Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มหาราชปริตร

มหาราชปริตร

Published by thiwadon jirapunyo, 2022-07-14 15:24:49

Description: พระมหาวิสุทธิ ฐานากโร เรียบเรียงจากตำราและคำเทศนาของ
พระมหาประนอม ธมฺมาลงฺกาโร

Search

Read the Text Version

มหาราชปริตร เรียบเรยี งจากตา� ราและค�าเทศนาของ พระมหาประนอม ธมฺมาลงกฺ าโร ผู้เรยี บเรียง : พระมหาวิสทุ ธิ านากโร ภาพประกอบ : เรอื งศักด์ิ ดวงพลา คาริญย์ หึกขนุ ทด ประมติ ร ดวงพล ที่ปรกึ ษา : พระมหาประนอม ธมฺมาลงกฺ าโร ประธานท่ปี รกึ ษา พระมหาจารญั พทุ ฺธปปฺ โิ ย ป.ธ. ๙ อ. ศักดา วมิ ลจนั ทร์ น.ส. อภริ ดี หนองสิมมา ผ้อู �านวยการสา� นักการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม อบจ. เชียงราย ศิลปกรรรม : เรืองศกั ด์ิ ดวงพลา พิสูจน์อักษร : นายน้อม ดาดขนุ ทด จดั พิมพ์โดย : พระมหาประนอม ธมมฺ าลงกฺ าโร [email protected] รกั ษาการแทนเจ้าอาวาส วัดจากแดง วัดจากแดง ๑๖ หมู่ ๖ ถนนเพชรหงึ ษ์ ซอยเพชรหึงษ์ ๑๐ ตา� บลทรงคนอง อา� เภอพระประแดง จังหวดั สมทุ รปราการ ๑๐๑๓๐ โทร. ๐๒-๔๖๔-๑๑๒๒ คุณสันติ เตชอัครกลุ เจา้ ภาพผูอ้ ุปถมั ภก์ ารจัดพมิ พ์ พมิ พ์คร้งั ที่ ๓ ตลุ าคม ๒๕๖๒ จ�านวน ๑๐,๐๐๐ เล่ม พิมพท์ ี่ : หจก.แอลซพี ี ฐิติพรการพมิ พ์ (ในเครอื บุญกจิ เลย่ี งเชียง เพยี รเพอ่ื พทุ ธศาสน)์ . LCP ๑๐๕/๑๑๐-๑๑๒ ถนนประชาอทุ ิศ ซอย ๔๕ แขวงบางมด เขตทงุ่ ครุ กรุงเทพฯ ๑๐๑๔๐ โทรศพั ท์ ๐๒-๘๗๒-๙๘๙๗, ๐๙๘-๖๓๙-๔๕๙๘ www.thitiporn.com

ค�ำอนุโมทนำ บทสวดมนตต์ ่ำง ๆ เป็นต้นว่ำมหำรำชปริตรนี้ เปน็ บทที่ บนั ทึกค�ำสอนของพระพุทธเจ้ำ ทชี่ ำวพุทธนิยมสวดตง้ั แต่โบรำณกำล เปน็ กำรระลกึ ถึงคณุ พระรตั นตรัย แผ่เมตตำจติ ใหแ้ กส่ รรพสัตว์ ทำ� ให้ ผสู้ วดสำมำรถขจดั ภยั และอันตรำยให้หมดสิน้ ไป ประสบควำมสขุ สวสั ดี มชี ัยชนะในกำลทุกเมื่อ และเป็นกำรเจรญิ ภำวนำทช่ี ว่ ยขดั เกลำจิตของตนให้ผ่องใสจำกกเิ ลสเครอ่ื งเศรำ้ หมองตำมสมควร แกก่ ำรปฏิบตั ิ อำตมำภำพขออนโุ มทนำในกศุ ลเจตนำของ คุณสันติ เตชอัครกลุ ทเ่ี ปน็ เจ้ำภำพอปุ ถัมภก์ ำรจัดพมิ พห์ นังสือมหำรำชปริตรนี้ แจกเปน็ ธรรมทำน เนือ่ งในโอกำสวันทอดจลุ กฐนิ รีไซเคิล ณ วดั จำกแดง จงั หวัดสมุทรปรำกำร ในวันอำทติ ย์ ที่ ๒๐ เดือน ตลุ ำคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ขอกศุ ลจรยิ ำที่ทำ่ นเจำ้ ภำพได้บำ� เพ็ญแลว้ น้ี จงเป็นปจั จยั อ�ำนวยจตุรพิธพรชัยแกท่ ่ำนเจ้ำภำพและญำติมติ รบริวำร และเป็น ปจั จัยแห่งควำมเจรญิ รงุ่ เรืองในบวรพระพทุ ธศำสนำตลอดไป เทอญ. (พระมหำประนอม ธมฺมำลงกฺ ำโร) รกั ษำกำรแทนเจำ้ อำวำสวดั จำกแดง มหาราชปรติ ร ๓

ค�านา� มหาราชปรติ ร คอื พระปริตร หรือ บทสวด ๑๒ บท ทเ่ี รียกกนั วา่ ๑๒ ตำ� นำน นน่ั เอง เป็นคา� สอนของพระพุทธเจา้ ที่ คนไทยสมัยก่อนนยิ มสวด เพ่ือระลกึ ถงึ คณุ พระรัตนตรัย แผเ่ มตตา จิต และเจรญิ ภาวนา ทา� ให้ปลอดจากภยั ทง้ั ปวง ประสบสุขสวสั ดี มีชัยชนะเสมอ และช่วยขัดเกลากเิ ลสในจิตของตนใหล้ ดนอ้ ยลง ชาวพุทธแต่โบราณไดอ้ าศัย บทสวดมนต์ ซงึ่ เปน็ รอ่ งรอย หลักฐานหนงึ่ ที่เหนีย่ วนา� ไปถึงพุทธกาล ซง่ึ ชว่ งระยะเวลาทม่ี ีพระ พุทธเจ้านนั้ น้อยย่ิงนกั และโอกาสทจี่ ะไดพ้ บพระพทุ ธเจ้าและไดฟ้ งั ธรรมก็แสนยากเช่นกัน ฉะนนั้ บทสวดมนต์จงึ เป็นบ่อบญุ เป็น แหล่งน�้ำทิพย์ทีค่ อยเจือจนุ รา่ งกายและจิตใจทีท่ ุกๆคนสามารถด่ืม กินและน�ำไปใชไ้ ด้ ตามปรารถนา ฉะนน้ั ขอใหส้ าธชุ นทุกท่านจงหมั่นสวดมนตไ์ หวพ้ ระเปน็ ประจ�า ในขณะสวดกค็ วรเปลง่ เสียงทางวาจาเพ่ือใหบ้ คุ คลอ่ืนทเ่ี ป็น มนุษยห์ รือเทวดาไดย้ นิ แลว้ อนุโมทนาบญุ ต้งั จิตเมตตาม่งุ ประโยชน์ ตอ่ ผฟู้ ัง สวดให้ถูกอักขระ และรู้ความหมาย เมอ่ื ปฏบิ ตั ิได้อย่างนี้ ย่อมได้รบั นานาอานิสงสจ์ ากพระปรติ รอยา่ งแน่นอน ขอให้ทกุ ท่านทงั้ ผู้ร่วมจดั ทา� ผู้อปุ ถมั ภ์การจัดพิมพ์ ผ้อู า่ น และผูฟ้ ัง จงส�าเร็จนานาอานิสงส์ ได้บรรลุผลดังใจตนปรารถนา ด�าเนินชีวิตในทางสัมมาปฏิบตั ิ และเหน็ แจง้ เห็นชดั ในธรรมท้ังปวง เทอญ. พระมหาประนอม ธมมฺ าลงกฺ าโร รกั ษาการแทนเจา้ อาวาสวดั จากแดง ๔ มหาราชปริตร

สารบญั การกราบไหว้พระรัตนตรัย ๓๘ คา� กราบไหวพ้ ระรัตนตรัย ๓๙ ค�าอนุโมทนา ๓ คา� น�า ๔ มหานมัสการ ๔๐ ประโยชน์ของการกลา่ วนะโม ๔๔ สารบญั ๕ บทมหานมัสการ ๔๕ ใคร ? ใครควรเปน็ ผสู้ วดมนต์ ๘ ไตรสรณคมน์ ๔๖ มนต์ขลงั – พุทธมนต์ ๑๐ บทไตรสรณคมน์ ๔๙ พทุ ธมนตก์ ับการสวด ๑๒ ความดีเดน่ ของพุทธมนต์ ๑๓ สมาทานศีล ๕๐ สวดมนตค์ อื แสดงธรรม ๑๔ บทสมาทานศีล ๕ ๕๑ สวดมนต์คอื ฟงั ธรรม ๑๖ ชุมนมุ เทวดา ๕๒ เม่ือใดท่คี วรสวดมนต์ ๑๗ บทชมุ นมุ เทวดา ๕๕ วธิ สี วดมนต์แบบมหี ลกั การ ๑๙ พระพทุ ธคุณ ๕๗ สวดแบบพหูสูต ๒๑ บทพทุ ธคณุ ๕๙ สวดมนตแ์ ลว้ ไดผ้ ลดีจริงไหม ๒๒ พระธรรมคณุ ๖๐ ปัญหาคลาสสคิ เร่อื งพระปรติ ร๒๓ บทธรรมคณุ ๖๓ เมตตาอย่างไร ๒๘ พระสงั ฆคณุ ๖๔ พระปรติ รกับสัจวาจา ๒๙ บทสังฆคุณ ๖๗ อานุภาพของสจั จะ ๓๑ มังคลปรติ ร ๗๐ ๓๓ บทขัดตา� นาน ๗๕ มหาราชปริตร ๓๔ บทขดั มังคลปริตร ๗๗ พระปริตร การสกั การบชู าพระรัตนตรยั ๓๖ บทมังคลปรติ ร ๗๘ คา� สักการบูชาพระรตั นตรัย ๓๗ รัตนปรติ ร ๘๔ มหาราชปรติ ร ๕

