Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักกฎหมายบทความสั้นคดีปกครองที่น่าสนใจเล่ม 13 : คดีพิพาทเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล

หลักกฎหมายบทความสั้นคดีปกครองที่น่าสนใจเล่ม 13 : คดีพิพาทเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล

Published by Guset User, 2021-10-20 03:40:43

Description: Academic_290921_133723หลักกฎหมายบทความสั้นคดีปกครองที่น่าสนใจเล่ม 13 : คดีพิพาทเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล

Search

Read the Text Version

หลกั กฎหมายจาก บทความสนั้ คดีปกครองท่ีน่าสนใจ เล่ม ๑๓ : คดีพิพาทเก่ียวกบั การบริหารงานบคุ คล : ประกาศรบั สมคั ร “อาจารย”์ ไมต่ รงตามความตอ้ งการของคณะ ! : กรรมการสอบคดั เลอื กมอบบุคคลอ่นื ทาหน้าทแ่ี ทน ... ไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย : ให้ “หญงิ ” ถอดเสอ้ื ผา้ รอตรวจรา่ งกาย ... วธิ กี าร ทม่ี ผี ลกระทบต่อศกั ดศิ ์ รคี วามเป็นมนุษย์ !! : ผลงานทางวชิ าการท่ี “อา้ งองิ ” ไมถ่ กู ตอ้ ง ถอื เป็นการ “ลอกเลยี น” : ความไมเ่ ป็นธรรมในการประเมนิ เลอ่ื นขนั้ เงนิ เดอื น : แมไ้ มต่ อ้ งรบั โทษวนิ ยั ... แต่กอ็ าจ ไมไ่ ดเ้ ลอ่ื นตาแหน่ง ฯลฯ สานักวิจยั และวิชาการ สานักงานศาลปกครอง

หลกั กฎหมายจากบทความสนั้ คดปี กครองทน่ี ่าสนใจ เลม่ ๑๓ : คดพี พิ าทเกย่ี วกบั การบรหิ ารงานบุคคล โดย สานกั วจิ ยั และวชิ าการ สานกั งานศาลปกครอง สงวนลขิ สทิ ธิ์ จดั ทาโดย : สานกั วจิ ยั และวชิ าการ สานกั งานศาลปกครอง (กลมุ่ เผยแพร่ขอ้ มลู ทางวชิ าการและวารสาร) อาคารศาลปกครอง เลขท่ี ๑๒๐ หม่ทู ่ี ๓ ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงทุ่งสองหอ้ ง เขตหลกั ส่ี กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๑๔๑ ๑๑๑๑ สายด่วน ๑๓๕๕ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๘๔๕ http://www.admincourt.go.th

คำนำ สำนักงำนศำลปกครอง โดยสำนักวิจยั และวิชำกำร ได้จดั ทำ บทควำมสนั้ เกย่ี วกบั คดปี กครอง โดยศกึ ษำจำกคำสงั่ และคำพพิ ำกษำ ของศำลปกครองสูงสุดท่ไี ดว้ ำงหลกั กฎหมำยปกครอง บรรทดั ฐำน กำรปฏบิ ตั ริ ำชกำรทด่ี หี รอื ทม่ี คี วำมน่ำสนใจมำเรยี บเรยี งเป็นเรอ่ื งรำว ทส่ี ำมำรถศกึ ษำทำควำมเขำ้ ใจไดง้ ่ำย โดยผำ่ นรปู แบบกำรนำเสนอ เน้ือหำทแ่ี ตกต่ำงกนั ในแต่ละช่องทำงกำรเผยแพร่ซ่งึ ได้มกี ำรนำไป เผยแพรใ่ นสอ่ื สงิ่ พมิ พแ์ ละสอ่ื ออนไลน์ตำ่ ง ๆ แลว้ สำนักงำนศำลปกครองเห็นว่ำบทควำมดงั กล่ำวมปี ระโยชน์ และให้สำระควำมรู้เก่ียวกบั กฎหมำยปกครอง คดีปกครอง และ กระบวนกำรยุติธรรมทำงปกครอง ซ่ึงหนังสอื เล่มน้ีเป็นกำรรวบรวม บทควำมสนั้ ในสว่ นทเ่ี ป็นคดพี พิ ำทเกย่ี วกบั กำรบรหิ ำรงำนบุคคลมำสรุป สำระสำคญั และหลกั กฎหมำย/บรรทดั ฐำนกำรปฏบิ ตั ริ ำชกำรกำกบั ไว้ ในบทควำมแต่ละเร่อื ง โดยจดั ทำเป็นรูปเล่มเพ่อื อำนวยควำมสะดวก ใหก้ บั ผูส้ นใจได้ศกึ ษำคน้ ควำ้ จงึ หวงั เป็นอย่ำงยง่ิ ว่ำหนังสอื ฉบบั น้ี จะมสี ว่ นในกำรพฒั นำองคค์ วำมรเู้ กย่ี วกบั กฎหมำยปกครอง และเป็น แนวทำงในกำรปฏบิ ตั ริ ำชกำรทด่ี ี อกี ทงั้ เป็นประโยชน์ต่อแวดวงวชิ ำกำร กฎหมำยและผสู้ นใจโดยทวั่ ไป อน่ึง ผอู้ ำ่ นสำมำรถสแกน QR Code เพอ่ื ศกึ ษำรำยละเอยี ด ของแต่ละเรอ่ื งไดต้ ำมทป่ี รำกฏในปกหลงั ของหนงั สอื ฉบบั น้ี (นำยอตโิ ชค ผลด)ี เลขำธกิ ำรสำนกั งำนศำลปกครอง ๒๒ กนั ยำยน ๒๕๖๔

สารบญั เรอ่ื งที่ ช่ือเร่อื ง หน้า การสรรหาและคดั เลือก ๑ ๗ ๑. กรรมการสอบคดั เลอื กมอบบคุ คลอ่นื ๑๕ ทาหน้าทแ่ี ทน ... ไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย ๒๓ ๒. คะแนน “สอบสมั ภาษณ์” เขา้ รบั ราชการ ... ๒๘ ตอ้ งมหี ลกั เกณฑท์ ช่ี ดั เจน ! ๓๖ ๔๒ ๓. ระบายรหสั ประจาตวั สอบผดิ ๕๓ “ไมต่ ดั สทิ ธ”ิ คะแนนสอบ ๔. ให้ “หญงิ ” ถอดเสอ้ื ผา้ รอตรวจรา่ งกาย ... วธิ กี ารทม่ี ผี ลกระทบต่อศกั ดศิ ์ รี ความเป็นมนุษย์ !! ๕. รอยสกั ... ศลิ ปะหรอื ตราบาป อนาคตทางราชการ ! ๖. กาหนดเกรดเฉลย่ี เพ่อื สมคั รเป็นอาจารย์ ... เป็นธรรมหรอื ไม่ ? ๗. ประกาศรบั สมคั ร “อาจารย”์ ไมต่ รง ตามความตอ้ งการของคณะ ! ๘. อายเุ กนิ ๖๐ ปี ไมต่ อ้ งหา้ มเป็นอธกิ ารบดี มรภ. ธนบุรี

(๒) เรอ่ื งที่ ชื่อเรือ่ ง หน้า การแต่งตงั้ และการพ้นจากตาแหน่ง ๙. ขอ้ จากดั การใชด้ ลุ พนิ ิจแต่งตงั้ โยกยา้ ย ขา้ ราชการ ๖๔ ๑๐. สงั่ ใหช้ ว่ ยราชการต่าง อบต. ... ทาได้ ถา้ มเี หตุ “จาเป็น” ! ๗๔ ๑๑. คาสงั่ ยา้ ย ... (ไม)่ ตอ้ งใหโ้ อกาสคกู่ รณี ชแ้ี จง ครบั ! ๘๓ ๑๒. นายก อบต. อุปสมบทตามโครงการ เฉลมิ พระเกยี รตฯิ พน้ จากตาแหน่งหรอื ไม่ ? ๙๐ ๑๓. บรรพชาเป็นสามเณร สน้ิ สุดสมาชกิ ภาพ สมาชกิ สภา อบต. หรอื ไม่ ? ๙๕ ๑๔. คาสงั่ ใหพ้ น้ จากตาแหน่ง (ไม)่ ชอบ ดว้ ยกฎหมาย ... เพราะ (ไม)่ ตรวจสอบ ปีเกดิ ใหถ้ กู ตอ้ ง ๑๐๐ ๑๕. สงั่ ใหอ้ อกจากราชการโดยอาศยั ขอ้ มลู เชงิ สถติ ิ ใชด้ ลุ พนิ จิ โดยมชิ อบ ! ๑๐๘ ๑๖. มมี ลทนิ มวั หมอง ... ไมต่ อ้ งปรากฏหลกั ฐาน ความผดิ ชดั แจง้ ... ครบั !!! ๑๑๗

(๓) เรื่องท่ี ชื่อเรือ่ ง หน้า ๑๗. ถูกใหอ้ อกจากราชการเพราะใชห้ ลกั ฐาน ๑๒๗ สด. ๔๓ ปลอม !!! ๑๓๗ ๑๘. ใหร้ องอธกิ ารบดพี น้ ตาแหน่ง ... ตอ้ งสอบสวนก่อนหรอื ไม่ การเล่ือนเงินเดือน ๑๙. ใหอ้ อกจากราชการไวก้ ่อน ... ถา้ สอบสวน ไมเ่ สรจ็ ตอ้ งคนื ตาแหน่งและสทิ ธปิ ระโยชน์ ๑๔๗ ๒๐. ไมเ่ ลอ่ื นขนั้ เงนิ เดอื นและไม่รบั ฟังคกู่ รณี ... รบั ฟังใหส้ มบรู ณ์ภายหลงั ได้ ! ๑๕๗ ๒๑. ความไมเ่ ป็นธรรมในการประเมนิ เลอ่ื นขนั้ เงนิ เดอื น ๑๖๕ ๒๒. มาทางานสายเกนิ กาหนด ... หมดสทิ ธเิ ล่อื นขนั้ เงนิ เดอื น ! ๑๗๓ ๒๓. กระทาผดิ นอกเวลาราชการและเป็นเรอ่ื งสว่ นตวั โดยแท้ ... ไดร้ บั การเลอ่ื นขนั้ เงนิ เดอื นหรอื ไม่ ? ๑๘๑ การเลื่อนตาแหน่ง ๒๔. ผลงานทางวชิ าการท่ี “อา้ งองิ ” ไมถ่ ูกตอ้ ง ๑๘๘ ถอื เป็นการ “ลอกเลยี น”

(๔) เรื่องที่ ช่ือเร่อื ง หน้า ๒๕. “ผทู้ รงอานาจ” ไมใ่ ชอ้ านาจ ... การกระทาของ “ผรู้ บั มอบอานาจ” จงึ ไมช่ อบ ! ๑๙๖ ๒๖. แมไ้ มต่ อ้ งรบั โทษวนิ ยั ... แต่กอ็ าจไมไ่ ด้ เล่อื นตาแหน่ง ๒๐๒

เรอื่ งที่ ๑ กรรมการสอบคดั เลือกมอบบคุ คลอืน่ ทาหน้าทีแ่ ทน ... ไมช่ อบด้วยกฎหมาย คาพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ. ๖๕๘/๒๕๖๑ สาระสาคญั มหาวทิ ยาลยั ไดอ้ อกประกาศรบั สมคั รสอบคดั เลอื กบุคคล เพือ่ เป็นอาจารย์ โดยอธิการบดีได้แต่งตงั้ คณะกรรมการเพือ่ ดาเนินการออกข้อสอบ ตรวจข้อสอบ สอบสมั ภาษณ์ ประเมนิ ผล และสรปุ ผลการคดั เลอื ก จานวน ๕ ราย แต่คณะกรรมการชุดน้ีกลบั มี มตแิ ต่งตงั้ บุคคลอนื่ ๒ ราย เพอื่ ทาหน้าทอี่ อกและตรวจขอ้ สอบ และ ประธานกรรมการยังได้มอบหมายให้กรรมการคนอืน่ ทาหน้าที่ รบั ผดิ ชอบการสอบแทนตนเองทงั้ หมด อนั ถอื เป็นการกระทาโดย ไมม่ อี านาจหรอื นอกเหนืออานาจหน้าที่ขดั คาสงั่ ของอธกิ ารบดี และ ขดั ต่อเจตนารมณ์ของการแต่งตงั้ คณะกรรมการเพอื่ ดาเนินการสอบ คดั เลอื กบุคคล ซงึ่ มุ่งหมายใหค้ ณะกรรมการปฏบิ ตั หิ น้าทดี่ ้วยตนเอง ส่วนขนั้ ตอนการสอบสมั ภาษณ์ทมี่ กี ารมอบหมายกรรมการบางราย ทาหน้าที่และไม่ไดด้ าเนินการใหผ้ สู้ มคั รเขา้ หอ้ งสอบตามทกี่ าหนด ไวใ้ นประกาศ แต่กลบั ให้มาพูดคุยในสถานทอี่ นื่ และไม่ไดส้ มั ภาษณ์ เกยี่ วกบั วสิ ยั ทศั น์การทางาน ประสบการณ์ หรอื ขอ้ มูลทจี่ ะเป็น ประโยชน์เพอื่ นามาพิจารณาคัดเลือกให้ดารงตาแหน่ง ทงั้ ยงั ใช้ คาพูดในลกั ษณะดูหมนิ่ เหยยี ดหยามผู้สมคั รสอบอย่างรุนแรง

