Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการจัดการเรียนการสอน

การใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการจัดการเรียนการสอน

Published by jirajitsupa, 2021-02-01 04:11:46

Description: การใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน

Search

Read the Text Version

113 ฐานขอ้ มูล แฟม้ ขอ้ มูล แฟม้ ข้อมูล (Database) ทรัพยากรสารสนเทศ สมาชิกหอ้ งสมดุ แฟ้มข้อมลู การยืม – คืน แฟม้ ขอ้ มลู หมายเลข ชือ่ ประเภท วนั เดือน ปี (File) สมาชิก นามสกลุ ของ ที่อยู่ ทสี่ มัครเป็น ระเบยี นข้อมลู (Record) สมาชิก สมาชกิ เขตขอ้ มูล G552100 มานี มตี า G A1 12-5-61 (Filed) B552072 มานะ อยูส่ ุข B A3 13-5-61 ไบต์ (Byte) G541023 ชใู จ สีเทา G A1 21-5-62 บติ G552100 มานี มตี า G A1 25-5-62 (Bit) มานี มตี า (ชอื่ นามสกลุ ) 01001010 (อกั ษร 1 ตวั ) 0, 1 ภาพที่ 6.5 แผนภูมแิ สดงลาดับช้นั ของข้อมลู ที่มา: ลัดดา โกรดิ (2546)

114 ดาตา้ ไมน์นิงและการวิเคราะหข์ ้อมลู (Data Mining and Analytics) ปกติหากพูดถึงเหมืองหลายคนอาจนึกถึงเหมืองแร่ เหมืองทอง และเหมืองเพชร เป็นต้น ซ่ึงแน่นอนว่าเหมืองเหล่านี้เต็มไปด้วยทรัพย์สมบัติที่มีค่ามหาศาลรอให้มาค้นหา และนาไปใช้ ประโยชน์ แต่แน่นอนว่าการได้มาซึ่งแร่ ทองคา และเพชร ที่อยู่ในเหมืองนั้นไม่อาจได้มาง่าย ๆ เพรา จะต้องขุดภูเขาหรือเจาะลงไปใต้ดินลึกมาก อย่างเหมืองเพชรเมียร์ หรือ Mirny Diamond Mine เหมืองเพชรท่ีต้ังอยู่ที่ไซบีเรีย ประเทศรัสเซีย มีขนาดกว้างถึง 1,200 เมตร มีความลึกถึง 525 เมตร แน่นอนว่าเหมืองจะต้องเต็มไปด้วย ดิน หิน และทรายที่ไม่เป็นที่ต้องการจานวนมากที่จะต้องคัดทิ้ง ออกไป แต่ก็นบั วา่ ค้มุ คา่ กบั การขุด เนื่องจากมีเพชรอยใู่ นนนั้ จานวนมาก ภาพที่ 6.6 ปริมาณข้อมูลท่เี กิดข้ึนทกุ 60 วนิ าทีบนอินเทอร์เน็ต ท่ีมา: Lori Lewis and Chad Callahan (2019) การขุดเหมืองข้อมูลหรือดาต้า ไมน์นิงจากข้อมูลปริมาณมหาศาลก็ไม่แตกต่างกันกับ การขุดเหมืองแร่ เหมืองทอง และเหมืองเพชร เนื่องจากมีข้อมูลจานวนมากที่ใช้ไม่ได้ต้องคัดออกไป ภาพท่ี 6.6 แสดงให้เห็นถึงข้อมูลปริมาณมหาศาลที่เกิดข้ึนบนโลกอินเทอร์เน็ตในช่วงเวลาแค่ 60 วินาที เช่น การส่งข้อความผ่าน Wechat 18.1 ล้านข้อความ การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ 188 ล้านฉบับ เป็นต้น และนับวันข้อมูลเหล่าน้ีจะมีปริมาณเพ่ิมมากข้ึนเร่ือย ๆ จนทาให้เข้าสู่ยุคท่ีเรียกว่า Big Data หรือยุคที่มีข้อมูลเกิดข้ึนมากมายมหาศาล และมักถูกจัดเก็บเอาไว้เป็นอย่างดีในรูปของ

115 ดิจิทัล เพื่อป้องกันการเข้าถึงข้อมูลจากผู้ไม่ประสงค์ดี และเพ่ือให้สะดวกต่อการค้นหาและนาไปใชใ้ ห้ เกิดประโยชน์มากที่สุด ซึ่งแน่นอนว่าข้อมูลปริมาณมหาศาลเหล่านั้นอาจจะมีข้อมูลท่ีใช้งานได้และ ข้อมูลที่ใช้งานไม่ได้รวมอยู่ด้วยปริมาณมหาศาลเช่นกัน จึงต้องหาวิธีการในการวิเคราะห์เพ่ือหา ความสัมพันธ์ท่ีซ่อนอยู่ในข้อมูลปริมาณมหาศาลเหล่าน้ี เรียกกันว่า การขุดเหมืองข้อมูล หรือดาต้า ไมน์นิง (Data Mining) เพื่อค้นหาส่ิงที่มีประโยชน์ที่แอบซ่อนอยู่ภายในข้อมูลเหล่านี้ ดังนั้น ดาต้า ไมนน์ ิง ก็คือ การค้นหาสงิ่ ที่มีประโยชนจ์ ากฐานข้อมูลที่มขี นาดใหญ่ด้วยการวิเคราะห์ข้อมลู เพ่ือค้นหา รูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลท่ีไม่เคยรู้มาก่อน (เอกสิทธ์ิ พัชรวงศ์ศักดา, 2557; เอกสิทธิ์ พชั รวงศ์ศักดา, 2558) ภาพที่ 6.7 ดาต้า ไมน์นิง หรือการทาเหมืองข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยดาต้า ไมน์นิง มีเทคนิคการวิเคราะห์ใหญ่ ๆ อยู่ 3 เทคนิค คือ เทคนิคการจาแนกข้อมูล (Classification) เป็นการสร้างโมเดลจากข้อมูลท่ีมีอยู่เพื่อทานายเหตุการณ์ท่ี จะเกิดขึ้นในอนาคต เทคนิคการแบ่งกลุ่มข้อมูล (Clustering) แบ่งข้อมูลเป็นหลาย ๆ กลุ่มโดยอาศัย ความคล้ายคลงึ กนั ของข้อมูล และการหากฎความสัมพันธ์ (Association rules) โดยอาศัยความสัมพันธ์ ของขอ้ มลู ทีเ่ กิดร่วมกนั สรา้ งเป็นกฎความสัมพันธ์ เช่น “ซ้อื เบยี รแ์ ล้วจะซ้อื ผ้าออ้ มไปดว้ ย” ตัวอย่างนาเทคนิคการจาแนกข้อมูล (Classification) มาใช้ในการค้นหาภาควิชา ที่เหมาะสมที่สุดให้กับนักศึกษาของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เน่ืองด้วย นักศึกษายังขาดประสบการณ์ และไม่รู้จักแต่ละภาควิชามากพอ ส่งผลให้นักศึกษาส่วนใหญ่เลือก ภาควิชาที่ไม่เหมาะสมกับตนเท่าท่ีควร โดยนักศึกษาส่วนใหญ่จะใช้ความรู้สึก ความชอบ หรือ สภาพแวดล้อมท้ังเพื่อนหรือผู้ปกครองเป็นหลักใหญ่ โดยอาจไม่ทราบถึงภาควิชาที่เหมาะสมกับ ความสามารถและลักษณะเฉพาะของตัวเอง จึงอาจทาให้เมื่อเข้าไปเรียนจริง ๆ แล้วเพิ่งค้นพบตัวเอง ในภายหลังว่าไม่เหมาะสมกับภาควิชานี้ จนอาจทาให้เกิดผลกระทบต่าง ๆ ตามมา งานวิจัยนี้ได้นา เทคนิค Data Mining มาใช้ เพื่อช่วยนิสิตในการช้ีแนะแนวทางการเลือกภาควิชาท่ีเหมาะสมกับนิสิต แต่ละคนให้มากที่สุด พบว่า ผลการเรียนในวิชาต่าง ๆ มีผลต่อความสาเร็จในการเรียนในแต่ละ ภาควิชามากกว่าประวัติส่วนตัวของนิสิตอย่างเห็นได้ชัด (ชิดชนก ส่งศิริ, ธนาวินท์ รักธรรมานนท์ และกฤษณะ ไวยมัย, 2544)

116 การประมวลผลขอ้ มลู แบบคลาวด์ (Cloud Computing) Cloud Computing ก็คือระบบคอมพิวเตอร์ท่ีพร้อมรองรับการทางานของผู้ใช้งานใน ทกุ ๆ ดา้ น ไม่ว่าจะเป็นระบบเครอื ขา่ ย การจดั เก็บขอ้ มูล การทดสอบระบบหรอื ติดตั้งฐานข้อมูล หรอื การใช้งานซอฟต์เฉพาะด้านในธุรกิจต่าง ๆ โดยที่ผู้ใช้งานไม่ต้องติดต้ังระบบทั้งฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ไว้ท่ีสานักงานให้ยุ่งยาก แต่สามารถใช้งานในสิ่งท่ีต้องการได้ด้วยการเช่ือมต่อกับระบบ Cloud Computing ผ่านอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นซอฟต์แวร์ ระบบ และทรัพยากรของเครื่อง คอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ ผ่านอินเทอร์เน็ต โดยสามารถเลือกกาลังการประมวลผล เลือกจานวน ทรัพยากร ได้ตามความต้องการในการใช้งาน และให้เราสามารถเข้าถึงข้อมูลบน Cloud จากท่ีไหน ก็ได้ (ซีเอส ล็อกซอินโฟ, 2560) โดยผู้ใช้สามารถระบุความต้องการไปยังซอฟต์แวรข์ องระบบ Cloud Computing จากน้ันซอฟต์แวร์จะร้องขอให้ระบบจัดสรรทรัพยากรและบริการให้ตรงกับความ ตอ้ งการของผูใ้ ช้ ท้ังนี้ระบบสามารถเพม่ิ และลดจานวนของทรัพยากร รวมถึงเสนอบริการใหพ้ อเหมาะ กับความต้องการของผู้ใช้ได้ตลอดเวลา โดยท่ีผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องทราบเลยว่าการทางานหรือเหตุการณ์ เบ้อื งหลงั เปน็ อยา่ งไร (มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ , 2562) เทคโนโลยีในการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์กาลังจะเปลี่ยนไป เปลี่ยนจากการที่ผู้ใช้งาน ต้องเตรยี มหรอื ติดต้งั ระบบคอมพิวเตอร์เพ่ือตอบสนองการทางานไวท้ ่สี านักงานดว้ ยตวั เอง ไปเปน็ การ ใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ Cloud Computing ปัจจุบัน Cloud Computing เป็น เทคโนโลยีทพี่ ร้อมให้บริการแลว้ แต่อาจจะยังไม่แพร่หลายนกั เน่ืองจากกลุ่มผู้ใชง้ านจานวนไม่น้อยที่ ยังไม่รู้จักว่า Cloud Computing ซ่ึงเปรียบเสมือนคอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึงท่ีเราใช้งานกันอยู่คือมีท้ัง ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการประมวลผลและเก็บข้อมูลแต่ Cloud Computing เป็นระบบ คอมพวิ เตอร์ที่ใหญ่มาก ๆ รองรบั การใช้งาน การประมวลผล ตลอดจนการจัดเก็บข้อมูลได้อย่างมหาศาล สามารถจาแนกตามการใช้งานได้ 3 ประเภทคือ Infrastructure as a Service (IaaS) เป็นโครงสร้าง พ้ืนฐานเหมือนกับระบบคอมพิวเตอร์คือ มีท้ังหน่วยประมวลผล ระบบเครือข่าย และพ้ืนที่จัดเก็บ ข้อมูลให้ใช้งาน Platform as a Service (PaaS) เป็นการใช้งานเกี่ยวกับแพลตฟอร์มต่าง ๆ ซึ่งมักจะเก่ียวข้องกับผู้พัฒนาโปรแกรมหรือพัฒนาระบบเสียส่วนมาก เช่น การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน หรือโมบายแอปพลิเคชัน เป็นต้น และ Software as a Service (SaaS) เป็นการใช้งานทางด้าน ซอฟต์แวร์ ซึ่งภายใต้ระบบหรือเทคโนโลยี Cloud Computing จะมีซอฟต์แวร์เฉพาะด้าน เช่น ซอฟต์แวร์ทางบัญชี ซอฟต์แวร์การบริหารจัดการโรงแรม และอื่น ๆ ซึ่งจาเป็นสาหรับธุรกิจประเภท ต่าง ๆ ให้ใช้งาน โดยให้บริการผ่านทางศูนย์ข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือ Data Center ของผู้ให้บริการ ซึ่งศูนย์ข้อมูลคอมพิวเตอร์อยู่ภายใต้ระบบที่มีมาตรฐานและความปลอดภัยอย่างมาก ไม่เพียงเท่าน้ัน การที่สามารถเช่ือมต่อและใช้งานระบบได้ผ่านอินเทอร์เน็ตทาให้การทางานไม่ถูกจากัดอยู่ในสถานที่ หนึ่งสถานท่ีใดอีกต่อไป แต่สามารถทางานได้ทุกที่ทุกเวลาผ่านอุปกรณ์ต่าง ๆ ทั้งโน้ตบุ๊ก สมาร์ทโฟน หรือแทบ็ เลต็ (ซเี อส ลอ็ กซอนิ โฟ, 2560) Cloud Computing ได้รับความสนใจและถูกนามาใช้อย่างกว้างขวางในวงการการศกึ ษา อย่างมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ มรี ะบบ SDU Private Cloud เข้าถึงไดจ้ าก www.sducloud.dusit.ac.th ซ่ึงเป็น Cloud ที่ให้บริการกับบุคลากรในมหาวิทยาลัยแบบ Infrastructure as a Service (IaaS)

117 หรือการใหบ้ ริการเคร่ืองแม่ข่ายเสมอื น ซ่ึงผใู้ ช้งานจะตอ้ งใชง้ านผา่ นเครือขา่ ยของมหาวิทยาลัยเท่านั้น หากตอ้ งการใช้งานจากเครือข่ายอินเทอร์เนต็ ภายนอกผ้ใู ช้งานจะต้องทาการเชือ่ มต่อ Virtual Private Network เสียก่อน เพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางการศึกษา ซึ่งจะทาให้ผู้ใช้บริการสามารถติดตั้ง ซอฟต์แวร์เสริมตามความต้องการ อีกท้ังยังสามารถเพิ่มทรัพยากร เช่น RAM, CPU และ Hard disk หรือจะเป็นการส่ัง Restart Server/Shout Down Server ได้ด้วยตนเอง (มหาวิทยาลัยสวนดุสิต, 2562) ภาพที่ 6.8 และภาพท่ี 6.9 คือ Cloud Computing ประเภท Software as a Service ที่ ใหบ้ รกิ ารโดยบริษัท Microsoft และบริษัท Google ตามลาดับ ภาพที่ 6.8 Cloud Computing ประเภท Software as a Service ที่ใหบ้ รกิ ารโดย Microsoft ทม่ี า: มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ (2562) ภาพท่ี 6.9 Cloud Computing ประเภท Software as a Service ทใี่ ห้บรกิ ารโดย Google ท่ีมา: Google (2019)

118 ภาพท่ี 6.10 โปรแกรม Microsoft Team Cloud Computing ประเภท Software as a Service สรปุ ข้อมูลและการจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา คือข้อมูลดิบที่จัดเก็บลงใน คอมพิวเตอร์และถูกแปลงเป็นระบบเลขฐานสอง สามารถเรียกข้อมูลเหล่าน้ันมาใช้งานได้ ข้อมูล แบง่ เป็นข้อมูลเฉพาะ (Predefined Data Items) ข้อมลู ตัวเลขหรือข้อมูลเชิงจานวน (Numeric Data) ขอ้ มลู ตวั อกั ษรหรอื ขอ้ มูลทเ่ี ปน็ ข้อความ (Text Data) ข้อมูลกราฟิก (Graphic Data) ข้อมลู ภาพลักษณ์ (Image Data) เสียง (Audio) และวิดีโอ (Video) ข้อมูลเหล่าน้ีมีที่มาจากแหล่งภายในหน่วยงานนั้น ๆ (Internal Source) และแหล่งภายนอกหน่วยงาน (External Source) ซึ่งข้อมูลเหล่านี้จะต้องเป็น ข้อมูลท่ีถูกต้อง (Accurate) ทันเวลา (Timeliness) สอดคล้องกับงาน (Relevance) และสามารถ ตรวจสอบได้ (Verifiable) โครงสร้างของข้อมูลคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย บิต (Bit) ไบต์ (Byte) เขต ข้อมูล (Field) ระเบียนข้อมูล (Record) แฟ้มข้อมูล (File) และฐานข้อมูล (Database) ดาต้าไมน์นิง และการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Mining and Analytics) ประกอบด้วยเทคนิคการจาแนกข้อมูล (Classification) เป็นการสร้างโมเดลจากข้อมูลที่มีอยู่เพื่อทานายเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เทคนิคการแบ่งกลุ่มข้อมูล (Clustering) แบ่งข้อมูลเป็นหลาย ๆ กลุ่มโดยอาศัยความคล้ายคลึงกันของ ข้อมูล และการหากฎความสัมพันธ์ (Association rules) โดยอาศัยความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เกิด ร่วมกันสร้างเป็นกฎความสัมพันธ์ และการประมวลผลข้อมูลแบบคลาวด์ (Cloud Computing) คือ ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีพร้อมรองรับการทางานของผู้ใช้งานในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นระบบเครือข่าย การจดั เก็บข้อมูล การทดสอบระบบหรือติดต้งั ฐานขอ้ มลู หรอื การใชง้ านซอฟต์แวร์เฉพาะด้านในธุรกิจ ตา่ ง ๆ โดยทผ่ี ู้ใชง้ านไมต่ ้องติดตัง้ ระบบทัง้ ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟตแ์ วร์ไวท้ ่สี านกั งานให้ยุ่งยาก แตส่ ามารถ ใช้งานในส่ิงที่ต้องการได้ด้วยการเชื่อมต่อกับระบบ Cloud Computing ผ่านอินเทอร์เน็ต แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ Infrastructure as a Service (IaaS) Platform as a Service (PaaS) และ Software as a Service (SaaS)