บทขัดรตั นปริตร ๘๙ บทองั คลุ ิมาลปรติ ร ๑๙๖ บทรัตนปรติ ร ๙๑ โพชฌังคปริตร เมตตปริตร ๑๙๘ อานิสงส์เมตตา ๑๐๒ บทขดั โพชฌงั คปรติ ร ๒๐๓ บทขดั เมตตปริตร ๑๐๗ บทโพชฌังคปรติ ร ๒๐๔ บทเมตตปรติ ร ๑๐๘ อภยปริตร ขนั ธปรติ ร ๑๐๙ บทขัดอภยปริตร ๒๐๗ บทขดั ขนั ธปรติ ร ๑๑๔ บทอภยปริตร ๒๐๘ บทขนั ธปริตร ๒๐๙ โมรปริตร ๑๑๗ เทวตาอยุ โยชนคาถา ๒๑๑ บทขดั โมรปริตร ๑๑๘ บทเทวตาอุยโยชนคาถา ๒๑๒ บทโมรปรติ ร ๑๒๒ ชยปรติ ร วัฏฏกปรติ ร ๑๒๙ บทขัดชยปริตร ๒๑๓ บทขัดวัฏฏกปริตร ๑๓๐ บทชยปรติ ร ๒๑๔ บทวฏั ฏกปรติ ร ๒๑๕ ธชคั คปริตร ๑๓๔ บทสัพพมังคลคาถา ๒๑๗ บทขัดธชัคคปริตร ๑๔๐ แผเ่ มตตา บทธชคั คปรติ ร ๒๑๘ อาฏานาฏยิ ปริตร ๑๔๑ บทแผ่เมตตาให้แกต่ นเอง ๒๑๙ บทขดั อาฏานาฏิยปริตร ๑๔๔ บทแผอ่ ัปปมัญญา ๒๒๐ บทอาฏานาฏยิ ปริตร ๑๔๗ บทปตั ติทานคาถา องั คุลิมาลปริตร ๑๔๘ ๒๒๒ บทขัดอังคุลมิ าลปรติ ร ๑๖๒ ค�าถวายผา้ กฐนิ ๒๒๕ ๑๖๕ หนังสืออานประกอบ ๒๒๖ ๑๖๖ อานุภาพพระปริตร ๒๒๗ ๑๘๐ คําวา สวดมนตไหวพ ระ ๒๒๙ ๑๙๕ ๖ มหาราชปรติ ร

มหาราชปริตร

ความเป็นมา : บทสวด : ค�าแปล ? ใคร ? ใครควรเป็นผูส้ วดมนต์ การสวดมนต์ เหมือนจะเป็นเรอ่ื งใกล้กบั พระมากกว่า โยม เพราะพระดูจะคนุ้ เคยกบั ภาษาแบบพระ ดแู ต่การให้พรโยม ให้ศลี โยมก็เปน็ ภาษาบาลี หรือพิธีบวชของพระเองเล่ากใ็ ช้ภาษา บาลี ภาษาเดยี วกบั คา� สวดมนต์ เปรียบเหมอื น คนเปน็ ไกด์นา� เทย่ี ว คนขายของตามแหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ย่อมใกลก้ ับภาษาต่างประเทศกวา่ หลายอาชีพ ดงั วา่ มาก็จริงอยู่ แต่พระสงฆก์ ไ็ มไ่ ด้พูดบาลแี ตท่ แี รก ไมไ่ ด้ สวดมนต์ไดแ้ ตไ่ หนแต่ไร หากแต่เกดิ จากวถิ ีธรรมเนยี มและใส่ใจ ฝึกฝนจนเคยชินเรยี นรู้จนเข้าใจ จึงท�าให้เหมือนกบั ว่าท่านอยู่ใกล้ ๘ มหาราชปรติ ร

ใคร ? ใครควรเป็นผู้สวดมนต์ ภาษาบาลี และใกลก้ บั บทสวดท่ีเป็นภาษาบาลีกว่า แต่ท่จี รงิ หาก เอาใจใส่ ใกล้ชิดภาษาและธรรมะในบทสวดย่อมจะไม่ขยับหนี แนน่ อน มีแต่จะขยับชดิ ใกล้จนอยู่กับจติ ใจ สมกับคา� ว่า อบุ าสก อบุ าสกิ า ท่แี ปลว่า ชำยหญิงผชู้ ดิ ใกลพ้ ระรัตนตรัย ในทนี่ เ้ี ราจะชดิ ใกลพ้ ระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ดว้ ยการสวดมนต์ ทุก ๆ คนเป็นผู้ควรสวดมนต์ และจะดีย่ิงหากบา� เพ็ญ ตนเป็นอบุ าสกอบุ าสิกาชนั้ ยอด เป็นผมู้ ีคุณสมบัติ ๕ ประการ คือ มีศรทั ธา มศี ีล ไม่ตืน่ ข่าวโชคลาง ไม่แสวงหาเขตบุญนอกศาสนา เอาใจใสค่ ้�าจนุ พระศาสนา พระพทุ ธเจ้าได้ตรัสถึงบุคคลดงั กลา่ วไวว้ ่า เปรียบเป็นผอง ผงู้ ดงามดังดอกบัวบาน เมอื่ ปฏิบัติตามหลักพื้นฐานชาวพุทธชั้นดี ควบคู่ไปกบั การสวดมนต์ ย่อมแนน่ แฟน้ ในกศุ ล ชื่อวา่ เปน็ ผู้น�าตน ไปสู่ความเจรญิ นะโม ตสั สะ... มหาราชปรติ ร ๙

ความเป็นมา : บทสวด : คา� แปล มนตข์ ลงั - พุทธมนต์ เคยไหม ทไ่ี ด้ไปในสถานทห่ี นงึ่ แลว้ อยากกลบั ไปอกี เหมอื น มีอะไรเรยี กรอ้ ง เคยไหม ทมี่ องบางคนแล้ว ยากจะละสายตา เหมอื นมีอะไร ดึงดูด เราคงเคยได้ยินการให้เหตุผลถึงความรู้สึกดังกล่าวว่า เป็น เพราะต้องมนต์ขลังเข้าแล้ว เหมือนเพลงที่ร้องว่า “เรณูนคร ถนิ่ นช้ี ำ่ งมมี นตข์ ลงั ไดพ้ บนวลนำง ดง่ั เหมอื นตอ้ งมนตแ์ นน่ งิ่ นอ้ งนงุ่ ซ่นิ ไหม ไว้ผมมวยสวยเพริศพร้งิ พรี่ ักเจ้ำแล้วแทจ้ รงิ สำวเวียงพิงค์ แห่งแดนอสี ำน” นั่นกบ็ ่งบอกอยู่ว่า คา� ว่า มนต์ มาคู่กับค�าวา่ ขลงั มีผลใหผ้ ูกพนั ทางใจ รูส้ ึกชนื่ ชม ยากแกก่ ารอธบิ าย ๑๐ มหาราชปรติ ร

มนต์ขลัง - พทุ ธมนต์ มนต์ท่ีให้ผลเป็นความขลังเป็นส่ิงท่ีมีอยู่จริง และมิใช่มีแต่ แบบทที่ า� ใหช้ น่ื ชอบเทา่ นน้ั มแี บบทท่ี า� ใหช้ งิ ชงั กนั ดว้ ย และอกี หลาย แบบตามแต่จะต้องการสรรพคุณด้านใด น่ันคือ เวทมนตร์ คำถำ อำคม นนั่ เอง ความขลงั เหล่านั้นอยู่ในฐานะเป็นขัน้ ตน้ ชว่ ยใหค้ นเล่ือมใส คา� สอนในพระศาสนา ไมใ่ ชจ่ ดุ หมายปลายทางทเี่ ปน็ ทส่ี ดุ ไมค่ วรหยดุ อยู่ท่กี ารศรัทธาในความขลังของเวทมนตร์ แต่ควรหม่ันเจริญกุศลทุก ๆ ด้าน เรียนรู้และปฏิบัติให้เกิด ญาณปัญญายิ่ง ๆ ไป โดยอาศัยศรัทธานั้นเป็นพ้ืนฐาน ในขณะ เดยี วกัน ผู้เจริญด้วยปญั ญาก็ควรปลูกศรทั ธาของตนเช่นกนั ศรทั ธา ที่ดคี วรใหเ้ ปน็ เหมือนไม้ยืนต้น ไมค่ วรใหเ้ ปน็ อย่างไม้ล้มลกุ เพราะผู้ สมบรู ณ์สุขยอ่ มจะมีศรทั ธาและปญั ญาพอเหมาะกนั มหาราชปริตร ๑๑

ความเป็นมา : บทสวด : คา� แปล พุทธมนตก์ บั การสวด มนต์ ในท่ีนีก้ ็คือ พทุ ธมนต์ การเจริญพระพทุ ธมนต์กค็ ือ สวดมนต์นั่นเอง แตใ่ ช้ค�าต่างกันไปตามรูปแบบงาน ถ้าเป็น งานศพ กเ็ รียก สวดมนต์ ถา้ เป็น งานบวช งานแต่งงาน กเ็ รียก เจรญิ พระพุทธมนต์ คา� วา่ สวด นอกจากจะหมายถึง เปล่งเสียงบทมนตเ์ ปน็ ท�านองแลว้ ยังสอ่ื วา่ ทา� พร้อมกนั หลายคนด้วย หากเราสวดนะโมคนเดียว จะสวดแบบอ่านหนงั สือกไ็ ด้ ชา้ หรือไวกไ็ ด้ แต่หากคนหนง่ึ ร้อยคนสวดนะโมในคราวเดยี ว กต็ อ้ ง ใช้วิธีสวดเป็นท�านองเพื่อความพร้อมเพรียงให้ผู้ร่วมสวดเปล่งเสียง พร้อมกนั ได้ง่าย เมื่อสามารถรกั ษาระดับสม่�าเสมอต่อเนือ่ งกันไป ก็เกดิ เป็นความเล่อื มใสศรัทธาแกผ่ ไู้ ดย้ ินได้ฟงั รบั รู้ถึงพลังสะอาด บรสิ ทุ ธิแ์ หง่ พทุ ธด�ารสั ที่เป็นบทสวดนั้น ๑๒ มหาราชปริตร

ความดเี ดน่ ของพทุ ธมนต์ ความดีเดน่ ของพทุ ธมนต์ พุทธมนต์ ทเี่ ปน็ พุทธด�ำรัส มีความดีเดน่ หลายขอ้ เรมิ่ จาก กอ่ ใหเ้ กดิ ศรทั ธา ใหป้ ญั ญาไดเ้ พมิ่ พนู บรบิ รู ณด์ ว้ ยเนอื้ หาสภาวธรรม ดา้ นถอ้ ยคา� ไวยากรณก์ ถ็ กู ตอ้ งตามหลกั ภาษา สามารถสวดและตรอง ตามได้ง่าย เม่ือพิจารณาแจง้ ใจกเ็ ห็นความลึกซงึ้ ยามฟังพทุ ธมนต์จะรไู้ ดว้ า่ สบำยหู รูส้ ึกจับใจ เพราะใน เน้ือหาไมม่ ีท่ยี กตนขม่ ท่านเลย มีแต่ความเยอื กเยน็ ด้วยกรณุ าให้ สัมผัส เพราะพระพทุ ธด�ารสั เป็นสิ่งทผี่ ่องแผว้ ด้วยปญั ญา เป็นกระ บวนการพฒั นาตนทน่ี ่ารน่ื รมย์ อุดมไปด้วยข้อควรขบคดิ ยามฟังก็ ฟงั ง่าย ฟงั แลว้ นา� ไปทดลองท�าตามกม็ แี ต่ประโยชน์โดยแท้ มหาราชปรติ ร ๑๓

