่างจาก ฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์ของคอมพวิ เตอร์อยา่ งไร จงอธบิ าย 5. อุปกรณ์เครือข่ายสาหรับการสื่อสารข้อมูลประกอบด้วยอะไรบ้าง และอุปกรณ์ เครือข่ายเหลา่ นน้ั ทาหนา้ ทอ่ี ะไร 6. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายสาหรับการส่อื สารข้อมูล ฮับ (Hub) กับ สวิทซ์ (Switch) มาให้เข้าใจ 7. ตัวกลางนาส่งข้อมูลคืออะไร และนักศึกษาคิดว่าตัวกลางนาส่งข้อมูลแบบใดมี ประสทิ ธภิ าพมากกว่ากนั เพราะเหตุใด 8. ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีนักศึกษารู้จัดได้แก่อะไรบ้าง ซอฟตแ์ วรเ์ หล่าน้ีมหี น้าท่ที าอะไรในเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 9. การเชื่อมต่อของเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นก่ีประเภท ให้นักศึกษาเลือกมา 1 ประเภทและอธบิ ายการเชอื่ มตอ่ มาใหเ้ ข้าใจ 10. ในชีวิตประจาวันนักศึกษาได้ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์สาหรับการเชื่อมต่อไปยัง เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ถามว่านักศกึ ษาไดใ้ ชฮ้ าร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์อะไรบ้าง จงอธบิ ายให้เข้าใจ
101 เอกสารอา้ งองิ โยธนิ ศิริเอ้ย. (2558). ประเภทของระบบเครอื ข่าย. สืบค้นเม่อื 15 มิถนุ ายน 2562. จาก https://sites.google.com/a/thoengwit.ac.th/master_site/bi-khwam-ru-thi-1-4 Billy Phillips. (2014). The P2P Witch Hunt. Retrieved June 15, 2019, from http://blog.peer5.com/the-p2p-witch-hunt/ ConceptDraw. (2019). How to use network diagram software. Retrieved June 15, 2019, from https://www.conceptdraw.com/How-To-Guide/Network- Diagrams Faithe Wempen. (2014). Computing Fundamentals DIGITAL LITERACY EDITION. United Kingdom: John Wiley & Sons. Peter L. Dordal. (2019). An Introduction to Computer Networks. Department of Computer Science Loyola University Chicago. USA. Roy Winkelman. (2013). What is a Network Operating System. Florida Center for Instructional Technology. College of Education, University of South Florida. TechTarget. (2019). Network Topology. Retrieved June 15, 2019, from https://searchnetworking.techtarget.com/definition/network-topology
102
103 แผนการสอนประจาสปั ดาห์ท่ี 6 หวั ขอ้ เรอ่ื ง ข้อมูลและการจดั การขอ้ มูลด้วยคอมพิวเตอรเ์ พ่ือการศกึ ษา รายละเอยี ด ข้อมูลและการจัดการข้อมูลเพ่ือการศึกษา ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับข้อมูล (Data) โครงสร้างของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ดาต้าไมน์นิงและการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Mining and Analytics) และการประมวลผลข้อมลู แบบคลาวด์ (Cloud Computing) จานวนช่วั โมงทสี่ อน 4 ชว่ั โมง กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. นักศึกษาทดสอบกอ่ นเรยี น 2. ผู้สอนบรรยายด้วย Power Point ในหัวข้อเก่ียวกับข้อมูล (Data) โครงสร้างของ ข้อมูลคอมพิวเตอร์ ดาต้าไมน์นิงและการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Mining and Analytics) และการ ประมวลผลขอ้ มลู แบบคลาวด์ (Cloud Computing) 3. บรรยายพเิ ศษโดยวิทยากร หัวข้อ Cloud Computing เพื่อการศึกษา 4. ฝึกปฏิบตั ิการใชโ้ ปรแกรม Microsoft Team Cloud Computing 5. แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทเรียน 6. ทดสอบยอ่ ยบทท่ี 1-6 7. ออกแบบ Storyboard (Design) และสรา้ งตน้ แบบ (Prototype) ของสอื่ ตามจินตนาการ สื่อการสอน 1. แผนการสอนประจาสปั ดาหท์ ่ี 6 2. พาวเวอรพ์ อยท์สปั ดาหท์ ่ี 6 3. อนิ เทอรเ์ น็ต และ Line 4. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 5. ระบบ Cloud Computing ของมหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ 6. แบบฝึกหดั ทบทวนประจาสปั ดาห์ 7. แบบทดสอบเกบ็ คะแนนบทท่ี 1-6