119 แบบฝกึ หดั 1. จงอธบิ ายความแตกตา่ งระหว่างขอ้ มลู และสารสนเทศพร้อมยกตวั อย่างมาให้เข้าใจ 2. ขอ้ มูลมกี ่ีชนดิ และแต่ละชนดิ มีความเกยี่ วขอ้ งกันอย่างไร 3. นกั ศึกษาคิดว่าแหล่งท่ีมาของข้อมูลใดท่ีมคี วามนา่ เชื่อถือท่สี ุด เพราะเหตุใด 4. ในชีวิตประจาวันนักศึกษาเผยแพร่และรับข้อมูลผ่านซอฟต์แวร์ประยุกต์ใดบ้าง เพอื่ วัตถุประสงค์ใด 5. ห้างสรรพสนิ คา้ จะรู้ได้อย่างไรวา่ จะจัดวางสนิ ค้าใดไว้ใกล้ๆ กนั หรอื จะวางในตาแหน่ง ใดทลี่ กู คา้ สามารถหยบิ จบั ได้งา่ ย เชน่ วางเบีนร์ไวใ้ กล้ ๆ ผ้าออ้ มเดก็ จงอธบิ าย 6. ปกติในชีวิตประจาวันของนักศึกษามีข้อมูลให้รับรู้เป็นจานวนมาก นักศึกษามีวิธี คัดกรองข้อมลู ที่ถูกต้องและมีประสิทธภิ าพอย่างไรบ้าง จงอธบิ าย 7. โครงสร้างของข้อมูลคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอะไรบ้าง จงอธิบายแต่ละโครงสร้างมา ใหเ้ ขา้ ใจ 8. จงอธบิ ายให้เห็นว่านักศกึ ษามีความเขา้ ใจคาว่าดาต้าไมน์นิง (Data Mining) 9. การประมวลผลข้อมูลแบบคลาวด์ (Cloud Computing) คืออะไร นักศึกษาใช้ข้อมูล อะไรบ้างท่อี ยูบ่ นคลาวด์ และนาไปใช้ทาอะไร 10. ตัวนักศึกษาเองมีข้อมูลอะไรบ้าง จงยกตัวอย่างมาอย่างน้อย 10 ชนิด และข้อมูล ชนิดไหนบา้ งทไี่ มค่ วรเปิดเผยสู่สาธารณะ เพราะสาเหตใุ ด

120 เอกสารอา้ งอิง กิตติ ภกั ดีวฒั นะกลุ . (2549). คัมภรี ร์ ะบบสารสนเทศ. กรงุ เทพฯ: เคทพี ี แอด์ คอนซัลท์. กุลยา นิม่ สกุล. (2536). ความรู้พ้นื ฐานทางคอมพิวเตอร.์ กรงุ เทพฯ: ฟสิ กิ ส์เซ็นเตอร์. จิระ จิตสุภา. (2558). เอกสารประกอบการสอนรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทาง การศึกษา. คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต. ชิดชนก ส่งศิริ ธนาวินท์ รักธรรมานนท์ และกฤษณะ ไวยมัย. (2544). การใช้เทคนิค Data Mining เพื่อค้นหาภาควิชาที่เหมาะสมที่สุดให้กับนิสิต. การประชุมทางวิชาการ ประจาปี 2544 วันท่ี 5 - 7 กมุ ภาพันธ์ 2544 ณ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ บางเขน. ซีเอส ล็อกซอินโฟ. (2560). รู้จักเทคโนโลยี Cloud Computing. สืบคน้ เม่ือ 15 มถิ นุ ายน 2562. จาก http://dccloud.csloxinfo.com/th/wecloud01/ ประสิทธ์ิ ทีฆพุฒิ และ ครรชิต มาลัยวงศ์. (2549). การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: โครงการไอซีทเี ทเลคอมออนไลน์. ไพบลู ย์ เกยี รติโกมล และ ณัฎฐพนั ธ์ เขจรนนั ท์. (2551). ระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ. กรุงเทพฯ: ซเี อ็ดยูเคชั่น. มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. (2562). การประเมินเพ่ือพัฒนาประสิทธภิ าพการจัดการศึกษา. มหาวิทยาลัย สวนดสุ ติ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. (2562). บริการ Cloud Computing มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. สานักวิทยบริการ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต. ลัดดา โกรดิ. (2546). การจัดการข้อมูลและโครงสร้างข้อมูล. เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศเบ้ืองตน้ หนว่ ยที่ 8-15. สาขาวิชาศลิ ปศาสตร์. มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. เลาดอน เคนเนท และเลาดอน จีนส์. (2545). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรุงเทพฯ: เพียร์ สัน เอ็ดดเู คช่นั , อนิ โดไชน่า. อรรถกร เกง่ พล. (2548). ระบบสารสนเทศเพอื่ การจัดการ. กรงุ เทพฯ: เจเนซิส มีเดียคอม. เอกสิทธิ์ พัชรวงศ์ศักดา. (2557). การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคดาต้า ไมน์นิง เบื้องต้น. กรุงเทพฯ: เอเซยี ดิจติ อลการพมิ พ์. เอกสิทธิ์ พัชรวงศ์ศักดา. (2558). เอกสารประกอการฝึกอบรมหลักสูตร Practical Data Mining with RapidMiner Studio 6. กรุงเทพฯ: เอเซีย ดจิ ิตอลการพิมพ.์ โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2551). วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ด ยูเคช่นั . Google. (2019). Google all products. Retrieved June 15, 2019, from https://about. google/intl/en/products/?tab=rh Lori Lewis and Chad Callahan. (2019). 2019 This is what happens in an Internet Minute. Retrieved June 15, 2019, from https://twitter.com/lorilewis/ status/1103687442727616523

121 We are social. (2019). DIGITAL 2019: GLOBAL INTERNET USE ACCELERATES. Retrieved June 15, 2019, from https://wearesocial.com/blog/2019/01/digital-2019- global-internet-use-accelerates

122

123 แผนการสอนประจาสัปดาหท์ ่ี 7 หวั ขอ้ เรื่อง แบบจำลองสำหรับกำรพฒั นำสื่อกำรสอนยุคดิจิทัล: ADDIE รายละเอียด แบบจำลองสำหรับกำรพัฒนำสื่อกำรสอนยุคดิจิทัล ประกอบด้วยเน้ือหำเกี่ยวกับแนวคิด กำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) แนวคิดของแบบจำลองสำหรับกำรพัฒนำสื่อกำรสอน ADDIE และหลกั กำรพัฒนำส่ือกำรสอนดว้ ยแบบจำลอง ADDIE จานวนช่วั โมงทส่ี อน 4 ช่ัวโมง กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. ทดสอบก่อนเรียน 2. ผู้สอนบรรยำยด้วย Power Point ในหัวข้อแบบจำลองสำหรับกำรพัฒนำส่ือกำรสอน ยุคดจิ ิทลั 3. กำรสรำ้ งแบบประเมนิ สอ่ื ดว้ ย Google form 4. กำรสรำ้ งแบบทดสอบด้วย Kahoot 5. นำเสนอผลกำรออกแบบ Storyboard (Design) และต้นแบบของส่อื ตำมจินตนำกำร 6. นักศกึ ษำทำแบบฝึกหัดทบทวนประจำสปั ดำห์ สือ่ การสอน 1. แผนกำรสอนประจำสัปดำห์ท่ี 7 2. พำวเวอร์พอยทส์ ปั ดำหท์ ี่ 7 3. คอมพวิ เตอร์และโปรแกรม Microsoft Office 4. อนิ เทอรเ์ นต็ และ Facebook 5. แบบฝกึ หดั ทบทวนประจำสปั ดำห์ แผนการประเมินผลการเรียนรู้ 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผเู้ รยี นสำมำรถอธบิ ำยแนวคิดกำรเรียนรู้เชิงรุก 1.2 ผเู้ รียนสำมำรถอธบิ ำยแนวคดิ ของแบบจำลอง ADDIE 1.3 ผ้เู รียนสำมำรถอธบิ ำยหลกั กำรพฒั นำสื่อกำรสอนดว้ ยแบบจำลอง ADDIE 1.4 ผลกำรออกแบบ Storyboard (Design) และต้นแบบของส่ือตำมจินตนำกำร

124 2. วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ 2.1 สังเกตจำกกำรตอบคำถำม และกำรแสดงควำมคิดเห็นในช้ันเรียน 2.2 ประเมินจำกกำรมสี ว่ นร่วมในกำรทำงำนกลมุ่ และกำรอภปิ รำย 2.3 สังเกตพฤติกรรม ควำมกระตอื รือรน้ ในกำรทำกจิ กรรม 2.4 ผลกำรออกแบบ Storyboard (Design) และต้นแบบของสอ่ื ตำมจนิ ตนำกำร 2.5 คะแนนแบบฝึกหัดทบทวนประจำสัปดำห์ 3. สดั ส่วนของการประเมิน 3.1 อธบิ ำยแนวคดิ กำรเรยี นร้เู ชงิ รุก จำนวน 10 คะแนน 3.2 อธบิ ำยแนวคิดของแบบจำลอง ADDIE จำนวน 5 คะแนน 3.3 อธิบำยหลกั กำรพัฒนำสื่อกำรสอนดว้ ยแบบจำลอง ADDIE จำนวน 10 คะแนน 3.4 คะแนนแบบฝึกหัดทบทวนประจำสัปดำห์ จำนวน 10 คะแนน เนื้อหาทสี่ อน ธรรมชำติของมนษุ ย์ชอบกำรเรยี นรู้ สร้ำงสรรค์ แสวงหำประสบกำรณ์ และพัฒนำส่ิงใหม่ มำประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันเพ่ือควำมอยู่รอดของตนเองและสังคม แต่บำงคร้ังผู้เรียนอำจจะไม่ได้ รับหรือไม่ได้ลงมือทำส่ิงเหล่ำนี้ เนื่องจำกกำรจัดกำรเรียนรู้ผู้สอนยังเน้นบรรยำยอยู่หน้ำชั้นเรียน ผู้เรียนยังคงทำหน้ำท่ีฟังและจดจำในสิ่งที่ผู้สอนนำเสนอด้วยกำรบรรยำยผ่ำนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และเครื่องฉำยภำพ กำรวัดและประเมินผลผู้เรียนใช้กำรสอบเก็บคะแนนกลำงภำคเรียนและปลำย ภำคเรียนแบบปรนัยตำมเน้ือหำที่ผู้สอนบรรยำยหน้ำช้ันเรียน กำรวัดผลกำรเรียนรู้ใช้เครื่องมือสำคญั คือกำรสอบเป็นหลัก เรียกว่ำผู้สอนเป็นศูนย์กลำงของกำรศึกษำ (Teacher Centered) แต่อีกด้ำน หน่ึงสังคมคำดหวังท่ีจะเห็นผู้สำเร็จกำรศึกษำมีทักษะด้ำนชีวิตและอำชีพ และคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ วิจำรย์ พำนิช (2556) กล่ำวไว้ว่ำ “เรำสงลูกไปโรงเรียนเพรำะควำมเช่ือและควำมเช่ือม่ันว่ำ ท่ีโรงเรียนลูกรักจะได้รับกำรศึกษำเพ่ือพัฒนำชีวิตอย่ำงมีหลักกำร มีระบบจัดกำรเรียนรู้ มีครูท่ี สำมำรถจัดกระบวนกำรเรยี นกำรสอนใหเ้ ติบโตข้นึ สมวัยและมคี ณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์” กำรศึกษำของไทยช่วงศตวรรษที่ 21 (ค.ศ. 2001 - ค.ศ. 2100) เพ่ือให้บรรลุมำตรฐำน กำรเรียนรู้ กำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญหรือเน้นเด็กเป็นศูนย์กลำงจึงมีควำม จำเป็น ส่ือกำรเรียนรู้ที่เน้นส่ือตำมสภำพจริง สื่อเทคโนโลยีสำรสนเทศ รวมทั้งเน้นแหล่งเรียนรู้ให้ ผู้เรียนมีประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ เป็นกำรเรียนกำรสอนตำมสภำพจริง เน้นกำรประเมินผู้เรียนจำกกำ ระบวนกำรเรียนรู้และผลกำรเรียนรู้ โดยใช้เครื่องมือที่หลำกหลำย กำรศึกษำยุค 4.0 ผู้เรียนต้อง สำมำรถสร้ำงนวัตกรรมผ่ำนกำรทำโครงงำน ส่วนครูต้องสำมำรถสร้ำงนวัตกรรมผ่ำนกำรวิจัย (พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยำว์ ยินดีสุข, 2560) และต้องให้ควำมสำคัญกับผู้ท่ีกำลังจะสำเร็จ กำรศึกษำออกไปเป็นครใู นอนำคต ในบทควำมฉบับน้ีเรยี กวำ่ นกั ศกึ ษำครู นักศึกษำครูคือนักศึกษำระดับอุดมศึกษำท่ีเลือกเรียนคณะหรือสำขำวิชำท่ีเกี่ยวข้องกับ กำรเป็นครู เช่น สำขำวิชำกำรศึกษำปฐมวัย ประถมศึกษำ สังคมศึกษำ คณิตศำสตร์ศึกษำ เป็นต้น จะต้องทำหน้ำที่ครูท่ีสำมำรถจัดกระบวนกำรเรียนกำรสอนได้เป็น อย่ำงมีประสิทธิภำพเมื่อสำเร็จ

125 กำรศึกษำออกไป กำรเตรียมนักศึกษำครูเหล่ำนี้ให้มีทักษะชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ได้แก่ ทักษะกำร เรียนรู้และนวตั กรรม ควำมคิดริเร่ิมสร้ำงสรรค์ ควำมสำมำรถในกำรพัฒนำนวตั กรรม กำรแก้ปัญหำที่ เกิดขึ้นได้อย่ำงมีวิจำรณญำณ ควำมสำมำรถในกำรทำงำนเป็นทีมและสื่อสำร กับผู้อ่ืน มีทักษะใน กำรเลอื กและใช้ข้อมลู สำรสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยีสำรสนเทศได้อย่ำงมปี ระสิทธภิ ำพ มีทักษะด้ำน กำรใช้ชีวิตและประกอบอำชีพ มีภำวะกำรเป็นผู้นำและผู้ตำม ควำมรับผิดชอบ และควำมสำมำรถใน กำรปรับตัวเขำ้ กบั สงิ่ แวดล้อมของสังคมได้ (Partnership for 21st Century Learning, 2007) และมี ผลกำรเรียนรู้ตำมกรอบคุณวุฒิระดับอุดมศึกษำของประเทศไทย ประกอบด้วย คุณธรรม จริยธรรม ควำมรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ กำรนึกคิดและกำรนำเสนอข้อมูล กำร เรียนรู้ด้วยตนเอง กำรใช้ควำมรู้ ควำมเข้ำใจในแนวคิด หลักกำร ทฤษฎี และกระบวนกำรในกำรคิด วิเครำะห์และกำรแก้ไขปัญหำ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคล ควำมรับผิดชอบ ควำมสำมำรถในกำร ทำงำนกลุ่ม ภำวะผู้นำและผู้ตำม ควำมรับผิดชอบต่อตนเองและต่อทีม กำรวำงแผน กำรคิดวิเครำะห์ เชิงตัวเลข กำรส่ือสำร และกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ (สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอุดมศึกษำ, 2552) เป็นส่ิงสำคัญท่ีสถำบันกำรศึกษำ โดยเฉพำะผู้สอนจะต้องตระหนักและให้ควำมสำคัญ เน่ืองจำกนักศึกษำครูเหล่ำนี้จะสำเร็จกำรศึกษำไปทำหน้ำท่ีสอนนักเรียนระดับอนุบำล ประถม และ มัธยม ให้มีทักษะดังกล่ำวข้ำงต้นด้วยเช่นกัน โดยใช้ควำมรู้ควำมสำมำรถท่ีได้รับจำกผู้สอนตลอด ระยะเวลำกำรศึกษำ 5 ปี กำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุกจึงเป็นกำรจัดกำรเรียนรู้ที่เหมำะสมที่จะพัฒนำ นักศกึ ษำครู กำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) มีควำมสำคัญต่อกำรจัดกำรเรียนรู้สำหรับ นักศึกษำครู เน่ืองจำกกำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุกเป็นกำรจัดกำรศึกษำท่ีมุ่งผลลัพธ์จำกกำรเรียนรู้โดยใช้ กิจกรรมเป็นฐำน และกำรเรียนรู้ด้วยกำรศึกษำ เรียนรู้ และลงมือปฏิบัติจริงจำกส่ิงแวดล้อมจริง สอดคล้องกับ (พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยำว์ ยินดีสุข, 2560) ท่ีกล่ำวว่ำกำรจัดกำรเรียนร้เู ชิงรกุ คือ กำรเรียนรู้ท่ีเนน้ ให้ผูเ้ รียนได้เรียนร้จู ำกกำรลงมอื ปฏบิ ัติ ผู้เรยี นเป็นผู้สร้ำงควำมรดู้ ้วยตนเอง และเป็น กำรจัดกำรเรียนกำรสอนท่ีเน้นกำรเรียนรู้ร่วมกันของผู้เรียน ดังนั้นกำรสอนแบบบรรยำยและปฏิบัติ แต่ในชั้นเรียนเพียงอย่ำงเดียว โดยไม่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่ำงผู้เรียนกับผู้สอน และผู้เรียนกับผู้เรียน ด้วยกนั หรอื ผ้เู รียนไมม่ สี ่วนร่วมในกำรเรียนกำรสอนยังไม่นบั ว่ำเป็นกำรจดั กำรเรยี นรเู้ ชิงรุก เน่อื งจำก ผู้ท่ีจะพัฒนำนักศึกษำครูเหล่ำน้ีไม่ใช่ผู้สอน แต่เป็นตัวของนักศึกษำครูเอง (Student Centered) หน้ำท่ีของผู้สอนคือกำหนดผลลัพธ์ท่ีนักศึกษำครูควรจะได้หรือควรจะเป็นหลังจำกเสร็จสิ้นกิจกรรม กำรเรียนรู้แต่ละครั้ง และออกแบบกิจกรรมกำรเรียนรู้เพื่อมุ่งไปสู่ผลลัพธ์น้ัน โดยผู้สอนทำหน้ำท่ีเป็น วทิ ยำกรกระบวนกำร (Facilitator) วำงแผนกำรจดั กิจกรรม ใหค้ วำมชว่ ยเหลอื คำแนะนำ เรียนรู้ร่วม และเรียนรู้จำกนักศึกษำครู (ปริญญำ เทวำนฤมิตรกุล, 2560) เมื่อผู้สอนลองปรับวิธีกำรสอนจำกกำร บรรยำยหน้ำช้ันเรียนและกำรสอนปฏิบัติแบบเดิมท่ีเคยทำมำสู่กำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุกซ่ึงแตกต่ำง อำจจะพบอุปสรรคและปัญหำ เมือ่ พบอุปสรรคยอมหำทำงแกไข และหำกลั ยำณมติ ร คดิ ทำ แลกเปล่ียน เรียนรูจนกวำงำนจะสำเร็จไดเห็นผลสัมฤทธิ์ท่ีเกิดข้ึนกับนักศึกษำครูหรือลูกศิษยของเรำ งำนของ ผ้สู อนจึงไมใชงำนท่ซี ้ำซำกจำเจแตเ่ ป็นงำนท่มี คี วำมใหมและสดอยูเสมอ (วิจำรย์ พำนชิ , 2556)