ความเป็นมา : บทสวด : ค�าแปล สวดมนต์ เท่ากบั ได้ แสดงธรรม สวดมนตค์ อื แสดงธรรม ในหนงั สอื สวดมนต์มีตัวอกั ษรเขยี นค�าสวดไวเ้ ป็นบท ๆ นนั่ เปน็ การบนั ทกึ ค�าสอนของพระพุทธองคแ์ ละของสาวก เปน็ การใช้ ตวั อกั ษรบันทกึ เสียง แต่กอ่ นโบราณาจารยไ์ ม่ไดบ้ ันทึกค�าสอนไว้ เปน็ ตวั หนงั สือเชน่ น้ี ทา่ นใชว้ ิธีจดจา� เอา เหมือนกับเรารอ้ งเพลงได้ โดยไม่เคยเห็นเนอ้ื เพลง เหตทุ ท่ี ่านไม่ได้ทา� เป็นตัวหนังสอื ไม่ใชไ่ ม่มี ตวั หนงั สอื ใช้ แตเ่ พราะสมัยน้ัน วธิ จี ดจา� มคี วามแมน่ ยา� มากกว่าวิธี เขียน และการจดจา� ในปริมาณมากกไ็ มใ่ ช่เรือ่ งยากสา� หรบั ท่าน เมื่อถึงคราวท่ีท่านจะตรวจทานความถูกต้องของค�าสอนที่ ได้จดจ�าไวว้ า่ เม่ือตา่ งคนต่างจา� จะมีผดิ เพย้ี นกนั บา้ งหรือไม่ ทา่ นกใ็ ช้ วิธสี วดพร้อมกันหลายท่านเรียกวา่ กำรสำธยำยสังคำยนำ ซ่งึ เปน็ ตน้ แบบกำรสวดมนต์ท�ำวตั ร ของพระสงฆใ์ นปจั จบุ ัน และสมั พนั ธ์ ถงึ เราผสู้ วดมนต์ในนามอุบาสกอุบาสกิ า ทใี่ ช้การสวดเปน็ ช่องทาง ใกล้ชิดพระรตั นตรัย ๑๔ มหาราชปรติ ร

สวดมนตค์ อื แสดงธรรม ตอ่ มาทา่ นผสู้ บื ทอดค�าสอนด้วยวธิ ีจดจา� ตอ่ เนอื่ งกันมา เห็น แนวโน้มว่าความสามารถด้านการจดจ�าของผู้คนในอนาคตจะไม่ แม่นยา� จงึ ตดั สินใจบนั ทึกคา� สอนด้วยตวั หนังสือ ด้วยหวังให้เปน็ สื่อน�าสง่ิ ดงี ามมาถงึ ยคุ เรา และสง่ มอบยคุ ตอ่ ไป เพราะพระพุทธศาสนาแผ่ไปหลายประเทศ คา� สอนทเ่ี ป็น ภาษาบาลีก็ได้รับการบันทึกไว้ด้วยรูปตัวหนังสือของประเทศ นั้น ๆ นั่นก็ล้วนแต่เป็นการบันทกึ เสียงพระธรรมวินัยเสียงเดียว กัน เม่อื อ่านออกเสียงยอ่ มเป็นการแสดงธรรมดังคร้ังก่อน เพราะ ต้นฉบับคือการแสดงธรรม ฉะนั้น อานิสงส์ของการแสดงธรรมก็ย่อมเกิดกับเรา ด้วย เริม่ จากไดส้ ัมผสั ขณะแห่งความสงบ พบกบั ความดีใจเลก็ น้อย แล้วพลอยเปน็ ความดีใจมากกวา่ เดมิ เปน็ พลงั เสริมใหจ้ ิตใจต้งั มั่น ย่งิ เม่ือหมั่นทบทวนฝึกทอ่ ง ตรึกตรองในหวั ข้อธรรม กจ็ ะทา� ใหใ้ จ สะอาด สามารถขม่ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ไวไ้ ดใ้ นขณะ นนั้ ทา� ใหเ้ ปน็ ผู้ร้แู จง้ อรรถและธรรม เป็นความดีงามนับแต่เบ้ือง ต้นจนถงึ พระนิพพาน นี้ก็ด้วยการแสดงธรรมตามท่ตี นได้สดบั มา หรือกลา่ วไดว้ ่าการสวดมนตน์ ั่นเอง มหาราชปริตร ๑๕

ความเป็นมา : บทสวด : ค�าแปล สวดมนตค์ อื ฟั งธรรม ไม่เพียงแต่การ ส ว ด ม น ต์ จ ะเ ป็ น ก า ร แ ส ด ง ธรรมเท่าน้ั น ยังนับเป็นการฟังธรรมดว้ ย เพราะขณะที่สวดมนต์ไปก็มีผูไ้ ด้ยนิ ได้ฟังเสียงสวดนั้นด้วยบคุ คลแรกทสี่ ดุ กค็ ือตัวเราผู้สวดนนั่ เองเป็น การเปิดโอกาสให้ตัวเองได้ยินกระแสเสียงส�าเนียงใหม่จากบท สวด หรือถึงจะสวดจนคุ้นเคยแล้วก็ตาม กจ็ ะได้ความชา� นาญมาก ขน้ึ กำรออกเสียงและกำรฟังเสียงเป็นกำรเพิ่มศรัทธำให้มำกกว่ำ เดิม และเปน็ กำรก�ำกับควำมคดิ ให้อยู่ในแนวทำง ชว่ ยสรำ้ งมมุ มอง ท่ดี ีงำมในจิตใจกจ็ ะมีแต่ควำมผ่องใส ย่ิงเปน็ กำรสวดดว้ ยควำมเข้ำ ใจก็จะยง่ิ เป็นประโยชน์ กล่าวใจความกะทัดรัดในท่ีน้ี สวดมนต์ ก็คือ เทศน์ให้ตัว เองฟัง เพียงแตเ่ ป็นการฟงั เทศนใ์ นอกี ภาษาหนึง่ ถงึ วันน้จี ะยงั ไม่ เขา้ ใจหมด กไ็ ม่ได้หมายความว่าจะไม่เข้าใจตลอดไป ขอให้ศรัทธา ในตวั เองและพร้อมจะเรียนรตู้ ลอดชวี ติ ในหลายเร่ือง และยนิ ดจี ะ ใหเ้ วลาบางสว่ นกบั เรอื่ งทางธรรม เม่ือเปิดหงายจิตใจไว้รองหยาด แห่งกระแสธรรมแล้ว ยอ่ มจะเพ่ิมพนู ข้ึนและเต็มไดใ้ นท่สี ดุ สวดไป ฟังไป รู้ไป ได้สมาธิ เกดิ ปีติ ๑๖ มหาราชปรติ ร

เมือ่ ใดที่ควรสวดมนต์ ไม่ประมาท ตอ้ งหาโอกาส ชำระจติ เม่ือใดทคี่ วรสวดมนต์ เวลาดังกล่าวตอ่ ไปนี้ ควรคดิ ถงึ ธรรมะหาเวลาฟงั ธรรมก็คอื ในวนั พระ และ ในเวลาทใี่ จถกู ส่ิงหมองรุมเร้า ควรสวดมนต์ในวันพระ ๘ ค่�า ๑๕ ค่า� ตามปฏิทนิ ที่บอก ข้างขึ้นขา้ งแรมท่ที า� เปน็ รปู พระหรือรูปดวงจันทร์ไว้ ตามคัมภรี ท์ า่ น ระบไุ วแ้ ปดวนั ตอ่ เดือน หรอื จะเพิ่มวันส�าคัญ เชน่ วันเกดิ วันแม่ วันปีใหม่ ฯลฯ กไ็ ด้ และหากบรหิ ารเวลาไดจ้ ดั สรรใหแ้ ต่ละวันมีช่วง เวลาทเ่ี ป็นกุศล ที่สามารถสวดมนตไ์ ด้ทุกวันกจ็ ะย่งิ ดี ยามใดใจถกู ส่ิงหมองรุมเร้า ยามน้นั เราควรสวดมนต์ปดั เป่าให้ตวั เองด้วยตวั เอง สังเกตว่าสง่ิ รุมเรา้ ใจจะมสี ามรูปแบบ รูป มหาราชปรติ ร ๑๗

ความเป็นมา : บทสวด : คา� แปล แบบหน่ึงคือ กามวติ ก เกิดความสนใจในแบบยึดติด ท้งั ต่อสิ่งที่ เปน็ ตัวเป็นตน เปน็ คนเปน็ สัตวเ์ ปน็ สิง่ ของ และท่ีเป็นอารมณ์ความ รู้สกึ รูปแบบสอง พยาปาทวิตก จะไม่ถกู ใจในคน สัตว์ ส่ิงของ และ อารมณค์ วามรสู้ กึ ทไี่ มเ่ ป็นไปด่ังใจ รูปแบบสาม วหิ งิ สาวิตก อยาก ใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ คนตอ่ สตั ว์อ่ืน ทั้งสามแบบนี้คือความคิดเราเอง คนอ่นื อาจไมร่ ู้วา่ เราร้สู ึก อยา่ งไร แตย่ ามนั้นจิตใจเราเรยี กวา่ ถกู อกุศลวิตกครอบง�า ควร เปล่ียนอารมณ์มารับกระแสธรรมท่ีจะนา� สทู่ างดีแท้ เพราะเม่ือรับ กระแสเสียงอันสงบสบาย ย่อมช่วยคลายใจออกจากการถูกรุมเรา้ ใจจะได้ก�าลังจากปตี ิตัดตอนจากความคิดด้านลบได้ด้วยตนเองเปน็ การเรียกสตมิ าอยตู่ รงหนา้ เปน็ เหมอื นคนรจู้ ักทคี่ บหากันกับสตซิ ่ึง มีคณุ สมบัตสิ า� คญั คอื ชว่ ยป้องกนั กิเลสนิวรณ์ได้ ปัดเปสา่ วคดวมามนฟต้งุ ์ ซา่ น ๑๘ มหาราชปริตร