๒ กรณีจงึ ขดั กบั วตั ถุประสงคใ์ นการสมั ภาษณ์ทตี่ อ้ งการใหก้ รรมการ ทุกคนรว่ มกนั ใชด้ ุลพนิ ิจในการพจิ ารณาคดั เลอื กบุคคล และเป็น การปฏิบตั ิไม่ถูกต้องตามรูปแบบ ขนั้ ตอน หรอื วธิ ีการอนั เป็น สาระสาคญั ทกี่ าหนดไวใ้ นการสอบคดั เลอื ก เป็นเหตุใหป้ ระกาศผล การสอบคดั เลอื กดงั กล่าวไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย แต่เมอื่ ผสู้ มคั รสอบ ยงั ไม่ได้รบั ความเสียหายแก่สิทธอิ ย่างใดอย่างหนึง่ เนือ่ งจาก ไม่แน่นอนว่าหากการดาเนินการสอบคดั เลอื กเป็นไปโดยชอบแลว้ ผู้สมัครสอบรายน้ีจะได้รบั การคัดเลือกหรอื ไม่ จึงไม่ถือเป็น การกระทาละเมดิ ทีม่ หาวิทยาลัยต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ ผสู้ มคั รสอบแต่อยา่ งใด หลกั กฎหมาย/บรรทดั ฐานทีเ่ กีย่ วข้อง เจตนารมณ์ของการแต่งตงั้ ผทู้ าหน้าทเี่ ป็นคณะกรรมการสอบ คดั เลอื กบุคคลนนั้ คณะกรรมการตอ้ งเป็นผมู้ คี วามรู้ความสามารถ ในระดบั สงู หรอื ทรงคุณวฒุ ไิ มย่ งิ่ หยอ่ นไปกว่าผทู้ สี่ มคั รสอบคดั เลอื ก รวมทงั้ ต้องปฏบิ ตั หิ น้าทเี่ ป็นการเฉพาะตวั ในการใชด้ ุลพนิ ิจร่วมกนั เพอื่ ออกขอ้ สอบ ตรวจขอ้ สอบ หรอื การสมั ภาษณ์ โดยไมอ่ าจแต่งตงั้ หรอื มอบหมายใหบ้ ุคคลอนื่ เป็นผู้ทาหน้าทแี่ ทนตนได้ นอกจากน้ี ในการสอบสมั ภาษณ์ตอ้ งมเี กณฑก์ ารวดั และการใหค้ ะแนนทชี่ ดั เจน และดาเนินการในห้องสอบตามทกี่ าหนดไว้ในประกาศรบั สมคั ร ทงั้ น้ี เพอื่ ป้องกนั การใชอ้ านาจตามอาเภอใจ

๓ กรรมการสอบคดั เลือกมอบบคุ คลอื่นทาหน้าท่ีแทน ... ไม่ชอบด้วยกฎหมาย พูดถงึ เรอื่ งการสอบ... ผู้ทมี่ อี าชพี รบั ราชการ เจา้ หน้าที่ ของรฐั หรอื อาชพี อนื่ ๆ ทอี่ ยใู่ นองคก์ รประเภทต่าง ๆ ส่วนใหญ่แลว้ ลว้ นต้องผ่านขนั้ ตอนของการสอบคดั เลอื กมาดว้ ยกนั แทบทงั้ ส้นิ เพยี งแต่กระบวนการ ขนั้ ตอน หรอื หลกั เกณฑก์ ารคดั เลอื กอาจจะ แตกต่างกนั ไปตามประเภทขององคก์ รนนั้ ๆ และแน่นอนว่า... ในการคดั เลอื กบุคคลเข้ารบั ราชการ หรอื เป็นเจา้ หน้าทขี่ องรฐั ตอ้ งมหี ลกั เกณฑก์ ารคดั เลอื กทชี่ ดั เจน และต้องดาเนินไปโดยชอบดว้ ยกฎหมายตงั้ แต่เรมิ่ ต้นจนส้นิ สุด กระบวนการ ไม่อาจดาเนินการตามอาเภอใจหรอื จะทาอย่างไรกไ็ ด้ ทงั้ น้ี เพราะหลักเกณฑ์ทีก่ าหนดข้นึ ย่อมมเี หตุผลและเป็นไป เพอื่ ประสทิ ธภิ าพในการสอบคดั เลอื กบุคคล เพอื่ ใหไ้ ดบ้ ุคลากร ทเี่ หมาะสมกบั ตาแหน่งนนั้ ๆ คดนี ้ี... ผฟู้ ้องคดไี ด้สมคั รสอบคดั เลอื กเพ่อื เป็นอาจารย์ ตามประกาศรบั สมคั รของมหาวทิ ยาลยั แห่งหน่ึง (ผถู้ ูกฟ้องคดที ่ี ๑) ซง่ึ มผี มู้ าสมคั ร ๒ ราย โดยผฟู้ ้องคดเี ป็นผูส้ มคั รรายเดยี วทผ่ี ่าน การตรวจคุณสมบตั ิและเป็นผู้มสี ทิ ธิเข้าสอบ แต่ผลปรากฏว่า ผฟู้ ้องคดสี อบไมผ่ า่ น !! ผฟู้ ้องคดเี หน็ ว่าคณะกรรมการทไ่ี ดร้ บั แต่งตงั้ ให้ปฏิบตั ิหน้าท่เี ก่ียวกบั การสอบ ได้ดาเนินกระบวนการสอบ โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย จึงนาคดีมาฟ้ องต่อศาลปกครอง

๔ เพ่อื ขอใหเ้ พกิ ถอนประกาศผลการสอบดงั กล่าว และขอเรยี กรอ้ ง ค่าสนิ ไหมทดแทนจากการดาเนินการสอบทไ่ี มช่ อบดว้ ยกฎหมาย โดยประเดน็ พจิ ารณาในส่วนประกาศว่าชอบด้วยกฎหมาย หรอื ไม่นัน้ ศาลปกครองชนั้ ต้นได้วินิจฉัยในคดหี มายเลขแดง ท่ี ๓๙๒/๒๕๕๕ ว่าการจดั สอบดงั กล่าวมกี ารดาเนินการทไ่ี ม่ชอบ ดว้ ยกฎหมายหลายประการ ดงั น้ี ๑. อธกิ ารบดี (ผู้ถูกฟ้องคดที ่ี ๒) ไดแ้ ต่งตงั้ คณะกรรมการ เพ่อื ดาเนินการออกขอ้ สอบ ตรวจขอ้ สอบ สอบสมั ภาษณ์ ประเมนิ ผล และสรุปผลการคดั เลือกเพ่อื นาเสนอต่อมหาวทิ ยาลัยจานวน ๕ ราย แต่คณะกรรมการชุดดงั กล่าวกลบั มมี ตแิ ต่งตงั้ บุคคลอ่นื จานวน ๒ ราย ทาหน้าทใ่ี นการออกขอ้ สอบและตรวจขอ้ สอบด้วย โดยทค่ี าสงั่ ของอธกิ ารบดมี ่งุ หมายให้คณะกรรมการชุดดงั กล่าว ปฏิบัติหน้าท่ีด้วยตนเอง โดยไม่ได้ให้อานาจในการที่จะ มอบหมายบุคคลอ่ืนทาหน้าที่แทนได้ ทงั้ น้ี เพราะเจตนา ในการแต่งตัง้ ผู้ทาหน้าท่ีเป็นคณะกรรมการนัน้ ต้องเป็นผู้มี ความรสู้ ามารถในระดบั สูงหรอื ทรงคุณวุฒไิ ม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าผทู้ ่ี สมคั รสอบคดั เลอื ก รวมทงั้ ตอ้ งปฏิบตั ิหน้าที่เป็นการเฉพาะตวั ในการใช้ดุลพินิจออกข้อสอบ ตรวจข้อสอบ และสัมภาษณ์ การดาเนินการของคณะกรรมการจงึ เป็นการกระทาโดยไม่มี อานาจหรือนอกเหนืออานาจหน้าที่ ๒. ประธานคณะกรรมการชุดดังกล่าวได้มอบหมาย ใหก้ รรมการอ่นื ทาหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบการสอบแทนตนเองทงั้ หมด

๕ ถอื เป็นการไม่ปฏบิ ตั หิ น้าท่ตี ามทไ่ี ดร้ บั มอบหมายโดยปราศจาก เหตุผลอนั สมควร ขดั คาสงั่ ของอธิการบดี และขดั ต่อเจตนารมณ์ ของการแต่งตงั้ คณะกรรมการเพ่อื ทาหน้าทใ่ี นการดาเนินการ สอบคดั เลอื ก ๓. ผู้ฟ้องคดีได้เข้ารบั การทดสอบข้อเขยี นในช่วงเช้า และในช่วงบ่ายเป็นขนั้ ตอนของการสอบสมั ภาษณ์ คณะกรรมการ ได้มอบหมายกรรมการบางรายให้ทาการสอบสมั ภาษณ์ โดย กรรมการผสู้ อบสมั ภาษณ์ไมด่ าเนินการใหผ้ ฟู้ ้องคดเี ขา้ หอ้ งสอบ ตามท่ีกาหนดในประกาศ แต่กลับให้มาพูดคุยในสถานท่ีอ่ืน โดยนงั่ คยุ ทโ่ี ต๊ะมา้ หนิ อ่อน และไมไ่ ดส้ มั ภาษณ์เกย่ี วกบั วสิ ยั ทศั น์ การทางาน ประสบการณ์หรือข้อมูลท่ีจะเป็ นประโยชน์ในการ นามาพิจารณาคดั เลือกบุคคลในตาแหน่งดังกล่าว และยงั ใช้ คาพูดในลักษณะดูหมิ่นเหยียดหยามผู้ฟ้ องคดีอย่างรุนแรง ซง่ึ ขดั กบั วตั ถปุ ระสงคใ์ นการสมั ภาษณ์ที่ต้องการให้กรรมการ ทุกคนร่วมกนั ใช้ดุลพินิ จในการพิจารณาคดั เลือกบุคคล กรณีจึงถือเป็ นการไม่ปฏิบัติตามคาสัง่ ของอธิการบดี และ เป็นการปฏบิ ตั ิไม่ถกู ต้องตามรปู แบบ ขนั้ ตอน หรือวิธีการ อนั เป็นสาระสาคญั ทก่ี าหนดไวใ้ นการสอบคดั เลอื กดงั กลา่ ว เมอื่ การดาเนินการสอบคดั เลือกไม่ชอบด้วยกฎหมาย ประกาศผลการสอบคดั เลือกทีป่ ระกาศให้ผ้ฟู ้องคดีไม่ผ่าน การสอบจึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย ศาลปกครองพิพากษา ให้เพิกถอนประกาศดงั กล่าว โดยมขี อ้ สงั เกตเก่ยี วกบั วธิ กี าร

๖ ดาเนินการให้เป็ นไปตามคาพิพากษาว่า ให้มหาวิทยาลัย ดาเนินการสอบคดั เลอื กใหมใ่ หถ้ กู ตอ้ งตามกฎหมายและหลกั เกณฑ์ ท่ีกาหนด อันเป็นการคืนสิทธิการสอบคดั เลือกใหม่ให้แก่ ผฟู้ ้องคดี ประเดน็ ดงั กล่าวยุตใิ นศาลปกครองชนั้ ต้น และศาลปกครอง สูงสุดได้วนิ ิจฉัยในส่วนของค่าเสียหาย โดยเห็นว่าผู้ฟ้องคดี ยงั ไม่ได้รบั ความเสยี หายแก่สทิ ธอิ ย่างหน่ึงอย่างใด เน่ืองจาก มไิ ด้แน่นอนว่าหากการดาเนินการสอบคดั เลอื กเป็นไปโดยชอบ ผู้ฟ้องคดจี ะได้รบั การคดั เลอื กหรอื ไม่ จงึ ไม่ถือเป็นการกระทา ละเมดิ ต่อผู้ฟ้องคดแี ละไม่ต้องชดใช้ค่าเสียหาย (คาพพิ ากษา ศาลปกครองสงู สุดที่ อ. ๖๕๘/๒๕๖๑) คดนี ้ีศาลปกครองไดว้ างแนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการทดี่ ี สาหรบั กรรมการทไี่ ด้รบั แต่งตัง้ ให้มอี านาจหน้าทใี่ นการสอบ คดั เลอื กบุคคล ซงึ่ ต้องดาเนิ นการด้วยตนเองเพราะเป็ นหน้าที่ ทีต่ ้องอาศยั ความร้คู วามสามารถเฉพาะตวั ในการใช้ดลุ พินิ จ ร่วมกัน อีกทัง้ ยังต้องปฏิ บัติตามหลักเกณฑ์หรือวิธีการ ทกี่ าหนดไว้ให้ถูกต้องครบถ้วน ซงึ่ ในการสอบสมั ภาษณ์ต้องมี เกณฑก์ ารวดั และการใหค้ ะแนนทชี่ ดั เจนและดาเนินการในหอ้ งสอบ ตามทกี่ าหนดในประกาศ มอิ าจใชอ้ านาจตามอาเภอใจเช่นใดกไ็ ด้ นะครบั !

๗ เรอื่ งที่ ๒ คะแนน “สอบสมั ภาษณ์” เข้ารบั ราชการ ... ต้องมหี ลกั เกณฑท์ ีช่ ดั เจน ! คาพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ. ๑๕๕/๒๕๖๑ สาระสาคญั ผสู้ มคั รสอบแข่งขนั เพอื่ บรรจุเป็นพนักงานเทศบาล ตาแหน่ง นักพฒั นาชุมชน ได้คะแนนสอบในภาคความรู้ความสามารถ เฉพาะตาแหน่ง (ภาค ข) ๑๖๒ คะแนน (คะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน) และไดค้ ะแนนสอบในภาคความเหมาะสมกบั ตาแหน่งหรอื การสอบ สัมภาษณ์ (ภาค ค) ๗๐ คะแนน (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ซงึ่ แตกต่างจากผสู้ อบแข่งขนั ไดใ้ นลาดบั ที่ ๑ และลาดบั ที่ ๒ ทไี่ ด้ ๙๒ คะแนน เป็นอย่างมาก โดยผู้สมคั รสอบรายพิพาทอยู่ใน ลาดบั ที่ ๕๕ และไม่ได้รบั การบรรจุแต่งตงั้ เมอื่ คณะกรรมการสอบ สัมภาษณ์ไม่ได้กาหนดหลักเกณฑ์และกรอบการให้คะแนน เพอื่ ให้เป็นมาตรฐานเดยี วกนั และมจี านวนมากถงึ ๒๐ ชุด หรอื ๖๐ คน ทาให้สามารถใช้ดุลพนิ ิจในการใหค้ ะแนนได้อย่างอสิ ระ ก่อให้เกิดการใช้อานาจตามอาเภอใจ อันไม่เป็นไปตามข้อ ๘ และข้อ ๙ วรรคสอง ของประกาศคณะกรรมการมาตรฐาน การบรหิ ารงานบุคคลส่วนท้องถิน่ ฯ และการทีค่ ณะกรรมการใช้ ระยะเวลาสอบภาค ค ประมาณ ๕ นาที โดยใช้คาถามในเรอื่ งทวั่ ไป เกยี่ วกบั การทางานเพยี งเลก็ น้อย รวมทงั้ ไมไ่ ดแ้ สดงพยานหลกั ฐาน