126 กำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุกเป็นกำรศึกษำท่ีมุ่งผลลัพธ์จำกกำรเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐำน และกำรเรียนรู้ด้วยกำรลงมือศึกษำ เรียนรู้ และลงมือปฏิบัติจำกสิ่งแวดล้อมหรือแหล่งเรียนรู้จริง กำรออกแบบและพัฒนำนวัตกรรมสื่อกำรสอนจึงเหมำะสมอย่ำงยิ่งสำหรับนักศึกษำครู เน่ืองจำกส่ือ กำรสอนคือวัสดุ อุปกรณที่เป็นตัวกลำงในกำรถ่ำยทอดหรือนำเอำควำมรู้จำกผู้สอนไปยังผู้เรียนให้ เข้ำใจควำมหมำยได้ตรงกันเพื่อเสริมสร้ำงกำรเรียนรู้ให้กับผู้เรียน โดยผู้เรียนสำมำรถเข้ำถึงเนื้อหำได้ สะดวกและรวดเร็ว สำมำรถใช้เป็นส่ือหลักท่ีผู้เรียนสำมำรถเรียนรู้และเข้ำร่วมกิจกรรมได้ด้วยตนเอง และสื่อเสริมท่ีผู้สอนใช้เสริมเน้ือหำในชั้นเรียนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ เช่น เนื้อหำในวิชำ คณิตศำสตร์ (จินตวีย์ คล้ำยสังข์, 2560) และที่สำคัญนักศึกษำครูจะได้ศึกษำค้นคว้ำ ทำควำมเข้ำใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ คิดสร้ำงสรรค์ ทำงำนเป็นทีม วิพำกษ์และวิจำรณ์ผลงำน รับฟังและกำรยอมรับ ควำมคิดเห็นจำกผู้อื่น กำรแก้ไข ปรับปรุง และกำรลงมือปฏิบัติกำรออกแบบและพัฒนำสื่อกำรสอน และนำไปใช้งำนจริงในโรงเรียน ซ่ึงนักศึกษำครูทุกคนเมื่อสำเร็จกำรศึกษำไปแล้วจะต้องมีควำมรู้ ควำมสำมำรถในกำรออกแบบและพฒั นำส่ือสำหรบั กำรจัดกำรเรียนกำรสอนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ผลจำกกำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุกไม่ได้เกิดข้ึนจำกผู้สอนและนักศึกษำครูเพียงอย่ำงเดียว ยังมี กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนที่เป็นสิ่งสำคัญ กิจกรรมที่ทำให้ผู้เรียนสำมำรถออกแบบและพัฒนำนวัตกรรม ได้ สอดคล้องกับกำรศึกษำไทยยุค 4.0 ที่ผู้เรียนต้องสำมำรถสร้ำงนวัตกรรมผ่ำนกำรทำโครงงำน ถือเป็น หัวใจสำคัญของกำรพัฒนำนักศึกษำครูเพื่อกำรเรียนรู้เชิงรุกและส่งเสริมให้นักศึกษำครูมีทักษะที่พร้อม กับชีวิตในศตวรรษท่ี 21 กำรออกแบบและพัฒนำนวัตกรรมสื่อกำรสอนให้เป็นระบบ มีประสิทธิภำพ เป็นท่ียอมรับ และเน้นให้นักศึกษำครูเป็นศูนย์กลำงของกำรเรียนรู้ ที่ผู้สอนสำมำรถนำไปประยุกต์ใช้ใน กำรทำกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และได้นวัตกรรมส่ือกำรสอนออกมำอย่ำงเป็น รูปธรรม กำรนำแบบจำลอง ADDIE ซึ่งเป็นแบบจำลองท่ีพัฒนำให้กับกองทัพของสหรัฐอเมริกำในปี 2518 โดยศูนย์เทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยแห่งรัฐฟลอริดำ (Branson, 1975) ได้รับกำร พัฒนำโดยกองทัพของสหรัฐอเมริกำอยำ่ งต่อเนื่อง (Department of the Army, 2011) และใชง้ ำนอย่ำง กว้ำงขวำงในแวดวงกำรศึกษำเพ่ือออกแบบกำรเรียนกำรสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลำง มีขั้นตอน ประกอบด้วย กำรวิเครำะห์ (Analysis) กำรออกแบบ (Design) กำรพัฒนำ (Development) กำรนำไปใช้ (Implementation) และกำรประเมินผล (Evaluation) (McGriff, Steven J. (2000) กำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุกด้วยกำรออกแบบและพัฒนำนวัตกรรมส่ือกำรสอนด้วยแบบจำลอง ADDIE มคี วำมเหมำะสมอย่ำงยง่ิ สำหรับนักศึกษำครู เนอื่ งจำกแบบจำลอง ADDIE เปน็ กรอบแนวคดิ ทมี่ ีควำม ยดื หยนุ่ และสำมำรถนำมำประยุกตใ์ ช้รว่ มกับกำรออกแบบกำรเรียนกำรสอนได้งำ่ ย เหมำะสำหรับกำร เลือกนำมำใช้เพ่ือให้กำรออกแบบกำรสอน เกิดประสิทธิภำพสูงสุด ตรงตำมวัตถุประสงค์กำรเรียนรู้ท่ี กำหนดไว้ และตอบสนองกับศักยภำพกำรเรียนรู้ของนักศึกษำ (วัชรพล วิบูลยศริน, 2557) นักศึกษำ ครูจะมีโอกำสได้ใช้ควำมคิดและกำรทำงำนได้อย่ำงเป็นระบบ เนื่องจำกแบบจำลอง ADDIE สอนให้ นักศึกษำครูทำงำนและตรวจสอบเป็นขั้นตอน และกำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุกด้วยกำรนำแบบจำลอง ADDIE มำใชใ้ นกำรกำหนดข้ันตอนกำรออกแบบและพฒั นำนวัตกรรมส่ือกำรสอน ทำใหน้ กั ศึกษำได้มี โอกำสลงมือทำและเรยี นรู้อย่ำงแทจ้ รงิ สอดคลอ้ งกบั ประสบกำรณข์ อง Edgar Dale ทแี่ สดงให้เหน็ ว่ำ กำรเรียนรู้ด้วยกำรลงมือกระทำทำให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้มำกกว่ำร้อยละ 75 เพรำะฉะน้ันถ้ำจะให้ นกั ศึกษำครูเกิดกำรเรียนรอู้ ย่ำงแท้จริงต้องให้เขำไดล้ งมือทำ (วิจำรณ์ พำนิช, ม.ป.ป.)

127 แนวคดิ การเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยำว์ ยนิ ดสี ขุ (2560) กล่ำวถงึ กำรเรยี นรเู้ ชิงรุกว่ำ เป็นกจิ กรรม กำรเรียนรู้ท่ีเปิดโอกำสให้ผู้เรียนได้ฟัง พูด อ่ำน เขียน และแสดงควำมคิดเห็นขณะลงมือทำกิจกรรม และในขณะเดียวกันผู้เรียนต้องใช้กระบวนกำรคิดโดยเฉพำะกระบวนกำรคิดขั้นสูง คือ กำรวิเครำะห์ กำรสังเครำะห์ และกำรประเมินค่ำ ในสิ่งที่กำลังกระทำอยู่ด้วย โดยแนวคิด และทฤษฎีกำรเรียนรู้ที่ สนับสนุนกำรเรียนรู้เชงิ รกุ ประกอบด้วย 1) กำรเรียนรู้ที่เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนร้จู ำกกำรลงมือกระทำท่ี เรียกว่ำกำรเรยี นรดู้ ้วยกำรลงมือปฏิบัติ 2) ผเู้ รียนเป็นผูส้ รำ้ งควำมร้ดู ว้ ยตนเองอย่ำงกระตือรือรน้ และ 3) กำรจัดกำรเรียนกำรสอนทีเน้นกำรเรียนรู้ร่วมมือกันของผู้เรียนท่ีมีเป้ำหมำยในกำรทำงำนเดียวกัน ลักษณะสำคัญและคณุ คำ่ ของกำรเรียนรู้เชิงรกุ ประกอบดว้ ย 1. ผเู้ รียนมสี ว่ นรว่ มในกำรปฏิบตั ิกิจกรรม ได้แก่ กำรอำ่ น กำรสืบคน้ กำรอภิปรำย กำรสรุป และสร้ำงควำมรู้ กำรเขียน และกำรนำเสนอมำกกว่ำเปน็ ผู้รบั ฟงั ควำมร้จู ำกครเู พียงผเู้ ดียว 2. ผเู้ รยี นไดร้ ับกำรพัฒนำทักษะกำรแก้ปัญหำ กำรวเิ ครำะห์ กำรสังเครำะห์ กำรประเมินค่ำ ซึ่งมงุ่ ลดกระบวนกำรถ่ำยทอดสำรสนเทศใหผ้ เู้ รยี น 3. ผ้เู รยี นไดร้ ับกำรบ่มเพำะพฒั นำคณุ ธรรม เจตคติ และคณุ คำ่ ทมี่ ีอยใู่ นตัวผเู้ รยี น ตารางท่ี 7.1 บทบำทของผูส้ อน พฤตกิ รรมกำรสอนและกำรเรยี นของผู้เรียนตำมกำรเรยี นรูเ้ ชิงรุก แนวการสอน บทบาทหลกั ของผสู้ อน พฤตกิ รรมการสอน พฤตกิ รรมของผู้เรียน การเรียนรู้เชงิ รุก Instructor: ผสู้ อน ผู้สอนแนะนำใหผ้ ้เู รียน มสี ว่ นร่วมในกำรฟงั กำร (Active วธิ สี อน : บรรยำย ทำงำนเปน็ กลมุ่ ลงมอื ทำ กำรพดู กำร Learning) ประกอบกำรปฏบิ ัติ ผสู้ อนบรรยำย อภิปรำย ใหผ้ ู้เรียนมสี ว่ นรว่ ม ผสู้ อนและผู้เรยี นรว่ มกนั สรปุ Facilitator: ผสู้ อนจดั เตรยี มสื่อกำร ปฏิบตั ิตำมใบงำน บัตร ผอู้ านวยบรกิ าร เรียนรู้ (ใบงำน ใบควำมรู้) คำสั่ง เพอื่ เก็บรวบรวม วธิ ีสอน : Inquiry, เตรียมแหลง่ กำรเรียนรู้ ข้อมลู วเิ ครำะห์ ส่ือสำร Problem-based ผสู้ อนนำเสริมควำมรทู้ ่ี และสรำ้ งควำมรู้ Learning ถกู ตอ้ ง Advisor: ท่ีปรกึ ษา ผ้สู อนแนะนำ เสนอแนะ ระบคุ ำถำม แสวงหำ วิธีสอน : Project- ใหก้ ำลงั ใจ เป็นท่ปี รกึ ษำ คำตอบ สรำ้ งควำมร้ดู ว้ ย based Learning, เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นทำงำนบรรลุ ตนเอง สร้ำงควำมรู้ใหม่ Research-based เป้ำหมำยด้วยตนเอง สงิ่ ประดษิ ฐ์ใหม่ แบบท่ี Learning ผเู้ รียนและผสู้ อนไมเ่ คยรู้ มำกอ่ น Coacher: ผูช้ ี้แนะ ชีแ้ นะ สอนงำน ให้ผู้เรยี น ปฏบิ ัติ ลงมอื ทำ เพื่อ ผ้ชู ้แี นะ มีควำมรู้ ทักษะและ เรยี นร้เู ปน็ ไปตำม ควำมสำมำรถเฉพำะตวั เปำ้ หมำย รวมทง้ั แกไ้ ข

128 แนวการสอน บทบาทหลกั ของผสู้ อน พฤติกรรมการสอน พฤตกิ รรมของผ้เู รียน ด้วยวธิ ีตำ่ ง ๆ ท่ไี ดว้ ำงแผน ขอ้ บกพร่อง เพอ่ื ให้บรรลุ ไว้ ตำมผลที่กำหนด เรยี กวำ่ ผู้รบั กำรชแ้ี นะ (Coachee) Mentor: พเ่ี ล้ยี ง สนับสนนุ ส่งเสรมิ เปน็ ผพู้ ยำยำมเรียนรดู้ ว้ ย พี่เล้ยี ง พีส่ อนน้อง ช่วยเหลอื ให้ผ้มู ี ตนเองเพ่ือพฒั นำ ผู้สอนอำวุโสสอนน้อง ประสบกำรณ์น้อยกวำ่ ได้ ควำมสำมำรถให้เป็นไป เรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง เป็น ตำมเป้ำหมำย เรียกผู้ แบบอย่ำง มีควำมเปน็ ไดร้ ับกำรช้แี นะด้วย กัลยำณมติ ร พี่เล้ียง (Mentee) ทม่ี ำ: พมิ พนั ธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยำว์ ยนิ ดสี ุข (2560) จำกตำรำงที่ 7.1 จะเห็นได้ว่ำกำรจัดกำรเรียนรู้เชิงรุกผู้สอนหลักสำมำรถทำหน้ำที่และ เปล่ียนแปลงบทบำทได้หลำยบทบำท ได้แก่ 1) กำรเป็นผู้สอนทำหน้ำท่ีบรรยำยประกอบกำรปฏิบตั ิท่ี ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกำรเรียนรู้ด้วยกำรลงมือทำ พูดและอภิปรำยกำรเรยี นรู้ 2) กำรเป็นผู้อำนวย บริกำรจัดเตรียมสื่อกำรเรียนรู้ แหล่งกำรเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติตำมใบงำน เก็บรวบรวมข้อมูล วิเครำะห์ สื่อสำรและสร้ำงควำมรู้ร่วมกัน 3) กำรเป็นที่ปรึกษำให้คำแนะนำ เสนอแนะ ให้กำลังใจ เพื่อให้ผู้เรียนทำงำนบรรลุเป้ำหมำยด้วยกำรแสวงหำคำตอบ สร้ำงควำมรู้และ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ด้วย ตนเอง 4) กำรเป็นผู้คอยชี้แนะ สอนงำน ให้ผู้เรียนมีควำมรู้ ทักษะ และควำมสำมำรถด้วยกำรลงมือ ปฏิบัติ แก้ไขข้อบกพร่องเพื่อให้บรรลุตำมผลท่ีกำหนด และ 5) กำรเป็นพี่เลี้ยงคอยส่งเสริม ช่วยเหลอื ให้ผเู้ รยี นทมี่ ีประสบกำรณ์น้อยกว่ำไดเ้ รยี นรู้ด้วยตนเองอย่ำงเป็นกลั ยำณมิตร แนวคิดของแบบจาลองสาหรับการพฒั นาส่ือการสอน ADDIE ADDIE Model เป็นแบบจำลองสำหรับกำรออกแบบและพัฒนำนวัตกรรมสื่อกำรสอนท่ี ได้รับควำมนิยมมำนำน เนื่องจำกเป็นรูปแบบท่ีง่ำยและมีขั้นตอนกำรลงมือปฏิบัติที่ชัดเจน สำมำรถ นำไปใช้กับกำรออกแบบและกำรพัฒนำส่ือหลำยรูปแบบ โดยเฉพำะกำรพัฒนำนวัตกรรมส่ือกำรสอน เป็นแบบจำลองท่ีพัฒนำให้กับกองทัพของสหรัฐอเมริกำในปี 2518 โดยศูนย์เทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยแห่งรัฐฟลอริดำ (Branson, 1975) ได้รับกำรพัฒนำโดยกองทัพของสหรัฐอเมริกำมำอย่ำง ต่อเนอ่ื ง (Department of the Army, 2011) และถกู ใช้งำนอยำ่ งกว้ำงขวำงในสถำนศึกษำเพ่ือออกแบบ กำรเรียนกำรสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลำง มีข้ันตอนประกอบด้วย กำรวิเครำะห์ (Analysis) กำร ออกแบบ (Design) กำรพัฒนำ (Development) กำรนำไปใช้ (Implementation) และกำรประเมินผล (Evaluation) (McGriff, 2000)