วิธีสวดมนตแ์ บบมีหลักการ วิธสี วดมนตแ์ บบมีหลกั การ การสวดมนต์จะบรรลปุ ระสิทธิผล ก็เร่ิมจากทราบวธิ ีใส่ใจ ในบทสวดก่อน เหมือนเวลาซือ้ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ มาสักช้ินก็ควรอา่ น คมู่ อื ดเู อกสารเพือ่ ใช้งานได้ถกู ต้องเหมาะสมและปลอดภยั ทา� ความ เขา้ ใจเรือ่ งการบา� รงุ รกั ษาและบรกิ าร ดสู ิทธิประโยชนท์ ุกดา้ นให้ ครบ เม่ือประสบปัญหากจ็ ะแก้ได้งา่ ย ยดื อายุการใชง้ านใหน้ านปี แต่ละคนทีส่ วดมนต์ ถึงจะสวดเลม่ เดยี วกัน บทเดยี วกนั แตผ่ ลลัพธ์น้นั ต่ำงกนั ไป ทกุ คนหวงั ไดผ้ ลดี ซงึ่ หำกทรำบวธิ งี ่ำย ๆ ประโยชนม์ ำกมำยกจ็ ะเกดิ ขึ้นกบั กำรสวดมนต์ ๑. สวดตามลา� ดับ ว่าไปเป็นบท เปน็ ตอน ตามวรรค ตาม ความ ไม่ควรข้ามวรรคตอนหรือขา้ มบรรทัดไป เพราะจะท�าให้ เหนื่อยได้ จิตจะตกไปจากความแช่มช่ืน การสวดมนตโ์ ดยไม่ราบ มหาราชปริตร ๑๙

ความเป็นมา : บทสวด : คา� แปล ราบรน่ื ก็ยากที่จะชื่นใจ เปรยี บเหมอื นคนก้าวขนึ้ บันไดไปไหว้พระ ธาตบุ นยอดดอยทลี ะสองขั้น จะทา� ให้พลนั เหนอ่ื ยกายไม่อาจยงั เปา้ หมายใหส้ �าเรจ็ ๒. สวดไม่เร็วนัก แมว้ ่าการสวดเร็วสามารถสวดใหจ้ บลง ได้ แต่สาระทอ่ี ยูใ่ นบทสวดก็จะไมป่ รากฏชัด คุณประโยชน์อันมอี ยู่ แนน่ ขนดั กจ็ ะไดเ้ พียงนิดหนอ่ ย เหมือนคนไปเที่ยวดอยโดยไม่รู้จุด ชมวิวทีค่ วรแวะ ได้แต่ไปถึงยอดดอยแลว้ กลบั ลงมา ไม่รู้วา่ จะช่ืน ชมท่ใี ด ไมน่ านกไ็ ปอีกมาอกี โดยด่วน นน่ั ท�าให้ไปไดค้ รบระยะทาง กจ็ รงิ แต่จะดีอย่างย่งิ หากเรียนร้กู ่อนออกเดนิ ทาง คือรจู้ ุดส�าคญั ใน ระหวา่ งทส่ี วดไมค่ วรสวดอยา่ งไวเกินไป ๓. สวดไม่เฉอื่ ยช้านกั ท�านองเดียวกับสวดไมค่ วรไว เพราะ หากสวดชา้ ไปกจ็ ะไม่ถึงจุดนัดหมาย เปรียบเหมือนคนเดินลอยชาย ทมี่ ัวแวะพักต้องใช้เวลามากจึงถึงจุดหมาย การสวดสาธยายทเี่ ชื่อง ช้ามากท�าใหใ้ ช้เวลาสวดมากเช่นกนั ๔. สวดป้องกันความฟุ้งซ่าน อาจมีบางคราวบางบทที่ ปากว่าไปใจคิดถึงเรื่องอื่น ต้องรู้จักป้องกันอารมณ์ภายนอก ท่ีจะ ดึงจติ ออกจากการสวดมนต์ เปรียบเหมือนคนท่องเที่ยวเชิงผจญ ภัย ข้นึ ไปเง้ือมผาใหญ่ ไตท่ างเลียบเหวทีเ่ ป็นทางเดนิ เล็กพอเดินได้ คนเดียว ไม่แคลว้ เกิดเรื่องชวนหวาดเสียวหากวางเทา้ ผดิ ไป จากที่ เดินอยู่ริมผาใหญ่ กจ็ ะตกลงไปในเหวชัน ฉะนั้น จึงต้องบอกตวั เองวา่ อยา่ ฟุ้งซา่ นขณะสวด ๒๐ มหาราชปรติ ร

สวดแบบพหสู ตู สวดแบบพหสู ตู เป็นการสวดมนต์เพ่อื การเรียนรู้ โดยเรม่ิ จากอา่ นสวดอยา่ ง ละเอยี ดทีละน้อยจนครบถ้วน จดจ�าทลี ะน้อยจนจ�าได้หมดและ สามารถจ�าคา� รูค้ วามหมาย เข้าใจสาระ จากค�าสวดทอ่ี ยู่ในหนังสือก็จะมาอยู่ในตัวเรา ถงึ แม้จะ ปิดหนังสือลงก็ยังคงเหมือนเปิดหนังสืออยู่ หมน่ั ทบทวนดว้ ย การสาธยายเสมอใหช้ า� นาญย่ิงข้ึนจนคล่องแคล่ว สามารถกลา่ วได้ ทันทีทันใด พจิ ารณาเนื้อหาบทสวดไดโ้ ดยเหน็ กระจา่ ง ท้ังในเชิง ความหมายและเหตุผล ทง้ั ในทางโลกยิ ะและโลกตุ ระได้ เปน็ กลเมด็ การสวดมนตใ์ น แบบพหูสตู น่ันเอง ฟังให้เข้าใจ บริกรรมจนทรงจ�าได้ ทบทวนอย่าให้ลมื ฝึกหัดใหเ้ ปน็ ลงมือทา� ทันที มหาราชปรติ ร ๒๑

ความเปน็ มา : บทสวด : ค�าแปล สวดมนตแ์ ลว้ ไดผ้ ลดจี รงิ ไหม มนต์ ทพ่ี ูดถึงในทีน่ ้ี เปน็ มนต์เดยี วกันกบั พระพุทธมนต์ ที่พระสงฆท์ ่านสวดทีเ่ รยี กวา่ พระปรติ ร นนั่ เอง พระปรติ รน้นั ใหผ้ ลดมี อี ำนภุ ำพจริง หำกสวดถกู วธิ ี เหมอื น ยำบำ� รุงทีใ่ หผ้ ลดจี ริง แต่ต้องทำนถูกวิธี ถูกปริมำณ ถูกกำลเวลำ เชน่ หมอยำให้ผสมน้ำ� อุ่น ทำนสองช้อน กอ่ นอำหำรเช้ำ แต่เรำผสม นำ้� เยน็ ทำนหนึง่ ชอ้ น ก่อนเขำ้ นอน ยำก็หย่อนสรรพคุณลงไป ไม่ได้ ประโยชนอ์ ยำ่ งที่ควร ท่านกล่าวไว้ว่า ถ้าสวดผิดอรรถผิดค�าไปไม่คล่องแคล่ว พระปริตรก็ไมม่ ีเดช ถ้าเข้าใจเนื้อหาความหมาย สาธยายถกู อกั ขระ พระปริตรกจ็ ะปรากฏอานุภาพ แต่แม้ว่าเราจะสวดได้ถูกต้องคล่องแคล่วทุกประการก็ตาม หากสวดไปดว้ ยความโลภอยากได้ พระปริตรกไ็ ม่ส่งผล ผสู้ วดต้อง ต้งั ตน้ กอ่ นว่า เราจะสวดดว้ ยใจเมตตาปราณี ขอสง่ ความปรารถนา ดีถึงทุกท่านที่ได้ยินได้ฟังมนต์ท่ีสวดจึงจะยังประโยชน์ให้ส�าเร็จ ตามอานิสงส์แห่งบทนั้น ๆ เพราะฉะน้นั เราจงึ ควรฝึกใจไปพร้อมกับฝกึ สวด เพราะ เมื่อฝึกฝนจนอยู่ตวั แลว้ การสวดมนต์กจ็ ะให้ผลไปทุกบททกุ ครงั้ ที่ สวด ๒๒ มหาราชปริตร

ปญั หาคลาสสิคเรือ่ งพระปริตร ปั ญหาคลาสสิคเร่อื งพระปรติ ร หลงั พระพทุ ธเจ้าปรินิพพานแลว้ ประมาณ ๕๕๐ ปี กษัตริย์ ผ้ทู รงปัญญาพระนามวา่ พระเจา้ มลิ ินท์ ไดถ้ กถามปัญหาหลายขอ้ กับพระสงฆผ์ ทู้ รงปญั ญาชือ่ ว่า พระนาคเสน ในการสนทนาครั้งน้ัน ท่านพระนาคเสนได้ตอบด้วยการยก ตัวอย่างเปรียบให้เห็นจนเปน็ ท่ีแจ้งชัดขจัดทุกความสงสัย แตล่ ะ ประเดน็ ทหี่ ยิบยกมา ล้วนแตเ่ ป็นปมปญั หาชวนคดิ เพราะถามดว้ ย สตปิ ัญญา และผู้ตอบจะต้องคลี่คลายประเดน็ ดว้ ยสติปญั ญาใหเ้ ห็น จรงิ ตอนหน่ึง พระเจ้ามิลินท์ยกภาษิตค�าตรัสของพระพุทธ- เจ้าว่า “ไม่ว่ำจะหนีไปอย่กู ลำงฟ้ำ หนไี ปอยกู่ ลำงมหำสมทุ ร หรือ มหาราชปรติ ร ๒๓