๘ ว่ามเี หตุผลใดทใี่ ช้พจิ ารณาให้คะแนนผู้สมคั รสอบรายน้ีแตกต่าง จากผสู้ มคั รสอบแข่งขนั รายอนื่ อยา่ งมาก กรณีจงึ ไมม่ เี หตุผลรองรบั การใช้ดุลพนิ ิจได้อย่างชดั แจง้ ประกอบกบั เมอื่ ประกาศหลกั เกณฑ์ การสอบกาหนดให้ใช้คะแนนรวม ซงึ่ หมายถงึ คะแนนทแี่ ท้จรงิ แต่คณะกรรมการได้แปลงคะแนนสอบของผู้สมคั รในภาค ข เป็นร้อยละ ทาให้ผู้สมคั รสอบรายพิพาทได้คะแนนรวมลดลง จงึ ไมเ่ ป็นไปตามหลกั เกณฑท์ หี่ น่วยงานกาหนดขน้ึ และส่งผลให้ ประกาศข้นึ บญั ชีผู้สอบแข่งขนั ได้เฉพาะรายของผู้สมคั รสอบ ทพี่ พิ าทไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย หลกั กฎหมาย/บรรทดั ฐานทีเ่ กีย่ วข้อง การดาเนินการสอบแขง่ ขนั เพอื่ คดั เลอื กบคุ คลเขา้ รบั การบรรจุ แต่งตงั้ เป็นข้าราชการหรอื เจ้าหน้าทขี่ องรฐั จะต้องเป็นไปตาม หลกั เกณฑห์ รอื แนวทางทปี่ ระกาศรบั สมคั รกาหนดไวอ้ ย่างเครง่ ครดั และในการสอบสมั ภาษณ์ต้องกาหนดกรอบการใช้ดุลพนิ ิจของ คณะกรรมการไว้อย่างชดั เจน เช่น รายละเอียดการให้คะแนน โดยกาหนดสัดส่วนการให้คะแนน ช่วงการให้คะแนนขัน้ ต่า และขัน้ สูง เพือ่ เป็นมาตรฐานในการให้คะแนนผู้สอบแข่งขัน อย่างเป็นธรรม การกาหนดระยะเวลาและคาถามทใี่ ชใ้ นการสอบ สมั ภาษณ์ทมี่ คี วามเหมาะสมในการบ่งช้ถี งึ ความเหมาะสมในด้าน ต่าง ๆ ของผู้เขา้ สอบแข่งขนั กับตาแหน่งทเี่ ปิดรบั สมคั ร รวมทงั้ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทใี่ ชใ้ นการพจิ ารณาให้คะแนน จะต้องมเี หตุผลทรี่ บั ฟัง ไดอ้ ยา่ งชดั เจน

๙ คะแนน “สอบสมั ภาษณ์” เข้ารบั ราชการ ... ต้องมีหลกั เกณฑท์ ่ีชดั เจน ! โดยทวั่ ไป... การสอบคดั เลือกเพ่อื บรรจุบุคคลเข้ารบั ราชการ จะมวี ธิ กี ารปฏบิ ตั แิ ละขนั้ ตอนการดาเนินการคดั เลอื ก บุคคลในทานองเดยี วกนั เช่น มคี ณะกรรมการควบคุมการสอบ คณะกรรมการตรวจขอ้ สอบ คณะกรรมการสอบสมั ภาษณ์ หรอื มขี นั้ ตอนการสอบแข่งขนั เช่น สอบภาคความรูค้ วามสามารถ เฉพาะตาแหน่ง (ภาค ข) และสอบภาคความเหมาะสมกบั ตาแหน่ง (ภาค ค) เป็นตน้ ซง่ึ ในการสอบภาคความเหมาะสมกบั ตาแหน่ง หรอื การสอบสมั ภาษณ์ อาจมปี ัญหาเร่อื ง “ความเป็ นธรรม” ของคณะกรรมการสอบสมั ภาษณ์ในการพิจารณาให้คะแนน ผเู้ ขา้ สอบไดเ้ ชน่ เดยี วกนั อุทาหรณ์จากคดปี กครองฉบบั น้ี... แมว้ ่าจะเป็นคดพี พิ าท ท่ีเกิดข้ึนจากการสอบแข่งขันเพ่ือบรรจุเข้ารับราชการเป็ น พนักงานเทศบาล เก่ียวกับการใช้ดุลพินิจอย่างไม่เป็นธรรม ของคณะกรรมการสอบสมั ภาษณ์ในการให้คะแนนผู้เขา้ สอบ... แต่ก็เช่อื ว่าข้อพิพาทในคดนี ้ีจะเป็นอุทาหรณ์และเป็นแนวทาง ปฏบิ ตั ริ าชการทด่ี ใี หก้ บั หน่วยงานของรฐั รวมถงึ เจา้ หน้าทข่ี องรฐั อ่ืน ๆ ในการดาเนินการสอบแข่งขนั เพ่ือบรรจุแต่งตัง้ บุคคล เขา้ รบั ราชการในหน่วยงานของตน

๑๐ คดีน้ีมีมูลเหตุเกิดจากคณะกรรมการพนักงานเทศบาล ประกาศรับสมคั รสอบแข่งขันเพ่ือบรรจุบุคคลเข้ารับราชการ เป็นพนกั งานเทศบาล โดยกาหนดใหม้ กี ารสอบแขง่ ขนั ๒ ภาค คอื ภาคความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง ๒๐๐ คะแนน และ ภาคความเหมาะสมกบั ตาแหน่ง ๑๐๐ คะแนน ผู้ฟ้ องคดีได้สมคั รสอบแข่งขนั ตามประกาศดงั กล่าว ในตาแหน่งนกั พฒั นาชมุ ชน โดยสอบภาคความรคู้ วามสามารถเฉพาะตาแหน่ง (ภาค ข) ได้คะแนนสูงกว่าผู้สมคั รสอบทุกคน คอื ๑๖๒ คะแนน แต่การ สอบภาคความเหมาะสมกบั ตาแหน่ง (ภาค ค) คณะกรรมการสอบ ใชร้ ะยะเวลาสอบ ๕ นาที และได้คะแนน ๗๐ คะแนน ซง่ึ แตกต่าง กบั ผสู้ อบแขง่ ขนั ทไ่ี ดร้ บั การขน้ึ บญั ชใี นลาดบั ท่ี ๑ และลาดบั ท่ี ๒ ทไ่ี ดค้ ะแนน ๙๒ คะแนน ทาใหผ้ ฟู้ ้องคดไี มไ่ ดร้ บั การบรรจแุ ต่งตงั้ ผฟู้ ้องคดเี หน็ ว่า ในการสอบภาคความเหมาะสมกบั ตาแหน่ง ไมม่ หี ลกั เกณฑใ์ นการใหค้ ะแนนผเู้ ขา้ สอบแข่งขนั เป็นการเปิดช่อง ใหม้ กี ารทุจรติ ไมเ่ ป็นธรรม เป็นการเลอื กปฏบิ ตั ิ และไม่เป็นไปตาม มาตรฐานกลางการบรหิ ารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น จงึ ย่นื ฟ้อง คณะกรรมการพนกั งานเทศบาลต่อศาลปกครองขอใหม้ คี าพพิ ากษา หรอื คาสงั่ เพกิ ถอนประกาศขน้ึ บญั ชผี ู้สอบแข่งขนั ได้เพ่อื บรรจุ แต่งตงั้ เป็นพนกั งานเทศบาลเฉพาะรายผฟู้ ้องคดี

๑๑ ข้อเท็จจริงเก่ียวกับการให้คะแนนภาคความเหมาะสม กบั ตาแหน่ง คอื การประเมนิ บุคคลเพ่อื พจิ ารณาความเหมาะสมกบั ตาแหน่งตามองคป์ ระกอบ ๓ ส่วน คอื (๑) บุคลกิ ภาพ (๒) ทศั นคติ และแรงจูงใจ (๓) ความรู้ความสามารถ โดยไม่มกี ารกาหนด หลกั เกณฑ์ในการให้คะแนนแต่ละองค์ประกอบท่ที าการประเมนิ ว่าควรมสี ดั ส่วนให้คะแนนเท่าใด หรอื ควรมชี ่วงการให้คะแนน ขนั้ ต่าและขนั้ สูงเพยี งใด เพ่อื เป็นมาตรฐานให้คณะกรรมการสอบ ภาคความเหมาะสมกบั ตาแหน่งใชใ้ นการใหค้ ะแนนผเู้ ขา้ สอบแข่งขนั โดยมคี ณะกรรมการสอบจานวน ๒๐ ชดุ ชุดละ ๓ คน ปัญหาประการแรก คือ กรณีท่หี น่วยงานของรฐั ไม่ได้ กาหนดหลกั เกณฑใ์ นการใหค้ ะแนนแต่ละองคป์ ระกอบ... การตงั้ คณะกรรมการสอบหลายชุด... ระยะเวลาในการสอบสมั ภาษณ์ รวมถงึ คาถามท่ใี ช้สอบสมั ภาษณ์ ส่งผลต่อการใช้ดุลพนิ ิจของ คณะกรรมการสอบอยา่ งไร ข้อกฎหมาย ตามขอ้ ๘ และขอ้ ๙ วรรคสอง ของประกาศ คณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคลส่วนท้องถ่ิน เร่อื ง กาหนดมาตรฐานกลางการบรหิ ารงานบุคคลส่วนท้องถนิ่ ลงวนั ท่ี ๒๕ มถิ ุนายน ๒๕๔๔ กาหนดว่า การสรรหาบุคคลเขา้ รบั ราชการ ในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้คานึงถึงความเป็นธรรมและ ความเสมอภาค ให้โอกาสแก่บุคคลทม่ี สี ทิ ธอิ ย่างเท่าเทยี มกนั และ ให้ดาเนินการสอบแข่งขนั เป็นการทวั่ ไปอย่างเปิดเผย โปร่งใส

๑๒ สามารถตรวจสอบได้ เพ่อื ใหไ้ ดผ้ ทู้ ม่ี คี วามรเู้ หมาะสมกบั ตาแหน่ง ตามวตั ถุประสงคข์ ององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ศาลปกครองสูงสุดวินิ จฉัยว่า การไม่ได้กาหนด หลกั เกณฑแ์ ละกรอบการให้คะแนนผูเ้ ขา้ สอบแข่งขนั ภาคความรู้ ความสามารถเฉพาะตาแหน่งเพ่อื ใหเ้ ป็นมาตรฐานเดยี วกนั และ คณะกรรมการสอบมีจานวนมากถึง ๒๐ ชุด หรือ ๖๐ คน คณะกรรมการสอบจงึ สามารถใช้ดุลพินิจในการให้คะแนนแก่ ผเู้ ขา้ สอบแขง่ ขนั ไดอ้ ย่างอสิ ระ และเปิดกวา้ งตามดุลพนิ ิจเพยี งใด กไ็ ด้ เป็นการก่อใหเ้ กิดการใช้อานาจตามอาเภอใจ ไม่เป็นไปตาม ขอ้ ๘ และขอ้ ๙ วรรคสอง และการใชร้ ะยะเวลาสอบประมาณ ๕ นาที และใช้คาถามในเร่อื งทวั่ ไปเก่ียวกบั การทางานเพียงเล็กน้อย โดยไมป่ รากฏพฤตกิ ารณ์บ่งชถ้ี งึ ความไมเ่ หมาะสมในดา้ นต่าง ๆ ตามท่ปี ระกาศกาหนดไว้ รวมทงั้ ไม่ได้แสดงพยานหลกั ฐานว่า มขี ้อเท็จจริงหรือเหตุผลใดท่ีใช้พิจารณาให้คะแนนผู้ฟ้องคดี แตกต่างจากผสู้ อบแขง่ ขนั รายอ่นื อยา่ งมาก จงึ ไม่มเี หตุผลรองรบั การใชด้ ุลพนิ ิจการใหค้ ะแนนดงั กล่าว ไดอ้ ยา่ งแจง้ ชดั ประกอบกบั การไมไ่ ดก้ าหนดกรอบการใหค้ ะแนนไว้ มลี กั ษณะเป็นการใชด้ ุลพนิ ิจตามอาเภอใจ จงึ เป็นการใชด้ ุลพนิ ิจ โดยมชิ อบ ทาใหก้ ารสอบแขง่ ขนั ครงั้ น้ีไม่เป็นธรรมและไม่ทาใหไ้ ด้ ผทู้ ม่ี คี วามรเู้ หมาะสมกบั ตาแหน่งอยา่ งแทจ้ รงิ ปัญหาประการทสี่ อง คอื การคานวณคะแนนของผเู้ ขา้ สอบ แขง่ ขนั โดยไมไ่ ดน้ าคะแนนสอบตามความจรงิ มาใช้ แต่นาคะแนน

๑๓ ทค่ี ดิ เป็นรอ้ ยละมาใชใ้ นการรวมคะแนนเพ่อื เรยี งลาดบั เป็นการ กระทาทช่ี อบดว้ ยกฎหมายหรอื ไม่ ศาลปกครองสูงสุดวินิ จฉัยว่า ผู้ฟ้องคดสี อบได้คะแนน ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะตาแหน่ง (ภาค ข) ๑๖๒ คะแนน จากคะแนนเต็ม ๒๐๐ คะแนน ภาคความรู้ความสามารถเฉพาะ ตาแหน่ง (ภาค ค) ๗๐ คะแนน จากคะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน จงึ สอบไดค้ ะแนนทงั้ สองภาคไม่ต่ากว่ารอ้ ยละ ๖๐ เม่อื ประกาศ หลกั เกณฑก์ ารสอบแขง่ ขนั กาหนดใหใ้ ชค้ ะแนนรวม ซง่ึ หมายถงึ คะแนนท่แี ท้จรงิ มใิ ช่หมายถงึ อตั รารอ้ ยละของคะแนนทแ่ี ท้จรงิ ผฟู้ ้องคดจี งึ ไดค้ ะแนน ๒๓๒ คะแนน และอย่ใู นลาดบั ท่ี ๑ ของ บญั ชผี สู้ อบแขง่ ขนั ได้ การท่ีคณะกรรมการสอบได้แปลงคะแนนสอบของ ผฟู้ ้องคดภี าค ข เป็นรอ้ ยละ ๘๑ รวมกบั ภาค ค ๗๐ คะแนน ทาให้ ผฟู้ ้องคดไี ดค้ ะแนนรวม ๑๕๑ คะแนน อย่ลู าดบั ท่ี ๕๕ จงึ ไมเ่ ป็นไป ตามหลกั เกณฑข์ า้ งตน้ ดงั นนั้ ประกาศขน้ึ บญั ชผี สู้ อบแข่งขนั ได้ โดยขน้ึ บญั ชผี ฟู้ ้องคดเี ป็นลาดบั ท่ี ๕๕ จงึ ไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย พิพากษาเพิกถอนประกาศข้นึ บัญชีผู้สอบแข่งขนั ได้ เฉพาะรายผฟู้ ้องคดี และให้ประกาศขน้ึ บญั ชผี ูส้ อบแข่งขนั ไดใ้ หม่ ใหถ้ กู ตอ้ งตามผลคะแนนทแ่ี ทจ้ รงิ เฉพาะรายผฟู้ ้องคดี คาพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดคดนี ้ี จงึ ถอื เป็นแนวทาง การปฏิบัติราชการท่ีดีสาหรบั หน่วยงานของรฐั หลาย ๆ แห่ง ท่ดี าเนินการสอบแข่งขนั เพ่ือคดั เลือกบุคคลเข้ารบั การบรรจุ