129 กำรวเิ ครำะห์ (Analysis) กำรออกแบบ (Design) กำรประเมนิ ระหว่ำงสรำ้ งส่ือ กำรพฒั นำ (Development) (Formative Evaluation) กำรนำไปใช้ (Implementation) กำรประเมนิ สรุปภำพรวมส่ือ (Summative Evaluation) ภาพที่ 7.1 แบบจำลอง ADDIE ท่มี ำ: McGriff (2000) McGriff (2000 อ้ำงถึงใน วัชรพล วิบูลยศริน, 2557) กล่ำวว่ำ ADDIE เป็นแบบจำลอง ท่ีได้รับควำมนิยม มีควำมยืดหยุ่น และให้อิสระแก่ผู้สอนในกำรออกแบบและพัฒนำสื่อกำรสอนมำก ทส่ี ดุ แบบจำลองหนง่ึ มี 5 ขน้ั ตอน ดังน้ี ข้ันตอนที่ 1 กำรวิเครำะห์ (Analysis) ในขั้นนี้ผู้สอนจะต้องตอบคำถำมตำมประเด็น ตำ่ ง ๆ ต่อไปนี้ คือ 1. กลุ่มผู้เรียนเป็นใคร มีพ้ืนฐำนควำมรู้ระดับใด มีบุคลิกลักษณะพิเศษอย่ำงไร มีควำมสนใจเรยี นในเร่อื งใด 2. จดุ ม่งุ หมำยหรอื เป้ำหมำยของกำรพัฒนำนวัตกรรมสอ่ื คอื อะไร 3. เป้ำหมำยหรือจุดมุ่งหมำยของนวัตกรรมสื่อที่ได้กำหนดไว้ในข้อ 2 นั้นมีเน้ือหำ อะไรบำ้ งทเ่ี ก่ียวข้อง 4. ปญั หำหรอื อปุ สรรคทค่ี ำดวำ่ จะเกดิ ขึ้นนำ่ จะมีอะไรบำ้ ง ขนั้ ตอนท่ี 2 กำรออกแบบ (Design) หลังทรำบว่ำกลุ่มผู้เรียนเป้ำหมำยเป็นใคร จุดมุ่งหมำยของนวัตกรรมส่ือ รวมทั้งเนื้อหำประกอบด้วยอะไรบ้ำง ปัญหำและอุปสรรคท่ีน่ำจะเกิด มีอะไรบ้ำงแล้ว นักออกแบบและพัฒนำนวัตกรรมสื่อสำมำรถนำข้อมูลท่ีได้มำใช้ในข้ันตอนกำร ออกแบบ ซงึ่ ประกอบไปดว้ ยกระบวนกำรตำ่ ง ๆ ดงั น้ี 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของนวัตกรรมส่ือให้สอดคล้องกับเป้ำหมำยของบทเรียน ควร เปน็ จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรมท่เี น้นใหผ้ ู้เรยี นทำสิ่งใดส่ิงหนึง่ ได้หลังจำกท่ีเรียนจบกำรนำเสนอส่ือแล้ว 2. กำหนดโครงร่ำงและลำดับของเน้ือหำนวัตกรรมสื่อท่ีสอดคล้องกับจุดประสงค์ บทเรียนโดยเรียงลำดับควำมยำกง่ำยให้เหมำะสมกบั กำรนำเสนอบทเรียน 3. กำหนดกจิ กรรมกำรเรยี นร้แู ละกลยทุ ธเ์ พอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นบรรลตุ ำมจดุ ประสงค์ 4. กำหนดเกณฑ์กำรประเมินผล โดยจะต้องให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของ นวัตกรรมส่ือ กจิ กรรมและเนอ้ื หำ

130 5. กำหนดแผนผังแสดงลำดับกำรนำเสนอบทเรียน (Lesson Flowchart) ตั้งแต่ต้น จนจบ ขน้ั ตอนท่ี 3 กำรพัฒนำ (Development) หลังจำกท่ีได้ทดสอบและสอบถำมกับ ผู้เช่ียวชำญด้ำนต่ำง ๆ จนเกิดควำมม่ันใจแล้ว นักออกแบบและพัฒนำนวัตกรรมส่ือกำรสอนจะเริ่ม ดำเนนิ กำรพัฒนำสื่อตำมลำดับต่อไปนี้ 1. กำรเขียนบท (Scripting) อำจเรียกว่ำ สตอรี่บอร์ด (Storyboard) หมำยถึง เอกสำรทแี่ สดงรำยละเอียดของนวัตกรรมสือ่ ทุกหน้ำทีต่ ้องกำรนำเสนอ มีองคป์ ระกอบโดยย่อ ดังน้ี 2. กำรสร้ำงงำนกรำฟกิ โปรแกรมนำเสนอแฟ้มเสยี ง และวีดิทัศน์ประกอบบทเรยี น 3. กำรใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Programming) เป็นกำรดำเนินกำรสร้ำงนวตั กรรม สื่อตำมคณุ สมบตั ิหรอื คณุ ลกั ษณะของโปรแกรมน้ัน ๆ 4. กำรทดสอบกำรทำงำนของนวตั กรรมสอ่ื 5. กำรประเมินผลระหว่ำงทำง (Formative Evaluation) ขน้ั ตอนที่ 4 กำรนำไปใช้ (Implementation) เม่ือนักออกแบบและพัฒนำนวัตกรรมสื่อ ดำเนนิ กำรแก้ไขตำมเหมำะสมแลว้ จึงนำบทเรียนไปใชง้ ำนจริง ขน้ั ตอนท่ี 5 กำรประเมินผล (Evaluation) เพื่อหำประสิทธิภำพของนวัตกรรมส่ือกำร สอนตำมเกณฑ์เพ่ือเป็นข้อมูลในกำรพัฒนำนวัตกรรมส่ือกำรสอนเรื่องต่อ ๆ ไป ประกอบด้วย กำรประเมินระหว่ำงสร้ำงสื่อ (Formative Evaluation) และกำรประเมินสรุปภำพรวมส่ือ (Summative Evaluation) ซึง่ ณมน ชรี ังสวุ รรณ (2555) กล่ำววำ่ 1) กำรประเมนิ ระหว่ำงสร้ำงส่อื คอื กำรนำแบบท่ี ได้ออกแบบแลว้ ไปให้นักออกแบบทำกำรตรวจสอบควำมถูกต้องของกำรออกแบบ นกั ออกแบบที่ว่ำนี้ ได้แก่ ผู้ที่มีควำมรู้ควำมสำมำรถด้ำนกำรออกแบบส่ือ ผู้เชี่ยวชำญ และผู้เรียนซึ่งกำรประเมินโดย ผู้เรียนเป็นขั้นตอนท่ีสำคัญของกำรประเมินระหว่ำงสร้ำงสื่อ ประกอบด้วยกำรประเมินผู้เรียนแบบ หนงึ่ ต่อหนง่ึ (ตวั ต่อตัว) กำรประเมนิ แบบกล่มุ เลก็ และกำรประเมนิ แบบกลุ่มใหญ่ 2) กำรประเมินสรปุ ภำพรวมสอ่ื เพ่ือรวบรวม วเิ ครำะห์ และหำข้อสรุปของขอ้ มูลเพื่อนำเสนอต่อผู้มีอำนำจในกำรตดั สินใจ ว่ำส่ือกำรสอนจะได้ไปต่อหรือไม่ หำกได้ไปต่อก็จะเป็นกำรประเมินเกี่ยวกับประสิทธิผลและ ประสทิ ธิภำพ ของสือ่ ท่ีออกแบบและนำไปใชต้ ่อไป หลักการพฒั นาส่อื การสอนดว้ ยแบบจาลอง ADDIE กำรพฒั นำนวัตกรรมสอื่ กำรสอนด้วยแบบจำลอง ADDIE ทำใหน้ ักศกึ ษำสำมำรถออกแบบ และพัฒนำนวัตกรรมสื่อกำรสอนได้ด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนทำหน้ำที่เป็นพี่เลี้ยง สนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือให้นักศึกษำครู ผู้มีประสบกำรณ์น้อยกว่ำได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ถือเป็นหัวใจของกำรจัดกำร เรียนกำรสอนเพ่ือกำรเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) มีหลักกำรออกแบบและพัฒนำนวัตกรรมส่ือ กำรสอนด้วยแบบจำลอง ADDIE สำหรับนักศึกษำครูเพื่อกำรเรียนรู้เชิงรุก ซ่ึงผู้เขียนเขียนขึ้นจำก ประสบกำรณ์ในกำรสอน ดงั นี้

131 1. ขั้นตอนกำรวิเครำะห์ (Analysis) นักศึกษำจะต้องศึกษำ ค้นคว้ำข้อมูลนวัตกรรมส่ือ กำรสอนจำกหนังสือ เอกสำร บทควำม อนิ เทอร์เน็ต และศึกษำและดูงำนกำรจดั กำรเรียนกำรสอนใน ห้องเรียนจริง สัมภำษณ์นักเรียนและครูผู้สอน เพื่อศึกษำควำมเป็นไปได้และควำมต้องกำรสื่อจำกครู ศึกษำกลุ่มผู้เรียน พ้ืนฐำนควำมรู้ ควำมสนใจ จุดมุ่งหมำยหรือเป้ำหมำยของกำรพัฒนำนวัตกรรมสื่อ เนื้อหำทีต่ อ้ งกำรพฒั นำนวัตกรรมสื่อกำรสอน กำรวิเครำะหค์ วำมเป็นไปได้ในกำรสรำ้ งส่ือ และปัญหำ และอุปสรรคที่คำดว่ำจะเกิดขึ้น และศึกษำข้อมูลกำรสร้ำงนวัตกรรมสื่อกำรสอนจำกสื่อต่ำง ๆ ทั้งประเภทออนไลน์และออฟไลน์ นักศึกษำร่วมกันระดมสมองเพื่อวิเครำะห์และสังเครำะห์ข้อมูล ทั้งหมดที่ได้รับมำ เพ่ือสรุปผลส่วนของเนื้อหำและลักษณะของนวัตกรรมสื่อกำรสอนท่ีมีควำมเป็นไป ไดแ้ ละตรงกับควำมต้องกำรของนักเรียนและครู ควรให้ครูผสู้ อนจำกโรงเรียนเป็นผู้ประเมนิ ผลส่ือกำร สอนด้วย นำเสนอผลกำรวเิ ครำะห์หน้ำช้นั เรยี นเพือ่ ใหน้ กั ศกึ ษำรว่ มชน้ั เรยี นและผู้สอนได้รว่ มกนั แสดง ควำมคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะและแนวทำงกำรทำงำน และนำเสนอครูผู้สอนเพ่ือประเมินผลกำร วิเครำะหแ์ ละควำมเปน็ ไปได้ของนวตั กรรมส่ือที่จะเข้ำสขู่ น้ั ตอนกำรออกแบบต่อไป 2. ขั้นตอนกำรออกแบบ (Design) หลังจำกทรำบควำมต้องกำรและควำมเป็นไปได้ ลกั ษณะของผู้เรียน ควำมสนใจ พนื้ ฐำนควำมรู้ จดุ ม่งุ หมำยหรือเปำ้ หมำยของกำรพัฒนำนวตั กรรมส่ือ กำรสอน เน้ือหำท่ีต้องกำรพัฒนำสื่อ ปัญหำ อุปสรรค และข้อจำกัดแล้ว ทำกำรออกแบบส่ือสำหรับ กำรจัดกำรเรียนกำรสอนตำมผลกำรวิเครำะห์ โดยกำหนดเนื้อหำ ลักษณะของสื่อ องค์ประกอบของ สื่อ กำรจัดวำงตำแหน่ง ขนำด กำรกำหนดสีและพ้ืนหลัง รูปร่ำงของสื่อ ด้วยมือลงบนกระดำษ หรือ ออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์จำกโปรแกรมง่ำย ๆ ที่นักศึกษำสำมำรถใช้งำนได้อยู่แล้ว เพ่ือเป็นร่ำง นวัตกรรมสื่อ นำเสนอผลกำรออกแบบส่ือหน้ำชั้นเรียนเพ่ือให้นักศึกษำร่วมช้ันเรียนและผู้สอนได้ ร่วมกันแสดงควำมคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะและแนวทำงกำรออกแบบเพ่ิมเติม และนำเสนอผลกำร ออกแบบกับครูผู้สอนเพ่ือประเมินผลกำรออกแบบและกำรแก้ไขปรับปรุงจนได้ร่ำงแบบนวัตกรรมส่ือ ทสี่ มบูรณก์ อ่ นเข้ำสูข่ ้นั ตอนกำรพัฒนำต่อไป 3. ข้ันตอนกำรพัฒนำ (Development) นักศึกษำนำแบบร่ำงนวัตกรรมส่ือท่ีผ่ำนกำร ประเมินจำกผู้สอนและครูผู้สอนแล้วมำพัฒนำเป็นนวัตกรรมสื่อกำรสอนของจริงที่สำมำรถจับต้อง มองเห็นได้ชัดเจน แข็งแรง ทนทำน และสำมำรถใช้งำนได้จริง ด้วยวัสดุ อุปกรณ์ และเคร่ืองมือท่ีใช้ สำหรับกำรพัฒนำส่ือ ทดสอบกำรใช้งำน ประเมิน และปรับปรุงแก้ไข จนได้สื่อตำมแบบร่ำง นำเสนอ ผลกำรพัฒนำหน้ำชั้นเรียนเพ่ือให้นักศึกษำร่วมชั้นเรียนและผู้สอนได้ร่วมกันแสดงควำมคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะและแนวทำงกำรพัฒนำ กำรปรับปรุงแก้ไข และนำเสนอครูผู้สอนเพื่อประเมินผลกำร พัฒนำส่ือ ให้คำแนะนำและข้อเสนอแนะเพ่ือกำรปรับปรุงและแก้ไขส่ือ แต่ละกลุ่มปรับปรุงแก้ไขสื่อ จนสมบูรณ์พร้อมใช้งำน และทดลองใช้สื่อโดยกำรสอนจริงหน้ำชั้นเรียนโดยสมมติให้เพื่อนนักศึกษำ ในช้ันเรียนแสดงบทบำทเป็นนักเรียนตำมระดับชั้นของสื่อแต่ละกลุ่ม เพื่อเป็นกำรทดลองใช้ส่ือก่อน สอนจริงในชั้นเรยี นของนกั เรียนต่อไป โดยชั้นเรียนสมมตจิ ะต้องตอบคำถำม ซักถำม และทำกิจกรรม ตำมส่ือของแต่ละกลุ่ม จำกนั้นร่วมกันสรุปว่ำผลงำนของแต่ละกลุ่มท่ีนำเสนอควรจะปรับปรุงอะไร เพ่ิมเตมิ หรอื ไม่ และให้แตล่ ะกล่มุ ปรบั ปรุงงำนอกี ครั้งจนสมบรู ณพ์ ร้อมใชง้ ำนมำกทส่ี ุด

132 4. ข้ันตอนกำรนำไปใช้ (Implementation) นักศึกษำนำนวัตกรรมสื่อท่ีปรับปรุง แก้ไข จนสมบูรณ์แล้วไปใช้สอนจริงกับนักเรียนในโรงเรียนเป้ำหมำยที่กำหนดไว้ตั้งแต่ขั้นตอนกำรวิเครำะห์ โดยมคี รูประจำวิชำคอยสังเกตกำรสอนและใหค้ วำมช่วยเหลอื ให้กรณีท่เี กดิ ปัญหำในขณะใชส้ ่ือ 5. ข้ันตอนกำรประเมินผล (Evaluation) กำรพัฒนำส่ือกำรเรียนรู้ตำม ADDIE Model สำมำรถประเมินได้ตลอดทุกขั้นตอน ประกอบด้วย 1) กำรประเมินระหว่ำงกำรพัฒนำ (Formative Evaluation) เพื่อให้กำรพัฒนำส่ือเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพและเป็นส่อื ท่ีมีคุณภำพสำมำรถนำไปใช้ ประกอบกำรสอนได้จริง กำรประเมินผลกำรพัฒนำสื่อ ต้ังแต่ขน้ั ตอนกำรวิเครำะห์ กำรออกแบบ และ กำรพัฒนำ ประกอบด้วย กำรประเมินเพ่ือพิจำรณำข้อบกพร่อง จุดอ่อนเพื่อกำรปรับปรุง แก้ไขให้มี ประสิทธิภำพมำกย่ิงขึ้น (ณมน จีรังสุวรรณ, 2555) จำกสมำชิกของกลุ่ม ผู้สอน และนักศึกษำร่วมชั้น เรียน ด้วยกำรใหแ้ ตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลข้อมลู หน้ำชั้นเรียนทุก ๆ ขน้ั ตอน เพือ่ ใหน้ กั ศึกษำร่วมชัน้ เรียน และผู้สอนได้ร่วมกันแสดงควำมคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ และแนวทำงกำรพัฒนำเพิ่มเติม และทุก ข้ันตอนของกำรพัฒนำสื่อจะต้องนำเสนอข้อมูลกับครูผู้สอนเพื่อให้ข้อเสนอแนะ แนะนำเพ่ิมเติมเพื่อ แก้ไขปรับปรุงจนได้สื่อท่ีสมบูรณ์ และครูผู้สอนควรจะเป็นผู้ประเมินส่ือในขั้นตอนกำรนำส่ือไปใช้จริง ในช้ันเรียนด้วยแบบประเมินส่ืออีกด้วย สรุปได้ว่ำผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับกำรพัฒนำส่ือ ประกอบด้วย สมำชิกของกลุ่ม ผู้สอน นักศึกษำร่วมชั้นเรียน ครูผู้สอน และนักเรียนแต่ละห้อง เป็นผู้ท่ีมีส่วนร่วมใน กำรประเมินกำรพัฒนำส่ือส่ือเกือบทุกขั้นตอน ทั้งโดยกำรประเมินทำงตรงและกำรประเมินทำงอ้อม ทงั้ นีน้ อกจำกกำรประเมินเพ่ือพัฒนำสื่อแลว้ ยังรวมถึงกำรประเมินนักเรยี นกลุ่มเป้ำหมำยต้ังแต่ก่อนใช้ สื่อ ระหว่ำงใช้สื่อ และหลังใช้สื่อว่ำนักเรียนได้รับควำมรู้ ควำมเข้ำใจจำกกำรใช้ส่ือประกอบกำรสอน และสำมำรถนำควำมรู้ไปใช้ได้มำกน้อยแค่ไหนอกี ดว้ ย และ 2) กำรประเมนิ เพ่อื สรปุ ผล (Summative Evaluation) ซ่ึงเป็นกำรหลังจำกจบกิจกรรมกำรพัฒนำนวัตกรรมสื่อ โดยผู้สอนและนักศึกษำแต่ละ กลุ่มร่วมกันประเมินสรุปภำพรวมเพ่ือกำรรวบรวม วิเครำะห์ และหำข้อสรุปของกำรพัฒนำส่ือจำกส่ิง ที่นกั ศึกษำได้รับจำกกำรทำกิจกรรมกำรพฒั นำส่ือดว้ ย ADDIE Model เพอ่ื กำรปรบั ปรุง แกไ้ ขกำรทำ ส่ือของนักศึกษำ และปรับปรุงกำรจัดกำรเรียนกำรสอนของผู้สอนในโอกำสต่อไป สรุปกิจกรรมกำร พฒั นำนวตั กรรมสอื่ ดงั ตำรำงที่ 7.2