ความเป็นมา : บทสวด : ค�าแปล หนไี ปซอกเขำ บคุ คลท่ีเกิดมำแล้วกไ็ ม่พ้นควำมตำย ทท่ี ค่ี นจะรอด พน้ จำกควำมตำย ทีน่ ้ันไมม่ ”ี แลว้ เชือ่ มโยงกับการท่พี ระพุทธองค์ ทรงแสดงพระปริตรไว้หลายบทว่า ดูจะขดั แย้งกันเอง เพราะถา้ ไป อยู่ท่ีไหนกไ็ มอ่ าจพ้นความตายได้ การเจริญพระปริตรก็เปน็ เรอื่ งไม่ ถกู ต้อง และหากว่าจะมีอนั พน้ ความตายด้วยการเจรญิ พระปริตรได้ จริง ค�าท่ตี รัสไว้ก็จะไมถ่ กู ต้อง เปน็ หนา้ ทพ่ี ระนาคเสนต้องคลายปม พระนาคเสนทลู วา่ พระพทุ ธเจ้าได้ตรัสภาษิตนจ้ี รงิ พระ ปริตรกไ็ ดต้ รสั จรงิ แตน่ ัน่ ส�าหรับคนท่ียังมอี ายุเหลอื อยู่ มีวัยสมบรู ณ์ ไม่มกี รรมมากน้ั คนทีอ่ ายุถึงจดุ ส้นิ แลว้ เปรยี บดงั ตน้ ไมแ้ ห้งผุ เมือ่ ไม้ ไมม่ อี ายสุ งั ขาร แม้ตักน�้าพันหมอ้ มารด ก็ไม่อาจกลับมาเขียวสแตก หน่อใบไดอ้ กี สา� หรับคนท่ีอายุหมดสนิ้ แลว้ น้ันหยูกยาทั่วท้ังแผ่นดิน ใหญห่ รือพระปริตรก็ไม่อาจคุม้ ครองรกั ษา จะรกั ษำก็เฉพำะคนทย่ี งั มีอำยเุ หลืออยู่ มวี ยั สมบรู ณ์ ปรำศจำกกรรมำวรณ์ พระพุทธเจ้ำ ทรงแสดงพระปรติ รไว้สำ� หรบั คนเหลำ่ นี้ เปรยี บเหมือนในแปลงนา ท่มี ีต้นข้าวแหง้ แกต่ ายอยู่ ชาวนากไ็ มต่ ้องสบู น�า้ เขา้ ไป แต่แปลงที่ มตี ้นกลา้ ออ่ นจึงสบู น้�าเขา้ ไปเพ่ือกอกล้าเติบโตได้ด้วยนา�้ นน้ั คนที่ ส้ินอายกุ ย็ กเวน้ การใชย้ าและพระปรติ ร แต่ยาและพระปริตรนน้ั ส�าหรบั คนกล่มุ ทกี่ ล่าวมา พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั ว่า ถา้ อยา่ งไรคนทีห่ มดอายจุ ะตอ้ งตาย คนมีอายุเหลอื มากจงึ จะไมต่ าย พระปรติ รและยากเ็ ป็นของท่ีไร้ ประโยชน์ พระนาคเสนถามว่า เคยเห็นคนใชย้ าจนหายจากโรคไหม พระเจา้ มลิ นิ ทบ์ อกเคยเห็นมาหลายร้อยคน พระนาคเสนจึงกล่าว ๒๔ มหาราชปริตร

ปัญหาคลาสสิคเรือ่ งพระปรติ ร ว่า ถ้าอย่างนั้น ท่ีพระองค์ตรัสว่า พระปริตรและยาเป็นของไร้ ประโยชน์ ก็เป็นค�าท่ไี ม่ถกู ต้อง ในการสนทนาธรรมถามตอบครงั้ นั้น พระนาคเสนกลา่ วถึง อานภุ าพพระปรติ รวา่ “ขอถวำยพระพร งูต้องกำรจะกัด ก็ไมอ่ ำจ จะกัดบรุ ษุ ผเู้ จริญพระปรติ รได,้ ย่อมอ้ำปำกไม่ขน้ึ , พวกโจรก็ไม่อำจ เง้อื ไม้ค้อนขน้ึ (ทำ� ร้ำย) ได,้ พวกโจรเหล่ำนนั้ จะพำกนั ทง้ิ ไมค้ ้อน เสยี แล้วทำ� ควำมรักใหเ้ กิดข้ึนแทน, แม้ชำ้ งดุ พอมำถงึ ตัวเข้ำเท่ำนัน้ ก็เช่อื งไป, แม้กองไฟใหญก่ ำ� ลังลกุ โพลงอยู่ ลำมมำถงึ ตัวเท่ำน้นั ก็พลันดบั ไป, แม้ยำพิษแรงกลำ้ ที่กลนื กนิ เขำ้ ไป ก็หำยไปเหมือนเจอ ยำแก้พิษ หรือกลับเป็นอำหำรแผ่ซำ่ นไป, นักฆ่ำคนผูต้ อ้ งกำรจะ ก�ำจดั พอถึงตวั เข้ำเท่ำนน้ั ก็ยอมตนเปน็ ทำสไป, แม้เดนิ เหยียบบว่ ง มนั ก็หำคลอ้ งเอำไม”่ มหาราชปรติ ร ๒๕

ความเป็นมา : บทสวด : ค�าแปล ล�าดบั ต่อมา พระนาคเสนตอบค�าถามว่า “พระปรติ ร สามารถคุ้มครองไดท้ กุ คนหรือไม่” ด้วยการเปรยี บเทยี บกบั อาหาร วา่ ถ้าผู้ใดทานมากไป หรือระบบธาตุไฟยอ่ ยอาหารไม่ดี อาหารก็ จะเปน็ โทษ ในขณะทีอ่ าหารน้ันเป็นประโยชนแ์ ก่คนท่ัวไป เปรียบ เหมือนพระปริตรทไ่ี มส่ ามารถคุ้มครองไดท้ ุกคน แม้จะเปน็ ผูม้ วี ัย สมควรก็ตาม ดว้ ยเหตุสามประการ ๑. กัมมาวรณ์ เครื่องก้ันคือกรรม การท�าไม่ดเี ป็นผล ใหพ้ ระปริตรไม่อาจคุ้มครองรักษา ทีน่ หี้ มายถงึ บาปใหญ่ ๕ อย่าง คือ ฆ่าพ่อ ฆา่ แม่ ฆา่ พระอรหนั ต์ ท�าร้ายพระพุทธเจา้ ใหถ้ ึงห้อ พระโลหิต ทา� สงฆ์ใหแ้ ตกแยกกัน ซ่งึ เปน็ กรรมทปี่ ดิ ทางไปสวรรค์ และกั้นการบรรลุพระนิพพานในชาติน้ี เปน็ กรรมท่ีร้ายแรงท่สี ุดใน ฝา่ ยไม่ดี อนึง่ กรรม หมายถงึ ตอนท่ีทา� ส่วนตอนรบั ผล เรยี กว่า วบิ าก ๒๖ มหาราชปรติ ร

ปญั หาคลาสสคิ เร่ืองพระปรติ ร ๒. กเิ ลสาวรณ์ เคร่ืองกัน้ คือกิเลส กิเลสจา� แนกได้ หลายชนิดหลายระดับ อาจจะนบั เป็นสามประเภทหลกั กไ็ ด้ คอื โลภ โกรธ หลง กเิ ลสชนิดทกี่ นั้ อานุภาพพระปริตรคือความหลงท่ี เหน็ วา่ ทุกอยา่ งขาดสูญ คือ ตายแล้วขาดสญู ภพใหมช่ าติใหม่มิได้ มี กิเลสนอกน้ันไม่เปน็ เครอ่ื งกน้ั ทัง้ น้ี ความเห็นดงั กลา่ วต้องเป็น ความเห็นในระดับเหนียวแน่นหนักหนา หากเป็นเพียงค�าพดู เชน่ ว่า เกดิ มาชาตินช้ี าติเดียว ตายหนเดยี ว จะขอสูต้ าย หรือ ชาติหนา้ ไมม่ ี ฉนั ขอทา� ความดีชาตนิ ชี้ าติเดียว อย่างนถ้ี ือวา่ เป็นโวหาร ความเห็น ผิดต้องเป็นแบบที่เห็นผดิ เป็นประการเดียวแนน่ อน ๓. อสัททหนตา ความไมเ่ ชือ่ ถือ ไม่ปลงใจเชอ่ื ไม่น้อม ใจเชอ่ื ไมต่ ัดสินใจเชือ่ คลางแคลงใจ เพราะไม่มศี รทั ธามนั่ ใน พระปริตรว่ามผี ลดีจริง มขี ้ออปุ มาอุปมัยที่พระนาคเสนยกมา อรรถาธิบายคอื เรือ่ งของแมว่ ่า แมม่ ีความรักตอ่ ลกู มาก นับจากอยู่ ในท้องถงึ คลอดเป็นคนจนเตบิ โต ต่อมาลกู ตนไปด่าว่าท�าร้ายลูก คนอืน่ เขา จนถูกจับเอาไปใหเ้ จ้าหน้าท่ีเฆย่ี นตีลงโทษ ผู้เป็นแม่ ไม่ได้ถูกนา� ตัวไปเฆีย่ นตีด้วยเพราะไม่ได้ท�าผิด เปรยี บเหมือนพระ ปริตรที่คมุ้ ครองรกั ษาทกุ คนไป แตก่ ็ไมอ่ าจค้มุ ครองคนดังกล่าวได้ ก็ไม่ใช่ความผิดของพระปรติ ร หากแตเ่ ป็นความผิดของบุคคลเอง มหาราชปรติ ร ๒๗

ความเปน็ มา : บทสวด : ค�าแปล จงเป็นสุข เปน็ สขุ เถิด เมตตาอยา่ งไร จากทไ่ี ด้กลา่ ววา่ การสวดจะใหไ้ ด้ผลควรสวดดว้ ยใจเมตตา จงึ ควรทราบวา่ เมตตา เป็นอยา่ งไร เมตตา คอื ควำมรกั ควำมเอ็นดู เป็นควำมรกั ท่ีมอี ยู่ใน มติ ร เรียกว่า ไมตรจี ติ กไ็ ด้ เมตตาเป็นอย่างเดยี วกนั กบั อโทสะ อย่างเดยี วกนั กบั ขนั ตธิ รรม หากมเี มตตาในใจจะไมม่ ีความอาฆาต มาดรา้ ย เพราะเมตตาจะขจัดความเรา่ ร้อนจากใจเรา จิตใจทม่ี ี เมตตา จะแสดงผลปรากฏออกมาเป็นความผ่องใสเหมอื นพระ จันทร์เตม็ ดวง วิธีฝึกเมตตาอย่างง่าย คอื อยา่ ถือสาใคร ๆ มองคนอน่ื ใน แง่มุมทีน่ ่ารกั ให้ละเอยี ดเห็นเย่ือใย จะช่วยให้จติ ใจมีเมตตาได้ ง่าย เมอื่ ฝึกสวดสาธยายพรอ้ มกับฝึกใจ ประโยชน์ทไ่ี ดย้ อ่ มกวา้ ง ขวางตามระดับจติ ใจ ๒๘ มหาราชปรติ ร