๑๔ แต่งตัง้ เป็นข้าราชการ โดยเฉพาะกรณีการกาหนดแนวทาง ในการสอบสมั ภาษณ์ว่าจะต้องเป็นไปตามแนวทางท่ปี ระกาศ กาหนดอย่างเคร่งครดั และใหก้ าหนด “กรอบการใช้ดุลพินิจ” ของคณะกรรมการทท่ี าหน้าทไ่ี วอ้ ยา่ งชดั เจนทงั้ (๑) รายละเอยี ด การให้คะแนน สดั ส่วนการให้คะแนน ช่วงการให้คะแนนขนั้ ต่า และขนั้ สูงในแต่ละองคป์ ระกอบ เพ่อื เป็นมาตรฐานใหค้ ณะกรรมการ ใชใ้ นการใหค้ ะแนนผู้สอบแข่งขนั อย่างเป็นธรรม (๒) ระยะเวลา ท่ใี ช้ในการสอบสมั ภาษณ์และคาถามท่ใี ชใ้ นการสอบสมั ภาษณ์ มคี วามเหมาะสมเพียงพอท่ีจะสามารถบ่งช้ีถึงความเหมาะสม ดา้ นต่าง ๆ เช่น ดา้ นพฤตกิ รรม ความรคู้ วามสามารถ หรอื ดา้ นอ่นื ๆ ตามทป่ี ระกาศกาหนดไว้ (๓) ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื เหตุผลทใ่ี ชใ้ นการ พจิ ารณาใหค้ ะแนนผูส้ อบแข่งขนั โดยเฉพาะอย่างยง่ิ กรณีทม่ี ี ความแตกต่างจากผู้สอบแข่งขนั รายอ่ืนอย่างมาก จะต้องมี ขอ้ เทจ็ จรงิ และเหตุผลท่รี บั ฟังได้ ทงั้ น้ี เพ่อื ใหไ้ ด้ผู้ทม่ี คี วามรู้ท่ี เหมาะสมกบั ตาแหน่งตามวตั ถุประสงคข์ องหน่วยงานของรฐั อย่าง แทจ้ รงิ รวมทงั้ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเป็นธรรมอย่างเสมอภาค ใหโ้ อกาส แก่บุคคลมสี ทิ ธอิ ย่างเท่าเทยี มกนั และให้การดาเนินการสอบ แขง่ ขนั เป็นไปอยา่ งเปิดเผย โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ ท่านทส่ี นใจสามารถศกึ ษารายละเอยี ดไดใ้ นคาพพิ ากษา ศาลปกครองสงู สดุ ท่ี อ. ๑๕๕/๒๕๖๑

๑๕ เรอื่ งที่ ๓ ระบายรหสั ประจาตวั สอบผิด “ไม่ตดั สิทธิ” คะแนนสอบ คาพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ. ๔๗๙/๒๕๕๘ สาระสาคญั การคดั เลอื กขา้ ราชการครเู พอื่ ดารงตาแหน่งรองผอู้ านวยการ สถานศกึ ษาและผอู้ านวยการสถานศกึ ษาเป็นการทดสอบความรู้ ความสามารถของผู้เขา้ รบั การคดั เลอื ก โดยการกระทาทจี่ ะมผี ล ถงึ ขนาดให้การทดสอบความรู้ความสามารถเสยี ไป ต้องกระทบ ต่อสาระสาคญั ของการทดสอบเท่านัน้ เช่น การทุจรติ ในการสอบ ซงึ่ แมว้ า่ การตรวจสอบชอื่ ผเู้ ขา้ สอบในกระดาษคาตอบทมี่ กี ารระบาย รหัสประจาตัวสอ บไม่ตรง กับเลขรหัสประจาตัวสอบ จะทาใ ห้ เกิดความไม่สะดวกและก่ อให้เกิดความล่าช้าในการตรวจแล ะ ประมวลผล แต่ก็ไม่ได้ทาให้สาระสาคญั ในการคดั เลอื กดงั กล่าว เสยี ไป การตดั สทิ ธิในคะแนนของผู้เข้าสอบทมี่ กี ารระบายรหสั ประจาตวั สอบผดิ โดยอา้ งแนวปฏบิ ตั ใิ นการตรวจกระดาษคาตอบ ดว้ ยเครอื่ งจกั ร กรณที กี่ ระดาษคาตอบไม่สามารถตรวจได้ อนั เนือ่ ง มาจากความผดิ พลาดของผเู้ ขา้ สอบจะไมน่ าคะแนนมาประมวลผล จงึ ขดั ต่อเจตนารมณ์ทางกฎหมายของการทดสอบความรคู้ วามสามารถ ในตาแหน่งทเี่ ปิดสอบ ประกอบกบั การระบายรหสั ประจาตวั สอบผดิ ไม่ได้เป็นความผดิ พลาดของผู้เข้าสอบเพยี งฝ่ ายเดยี ว แต่เป็น

๑๖ ความผดิ พลาดของกรรมการกากบั หอ้ งสอบด้วยทไี่ ม่ไดต้ รวจสอบ ก่อนเก็บกระดาษคาตอบ ดังนัน้ ประกาศของเลขาธิการฯ เฉพาะส่วนทไี่ ม่มรี ายชอื่ ผเู้ ขา้ สอบทรี่ ะบายรหสั ประจาตวั สอบผดิ เป็นผสู้ อบผ่านภาค ก. จงึ เป็นคาสงั่ ทไี่ มช่ อบดว้ ยกฎหมาย หลกั กฎหมาย/บรรทดั ฐานทีเ่ กีย่ วข้อง หน่วยงานทางปกครองและเจา้ หน้าทขี่ องรฐั ต้องใชอ้ านาจ โดยคานึงถงึ เจตนารมณ์ของกฎหมายทใี่ ห้อานาจด้วย ซงึ่ แมว้ ่า จะไดม้ กี ารกาหนดแนวปฏบิ ตั ขิ น้ึ เป็นการภายในเพอื่ ใชเ้ ป็นแนวทาง การปฏบิ ตั ริ าชการในเรอื่ งใดเรอื่ งหนึง่ เพอื่ ความสะดวกรวดเรว็ กต็ าม แต่หน่วยงานทางปกครองและเจา้ หน้าทขี่ องรฐั กไ็ ม่อาจนา แนวปฏบิ ตั นิ ัน้ มาใชใ้ นทางทขี่ ดั ต่อเจตนารมณ์ของกฎหมายทใี่ ห้ อานาจได้ หรอื ไม่อาจนาข้อผดิ พลาดทเี่ กิดข้นึ จากการไม่ปฏบิ ตั ิ ตามแนวทางดงั กล่าวในส่วนทมี่ ใิ ช่สาระสาคญั เพอื่ มาเป็นเหตุผล หรอื ขอ้ อ้างในการใชอ้ านาจกระทาการใด ๆ จนส่งผลกระทบต่อ สทิ ธขิ องบุคคลซงึ่ เป็นคู่กรณใี นกระบวนการพจิ ารณาทางปกครอง หากมกี ารใช้อานาจไปโดยฝ่ าฝืนต่อเจตนารมณ์ของกฎหมาย จะถือเป็นการกระทาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายทีศ่ าลปกครอง มอี านาจพจิ ารณาพพิ ากษาเพอื่ เพกิ ถอนการกระทานนั้ ได้

๑๗ ระบายรหสั ประจาตวั สอบผิด “ไม่ตดั สิทธิ” คะแนนสอบ ในการคดั เลอื กบุคคลเพ่อื บรรจุและแต่งตงั้ ขา้ ราชการให้ ดารงตาแหน่งสูงขน้ึ การทดสอบความรูค้ วามสามารถของบุคคล ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทส่ี ่วนราชการนนั้ ๆ กาหนด ถอื เป็น วธิ กี ารหน่ึงเพ่อื ให้ได้บุคคลท่เี หมาะสมกบั ตาแหน่งงานมากท่สี ุด โดยผู้สมคั รเขา้ รบั การคดั เลอื กจะต้องปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บเก่ยี วกบั การเขา้ สอบและวธิ กี ารสอบอยา่ งเคร่งครดั เช่น การสอบขอ้ เขยี น ซง่ึ ผเู้ ขา้ สอบจะตอ้ งกรอกรหสั ประจาตวั สอบ การแสดงบตั รประจาตวั ประชาชนหรอื บตั รทท่ี างราชการออกให้ก่อนเขา้ หอ้ งสอบ ห้ามนา เคร่อื งมอื ส่อื สารอเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ุกชนิดเขา้ ห้องสอบเพ่อื ป้องกนั การทุจรติ ในการสอบ หากผู้สมคั รสอบไม่ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บ เกย่ี วกบั การเขา้ สอบและวธิ กี ารสอบดงั กล่าว หรอื มเี จตนาทุจรติ ในการสอบหรอื พยายามกระทาการทุจรติ ในการสอบ ผูส้ มคั รสอบ อาจไม่ได้รบั อนุญาตให้เข้าสอบหรืออาจถูกพิจารณาตัดสิทธิ ไมต่ รวจใหค้ ะแนนสอบได้ อยา่ งไรกต็ าม ถงึ แมว้ า่ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการสอบ คดั เลอื กจะกาหนดใหอ้ านาจหน่วยงานทจ่ี ดั สอบในการไม่อนุญาต หรอื ตดั สทิ ธไิ มต่ รวจคะแนนสอบไดก้ ต็ าม แต่กไ็ มไ่ ดห้ มายความว่า จะใชอ้ านาจนนั้ โดยไม่คานึงถงึ วตั ถุประสงคข์ องการสอบคดั เลอื ก หรอื เจตนารมณ์ของกฎหมาย

๑๘ ดงั เช่นคดปี กครองทน่ี ามาเล่าส่กู นั ฟังในคอลมั น์กฎหมาย ใกล้ตวั ฉบบั น้ี เป็นเร่อื งของขา้ ราชการผู้เข้าสอบได้ระบายรหสั ประจาตวั สอบผดิ และถูกตดั สทิ ธใิ นการตรวจคะแนนในวชิ านัน้ ทาใหไ้ มม่ ชี ่อื เป็นผสู้ อบผ่าน กรณีดงั กล่าวถือเป็นข้อผิดพลาดถึงขนาดต้องตดั สทิ ธิ ไมใ่ หไ้ ดร้ บั คะแนนในรายวชิ านนั้ หรอื ไม่ ? คดีนี้เกิดจากผฟู้ ้องคดสี อบคดั เลอื กเพ่อื บรรจุและแต่งตงั้ ให้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถานศึกษาและผู้อานวยการ สถานศึกษา ต่อมา ผู้ถูกฟ้องคดี (เลขาธกิ ารคณะกรรมการการ ศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน) ไดป้ ระกาศรายช่อื ผผู้ ่านภาค ก. ปรากฏว่าไม่มี รายช่ือของผู้ฟ้องคดี ผู้ฟ้องคดีไปขอดูคะแนนสอบจงึ ทราบว่า ผฟู้ ้องคดที าขอ้ สอบวชิ าภาคเช้าได้ ๖๒ คะแนน แต่ระบายรหสั ประจาตวั สอบในกระดาษคาตอบวชิ าดงั กล่าวผดิ ส่วนขอ้ สอบ วชิ าภาคบ่ายผฟู้ ้องคดไี ด้ ๖๗ คะแนน ผถู้ ูกฟ้องคดจี งึ ไม่นาคะแนน ในวชิ าทร่ี ะบายรหสั ประจาตวั สอบผดิ รวมกบั คะแนนสอบอกี วชิ า ทาใหผ้ ฟู้ ้องคดไี มม่ ชี อ่ื เป็นผสู้ อบผ่านภาค ก. ผู้ฟ้องคดเี ห็นว่า ในกระดาษคาตอบได้ปรากฏช่อื และ ช่อื สกุลของผูฟ้ ้องคดี การระบายรหสั ประจาตวั สอบผดิ จงึ ไม่ใช่ สาระสาคญั ทจ่ี ะทาใหก้ ารตรวจขอ้ สอบตอ้ งเสยี ไป เม่อื ผฟู้ ้องคดี ได้ผลคะแนนสอบสองวชิ ารวมกนั เกนิ กว่ารอ้ ยละหา้ สบิ ถอื เป็น ผผู้ า่ นเกณฑก์ ารคดั เลอื กตามทผ่ี ถู้ กู ฟ้องคดกี าหนดไว้ จงึ ฟ้องคดี ต่อศาลปกครองขอให้เพิกถอนประกาศผลการสอบภาค ก.