236 ตารางที่ 7.2 สรุปหลกั กำรออกแบบและพัฒนำส่อื กำรสอนตำมแบบจำลอง ADDIE ขั้นตอนการพัฒนาสอื่ กจิ กรรมที่ 1 กจิ กรรมที่ 2 กิจกรรมท่ี 3 กิจกรรมท่ี 4 นำเสนอและรบั ฟังกำรวพิ ำกษ์ ขั้นตอนการวเิ คราะห์ ศกึ ษำ ค้นคว้ำข้อมูลส่ือจำก สรปุ ผลกำรวเิ ครำะหข์ ้อมูลสำหรบั นำเสนอและรบั ฟงั กำรวิพำกษ์ ขอ้ เสนอแนะ แนวคดิ และกำร ตอบคำถำมกับครู และปรับปรุง (Analysis) หนงั สอื เอกสำร บทควำม กำรออกแบบสอื่ ประกอบดว้ ย ขอ้ เสนอแนะ แนวคิดและกำร ขอ้ มลู ผลกำรวิเครำะห์ อินเทอร์เน็ต โรงเรียน นักเรียน ผเู้ รยี น พนื้ ฐำนควำมรู้ ควำมสนใจ ตอบคำถำมหน้ำชน้ั เรียนจำก - และครู เพ่ือวเิ ครำะห์ขอ้ มลู จดุ มุ่งหมำยหรอื เป้ำหมำยของกำร ผู้สอนและนักศึกษำรว่ มชนั้ เรียน ทดลองใช้สือ่ โดยกำรสอนจรงิ หนำ้ ชน้ั เรยี น กำรตอบคำถำม สำหรบั กำรออกแบบและพฒั นำ พัฒนำสอื่ เน้ือหำท่ตี ้องกำรสรำ้ งส่ือ และปรับปรุงขอ้ มลู ผลกำร กำรซกั ถำม กำรทำกิจกรรมตำม สอ่ื กำรเตรยี มพร้อมกำรสอน สือ่ ท่ีเหมำะสมสำหรับนักเรียน ควำมจำเปน็ ควำมเปน็ ไปได้ และ วิเครำะห์ กำรประเมนิ และปรบั ปรุงแก้ไข ปญั หำและอุปสรรคทีค่ ำดวำ่ จะ จนไดผ้ ลกำรวิเครำะห์ตำมที่เก็บ เกดิ ขน้ึ รวบรวมข้อมลู โดยสมำชิกรว่ มทีม ขนั้ ตอนการออกแบบ ออกแบบ (รำ่ ง) ส่ือตำมผลกำร นำเสนอและรับฟงั กำรวิพำกษ์ นำเสนอและรับฟงั กำรวิพำกษ์ 133 (Design) วเิ ครำะห์ เนือ้ หำ ลักษณะของ ข้อเสนอแนะ แนวคดิ และกำรตอบ ขอ้ เสนอแนะ แนวคิดและกำร ส่อื องค์ประกอบของสอ่ื กำรจดั คำถำมหน้ำชนั้ เรยี นจำกผ้สู อนและ ตอบคำถำมกับครู และปรับปรงุ วำงตำแหนง่ ขนำด กำรกำหนด นักศึกษำรว่ มชน้ั เรยี น และปรับปรุง ข้อมูลผลกำรออกแบบ สแี ละพน้ื หลัง รปู ร่ำงของสอ่ื ขอ้ มลู ผลกำรออกแบบ ดว้ ยมอื ลงบนกระดำษหรือ ออกแบบด้วยคอมพวิ เตอร์ กำร ประเมนิ และปรับปรุงแก้ไข จนได้ร่ำงสอ่ื โดยสมำชกิ รว่ มทีม ข้ันตอนการพฒั นา พัฒนำตน้ แบบสือ่ ของจรงิ ตำมที่ นำเสนอและรบั ฟงั กำรวิพำกษ์ นำเสนอและรับฟงั กำรวพิ ำกษ์ (Development) ออกแบบดว้ ยวสั ดุ อุปกรณ์ ข้อเสนอแนะ แนวคิดและกำรตอบ ข้อเสนอแนะ แนวคิดและกำร และเคร่ืองมือที่ใช้สำหรบั กำร คำถำมหน้ำชั้นเรยี นจำกผูส้ อนและ ตอบคำถำมกับครู และปรับปรุง พัฒนำส่อื พนื้ ฐำน ทดสอบกำร ตน้ แบบส่ือจนสมบูรณ์พร้อมใช้

237 ขัน้ ตอนการพฒั นาสือ่ กจิ กรรมท่ี 1 กจิ กรรมท่ี 2 กิจกรรมท่ี 3 กจิ กรรมท่ี 4 กำรสรุปผลกำรทดลองใชส้ ื่อ ข้นั ตอนการนาไปใช้ ใชง้ ำน ประเมิน และปรบั ปรุง นักศึกษำร่วมชน้ั เรียน และปรบั ปรงุ กำรปรบั ปรุง แก้ไข (Implementation) แก้ไข จนไดต้ น้ แบบส่อื ตำมท่ี ตน้ แบบสอื่ ต้องกำร - ขั้นตอนการประเมินผล รับฟังกำรวิพำกษ์ ขอ้ เสนอแนะ นำเสนอผลกำรนำสอ่ื ไปใชใ้ น (Evaluation) นำสอื่ ไปใชจ้ รงิ กบั นักเรยี น และแนวคิดจำกครเู พ่อื กำรปรบั ปรงุ โรงเรียน - โรงเรยี นเปำ้ หมำย โดยมคี รู แกไ้ ข ขอ้ เสนอแนะจำกครู ปัญหำและ ประจำวชิ ำคอยสงั เกตกำรสอน และใหค้ วำมช่วยเหลือให้กรณที ่ี อุปสรรค แนวทำงแก้ไขปญั หำท่ี เกิดปญั หำในขณะทำกำรใชส้ อ่ื เกดิ ขึน้ กำรสอนหน้ำชนั้ เรียน กำรประเมินเพือ่ สรปุ ผล - 134 - (Summative Evaluation) หลงั จบกิจกรรมทง้ั หมด โดยผู้สอนและ นกั ศึกษำแตล่ ะทีมรว่ มกนั สรปุ เพือ่ รวบรวม วิเครำะห์ และหำข้อสรุป จำกกิจกรรมกำรพัฒนำส่อื เพื่อ ปรับปรุง แกไ้ ข และปรบั ปรุงกำร จดั กำรเรยี นกำรสอนในโอกำส ต่อไป

135 จำกตำรำงที่ 7.2 เห็นได้ว่ำกำรออกแบบและพัฒนำนวัตกรรมส่ือกำรสอนตำม แบบจำลอง ADDIE สำหรับนักศึกษำครูเป็นกำรเรียนรู้เชิงรุก เนื่องจำกนักศึกษำครูมีโอกำสได้ฟัง พูด อ่ำน เขียน และแสดงควำมคิดเห็นขณะลงมือทำออกแบบและพัฒนำนวัตกรรมสื่อ และใน ขณะเดียวกันผู้เรียนต้องใช้กระบวนกำรคิดโดยเฉพำะกระบวนกำรคิดข้ันสูง คือ กำรวิเครำะห์ กำร สังเครำะห์ และกำรประเมินค่ำ ในส่ิงท่ีกำลังกระทำอยู่ และนักศึกษำครูจะเป็นผู้สร้ำงควำมรู้ด้วย ตนเองอย่ำงกระตือรือร้นตำมที่ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และ พเยำว์ ยินดีสุข (2560) ได้กล่ำวไว้ และ ตำรำงท่ี 7.3 คือทักษะและผลกำรเรียนรู้ที่นักศึกษำครูได้รับจำกกำรพัฒนำนวตั กรรมส่ือกำรสอนดว้ ย แบบจำลอง ADDIE ของนักศึกษำครูซ่ึงสอดคล้องกับทักษะผู้เรียนสำหรับศตวรรษท่ี 21 และผลกำร เรยี นรู้ตำมกรอบมำตรฐำนคุณวุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษำ ตารางท่ี 7.3 ทักษะและผลกำรเรยี นรจู้ ำกกำรพฒั นำส่อื กำรสอนด้วยแบบจำลอง ADDIE ประเดน็ ทักษะและผลการเรียนรู้ ทักษะผูเ้ รียน กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ สาหรับศตวรรษที่ 21 ระดับอดุ มศึกษา กำรเรียนรู้และกำรพฒั นำนวัตกรรม  ควำมคดิ ริเรมิ่ สรำ้ งสรรค์  กำรแกป้ ัญหำท่เี กิดขึน้ อยำ่ งมีวิจำรณญำณ   กำรทำงำนเป็นทมี และกำรส่อื สำรกับผ้อู ่นื   ทกั ษะกำรเลือกและใช้ข้อมลู สำรสนเทศ สื่อ   และเทคโนโลยสี ำรสนเทศ ทกั ษะดำ้ นกำรใชช้ ีวติ และประกอบอำชีพ   ภำวะกำรเป็นผนู้ ำและผู้ตำม  ควำมรับผิดชอบตอ่ ตนเองและต่อทมี  กำรปรับตวั เขำ้ กบั สิง่ แวดลอ้ มของสงั คม   ควำมรู้ ควำมเขำ้ ใจ และกำรนำเสนอขอ้ มลู   กำรเรียนรู้ดว้ ยตนเอง  สรปุ หลักกำรออกแบบและกำรพัฒนำนวัตกรรมสื่อกำรสอนสำหรับนักศึกษำครูเพื่อส่งเสริม กำรเรียนรู้เชิงรุก กำรเรียนรู้ที่ผู้เรียนสร้ำงควำมรู้ด้วยตนเองผ่ำนกำรคิด กำรลงมือปฏิบัติ และกำร เรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้กระบวนกำรของแบบจำลอง ADDIE แบบจำลองสำหรับกำร ออกแบบและพัฒนำนวัตกรรมสื่อ ประกอบด้วย กำรวิเครำะห์ (Analysis) กำรออกแบบ (Design) กำรพัฒนำ (Development) กำรนำไปใช้ (Implementation) และกำรประเมินผล (Evaluation) แบบจำลอง ADDIE เป็นแบบจำลองท่ีมีควำมยืดหยุ่น สำมำรถนำมำประยุกต์ใช้กับกำรออกแบบกำร เรยี นกำรสอนได้ง่ำย เหมำะสำหรบั กำรนำมำใช้เพือ่ ให้กำรออกแบบกำรสอนให้เกิดประสิทธิภำพสูงสุด

136 ตรงตำมวัตถุประสงค์กำรเรียนรู้ที่กำหนดไว้ และตอบสนองกับศักยภำพกำรเรียนรู้ของผู้เรียน โดยผู้สอนสำมำรถใช้จัดกำรเรียนรู้แก่นักศึกษำครู เพื่อเป็นกำรเตรียมนักศึกษำครูให้มีทักษะชีวิตใน ศตวรรษท่ี 21 และมีผลกำรเรยี นรูต้ ำมกรอบคณุ วฒุ ริ ะดบั อุดมศกึ ษำของประเทศไทย ชว่ ยให้นักศกึ ษำ ครูสำมำรถสร้ำงควำมรู้ด้วยตนเองผำ่ นกำรคิด กำรวเิ ครำะห์ กำรลงมือปฏิบัติ กำรนำเสนอ กำรรับฟัง ข้อเสนอแนะ แนวคิด กำรตอบและกำรถำมคำถำม กำรประเมิน กำรปรับปรุงข้อมูลเพื่อพัฒนำ นวัตกรรมสื่อกำรสอนให้มีคุณภำพเหมำะกับผู้เรียน และกำรทำงำนเป็นทีม เป็นกำรเรียนรู้เชิงรุก ทเี่ น้นนักศึกษำครเู ป็นสำคญั แบบฝกึ หัด 1. แบบจำลองสำหรบั กำรพัฒนำสื่อกำรสอนคอื อะไร จงอธบิ ำย 2. แบบจำลองสำหรับกำรพัฒนำส่ือกำรสอนช่วยให้ผู้สอนออกแบบและพัฒนำสื่อกำร สอนรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ ำพมำกขน้ึ นกั ศกึ ษำเหน็ ด้วยหรอื ไม่ เพรำะเหตใุ ด 3. จงอธิบำยบทบำทของผู้สอนกับบทบำทของผู้เรียนเพ่ือแสดงให้เห็นว่ำมีกำรจัดกำร เรยี นรเู้ ชิงรุก (Active Learning) 4. จงอธบิ ำยท่มี ำของแนวคดิ ของแบบจำลองสำหรบั กำรพัฒนำส่ือกำรสอน ADDIE 5. จำลองสำหรับกำรพัฒนำส่ือกำรสอน ADDIE ประกอบด้วยก่ีข้ันตอน อะไรบ้ำง จงอธบิ ำย 6. ให้นักศึกษำอธิบำยกำรออกแบบและพัฒนำส่ือกำรสอนตำมลำดับขั้นของแบบจำลอง สำหรบั กำรพัฒนำสอื่ กำรสอน ADDIE 7. ตำมแนวคิดกำรออกแบบและพัฒนำส่ือกำรสอนตำมแบบจำลองสำหรับกำรพัฒนำ สื่อกำรสอน ADDIE นกั ศกึ ษำคิดว่ำขัน้ ตอนใดมคี วำมสำคัญท่สี ดุ เพรำะเหตใุ ด 8. ทักษะและผลกำรเรียนรู้จำกกำรพัฒนำสื่อกำรสอนด้วยแบบจำลอง ADDIE ที่ผู้เรียน จะได้รบั ได้แก่อะไรบ้ำง 9. นักศึกษำคดิ ว่ำเพรำะเหตุใดแบบจำลองสำหรับกำรพัฒนำสือ่ กำรสอน ADDIE จึงทำให้ ผู้เรยี นเกิดทกั ษะกำรทำงำนเป็นทมี และกำรสือ่ สำรกับผู้อ่นื 10. ด้วยควำมสำมำรถของ ADDIE นักศึกษำสำมำรถนำไปประยุกต์ใช้สำหรับทำอะไรได้ อกี บำ้ ง จงอธิบำยพร้อมยกตวั อยำ่ งประกอบ

137 เอกสารอ้างองิ กิดำนนั ท์ มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีและการสอื่ สารเพื่อการศึกษา. กรงุ เทพฯ: อรณุ กำรพิมพ.์ ทศิ นำ แขมมณ.ี (2550). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพ่ือการจัดการกระบวนการเรียนรู้ท่ีมี ประสิทธภิ าพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แหง่ จุฬำลงกรณม์ หำวิทยำลัย. จินตวรี ์ คลำ้ ยสงั ข์ และประกอบ กรณีกจิ . (2559). การออกแบบเวบ็ เพ่ือการเรยี นการสอน แนวทางการประยกุ ต์ใช้สาหรบั การเรยี นแบบผสมผสาน อีเลริ น์ นิง และออนไลน์เลริ น์ นิง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬำลงกรณม์ หำวทิ ยำลยั . จินตวรี ์ คลำ้ ยสังข.์ (2560). การผลติ และการใช้ส่ืออยา่ งเป็นระบบเพื่อการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ: สำนกั พิมพ์แห่งจฬุ ำลงกรณม์ หำวิทยำลยั . ณมน จีรงั สวุ รรณ. (2555). หลักการออกแบบและการประเมนิ . กรงุ เทพฯ: ศูนย์ผลิตตำรำเรียน มหำวิทยำลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้ำพระนครเหนือ. เนำวนติ ย์ สงครำม. (2557). กำรสรำ้ งนวตั กรรม เปลีย่ นผ้เู รยี นใหเ้ ปน็ ผ้สู ร้ำงนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพแ์ หง่ จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย. ปริญญำ เทวำนฤมิตรกุล. (2560). เทคนคิ การสอนแบบ Active Learning, เอกสารประกอบการ บรรยายโครงการอบรมเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพอาจารย์มหาวิทยาลยั สวนดุสิต. มหำวิทยำลยั ธรรมศำสตร.์ พมิ พันธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยำว์ ยนิ ดสี ุข. (2560). ทักษะ 7C ของครยู ุค 4.0. กรงุ เทพฯ: สำนกั พิมพ์ แห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลยั . พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยำว์ ยินดสี ขุ . (2560). สอนเด็กทาโครงงาน สอนอาจารย์ทาวิจัยปฏบิ ตั ิการ ในชน้ั เรียนแนวทางสร้างคนไทย 4.0. กรุงเทพฯ: สำนกั พมิ พ์แหง่ จุฬำลงกรณ มหำวทิ ยำลัย. วิจำรณ์ พำนิช. (2556). ครูเพ่ือศษิ ยส์ รา้ งห้องเรียนกลบั ทาง. สงขลำ: บรษิ ทั เอส.อำร์.พร้ินติ้ง แมส โปรดกั ส์. วจิ ำรณ์ พำนชิ . (ม.ป.ป.). การสรา้ งการเรยี นรู้สู่ศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ: มลู นธิ ิสยำมกัมมำจล. วัชรพล วิบลู ยศรนิ . (2557). หลกั กำรออกแบบกำรสอนบนเว็บตำมแบบจำลอง ADDIE เพ่ือกำรสอน สนทนำภำษำไทยเบือ้ งตน้ สำหรบั ชำวต่ำงชำติ. วารสารวารสารศรีนครินทรวโิ รฒวจิ ัยและ พัฒนา (สาขามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์). 6(12) กรกฎำคม – ธนั วำคม 2557. สำนกั งำนรฐั บำลอเิ ล็กทรอนิกส์. (2560). (ร่าง) แผนพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั ของประเทศไทย พ.ศ. 2560- 2564. กรงุ เทพฯ: โบลลิเกอร์ แอนด์ คอมพำน.ี สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอดุ มศึกษำ. (2552). ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษาเร่อื งแนว ทางการปฏิบัตตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดับอดุ มศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552. Retrieved June 11, 2017, http://www.mua.go.th/users/tqfhed/news/ FilesNews/FilesNews3/News328072552.pdf