พระปริตรกบั สัจวาจา พระปริตรกับสจั วาจา ในพระปริตรจะมบี ททเ่ี กย่ี วกบั สัจวาจาอยูห่ ลายบทสจั จะ นัน้ เป็นปัจจัยทส่ี �าคญั อยา่ งหน่งึ ในการให้เกดิ ผลดี เป็นการกระท�า สัจกิริยา อา้ งอิงซ่งึ สจั จะ หรอื ทเ่ี ราเคยไดย้ นิ ว่า อธิษฐำน นั่นเอง ค�าว่า สัจจะ คือ ควำมจริง ส่วน อธิษฐาน คือ กำรยืน หยัด เพื่อท�าความดีตามที่ตนตัง้ ใจไว้ ไม่ใช่แต่เพียงการต้ังไว้ เท่าน้ัน แต่เปน็ การตัง้ แล้วพยายามไม่ละทิ้งการกระท�าความดี ดังเช่นการที่พระสงฆ์ท่านอธิษฐานเข้าพรรษาขออยู่จ�าที่ อาวาสเดียวตลอดสามเดอื น เป็นการอธิษฐานเพ่อื กระท�า ไม่ได้ อธิษฐานขอหรือเพอื่ ที่จะไดส้ ่งิ ใด ฉะนั้น ในเวลากอ่ นท�าบุญและหลังทา� บญุ ควรอธษิ ฐานทกุ ครง้ั เพือ่ ทา� บญุ อีกและเพือ่ บอกตัวเองวา่ ไม่ลืมส่ิงทีไ่ ด้ตั้งใจจะทา� มหาราชปรติ ร ๒๙

ความเปน็ มา : บทสวด : คา� แปล สาธุ เปรยี บเรอ่ื งราวของชายคนหนง่ึ ท�างานในบรษิ ัทแห่งหนึ่ง มาสบิ ปไี ม่เคยท�าทุจรติ เลย วนั หนง่ึ เขาประนมมือกล่าวว่า “ผมทำ� งำนท่นี มี่ ำสิบปี ไม่เคยคดโกงบริษทั ไมเ่ คยคดโกงใครเลย ดนิ สอสกั แทง่ ยำงลบสกั อนั กไ็ ม่เคยเอำ” อยา่ งน้เี รียกว่า สัจวาจา หากเขาพูดวา่ “แล้วผมกจ็ ะขอทำ� อยำ่ งนี้ตอ่ ไป” ก็เป็น การ อธิษฐาน หากเขาพดู วา่ “ขอควำมจรงิ ทผี่ มพดู ไปจงช่วยให้ลกู ผมหำย ปว่ ยดว้ ยเถดิ สำธุ” อย่างน้ีเรยี กวา่ เป็นการทา� สจั กริ ยิ า คืออา้ งเอา ความจรงิ ของตน ซึ่งไม่ได้อ้างเพอื่ สาปแช่งตนหรอื คนอ่นื แตอ่ ย่าง ใด แตอ่ า้ งดว้ ยใจปรารถนาดตี ่อตนและคนอน่ื ในกรณีของชายคนนีน้ ้นั ความสา� คัญขั้นแรกอยูท่ ว่ี า่ สิ่งที่ เขำกลำ่ วอำ้ งต้องเป็นควำมจรงิ ก่อน ส่วนกรณีของเราท่ีสวดพระปริตรซึ่งเป็นความจริงอยู่แล้ว นัน้ ความส�าคญั จงึ อยู่ท่ีวา่ ไดเ้ ลื่อมใสจริงดังทสี่ วดหรือไม่ ๓๐ มหาราชปรติ ร

อานภุ าพของสัจจะ อานุภาพของสัจจะ อานุภาพของสัจจะนั้นมีมากอย่างมหาศาล ดังในคัมภรี ์ มิลินทปัญหากลา่ วถึงพระเจ้าอโศกตอนเสดจ็ ไปแม่นา้� คงคา ทรง ปรารภว่ามีผู้ใดสามารถท�าให้แม่น�้าคงคาไหลทวนกลับได้ไหม ความทราบไปถงึ หญงิ คณิกาคนหนึ่งซึ่งอยู่ไมไ่ กล นางไดท้ า� ให้แมน่ ้�า คงคาอนั กวา้ งใหญ่ไหลคืน ตอ่ พระเนตรของพระเจ้าอโศก เหตุการณ์อัศจรรย์ดังกล่าวท�าให้พระเจ้าอโศกเกิดความ ไหวหวั่นในพระทยั รดุ ไปหาหญิงนางนน้ั ทนั ที แลว้ ตรสั ถามวา่ ท�า ได้อย่างไร ใชก้ �าลังอะไร เมื่อหญงิ กราบทลู ว่าใชก้ �าลังสัจจะ พระเจา้ อโศกตรสั วา่ “สัจจะของคนอยำ่ งเจำ้ มีอย่หู รือ เป็นสจั จะเช่นไร ลองวำ่ สัจกริ ยิ ำของเจ้ำให้เรำฟงั ที” มหาราชปรติ ร ๓๑

ความเป็นมา : บทสวด : คา� แปล ค�าตอบของนางมีว่า “ข้ำแต่พระองค์ผู้เจริญ ผู้ใดจะเป็น กษัตรยิ ์ก็ตำม เป็นพรำหมณก์ ต็ ำม เป็นแพศยก์ ต็ ำม เป็นศูทร ก็ตำม เป็นผใู้ ดผหู้ น่งึ กต็ ำม ให้ทรพั ยแ์ กข่ ำ้ พระองค์, ขำ้ พระองค์ ก็ย่อมบ�ำรุงบ�ำเรอบคุ คลเหล่ำนัน้ เท่ำเทียมกนั ทีเดยี ว ไมม่ บี ุคคล พิเศษท่ีว่ำ “เป็นกษัตริย์”, ไมม่ บี ุคคลทค่ี วรดูหมิ่นทวี่ ่ำ “เป็นศูทร”, ข้ำพระองค์มีจิตที่ไม่ประกอบด้วยควำมยินดียินร้ำยบ�ำรุงบ�ำเรอ คนมีทรัพยเ์ ท่ำเทียมกนั , ข้ำแต่ท่ำนผู้ทรงเป็นสมมตเิ ทพ ข้อทว่ี ่ำ น้ีเป็นสัจกริ ยิ ำของขำ้ พระองค์, ซึ่งขำ้ พระองคใ์ ชท้ �ำมหำคงคำน้ีให้ ไหลทวนกลับ พระเจำ้ ข้ำ” อันอา� นาจของสจั จะจริงนน้ั แมเ้ ปน็ สัจจะของหญงิ คณกิ าก็ ยังมีอานภุ าพได้เพียงนี้ ขณะทส่ี ัจจะท่เี รากลา่ วไปนน้ั ก็ไมใ่ ชส่ จั จะ ของบุคคลท่ัวไป หากแตเ่ ปน็ สจั จะของพระพุทธเจา้ พระธรรม และ พระสงฆ์ ๓๒ มหาราชปรติ ร

มหาราชปรติ ร

ความเปน็ มา : บทสวด : ค�าแปล พระปรติ ร ปริตต์ หรอื ปริตร แปลวา่ คุ้มครอง ปอ้ งกนั รกั ษำ พระ ปรติ รคือเครื่องคมุ้ กัน หมายถงึ บทสวดทใ่ี ห้ผลปอ้ งกันภยั และให้ผล ดีด้านตา่ ง ๆ พระปริตรในประเทศไทย จัดเปน็ สองแบบ คอื แบบมี ๗ บท เรยี กวา่ จลุ ราชปรติ ร กับ แบบ ๑๒ บท เรียกวา่ มหาราชปรติ ร เปน็ อย่างเดียวกนั กบั ทเ่ี รยี กวา่ สวดมนต์ ๗ ต�ำนำน ๑๒ ต�ำนำน น่ันเอง คา� วา่ ต�านาน ในท่ีนี้ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งเลา่ เก่าแก่ แต่มาจากคา� บาลี ว่า ตาณา แปลว่า คมุ้ ครอง ปอ้ งกนั รักษำ เหมอื นคา� ว่า ปรติ ร โบราณาจารยท์ า่ นจัดไว้ ดงั น้ี จุลราชปริตร (๗ ตา� นาน) ๑. มงั คลปรติ ร ๒. รัตนปริตร ๓. เมตตปริตร ๔. ขนั ธปริตร ๕. โมรปริตร ๖. ธชัคคปริตร ๗. อาฏานาฏยิ ปรติ ร ๓๔ มหาราชปริตร

พระปริตร มหาราชปริตร (๑๒ ต�านาน) ๑. มังคลปรติ ร ๒. รตั นปรติ ร ๓. เมตตปริตร ๔. ขันธปรติ ร ๕. โมรปริตร ๖. วัฏฏกปรติ ร ๗. ธชคั คปรติ ร ๘. อาฏานาฏิยปรติ ร ๙. อังคลุ ิมาลปรติ ร ๑๐. โพชฌงั คปรติ ร ๑๑. อภยปรติ ร ๑๒. ชยปรติ ร พระปริตร ๑๒ บท มปี รากฏอยู่ในพระไตรปฏิ ก ๑๑ บท บทชยปริตรมีค�าท่ีพระพุทธเจ้าตรัสไว้และมีค�าที่โบราณาจารย์ท่าน แตง่ ประกอบดว้ ย ส่วนบทอภยปรติ ร เปน็ บททแ่ี ตง่ ในยุคต่อมา กล่าวได้อกี อย่างหนึ่งวา่ พระปรติ ร ก็คือ พระสูตร ทีพ่ ระ พุทธเจา้ เทศนา โดยในการเทศน์ครั้งนัน้ มผี ลดีเกดิ ข้ึนจงึ ไดน้ า� บทดัง กลา่ วมาสวดสาธยายเพ่อื ใหเ้ กดิ ผลดีเช่นครงั้ นัน้ ฉะนนั้ เรอื่ งพระปริตรจึงมีแง่มุมที่ควรพิจารณาอยู่วา่ เรา ผู้สวดจะปรารถนาผลดีจากพระปริตรในชีวิตประจ�าวันเป็นข้ัน โลกิยะก็ได้หรือจะปรารถนาผลจากการปฏิบัติตามค�าสอนเป็นขั้น โลกตุ ระก็ได้ มหาราชปริตร ๓๕