๑๙ เฉพาะรายของผฟู้ ้องคดี และใหป้ ระกาศผลการสอบภาค ก. ใหม่ ใหถ้ ูกตอ้ งต่อไป ผู้ถูกฟ้ องคดีอ้างว่า ในกระดาษคาตอบมีคาแนะนา การระบายรหสั อย่างชดั เจน ซ่งึ ผู้เขา้ สอบทุกคนต้องทราบและ ปฏบิ ตั ติ าม การท่ผี ู้ฟ้องคดรี ะบายรหสั ประจาตวั สอบผดิ ถอื เป็น ความผดิ ของผเู้ ขา้ สอบเอง คณะกรรมการตรวจกระดาษคาตอบ และประมวลผลการคดั เลอื กจงึ ไม่อาจแก้คะแนนของผู้เขา้ สอบได้ ประกอบกบั การตรวจกระดาษคาตอบและประมวลผลการสอบ แขง่ ขนั ไดด้ าเนินการดว้ ยเคร่อื งจกั รตามแนวปฏบิ ตั ติ ามหนังสอื สานักงาน ก.ค. ท่ี ศธ ๑๕๐๔/ว ๓ ลงวนั ท่ี ๑๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๓๓ ข้อ ๒.๑.๒ และข้อ ๒.๒ กาหนดว่า กรณีท่ีกระดาษคาตอบ ไม่สามารถตรวจได้ อนั เน่ืองมาจากความผดิ พลาดของผู้เขา้ สอบ เช่น ผู้เข้าสอบลงรหัสผิดพลาด ลงรหัสซ้ากัน หรือลงรหัส ด้วยปากกา จะไม่มกี ารแก้ไขใด ๆ ทงั้ ส้นิ และจะไม่นาคะแนน ทไ่ี ดจ้ ากการตรวจกระดาษคาตอบมาประมวลผล ประเด็นที่เป็ นปัญหา คือ ผู้ถูกฟ้องคดมี สี ทิ ธินาเหตุ บกพร่องของผู้ฟ้ องคดีจากการระบายรหัสประจาตัวสอบผิด มาตดั สิทธคิ ะแนนสอบ โดยถือว่าผู้ฟ้องคดเี ป็นผู้สอบไม่ผ่าน หรอื ไม่ ? ศาลปกครองสงู สดุ วินิจฉัยว่า แนวปฏบิ ตั ใิ นการตรวจ กระดาษคาตอบและประมวลผลการสอบแข่งขนั ด้วยเคร่อื งจกั รฯ ท่นี ามาใช้ขณะเกิดข้อพพิ าท เป็นระเบยี บภายในเพ่อื อานวย ความสะดวกในการตรวจกระดาษคาตอบและประมวลผลการสอบ

๒๐ แต่การคดั เลอื กขา้ ราชการครเู พ่อื ดารงตาแหน่งรองผอู้ านวยการ สถานศกึ ษาและผอู้ านวยการสถานศกึ ษา เป็นการทดสอบความรู้ ความสามารถของผเู้ ขา้ รบั การคดั เลอื ก การกระทาทจ่ี ะมผี ลถงึ ขนาด ให้การทดสอบความรู้ความสามารถเสียไป ต้องเป็นการกระทา ทก่ี ระทบต่อสาระสาคญั ของการทดสอบความรู้ความสามารถ เช่น การทุจรติ ในการสอบ แต่การระบายรหสั ประจาตวั สอบไม่ตรงกบั เลขรหสั ประจาตวั สอบไม่กระทบต่อสาระสาคญั ของการทดสอบ ความรคู้ วามสามารถของผเู้ ขา้ สอบ และไมป่ รากฏว่ามกี ารทุจรติ ใน การสอบและมผี ลคะแนนออกมาแล้ว ผู้ถูกฟ้องคดกี ็มขี นั้ ตอน ทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ติ ่อไปเพยี งการประมวลผลคะแนน การตรวจสอบช่ือผู้เข้าสอบในกระดาษคาตอบท่ีมกี าร ระบายรหสั ประจาตวั สอบไม่ตรงกบั เลขรหสั ประจาตวั สอบจะทาให้ ผถู้ ูกฟ้องคดไี ม่ไดร้ บั ความสะดวก และก่อใหเ้ กดิ ความล่าชา้ ในการ ตรวจให้คะแนนและประมวลผลคะแนนเท่านัน้ แต่ไม่ได้ทาให้ สาระสาคญั ในการคดั เลอื กดงั กล่าวเสยี ไป การนาแนวปฏบิ ตั ิ ดงั กล่าวมาตดั สทิ ธใิ นคะแนนของผฟู้ ้องคดี จงึ ขดั ต่อเจตนารมณ์ ทางกฎหมายของการทดสอบความรคู้ วามสามารถเพ่อื คดั เลอื ก รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษาและผอู้ านวยการสถานศกึ ษา นอกจากนัน้ ผู้ถูกฟ้ องคดียังต้องนาแนวปฏิบัติการ ดาเนินการสอบภาค ก. ท่กี าหนดขน้ึ มาใชบ้ งั คบั ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ มาพิจารณาประกอบด้วย เม่อื แนวปฏิบตั กิ ารดาเนินการสอบ ภาค ก. ได้กาหนดให้กรรมการกากบั หอ้ งสอบมหี น้าท่ตี รวจสอบ การลงรหสั วชิ าและรหสั ประจาตวั สอบของผู้เขา้ สอบเพ่อื ป้องกนั

๒๑ การทุจรติ ในการสอบ กรรมการกากบั หอ้ งสอบจงึ มหี น้าทต่ี ้องตรวจ การระบายรหสั ประจาตวั สอบให้ตรงกบั เลขรหสั ประจาตวั สอบ และตวั บุคคลทเ่ี ขา้ สอบก่อนเกบ็ กระดาษคาตอบ ดงั นัน้ เม่อื พบว่ามผี ู้เข้าสอบระบายรหสั ประจาตวั สอบ ไม่ตรงกบั เลขรหสั ประจาตวั สอบ จงึ ไม่ได้เป็นความผดิ พลาดของ ผู้เขา้ สอบเพยี งฝ่ ายเดยี ว แต่เป็นความผดิ พลาดของกรรมการ กากบั ห้องสอบประกอบดว้ ย จงึ ไม่อาจถือได้ว่าเป็นกรณีท่เี กดิ มาจากความผดิ พลาดของผู้เขา้ สอบตามขอ้ ๒.๒ ของแนวปฏบิ ตั ิ ในการตรวจกระดาษคาตอบและประมวลผลการสอบแข่งขนั ดว้ ย เครอ่ื งจกั รฯ ทจ่ี ะตดั สทิ ธผิ ฟู้ ้องคดเี น่อื งจากระบายรหสั ประจาตวั สอบ ไมต่ รงกบั เลขรหสั ประจาตวั สอบ ประกาศของผถู้ กู ฟ้องคดเี ฉพาะสว่ นทไ่ี มป่ ระกาศรายช่อื ผฟู้ ้องคดเี ป็นผสู้ อบผา่ นภาค ก. จงึ เป็นคาสงั่ ทไ่ี มช่ อบดว้ ยกฎหมาย ผถู้ ูกฟ้องคดจี งึ ตอ้ งนาคะแนนสอบในวชิ าทร่ี ะบายรหสั ประจาตวั สอบ ผิดมารวมในบัญชีคะแนน และประกาศรายช่ือผู้ฟ้องคดีเป็น ผสู้ อบผ่านภาค ก. ใหถ้ ูกตอ้ ง (คาพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. ๔๗๙/๒๕๕๘) คดีน้ีเป็ นบรรทัดฐานการปฏิบัติราชการท่ีดีสาหรับ หน่วยงานทางปกครองและเจ้าหน้าท่ีของรฐั ท่ีจะต้องใช้อานาจ โดยคานึงถงึ เจตนารมณ์ของกฎหมายทใ่ี หอ้ านาจในเร่อื งนัน้ ๆ ซ่งึ แมว้ ่าจะไดม้ กี ารกาหนดแนวปฏบิ ตั ขิ น้ึ เป็นการภายในเพ่อื ใชเ้ ป็น แนวทางในการปฏบิ ตั ใิ นเร่อื งใดเร่อื งหน่ึงเพ่อื ความสะดวกรวดเรว็ ในการทาหน้าท่ขี องหน่วยงานทางปกครองหรอื เจา้ หน้าท่ขี องรฐั

๒๒ หน่วยงานทางปกครองหรอื เจา้ หน้าท่ขี องรฐั ผใู้ ชอ้ านาจกไ็ มอ่ าจนา แนวปฏบิ ตั ดิ งั กล่าวมาใชใ้ นทางท่ขี ดั ต่อเจตนารมณ์ของกฎหมาย ทใ่ี หอ้ านาจได้ หรอื ไมอ่ าจนาขอ้ ผดิ พลาดทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการไม่ปฏบิ ตั ิ ตามแนวปฏบิ ตั ดิ งั กล่าวในขอ้ ทม่ี ใิ ช่สาระสาคญั มาเป็นเหตุผลของ การใช้อานาจ จนส่งผลกระทบต่อสทิ ธขิ องบุคคลใดบุคคลหน่ึง ทเ่ี ป็นคู่กรณีในกระบวนการพจิ ารณาทางปกครอง นอกจากน้ี คดนี ้ยี งั เป็นอุทาหรณ์ทด่ี สี าหรบั ผเู้ ขา้ สอบคดั เลอื กหรอื สอบแข่งขนั ในทุกสนามสอบท่ีจะต้องปฏิบัติตามคาช้ีแจงหรอื ข้อสัง่ การ ท่กี าหนดไว้สาหรบั การสอบในครงั้ นัน้ ๆ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การเขยี นเลขประจาตวั สอบหรอื การระบายรหสั ประจาตวั สอบ จะตอ้ งถูกตอ้ ง เพอ่ื มใิ หต้ อ้ งเกดิ เป็นประเดน็ ขอ้ พพิ าทดงั เช่นคดนี ้ี เป็นตน้

๒๓ เรอื่ งที่ ๔ ให้ “หญิง” ถอดเส้ือผา้ รอตรวจรา่ งกาย ... วิธีการทีม่ ีผลกระทบต่อศกั ดิศ์ รคี วามเป็นมนุษย์ !! คาพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ. ๑๑๑๓/๒๕๖๑ สาระสาคญั คณะกรรมการไดก้ าหนดวธิ กี ารตรวจรา่ งกายสาหรบั ผสู้ อบผ่าน ขอ้ เขยี นเพอื่ คดั เลอื กเป็นนายรอ้ ยตารวจ (หญงิ ) โดยการจดั ให้ ผเู้ ขา้ รบั การตรวจรา่ งกายเขา้ ตรวจพรอ้ มกนั หลายคนและแต่ละคน ต้องถอดเส้อื ผา้ ออกทงั้ หมด เพอื่ ใหอ้ ย่ใู นสภาพทพี่ รอ้ มจะใหแ้ พทย์ ตรวจไดท้ นั ทเี มอื่ ถงึ ควิ และใหย้ นื เขา้ แถวรออย่ทู ปี่ ระตูหอ้ งตรวจ โดยขณะนนั้ มกี รรมการคุมสอบและผรู้ อรบั การตรวจคนอนื่ อยดู่ ว้ ย ซงึ่ การตรวจร่างกายของผสู้ มคั รสอบตอ้ งกระทาเท่าทจี่ าเป็นเพอื่ การตรวจสอบคุณสมบตั แิ ละลกั ษณะตอ้ งหา้ มในการบรรจุเขา้ รบั ราชการตารวจ โดยต้องคานึงถงึ ศกั ดศ์ิ รคี วามเป็นมนุษย์ และต้อง กระทบต่อสทิ ธแิ ละเสรภี าพของบุคคลเท่าทจี่ าเป็นเท่านัน้ การที่ คณะกรรมการใชว้ ธิ กี ารตรวจรา่ งกายดงั กล่าว จงึ เป็นวธิ กี ารทยี่ งั ไม่เหมาะสมทจี่ ะนามาใช้กับผู้เข้ารบั การตรวจทเี่ ป็นเพศหญิง เพราะก่อใหเ้ กดิ ภาพทไี่ ม่สมควรและอาจเป็นการล่วงละเมดิ ต่อสทิ ธิ สว่ นตวั เกนิ จาเป็น ประกอบกบั วธิ กี ารจดั การตรวจรา่ งกายเช่นน้ไี มม่ ี กฎหมาย ระเบยี บ หรอื ขอ้ บงั คบั ใดกาหนดใหก้ ระทาได้ กรณีถอื ว่า ขาดมาตรการป้องกนั การละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชน อนั มผี ลกระทบต่อ

๒๔ ศกั ดศ์ิ รคี วามเป็นมนุษยแ์ ละสทิ ธสิ ่วนตวั ของผเู้ ขา้ รบั การตรวจรา่ งกาย เป็นการกระทาทไี่ มช่ อบดว้ ยรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย และ เป็นการกระทาละเมดิ ตามมาตรา ๔๒๐ แห่งประมวลกฎหมายแพ่ง และพาณชิ ย์ ซงึ่ สานกั งานตารวจแห่งชาตติ ้องรบั ผดิ ในผลแห่งละเมดิ ทเี่ จ้าหน้าทขี่ องตนได้กระทาในการปฏบิ ตั หิ น้าทตี่ ามมาตรา ๕ วรรคหนงึ่ แห่งพระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจา้ หน้าที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ หลกั กฎหมาย/บรรทดั ฐานทีเ่ กีย่ วข้อง หน่วยงานของรฐั หรอื ฝ่ายปกครองไมอ่ าจใชอ้ านาจกระทาการ ใด ๆ อนั อาจเป็นการละเมดิ ต่อศกั ดศ์ิ รคี วามเป็นมนุษย์ หรอื จะ กระทบต่อสทิ ธแิ ละเสรภี าพของบุคคลเกนิ ความจาเป็น นอกจากนนั้ ยงั ต้องปฏบิ ตั ิราชการหรอื ต้องใช้อานาจหน้าทภี่ ายใต้หลกั การ ของรฐั ธรรมนูญฯ และหลกั ความชอบดว้ ยกฎหมายของการกระทา ทางปกครองด้วย ซึง่ การทีส่ านักงานตารวจแห่งชาติกาหนด หลกั เกณฑก์ ารตรวจรา่ งกายสาหรบั ผทู้ จี่ ะเขา้ รบั การบรรจุและแต่งตงั้ เป็นขา้ ราชการตารวจหญงิ โดยใหเ้ ขา้ รบั การตรวจรา่ งกายพรอ้ มกนั หลายคนและใหแ้ ต่ละคนถอดเสอ้ื ผา้ ออกทงั้ หมด เพอื่ ใหอ้ ยใู่ นสภาพ ทพี่ รอ้ มจะใหแ้ พทยต์ รวจไดท้ นั ทเี มอื่ ถงึ ควิ นนั้ แมจ้ ะเป็นการกาหนด วธิ กี ารเพอื่ กระชบั เวลาในการตรวจสอบ แต่กรณีดงั กล่าวถอื เป็น การกระทาทไี่ มค่ านงึ ถงึ ศกั ดศ์ิ รคี วามเป็นมนุษย์ และกระทบกระเทอื น ถึงสาระสาคญั ของสิทธแิ ละเสรภี าพของผู้เข้ารบั การตรวจร่างกาย เกนิ ความจาเป็น อนั ขดั ต่อรฐั ธรรมนูญฯ

๒๕ ให้ “หญิง” ถอดเสื้อผา้ รอตรวจรา่ งกาย ... วิธีการที่มีผลกระทบต่อศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ !! การตรวจร่างกาย ตรวจสุขภาพจติ ตรวจขนาดรูปร่าง ลกั ษณะความสมบูรณ์ของร่างกาย ตลอดจนการตรวจโรค ถอื เป็น ขนั้ ตอนหน่งึ ในการสอบคดั เลอื กเพ่อื การศกึ ษาต่อในหลาย ๆ อาชพี ดงั คดปี กครองทน่ี ามาเล่าเป็นอุทาหรณ์ในวนั น้ี เป็นการสอบเพอ่ื เขา้ เป็นนกั เรยี นนายรอ้ ยตารวจ (หญงิ ) โดยผสู้ อบผา่ นขอ้ เขยี นตอ้ งเขา้ รบั การตรวจรา่ งกาย ซง่ึ ต้องถอด เสอ้ื ผา้ ออกทงั้ หมดเพ่อื ใหอ้ ย่ใู นสภาพทพ่ี รอ้ มจะใหต้ รวจกบั แพทย์ ทนั ทเี ม่อื ถึงควิ ของตน และยนื เข้าแถวรออยู่ท่ปี ระตูห้องตรวจ ซ่งึ ในขณะนัน้ มกี รรมการคุมสอบและผู้รอรบั การตรวจคนอ่ืน อยดู่ ว้ ย โดยแต่ละรอบมผี เู้ ขา้ รบั การตรวจจานวน ๕-๑๐ คน ผูฟ้ ้องคดไี ม่ผ่านการสอบคดั เลอื กโดยไม่ผ่านการตรวจ ร่างกายเพราะมสี ายตาผดิ ปกติ เหน็ ว่ากฎระเบยี บในการตรวจ รา่ งกายขดั ต่อสทิ ธมิ นุษยชน ศกั ดศิ ์ รคี วามเป็นมนุษย์ และสงั คม อนั ดงี าม ทาใหไ้ ดร้ บั ความเสยี หาย อบั อาย กระทบกระเทอื นต่อ สภาพจติ ใจเป็นอยา่ งมาก จึงฟ้ องศาลปกครองขอให้สานักงานตารวจแห่งชาติ (ผถู้ ูกฟ้องคด)ี ชดใชค้ ่าสนิ ไหมทดแทน ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยว่า ในการตรวจรา่ งกายของ ผู้สมคั รสอบคดั เลอื กต้องกระทาเท่าท่จี าเป็น เพ่อื การตรวจสอบ คุณสมบตั ิและลกั ษณะต้องห้ามในการบรรจุเขา้ รบั ราชการเป็น

๒๖ ขา้ ราชการตารวจ โดยคานึงถึงศกั ดศิ ์ รคี วามเป็นมนุษยซ์ ่งึ ต้อง ไดร้ บั ความคุม้ ครอง และตอ้ งมผี ลเป็นการจากดั หรอื กระทบต่อสทิ ธิ และเสรภี าพของบุคคลตามทร่ี ฐั ธรรมนูญรบั รองเท่าทจ่ี าเป็น การท่ี คณะกรรมการใช้วธิ กี ารตรวจร่างกายโดยการจดั ชุดให้ผู้เขา้ รบั การตรวจร่างกายเขา้ ตรวจร่างกายพรอ้ มกนั หลายคน โดยแต่ละคน ตอ้ งถอดเสอ้ื ออกจากตวั และถอื ไวใ้ นลกั ษณะพรอ้ มตรวจรา่ งกาย เมอ่ื พบแพทย์ จงึ เป็นวิธีการเข้าตรวจร่างกายทีย่ งั ไม่เหมาะสม ทีจ่ ะนามาใช้กบั ผ้เู ข้ารบั การตรวจร่างกายทีเ่ ป็ นเพศหญิง เพราะก่อให้เกิดภาพทีไ่ ม่สมควรและอาจเป็ นการล่วงละเมิด ต่อสิทธิส่วนตวั เกินจาเป็น ผถู้ กู ฟ้องคดจี งใจกระทาต่อผฟู้ ้องคดใี หไ้ ดร้ บั ความเสยี หาย ต่อศกั ดศิ์ รคี วามเป็นมนุษยห์ รอื กระทบต่อสทิ ธเิ สรภี าพของผฟู้ ้องคดี หรอื ไม่ ศาลปกครองสูงสุดวินิ จฉัยประเด็นนี้ว่า ผู้ถูกฟ้องคดี กาหนดวธิ กี ารตรวจร่างกายเพ่อื กระชบั เวลาให้ทนั ต่อการตรวจ ให้เสรจ็ ในแต่ละวนั และการตรวจร่างกายเป็นไปเพ่อื การตรวจสอบ คุณสมบตั แิ ละลกั ษณะต้องห้ามของผูท้ จ่ี ะได้รบั การบรรจเุ ขา้ รบั ราชการเป็นขา้ ราชการตารวจ แต่ผลเสยี หายของผฟู้ ้องคดไี ดร้ บั ความคุ้มครองตามรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย เม่อื วธิ กี าร จดั การตรวจร่างกายเช่นน้ีไม่มกี ฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ของทาง ราชการ หรอื แบบแผนการปฏบิ ตั ริ าชการให้กระทาได้ ประกอบกบั พฤติการณ์แห่งการกระทาเห็นได้ว่าขาดความระมดั ระวัง และ ขาดมาตรการป้องกนั การละเมดิ สทิ ธมิ นุษยชนแก่ผู้เขา้ รบั การตรวจ

๒๗ รา่ งกาย ในการปฏบิ ตั หิ น้าทข่ี องคณะกรรมการตรวจรา่ งกายมีผล กระทบต่อศกั ดศิ ์ รคี วามเป็นมนุษย์และสทิ ธสิ ่วนตวั ของผู้ฟ้องคดี เกนิ ความจาเป็น อนั เป็นการกระทาทไ่ี มช่ อบดว้ ยมาตรา ๔ มาตรา ๒๖ และมาตรา ๒๙ วรรคหน่ึง ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ และเป็นการกระทาละเมดิ ต่อผฟู้ ้องคดตี าม มาตรา ๔๒๐ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ผู้ถูกฟ้องคดี ซง่ึ เป็นหน่วยงานของรฐั จงึ ต้องรบั ผดิ ต่อผฟู้ ้องคดใี นผลแห่งละเมดิ ทเ่ี จา้ หน้าทข่ี องตนได้กระทาในการปฏบิ ตั หิ น้าท่ตี ามมาตรา ๕ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบญั ญตั คิ วามรบั ผดิ ทางละเมดิ ของเจา้ หน้าท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ (คาพพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อ. ๑๑๑๓/๒๕๖๑) ในรฐั เสรปี ระชาธปิ ไตย “สิทธิและเสรีภาพของประชาชน” มคี วามสาคญั ทส่ี ุด ฝ่ ายปกครองไม่อาจใช้อานาจล่วงละเมดิ ต่อ ศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์หรอื กระทบต่อสทิ ธิและเสรภี าพของ บคุ คลเกนิ ความจาเป็นหรอื ไมอ่ าจใชอ้ านาจตามอาเภอใจ แต่ต้องใช้ อานาจภายใต้หลกั รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยและหลัก ความชอบดว้ ยกฎหมายของการกระทาทางปกครอง การทร่ี ฐั ใช้ อานาจล่วงละเมดิ ต่อศกั ดศิ ์ รคี วามเป็นมนุษยห์ รอื กระทบต่อสทิ ธิ และเสรภี าพของบุคคลเกนิ ความจาเป็น ทาใหเ้ กดิ ความเสยี หายขน้ึ ต่อบุคคลใด รฐั ยอ่ มตอ้ งรบั ผดิ ในผลของการกระทาละเมดิ นนั้

๒๘ เรอื่ งที่ ๕ รอยสกั ... ศิลปะหรือตราบาป อนาคตทางราชการ ! คาพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อบ. ๓๑/๒๕๖๒ สาระสาคญั กองบญั ชาการตารวจภูธรภาคได้ประกาศรายชอื่ ผู้ได้รบั การคดั เลอื กเป็นนักเรยี นนายสบิ ตารวจ โดยไม่มรี ายชอื่ ของผสู้ มคั ร (ผู้ไม่ผ่านการสอบสัมภาษณ์) ทีม่ ีรอยสักรูปค้างคาวสีดากว้าง ประมาณ ๓x๓ น้วิ บรเิ วณกลางหลงั ในแนวระดบั หวั ไหล่ ซงึ่ การที่ ผสู้ มคั รไม่ไดแ้ สดงพยานหลกั ฐานอนื่ ใดเพอื่ พสิ จู น์ว่าในวนั ตรวจ ร่างกายและวนั สอบสมั ภาษณ์ รอยสกั ดงั กล่าวได้ถูกลบไปแล้ว จงึ ทาใหเ้ ชอื่ ไดว้ า่ ในวนั สอบสมั ภาษณ์ ผสู้ มคั รมรี อยสกั ขนาดใหญ่ หรอื มากจนแลดูน่าเกลยี ด อนั เป็นลกั ษณะต้องห้ามตามประกาศ รบั สมคั รและตามกฎ ก.ตร. ว่าดว้ ยคุณสมบตั แิ ละลกั ษณะต้องหา้ ม ของการเป็นขา้ ราชการตารวจ พ.ศ. ๒๕๔๗ ดงั นนั้ การมมี ตใิ ห้ ผสู้ มคั รรายน้ไี มผ่ ่านการสอบสมั ภาษณ์ จงึ เป็นคาสงั่ ทางปกครอง ทชี่ อบดว้ ยกฎหมาย

๒๙ หลกั กฎหมาย/บรรทดั ฐานทีเ่ กีย่ วข้อง การทกี่ ฎ ก.ตร. ว่าด้วยคุณสมบัติและลกั ษณะต้องห้าม ของการเป็นขา้ ราชการตารวจ พ.ศ. ๒๕๔๗ ขอ้ ๒ วรรคหนึง่ (๑๓) กาหนดใหผ้ ทู้ จี่ ะไดร้ บั การบรรจเุ ป็นขา้ ราชการตารวจจะต้องไมเ่ ป็น ผู้มีแผลเป็น ไฝ ปาน รอยสัก หูด หรอื ซสี ต์ทสี่ ่วนต่าง ๆ ของ ร่างกาย ซงึ่ มขี นาดใหญ่หรอื มากจนแลดูน่าเกลยี ดนัน้ หมายถงึ แผลเป็น ไฝ ปาน รอยสกั หูด หรอื ซีสต์ในทุกส่วนของร่างกาย มใิ ช่เฉพาะทมี่ องเหน็ ได้ด้วยตาทอี่ ย่นู อกร่มผา้ เท่านัน้ แมว้ ่าจะอยู่ ในจุดทมี่ เี ส้อื หรอื กางเกง รองเทา้ หรอื หมวกปิดบงั แต่เมอื่ ถอด สิง่ ปิดกัน้ ออกแล้วเห็นได้ว่าสิง่ ต้องห้ามนัน้ มีขนาดใหญ่หรือ มากจนแลดูน่าเกลยี ด กถ็ อื ไดว้ ่าบุคคลดงั กล่าวมลี กั ษณะต้องห้าม มใิ หเ้ ขา้ รบั ราชการตารวจแลว้ โดยหากผสู้ มคั รสอบคดั เลอื กรายใด มลี กั ษณะของแผลเป็น ไฝ ปาน รอยสกั หูด หรอื ซสี ต์ทมี่ ขี นาดใหญ่ หรือมากจนแลดูน่าเกลียด และยงั คงประสงค์จะสมคั รเข้ารบั ราชการตารวจ จะตอ้ งทาการลบหรอื รกั ษาหรอื แก้ไขใหไ้ มม่ สี ภาพ ต้องห้ามก่อนทจี่ ะเขา้ รบั การตรวจร่างกายด้วย ทงั้ น้ี เพอื่ มใิ ห้ขดั ต่อประกาศรบั สมคั ร กฎหมาย หรอื ระเบยี บขอ้ บงั คบั ซงึ่ อาจส่งผล ใหต้ อ้ งถูกตดั สทิ ธใิ นการเขา้ รบั ราชการ เพราะเหตุมลี กั ษณะต้องหา้ ม ของการเป็นขา้ ราชการตารวจ

๓๐ รอยสกั ... ศิลปะหรือตราบาป อนาคตทางราชการ ! ส่วนท่ี ๑ การสกั ... วฒั นธรรมของมวลมนุษยชาติ หากพูดถงึ “รอยสกั ” คนทวั่ ไปก็มกั จะนึกถงึ ลวดลาย รปู ภาพ ตวั อกั ษร หรอื อกั ขระในรปู แบบและสสี นั ทห่ี ลากหลาย แตกต่างกนั ออกไปตามความตอ้ งการของผสู้ กั เช่อื กนั ว่า การสกั รูปรอยลงบนผวิ หนังเป็นวฒั นธรรม ของมวลมนุษย์ทุกเผ่าพนั ธุ์ท่มี มี าเป็นเวลานานแล้ว รวมทงั้ ประเทศไทย ซง่ึ การสกั ในอดตี ส่วนใหญ่มไิ ดม้ ุ่งทค่ี วามสวยงาม แต่จะเน้นในเรอ่ื งของความขลงั ความศกั ดสิ ์ ทิ ธขิ ์ องสญั ลกั ษณ์ ทใ่ี ชเ้ ป็นสาคญั ! จากความเช่อื ในอดตี เร่อื ยมาจนปัจจุบนั ความหมาย ของรอยสกั ได้เปล่ยี นแปลงไปสู่เร่อื งของศลิ ปะและความงาม จนกลายมาเป็นธุรกจิ ทใ่ี หบ้ รกิ ารกบั ผบู้ รโิ ภค ดงั ทป่ี รากฏใหเ้ หน็ อยา่ งแพรห่ ลายในสงั คมปัจจบุ นั ... หลายต่อหลายคน โดยเฉพาะวยั รุ่นผู้มพี ฤตกิ รรมการ บรโิ ภคลกั ษณะ “เลยี นแบบ” จะด้วยความหลงใหลในลวดลาย ด้วยความคึกคะนอง ความฮึกเหิมจากพลังกลุ่มท่ีมีรอยสัก เหมอื น ๆ กนั เคา้ เหล่านนั้ จะตอ้ งตระหนักใหร้ แู้ จง้ ว่ารอยสกั นัน้ จะปรากฏอยู่คู่กับผวิ หนังของเขาตลอดไป และแม้จะลบได้ แต่กอ็ าจหลงเหลอื รอ่ งรอยทง้ิ ไว้

๓๑ ฉะนัน้ ก่อนท่จี ะตัดสินใจสกั รูปใด ๆ ลงบนร่างกาย พงึ รู้ไว้ว่า ... ร่องรอยจากการสกั อาจส่งผลต่ออาชพี การงาน ในอนาคต โดยเฉพาะอาชพี ขา้ ราชการ และอาจเป็นการดบั ฝัน ของผู้ต้องการเป็นข้าราชการ เช่นเดียวกบั อุทาหรณ์ท่จี ะเล่า ต่อไปน้คี รบั ! กรณีของนายชาตชิ ายผู้สมคั รเขา้ รบั การคดั เลอื กเป็น ขา้ ราชการตารวจ แต่ถูกปฏเิ สธเน่ืองจากมี “รอยสกั ” บนแผ่นหลงั อนั เป็นลกั ษณะตอ้ งหา้ มของการเป็นขา้ ราชการตารวจ เพราะเหตุใด ? รอยสกั จงึ เป็นอุปสรรคของผู้ประสงค์ จะเข้ารบั ใช้ชาติในฐานะ “ตารวจ” และนอกจากรอยสกั แล้ว ลกั ษณะต้องห้ามของการเป็นขา้ ราชการตารวจนัน้ มอี ะไรบา้ ง เรามาดคู าตอบจากคาวนิ จิ ฉยั ของศาลปกครองสงู สดุ กนั นะครบั โดยมลู เหตุของเรอ่ื งน้ีเกดิ จาก ... นายชาตชิ ายซ่งึ เป็น ผสู้ มคั รเขา้ รบั การคดั เลอื กบุคคลภายนอกเพ่อื บรรจุเป็นนักเรยี น นายสบิ ตารวจไดผ้ ่านการสอบความรคู้ วามสามารถและผ่านการ ทดสอบความเหมาะสมกบั ตาแหน่งในการวิ่งและว่ายน้าแล้ว แ ต่ ไ ม่ ผ่ า น ก า ร ต ร ว จ ร่ า ง ก า ย แ ล ะ ก า ร ส อ บ สัม ภ า ษ ณ์ เน่ื องจากมีรอยสักบริ เวณกลางแผ่นหลังขนาดใหญ่ หรือมากจนแลดูน่ าเกลียด ซ่ึงตามกฎ ก.ตร. ถือว่าเป็ น ลักษณะต้องห้ามของการเป็นข้าราชการตารวจ โดยต่อมา กองบญั ชาการตารวจภธู รภาค ๖ ไดป้ ระกาศรายช่อื ผไู้ ดร้ บั การ คดั เลอื ก ซง่ึ ไมม่ รี ายชอ่ื ของนายชาตชิ าย

๓๒ ในทส่ี ุดกลายเป็นขอ้ พพิ าทในศาลปกครองโดยนายชาตชิ าย ฟ้องขอให้ศาลปกครองมคี าพพิ ากษาเพกิ ถอนคาสงั่ ท่ไี ม่ผ่าน การสมั ภาษณ์ ศาลปกครองจะมคี าพพิ ากษาหรอื คาสงั่ ในคดนี ้ีอย่างไร ตดิ ตามอ่านกนั นะครบั ... ส่วนท่ี ๒ รอยสกั ... ศิลปะหรอื ตราบาป อนาคตทางราชการ ! คดนี ้ีมปี ระเด็นทตี่ ้องวินิจฉัยว่า คาสงั่ ให้นายชาตชิ าย ไมผ่ ่านการสอบสมั ภาษณ์ จนกระทงั่ ไดม้ กี ารประกาศรายชอื่ ผไู้ ดร้ บั การคดั เลอื กและไมม่ ชี อื่ นายชาตชิ าย เป็นคาสงั่ ทชี่ อบดว้ ยกฎหมาย หรอื ไม่ ? ศาลปกครองสูงสุดวินิ จฉัยว่า โดยท่ขี อ้ ๒ วรรคหน่ึง (๑๓) ของกฎ ก.ตร. ว่าดว้ ยคุณสมบตั แิ ละลกั ษณะต้องห้ามของ การเป็นข้าราชการตารวจ พ.ศ. ๒๕๔๗ กาหนดใหผ้ ู้ทจ่ี ะได้รบั การบรรจุเขา้ รบั ราชการเป็นขา้ ราชการตารวจจะต้องไม่เป็นผูม้ ี แผลเป็น ไฝ ปาน รอยสกั หูด หรอื ซสี ต์ทส่ี ่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ซง่ึ มขี นาดใหญ่หรอื มากจนแลดนู ่าเกลยี ดนนั้ หมายถึง แผลเป็ น ไฝ ปาน รอยสกั หดู หรือซีสต์ในทุกส่วนของร่างกาย มิใช่ เฉพาะที่มองเห็นได้ด้วยตาที่อยู่นอกร่มผ้าเท่านัน้ แม้ว่า จะอยใู่ นทท่ี ม่ี เี สอ้ื หรอื กางเกง รองเทา้ หรอื หมวกปิดบงั อยู่ แต่ถา้ เม่อื ถอดสงิ่ ปิดกนั้ เหล่านัน้ ออกแล้วเหน็ ได้ว่า สิ่งต้องห้ามนัน้ มีขนาดใหญ่หรือมากจนแลดูน่ าเกลียด ก็ถือได้ว่าผู้นั้น มีลกั ษณะต้องห้ามมใิ หเ้ ขา้ รบั ราชการเป็นขา้ ราชการตารวจแลว้

๓๓ เมอ่ื ขอ้ เทจ็ จรงิ ตามบนั ทกึ ผลการสมั ภาษณ์ ประกอบกบั ภาพถ่ายรอยสักของผู้ฟ้ องคดีปรากฏว่า ผู้ฟ้องคดีมีรอยสัก รปู คา้ งคาวสดี ากวา้ งประมาณ ๓x๓ น้วิ บรเิ วณกลางหลงั ในแนว ระดับหวั ไหล่ และผู้ฟ้องคดีไม่ได้แสดงพยานหลักฐานอ่ืนใด เพ่อื พสิ ูจน์ว่าในวนั ตรวจร่างกายและวนั สอบสมั ภาษณ์ รอยสกั ดงั กล่าวได้ถูกลบจนแลดูไม่น่าเกลียด จงึ เช่อื ได้ว่าในวนั สอบ สมั ภาษณ์ รอยสกั ของผู้ฟ้องคดดี งั กล่าวมขี นาดใหญ่หรอื มาก จนแลดนู ่าเกลยี ด อนั เป็นลกั ษณะตอ้ งหา้ มตามกฎ ก.ตร. ว่าดว้ ย คุณสมบตั ิและลกั ษณะต้องห้ามของการเป็นขา้ ราชการตารวจ พ.ศ. ๒๕๔๗ และประกาศตารวจภูธรภาค ๖ เร่อื ง การรบั สมคั ร และคัดเลือกบุคคลภายนอกผู้มีวุฒิประกาศนียบัตรประโยค มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หรอื ประกาศนียบตั รวชิ าชพี หรอื เทยี บเท่า เพ่ือบรรจุเป็นนักเรียนนายสิบตารวจ พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวันท่ี ๒ เมษายน ๒๕๕๕ ดงั นัน้ การมมี ตใิ ห้ผู้ฟ้องคดไี ม่ผ่านการสอบสมั ภาษณ์ จงึ เป็นคาสงั่ ทางปกครองทช่ี อบดว้ ยกฎหมาย อยา่ งไรกต็ าม ศาลปกครองสงู สุดไดว้ นิ ิจฉัยดว้ ยว่า หาก ภายหลงั ผูฟ้ ้องคดไี ดด้ าเนินการรกั ษาหรอื แกไ้ ขจนกระทงั่ รอยสกั ไม่มสี ภาพอนั เขา้ ลกั ษณะต้องห้ามตามกฎ ก.ตร. ดงั กล่าวแล้ว กย็ อ่ มมสี ทิ ธสิ มคั รสอบเขา้ รบั การคดั เลอื กเป็นขา้ ราชการตารวจ ใหมไ่ ด้ (รายละเอยี ดอ่านได้ในคาพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุด ที่อบ. ๓๑/๒๕๖๒)

๓๔ คดนี ้นี อกจากจะเป็นแนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการทด่ี สี าหรบั เจ้าหน้าท่ีของรฐั กรณีท่ีมีกฎหมาย กฎ ระเบียบ หรอื ประกาศ กาหนดหลกั เกณฑห์ รอื แนวปฏบิ ตั ใิ ด ๆ ไว้ หากไดม้ กี ารปฏิบตั ิ ให้เป็ นไปตามกฎหรือระเบียบท่ีกาหนดไว้โดยเคร่งครดั ย่อมเป็นการใช้อานาจทชี่ อบด้วยกฎหมาย ส่วนคู่กรณีหรอื ผู้ที่ เข้ามาอยู่ในกระบวนการพิจารณาทางปกครองเช่นคดีน้ี คือ ผู้สมคั รสอบหรอื ผู้ต้องการจะสอบเข้ารบั ราชการในหน่วยงานใด สงั กัดใด จะต้องศึกษาหาความรู้และทาความเข้าใจให้ถ่องแท้ ในเรอื่ งคณุ สมบตั แิ ละลกั ษณะทตี่ อ้ งหา้ มของหน่วยงานนัน้ ๆ ใหด้ ี เสยี ก่อน เพอื่ ใหต้ วั เองมคี วามพรอ้ มทกุ ดา้ นและเป็นผทู้ มี่ คี ุณสมบตั ิ เหมาะสมตรงตามทหี่ น่วยงานต่าง ๆ ต้องการอยา่ งแทจ้ รงิ ! สุดทา้ ยน้ี ขอสรุปเพอื่ ใหเ้ ป็นประโยชน์สาหรบั ผูท้ ปี่ ระสงค์ จะเป็นตารวจนะครบั ! ไม่เฉพาะผูท้ มี่ รี อยสกั ใด ๆ กต็ ามทมี่ ขี นาด ใหญ่หรอื มากจนแลดูน่าเกลยี ดเท่านัน้ ยงั รวมถึงการมีแผลเป็น ไฝ ปาน หูด หรอื ซสี ต์ทสี่ ่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ซงึ่ จะต้องลบ หรือรักษาหรือแก้ไขให้ไม่มีสภาพต้องห้ามก่อนทีจ่ ะเข้ารับ การตรวจรา่ งกายนะครบั ! เพอื่ ไมใ่ หเ้ สยี สทิ ธใิ นการเป็นขา้ ราชการ ตารวจสมความตงั้ ใจ ส่วนที่ ๓ รู้ทันกฎหมายเกี่ยวกบั คุณสมบตั ิและลักษณะ ต้องห้ามของการเป็ นข้าราชการตารวจ กฎ ก.ตร. ว่าด้วยคุณสมบตั แิ ละลกั ษณะต้องห้ามของ การเป็นขา้ ราชการตารวจ พ.ศ. ๒๕๔๗

๓๕ ขอ้ ๒ การบรรจุบุคคลเขา้ รบั ราชการเป็นขา้ ราชการตารวจ ผูท้ จ่ี ะไดร้ บั การบรรจุนอกจากต้องมคี ุณสมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะ ตอ้ งหา้ มตามมาตรา ๔๘ (๑) ถงึ (๕) แลว้ จะต้องมคี ุณสมบตั แิ ละ ไมม่ ลี กั ษณะตอ้ งหา้ มอ่นื ตามมาตรา ๔๘ (๖) ดงั ต่อไปน้ี (๑๓) ไม่เป็ นผ้มู ีแผลเป็ น ไฝ ปาน รอยสกั หดู หรือ ซีสต์ท่ีส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ซ่ึงมีขนาดใหญ่หรือมาก จนแลดนู ่าเกลียด ประกาศตารวจภูธรภาค ๖ เร่อื ง รบั สมคั รและคดั เลอื ก บุคคลภายนอกผู้มีวุฒิประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษา ตอนปลาย หรอื ประกาศนียบตั รวชิ าชพี หรอื เทยี บเท่า เพ่อื บรรจุ เป็นนกั เรยี นนายสบิ ตารวจ พ.ศ. ๒๕๕๕ ลงวนั ท่ี ๒ เมษายน ๒๕๕๕ ข้อ ๒ กาหนดคุณสมบัติทวั่ ไปและคุณสมบัติเฉพาะ สาหรบั ตาแหน่งของผทู้ จ่ี ะไดร้ บั การแต่งตงั้ ดงั น้ี ๒.๔ มคี ุณสมบตั ิทวั่ ไปและไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตาม ผนวก ก. และผนวก ข. ทา้ ยประกาศน้ี ผนวก ก. ทา้ ยประกาศ กาหนดว่า ผู้สมคั รสอบทจ่ี ะไดร้ บั การบรรจุและแต่งตัง้ ต้องมีคุณสมบัติทวั่ ไปและไม่มลี ักษณะ ตอ้ งหา้ มตามทก่ี าหนด ข้อ ๑๖ ไม่เป็นผมู้ แี ผลเป็น ไฝ ปาน รอยสกั หดู หรือ ซีสต์ที่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ซ่ึงมีขนาดใหญ่หรือมาก จนแลดนู ่าเกลียด

๓๖ เรอื่ งที่ ๖ กาหนดเกรดเฉลีย่ เพือ่ สมคั รเป็นอาจารย์ ... เป็นธรรมหรือไม่ ? คาพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อบ. ๑๕๑/๒๕๖๒ สาระสาคญั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั แหง่ หนงึ่ มปี ระกาศรบั สมคั รคดั เลอื กบุคคล ทมี่ วี ุฒกิ ารศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอกเขา้ เป็นพนกั งานมหาวทิ ยาลยั ในตาแหน่งอาจารย์ โดยกาหนดคุณสมบตั เิ ฉพาะว่า ผสู้ มคั รต้องมี คะแนนเฉลยี่ สะสมในระดบั ปรญิ ญาตรไี ม่ตา่ กว่า ๒.๕๐ ซงึ่ การที่ คณะกรรมการบรหิ ารงานบุคคลประจามหาวทิ ยาลยั (ก.บ.ม.) กาหนด หลกั เกณฑด์ งั กล่าว กเ็ พอื่ ตอ้ งการใหไ้ ดบ้ ุคลากรทมี่ คี ุณสมบตั เิ ฉพาะ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของมหาวทิ ยาลยั ประกอบกบั ตาแหน่ง อาจารยเ์ ป็นสายงานสาคญั ทที่ าหน้าทสี่ อนและวจิ ยั เพอื่ ผลติ บณั ฑติ ทงั้ ในระดบั ปรญิ ญาตรี โท และเอก จงึ ต้องการบุคคลทมี่ คี วามรู้ ความเชยี่ วชาญทางดา้ นการศกึ ษาเป็นอย่างสงู การกาหนดคุณสมบตั ิ ขนั้ ตา่ เกยี่ วกบั ผลการศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรี ซงึ่ ถอื เป็นโครงสรา้ ง พน้ื ฐานของวชิ าการทเี่ รยี นอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐานทเี่ หมาะสม เพอื่ ให้ นาความรคู้ วามสามารถทเี่ คยศกึ ษามาไปใชใ้ นการสอนและวจิ ยั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ เป็นไปเพอื่ ประโยชน์ในการสอนและ การวจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั ทตี่ อ้ งการผลติ บณั ฑติ ใหไ้ ด้รบั การศกึ ษา อยา่ งดยี งิ่ อกี ทงั้ เป็นการกาหนดคณุ สมบตั ทิ ใี่ ชเ้ ป็นการทวั่ ไป มไิ ด้

๓๗ กดี กนั ผสู้ มคั รรายใดในการเขา้ รบั การคดั เลอื กเป็นการเฉพาะเจาะจง อนั จะถือได้ว่าเป็นการเลอื กปฏบิ ตั ทิ ไี่ ม่เป็นธรรม ดงั นัน้ การที่ ก.บ.ม. มมี ตกิ าหนดคณุ สมบตั เิ ฉพาะ โดยคานึงถงึ ความเทยี่ งธรรม และประโยชน์สงู สุดของมหาวทิ ยาลยั เป็นสาคญั จงึ เป็นมตทิ ชี่ อบ ดว้ ยกฎหมาย หลกั กฎหมาย/บรรทดั ฐานทีเ่ กีย่ วข้อง มหาวทิ ยาลยั ของรฐั มอี านาจในการกาหนดคุณสมบตั เิ ฉพาะ เพอื่ การสรรหาและคดั เลอื กบคุ ลากรเขา้ มาเป็นพนกั งานมหาวทิ ยาลยั โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ตาแหน่งอาจารยซ์ งึ่ เป็นตาแหน่งทางวชิ าการทมี่ ี ความสาคญั และต้องการบุคคลทเี่ หมาะสม มคี วามรคู้ วามเชยี่ วชาญ ทางด้านการศึกษาเป็นอย่างสูง การทมี่ หาวทิ ยาลยั ได้กาหนด คุณสมบตั เิ กยี่ วกบั ผลการศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรขี องผู้สมคั ร คดั เลอื กนัน้ เนือ่ งจากมหาวทิ ยาลยั ต้องการความเชอื่ มนั่ ว่าผู้ทจี่ ะ ไดร้ บั การคดั เลอื กใหบ้ รรจแุ ละแต่งตงั้ ในตาแหน่งอาจารย์ เป็นผมู้ ี ความรอบรใู้ นวชิ าการนนั้ ๆ อยา่ งแทจ้ รงิ และตอ้ งการใหม้ กี ารศกึ ษา ในระดบั ปรญิ ญาตรซี งึ่ ถอื เป็นโครงสรา้ งพ้นื ฐานของวชิ าการทเี่ รยี น อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานทเี่ หมาะสม เพอื่ ให้นาความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ทเี่ คยศกึ ษามาไปใชส้ าหรบั การสอนและการวจิ ยั เพอื่ ผลติ บณั ฑติ ใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาอย่างดยี งิ่ และมปี ระสทิ ธภิ าพ อันจะก่อให้เกิดผลดีต่อการเรียนการสอนและการศึกษาวิจัย ซงึ่ เป็นประโยชน์สาธารณะต่อไป

๓๘ กาหนดเกรดเฉล่ียเพื่อสมคั รเป็นอาจารย์ ... เป็นธรรมหรือไม่ ? ในการรบั สมคั รสอบคดั เลือกบุคคลของมหาวทิ ยาลยั ของรฐั บางกรณีอาจมกี ารกาหนดหลกั เกณฑใ์ นเรอื่ งคุณสมบตั ิ ในส่วนของเกรดเฉลยี่ ขนั้ ตา่ สาหรบั ผูส้ มคั รสอบคดั เลอื กไว้ดว้ ย ทาใหผ้ ทู้ มี่ เี กรดเฉลยี่ ไม่ถงึ ตามเกณฑท์ กี่ าหนด ไม่มสี ทิ ธใิ นการ สอบคดั เลอื ก บางท่านอาจรู้สกึ ว่าไม่เป็นธรรม เพราะเป็นการกดี กนั หรอื ตดั โอกาสผทู้ ม่ี เี กรดเฉลย่ี ต่ากว่าเกณฑ์ทก่ี าหนด ประเดน็ น้ี นับว่าน่าสนใจนะครบั ว่า ... มหาวิทยาลยั ของรฐั จะกาหนด เกรดเฉลีย่ ขนั้ ตา่ สาหรบั ผ้มู ีสิทธิสอบคดั เลือกในตาแหน่ง อาจารยซ์ ึง่ เป็นพนักงานมหาวิทยาลยั ได้หรือไม่ ? เพียงใด ? เรอื่ งน่ารวู้ นั น้กี บั คดปี กครอง มคี าตอบครบั ! ขอ้ พพิ าทในคดนี ้ีเกดิ ข้นึ ในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั แห่งหนึง่ ซงึ่ สบื เนอื่ งจาก ... อธกิ ารบดไี ดม้ ปี ระกาศมหาวทิ ยาลยั รบั สมคั ร คดั เลอื กเพ่อื บรรจุและแต่งตงั้ บุคคลเขา้ เป็นพนักงานมหาวทิ ยาลยั ตาแหน่งประเภทวิชาการ ในตาแหน่งอาจารย์ โดยเป็นการ รบั สมคั รบคุ คลทม่ี วี ฒุ กิ ารศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาเอก แต่ประกาศ ดงั กล่าวไดก้ าหนดคณุ สมบตั เิ ฉพาะสาหรบั ตาแหน่งของผสู้ มคั รว่า ผู้ส ม ัค ร ต้ อ ง มี ค ะ แ น น เ ฉ ลี่ ย ส ะ ส ม ใ น ร ะ ดับ ป ริ ญ ญ า ต รี

๓๙ ไม่ต่ากว่า ๒.๕๐ ด้วย ตามมตขิ องคณะกรรมการบรหิ ารงาน บุคคลประจามหาวทิ ยาลยั นายสมพงษ์ซง่ึ มคี วามประสงคจ์ ะสมคั รเขา้ รบั การคดั เลอื ก ตามประกาศดงั กล่าว แต่ไมส่ ามารถสมคั รไดเ้ พราะตนได้คะแนน เฉลย่ี หรอื เกรดเฉลย่ี สะสมในระดบั ปรญิ ญาตรเี พยี ง ๒.๓๐ เท่านัน้ แต่ในระดับปริญญาเอก ตนได้คะแนนเฉล่ียสะสมถึง ๓.๕๐ จึงเห็นว่าตนควรได้รบั สิทธิในการสมัครคัดเลือกในตาแหน่ง ดังกล่าว และเห็นว่าการกาหนดคุณสมบัติตามประกาศของ มหาวทิ ยาลยั ไม่เป็นธรรม เป็นการกีดกนั ตนโดยเฉพาะเจาะจง จงึ นาคดมี าฟ้องต่อศาลปกครองขอให้เพกิ ถอนประกาศท่พี พิ าท และใหแ้ ก้ไขเอกสารแนบท้ายประกาศดงั กล่าว โดยไม่ใหม้ กี าร ระบุคะแนนเฉลย่ี สะสมในระดบั ปรญิ ญาตรไี มต่ ่ากว่า ๒.๕๐ ปัญหา คือ การกาหนดคุณสมบตั ิเฉพาะในตาแหน่ง ประเภทวิชาการ (อาจารย์) ว่าผ้สู มคั รต้องมีคะแนนเฉลีย่ สะสมในระดบั ปริญญาตรีไม่ตา่ กว่า ๒.๕๐ ชอบด้วยกฎหมาย หรอื ไม่ ? ประเดน็ น้ี ศาลปกครองสูงสุดท่านพิจารณาแล้วเหน็ ว่า คณะกรรมการบรหิ ารงานบุคคลประจามหาวทิ ยาลยั (ก.บ.ม.) ได้กาหนดหลกั เกณฑด์ งั กล่าวข้นึ เพ่อื ต้องการให้ได้บุคลากร ท่ีมีคุ ณ ส ม บัติเ ฉ พ า ะ ส า ห รับ ต า แ ห น่ ง ท่ีส อ ด ค ล้อ ง กับ ค ว า ม ตอ้ งการของมหาวทิ ยาลยั ประกอบกบั ตาแหน่งทม่ี กี ารรบั สมคั ร เป็นตาแหน่ งพนักงานมหาวิทยาลยั สายวิชาการ ตาแหน่ ง อาจารย์ ซ่ึงเป็ นสายงานสาคัญที่ทาหน้าท่ีสอนและวิจัย

๔๐ โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือผลิตบณั ฑิต ทงั้ ในระดบั ปริญญาตรี โท และเอก ซึ่งต้องการบุคคลที่มีความรู้ความเช่ียวชาญ ทางด้านการศึกษาเป็ นอย่างสงู มหาวิทยาลัยจึงต้องการความเช่ือมัน่ ว่าผู้ท่ีจะได้รับ การคดั เลอื กใหบ้ รรจุและแต่งตงั้ ในตาแหน่งดงั กล่าวมคี วามรอบรู้ ในวชิ าการนนั้ ๆ อย่างแทจ้ รงิ และตอ้ งการใหม้ กี ารศกึ ษาระดบั ปริญญาตรซี ่ึงถือเป็นโครงสร้างพื้นฐานของวิชาการที่เรียนอยู่ ในเกณฑม์ าตรฐานท่ีเหมาะสม เพื่อให้นาความร้คู วามสามารถ และประสบการณ์ที่เคยศึกษามาไปใช้ในการสอนและวิจยั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การกาหนดคณุ สมบตั ิขนั้ ต่าเก่ียวกบั ผลการศึกษา ในระดบั ปริญญาตรี จึงเป็นไปเพ่ือประโยชน์ในการสอนและ วิจยั ของมหาวิทยาลยั ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีต้องการผลิตบณั ฑิต ให้ได้รบั การศึกษาอย่างดียิ่งเป็ นสาคญั อนั ก่อให้เกิดผลดี ต่อประโยชน์สาธารณะ อกี ทงั้ เป็นการกาหนดคุณสมบตั ิท่ใี ช้ เป็นการทวั่ ไป มิได้กาหนดเพ่ือเป็นการกีดกันผู้ฟ้องคดีมใิ ห้ สมคั รเขา้ รบั การคดั เลอื กเป็นการเฉพาะเจาะจงแต่อย่างใด และ มไิ ด้เป็นไปตามอาเภอใจหรอื โดยปราศจากเหตุผลอนั สมควร อนั จะถอื ไดว้ ่าเป็นการเลอื กปฏบิ ตั ทิ ไ่ี มเ่ ป็นธรรม ดงั นนั้ การท่ี ก.บ.ม. มมี ตกิ าหนดคุณสมบตั เิ ฉพาะสาหรบั ตาแหน่งให้พนักงานมหาวิทยาลยั สายวชิ าการ จะต้องมคี ะแนน เฉล่ยี สะสมในระดบั ปรญิ ญาตรไี ม่ต่ากว่า ๒.๕๐ อนั เป็นการใช้

๔๑ อานาจตามมาตรา ๖๕/๑ แห่งพระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการ พลเรอื นในสถาบนั อุดมศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ประกอบขอ้ บงั คบั ของมหาวทิ ยาลยั ว่าดว้ ยการบรหิ ารงานบุคคลสาหรบั พนักงาน มหาวทิ ยาลยั ทใ่ี หอ้ านาจ ก.บ.ม. ในการกาหนดคุณสมบตั เิ ฉพาะ ตาแหน่งได้ โดยคานึงถึงความเที่ยงธรรมและประโยชน์สูงสุด ของมหาวิทยาลยั เป็ นสาคัญ มติ ก.บ.ม. ที่พิพาทจึงเป็ น มติที่ชอบด้วยกฎหมาย (คาพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อบ. ๑๕๑/๒๕๖๒) คาพพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ในคดนี ้ี ... ไดแ้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ การทมี่ หาวทิ ยาลยั ของรฐั มอี านาจในการกาหนดคุณสมบตั เิ ฉพาะ เพอื่ การสรรหาและคดั เลอื กบุคลากรเข้ามาทาหน้าทใี่ นตาแหน่ง อาจารย์ ซงึ่ เป็นตาแหน่งทางวชิ าการทตี่ อ้ งกาหนดคุณสมบตั เิ ฉพาะ เพอื่ ความเหมาะสม เนือ่ งจากตาแหน่งดงั กล่าวมคี วามสาคญั ในการ ผลติ บณั ฑติ ของมหาวทิ ยาลยั ของรฐั ซงึ่ ตอ้ งการบคุ คลทมี่ คี วามรู้ ความเชยี่ วชาญทางดา้ นการศกึ ษาเป็นอย่างสูง และมหาวทิ ยาลยั ของรฐั ได้ให้ความสาคัญกบั ผลการศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรี ของผสู้ มคั ร ดว้ ยเหตุการศกึ ษาในระดบั ดงั กล่าวถอื เป็นโครงสรา้ ง พ้นื ฐานของวิชาการทจี่ ะนามาใช้ในการสอนและวจิ ยั ได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ แต่การกาหนดคุณสมบตั ดิ งั กล่าว มหาวทิ ยาลยั ของรัฐจะต้องมีเหตุผลทีอ่ ธิบายได้ว่าเพือ่ ประโยชน์ในทาง วชิ าการ อนั เป็นประโยชน์สาธารณะอย่างแท้จรงิ มใิ ช่กาหนด ตามอาเภอใจ