138 Branson, R.K. (1975). Interservice procedures for instructional systems development: Executive summary and model. Tallahassee, FL: Center for Educational Technology, Florida State University. (National Technical Information Service). Document Nos. AD-A019 486 to AD-A019490). Department of the Army. (2011). Army Learning Policy and Systems. TRADOC Regulation 350-70. McGriff, Steven J. (2000). Instructional System Design (ISD): Using the ADDIE Model. Instructional Systems, College of Education, Penn State University. Partnership for 21st Century Learning. (2007). Framework for 21st Century Learning. P21 Partnership for 21st Century Learning. Retrieved June 11, 2017, http://www.p21.org/about-us/p21-framework

139 แผนการสอนประจาสัปดาห์ท่ี 8 หวั ขอ้ เร่อื ง การสรา้ งและนาเสนอสอื่ การสอนดว้ ยโปรแกรมสาเรจ็ รปู รายละเอียด การสร้างและนาเสนอส่ือการสอนด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป ประกอบด้วยเน้ือหาเก่ียวกับ การนาเสนอที่มีประสิทธิภาพ แนะนา Microsoft PowerPoint ส่วนประกอบและการใช้ Microsoft PowerPoint ปฏิบัติการสร้างสื่อสาหรับนาเสนอด้วย Microsoft PowerPoint และการจัดทาไฟล์ สาหรับการนาเสนอ จานวนชว่ั โมงท่สี อน 4 ช่วั โมง กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. นักศึกษาทดสอบกอ่ นเรยี น 2. ผู้สอนบรรยายด้วย PPT ถามตอบและอภปิ รายร่วมกบั ผู้เรยี น 3. เอกสารคาสอนสัปดาห์ท่ี 8 4. แบบฝึกหัดท้ายบทเรยี น 5. ฝกึ ปฏิบตั กิ ารใช้ Microsoft PowerPoint เพือ่ ผลติ และนาเสนอส่ือเพ่ือการศึกษา 6. พฒั นาส่ือตาม Storyboard ท่ีไดอ้ อกแบบไว้ (Development) ส่อื การสอน 1. แผนการสอนประจาสัปดาห์ท่ี 8 2. พาวเวอร์พอยทส์ ปั ดาหท์ ี่ 8 3. อนิ เทอร์เนต็ และ Line 4. โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ Microsoft PowerPoint 5. แบบฝึกหดั ทบทวนประจาสปั ดาห์ แผนการประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 นักศึกษาสามารถอธิบายเก่ียวกับการนาเสนอที่มีประสิทธิภาพ แนะนา Microsoft PowerPoint ส่วนประกอบและการใช้ Microsoft PowerPoint ปฏิบัติการสร้างส่ือ สาหรบั นาเสนอดว้ ย Microsoft PowerPoint และการจัดทาไฟล์สาหรบั การนาเสนอ 1.2 นักศึกษาสามารถใช้ Microsoft PowerPoint สร้างงานสาหรับนาเสนอ ส่ือ สาหรบั นาเสนอด้วย และจัดทาไฟลส์ าหรับการนาเสนอ

140 2. วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ 2.1 สังเกตจากการตอบคาถาม และการแสดงความคดิ เห็นในช้นั เรียน 2.2 การใช้ Microsoft PowerPoint สร้างงานสาหรบั นาเสนอ และจัดทาไฟลส์ าหรับ การนาเสนอ 2.3 สงั เกตพฤตกิ รรม ความกระตอื รอื ร้นในการทากจิ กรรม 2.4 คะแนนแบบฝกึ หัดทบทวนประจาสัปดาห์ 3. สัดส่วนของการประเมิน 3.1 อธิบายเกี่ยวการนาเสนอที่มีประสิทธิภาพ แนะนา Microsoft PowerPoint สว่ นประกอบและการใช้ Microsoft PowerPoint ปฏิบตั กิ ารสร้างสือ่ สาหรับนาเสนอด้วย Microsoft PowerPoint และการจดั ทาไฟล์สาหรับการนาเสนอจานวน 10 คะแนน 3.2 การใช้ Microsoft PowerPoint สร้างงานสาหรบั นาเสนอ และจัดทาไฟลส์ าหรับ การนาเสนอ จานวน 10 คะแนน เนือ้ หาที่สอน การนาเสนอ หรอื Presentation เปน็ การสอ่ื สารขอ้ มูลในชีวติ ประจาวันของมนษุ ย์เพ่ือให้ ผู้นาเสนอและผู้รับสาร หรือผู้อื่นมีความเข้าใจถูกต้องและตรงกันกับที่ผู้นาเสนอต้องการจะสื่อสาร ออกไป อาจไม่จาเป็นต้องใช้เคร่ืองมือประกอบการนาเสนอหรือสื่อสารเลยก็ได้ เช่น การแสดงออก ทางวาจา สหี นา้ ทา่ ทาง และทางแววตา เป็นตน้ และอาจจาเปน็ ต้องใชเ้ ครื่องมอื ประกอบการนาเสนอ หรือสื่อสาร เช่น การส่งสัญญาณไฟ การใช้พลุ สัญลักษณ์ รูปภาพ รวมไปถึงการใช้เครื่องมือและ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ท้ังน้ีขึ้นอยู่กับ สภาพแวดล้อมและผู้ฟังหรือผู้รับสาร ซ่ึงได้กล่าวถึงองค์ประกอบของการสื่อสารแล้วในบทเรียนก่อน หน้าวา่ ประกอบไปด้วย ผสู้ ง่ หรอื ผนู้ าเสนอ ส่ือประกอบการนาเสนอ และผู้ฟังหรอื ผูร้ ับสาร สาหรับในบทเรียนน้ีจะกล่าวถึงองค์ประกอบท่ีสาคัญเพียงองค์ประกอบเดียวของการ ส่ือสารหรือการนาเสนอ คือส่ือประกอบการนาเสนอไปยังผู้ฟังในกรณีที่จาเป็นจะต้องใช้สื่อ ประกอบการนาเสนอ อาจจะเป็นการนาเสนอเพื่อการสอื่ สารระหวา่ งคนสองคน และคนมากกว่าสอง คนข้ึนไป เช่น ห้องเรียน ห้องประชุมขนาดเล็ก ห้องประชุมขนาดใหญ่ เป็นต้น เนื่องจากการสื่อสาร ด้วยการใช้ส่ือประกอบการนาเสนอช่วยให้ผู้รับสารหรือฟังมีความเข้าใจและเห็นภาพตรงกันกับ จดุ ประสงคห์ รือจุดมงุ่ หมายของการนาเสนอของผู้นาเสนอ ดังประโยคที่กล่าวว่า “ภาพเพียงภาพเดียว สามารถใช้แทนคาพูดได้เป็นพันคา” ซ่ึงหากใช้รูปภาพแทนตัวหนังสือจะพบว่าคนสามารถมองเห็น และเข้าใจรูปภาพเร็วกว่าตัวหนังสือ 60,000 เท่า และหากถามเนื้อหาความรู้ท่ีได้รับฟังจากการ บรรยายด้วยสไลด์ 3 วันยอ้ นหลัง จะพบวา่ ผู้ฟังจาเน้อื หาที่มีแต่เนื้อหาไดเ้ พียง 10 เปอร์เซน็ ต์ ในขณะ ท่ีจารปู ภาพไดม้ ากถึง 65 เปอร์เซ็นต์ (สธุ าพร พ่มุ เรือง, 2561) สื่อประกอบการนาเสนอที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน จาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องเป็นสื่อท่ี เป็นท้ังข้อความ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และเวลา ท่ีชวนติดตามและเร้าความสนใจต่อผู้ฟัง ซ่ึงงานนาเสนอที่ผู้นาเสนอและผู้รับฟังการนาเสนอให้ความสนใจและได้รับความนิยมเป็นอย่างดี คือ

141 การนาเสนอดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Microsoft PowerPoint เน่ืองจากเปน็ โปรแกรมที่ใช้งานง่าย สนับสนุนมัลติมีเดียได้อย่างดี สามารถนาไปประยุกต์ใช้งานได้หลากหลาย แสดงผลได้ท้ังบนหน้าจอ และเอกสาร และสามารถบันทึกไฟล์ไปใช้งานได้หลายรูปแบบ ซึ่งในบทเรียนน้ีผู้เรียนจะได้เรียนรู้ เกี่ยวกับการนาเสนอท่ีมีประสิทธิภาพ แนะนา Microsoft PowerPoint ส่วนประกอบและการใช้ Microsoft PowerPoint ปฏิบัติการสร้างสื่อสาหรับนาเสนอด้วย Microsoft PowerPoint และการ จัดทาไฟลส์ าหรบั การนาเสนอ การนาเสนอทม่ี ีประสิทธิภาพ การนาเสนอข้อมูลจากผู้นาเสนอสู่ผู้ฟังเปรียบเสมือนแม่ครัวที่ทาอาหารดี ๆ สักจานหนึ่ง ให้ลูกค้ารับประทาน ไม่ใช่เพียงแค่ปรุงอาหารและตักใส่จานส่งให้ลูกค้าเท่าน้ัน แต่สีสัน การจัดวาง และการตกแต่งของอาหารนั้นจะต้องน่ารับประทานด้วย แม้อาหารนั้นจะเป็นอาหารแบบธรรมดา ๆ ก็ตาม เป็นการสรา้ งความพึงพอใจและความประทับใจแกล่ ูกค้า และเพิม่ มลู ค่าให้กบั อาหารจานนนั้ ๆ และจะต้องไม่ลืมคานึงถึงความอร่อยและประโยชน์ที่ลูกค้าจะได้รับเป็นสาคัญ เช่นเดียวกับการไม่ลืม แกน่ สารของขอ้ มลู ทน่ี าเสนอ จงึ จะทาใหก้ ารนาเสนอมีประสิทธภิ าพ ภาพท่ี 8.1 การนาเสนอข้อมูลท่ีมีประสิทธภิ าพเปรียบเสมือนอาหารท่ีนา่ รับประทานและมีประโยชน์

142 ภาพที่ 8.2 การนาเสนอข้อมูลทมี่ ีประสทิ ธิภาพเปรียบเสมือนอาหารท่นี า่ รบั ประทานและมปี ระโยชน์ ถึงแม้ในความเป็นจริงแล้วผู้ท่ีมีความสาคัญที่สุดในการนาเสนอคือตัวผู้นาเสนอน่ันเอง เนื่องจากผู้ฟังให้ความสนใจเข้าร่วมฟังก็เน่ืองจากอยากได้รับแก่นแท้ของข้อมูลหรือความรู้จากผู้ นาเสนอที่เข้าถึงผู้ฟัง แก้ปัญหาของผู้ฟัง และพาผู้ฟังไปสู่ส่ิงที่ดีกว่า (สุธาพร พุ่มเรือง, 2561) ส่วนประกอบอ่ืนไม่ว่าจะเป็นสื่อ วัสดุ อุปกรณ์สาหรับการนาเสนอ เป็นต้น เป็นเพียงตัวช่วยให้การ นาเสนอมีความน่าสนใจและเพิ่มความเข้าใจให้กับผู้ฟังมากยิ่งขึ้น แต่สื่อประกอบการนาเสนอก็ขาด ไม่ไดเ้ นือ่ งจากอาจชว่ ยให้การนาเสนอมีประสิทธิภาพมากย่ิงขน้ึ หากสื่อสาหรบั การนาเสนอน้นั นา่ สนใจ มากพอ การนาเสนอท่ีมีประสิทธิภาพ จาเป็นจะต้องเตรียมความพร้อม 4 ส่วน ประกอบด้วย การเตรียมความพร้อมของข้อมูล การเตรียมความพร้อมของสื่อสาหรับนาเสนอ การเตรียมความ พร้อมของผู้นาเสนอ และการเตรียมความพร้อมผฟู้ ัง แต่สาหรับในบทเรียนน้ีจะได้นาเสนอเฉพาะการ เตรียมความพร้อมของส่ือสาหรับนาเสนอด้วย Microsoft PowerPoint เท่านั้น เนื่องจากเป็น โปรแกรมที่ถูกใช้งานและได้รับความนิยมมาอย่างยาวนาน เหตุผลที่ผู้นาเสนอส่วนใหญ่ยังคงใช้ Microsoft PowerPoint สาหรบั นาเสนอ เน่ืองจากเปน็ โปรแกรมทพ่ี บเหน็ ไดท้ ่วั ไป ใชง้ านง่าย รองรบั การทางานในระบบออนไลน์ และออฟไลน์ มีเครอ่ื งมอื ใหใ้ ชง้ านจานวนมาก และท่ีสาคัญมแี หลง่ ข้อมูล ให้นามาประกอบการใช้งาน และแหลง่ เรียนรูก้ ารใชง้ านโปรแกรมจานวนมาก ผ้นู าเสนอสามารถนามา ประยกุ ตใ์ ห้เขา้ กบั บริบทการนาเสนอของตนเองได้ ถึงแม้ว่าผู้นาเสนอจะมีความสาคัญและมีบทบาทมาที่สุดในการนาเสนอ แต่อย่างไรก็ตาม ผู้นาเสนอจานวนมากรู้สึกสบายใจและสามารถนาเสนอได้อย่างราบร่ืนมากกว่าหากมีส่ือประกอบการ นาเสนอ อาจเนื่องมาจากเปน็ มอื ใหม่ตอ่ การนาเสนอ กลัวจะจาข้อมลู ในการนาเสนอไมไ่ ด้ทง้ั หมด และ ท่ีสาคัญเป็นความต้องการของผู้ฟัง เน่ืองจากผู้ฟังส่วนมากมักจะเรียกร้องเอกสารประกอบการ

143 นาเสนอจากผู้นาเสนอ และอยเู่ สมอ เนื่องจากเชื่อว่าหากมีเอกสารประกอบการอบรมแล้วทาให้ม่ันใจ มากยิ่งขึ้นว่าจะไม่พลาดข้อมูลสาคัญจากผู้นาเสนอ แต่มีจานวนไม่น้อยที่ผู้นาเสนอทาให้ผู้ฟังผิดหวัง จากการใช้ส่ือที่สรา้ งจาก Microsoft PowerPoint ประกอบการนาเสนอ อาจเนื่องมาจากไม่สามารถ เรียกความสนใจจากผู้ฟังได้ หรือเป็นส่ือท่ีเต็มไปด้วยตัวอักษร เป็นต้น สิ่งที่ผู้ฟังต้องการเห็นในส่ือ นาเสนอจาก Microsoft PowerPoint ที่มีประสิทธิภาพ (Garr Reynolds, 2012) กล่าวไว้ว่าควร ประกอบด้วย 1. ความเรียบง่ายของสอื่ สาหรับใช้ในการนาเสนอ 2. ความสมดลุ ของการจัดวางรปู ภาพ กราฟ ขอ้ ความ และการจดั องค์ประกอบของส่ือ 3. ความชัดเจนของข้อความ รูปภาพ และประเดน็ ท่ีนาเสนอ 4. ความสวยงามของส่ือประกอบการนาเสนอ ชว่ ยดงึ ดูดผฟู้ งั ใหอ้ ย่กู ับการนาเสนอ 5. การลดทอนสงิ่ รบกวนทางสายตา หรือทางหู ทีม่ อี ยูใ่ นสื่อสาหรับการนาเสนอ 6. การใช้รูปภาพแทนขอ้ ความ 7. พน้ื ทวี่ ่างในสื่อสาหรับการนาเสนอ เปรียบเสมอื นห้องท่ีรกร้างย่อมไดร้ ับความน่าสนใจ น้อยกวา่ หอ้ งโลง่ ๆ และเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย 8. ไมพ่ ดู ตามเนอื้ หาที่อยู่ในส่อื สาหรบั นาเสนอ 9. แจกเอกสารในตอนท้ายสุดของการนาเสนอ ไม่ใช่ก่อนหรือระหว่างการนาเสนอ เนื่องจากจะทาให้ผู้ฟังไม่สนใจท่ีจะฟังผู้นาเสนอเนื่องจากกาลังยุ่งอยู่กับการอ่านข้อมูลในเอกสาร ประกอบการนาเสนอ เป็นต้น แต่ทั้งน้ีการแจกเอกสารก่อนการนาเสนอก็เป็นที่นิยม เนื่องจากผู้ฟัง อาจจะได้อ่านเพื่อเตรียมตัวมาฟังและซักถามในประเด็นท่ีสนใจ ดังน้ันการแจกหรือไม่แจกเอกสาร ขนึ้ อยู่กับการพิจารณาของผนู้ าเสนอเปน็ หลกั แนะนา Microsoft PowerPoint การนาเสนอช่วยให้ผนู้ าเสนอสามารถจัดเตรยี มขอ้ มูลลว่ งหน้าได้เป็นอย่างดี จงึ ทาให้ไดร้ ับ ความเช่ือถือจากผู้ชม รวมท้ังเพิ่มความกระตือรือร้นในการรับชม และสามารถควบคุมเวลาในการ นาเสนอได้ การนาเสนอด้วย Microsoft PowerPoint จึงนิยมนาไปใช้ในงานด้านต่าง ๆ เช่น งาน นาเสนอแผนงาน งานนาเสนอข้อมูลการขาย การให้ความรู้ทางการศึกษา การประชาสัมพันธ์ การ วางแผนธรุ กิจ เปน็ ต้น ซคั เซสมีเดยี (2550) ได้กลา่ วถงึ เหตผุ ลท่ีควรเลือกใช้ Microsoft PowerPoint ไวด้ ังน้ี 1. ทันสมยั เป็นท่นี ิยม และใชง้ านง่าย Microsoft PowerPoint เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีใช้สาหรับการนาเสนอข้อมูลสู่ผู้ฟัง ท่ีเป็นที่นิยมและใช้งานง่าย เน่ืองจากมีติดต้ังอยู่แล้วในคอมพิวเตอร์แล้วเกือบทุกเคร่ือง สามารถ เรยี กใช้งานได้ทนั ที และย่งิ สะดวกมากข้นึ เมื่อ Microsoft PowerPoint สนับสนนุ การใช้งานออนไลน์ ผ่านทาง Microsoft Office 365 สาหรับนกั ศกึ ษาของมหาวิทยาลยั สวนดุสิตสามารถเข้าใชง้ านได้ทาง http://arit.dusit.ac.th/2019/officeonline.html โดยใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรืออีเมลของ มหาวิทยาลัยท่ลี งทา้ ยดว้ ย @mail.dusit.ac.th เช่น [email protected]

144 ภาพที่ 8.3 Microsoft PowerPoint แบบออนไลน์ หรือ Microsoft Office 365 2. มเี คร่ืองมอื ทสี่ นับสนุนการใชง้ านร่วมกับมัลติมีเดีย Microsoft PowerPoint มีเคร่ืองมือที่สนับสนุนการใช้งานร่วมกับข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสียง และเวลา รวมกันเรยี กว่ามัลติมเี ดยี ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ทาใหส้ ่อื ประกอบการนาเสนอ น่าสนใจ ดึงดูดผู้ฟัง และช่วยให้เข้าถึงและเข้าใจขอบเขตของเนื้อหาที่เข้าใจยากให้เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น รวมทัง้ สามารถนาเสนอขอ้ มูลของสิง่ ทเ่ี ป็นนามธรรมหรือสิ่งที่ไม่สามารถเขา้ ถึงไดโ้ ดยตรงเนอ่ื งจากอาจ เป็นอันตรายต่อร่างกายและจิตใจผ่านทางมัลติมีเดียได้ เช่น การจาลองการทางานของระบบไฟฟ้า และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เปน็ ตน้ ให้เห็นภาพและเขา้ ใจไดม้ ากยง่ิ ขึน้ 4. ประยุกตใ์ ชง้ านไดห้ ลากหลาย Microsoft PowerPoint หากผู้ใช้งานมีความรู้ในการใช้งานจะสามารถนาไปประยุกต์ใช้ งานอย่างอืน่ ได้หลากหลาย นอกเหนือจากการสร้างสไลดเ์ พื่องานนาเสนอแล้ว เช่น งานออกแบบแผ่น พับ งานออกแบบโปสเตอร์ งานออกแบบเกม งานออกแบบอินโฟกราฟิก งานออกแบบแอนเิ มชัน เช่น การใช้ Microsoft PowerPoint ออกแบบและพัฒนาแอนิเมชันเพ่ือการศึกษาด้วยเทคนิค Stop Motion บนฐานจินตวิศวกรรมของนักศึกษา และคณาจารย์จากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ สามารถ เข้าถงึ ผลงานไดท้ าง https://sites.google.com/rmutp.ac.th/animationforeducation เปน็ ตน้

145 ภาพท่ี 8.4 การประยุกตใ์ ช้งาน Microsoft PowerPoint สาหรบั งานนาเสนอ ภาพที่ 8.5 การประยกุ ตใ์ ช้งาน Microsoft PowerPoint สาหรบั งานสอนหนังสอื

146 ภาพท่ี 8.6 การประยกุ ตใ์ ช้งาน Microsoft PowerPoint สาหรบั งานแอนิเมชัน ภาพท่ี 8.7 การประยกุ ต์ใช้งาน Microsoft PowerPoint สาหรับงานอินโฟกราฟิก

147 4. แสดงผลไดท้ ้ังบนหนา้ จอ อินเทอร์เน็ต และเอกสาร ผลงานที่สร้างจาก Microsoft PowerPoint สามารถทาให้แสดงผลหรือนาเสนอได้ทั้งบน หนา้ จออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรทศั น์ คอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์ เคร่อื งฉายภาพ รวมทง้ั แสดงผลบน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต หรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ แสดงผลในรูปของ Microsoft PowerPoint เอง รูป ของข้อความ ภาพน่ิง กราฟ ภาพเคล่ือนไหวหรือแอนิเมชัน และยังสามารถพิมพ์ข้อมูลออกมาอยู่ในรูป ของเอกสารบนกระดาษ สาหรับเป็นคู่มือประกอบการบรรยาย หรือส่ังพิมพ์ออกมาเป็นแผ่นพับ ใบปลิว และโปสเตอรส์ าหรบั แจกจ่ายและตดิ ประกาศตามวัตถปุ ระสงค์ของผู้นาเสนอข้อมลู ได้อีกดว้ ย ภาพท่ี 8.8 การนาเสนอผลงานท่ีสรา้ งจาก Microsoft PowerPoint บนคอมพวิ เตอร์ ภาพท่ี 8.9 การนาเสนอผลงานทส่ี ร้างจาก Microsoft PowerPoint ในรูปของเอกสารคมู่ ือ

148 5. สามารถบนั ทึกไฟล์ได้หลายรปู แบบ ผลงานที่สร้างจาก Microsoft PowerPoint สามารถนาไปใช้งานด้วยการแสดงผลผ่าน ทางหน้าจออุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ชนิดต่าง ๆ และเอกสารดงั กล่าวไปแลว้ เน่อื งจากผลงานท่ีสรา้ งจาก Microsoft PowerPoint สามารถบันทึกไฟล์เพื่อนาไปใช้งานได้หลายรูปแบบ ท้ังเอกสาร ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว ตามความต้องการของผู้นาเสนอ และยังสามารถเก็บรักษาไฟล์ข้อมูลทีบ่ ันทึกแล้วน้ัน ไว้ได้ในแหลง่ เก็บข้อมูลหลายแหลง่ ทั้งออนไลน์ (Online) เชน่ One Drive, Google Drive ทีเ่ รยี กกัน ว่าระบบ Cloud และแหล่งเก็บข้อมูลไม่ออนไลน์ (Offline) เช่น บันทึกเป็นไฟล์ไว้ในคอมพิวเตอร์ สว่ นตัว เปน็ ต้น รปู แบบของไฟลท์ ่บี ันทึกน้ันประกอบดว้ ย 1) ไฟล์ Microsoft PowerPoint เอง สาหรับไว้นาเสนอหรือแก้ไขข้อมูลในโอกาส ต่อไป จะไดน้ ามสกลุ เปน็ .ppt 2) ไฟล์ Adobe Acrobat สาหรบั ไว้นาเสนอหรือพิมพอ์ อกมาเป็นเอกสารบนกระดาษ โดยเอกสารนั้นจะไมส่ ามารถแกไ้ ขได้อีก จะได้นามสกลุ เป็น .pdf 3) ไฟล์ภาพนงิ่ จะได้นามสกุลเปน็ .jpg, .png, .gif เป็นต้น 4) ไฟล์ภาพเคลือ่ นไหวหรือแอนเิ มชน่ั จะได้นามสกุลเป็น .mp4, .wmv เป็นต้น ภาพท่ี 8.10 การบนั ทึกไฟลข์ องข้อมูลที่สรา้ งจาก Microsoft PowerPoint รูปแบบต่าง ๆ ส่วนประกอบและการใช้ Microsoft PowerPoint สานักดิจิทัลเพ่ือการศึกษา (2560) กล่าวว่า Microsoft PowerPoint เป็นโปรเเกรม ในการนาเสนอได้ในหลายรูปเเบบ ไม่ว่าจะเป็นการนาเสนอเเบบเป็นอักษร ภาพ หรือเสียง โดยตัว โปรแกรมน้ันสามารถนาส่ือต่าง ๆ มาผสมผสานได้อย่างลงตัวเเละมีประสิทธิภาพมากที่สุด เป็น โปรแกรมท่ีมีลักษณะการทางานในรูปของภาพน่ิง (Slide) คือ เเผ่นเอกสารเดี่ยว ๆ ที่เเสดงส่ิงต่าง ๆ เช่น ตวั อกั ษร กราฟ ตาราง รูปภาพ หรอื อนื่ ๆ เเละสามารถเเสดงสไลดล์ งบนแผน่ กระดาษหรอื เคร่ือง

149 ฉายข้ามศรีษะ หรือหน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือเคร่ืองฉายได้ Microsoft PowerPoint เป็นโปรแกรม ส่ังงานคอมพิวเตอร์ที่ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานด้านการนาเสนอเรื่องราวต่าง ๆ ในลักษณะคล้ายกับ การฉายสไลด์ โดยสามารถใชค้ าส่ังของ PowerPoint สรา้ งแผ่นสไลด์ท่มี รี ูปภาพและข้อความบรรยาย เรอ่ื งราวท่ตี ้องการจะนาเสนอได้อย่างรวดเรว็ พร้อมท้งั กาหนดลักษณะแสงเงา ลวดลายและสีให้สไลด์แต่ ละแผ่นมีความสวยงามน่าสนใจย่ิงขึ้น นอกจากน้ียังสามารถกาหนดรูปแบบการฉายสไลด์แต่ละแผ่น อยา่ งตอ่ เน่อื ง และใช้เทคนิคพิเศษในการแสดงข้อความแต่ละบรรทดั เพอ่ื ให้ผูช้ มคอ่ ย ๆ เหน็ ข้อความ บรรยายและภาพเหล่านี้ทีละขัน้ ๆ อย่างตอ่ เน่อื งกันเป็นเรื่องราวตามระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ 1. การเปิดใช้ Microsoft PowerPoint 1 1

150 2. ดับเบลิ คลิกที่ Blank Presentation 3. หน้าตา่ งแรกของ Microsoft PowerPoint ท่พี ร้อมทางาน Ribbon Title bar Status bar

151 4. Title Bar คือ แถบช่อื เรือ่ ง ประกอบดว้ ย Quick Access Toolbar, File name, Window management และลกู ศรสาหรบั ซอ่ นหรอื โชว์ Ribbon 5. Ribbon คือ ตาแหน่งที่รวบรวมคาส่ังเกือบท้ังหมดของโปรแกรมเอาไว้ ประกอบด้วย Tab ต่าง ๆ ประกอบด้วย Active tab, Inactive tab, Groups และ Dialog box launcher สาหรบั คาส่งั เพิ่มเตมิ ของ Groups 6. Status bar คอื แถบสถานะของหนา้ ตา่ งโปรแกรม Microsoft PowerPoint ประกอบด้วย แถบ Note สาหรับบันทึกหรือพิมพ์คาบรรยายท่ีต้องใช้ แถบ View shortcut สาหรับการแสดงผล ของหนา้ ต่างโปรแกรมรูปแบบตา่ ง ๆ แถบ Zoom slider และแถบ Zoom ทั้งสองแถบนไ้ี วส้ าหรับย่อ และขยายหน้าตา่ งของโปรแกรม การสร้างงานสาหรับนาเสนอ การสร้างงานสาหรับนาเสนอใหม่ คือการสร้างส่ือเพ่ือใช้ในการนาเสนอคร้ังแรก หรือการ สร้างสื่อสาหรับนาเสนอช้ินใหม่ด้วย Microsoft PowerPoint ซึ่งทุกคร้ังจะต้องต้ังช่ือไฟล์และบันทึก (Save) ผลงานอย่างสม่าเสมอ เพื่อป้องกันผลงานสูญหายกรณีเกิดเหตุไม่คาดคิด เช่น ไฟดับ ไฟตก เป็นตน้ การสรา้ งงานสาหรับนาเสนอใหมม่ ี 2 รูปแบบ ได้แก่ สร้างจาก Blank Presentation เป็นการ สร้างงานนาเสนอจากหน้าต่างที่ว่างเปล่า ผู้สร้างสามารถเติมและตกแต่งข้อความ รูปภาพ และ รปู แบบของผลงานนาเสนอได้ตามต้องการ ดงั ภาพที่ 8.11 ภาพที่ 8.11 Blank Presentation จากโปรแกรม Microsoft PowerPoint

152 การสร้างจาก Design Template เป็นการสร้างผลงานที่ต้องการนาเสนอจากต้นแบบ (Template) ที่มอี ยแู่ ลว้ ซง่ึ ไดร้ บั การออกแบบรูปแบบตัวอักษร ภาพ กราฟกิ สี หรือส่วนประกอบอ่ืน ท่ีน่าสนใจแยกไว้เป็นกลุ่ม ๆ หรือเป็นธีม (Themes) เช่น ธุรกิจ การศึกษา ท่องเท่ียว สัตว์เล้ียง เป็น ต้น ไว้แล้วอยา่ งสวยงาม ผูส้ รา้ งสามารถเลือกนาไปใช้ได้ตามความต้องการ ซง่ึ การผลงานนาเสนอจาก Design Template น้ันมีให้เลือกใช้ได้หลายรูปแบบ เช่น จาก Design Template ของ Microsoft PowerPoint เอง ดาวน์โหลด Design Template มาจากอินเทอร์เน็ต ท่ีมีทั้ง Design Template แบบต้องจ่ายเงิน และใช้งานได้ฟรีให้เลือกใช้งานได้จานวนมาก และการสร้าง Template ไว้ใช้งาน ด้วยตนเอง ตัวอย่าง Design Template จาก Microsoft PowerPoint และจากอนิ เทอรเ์ นต็ ดังภาพ ที่ 8.12 และ 8.13 ภาพที่ 8.12 Design Template จากโปรแกรม Microsoft PowerPoint ภาพที่ 8.13 ตัวอย่าง Design Template จากอินเทอรเ์ น็ต

153 ข้นั ตอนการสร้างงานสาหรับนาเสนอ การสร้างงานนาเสนอข้อมูลเพ่ือให้ออกมาสมบูรณ์ เป็นท่ีพึงพอใจทั้งผู้สร้างและดึงดูด ความสนใจจากผู้ฟังมีองค์ประกอบหลายอย่างที่จะต้องพิจารณา เช่น ผู้ฟัง เรื่องราวหรือประเด็น เนื้อหาทีต่ อ้ งการนาเสนอ การลาดับเน้ือหา ความครบถว้ นของประเด็นท่ีต้องการนาเสนอ การตกแต่ง งานนาเสนอให้น่าสนใจด้วยข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว และเสียง เป็นต้น ดังนั้นเพ่ือให้งาน นาเสนอออกมามีความสมบูรณ์และตอบโจทย์ท้ังผู้สร้างและผู้ฟัง การสร้างงานนาเสนอที่ดีจึง จาเป็นต้องมีลาดับข้ันตอนการทางานท่ีชัดเจน ซึ่ง 9เอ็กซ์เพรสคอร์ปอเรช่ัน (2562) ซัคเซสมีเดีย (2550) และอนิ โฟกราฟกิ (2558) ได้กาหนดข้ันตอนการสรา้ งงานนาเสนอไวด้ ังตอ่ ไปนี้ 1. วางแผนสร้างงานนาเสนอ (Planning) อย่างแรกเลยจะต้องรู้ว่ากลุ่มเป้าหมายหรือ กลุ่มผู้ฟังเป็นใคร ประเด็นเน้ือหา วัตถุประสงค์ของการนาเสนอ สถานการณ์ สถานท่ี รูปแบบการ นาเสนอที่จะตอ้ งใช้ และท่สี าคญั ความคิดสรา้ งสรรค์หรอื ไอเดยี สาหรับการสรรค์สร้างผลงานนาเสนอ 2. เร่ิมสร้างงานนาเสนอ (Create Presentation) เม่ือผ่านการวางแผนมาเป็นอย่างดี แล้วขั้นตอนต่อไปก็เริ่มสร้างงานนาเสนอ ลาดับแรกจะต้องวางโครงร่างสาหรับสไลด์แต่ละแผ่น ซ่งึ ประกอบด้วย หัวขอ้ หลกั หวั ขอ้ รอง และเนื้อหาทท่ี าใหก้ ารจัดลาดับในการนาเสนอมีความครบถ้วน การวางโครงร่างเน้ือหาของแต่ละสไลด์อาจใช้การระดมสมอง (Brainstorm) หรือแผนที่ความคิด (Mind Map) เข้ามาช่วยในการวางโครงร่างงานนาเสนอ รวมไปถึงการเลือกใช้สี ตัวอักษร Bullet รูปภาพ กราฟ กราฟฟิก Infographics และ Design Template หรือศึกษาจากตัวอย่างการสร้าง ผลงานนาเสนอดี ๆ ได้จากแหล่งต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต หนังสือ แผ่นพับ โปสเตอร์ ป้ายโฆษณา เป็นตน้ 3. ใส่เนื้อหา (Insert Content) ทาการใส่เนื้อหาลงในสไลด์ ซ่ึงสไลด์ที่ดีและน่าสนใจ เนื้อหาท่ีเป็นตัวอักษรหรือข้อความควรจะน้อยท่ีสุด แต่ไม่ถึงกับตัดข้อความหรือเน้ือหาออกไปเสียจน หมด อาจแทนเน้ือหาดว้ ยข้อความส้นั ๆ รูปภาพ กราฟฟิก เสียง วีดิโอ เปน็ ตน้ 4. จัดรูปแบบ (Formatting) จัดรูปแบบและองค์ประกอบของสไลด์ให้น่าสนใจ เช่น ตาแหน่งการจดั วางข้อความ รปู ภาพ กราฟฟิก เสยี ง วีดิโอ ลองทาสไลดต์ ัวอยา่ งออกมาสัก 2-3 สไลด์ เพื่อดูทิศทาง แล้วนาไปให้ผู้อ่ืน เช่น เพื่อนร่วมช้ันเรียนช่วยดูและแสดงความคิดเห็น ปรับปรุงแก้ไข แล้วจึงออกแบบท้ังหมดและตรวจสอบการออกแบบท้ังหมดอีกคร้ัง หรืออาจให้ผู้อื่นช่วยดูและแสดง ความคิดเห็นเพิม่ เติม 5. จัดแอนิเมชัน (Animation) จัดแอนิเมชันหรือภาพเคลื่อนไหวให้การนาเสนอดู น่าสนใจ แต่จะต้องไม่มากจนเกินไป และสาหรับเนื้อหาบางอย่างท่ีต้องส่ือสารด้วยการทาการ เคล่ือนไหว (Transition) ระหว่างสไลด์ต้องจัดให้พอเหมาะและพอดี หรือเลือกใช้ให้น้อยท่ีสุด เนือ่ งจากหากใช้ Transition มากเกนิ ไปผูฟ้ ังอาจจะทาใหไ้ มน่ า่ สนใจ ผู้ฟงั อาจจะเบื่อและเวยี นหวั ได้ 6. เร่ิมการนาเสนอ (Present) รวมถึงการซักซ้อมการนาเสนอจนเกิดความม่ันใจ แล้วทา การนาเสนออย่างมืออาชีพ โดย Microsoft PowerPoint มีเทคนิคต่าง ๆ ที่จะให้การนาเสนอ น่าสนใจ เช่น การทาหน้าจอมืด เพือ่ ดึงความสนใจของผ้ชู ม การใชป้ ากกา หรอื การทา Laser Pointer กส็ ามารถทาได้

154 การสร้างงานสาหรบั นาเสนอท่ีดี ในการนาเสนองานแต่ละคร้ังนอกจากจะต้องเตรียมตัวเองในการนาเสนอแล้วยังต้อง จัดทาสื่อ หรือ PowerPoint ในการนาเสนอส่ิงท่ีต้องการจะสื่อสารออกไปให้คนฟังเห็นภาพรวมของ เน้ือหา และเข้าใจเน้ือหาท่ีนาเสนอมากย่ิงข้ึน แต่หลายครั้งจะพบว่าคนฟังรู้สึกเบ่ือหน่ายกับการดู PowerPoint ของผนู้ าเสนอและอาจจะไม่เข้าใจในส่ิงที่ต้องการนาเสนอด้วย 9เอ็กซ์เพรสคอรป์ อเรช่ัน (2562) จึงมีข้อแนะนาและเทคนิคการทา Presentation ที่ดี และ Presentation แบบไหนที่ไม่ควร ทา ดังตอ่ ไปน้ี 1. อยา่ ใส่ข้อมลู ท่ีมากเกินไป ในการทา PowerPoint ไม่ควรใสต่ ัวหนงั สือ จดุ Bullets ข้อมูลย่อย หรือใส่ข้อมูลต่าง ๆ ลงไปมากเกินไป เพราะจะทาให้คนฟังเบ่ือหน่ายและอาจคิดว่าส่ง PowerPoint ให้พวกเขาอ่านแทนก็ได้ โดยไม่ต้องนาเสนอ ซึ่งจริง ๆ แล้ว PowerPoint เป็นแค่สื่อที่ ใชป้ ระกอบการนาเสนอเน้อื หาของผนู้ าเสนอ ผู้ท่ีมีบทบาทและมีความสาคัญยังคงเป็นผ้นู าเสนอ ไมใ่ ช่ PowerPoint ดังนั้นคนฟังต้องการจะฟังจากผู้นาเสนอมากกว่าจะมานั่งอ่าน PowerPoint เพราะฉะนั้น ในการจัดทา PowerPoint ทุกครั้ง จะต้องมีการย่อยข้อมูล สรุปเป็นข้อมูลที่สาคัญ ใส่แต่หัวข้อใหญ่ และหัวข้อรองลงไปใน PowerPoint ส่วนรายละเอียดให้ผู้นาเสนอเป็นคนพูดแทน ซึ่ง PowerPoint ที่ดีไม่ควรเป็นดังภาพท่ี 8.14 เน่ืองจากเป็นการทา PowerPoint ที่มีข้อความมากเกินไป ไม่เป็น ระเบียบ และไม่สวยงาม ซึ่งสามารถแก้ไขได้ด้วยการหาภาพมาแทนข้อความดังภาพท่ี 8.15 และ เปลี่ยนสีพื้นหลัง (Background) ใหม่เพอื่ ใหภ้ าพทน่ี าเสนอโดดเด่นย่งิ ขนึ้ ภาพท่ี 8.14 การทา PowerPoint ทม่ี ขี ้อความมากเกินไป ไม่เปน็ ระเบียบ และไม่สวยงาม

155 ภาพที่ 8.15 การนาภาพมาใช้ในการอธิบายแทนข้อความ 2. อย่าใส่ Transition, Animation และดนตรีประกอบมากเกินไป หลายคนท่ีทา PowerPoint หลังจากท่ีจัดวางตัวหนังสือ หรือรูปภาพประกอบต่าง ๆ เรียบร้อยแล้วมักจะใส่ Animation เพื่อให้วัตถุต่าง ๆ ปรากฏเข้ามาในฉากที่แตกต่างกัน เพ่ือให้ดูน่าตื่นเต้น เร้าใจ ซึ่งจริง ๆ แล้ว ความคดิ นีเ้ ป็นความคิดท่ผี ิด เพราะถ้าเราใส่ Animation หรือเสยี งประกอบให้กับวัตถุทุกช้ิน จะ ทาให้คนดูรู้สึกว่ามีบางอย่างรบกวนสายตา และย่ิงเป็น Animation ท่ีมีการหมุน การกระดอน กระโดดตา่ ง ๆ ยง่ิ ทาใหร้ บกวนสายตาเป็นอยา่ งมาก อาจจะเลือกใช้ Animation กบั เนื้อหาที่ต้องการ เน้น หรือเลือกใช้รูปแบบ Animation ที่เป็นการเคลื่อนท่ีจากซ้ายไปขวา ขวาไปซ้าย บนลงล่าง หรือ ล่างข้ึนบนจะดีกวา่ เพราะไม่เปน็ การรบกวนสายตา คดิ ไวเ้ สมอ ย่งิ เรียบงา่ ย ยิง่ ดดู ี 3. อย่าใช้สีสันมากเกินไป ไม่ควรเลือกใช้สีมากจนเกินไป ควรใช้ไม่เกิน 3-4 สีในงาน เดียวกนั เน่ืองจากจะทาให้งานงดรู ก อ่านยาก รบกวนสายตา ไม่ใช่ดงึ ดูดสายตา การใช้สพี ื้นหลงั เป็นสี พ้นื เรียบ เช่น สีขาว เทา ดา หรือสีพื้น จะย่ิงทาให้ในสว่ นของเน้ือหา และรปู ภาพดูเดน่ ย่ิงขนึ้ ภาพที่ 8.16 การใส่ Transition, Animation ดนตรีประกอบ และใชส้ สี ันมากเกินไป

156 4. อย่าใชฟ้ อนต์หลากหลายเกินไป ในการทา PowerPoint ไมค่ วรใชร้ ปู แบบฟอนต์ท่ี หลากหลายมากเกินไป ควรใช้แค่ 1 หรือไม่เกิน 2 ฟอนต์ เพื่อให้งานดูมีแนวคิดและออกมาในทิศทาง เดียวกันทั้งงาน แต่หากต้องการเน้นข้อความให้เปล่ียนมาใช้ฟอนต์เดียวกันแต่กาหนดให้เป็นตัวหนา ตัวเอียง จะดีกว่าการเลอื กใชฟ้ อนตท์ ่หี ลากหลาย 5. เลอื กใชภ้ าพใหเ้ หมาะสม แน่นอนวา่ ในการนาเสนองาน นอกจากจะมตี วั อกั ษรแล้ว ยังมีในส่วนที่เป็นภาพประกอบ ในการเลือกใช้ภาพมาประกอบในงานควรจัดวางให้เหมาะสม เช่น หากสไลด์น้ันเป็นสไลด์แรกอาจจะเน้นภาพให้โดดเด่นได้เพ่ือโชว์ผลงาน แต่บางสไลด์ใช้ภาพเพื่อเป็น พื้นหลังก็จะต้องตกแต่งภาพให้มีความจางลงไป เพ่ือให้ตัวอักษรดูโดดเด่น เพราะฉะน้ันจึงต้องมีการ จัดลาดับความสาคัญใหถ้ กู ต้อง 6. เลือกใช้แผนภาพ หรือกราฟิกประกอบให้เหมาะสม งานนาเสนอหลาย ๆ งาน มักจะมีการนาเสนอเน้ือหาในเชิงตัวเลข สถิติ หรือตารางข้อมูล ดังนั้นในการนาเสนอเนื้อหาเหล่าน้ี ควรเลือกประเภทของแผนภาพให้เหมาะกบั เนอ้ื หาของ เชน่ กราฟแท่งจะเหมาะกับข้อมูลท่มี ชี ื่อและมี การแสดงลาดับของข้อมูล โดยอาจวางได้ทั้งแนวต้ัง และแนวนอน หรือเพ่ิมมิติให้เกิดความสวยงามก็ ได้ ส่วนกราฟวงกลมและวงแหวนเหมาะกับการนาเสนอข้อมูลที่มีส่วนประกอบย่อยท่ีรวมกันเปน็ สว่ น ใหญ่ มีการแบ่งส่วนให้ดูง่าย และสวยงาม เป็นต้น การเลือกใช้แผนภาพท่ีดีส่งผลทาให้คนดูสามารถ เขา้ ใจเนอ้ื หาของได้ง่ายข้ึน ภาพท่ี 8.17 เลือกใช้ภาพ แผนภาพ หรอื กราฟิกประกอบใหเ้ หมาะสม

157 ปฏบิ ัติการสรา้ งงานสาหรับนาเสนอด้วย Microsoft PowerPoint หัวข้อน้ีจะได้นาเสนอการสร้างงานสาหรับนาเสนอของจริงด้วย Microsoft PowerPoint โดยนาทฤษฎีท้ังหมดท่ีได้กล่าวไปแล้วข้างต้นมาทดลองลงมือปฏิบัติสร้างงานนาเสนอจริง เพ่ือให้ ผู้เรียนเกิดทักษะการปฏิบัติและสามารถนาไปประยุกต์ใช้งานได้ในอนาคตต่อไป โดยการสร้างงาน นาเสนอช้ินน้ีเป็นการนา Microsoft PowerPoint มาสร้างงานนาเสนอในรูปของ Animation Infographics ตามไฟลต์ วั อยา่ งจาก www.powerpointschool.com ซ่งึ ผ้เู รยี นสามารถเข้าไปเรียนรู้ ฝกึ ฝน และหาแรงบนั ดาลใจได้จากเว็บไซตด์ งั กลา่ วนี้ เนื่องจากสอนทกั ษะการนาเสนอดว้ ย Microsoft PowerPoint โดยเฉพาะ การสร้างงานนาเสนอ Animation Infographics สรา้ งจาก Blank Presentation ซ่ึงเปน็ การสร้างงานนาเสนอจากหน้าต่างที่ว่างเปล่า ผู้สร้างสามารถเติมและตกแต่งข้อความ รูปภาพ และ รูปแบบของผลงานนาเสนอดังตัวอย่างในบทเรียนนี้ได้ตามต้องการ ตามข้ันตอนการสร้างงานสาหรับ นาเสนอ ดงั ต่อไปน้ี 1. เปดิ หน้าต่างวา่ ง ๆ ของ Microsoft PowerPoint ขึน้ มา บันทกึ และตั้งชื่อไฟลใ์ ห้เรยี บร้อย 2. คลกิ เมนู Insert > Shapes > Rectangles > Round Same Side Corner Rectangle เพือ่ วาดรูปสี่เหล่ียมหวั มนขน้ึ มาหนงึ่ รูปลงในพื้นท่ีวา่ งใหไ้ ด้ขนาดเหมาะสมตามต้องการ 3. กลับด้านของรูปส่ีเหลี่ยมหัวมนให้ด้านมนอยู่ด้านล่าง ด้วยการไปที่เมนู Format > Flip Vertical 4. วาดรูปวงกลมไว้ด้านบน และรวมรูปท้ังสองรูปเข้าด้วยกัน ด้วยการไปท่ีเมนู Format > Merge Shapes > Subtract 5. เปล่ียนสีรูปให้เป็นสีขาว แบบไม่มีเส้นขอบ ด้วยการไปท่ีเมนู Format > Shape Fill และ Format > Shape Outline ตามลาดับ 2

158 3 4 5

159 6. สร้างเงาให้กับรูปทรง ด้วยการไปท่ีเมนู Format > Format Shape > Shadow และ ปรบั ค่าเงาตามตวั เลขทก่ี าหนด เสร็จแล้วปดิ Format Shape 7. คลิกเมนู Insert > Shapes > Rectangles > Round Same Side Corner Rectangle เพ่ือวาดรูปส่ีเหลี่ยมหัวมนขึ้นมาอีกหนึ่งรูปให้มีความกว้างเท่ากับรูปก่อนหน้า แล้วเติมสีชมพูให้กับ รูปทรง และไม่มีเส้นขอบ และส่งให้รูปทรงสีชมพูไปอย่ดู ้านหลังรูปสีขาว ด้วยการคลิกเมาสข์ วาทรี่ ูปสี ชมพู และไปที่คาสั่ง Send to Back 6 7 8. เพ่มิ คาและตวั เลขลงไปในรปู ทรงสชี มพู ดว้ ยการไปที่เมนู Home > Text Box แล้วนา กล่อง Text Box ไปวางบนรูปทรงสีสมพู พิมพ์คาว่า “PLAN” ด้วยฟอนต์ Tw Cen MT ขนาด 36 พอยท์ และพิมพเ์ ลข 1 เพ่ิมลงไปด้วยฟอนตเื ดิมขนาด 60 พอยท์

160 9. รวมกลุ่มรูปทรงสีชมพู ข้อความและตวั เลขเข้าด้วยกนั ดว้ ยการคลิกเลือกให้ครบทั้งสาม สว่ น กดปมุ่ Ctrl และ ปุ่ม G พรอ้ ม ๆ กันเพอื่ รวมใหเ้ ป็นกลุ่มเดียวกนั และคลิกขวาที่รปู ทรงสชี มพู แลว้ ไปทค่ี าส่ัง Sent to Back เพื่อให้รปู ทรงสชี มพู ขอ้ ความและตวั เลขไปอยดู่ ้านหลงั รูปทรงสีขาว 8 9 10. เพม่ิ คาและขอ้ ความลงไปในรปู ทรงสขี าว ดว้ ยการไปทเี่ มนู Home > Text Box แลว้ นากล่อง Text Box ไปวางบนรูปทรงสีขาว พิมพ์คาว่า “HEADING” สีชมพูด้วยฟอนต์ Tw Cen MT ขนาด 18 พอยท์ และพิมพข์ อ้ ความ “Here Add Some Own Text of Yours” สเี ทาดว้ ยฟอนต์ Tw Cen MT ขนาด 14 พอยท์

161 11. เพิ่มรูปทรงและข้อความให้ครบท้ัง 4 สี ด้วยการ Copy รูปทรงที่มีอยู่ แล้วเปล่ียนสี และเพิ่มขอ้ ความให้ครบดงั ภาพ 10 11 12.หลังจากสร้าง Infographics ครบท้ัง 4 รูปทรงแล้ว ต่อไปจะเป็นการทาให้รูปทรง Infographics สามารถเคล่ือนท่ีได้เองเม่ือนาเสนอต่อหน้าผู้ฟัง เรียกว่า Animation Infographics โดยเริ่มจากคลิกท่ีรูปทรงสีขาวซ้ายมือสุด แล้วไปท่ีเมนู Animation > Add Animation > Float In โดยเลือก Start แบบ On Click เลอื ก Duration เท่ากับ 00.50 และเลอื ก Delay เท่ากบั 00.00 13. ลาดับต่อไปคลิกท่ีรูปทรงสีชมพู แล้วไปท่ีเมนู Animation > Add Animation > Float In โดยเลือก Start แบบ After Previous เลือก Duration เท่ากับ 00.50 และเลือก Delay เท่ากับ 00.25

162 12 13 14. ลาดับต่อไปคลิกที่ข้อความสีชมพู แล้วไปที่เมนู Animation > Add Animation > Zoom In โดยเลือก Start แบบ After Previous เลือก Duration เท่ากับ 00.50 และเลือก Delay เท่ากับ 00.00 และคลิกท่ีหลอดไฟสีชมพู แล้วไปที่เมนู Animation > Add Animation > Zoom In โดยเลือก Start แบบ With Previous เลือก Duration เท่ากับ 00.50 และเลือก Delay เท่ากับ 00.00 เม่อื ทดลองนาเสนอจะเหน็ วา่ รูปทรงซ้ายมอื สดุ เกดิ การเคลือ่ นไหวตามลาดบั ที่ได้ต้งั เอาไวแ้ ลว้