ความเป็นมา : บทสวด : คา� แปล การสกั การบูชาพระรตั นตรัย ในการสวดมนต์ หากมเี คร่อื งสักการบชู า เชน่ ธปู เทียน ดอกไม้หรอื พวงมาลัยมาบชู าพระ กจ็ ะเป็นส่ิงเสรมิ สริ มิ งคล เพราะ ได้สวดมนต์และท�ามงคลด้วยการบชู า มอี านิสงส์คอื ท�าให้จิต ผ่องใส ต้งั ม่นั ในกศุ ลธรรมได้นาน มีกิริยาอาการน่าช่ืนชม มี คนนิยมเพราะมคี วามอ่อนน้อม สติปัญญากพ็ ร้อมเพอ่ื ทา� ความ ดตี อ่ เนื่อง เป็นผู้ปราดเปร่ืองเพราะมคี วามคดิ ทีเ่ ป็นระเบียบ การบูชา ก็มีสองแบบ คือแบบ บูชำด้วยเคร่ืองบชู ำ ดงั กล่าวมา กบั กำรบูชำด้วยกำรท�ำดีเป็นปฏิบัติบูชำ ในครั้งพุทธกาล พระอรหันต์รปู หน่ึงบชู าด้วยเครื่องบูชา และปฏิบัติธรรมบูชา ก่อนปรนิ พิ พานทา่ นกล่าวค�าพูดสดุ ท้ายวา่ “บคุ คลใดมีจิตเล่อื มใส ได้สกั กำรบูชำสิ่งท่ีควรบูชำ มีองค์ สมเด็จพระอรหันตสัมมำสัมพุทธเจ้ำเป็นต้น พร้อมทั้งปฏิบัติ ธรรมตำมค�ำสั่งสอนขององคส์ มเด็จพระทศพล ย่อมมีอำนิสงส์นับ ประมำณมิได้ ส่งผลใหพ้ ้นจำกทุกข์ท้งั ปวง” การปฏิบัติบูชาน้ัน สามารถท�าได้เป็นล�าดับขั้น เร่ิมตง้ั แต่ การเขา้ ถึงรตั นะ การรบั ศลี สิกขาบท การสมาทานองค์อุโบสถศีล และด้วยคุณท้งั หลายของตน ดงั ท่พี ระพทุ ธเจ้าได้ตรสั บอกเราทุก คน โดยตรสั กับพระอานนทเถระว่า “อำนนท์ ภิกษุก็ดี ภิกษุณีก็ดี อุบำสกก็ดี อุบำสิกำก็ดี คน ใดแล ปฏิบัตธิ รรมสมควรแก่ธรรม ปฏิบตั ิสมควร มปี กติประพฤติ ตำมอยู่ ผ้นู ้นั ยอ่ มชอื่ วำ่ สักกำระ เคำรพ นบั ถือ บูชำตถำคต อยำ่ งย่งิ ” ๓๖ มหาราชปรติ ร

คา� สักการบูชาพระรตั นตรยั คา� สักการบูชาพระรัตนตรัย อมิ ินา สกั กาเรนะ พทุ ธงั อะภปิ ูชะยามิ. ข้าพเจา้ ขอน้อมบูชาพระพทุ ธเจ้า ดว้ ยเครอ่ื งสกั การะนี้ อิมนิ า สักกาเรนะ ธัมมงั อะภิปชู ะยามิ. ข้าพเจา้ ขอนอ้ มบชู าพระธรรม ด้วยเครื่องสักการะนี้ อมิ นิ า สักกาเรนะ สังฆัง อะภิปูชะยาม.ิ ขา้ พเจา้ ขอน้อมบชู าพระสงฆ์ ด้วยเคร่อื งสกั การะนี้ ถา้ สวดหลายคน เปล่ียนบาลีเปน็ อะภปิ ชู ะยามะ และคา� แปลเป็น ขา้ พเจา้ ทัง้ หลาย มหาราชปริตร ๓๗

ความเป็นมา : บทสวด : คา� แปล การกราบไหวพ้ ระรตั นตรัย ก่อนสวดพระปริตร ไม่ว่าจะสวดคนเดียวหรอื สวดกันใน ครอบครัวก็ตาม ควรตั้งจิตนอบน้อมบูชาพระรตั นตรัย เพราะ เป็นเหมือนก้าวแรกที่จะออกจากหมอกมัวไปพบพระสัมมา- สัมพทุ ธเจ้า ส่ิงใดที่หมองเศร้าก็ควรปล่อยปลง แล้วระลึกถงึ คุณ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ทีท่ รงแสงสวา่ งในสายทางอนั งดงาม ผู้ทีก่ า้ วเดินตามก็ย่อมงดงามท้ังกายและใจ ๓๘ มหาราชปรติ ร

คา� กราบไหวพ้ ระรัตนตรัย ค�ากราบไหวพ้ ระรตั นตรัย อะระหงั สมั มาสัมพทุ โธ ภะคะวา, พระผ้มู พี ระภาคเจ้า เปน็ ผ้ไู กลจากกิเลส ผคู้ วรแกป่ จั จยั สี่ และการบูชา ผตู้ รัสรู้ธรรมทง้ั ปวงโดยชอบดว้ ยพระองคเ์ อง พุทธัง ภะคะวนั ตัง อะภวิ าเทมิ. ขา้ พเจ้าขออภิวาทพระผมู้ ีพระภาคเจ้า ผรู้ ู้ ผู้ตน่ื ผู้เบกิ บาน (กรำบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม, พระธรรมอันพระผมู้ ีพระภาคเจา้ ตรสั ไว้ดีแล้ว ธมั มัง นะมัสสามิ. ข้าพเจา้ ขอนมสั การพระธรรม (กรำบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคเจ้า เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิดี สังฆัง นะมามิ. ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์ (กรำบ) มหาราชปริตร ๓๙

ความเปน็ มา : บทสวด : ค�าแปล มหานมสั การ บทนะโม ทเ่ี ราคุ้นเคยมานานนน้ั มชี อ่ื ว่า มหานมัสการ แปลว่า ค�ำนอบน้อมทย่ี ่ิงใหญ่ ค�ำนอบน้อมทส่ี �ำคัญ เหตุท่ีต้อง สวดนะโมก็เพอ่ื แสดงความนอบน้อมทางกาย วาจา ใจ ต่อพระคุณ อันย่งิ ใหญ่ของพระพุทธเจ้าสามประการ พระพุทธเจ้าทรงมี พระมหากรณุ าธคิ ณุ เป็นคณุ ประการ แรกนับตั้งแต่เร่ิมต้ังความปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้าและเร่ิม บา� เพญ็ บารมีมาเป็นเวลาแสนนาน จนบรรลุโพธิญาณด้วยอรหตั มรรคอันเป็น พระบริสทุ ธคิ ณุ และทรงมีพระสพั พญั ญตุ ญาณเป็น พระปัญญาธิคุณ นอกจากนั้น การกล่าวบทนะโม ยงั เป็นการแสดงความ นอบน้อมต่อพระธรรมและพระสงฆ์อีกดว้ ย เพราะพระธรรมคอื ส่ิงที่พระพุทธเจ้ารู้แจ้งและแจกแจงเทศนาแด่พระสงฆ์สาวกจน ได้บรรลธุ รรมตามพระองค์ จึงรวมอยู่ในค�านอบน้อมน้ี เป็นนัยวธิ ี ทางภาษาบาลีทเ่ี รียกว่า วธิ ีไมพ่ รากจากกนั ๔๐ มหาราชปรติ ร

มหานมสั การ บทนะโมน้ี มกี ารกลา่ วมาแตน่ านแลว้ ในสมยั พทุ ธกาล มี พราหมณาจารยผ์ ู้เฒา่ ชอ่ื พรหมายุ มอี ายุ ๑๒๐ ปี เปน็ พราหมณ์ ผศู้ ึกษาคมั ภีร์เจนจบ เป็นผ้ไู ดร้ บั การเคารพท่สี ดุ ในเมืองมิถิลา ชาว เมอื งนับถือกันว่าทา่ นเป็นผหู้ ลักผใู้ หญ่ ท่านพราหมณน์ ั้นไมเ่ คยเหน็ พระพทุ ธเจา้ เคยไดย้ นิ แตค่ า� บอกเลา่ ถงึ กติ ตศิ พั ทอ์ นั ดงี ามหลายดา้ น เชน่ เป็นพระอรหนั ต์ตรสั รู้ได้เองจงึ ใคร่อยากทราบความจรงิ ในคา� สรรเสรญิ พระพทุ ธคุณที่ร�่าลอื ไปทว่ั ทศิ จึงส่งศษิ ย์ไปพิสจู นท์ ราบ โดยใช้ทฤษฎใี นคัมภีร์พราหมณ์เปน็ หลัก คือพจิ ารณาจากลกั ษณะ มหาบรุ ุษ ๓๒ ประการ หากมีครบถ้วนก็ม่ันใจได้ในค�าที่รา�่ ลอื กนั เพราะเป็นลักษณะอันบ่งบอกได้ว่าผู้นั้นจักเป็นพระมหาจักร- พรรดิ หรือหากเป็นบรรพชิต ก็จะเปน็ ผู้ตัดกเิ ลสได้หมดสน้ิ ลูกศิษย์ชื่ออุตตระรับค�าอาจารย์แล้วออกเดินทางไกลไป เข้าเฝา้ พระพุทธเจา้ ถึงท่ปี ระทับ ได้เห็นพระลักษณะครบถ้วนตามท่ี อาจารยบ์ อกไวก้ ม็ ีความสนใจศึกษากิรยิ าอาการเพิม่ เตมิ จึงติดตาม พระพทุ ธเจ้าไปในทุก ๆ ที่ เป็นเวลาเจ็ดเดอื น และใช้เวลาอกี เจ็ด เดอื นเดินทางกลับมาหาอาจารย์ มหาราชปรติ ร ๔๑

ความเป็นมา : บทสวด : ค�าแปล อุ ต ตร ะ ร า ย ง า น ค ว า ม ค ร บ ถ้ ว น ข อ ง ลั ก ษ ณ ะ ม ห า บุ รุ ษ และกิริยาอาการที่สังเกตมาโดยละเอียดลออ ไมว่ ่าจะเป็นกริ ยิ า ยามเดิน ยามบิณฑบาต ยามพิจารณาภตั ตาหาร ยามลา้ งบาตร ยามอนโุ มทนา และรายละเอยี ดอีกมากมายพรอ้ มกบั สรปุ ลงทา้ ยวา่ ทรงพระคุณจรงิ และทรงพระคณุ ย่งิ กว่าทก่ี ลา่ วกัน เมอ่ื ไดท้ ราบดงั นั้นท่านพรหมายกุ ็ลกุ ขึน้ พาดเฉวียงผ้าพลาง หันหนา้ ไปยงั ทางทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ประทบั เปล่งวาจาออกมาว่า นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต... ๔๒ มหาราชปริตร

มหานมัสการ “นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธสั สะ, นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธัสสะ, นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธสั สะ,” การกล่าว นะโม ของท่านพราหมณ์ เป็นการแสดงความ นอบน้อมต่อพระพุทธเจ้าผ้ทู รงพุทธลักษณะตามคัมภีร์ ทรงคุณ ความดีดังที่คนเขาเล่าขาน เป็นค�าอุทานท่ีเปล่งไปด้วย ใจปลำบ ปลื้ม และเป็นธรรมเนยี มนิยมในชมพูทวีปท่มี กั กล่าวกนั สำมคร้งั เพอื่ ยนื ยนั ว่าค�าท่ีกล่าวไป ตรงกบั ใจจริง ในการสวด จบแรกน้ัน ให้ก�าหนดน้อมใน ภะคะวะโต ใน ฐานะทม่ี ี พระกรุณำ แจกแจงธรรม จบท่สี อง อะระหะโต ในฐานะ ท่เี ป็น ผ้บู ริสทุ ธิ์ ไม่มกี เิ ลส จบทสี่ ำม สัมมาสัมพทุ ธัสสะ ในฐานะที่ ทรงรู้ธรรมด้วย ปญั ญำอันยง่ิ รวมสามจบยนื ยนั ว่าไดก้ ล่าวออกมา จากใจ มหาราชปรติ ร ๔๓