104 แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 นกั ศึกษาสามารถอธิบายเก่ยี วกับข้อมูล (Data) โครงสรา้ งของข้อมลู คอมพวิ เตอร์ ดาต้าไมน์นิงและการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Mining and Analytics) และการประมวลผลข้อมูลแบบ คลาวด์ (Cloud Computing) 1.2 นักศกึ ษาสามารถอภิปรายและแสดงความคิดรว่ มกับผสู้ อนและผู้เรยี น 1.3 นักศึกษาสามารถสรปุ ประเด็นสาคญั ด้วย Mind Mapping ในหวั ข้อ 1.4 ข้อมูลและการจดั การขอ้ มูลดว้ ยคอมพวิ เตอร์ 1.5 ผลการแบบทดสอบเก็บคะแนนบทที่ 1-6 2. วิธีการประเมินผลการเรยี นรู้ 2.1 สังเกตจากการตอบคาถาม และการแสดงความคดิ เหน็ ในชั้นเรยี น 2.2 ประเมินจากการมสี ว่ นรว่ มในการทางานกลุ่มและการอภิปราย 2.3 สงั เกตพฤติกรรม ความกระตือรอื รน้ ในการทากิจกรรม 2.4 คะแนนแบบฝกึ หดั ทบทวนประจาสัปดาห์ 2.5 ทดสอบเกบ็ คะแนนบทท่ี 1-6 3. สดั ส่วนของการประเมนิ 3.1 อธบิ ายเก่ียวกบั ขอ้ มลู (Data) โครงสร้างของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ดาตา้ ไมน์นิงและ การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Mining and Analytics) และการประมวลผลข้อมูลแบบคลาวด์ (Cloud Computing) จานวน 10 คะแนน 3.2 นักศึกษาสามารถอภิปรายและแสดงความคิดเห็นหลังฟังบรรยายพิเศษโดย วิทยากร Cloud Computing เพ่อื การศึกษา จานวน 10 คะแนน 3.3 ผลการสรุปประเด็นสาคัญด้วย Mind Mapping ในหัวข้อ ข้อมูลและการจัดการ ข้อมูลเพื่อการศึกษา จานวน 5 คะแนน เนือ้ หาท่ีสอน เคยสังเกตไหมว่ารอบ ๆ ตัวเราเต็มไปด้วยข้อมูล ตัวเราเองก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้เกิด ข้อมูลเหล่าน้ี เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสารในยุคปัจจุบัน จึงทาให้มีช่องทาง มากมายท่ที าใหส้ ามารถเกดิ กระจาย และรับรู้ขอ้ มูล ทงั้ ชอ่ งทางออนไลน์และออฟไลน์ เชน่ เครอื ข่าย สังคมออนไลน์ เป็นช่องทางสาคัญที่เป็นที่นิยมในการทาให้เกิด กระจาย และรับรู้ข้อมูล ภาพที่ 6.1 นาเสนอผลการศึกษาของ We Are Social (2019) เก่ียวกับการใช้เวลาโดยเฉล่ียอยู่กับข้อมูลบน เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ตของคนบนโลกใบนี้โดยประเทศไทยใชเ้ วลาอยู่กับข้อมลู บนเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต ถงึ วันละ 8 ช่วั โมง เครือข่ายสังคมออนไลน์ท่ีได้รับความนิยมและถูกใช้เวลาไปกับข้อมลู คือ facebook ตามมาด้วย Youtube และ Whatapp เปน็ ตน้
105 ภาพท่ี 6.1 เวลาที่สูญเสียไปกับการใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ของประชากรแตล่ ะประเทศ ที่มา: We Are Social (2019) ภาพที่ 6.2 ความนยิ มที่มีต่อซอฟต์แวร์ท่ีใช้สาหรบั การรับสง่ ข้อความทั่วโลก ท่มี า: We Are Social (2019)
106 การศึกษาข้อมูลทาให้ทราบหลายอย่างที่อาจทาให้ประหลาดใจและนานั้นไปใช้ประโยชน์ ได้ เช่น การนาข้อมูลการซ้ือสินค้าของลูกค้ามาศึกษาพบว่า ผู้ชายที่มีลูกเล็ก ๆ มักจะซ้ือผ้าอ้อมและ เบยี ร์พร้อมกันบ่อย ๆ ข้อมลู เหล่านเี้ ปน็ ประโยชนต์ ่อร้านค้า ทาให้มกี ารจดั วางสินค้าที่เป็นที่ต้องการใน เวลาเดียวกันไว้ใกล้ ๆ กัน เพื่อให้ง่ายต่อการซ้ือ อันจะนามาซึ่งยอดขายของร้านค้าน่ันเอง สถาบันการศึกษาสามารถก็สามารถนาข้อมูลของผู้เรียนท่ีมีอยู่จานวนมากมาใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนา ผู้เรียนและพัฒนาสถาบันการศึกษาได้เช่นกัน เช่น นามาใช้ในการทานายผลการเรียนของผู้เรียน นามาใช้เปน็ ขอ้ มูลการตัดสินใจเลือกเรียนสาขาวิชาทเี่ หมาะสมทสี่ ุดกับผเู้ รยี น เป็นตน้ ด้วยปริมาณข้อมูลจานวนมากท่ีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ จึงจาเป็นที่ผู้เรียนจะได้รับ ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลและการจัดการข้อมูลเพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวันและชีวิตการ ทางานเพือ่ การศึกษาในอนาคต ในประเด็นท่ีเก่ยี วข้องกับข้อมูล (Data) โครงสรา้ งของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ดาต้าไมน์นิงและการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Mining and Analytics) และการประมวลผลข้อมูลแบบ คลาวด์ (Cloud Computing) ขอ้ มูล (Data) ความหมายของขอ้ มูล ความหมายโดยทั่วไปของข้อมูล คือ ส่ิงที่ถูกเก็บรวบรวมมาจากแหล่งต่าง ๆ อาจมาจาก แหล่งภายในและภายนอกตัวเรา อาจมีความหมายและไม่มีความหมาย และอาจตรงตามความ ต้องการและไม่ตรงตามความต้องการที่จะนาไปใช้งาน ดังนั้นจึงจาเป็นต้องนาข้อมูลเหล่าน้ันมา ประมวลผลเพอ่ื ใหส้ ามารถนาไปใชง้ านได้และเกดิ ประโยชน์ (จิระ จติ สุภา, 2558) ความหมายทางคอมพิวเตอร์ของข้อมูล โอภาส เอ่ียมสิริวงศ์ (2551) ให้ความหมายไว้ว่า ข้อมูลดิบที่จัดเก็บลงในคอมพิวเตอร์และสามารถเรียกข้อมูลเหล่าน้ันมาใช้งานได้ ข้อมูลในที่น้ีอาจ เป็นได้ทั้งข้อความ ตัวเลข ภาพ และเสียง ซ่ึงข้อมูลดังกล่าวเมือ่ ได้จัดเก็บลงในคอมพิวเตอร์แลว้ จะถูก แปลงเป็นระบบเลขฐานสอง และจดั เกบ็ อย่ใู นรปู ของไฟล์ขอ้ มูลเพ่ือสะดวกต่อการเรียกใชต้ อ่ ไป ชนิดของขอ้ มลู กิตติ ภักดวี ฒั นะกลุ (2549) กลา่ วว่ามนษุ ย์ยคุ ปัจจบุ นั นม้ี ักจะทางานรว่ มกับข้อมลู จานวน มาก โดยใช้เคร่ืองมือต่าง ๆ และขีดความสามารถของเครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ระบบ คอมพิวเตอร์ก็พัฒนาขึ้นมาตลอด ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถสร้างข้อมูล จัดเตรียมข้อมูล รวมถึง บารุงรักษาข้อมูลท่ีมีรูปแบบหลากหลายได้มากขึ้น โดย กิตติ ภักดีวัฒนะกุล (2549) ประสิทธิ์ ทีฆพฒุ ิ และครรชิต มาลัยวงศ์ (2549) และอรรถกร เกง่ พล (2548) ได้กล่าวถึงชนิดของข้อมลู เอาไว้ ดงั น้ี 1. ข้อมูลเฉพาะ (Predefined Data Items) เป็นการรวมข้อมูลที่มีลักษณะเป็นตัวเลข หรือตัวอักษร โดยท่ีมีการระบุรูปแบบและความหมายไว้อย่างชัดเจน อีกท้ังยังนาข้อมูลประเภทนี้ไปใช้ ควบคุมการคานวณ และควบคุมกระบวนการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับข้อมูลน้ัน เช่น หมายเลขบัตรเครดิต วันที่ในการดาเนินการต่าง ๆ ยอดรวมการสั่งซื้อ และเลขทะเบียนการค้า เป็นต้น
107 โดยสว่ นใหญแ่ ล้วข้อมูลทงั้ หมดทเี่ กิดขึ้นจากการดาเนินธุรกจิ จะเป็นข้อมลู ประเภทนี้และข้อมลู ประเภท น้จี ะมีความหมายและรปู แบบที่เฉพาะเจาะจง 2. ข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจานวน (Numeric Data) เป็นข้อมูลหลักที่ใช้ในธุรกิจ คอมพิวเตอร์ เช่น การแสดงข้อความบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือการแสดงตัวเลขในผ่านตาราง การคานวณ (Spread Sheet) ข้อมูลเหล่านี้สามารถนามาคานวณ บวก ลบ คูณ หารได้ ซ่ึงข้อมูลตัว เลขท่ีสามารถพบได้บ่อยที่สุด คือ ข้อมูลราคาสินค้า ข้อมูลบัญชีการเงิน ข้อมูลจานวนสินค้าท่ีมีอยู่ใน สตอ๊ ก เป็นต้น 3. ขอ้ มลู ตัวอกั ษรหรือข้อมลู ทเี่ ป็นข้อความ (Text Data) คอื ขอ้ มลู ท่ีมีการจัดเรียงกัน ของตัวอักษร ตัวเลข และอักขระอื่น ๆ ซึ่งจะมีความหมายในตัวมันเอง แต่จะไม่มีรูปแบบที่แน่นอน และความหมายของมันจะขึ้นอยู่กับข้อความทป่ี รากฏ เช่น หน่วยประมวลผลคา (Word Processing) จะประมวลผลข้อความท่ัว ๆ ไปที่ยังไม่น่าเช่ือถือ ยังไม่มีความหมาย ไปเป็นข้อความท่ีมีความหมาย ชดั เจนขึ้น นอกจากนี้ความหมายของข้อความนั้น ๆ จะเกิดขนึ้ ก็ต่อเมื่อมีการอ่านและตีความข้อความ น้ัน ๆ ที่สาคัญข้อมูลประเภทน้ีเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถนามาคานวณ และประมวลได้เหมือนกับข้อมูล ตัวเลข เช่น ชือ่ คน ชือ่ บริษทั ทอ่ี ยู่ ชือ่ สินคา้ เปน็ ตน้ 4. ข้อมูลกราฟิก (Graphic Data) เป็นข้อมูลเก่ียวกับการสร้างภาพกราฟิก เช่น ข้อมูลภาพโต๊ะ ภาพเก้าอ้ี ภาพอาคาร ข้อมูลเหล่านี้เริ่มมีบทบาทมากขึ้น โดยหน่วยงานท่ีใช้ข้อมูล กราฟิกมากท่ีสุด ได้แก่ หน่วยงานด้านการออกแบบ ไม่ว่าจะเป็นด้านการออกแบบอาคาร บ้าน ผลิตภัณฑ์ หรือเครื่องประดับ เปน็ ต้น 5. ข้อมูลภาพลักษณ์ (Image Data) คือ ข้อมูลท่ีอยู่ในรูปแบบของรูปภาพท่ีอาจจะ เป็นภาพถ่ายด้วยกล้องดิจิตอล หรือการแสกนเอกสารด้วยเครื่องสแกนเนอร์ หรือกราฟต่าง ที่ได้จาก การประมวลผลข้อมูลท่ีเป็นตัวเลข ข้อมูลแบบรูปภาพน้ีสามารถถูกจัดเก็บ ถูกปรับปรุงแก้ไข และถูก ถ่ายโอนได้หลายวิธี เช่นเดียวกับข้อมูลประเภทข้อความ ข้อมูลประเภทน้ีจัดเก็บเป็นจุดเล็ก ๆ หรือ เรียกว่า จุดภาพ (Pixel) โดยความละเอียดจะถูกวัดเป็นจานวนจุดต่อตารางนิ้ว และไม่สามารถนามา คานวณได้ การแก้ไขข้อมูลประเภทนี้สามารถทาได้หลายอย่าง เช่น การแก้ไขขนาด การปรับสี การ ปรับแสงเงา การกาหนดทิศหรือตาแหน่งบนหนา้ กระดาษ และยังสามารถเปลยี่ นชนดิ ของรปู ภาพได้ 6. เสียง (Audio) คือข้อมูลท่ีเป็นรูปแบบของเสียง ข้อความเสียง (Voice Message) ก็เป็นอีกชนิดหนึ่งของข้อมูลประเภทเสียงท่ีใช้กันอย่างสม่าเสมอ และกว้างขวางในวงธุรกิจ สาหรับ ตัวอย่างของข้อมูลประเภทน้ี เช่น เสียงที่ได้จากการตรวจของแพทย์ด้วยเครื่องมือสเตทโตสโคป (Stethoscope) หรือเสียงสั่งงานคอมพิวเตอร์ หรือเสียงพูดผ่านโทรศัพท์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ระหวา่ งผ้สู ง่ และผูร้ บั เปน็ ต้น 7. วิดีโอ (Video) เป็นข้อมูลท่ีเกิดจากการรวมทั้งภาพและเสียงไว้ด้วยกัน หรือมีการ รวมข้อมูลหลายประเภทไว้ด้วยกัน ในลักษณะของภาพเคลื่อนไหว เช่น การประชุมทางไกล หรือทีวี ดิจติ อล เปน็ ตน้
108 แหล่งทมี่ าของขอ้ มูล กุลยา นม่ิ สกุล (2536) กล่าววา่ แหล่งที่มาของข้อมลู สามารถแบ่งได้เป็น 2 ทาง คือ 1. จากแหล่งภายในหน่วยงานน้ัน ๆ (Internal Source) ซึ่งได้แก่บุคคลที่เก่ียวข้องใน หน่วยงานแต่ละแผนก หน่วย ฝ่าย หรือกองต่าง ๆ ในข้อมูลที่ได้จากแหล่งภายในส่วนมากจะเป็น ข้อมูลทใี่ ช้สมา่ เสมอตามแผน หรือระบบทวี่ างไว้ 2. จากแหล่งภายนอกหน่วยงาน (External Source) ซ่ึงในบางหน่วยงานจาเป็นต้อง ใช้ข้อมูลจากภายนอกเพื่อมาใช้ในการวิเคราะห์ หรือเปรียบเทียบของผู้บริหารของหน่วยงาน ดังนั้น ข้อมูลท่ีมีอยู่ภายในองค์กรใดองค์กรหน่ึงจะมีมาก จึงได้มีการพัฒนาระบบการจัดทาเกี่ยวกับข้อมูลขึ้น โดยใช้เครอ่ื งคอมพิวเตอรเ์ ข้ามาช่วย ในขณะท่ี ประสิทธ์ิ ทีฆพุฒิ และครรชิต มาลัยวงศ์ (2549, น.35-36) ก็กล่าวว่าข้อมูลมา จาก 2 แหล่ง เชน่ เดียวกนั คอื 1. ข้อมูลภายในองค์กร เป็นข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์กรเอง เช่น ข้อมูลการสั่งซ้ือสินค้าของลูกค้า ข้อมูลการชาระเงินซื้อชิ้นส่วนมาใช้ในการผลิต ข้อมูลประเภทน้ีเรา มักจะเรียกว่าเป็นรายการค้า หรือ Transaction แม้ว่าองค์กรจะถือว่า Transaction เป็นข้อมูล ภายในขององคก์ รเอง แตข่ ้อมูลเหล่านี้ก็เริ่มมาจากภายนอกองคก์ ร กล่าวคอื เกิดขึ้นเม่ือมีลูกค้าสัง่ ซื้อ สินค้าหรือบริการมายังบริษัทดังได้กล่าวมาแล้ว นอกจากนี้ยังมีข้อมูลภายในอีกส่วนหน่ึงท่ีจะต้อง จัดเก็บเป็นประจาอยู่แล้ว น่ันคือ ข้อมูลท่ีเกี่ยวกับจานวนพนักงาน สถิติการหยุด ขาด และลางาน รวมท้ังข้อมูลเก่ียวกับผลิตภัณฑ์ ส่วนประกอบ จานวนเคร่ืองจักร สินค้าคงเหลือ เป็นต้น เหล่านี้ ลว้ นจัดเป็นขอ้ มูลภายในทงั้ สน้ิ 2. ข้อมูลภายนอกองค์กร คือ ข้อมูลของคน หน่วยงาน เหตุการณ์ หรือสิ่งต่าง ๆ ภายนอกองค์กรท่ีผู้บริหารหรือผู้ท่ีอยู่ในองค์กรไม่สามารถควบคุมบังคับบัญชาได้ แต่สิ่งเหล่าน้ี มบี ทบาทและอิทธพิ ลต่อการดาเนนิ งานขององค์กร เชน่ ขอ้ มูลเก่ยี วกบั อัตราแลกเปลยี่ นเงินตรา ราคา ทองคา ข้อมูลทางเศรษฐกิจ ระเบียบปฏิบัติทางกฎหมาย รวมท้ังข้อมูลท่ีเกี่ยวกับคู่แข่งขันในตลาด เชน่ การกาหนดราคา สดั ส่วนทางการตลาด และทศิ ทางการตลาดเปน็ ตน้ ครรชิต มาลัยวงศ์ (2546, อ้างถึงใน ลัดดา โกรดิ, 2546) ได้จาแนกแหล่งท่ีมาของข้อมูล ท่สี าคัญจากแหล่งตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. เจ้าของข้อมูล เป็นผู้ให้ข้อมูล เช่น ประวัตินักศึกษา มีนักศึกษาเป็นผู้กรอก แบบฟอร์ม ช่ือ นามสกุล วันเดือนปเี กิด ท่อี ยู่ หรือจากการสัมภาษณ์ 2. การปฏิบัติงาน เป็นข้อมูลที่เกิดจากการปฏิบัติงานขององค์การ ซึ่งเรียกว่าข้อมูล รายการปรับปรุง (Transaction) หรอื ขอ้ มูลธุรกรรมในองค์การธุรกิจ เปน็ ข้อมลู ท่ีได้จากการปฏิบัติงาน ประจาวนั เช่น ข้อมูลการขายสินคา้ ขอ้ มูลการลงทะเบียนเรียน ข้อมูลเหลา่ นจี้ ะมีจานวนมากในแต่ละ วนั หรอื ชว่ งเวลา มักจะมีการเก็บหลักฐานไว้บนแบบฟอร์มกระดาษทาการ 3. ผลการปฏิบัติงาน เป็นข้อมูลที่มาจากเกสารและรายงานต่าง ๆ ชี้ให้เห็นว่าการ ปฏิบัติงานน้ันมีประสิทธิภาพเพียงใด เช่น จานวนนักเรียนที่ลงทะเบียนเรียนในแต่ละวัน ในแต่ละ รายวิชา จานวนยอดขายสินค้าในแต่ละวัน อาจจะเป็นข้อมูลท่ีผ่านการประมวลผลแล้ว หรือยังไม่ได้ ผ่านการประมวลผลกไ็ ด้
109 4. การสารวจ ตรวจสอบ การสังเกต เป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิ่งนั้น เช่น จานวนท่ีน่ัง ในห้องเรียน จานวนหอ้ งเรยี น จานวนเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ที่ใหบ้ ริการอินเทอร์เนต็ 5. ข้อกาหนดหรือเกณฑ์มาตรฐาน หรือเป็นท่ีใช้กันอย่างกว้างขวาง เช่น ข้อมูล รหสั ไปรษณีย์ ข้อมูลรหัสช่ือยอ่ ของหน่วยงาน 6. การทดลอง เป็นข้อเทจ็ จรงิ ของงานวิจัยหรืองานเฉพาะบางเรื่องเกีย่ วกบั การค้นพบ ความรู้ ซ่งึ องค์กรสนใจ จาเป็นต้องใช้ความรูน้ ้ันเพ่อื ประกอบการปฏิบตั งิ านหรือขยายงาน 7. สิ่งพิมพ์ เป็นข้อเท็จจริงหรือตามความคิดเห็นท่ีตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ วารสาร นติ ยสาร และรายงานต่าง ๆ ทีอ่ งคก์ รเห็นวา่ เป็นประโยชน์ นอกจากนี้ข้อมูลอีกจานวนมากก็เกิดข้ึนมาจากการใช้ชีวิตประจาวันของเราเองอีก มากมายเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นแบบออฟไลน์ เช่น การซ้ืออาหารและสินค้าจากร้านค้าหรือร้านสะดวก ซื้อ หรือห้างสรรพสินค้า ซ่ึงพนักงานมักถามหาบตั รสมาชกิ เช่น The 1 Card หากไม่มีบัตรก็สามารถ บอกเบอร์โทรศัพท์แก่พนักงานได้ ข้อมูลทั้งหมดท่ีเราซ้ือไปก็จะเข้าไปอยู่ในฐานข้อมูลของร้านค้าหรือ ห้างสรรพสินค้าเรียบร้อย รวมไปถึงข้อมูลจากการใช้บัตรเครดิตเติมน้ามันรถ การซ้ือบัตรชม ภาพยนตร์และแบบออนไลน์ เช่น ข้อมูลจากเครือข่ายสังคมออนไลน์ อย่างการโพสต์ข้อมูลผ่านทาง Facebook, Line, Twister และ YouTube การซ้ือสินค้าออนไลน์ ซ่ึงสิ่งเหล่านี้คือข้อมูลท่ีสามาถนา ไปใช้งานได้เกือบทั้งหมด เราอาจจะคิดว่าข้อมูลการใช้ชีวิตประจาวันเหล่าน้ีไม่มีความหมายหรือไม่มี ความสาคัญอะไรกับตัวเรา แต่สาหรับผู้ประกอบการหรือร้านค้าข้อมูลเหล่าน้ีมีความสาคัญเป็นอย่าง มาก เนอื่ งจากเป็นขอ้ มูลเก่ยี วกับพฤติกรรมของผบู้ รโิ ภคทร่ี า้ นค้าจะเก็บไวเ้ พื่อวเิ คราะห์พฤติกรรมการ ซ้ือสินค้าได้ (เอกสิทธ์ิ พัชรวงศ์ศักดา, 2557) จะเห็นได้จากการบริหารแทบจะทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็น ห้างสรรพสินค้า ร้านไอศกรีม ร้านอาหาร ร้านค้า ร้านกาแฟ ร้านสะดวกซ้ือ ปั้มน้ามัน ธนาคาร ร้าน ความงาม เป็นตน้ ล้วนแลว้ แต่เก็บข้อมลู ของลูกค้าผ่านทางการสมัครสมาชกิ บัตรชนิดต่าง ๆ เช่น บตั ร สมาชิก All Member ของ 7-11 หรือทันสมัยและสะดวกสบายมากยิ่งขึ้นไม่ต้องพกบัตรก็สามารถ สมาชิกผ่านแอพในมือถือ เช่น Truemoney Wallet เป็นต้น แลกกับสิทธิพิเศษส่วนลด หรือของ กานัลฟรี เปน็ ต้น ขอ้ มูลเหลา่ น้ีมกั ถกู เก็บไวใ้ นรปู ของดจิ ทิ ลั และจะมีปรมิ าณเพ่ิมมากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อไม่นานมาน้ีก็คงได้ยินข่าวท่ีเป็นกระแสเกี่ยวกับการดักฟังข้อมูลของผู้ใช้งานจาก Facebook เพื่อนาไปใช้ในการแสดงข้อมูลของโฆษณาในส่ิงที่เพิ่งพูดถึงไป ทั้งที่บางครั้งอาจเป็นการ พูดเล่นกันกับเพื่อนในส่ิงที่ไม่น่าจะมีขาย แต่สิ่งนั้นก็แสดงข้ึนมาบนหน้า Facebook แต่สิ่งท่ีเป็น กระแสจะเป็นจริงหรือไม่จริงยังไม่ระบุออกมาชัดเจน แต่ต้องการแสดงให้เห็นว่าข้อมูลมีความสาคัญ และเป็นที่ต้องการเพียงใด ข้อมูลของคนเพียงสองสามคนอาจไม่เป็นท่ีน่าสนใจ แต่หากเป็นข้อมูลของ คนจานวนมากหลักพัน หลักหมื่น หรือหลักล้านข้อมูล ย่อมเป็นข้อมูลท่ีน่าสนใจ และอาจสามารถ นาไปใชใ้ นการตดั สนิ ใจเพอื่ ทาอะไรบางอยา่ งที่อาจเป็นประโยชน์ หรือไม่เป็นประโยชนไ์ ด้ ผู้เรียนทุกคนคงเคยประเมินผลความพึงพอใจในการให้บริการเพ่ือสนับสนุนการเรียนรู้ และความพึงพอใจของนักศึกษาต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตผ่านระบบ การประเมินเพื่อพฒั นาประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ซึ่งเข้าถงึ ได้จาก www.eassessment.dusit.ac.th กันมาทุกคนแล้วดังภาพท่ี 6.4 หากเป็นผลการประเมินของนักศึกษาเพียงไม่กี่คนอาจไม่น่าสนใจและ ไม่สามารถนาผลการประเมนิ ไปใช้ประโยชน์หรือใช้ในการตัดสินใจอะไรได้ แต่เมือ่ เปน็ รายงานสรุปผล
110 การประเมินจากนักศึกษาทั้งมหาวิทยาลัย ข้อมูลเหล่านี้ส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้มีอานาจท่ีจะใช้ ประโยชน์ได้ต่อไป ซ่ึงรายงานสรุปผลการประเมินน้ีเรียกอีกอย่างวา่ “สารสนเทศ” ตัวอย่างการทาให้ ขอ้ มลู กลายเป็นสารสนเทศแสดงในตารางท่ี 6.1 ภาพที่ 6.3 ผลการประเมินเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษา ทม่ี า: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (2562) ตารางที่ 6.1 แสดงข้อมูล การประมวลผล และสารสนเทศ ขอ้ มูล การประมวลผลข้อมลู สารสนเทศ (Information) (Data) (Data Processing) 1. มปี ระโยชนต์ อ่ การตดั สินใจ 1. การบนั ทึกขอ้ มลู 1. การจดั เรยี งข้อมูลใหม่ หรอื การดาเนินงาน ยอดขายสินค้าแต่ละวัน 2. การจัดทารูปแบบใหม่ 2. ยอดขายสงู กว่าหรือตา่ กว่า เปา้ หมายการขาย 2. การสารวจขอ้ มูลเกี่ยวกบั 3. การจดั ดาเนินการด้วยวิธี 3. ระดับความพงึ พอใจของ พฤติกรรมของผูบ้ รโิ ภค การทางคณิตศาสตร์ ลกู ค้า 3. การบนั ทึกขอ้ มลู สินคา้ 4. การจาแนกขอ้ มลู คงเหลือในแตล่ ะวนั 5. การวิเคราะห์ขอ้ มูล คุณสมบัติของข้อมลู ทดี่ ี ข้อมูลเป็นวัตถุดิบท่ีสาคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS) การที่ธุรกิจจะได้ สารสนเทศท่มี คี ณุ ภาพเหมาะสมและตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ระบบสารสนเทศจะตอ้ งมีข้อมูลท่ีมี ความถูกต้อง และมีคุณภาพเพียงพอไว้ในระบบ เพื่อรอการเรียกกลับมาประมวลผลให้ได้สารสนเทศ ตามท่ีต้องการ ถ้าข้อมูลท่ีถูกป้อนเข้าไปเก็บไว้ในระบบเป็นข้อมูลท่ีมีคุณภาพต่า หรือไม่มีคุณสมบัติท่ีดี สารสนเทศที่ได้ก็จะไม่มีคุณภาพและขาดคุณลักษณะท่ีเหมาะสม ทาให้ผู้บริหารไม่สามารถนาไปใช้งาน ได้ ถ้านาสารสนเทศนั้นไปใช้อาจจะเกิดประโยชน์ได้ไม่สูงสุด หรืออาจสร้างปัญหาแก่ธุรกิจได้ ดังน้ัน ขอ้ มลู ที่มีคุณภาพควรมคี ุณสมบตั ิ 4 ข้อ (ไพบูลย์ เกยี รติโกมล และณฎั ฐพันธ์ เขจรนนั ท์, 2551) ดงั นี้
111 ภาพท่ี 6.4 คุณสมบตั ิของขอ้ มลู ทดี่ ี ทมี่ า: ไพบูลย์ เกยี รติโกมล และณฎั ฐพนั ธ์ เขจรนนั ท์ (2551) 1. ถูกต้อง (Accurate) ข้อมูลท่ีดีจะต้องมีความถูกต้องและปราศจากความคลาดเคล่ือน โดยที่ความถูกต้องจะช่วยส่งเสริมให้สารสนเทศท่ีได้มาเกิดความน่าเชื่อถือมากข้ึน แต่ถ้าข้อมูลที่ถูก ป้อนเข้าไปในระบบสารสนเทศเกิดความผดิ พลาดหรือมีข้อบกพร่อง อาจจะส่งผลให้สารสนเทศท่ีได้มี ความผิดพลาดหรือไม่สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้อย่างสมบรู ณ์ 2. ทันเวลา (Timeliness) ข้อมูลจะต้องทันต่อเหตุการณ์และไม่ล้าสมัย ความล้าสมัย ของข้อมูลทาให้สารสนเทศท่ีได้มีประโยชน์ต่อผู้ใช้น้อยลง หรือไม่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานเลย แต่ความทันต่อเวลาจะมีความสาคัญต่อผู้ใช้มากหรือน้อยข้ึนอยู่กับประเภทของธุรกิจหรือปัญหาของ องค์กร เช่น ธุรกิจเก่ียวกับการค้าหลักทรัพย์ย่อมต้องการข้อมูลที่ทันต่อเวลาในระดับสูง ขณะท่ีธุรกิจ คา้ ปลีกอาจไม่ต้องการข้อมลู ในรอบระยะเวลาสั้น ๆ เปน็ ตน้ 3. สอดคล้องกับงาน (Relevance) สารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารต้องได้มา จากการประมวลผลข้อมูลท่ีมีสาระตรงกัน หรือสัมพันธ์กับปัญหาของงาน ข้อมูลท่ีไม่มีความสัมพันธ์ กับงานถึงแม่จะเป็นข้อมูลท่ีมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และทันต่อเหตุการณ์ แต่ก็จัดว่าไม่มีคุณภาพ เนื่องจากไม่สามารถนาไปประกอบการตัดสินใจ หรือไม่สอดคล้องกับความติองการของงาน นอกจากน้ี ข้อมูลทม่ี คี ณุ ภาพสูงและมีความสัมพันธ์กบั งานชนดิ หนึ่ง อาจจะไม่เป็นทต่ี ้องการของงานชนดิ อ่ืน เชน่ ข้อมลู ทเี่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมปโิ ตรเลยี มจะไมเ่ กย่ี วข้องกับธรุ กิจสง่ ออก หรอื อัตราการรหู้ นังสือกับ การเตบิ โตของอตุ สาหกรรมยานยนต์ เป็นต้น 4. สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable) ข้อมูลบางประเภทอาจมาจากแหล่งข้อมูลท่ี ซับซ้อนและหลากหลายทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร ซึ่งผู้ใช้ต้องทาการตรวจสอบความถูกต้อง และความน่าเช่ือถือได้ของสารสนเทศก่อนการนาไปใช้งาน มิเช่นน้ันอาจก่อให้เกิดผลเสียข้ึนกับ องคก์ าร เชน่ ขอ้ มูลลวงจากค่แู ขง่ ขอ้ มูลที่ถกู เบ่ยี งเบน และขอ้ มลู ท่ีขาดความสมบูรณ์ เปน็ ต้น
112 โครงสรา้ งของขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ เลาดอน เคนเนท และเลาดอน จีนส์ (2545) กล่าวว่าระบบคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็ตามจะมี การจัดโครงสร้างข้อมูลแบบเดียวกัน คือ เป็นแบบลาดับชั้น (Hierarchy) ซ่ึงเร่ิมจากหน่วยเล็กท่ีสุด คือ บิต (Bit) ไบต์ (Byte) เขตข้อมูล (Field) ระเบียนข้อมูล (Record) แฟ้มข้อมูล (File) และ ฐานข้อมูล (Database) โดย ลัดดา โกรดิ (2546) ได้ใหร้ ายละเอียดไว้ดงั น้ี 1. บิต (Bit) เป็นส่วนท่ีเล็กท่ีสุด จะเป็นตัวเลขในระบบฐานสอง ประกอบด้วย 0 และ 1 แทนสองสถานะของการเปิด - ปดิ หรอื เทจ็ – จรงิ 2. อักขระ (Character) คือ ส่วนประกอบของบิต โดยท่ัวไปใช้ 8 บิต แทนหนึ่งอักขระ ของตัวอักษร ตัวเลขหรือสัญลักษณ์ อักขระหน่ึงตัว จะเรียกว่าหนึ่งไบต์ รหัสแทนข้อมูลที่ใช้กันคือ รหสั เอ็บซีดิค (EBCDIC) และรหสั แอสกี (ASCII) 3. เขตข้อมูล (Field) คือ ส่วนของข้อมูลที่ประกอบด้วยอักขระต้ังแต่หนึ่งตัวข้ึนไป ซ่ึงจะ ให้ความหมายแสดงถึงลักษณะของข้อมูล เช่น ข้อมูลเก่ียวกับหนังสือ ประกอบด้วย เขตข้อมูลช่ือ ผแู้ ต่ง ชอ่ื เรอ่ื ง หวั เรื่อง เปน็ ตน้ ในเขตขอ้ มลู ยังแบง่ ออกเป็นเขตข้อมลู ย่อย (Subfield) ไดอ้ กี เชน่ เขต ขอ้ มลู ชือ่ ผ้แู ตง่ แบง่ เป็นเขตข้อมูลยอ่ ย ชื่อตัว ชอ่ื สกุล เปน็ ต้น การประมวลผลตอ้ งใช้ค่าของเขตข้อมูล หรอื ข้อเท็จจริง ตวั อย่างเชน่ ค่าของเขตข้อมูลช่ือผแู้ ต่ง คือ ไชยยศ เรอื งสุวรรณ 4. ระเบียนข้อมูล (Record) คือ ส่วนของข้อมูลที่ประกอบด้วย เขตข้อมูลตั้งแต่หนึ่งเขต ข้ึนไป ระเบียนข้อมูลจะรวมเขตข้อมูลท่ีแสดงถึงลักษณะของเร่ืองหรือส่ิงใดส่ิงหนึ่ง เช่น ระเบียน บรรณานุกรมของหนังสือท่ีสนใจ ได้แก่ เลขเรียกหนังสือ ช่ือผู้แต่ง ชื่อเร่ือง สถานท่ีพิมพ์ สานักพิมพ์ ปที ีพ่ ิมพ์ เป็นตน้ ในระเบียนข้อมูลจะต้องประกอบดว้ ยเขตข้อมูลทมี่ ีคา่ ไมซ่ า้ กบั ระเบยี นอืน่ ๆ เพื่อการ อา้ งองิ ถึงระเบียนน้ัน เชน่ หมายเลขหนงั สือ 5. แฟ้มข้อมูล (File) การรวบรวมระเบียนข้อมูลต้ังแต่หนึ่งระเบียนขึ้นไป จัดเก็บไว้เป็น แฟ้มข้อมูลสาหรับดาเนินการประมวลเพ่ือการใช้งาน เช่น แฟ้มข้อมูลหนังสือด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีจะประกอบดว้ ย จานวนระเบียนข้อมูลหนังสือที่ใชโ้ ครงสร้างข้อมลู เดียวกันในสาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การรวบรวมแฟ้มข้อมูลท่ีสัมพันธ์กันมาจัดเก็บไว้ด้วยกัน โดยมีการกาหนดรูปแบบการจดั เก็บและความสมั พันธ์อย่างมรี ะบบ เพ่ือให้สามารถนาไปประมวลใช้ใน งานต่าง ๆ ได้ตามความต้องการของหน่วยงาน ฐานข้อมูลหนึ่ง ๆ อาจประกอบด้วยแฟ้มข้อมูล ที่สัมพันธ์กันหลาย ๆ แฟ้ม เช่น ฐานข้อมูลบริการทรัพยากรสารสนเทศ ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูล ทรพั ยากรสารสนเทศ แฟม้ ข้อมลู สมาชิก แฟ้มข้อมูลการยืม – คนื ทรพั ยากรสารสนเทศ ภาพที่ 6.4 แสดงให้เห็นถึงแผนภูมิแสดงลาดับชั้นของข้อมูล เร่ิมจากหน่วยเล็กท่ีสุด คือ บิต (Bit) ซ่ึงประกอบด้วยเลขฐานสอง 0 และ 1 เท่าน้ัน ส่วนไบต์ (Byte) เป็นการนาบิตหลาย ๆ บิต มารวมกัน โดยปกติจะเท่ากับแปดบิตก็จะได้พยัญชนะหรือตัวอักษรขึ้นมา สาหรับเขตข้อมูล (Field) เป็นการนาไบต์หลาย ๆ ไบต์มารวมกันจะได้เป็นคาขึ้นมา ระเบียนข้อมูล (Record) เป็นการรวม หลาย ๆ เขตขอ้ มลู เขา้ ดว้ ยกัน แฟ้มข้อมลู (File) เปน็ การรวมหลาย ๆ ระเบยี นขอ้ มูลเข้าด้วยกนั และ สุดทา้ ยฐานขอ้ มูล (Database) เกิดจากการรวมหลาย ๆ แฟม้ ข้อมลู เขา้ ดว้ ยกนั
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396