ความเปน็ มา : บทสวด : ค�าแปล ประโยชนข์ องการกลา่ วนะโม ๑. เพื่อปรารถนาจะให้นักปราชญ์ทั้งหลายทราบว่าการ ประพฤติอยา่ งนใ้ี กลต้ อ่ วงศแ์ หง่ พระอริยะผปู้ ระเสริฐ เพรำะอริยสัตบุรุษเม่อื จะแสดงธรรม ฟงั ธรรม และทำ� กำรมงคลใดๆยอ่ มกลำ่ วนมสั กำรพระรตั นตรยั กอ่ นจนเปน็ ประเพณี สบื มำถึงบดั น้ี ๒. เพอื่ จะป้องกนั สรรพอันตราย เพรำะเมื่อบุคคลระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยม่ันคงแล้ว ยอ่ มไม่มีควำมสะดงุ้ ตกใจขนพองสยองเกล้ำ และถำ้ ตำยไปในขณะ นนั้ ก็จะปอ้ งกนั มิให้ไปเกิดในจตรุ ำบำย ๓. เพอ่ื จะชา� ระสนั ดานใหห้ มดจด เพรำะเมื่อบุคคลระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยให้เกิดควำม ปีตปิ รำโมทยใ์ นกำลใด จิตสนั ดำนยอ่ มปรำศจำกรำคะ โทสะ โมหะ ในกำลนัน้ ๔. เพ่ือจะให้ชีวิตอินทรีย์เป็นแกน่ สาร เพรำะผู้มีปัญญำพิจำรณำเห็นคุณพระรัตนตรัยแล้วชื่อ ว่ำ ทำ� ชีวิตใหเ้ ปน็ แกน่ สำร จากคมั ภีร์สุมังคลวลิ าสินีฎกี า, ขุททกปาฐะ, ปรมตั ถโชตกิ า, และ นทิ านสังยุตต์ ๔๔ มหาราชปริตร

บทมหานมสั การ บทมหานมสั การ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพทุ ธัสสะ. ขอนอบน้อมแด่พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ผู้ไกลจากกิเลส ผูค้ วร แก่ปัจจัยส่แี ละการบูชา ผ้ตู รัสรธู้ รรมท้ังปวงโดยชอบดว้ ยพระองค์ เอง พระองคน์ ้นั นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพทุ ธัสสะ. ขอนอบน้อมแดพ่ ระผมู้ ีพระภาคเจา้ ผู้ไกลจากกเิ ลส ผู้ควร แกป่ ัจจัยสี่และการบูชา ผู้ตรัสรธู้ รรมทั้งปวงโดยชอบด้วยพระองค์ เอง พระองค์น้นั นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธสั สะ. ขอนอบน้อมแดพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจ้า ผไู้ กลจากกเิ ลส ผู้ควร แก่ปจั จยั สแ่ี ละการบชู า ผู้ตรัสรู้ธรรมทัง้ ปวงโดยชอบด้วยพระองค์ เอง พระองคน์ ั้น มหาราชปริตร ๔๕

ความเป็นมา : บทสวด : ค�าแปล ไตรสรณคมน์ สา� หรบั ผนู้ ับถอื พระพุทธศาสนา สรณะ มีสามประการเรียก ว่า ไตรสรณะ คอื พระพทุ ธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ก็คือ พระรัตนตรัย นั่นเอง สรณะ แปลไดส้ องแบบ คอื แปลว่า ท่ียึดเหน่ียวใจ กบั แปล วา่ ก�ำจดั ภัย สรณะ คือ ส่ิงท่ีเปลื้องควำมหวำดกลัว ท�ำลำยทุกข์ ทำ� ลำย ทุคติ และสงิ่ หม่นหมอง การเขา้ ถงึ ไตรสรณคมน์ มีสองแบบ คอื แบบ ส�ำหรบั พระ อริยเจ้ำ กับส�ำหรับเรำปุถุชน ๔๖ มหาราชปรติ ร

ไตรสรณคมน์ พระอริยเจ้าได้ท่ีพ่ึงในศาสนานี้แน่นอนแล้ว ท่านเข้าถึง สรณคมนไ์ ดด้ ้วยกำรบรรลุธรรม ส�าหรับปุถุชนสามารถกล่าวค�า เข้าถงึ ว่า พทุ ธัง สะระณัง คัจฉำมิ เป็นต้น เดิมทีเดียวไม่มีค�ากล่าวเพ่ือการน้ีโดยตรงแต่อย่างใด สาธุชนผ้เู ลอ่ื มใสแต่ละคนกก็ ลา่ วตา่ งกนั มาเรม่ิ มีเมอื่ พระพทุ ธเจ้า อนุญาตให้ใช้วิธีกล่าวไตรสรณคมน์ในการบวชพระและบวชเณร น่นั จงึ เปน็ แบบอย่างอนั ดงี าม ใหอ้ บุ าสกอุบาสกิ าน�าบทดงั กล่าวมา ปฏญิ าณ อันเป็นเหมือนกับการเปิดประตู ก่อนจะกา้ วเดนิ สมู่ รรคา พระพทุ ธศาสนาตอ่ ไป เพรำะจิตที่เล่ือมใสมีพระรัตนตรัยเป็นเป้ำ หมำยชอื่ วำ่ สรณคมน์ พระพุทธเจ้า เป็นสรณะทเี่ ราควรถงึ เพราะพระพทุ ธเจา้ ก�าจัดภัยใ ห้ สั ต ว์ ทั้ ง ห ล า ย ด้ ว ย ก า ร น� า ไ ป สู่ ส่ิ ง ท่ี เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ช่วยให้พ้นจากส่ิงไม่เปน็ ประโยชน์ พระธรรม เป็นสรณะทเ่ี ราควรถึง เพราะพระธรรมชักจูง สรรพสตั วใ์ ห้หลุดพน้ ขึน้ มาจากความกันดารในสังสารภพ และดว้ ย การให้ความอบอนุ่ ใจคลายทุกข์ พระสงฆ์ เป็นสรณะท่ีเราควรถึง เพราะพระสงฆ์ท�าให้ สักการะทเ่ี ราทา� เชน่ การถวายทาน การกราบไหว้ ที่แมเ้ พียงเลก็ น้อย แตใ่ ห้ไดผ้ ลไพบลู ย์ อานิสงส์ไตรสรณคมน์ ขจัดภัย ให้ควำมคุ้มครอง ก�ำจัด กิเลสหม่นหมองใจ บันดำลให้เกดิ ประโยชน์ มหาราชปรติ ร ๔๗

ความเปน็ มา : บทสวด : คา� แปล อานิสงส์สรณคมน์ที่เป็นโลกิยะ ให้ควำมอำรักขำคุ้ม ครอง ไม่ตอ้ งหวำดกลัวต่อภัยอันตรำย อ�ำนวยผลเปน็ โภคสมั ปทำ คอื ถึงพร้อมดว้ ยโภคทรพั ย์ อ�ำนวยผลเป็นภวสัมปทำ ดว้ ยกำรชัก พำใหเ้ กดิ ในสคุ ติภพ อานิสงส์สรณคมน์ท่ีเป็นโลกุตระ ยอ่ มอ�ำนวยผลเป็น วิมุตตำยตนะ ใหบ้ รรลสุ ำมญั ผล คอื อริยผล ๔ ประกำร ท่สี ดุ คือ บรรลุพระอรหตั ผล ดบั กเิ ลสและสนิ้ ทุกขท์ ้ังปวง พระพุทธเจ้าได้ตรัสกับเจ้าศากยะมหานามว่า “ดูก่อน ท่ำนมหำนำม เพรำะเหตทุ อ่ี บุ ำสก (อบุ ำสิกำ) เป็นผถู้ งึ แล้วซ่งึ พระพุทธเจ้ำเป็นสรณะ เปน็ ผูถ้ ึงแล้วซง่ึ พระธรรมเป็นสรณะ เป็นผู้ ถึงแล้วซง่ึ พระสงฆเ์ ป็นสรณะ ดกู อ่ นท่ำนมหำนำม คฤหสั ถน์ ั้นชื่อ วำ่ เป็น อุบำสก (อุบำสิกำ) ด้วยประกำรอยำ่ งน้ีแล” ๔๘ มหาราชปรติ ร

บทไตรสรณคมน์ บทไตรสรณคมน์ พุทธงั สะระณงั คจั ฉาม.ิ ข้าพเจา้ ขอถึงพระพุทธเจ้าเป็นที่พ่งึ ที่ระลึก ธมั มงั สะระณงั คัจฉาม.ิ ขา้ พเจา้ ขอถงึ พระธรรมเป็นทพ่ี ึง่ ทร่ี ะลึก สังฆัง สะระณงั คจั ฉาม.ิ ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์เปน็ ท่ีพ่ึงทรี่ ะลกึ ทตุ ยิ ัมปิ พุทธัง สะระณัง คจั ฉามิ. แมค้ รง้ั ท่สี อง ขา้ พเจ้าขอถงึ พระพุทธเจ้าเปน็ ที่พึ่งท่รี ะลกึ ทุตยิ ัมปิ ธมั มงั สะระณงั คัจฉามิ. แม้ครั้งท่ีสอง ขา้ พเจ้าขอถึงพระธรรมเป็นทพี่ ่ึงที่ระลึก ทตุ ิยัมปิ สงั ฆงั สะระณงั คัจฉามิ. แม้ครั้งที่สอง ขา้ พเจ้าขอถึงพระสงฆเ์ ปน็ ที่พง่ึ ท่ีระลกึ ตะติยมั ปิ พทุ ธงั สะระณงั คจั ฉาม.ิ แม้ครั้งท่สี าม ขา้ พเจา้ ขอถึงพระพทุ ธเจ้าเป็นท่ีพึง่ ที่ระลกึ ตะตยิ ัมปิ ธัมมัง สะระณงั คัจฉาม.ิ แม้คร้งั ทสี่ าม ข้าพเจ้าขอถงึ พระธรรมเป็นท่ีพ่งึ ท่ีระลกึ ตะตยิ ัมปิ สงั ฆงั สะระณงั คัจฉาม.ิ แม้ครงั้ ที่สาม ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์เป็นท่ีพ่งึ ทีร่ ะลกึ มหาราชปรติ ร ๔๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook