190 3. โครงขา่ ยสผู่ ลกระทบ (Impact Pathway) Input Process Output Outcome สกสว. วจิ ัยพฒั นำนวัตกรรม - นวตั กรรม Startup/ SMEs สนับสนุน สำหรับวสิ ำหกิจ Product - สรำ้ งมลู คำ่ เพิม่ จำกกำรใช้ งบประมำณ Innovation นวัตกรรมดว้ ยปญั ญำประดษิ ฐ์ / ในแผนงำน พัฒนำศักยภำพ Process Innovation วทิ ยำกำรหนุ่ ยนต์ / ดจิ ิทลั ของผู้ประกอบกำร Marketing - สำมำรถเข้ำถึงแหลง่ เงนิ ทุน Innovation สนับสนนุ นวตั กรรม พัฒนำควำมรว่ มมอื Organizational - ลดควำมเหลื่อมลำ้ ในกำร กับหน่วยงำนระหว่ำง Innovation เข้ำถงึ บรกิ ำร จำกระบบนเิ วศ นวตั กรรมในระดบั ภมู ภิ ำค ประเทศ - ผูป้ ระกอบการทีม่ ี - ยกระดับศกั ยภำพ เพ่ิมขดี ศักยภาพ ควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขนั - เครอื ขา่ ยความรว่ มมือ จำกกำรพัฒนำนวตั กรรม กับต่างประเทศ ร่วมกันระหวำ่ งประเทศ วิสาหกจิ ฐานนวัตกรรม (IDEs) -> วิสำหกจิ ท่ีใช้ นวัตกรรมเพิ่มขน้ึ จำนวน 750 แห่ง รูปท่ี 1 แสดงโครงข่ำยส่ผู ลกระทบของแผนงำนวจิ ยั ด้ำนกำรพฒั นำ สง่ เสรมิ และสนบั สนุนวสิ ำหกิจ ฐำนนวตั กรรม
The 1st National Conference on SROI 191 ตารางที่ 1 ผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี ผลผลิตและผลลพั ธ์ทเี่ กดิ ขึน้ จำกแผนงำน ผ้มู ีส่วนได้เสยี ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลติ ผลลัพธ์ วสิ าหกิจเริม่ ตน้ - งบประมำณ - ร่วมพฒั นำนวตั กรรม - นวตั กรรมใหมท่ ใี่ ช้ - สรำ้ งมูลคำ่ เพิ่มจำกกำรใช้ (Startup) และ สนับสนุน สำหรับวสิ ำหกจิ ผ่ำน สำหรบั วสิ ำหกิจ นวตั กรรมด้วยขอ้ มลู ดจิ ิทลั วสิ าหกจิ ขนาดย่อม จำก สกสว. กำรศกึ ษำ วิจัย - ผปู้ ระกอบกำร / ปัญญำประดษิ ฐ์ / และขนาดกลาง - ตน้ ทนุ จำก และนำไปใช้ ทม่ี ศี กั ยภำพ วทิ ยำกำรห่นุ ยนต์ (SME) บรษิ ทั เอกชน - รว่ มพัฒนำศกั ยภำพ - เครือข่ำยควำมร่วมมอื - สำมำรถเขำ้ ถึงแหลง่ - เวลำในกำร ของผูป้ ระกอบกำรผำ่ น กับตำ่ งประเทศ เงินทนุ สนบั สนุนนวัตกรรม รว่ มวจิ ัย กำรอบรมจำกโครงกำร - เกดิ วสิ ำหกจิ ฐำน - ลดควำมเหล่อื มล้ำในกำร - ร่วมพัฒนำประสำน นวัตกรรม เข้ำถงึ บรกิ ำร จำกระบบ ควำมรว่ มมอื จำนวน 750 แห่ง นิเวศนวตั กรรมในระดับ กบั หนว่ ยงำนระหวำ่ ง (Innovation-driven ภมู ภิ ำค ประเทศ Enterprises: IDEs) - ยกระดับศกั ยภำพ เพ่ิมขดี ควำมสำมำรถ ในกำรแข่งขนั จำกกำร พัฒนำนวัตกรรมรว่ มกนั ระหว่ำงประเทศ ตัวชี้วัดของผลลัพธ์ (Indicator) ในกำรศึกษำนี้จะใช้กำไรที่เพิ่มขึ้นของวิสำหกิจที่ใช้นวัตกรรมเป็นตัวชี้วัดของผลลัพธ์ เนื่องด้วยข้อจำกดั ของข้อมลู เกี่ยวกับวิสำหกิจในประเทศไทยจึงมีควำมจำเป็นต้องอ้ำงอิงผลกระทบของนวัตกรรมต่อกำไร ของวิสำหกิจจำกงำนวิจัยตำ่ งประเทศ 4. ขอ้ มลู ที่ใชใ้ นการศกึ ษา 4.1 ข้อมูลชัดแจ้ง: กำรศึกษำในครั้งนี้เป็นกำรศึกษำถึงมูลค่ำกำไรที่เพิ่มขึ้นของวิสำหกิจที่มีกำร นำนวัตกรรมมำประยุกต์ใช้ในกำรประกอบธุรกิจ อันเกิดจำกกำรพัฒนำส่งเสริมและสนับสนุนวิสำหกิจ ฐำนนวัตกรรม ซึ่งขอ้ มูลท่สี ำมำรถค้นพบไดโ้ ดยตรงที่ไม่จำเปน็ ต้องผ่ำนกำรประมำณคำ่ ไดแ้ ก่ 1) รำยได้รวมและรำยจ่ำยรวมของวิสำหกิจเริ่มต้นและวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อม ของประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 - 2562 (แหล่งข้อมูล: ส ำนักงำนส่งเสริมวิสำหกิจขนำดกลำง และขนำดย่อม (สสว.)) แสดงดงั ตำรำงที่ 2 2) จำนวนของวิสำหกิจเริ่มต้นและวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อมของประเทศไทยตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2554 - 2562 ที่ส่งข้อมูลงบกำรเงิน (แหล่งข้อมูล: ส ำนักงำนส่งเสริมวิสำหกิจขนำดกลำง และขนำดยอ่ ม (สสว.)) แสดงดงั ตำรำงท่ี 2
192 3) ผลกระทบของกำรนำนวัตกรรมไปประยุกต์ใช้ในวิสำหกิจ พิจำรณำจำกอัตรำกำรเพิ่มขึ้นของกำไร โดยเปรียบเทียบกับวิสำหกิจที่ไม่ได้ใช้นวัตกรรม (แหล่งข้อมูล: กำรทบทวนงำนวิจัยของต่ำงประเทศ) แสดงดังตำรำงท่ี 3 4) อำยุเฉลี่ยกิจกำรของวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อม (แหล่งข้อมูล: กำรทบทวนงำนวิจัย ของตำ่ งประเทศ) แสดงดงั ตำรำงท่ี 4 ตารางที่ 2 แสดงรำยได้รวม รำยจ่ำยรวมและจำนวนที่ส่งข้อมูลของวิสำหกิจเริ่มต้นและวิสำหกิจขนำดกลำง และขนำดย่อมของประเทศไทย ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2554 – 2562 ปี พ.ศ. รายได้รวม (บาท) คา่ ใช้จ่ายรวม (บาท) จานวนวสิ าหกจิ ทส่ี ง่ ขอ้ มูล (แหง่ ) กาไรเฉลีย่ (บาท) 2554 7,538,424,204,007.00 7,253,544,642,756.00 360,517.00 790,197.30 2555 6,622,790,837,065.00 6,297,710,053,333.00 386,411.00 841,282.43 2556 6,673,983,731,953.00 6,405,771,096,637.00 416,423.00 644,086.99 2557 5,892,260,269,256.00 5,669,004,302,271.00 390,009.00 572,437.99 2558 6,965,050,627,828.00 6,739,296,993,097.00 452,575.00 498,820.38 2559 7,584,137,546,911.00 7,258,345,629,824.00 480,851.00 677,531.95 2560 8,612,109,908,761.00 8,365,777,094,249.00 492,597.00 500,069.66 2561 8,263,333,301,911.00 7,855,759,278,170.00 524,703.00 776,770.90 2562 8,698,857,407,913.00 8,286,363,915,078.00 559,192.00 737,659.86 ทมี่ ำ: สำนกั งำนส่งเสริมวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดยอ่ ม (สสว.) ตารางท่ี 3 แสดงผลกำรศึกษำรอ้ ยละของกำไรท่เี พ่มิ ขน้ึ เมื่อนำนวัตกรรมมำใช้ในธรุ กจิ กลมุ่ ผลกระทบ ผศู้ กึ ษา ฐานขอ้ มลู ประเทศ ร้อยละกาไร ระดับต่า วารสาร ทเี่ พมิ่ ข้ึน Kocak et al. (2017) ISI Q2 Turkey ระดบั Mai et al. (2019) ISI Q2 Vietnam 0.1200 ปานกลาง 0.1450 Arunachalam et al. (2018) ISI Q1 India 0.1520 0.1600 Shashi et al. (2019) ISI Q1 India 0.1960 Rosenbusch et al. (2011) ISI Q1 North America, Europe, 0.1546 Asia, and Australia 0.3300 คา่ เฉลีย่ ของกาไรที่เพิม่ ขน้ึ 0.3825 0.3562 Shashi et al. (2019) ISI Q1 India China Lin (2013) ISI Q1 คา่ เฉลี่ยของกาไรทเ่ี พ่มิ ขนึ้
The 1st National Conference on SROI 193 กลมุ่ ผลกระทบ ผศู้ ึกษา ฐานขอ้ มลู ประเทศ ร้อยละกาไร ระดบั สงู ทีเ่ พิ่มขนึ้ วารสาร China China 0.5400 Huang et al. (2012) ISI Q4 0.5890 0.5645 Zhang et al. (2018) ISI Q2 คา่ เฉล่ียของกาไรทเี่ พมิ่ ข้ึน ตารางที่ 4 แสดงอำยุเฉล่ยี กิจกำรของวสิ ำหกจิ ขนำดกลำงและขนำดย่อมในต่ำงประเทศ ประเทศ ปที ่ศี กึ ษา อายเุ ฉลย่ี (ปี) อา้ งอิง แคนำดำ 2018 13.00 Government of Canada (2018) สหรฐั อเมรกิ ำ 2013 8.20 ยุโรป 2013 12.50 Kostka, Moslener, and Andreas (2013) จีน 2013 3.70 รฐั ตะวันออกเฉียงใต้ สหรฐั อเมรกิ ำ 2001 5.00 Perricone, Earle, and Taplin (2001) จีน 2008 6.07 Wee and Chua (2013) อายเุ ฉลย่ี รวม 8.07 ปี 4.2 ข้อมูลไม่ชัดแจง้ : ในที่นขี้ ้อมลู ที่ไม่ชัดแจ้ง หมำยถงึ ข้อมลู ทไ่ี ม่สำมำรถสืบค้นได้โดยตรงจำกหน่วยงำน ในประเทศ ต้องอำศัยกำรคำนวณหรือประมำณกำร ซึ่งในที่นี้ คือ กำไรเฉลี่ยของวิสำหกิจเริม่ ต้นและวิสำหกิจ ขนำดกลำงและขนำดย่อมของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2563 - 2573 ซึ่งใช้วิธีกำรพยำกรณ์จำกข้อมูลกำไร ของวิสำหกิจในอดีต ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 - 2562 (อ้ำงอิงข้อมูลจำกสำนักงำนส่งเสริมวิสำหกิจขนำดกลำง และขนำดย่อม (สสว.)) โดยนำมูลค่ำรำยได้รวมลบด้วยรำยจ่ำยรวมแล้วหำรด้วยจำนวนวิสำหกิจเริ่มต้น และวิสำหกจิ ขนำดกลำงและขนำดย่อมที่ส่งข้อมูลงบกำรเงิน จำกนั้นทำกำรพยำกรณ์ล่วงหน้ำไปจำนวนทัง้ ส้นิ 10 ปี (2563 – 2573) โดยใช้แบบจำลองอัตถดถอยแบบมีอิทธิพลฤดูกำล (Autoregressive Integrated Moving Average: ARIMA) ผลกำรพยำกรณ์แสดงได้ดังรปู ที่ 2 แบบจำลอง ARIMA (Autoregressive Integrated Moving Average) แบบมีอทิ ธิพลฤดูกำล เนื่องจำกในกำรศึกษำน้เี ป็นกำรประเมินผลกระทบก่อนกำรดำเนนิ โครงกำร (Ex-Ante evaluation) ซึ่งผลลัพธ์และผลกระทบที่เกิดขึ้นจำกกำรดำเนินโครงกำรล้วนเป็นสิ่งที่เกิดขึน้ ในอนำคต ฉะนั้นเพื่อให้ผลกำร ประเมินมีควำมถูกต้องและแม่นยำมำกยิ่งขึ้น จึงทำกำรพยำกรณ์ข้อมูลบำงส่วนเกี่ยวกับวิสำหกิจเพิ่มเติม โดยอิงจำกข้อมูลในอดีต โดยเลือกใช้แบบจำลองสำหรับกำรพยำกรณ์ คือ แบบจำลอง ARIMA แบบมีอิทธิพล ฤดูกำล หรือ ARIMA (p,d,q) x SARIMA(P,D,Q)s หรือ ARIMA (p,d,q) (P,D,Q)s (อนุธิดำ อนันต์ทรัพย์สุข,
194 2560) เนื่องจำกเมื่อทำกำรพิจำรณำข้อมูลของกำไรเฉลี่ยของวิสำหกิจในอดีต (ปี 2554 - 2562) จะสำมำรถ สังเกตเห็นถึงกำรเคลื่อนไหวของข้อมูลที่มีรูปแบบซ้ำกันในบำงช่วงและเนื่องจำกข้อจำกัดด้ำนจำนวนข้อมูล ในอดีต ในกำรศึกษำน้ีจึงได้ตั้งข้อสมมติฐำนว่ำชุดข้อมูลดังกล่ำวมีอิทธิพลของฤดูกำล รังคกูลนุวัฒน์ (2556) กล่ำวว่ำ ควำมผันแปรทำงฤดูกำล (Seasonal Variation; s) คือ รูปแบบในช่วงเวลำหนึ่งของอนุกรมเวลำ ที่จะปรำกฏรูปแบบนี้ซ้ำกันเรื่อย ๆ ตลอดชุดข้อมูลอนุกรมเวลำ ซึ่งอนุกรมเวลำทำงเศรษฐศำสตร์ ทำงธุรกิจ ทำงกำรเงิน ท่ีมีควำมถี่เป็นรำยเดือนหรือไตรมำส ส่วนมำกจะพบควำมแปรผันทำงฤดูกำลร่วมอยู่ ระยะเวลำ ที่สั้นที่สุดที่อนุกรมเวลำจะแสดงให้เห็นว่ำมีควำมผันแปรทำงฤดูกำลอีกครั้ง จะเรียกว่ำ “คำบ (Seasonal period: s) หรือช่วงเวลำฤดูกำล” ส่วนสำเหตุที่ทำให้เกิดกำรแปรผันทำงฤดูกำลนั้น คือ สภำพอำกำศ วัฒนธรรม สภำพสังคม พฤติกรรมของมนุษย์หรือเทศกำลต่ำง ๆ เช่น สภำพภูมิอำกำศมีผลต่อจำนวน นกั ท่องเท่ียวหรอื เทศกำลปใี หม่จะทำให้ธุรกิจขำยของขวัญหรือกำร์ดปีใหม่ขยำยตวั เปน็ ตน้ ข้อมูลอนุกรมเวลำที่จะนำไปใช้พยำกรณโ์ ดยใชแ้ บบจำลอง ARIMA ได้นั้น นอกจำกต้องมีคุณสมบัติ ของข้อมูลที่นิ่ง (Stationary) แล้ว ยังต้องไม่มีควำมแปรผันทำงฤดูกำล (Seasonal Variation) ด้วย ดังนั้น หำกข้อมูลอนุกรมเวลำใด ๆ ที่พิจำรณำมีควำมผันแปรทำงฤดูกำลอยู่ด้วยจะต้องทำกำรกำจัด ควำมผันแปรทำงฤดูกำลนั้นออกไปก่อน จำกกำรศึกษำเพื่อกำหนดตัวแบบจำลองที่เหมำะสมกับชุดข้อมูล ในกำรศึกษำโดยทำ Grid search ค่ำตัวแปรของแบบจำลอง ARIMA แบบมีอิทธิผลฤดูกำล (p, d, q, P, D, Q และ s) พบว่ำ เมื่อพิจำรณำโดยใช้เกณฑ์ค่ำ AIC BIC และ RMSE น้อยที่สุด ตัวแบบจำลองที่เหมำะสมกับ ชดุ ขอ้ มลู ที่สดุ คอื แบบจำลอง ARIMA (0,1,0)(0,1,0)5 โดยผลกำรพยำกรณ์กำไรเฉลย่ี ของวสิ ำหกิจในปี 2563 - 2573 สำมำรถแสดงไดด้ งั รปู ที่ 2 กาไรเฉลย่ี รายปีของวิสาหกจิ เรม่ิ ต้นและวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม กำไรเฉลย่ี (จรงิ ) กำไรเฉล่ยี (พยำกรณ์) ขดี จำกดั ควำมเช่อื มั่นระดับล่ำง(90%) ขีดจำกดั ควำมเชื่อม่ันระดับบน(90%) กำไรเฉล่ีย (บำท/ ีป) 2000000 1500000 1000000 500000 0 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573 ปี รูปที่ 2 แสดงผลกำรพยำกรณ์กำไรเฉลยี่ รำยปีต้ังแตป่ ี 2563-2573 ของวิสำหกจิ เรม่ิ ต้น (Startups) และวสิ ำหกจิ ขนำดกลำงและขนำดยอ่ ม (SME)
The 1st National Conference on SROI 195 5. แนวทางการประเมนิ และผลการศึกษา 5.1 ปจั จัยนาเขา้ (Input) พิจำรณำจำกงบประมำณสนับสนุนของแผนงำนทั้งหมดตลอดระยะโครงกำรที่ได้รับจำกสำนักงำน คณะกรรมกำรส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยแผนงำนวิจัยกำหนดระยะเวลำตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2563 - 2567 ซง่ึ ตง้ั แตเ่ รม่ิ แผนงำนวจิ ัยจนถงึ ปจั จบุ นั จะมกี ำรใชง้ บประมำณท้ังสิน้ 421,500,000 บำท ตำมข้อมูลที่ระบุไวใ้ นรำยละเอยี ดแผนงำนวจิ ัยปี 2565 5.2 วิธกี ารดาเนนิ งาน (Process) แผนงำนวิจัย “กำรพัฒนำส่งเสริมและสนับสนุนวิสำหกิจฐำนนวัตกรรม (startup และ SMEs)” ณ ปัจจุบันปี พ.ศ. 2565 ได้แบ่งออกเป็นแผนงำนย่อยทั้งหมด 6 แผนงำน ซึ่งวิธีกำรดำเนินงำนของทั้ง 6 แผนงำนย่อยสำมำรถแบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ (1) กำรวิจัยพัฒนำนวัตกรรมและส่งเสริม สนับสนุนให้วิสำหกิจนำนวัตกรรมไปประยุกต์ใช้ภำยใต้ โครงกำรนวัตกรรมแบบเปิด (open innovation) โครงกำรนวัตกรรมแบบมุ่งเป้ำ (Thematic innovation) โครงกำรนวัตกรรมดีไม่มีดอกเบี้ยและโครงกำรกำรบ่มเพำะและเร่งรัดทำงด้ำน เทคโนโลยีอำหำร (SPACE-F) รวมทัง้ สิ้น 4 แผนงำนย่อย (2) กำรพัฒนำศักยภำพผู้ประกอบกำรฐำนนวัตกรรม จำนวน 1 แผนงำนย่อย (3) พัฒนำควำมร่วมมือกับหน่วยงำนระหว่ำงประเทศเพื่อกำรเติบโตของธุรกิจนวัตกรรม จำนวน 1 แผนงำนย่อย 5.3 ผลผลิต (Output) ถงึ แมว้ ่ำแตล่ ะแผนงำนย่อยน้ันจะมีกำรดำเนนิ งำนในบริบทที่แตกตำ่ งกัน แต่ทวำ่ ทุกแผนงำนย่อยล้วน มุ่งเน้นให้เกิดกำรนำนวัตกรรมไม่ว่ำจะเป็นด้ำนผลิตภัณฑ์ ด้ำนกระบวนกำรผลิตหรือด้ำนกำรบริหำรจัดกำร รวมทั้งนวัตกรรมทำงด้ำนกำรเงิน ปัญญำประดิษฐ์และเทคโนโลยีขั้นสูงมำประยุกต์ใช้ร่วมกับวิสำหกิจ เพื่อก่อให้เกิดวิสำหกิจฐำนนวัตกรรม (Innovation-driven Enterprises: IDEs) เป็นผลผลิตขั้นสุดท้ำย อันเป็นผลสืบเนื่องมำจำกกำรร่วมผลผลิตขั้นต้นของแผนงำนเข้ำด้วยกัน ประกอบไปด้วย 1) นวัตกรรม ประเภทต่ำง ๆ ที่สำมำรถประยุกต์ใช้ร่วมกับวิสำหกิจ 2) ผู้ประกอบกำรฐำนนวัตกรรมที่มีศักยภำพ 3) ควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศด้ำนวิสำหกิจฐำนนวัตกรรม ฉะนั้นในกำรศึกษำครั้งนี้จึงได้ทำกำรประเมิน ผลผลิตขั้นสุดท้ำยที่เกิดขึ้นตำมเป้ำหมำยที่แผนงำนได้วำงไว้ คือ แผนงำนวิจัยดังกล่ำวจะทำให้เกิดจำนวน วิสำหกิจฐำนนวัตกรรม (IDEs) ที่ใช้นวัตกรรม/เทคโนโลยี เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพ/ประสิทธผิ ลในกำรผลิตและ/ หรือกำรบริกำรเพิม่ ขึน้ จำนวนท้งั หมด 750 วสิ ำหกิจฐำนนวัตกรรม ตลอดระยะเวลำทั้ง 5 ปีของแผนงำนวิจัย
196 5.4 ผลลพั ธ์ (Outcome) เมื่อพิจำรณำโดยใช้ทฤษฎีกำรเปลี่ยนแปลง (Theory of change) และผลผลิตขั้นสุดท้ำยที่ได้จำก แผนงำนวิจัย ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น คือ กำรเปลี่ยนแปลงของวิสำหกิจจำกแบบดั้งเดิมมำสู่วิสำหกิจที่ใช้นวัตกรรม กล่ำวคือ ผู้ประกอบกำรที่มีศักยภำพและนวัตกรรมต่ำง ๆ ที่ถูกใช้ในวิสำหกิจโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งนวัตกรรม ด้ำนปัญญำประดิษฐ์ วิทยำกำรหุ่นยนต์หรือเครือข่ำยข้อมูลดิจิทัล จะเป็นตัวช่วยทำให้วิสำหกิจสำมำรถสร้ำง มูลค่ำเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ ลดต้นทุนในกระบวนกำรผลิตรวมทั้งกำรบริหำรจัดกำร ก่อให้เกิดกำรกำรจ้ำงงำน ที่เพิ่มขึ้นเพื่อขยำยฐำนกำรผลิต กำรลงทุนเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดกำรนำนวัตกรรมไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดและเกิดกำรส่งออกสิ้นค้ำสู่ภำยนอกที่มำกขึ้นและเมื่อพิจำรณำถึงระบบนิเวศนวัตกรรมในระดับภูมิภำค ที่แผนงำนต้องกำรสร้ำงแล้ว จะทำให้วิสำหกิจสำมำรถเข้ำถึงแหล่งเงินทุนสนับสนุนนวัตกรรมได้อย่ำงสะดวก และรวดเร็ว ลดควำมเหลื่อมล้ำในกำรเข้ำถึงควำมช่วยเหลือและบริกำรต่ำง ๆ ของรัฐ นอกจำกนี้ยังสำมำรถ ยกระดบั ศักยภำพและเพิม่ ขีดควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขันของวสิ ำหกิจจำกกำรพัฒนำนวตั กรรมรว่ มกันระหว่ำง ประเทศ อีกทั้งยังเป็นกำรขยำยตลำดสินค้ำไทยในต่ำงปร ะเทศไปพร้อมกัน ฉะนั้นในกำรศึกษำน้ี กำรประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจำกแผนงำนวิจัย “กำรพัฒนำส่งเสริมและสนับสนุนวิสำหกิจฐำนนวัตกรรม (Startup และ SMEs)” จึงเป็นกำรประเมินมูลค่ำผลลัพธ์ของกำรเปลี่ยนแปลงจำกวิสำหกิจแบบดั้งเดิมไปสู่ วิสำหกิจฐำนนวัตกรรม โดยตัวชี้วัด (Indicator) ที่ผู้ประเมินเลือกใช้สำหรับกำรประเมินในครั้งน้ี คือ กำไร ท่เี พ่ิมขน้ึ ของวิสำหกิจจำกกำรนำนวัตกรรมมำประยุกต์ใช้ สมมติฐานในการประเมิน ด้วยข้อจำกัดด้ำนข้อมูลเกี่ยวกับรำยละเอียดกำรใช้นวัตกรรมของวิสำหกิจไทย ทำให้ผู้ประเมิน จำเป็นต้องประเมนิ มลู ค่ำของผลลัพธ์ภำยใตส้ มมติฐำนในกำรประเมนิ ดงั นี้ (1) ผลลัพธ์ทั้งหมดจำกแผนงำนวิจัยประเมินจำกกำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในแผนงำนวิจัย คือ วิสำหกิจเริ่มต้นและวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อม ผลลัพธ์ดังที่ได้กล่ำวมำข้ำงต้น ล้วนสำมำรถสะท้อนออกมำอยู่ในรูปแบบของกำไรที่วิสำหกิจได้รับเพิ่มขึ้นจำกกำรเปลี่ยนแปลงสู่วิสำหกิจ ฐำนนวัตกรรม ฉะนั้นในกำรศึกษำนี้จึงใช้กำไรที่เพิ่มขึ้นของวิสำหกิจเป็นตัวชี้วัดผลลัพธ์และผลกระทบจำก แผนงำนวิจัย (2) เนื่องจำกยังไม่เคยมีผลกำรศึกษำด้ำนกำไรที่เพิ่มขึ้นของวิสำหกิจที่ใช้นวัตกรรมในประเทศไทย กำรศึกษำในครั้งนี้จึงจำเป็นต้องทำกำรอ้ำงอิงผลกำไรที่เพิ่มขึ้นของวิสำหกิจฐำนนวัตกรรมจำกต่ำงประเทศ โดยสำมำรถจำแนกระดับของผลกระทบออกได้เป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1. กลุ่มที่มีผลกระทบต่ำ โดยมีผลกำไร เพมิ่ ขึน้ ระหว่ำง 12.00% - 19.60% เม่ือเปรยี บเทยี บกับธุรกิจประเภทเดียวกันที่ไม่มีกำรประยุกต์ใช้นวัตกรรม 2. กลมุ่ ท่ีมีผกระทบปำนกลำง โดยมีผลกำไรเพ่ิมขึ้นระหว่ำง 33.00% - 38.25% และ 3. กลุ่มทม่ี ีผลกระทบสูง โดยมีผลกำไรเพม่ิ ขน้ึ ระหวำ่ ง 54.00% - 58.90% (แสดงดังตำรำงท่ี 3)
The 1st National Conference on SROI 197 (3) กรอบระยะเวลำสำหรับกำรประเมินผลลัพธ์และผลกระทบ เนื่องจำกกำรศึกษำนี้เป็นกำร ประเมินแบบ Ex-ante ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้กำหนดกรอบระยะเวลำที่ใช้สำหรับกำรประเมินอยู่ที่ 8 ปี นับจำก ปี 2565 (พ.ศ. 2565 - 2573) โดยเป็นกรอบเวลำที่อ้ำงอิงจำกอำยุเฉลี่ยกิจกำรของวิสำหกิจขนำดกลำง และขนำดย่อม (แสดงดังตำรำงที่ 4) โดยสำหรับประเทศไทยนั้นยังไม่ปรำกฎผลกำรศึกษำเกี่ยวกับอำยุเฉลี่ย ของกิจกำรทีแ่ นช่ ดั ทำใหม้ คี วำมจำเปน็ ตอ้ งอ้ำงองิ จำกผลกำรวจิ ยั จำกตำ่ งประเทศ (4) จำนวนของวิสำหกิจฐำนนวัตกรรมที่บรรลุเป้ำหมำย โดยคณะผู้วิจัยได้ทำกำรประมำณจำนวน วิสำหกิจฐำนนวัตกรรมที่บรรลุเป้ำหมำยในแต่ละปี โดยกำหนดเป็นสัดส่วนของจำนวนวิสำหกิจที่บรรลุ เป้ำหมำยรำยปีกับเป้ำหมำยจ ำนวนวิสำหกิจฐำนนวัตกรรมทั้งหมด ( 750 แห่ง) เทียบกับสัดส่วน ของงบประมำณในแตล่ ะปกี ับงบประมำณของท้งั แผนงำนวจิ ยั (5) ผลลัพธ์ส่วนเกิน (Deadweight) ในกำรศึกษำนี้ตั้งอยู่บนสมมติฐำนที่ว่ำกำรพัฒนำนวัตกรรม ใดขึ้นมำนั้นต้องใช้งบประมำณในกำรศึกษำวิจัยและพัฒนำที่สูง ทำให้เป็นหนึ่งในอุปสรรคสำคัญของวิสำหกิจ เริม่ ตน้ และวิสำหกจิ ขนำดกลำงและขนำดยอ่ มท่มี ีควำมสำมำรถในกำรเขำ้ ถึงแหลง่ เงนิ ทนุ ทตี่ ่ำ ไม่สำมำรถระดม ทุนด้วยตัวเองได้ และกำรลงทุนในนวัตกรรมมีโอกำสที่จะประสบควำมสำเร็จต่ำ ฉะนั้นจึงสำมำรถกล่ำวได้ว่ำ ถ้ำไม่มีงบสนับสนุนจำกแผนงำนดังกล่ำวนี้แล้ว อำจทำให้กำรเปลี่ยนแปลงจำกวิสำหกิจดั่งเดิมไปสู่วิสำหกิจ ฐำนนวัตกรรมเป็นเรื่องที่ยำก ดังนั้นในกำรประเมินผลลัพธ์สำหรับกำรศึกษำนี้จึงกำหนดให้ไม่มีผลผลัพธ์ สว่ นเกนิ (Deadweight) เกดิ ข้นึ หรอื ผลลพั ธส์ ่วนเกนิ เทำ่ กบั 0% (6) ผลลัพธ์จำกปัจจัยอื่น (Attribution) ในกำรศึกษำนี้กำหนดให้ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมดเป็นผล มำจำกแผนงำนวิจัยทั้ง 100% เนื่องจำกในแผนงำนวิจัยไม่ได้ระบุถึงหน่วยงำนอื่นที่มีส่วนในกำรร่วมลงทุน และไม่ไดม้ ีกำรระบใุ นแผนงำนวจิ ัยวำ่ ทำงวสิ ำหกจิ ท่ีเข้ำรว่ มโครงกำรวจิ ยั ต้องเปน็ ผู้ลงทุนเพิ่มเติม (7) อัตรำกำรลดลง (Drop off) คณะผู้วิจัยได้กำหนดอัตรำกำรลดลงของผลลัพธ์โดยใช้อัตรำกำร อยูร่ อด (Survival rate) ของวสิ ำหกจิ เป็นตัวแทนในกำรประเมิน โดยอ้ำงอิงจำกอัตรำกำรอยู่รอดของวิสำหกิจ ของไทยที่เสนอโดยธนำคำรแห่งประเทศไทยที่ว่ำเมื่อเวลำผ่ำนไป 5 ปี อัตรำกำรอยู่รอดของวิสำหกิจไทย จะอยู่ที่ประมำณ 50% (ธนำคำรแห่งประเทศไทย, 2560) สอดคล้องกับกำรศึกษำของ Clark (2017) ที่พบว่ำ อัตรำกำรอยู่รอดของธุรกิจในประเทศอังกฤษ คือ 87.6% ต่อปี นั่นคือเมื่อเวลำผ่ำนไป 5 ปี อัตรำกำรอยู่รอด ของธุรกิจในอังกฤษจะอยู่ที่ประมำณ 51.58% ซึ่งใกล้เคียงกับตัวเลขที่เสนอโดย ธนำคำรแห่งประเทศไทย (2560) ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้กำหนดให้อัตรำกำรลดลงของผลลัพธ์คือ 12.4% โดยเริ่มมีผลตั้งแต่ปีที่สิ้นสุด แผนงำนวจิ ยั (8) อัตรำคดิ ลด (Discount rate) กำรศึกษำน้ีใช้อัตรำกำรคดิ ลดที่ 2% อ้ำงองิ จำกค่ำเฉล่ียอัตรำกำร เปลี่ยนแปลงดัชนีรำคำผู้บรโิ ภคพน้ื ฐำนปี 2522 - 2563
198 ผลการประเมิน ผลกำรประเมินผลลัพธ์และผลกระทบทำงด้ำนเศรษฐกิจของแผนงำนวิจัย “กำรพัฒนำส่งเสริม และสนบั สนุนวสิ ำหกจิ ฐำนนวตั กรรมในระดับวิสำหกจิ เริ่มต้น (Startup) และวิสำหกจิ ขนำดกลำงและขนำดย่อม (SMEs)” สำมำรถแสดงได้ดังตำรำงที่ 5 ตารางที่ 5 แสดงผลกำรประเมินผลลัพธ์และผลกระทบทำงด้ำนเศรษฐกิจของแผนงำนวิจัยกำรพัฒนำส่งเสริม และสนบั สนุนวิสำหกจิ ฐำนนวตั กรรม ข้อมูลสาหรบั การประเมินผลกระทบ ผลกระทบของกาไรเฉลีย่ ทีเ่ พม่ิ ขน้ึ เปา้ หมาย ปี อตั ราการ ผลผลิต กาไรเฉล่ียตอ่ กลมุ่ ผลกระทบ กลุ่มผลกระทบ กล่มุ ผลกระทบสูง อยู่รอด (750 วสิ าหกจิ ตา่ (15.64%) ปานกลาง (56.45%) (%) วิสาหกจิ ฐาน (บาท) (35.62%) นวัตกรรม) 2563 100 107 642,794.10 10,633,228.56 24,502,507.60 38,825,727.83 2564 100 402 873,086.90 55,611,444.71 128,147,329.75 20,3057,312.70 2565 100 750 644,404.00 74,718,643.80 172,176,693.75 272,824,543.50 2566 100 750 1,000,969.10 116,062,367.15 267,446,431.41 423,785,292.70 2567 100 750 950,569.50 110,218,533.53 253,980,288.28 402,447,362.10 2568 87.6 657 828,322.80 84,134,569.11 193,874,128.36 307,205,460.93 2569 76.7 575 1,125,084.60 100,106,930.58 230,679,780.19 365,526,276.26 2570 67.2 504 830,397.30 64,724,544.07 149,146,952.30 236,332,504.07 2571 58.9 442 1,289,877.20 88,071,530.56 202,946,201.56 321,580,717.99 2572 51.6 387 1,224,930.80 73,266,060.22 168,829,456.37 267,520,640.34 2573 45.2 339 1,067,400.30 55,927,152.82 128,874,826.60 204,210,076.11 มลู ค่าปจั จบุ นั (NPV) 639,834,274.84 1,474,391,723.21 2,336,264,218.28 ต้นทนุ รวม (งบแผนงานวจิ ยั ) 421,500,000 อตั ราสว่ นผลตอบแทนจากการลงทนุ (ROI) 1.52 3.50 5.54 หมำยเหตุ: ผลกระทบของกำไรเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี คำนวณจำกอัตรำกำรอยู่รอด (%) × จำนวนเป้ำหมำยวิสำหกิจ ฐำนนวตั กรรม (แห่ง) × กำไรเฉลย่ี ตอ่ วสิ ำหกิจแบบด้ังเดิม (บำท) × กำไรเฉล่ยี ทีเ่ พมิ่ ข้ึนเม่ือใชน้ วตั กรรมในธุรกิจท่ีจำแนกตำม กลมุ่ ผลกระทบ จำกน้นั คดิ ลดด้วยอตั รำ 2% ต่อปี
The 1st National Conference on SROI 199 จำกตำรำงที่ 5 คณะผู้วิจัยได้จำแนกผลลัพธ์และผลกระทบที่เกิดขึ้นเป็น 3 กรณี คือ กรณีที่ 1 แผนงำนวิจยั ในกำรวจิ ัยพัฒนำ ส่งเสริมและสนบั สนนุ ให้เกิดวิสำหกิจฐำนนวัตกรรมกอ่ ให้เกดิ มูลค่ำกำรเพิม่ ข้นึ ของกำไรเฉล่ียในระดับต่ำ (15.64%) ผลกำรประเมนิ มลู คำ่ ผลกระทบทำงเศรษฐกิจตลอดระยะเวลำรวม 11 ปี รวมทง้ั ส้ินอยูท่ ี่ 639,834,274.84 บำท โดยมีอตั รำสว่ นผลตอบทำงกำรลงทุนอยทู่ ่ี 1.52 กล่ำวคือ งบประมำณ ที่ สกสว. ลงทุนไป 1 บำท จะได้รับผลตอบแทนอยู่ที่ 1.52 บำท กรณีที่ 2 แผนงำนวิจัยในกำรวิจัยพัฒนำ ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดวิสำหกิจฐำนนวัตกรรมก่อให้เกิดมูลค่ำกำรเพิ่มขึ้นของ ก ำไรเฉลี่ยในระดับ ปำนกลำง (35.62%) ผลกำรประเมนิ มูลค่ำผลกระทบทำงเศรษฐกจิ ตลอดระยะเวลำรวม 11 ปี รวมท้ังสิ้นอยู่ท่ี 1,474,391,723.21 บำท โดยมีอัตรำส่วนผลตอบทำงกำรลงทุนอยู่ที่ 3.50 กล่ำวคือ งบประมำณที่ สกสว. ลงทุนไป 1 บำท จะได้รับผลตอบแทนอยู่ที่ 3.50 บำท กรณีที่ 3 แผนงำนวิจัยในกำรวิจัยพัฒนำ ส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดวิสำหกิจฐำนนวัตกรรมก่อให้เกิดมูลค่ำกำรเพิ่มขึ้นของกำไรเฉลี่ยในระดับสูง (5 6.45%) ผลกำรประเมินมูลค่ำผลกระทบทำงเศรษฐกิจตลอดระยะเวลำรวม 11 ปี รวมทั้งสิ้นอยู่ที่ 2,336,264,218.28 บำท โดยมีอตั รำส่วนผลตอบทำงกำรลงทนุ อยูท่ ่ี 5.54 กล่ำวคือ งบประมำณท่ี สกสว. ลงทนุ ไป 1 บำท จะไดร้ ับ ผลตอบแทนอยทู่ ี่ 5.54 บำท 5.5 การศกึ ษาความเปน็ ไปได้ (Feasibility study) เนื่องจำกในกำรศึกษำนี้เป็นกำรประเมินผลลัพธ์และผลกระทบทำงเศรษฐกิจก่อนเริ่มดำเนินแผน งำนวิจัย (Ex ante) ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อควำมส ำเร็จของแผนงำนนั้นประกอบไปด้วยหลำยปัจจัย เช่น ควำมร่วมมือ อัตรำกำรยอมรับเทคโนโลยี ควำมรู้ควำมสำมำรถของผู้เข้ำร่วมและนักวิจัยในโครงกำรวิจยั สถำนกำรณ์ทำงกำรเงินและเศรษฐกิจของประเทศในขณะนั้น กำรอุบัติของโรคระบำด เป็นต้น ปัจจัยเหล่ำน้ี ล้วนเป็นสิ่งที่เกิดขึน้ ในอนำคตและส่งผลต่อควำมสำเร็จของแผนงำนทั้งสิน้ ฉะนั้นในกำรศึกษำนี้จึงได้ศึกษำถงึ ควำมเป็นไปได้ของแผนงำนวิจัยโดยคำดกำรณ์โอกำสประสบควำมสำเร็จของแผนงำนวิจัยที่ 50% 75% และ 100% แสดงอัตรำผลตอบแทนจำกกำรลงทนุ ได้ดงั ตำรำงท่ี 6 ตารางที่ 6 แสดงกำรศกึ ษำควำมเป็นไปได้ (Feasibility study) ของแผนงำนวิจัย แผนงาน กาไรเฉลยี่ ท่ีเพม่ิ ขนึ้ การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility study) 50.00% 75.00% 100.00% แผนงำนวิจยั ดำ้ นกำรพฒั นำ 15.64% 0.76 1.14 1.52 สง่ เสริมและสนบั สนนุ วิสำหกิจ 35.62% 1.75 2.62 3.5 ฐำนนวตั กรรม 56.45% 2.77 4.16 5.54 6. สรุปผลการศกึ ษา แผนงำนวิจัยด้ำนกำรพัฒนำ ส่งเสริมและสนับสนุนวิสำหกิจฐำนนวัตกรรม (Startup และ SMEs) ได้รับอนุมัติงบประมำณจำก สกสว. 421,500,000 บำท ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 - 2567 ผู้มีส่วนได้
200 ส่วนเสียหลัก คือ วิสำหกิจเริ่มต้น (Startup) และวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อม (SME) แผนงำนวิจัย ดังกล่ำวก่อให้เกิดผลลัพธ์และผลกระทบ กล่ำวคือ วิสำหกิจสำมำรถสร้ำงมูลค่ำเพิ่มจำกกำรใช้นวัตกรรม ด้วยข้อมูลดิจิทัล/ปัญญำประดิษฐ์/วิทยำกำรหุ่นยนต์ เข้ำถึงแหล่งเงินทุนสนับสนุนนวัตกรรม ทำให้ลดควำม เหลื่อมล้ำในกำรเข้ำถึงบริกำรจำกระบบนิเวศนวัตกรรมในระดับภูมิภำค ก่อให้เกิดกำรยกระดับศักยภำพ เพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของวิสำหกิจจำกกำรเปลี่ยนแปลงจำกวิสำหกิจแบบดั้งเดิมสู่วิสำหกิจ ฐำนนวัตกรรม กำรประเมินผลลัพธ์และผลกระทบที่เกิดจำกแผนงำนวิจัยนี้จะพิจำรณำจำกกำไรที่เพิ่มขึ้น ของวิสำหกิจ โดยอ้ำงอิงผลกำรศึกษำในธุรกิจฐำนนวัตกรรมจำกต่ำงประเทศเนื่องจำกข้อจำกัดด้ำนข้อมูล ของไทย ผลกำรประเมินพบว่ำ กำไรที่เพิ่มขึ้นของวิสำหกิจฐำนนวัตกรรมสำมำรถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คอื กลุม่ ผลกระทบตำ่ (15.64%) กลุ่มผลกระทบปำนกลำง (35.62%) และกลุ่มผลกระทบสูง (56.45%) ฉะนนั้ เมื่อนำอัตรำผลกำไรที่เพิ่มขึ้นดังกล่ำวมำใช้กับข้อมูลวิสำหกิจของไทยที่พยำกรณ์โดยใช้แบบจำลอง ARIMA แบบมีอิทธิพลของฤดูกำล พบว่ำ ผลประโยชน์รวมที่เกิดขึ้นสำหรับกลุ่มผลกระทบต่ำ ปำนกลำง และสูง คอื 639,834,274.84 1,474,391,723.21 และ 2,336,264,218.28 บำท ตำมลำดับ ทำให้อัตรำผลตอบแทน จำกกำรลงทุน (ROI) ของแผนงำนวิจัยนี้ มีค่ำอยู่ระหว่ำง 1.52-5.54 กล่ำวคือ งบประมำณที่ สกสว. ลงทุน 1 บำท จะได้รบั ผลตอบแทนจำกกำรลงทุนกลบั มำต่ำสุดอยู่ที่ 1.52 บำท และ สูงสดุ อยู่ท่ี 5.54 บำท ดังนั้นจำกกำรอนุมัติงบประมำณของ สกสว. ในแผนงำนด้ำนกำรพัฒนำส่งเสริม และสนับสนุน วิสำหกิจฐำนนวัตกรรมระดับวสำหกิจเริ่มต้น (Startup) และวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อม (SME) โดยกำรรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และประเมินควำมคุ้มค่ำของกำรลงทุนด้ำน ววน. ด้วยกำรคำดกำรณ์ ผลกระทบทำงเศรษฐกิจและสังคมในอนำคต (Ex-ante) ทำให้ทรำบว่ำกำรลงทุนของ สกสว. เกิดควำมคุ้มค่ำ ในกำรลงทุนสำหรับกำรพัฒนำวสิ ำหกิจฐำนนวัตกรรมอนั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ กำรพัฒนำและขับเคลื่อนประเทศ ตำมยทุ ธศำสตร์ทีป่ ระเทศได้กำหนดไว้ เอกสารอา้ งอิง ภูมิฐำน รงั คกลู นุวัฒน์. 2556. กำรวเิ ครำะห์อนกุ รมเวลำสำหรับเศรษฐศำสตรแ์ ละธุรกิจ. กรงุ เทพฯ: สำนกั พมิ พ์แหง่ จุฬำลงกรณ์มหำวทิ ยำลัย อนุธดิ ำ อนนั ตท์ รัพย์สขุ , นทั กลุ วำนิช. 2560. กำรเปรียบเทยี บตัวแบบอนุกรมเวลำแบบผสมสำหรบั กำรพยำกรณ์ข้อมูลอนุกรมเวลำท่ีมปี ัจจยั เชงิ ฤดูกำล. กำรประชุมวิชำกำรและนำเสนอผลงำนวิชำกำร ระดับชำติ UTCC Academic Day ครงั้ ที่ 2. University of the Thai Chamber of Commerce, หน้ำ 1824-1836 Arunachalam, S., Ramaswami, S. N., Herrmann, P., & Walker, D. 2018. Innovation pathway to profitability: The role of entrepreneurial orientation and marketing capabilities. Journal of the Academy of Marketing Science, 46(4), 744-766.
The 1st National Conference on SROI 201 Centobelli, P., Cerchione, R., & Singh, R. 2019. The impact of leanness and innovativeness on environmental and financial performance: Insights from Indian SMEs. International Journal of Production Economics, 212, 111-124. Huang, H. C., Lai, M. C., Kao, M. C., & Chen, Y. C. 2012. Target costing, business model innovation, and firm performance: An empirical analysis of Chinese firms. Canadian Journal of Administrative Sciences/Revue Canadienne des Sciences de l'Administration, 29(4), 322-335. Kocak, A., Carsrud, A., & Oflazoglu, S. 2017. Market, entrepreneurial, and technology orientations: impact on innovation and firm performance. Management Decision. Kostka, G., Moslener, U., & Andreas, J. 2013. Barriers to increasing energy efficiency: evidence from small-and medium-sized enterprises in China. Journal of Cleaner Production, 57, 59-68. Blanchet, N. Immigrant-led SME Exporters in Canada. Lin, L. 2013. The impact of service innovation on firm performance. The Service Industries Journal, 33 (15-16), 1599-1632. Mai, A. N., Van Vu, H., Bui, B. X., & Tran, T. Q. 2019. The lasting effects of innovation on firm profitability: panel evidence from a transitional economy. Economic research- Ekonomska istraživanja, 32(1), 3411-3430. Manual, O. 2005. Guidelines for collecting and interpreting innovation data. Perricone, P. J., Earle, J. R., & Taplin, I. M. 2001. Patterns of succession and continuity in family-owned businesses: Study of an ethnic community. Family Business Review, 14(2), 105-121. Rosenbusch, N., Brinckmann, J., & Bausch, A. 2011. Is innovation always beneficial? A meta- analysis of the relationship between innovation and performance in SMEs. Journal of business Venturing, 26(4), 441-457. Vincent Reillon. 2016. EU Innovation Policy Part: III (EU policies and instruments supporting innovation). European Parliamentary Research Service. European Union.
202 Wee, J. C., & Chua, A. Y. 2013. The peculiarities of knowledge management processes in SMEs: the case of Singapore. Journal of knowledge management. Zhang, S., Yang, D., Qiu, S., Bao, X., & Li, J. 2018. Open innovation and firm performance: Evidence from the Chinese mechanical manufacturing industry. Journal of Engineering and Technology Management, 48, 76-86.
The 1st National Conference on SROI 203 การประเมินผลกระทบทางเศรษฐกจิ ของแผนงานวจิ ัยด้านการรเิ ร่ิมการวิจยั ขัน้ แนวหน้าประเทศไทย ปี 2563 - 2566 วรพล ยะมะกะ1*, ชัยวฒั น์ กลิ่นลำภู1, รงุ้ ระพี ผดั กนั ทำ1, วิรญั ญำ ปนั ตุ่น1 1ศนู ยค์ วามเปน็ เลิศเศรษฐมิติ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ *Corresponding author E-mail: [email protected] บทคดั ยอ่ ในกำรศึกษำนี้จะทำกำรประเมินผลกระทบทำงเศรษฐกิจของแผนงำนวิจัยด้ำนกำรริเริ่มกำรวิจัย ขั้นแนวหน้ำประเทศไทย ปี 2563 - 2566 โดยใช้แนวคิดของ Ex-ante ซึ่งเป็นกำรประเมินไปในอนำคต นอกจำกน้ใี นกำรประเมนิ ครงั้ น้ีได้ใชแ้ นวคิดท้ังเชิงปรมิ ำณและเชงิ คณุ ภำพมำวเิ ครำะหผ์ ลกระทบทำงเศรษฐกิจ ที่น่ำจะเกิดขึ้นและจำกกำรประเมินผู้วิจัยพบว่ำผลกระทบของแผนงำนนี้ จะส่งผลกระทบไปยังอุตสำหกรรม ในอนำคตมำกกว่ำจะเป็นอุตสำหกรรมที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งก็คือ (1) Quantum Computing (2) Space Technology (3) High Energy Physics (4) Advanced Materials (5) Food for the Future และ (6) Advanced Medical Research และจำกผลกำรประเมินภำยใตแ้ นวคิดของ Gartner's Hype พบว่ำ ROI ของแผนจะอยู่ระหวำ่ ง 2.89-5.699 เทำ่ แตถ่ ้ำทำกำรประเมนิ ภำยใต้ควำมเห็นของผู้เชียวชำญ พบว่ำ ROI ของแผนจะอยรู่ ะหว่ำง 4.488-8.976 เทำ่ 1. บทนา กำรวิจัยขั้นแนวหน้ำเป็นงำนวิจัยที่นำไปสู่กำรค้นพบสิ่งใหม่ (New discovery) กำรทำสำเร็จ เป็นครั้งแรกในโลก (First in class) หรือกำรสรำ้ งส่ิงที่ดที ่สี ุดในโลก (Best in class) งำนวิจยั ข้นั แนวหน้ำไม่ได้ จำกัดอยู่ที่เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ไม่ได้จำกัดขอบเขตทำงภมู ิศำสตร์ สิ่งแวดล้อมหรือวัฒนธรรม แต่อยู่ที่เจตนำรมณ์ และควำมปรำรถนำที่จะทำ โดยมีเป้ำหมำยสำคัญ คือ “ควำมมุ่งมั่นที่จะไปสู่ควำมเป็นเลิศ” ซึ่งถึงแม้ว่ำ งำนวิจัยแนวใหมน่ ้จี ะถอื วำ่ เป็นเร่ืองใหมใ่ นประเทศไทยแต่ในต่ำงประเทศนนั้ ได้มีกำรพัฒนำงำนวิจัยในลักษณะ นี้และมีกำรต่อยอดนำไปใช้ได้จริงและได้มีกำรใช้งำนวิจัยชั้นแนวหน้ำเป็นเครื่องมือเพื่อนำไปสู่กำรเป็นผู้นำ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในด้ำนที่จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม เช่น สหรัฐอเมริกำมีกำรพัฒนำ ด้ำนอวกำศหรือในจีนที่กำรพัฒนำเทคโนโลยี AI และควอนตัม และในจีนที่มีกำรพัฒนำนวัตกรรม
204 ด้ำนอุตสำหกรรมและยำอยู่ตลอดเวลำ ดังนั้น นวัตกรรมเหล่ำน้ี จึงมีกำรไหลล้นของเทคโนโลยีไปในในเชิง พำณชิ ย์และอุตสำหกรรม ทำใหเ้ กดิ กำรสร้ำงมูลค่ำเพ่ิมทำงเศรษฐกิจมำกมำยและจำกกำรรำยงำนของ World Economic Forum (2020) พบวำ่ แนวโนม้ กำรใช้เทคโนโลยีขั้นแนวหน้ำมจี ำนวนมำกขน้ึ อย่ำงมำกในปี 2568 และนำมำสู่แนวโน้มกำรจ้ำงงำนในอุตสำหกรรมเหล่ำนี้ที่จะเพิ่มขึ้นในอนำคต สำหรับประเทศไทยจึงมีกำร กำหนดยุทธศำสตร์กำรพัฒนำงำนวจิ ยั ช้นั แนวหนำ้ เพ่ือเปลีย่ นบทบำทไปสูก่ ำรเปน็ ประเทศผนู้ ำและเปน็ เจ้ำของ เทคโนโลยใี นดำ้ นท่ีมีศักยภำพในกำรสร้ำงผลกระทบทำงเศรษฐกิจและสังคมสูง โดยมีเปำ้ หมำยเชงิ ยุทธศำสตร์ ดงั ต่อไปน้ี 1. สร้ำงควำมเป็นเลิศเพื่อคนไทย: พัฒนำองค์ควำมรู้ด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีที่เหมำะสม กบั ลักษณะเฉพำะของคนไทย เพ่ือให้เกดิ ควำมสอดคลอ้ งดำ้ นพันธกุ รรม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมไทย 2. สร้ำงควำมเป็นเลิศเพื่อควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน: เป็นผู้นำด้ำนเทคโนโลยีที่เป็นโจทย์ท้ำทำย ของโลก นำไปสูก่ ำรเปน็ เจำ้ ของเทคโนโลยแี ละผ้สู ่งออกเทคโนโลยที ต่ี อบสนองกบั ควำมต้องกำรของโลก 3. สร้ำงควำมเป็นเลิศเพื่อควำมมั่นคงของประเทศ: เพิ่มศักยภำพในกำรรับมือภัยคุกคำมอันเกิดจำกกำร พัฒนำเทคโนโลยแี ละสร้ำงโอกำสในกำรก้ำวกระโดดไปส่กู ำรเป็นผูน้ ำดำ้ นวิทยำศำสตร์ สำมำรถพึ่งพำตัวเองได้ ในยคุ ที่มีกำรเช่ือมโยงระหวำ่ งประเทศในทุกมติ ขิ องเศรษฐกิจและสังคม ในกำรขับเคลื่อนงำนวิจัยชั้นแนวหน้ำเพื่อนำไปสู่กำรสร้ำงผลกระทบทำงเศรษฐกิจและสังคม หน่วยงำนรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องดำเนินกำรพัฒนำระบบนิเวศเพื่อสนับสนุนกำรพัฒนำงำนวิจัยชั้นแนวหน้ำ และพฒั นำแผนทน่ี ำทำงกำรพัฒนำงำนวจิ ยั ชั้นแนวหนำ้ โดยเน้นไปในประเดน็ ดังต่อไปน้ี คือ 1. กำรพฒั นำระบบนิเวศสนบั สนนุ กำรพฒั นำงำนวจิ ัยชัน้ แนวหนำ้ คือ กำรจัดกำรทุนด้ำนกำรพัฒนำกำลังคนและทุนด้ำนกำรพัฒนำสถำบันอุดมศึกษำ กำรวิจัยและกำรสร้ำง นวัตกรรม (บพค.) ดำเนินกำรออกแบบ Flagship Program สำหรบั กำรวจิ ยั ชน้ั แนวหน้ำในหวั ขอ้ ท่ีถกู คัดเลือก เช่น Quantum Computing รวมทั้งออกแบบ Seed Program เพื่อสนับสนุนกำรพัฒนำงำนวจิ ัยชั้นแนวหน้ำ ในเรอื่ งท่อี ำจจะมคี วำมสำคญั ในอนำคต (Dhawan, Gupta, and Bhusan, 2018). 2. กำรพัฒนำแผนทีน่ ำทำงกำรพัฒนำงำนวิจยั ช้ันแนวหนำ้ สอวช. ร่วมกับเครือข่ำยเชี่ยวชำญอยู่ระหว่ำงกำรจัดทำแผนที่นำทำงกำรพัฒนำงำนวิจัยชั้นแนวหน้ำในด้ำน ( 1) Quantum Computing (2) Space Technology (3) High Energy Physics (4) Advanced Materials (5) Food for the Future และ (6) Advanced Medical Research ในกำรนี้ เพื่อวิเครำะห์ควำมคุ้มค่ำของงำนวิจัยและแผนงำนที่เสนอขอรับงบประมำณเพื่อสนับสนุน กำรชี้แจงด้ำนงบประมำณต่อกรรมำธิกำรงบประมำณและรัฐสภำ ประจำปีงบประมำณ 2565 สำนักกลยุทธ์ แผนและงบประมำณ ด้ำนกำรวิเครำะห์แผนและงบประมำณ ได้ทำกำรคัดเลือกแผนงำนต่อเนื่องที่คำดว่ำ จะมีผลกระทบสูงและแผนงำนใหม่ที่โดดเด่น จำนวน 32 แผนงำนและหนึ่งในนั้น คือ แผนงานวิจัยด้านการ ริเรม่ิ การวจิ ัยขั้นแนวหน้าประเทศไทย ปี 2563 - 2566 ดังน้นั ในกำรวจิ ัยฉบับน้ี จึงต้องกำรศึกษำแผนงำนน้ี พร้อมกับรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องและประเมินควำมคุ้มค่ำของกำรลงทุนวิจัยด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัย
The 1st National Conference on SROI 205 และนวัตกรรม (ววน.) ด้วยกำรคำดกำรณ์ผลกระทบทำงเศรษฐกิจและสังคมในอนำคต (ex-ante) ซึ่งผลกำร ประเมินนี้จะใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนกำรชี้แจงด้ำนงบประมำณต่อกรรมำธิกำรงบประมำณและรัฐสภำ และเป็นข้อมูลฐำนสำหรับสำนักติดตำมประเมินผลในกำรเปรียบเทียบกับผลลัพธ์และผลกระทบที่จะประเมิน ได้หลังสิ้นสุดโครงกำร (Ex-post evaluation) เพื่อยืนยันผลลัพธ์และผลกระทบของกำรจัดสรรเงินทุน ววน. ตอ่ ไป ในกำรศกึ ษำน้ี เรำจะทำกำรประเมนิ ผลกระทบทำงเศรษฐกจิ ของ “แผนงำนวิจัยดำ้ นกำรริเร่มิ กำรวิจัย ขั้นแนวหนำ้ ประเทศไทย ปี 2563 - 2566” เพื่อที่จะประเมินควำมคุ้มค่ำของกำรลงทุนด้ำนกำรวจิ ยั ของ ววน. โดยในกำรประเมินครั้งนี้ผู้วิจัยจะทำกำรประเมินภำยใต้แนวคิดของ ex-ante และในประเมินหำผลตอบแทน กำรลงทุน (return of investment: ROI) นั้นผู้วิจัยได้เสนอแนวคิดทั้งกำรประเมินเชิงคุณภำพและกำร ประเมินที่ใชค้ วำมเหน็ จำกผเู้ ชียวชำญเพือ่ ให้ได้ผลกำรศกึ ษำท่ีเข้ำใกลค้ วำมเป็นจริงและนำ่ เช่ือถือได้มำกทส่ี ุด
206 Process Ou 2. Impact pathway บทควำมว Input ท่ีไดร้ ับกำร ในวำรสำรร สกสว. 596,706,289.00 Q1 และ สนบั สนนุ งบประมำณ จดั ทำระบบในกำร องคค์ ในแผนงำน สรำ้ งและสนบั สนุน Platform 1 เสน้ ทำงอำชีพนักวิจัย และควำมตอ่ เนื่อง ของกำรวจิ ยั รปู ท่ี 1 Impact path
utput Outcomes วชิ ำกำร พื้นทีไ่ ดร้ บั ประโยชน์: ท้ังประเทศ รตพี มิ พ์ นักวิจยั (ปรญิ ญาเอก) ระดบั ชำติ ะ Q2 • ไดร้ บั กำรจำ้ งงำนจำกอุตสำหกรรมต่ำง ๆ นักศึกษาบัณฑติ ศึกษา (ปรญิ ญาโท) ควำมรู้ • ไดร้ ับกำรจำ้ งงำนจำกอตุ สำหกรรมต่ำง ๆ สถาบันการศกึ ษา/ศูนยว์ ิจยั • นวัตกรรม/ระบบตน้ แบบสำหรบั พฒั นำทกั ษะแรงงำน ที่สำมำรถตอบสนองควำมต้องกำรของอตุ สำหกรรม ต่ำง ๆ • ศกั ยภำพของนกั วิจยั และนักศกึ ษำเพม่ิ ข้นึ • กำรเขำ้ มำมสี ่วนรว่ มนักวจิ บั ชน้ั นำท่ัวโลก ภาคอุตสาหกรรม (1) Quantum Computing (2) Space Technology (3) High Energy Physics (4) Advanced Materials (5) Food for the Future และ (6) Advanced Medical Research hway ของแผนงำนวิจัย
The 1st National Conference on SROI 207 3. วธิ ีกำรศึกษำ 3.1 Input, Outcome และ Impact ในกำรประเมินนี้ผู้วิจัยจะทำกำรประเมินข้อมูลทั้งทำงตรงและทำงอ้อม กล่ำวคือ เรำจะทำกำรเก็บ ข้อมูลจำกกำรทบทวนงำนวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมำใช้เป็นข้อมูลอ้ำงอิงในกำรประมำณและเก็บข้อมูลที่จะใช้ โดยตรงในกำรประมำณผลกระทบ ซึ่งในกำรศึกษำนี้ ผู้วิจัยจะทำกำรประเมินผลกระทบของ “แผนงำนวิจัย ด้ำนกำรริเริ่มกำรวิจัยขั้นแนวหน้ำประเทศไทย” ดังนั้นในกำรประเมินครั้งนี้ ข้อมูลที่ใช้จะประกอบไปด้วย ปัจจัยนำเข้ำ (Input) ผลผลิต (Outcome) และผลกระทบ (Impact) โดยข้อมูลในแต่ละส่วนจะสำมำรถ พิจำรณำได้ดังน้ี 1) ปัจจัยนำเข้ำ (Input) คือ พิจำรณำจำกงบประมำณของแผนงำนทั้งหมดตลอดระยะโครงกำร ซ่ึงมีงบประมำณท้งั หมด 596,706,289 บำท โดยเปน็ ข้อมูลทีร่ ะบุไว้ในแผนงำน 2) ผลผลิต (Outcome) คือ องค์ควำมรู้และผลงำนตีพิมพ์ 10 เรื่อง โดยเรำทำกำรหำข้อมูล ผลกำรตพี มิ พ์ท่ที เี่ กยี่ วขอ้ งในแต่ละอุตสำหกรรมผำ่ นท่ัวโลก โดยขอ้ มูลมำกจำกฐำนข้อมลู Scopus 3) ผลลัพธ์ Impact คือ อุตสำหกรรมเป้ำหมำยประกอบไปด้วย (1) Quantum (2) Space Technology (3) High Energy Physics (4) Advanced Materials (5) Food for the Future และ (6) Advanced Medical Research 3.2 แนวทางการประเมนิ ในกำรประเมินครั้งนี้ เรำจะทำกำรประเมินมูลค่ำทำงเศรษฐกิจของบทควำมวิจัยที่ตีพิมพ์ใน Scopus ซ่ึงเป็นฐำนขอ้ มูลท่ไี ดร้ ับกำรยอมรบั อย่ำงมำกและบทควำมที่ตีพิมพ์จะที่อยู่ในฐำนนี้จะถูกประเมินให้มีคุณภำพ ที่ดี ดังนั้นในกำรประเมินผลกระทบทำงเศรษฐกิจของบทควำมหรือองค์ควำมรู้ ผู้วิจัยได้ใช้แบบจำลองสมกำร ถดถอยเชิงเสน้ (linear regression) และประมำณสมกำรได้ดงั น้ี Quantum Space Energy Material Food Medical GDP = + P + P + P + P + P + Pt 0 1 t−q1 2 t−q2 3 t−q3 4 t−q4 5 t−q5 6 t−q6 (1) + 7 Invt + 7Cont + 8Capt + t โดยที่ GDPt คือ Gross Domestic Product ของโลก (ดอลลำร์ สรอ.) PQuantum คือ จำนวนบทควำม t−q2 ในสำขำ Quantum (ชิ้น) ณ เวลำ t-q1, PSpace คือ จำนวนบทควำมในสำขำ Space (ชิ้น) ณ เวลำ t-q2, 2 t−q2 PEnergy คือ จำนวนบทควำมในสำขำ Energy (ชิ้น) ณ เวลำ t-q3, PMaterial คือ จำนวนบทควำมในสำขำ t −q3 t−q4 Material (ชิ้น) ณ เวลำ t-q4, Invt คือ กำรลงทุนทำงตรง ณ เวลำ t, Cont คือ กำรบริโภค ณ เวลำ t และ Capt คอื กำรสะสมทุน ณ เวลำ t,
208 สมมุติฐำนในงำนวิจยั และข้นั ตอนในกำรประเมินดงั นี้ 1. เนื่องจำกผลงำนวิจัยขั้นแนวหน้ำของไทยยังมีอยู่อย่ำงจำกัด ดังนั้น ผู้วิจัยเลยประเมินผลกระทบ ของบทควำมวจิ ัยในภำพรวมเท่ำน้ัน โดยพจิ ำรณำจำกภำพรวมของโลกและถือผลกระทบทำงเศรษฐกิจในกรณี ของประเทศไทยน่ำจะใช่คำ่ เฉลย่ี ของโลกแทนได้ 2. ในกำรประเมินผลกระทบของแต่ละบทควำมในอุตสหกรรมนั้น เรำจะต้องค ำนึงถึงผลกระ ทบ ที่เป็นทำงตรงเท่ำนั้น โดยไม่คิดถึงอิทธิพลของปัจจัยอื่น ๆ ที่เข้ำมำส่งผลกระทบในภำยหลัง ดังนั้นผู้วิจัย จึงทำกำรแยกย่อยอิทธิพลของกำรวิจัยโดยใช้วีธีกำรแยกย่อยของแชปลีย์ Shapley decomposition (Deutsch, , Noel Pi Alperin และ Jacques, 2018) โดยวิธีกำรนี้จะทำให้เรำแยกย่อยผลกระทบที่ทำงตรง ของปัจจัยหนึ่งต่ออีกปัจจัยหนึ่งว่ำคิดเป็นสัดส่วนเท่ำไหร่ (Broto, Bachoc, and Depecker, 2020) ดังน้ัน ผลกระทบทำงเศรษฐกิจทแ่ี ท้จริงของบทควำมวิจัยควรจะมเี ท่ำกบั Impacti = i w1 (2) โดยที่ w1 คือน้ำหนักของผลกระทบของงำนวิจัยที่ประมำณจำกวีธีกำรแยกย่อยของแชปลีย์ โดยในกำรวิจัยน้ี วจิ ยั พจิ ำรณำวำ่ มลู ค่ำเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมเกดิ จำก GDPtTh = f (RDtTh; w1,TradetThai; w2,ContTh; w3,GovtTh; w4, InvtTh; w5) (3) โดยท่ี GDPtTh คือ รำยได้ประชำชำตขิ องไทย ณ ปีที่ t, RDtTh คอื เงนิ ลงทนุ ดำ้ นกำรวิจัยของไทย ณ ปที ่ี t, TradetThai คือ รำยได้จำกกำรค้ำระหว่ำงประเทศของไทย ณ ปีที่ t, ContTh คือ กำรบริโภคภำนในประเทศ ของไทย ณ ปีที่ t, GovtTh คือ รำยจ่ำยรัฐบำลของประเทศของไทย ณ ปีที่ t, InvtTh คือ รำยจ่ำยรัฐบำล ของประเทศของไทย ณ ปีที่ t, w คือ น้ำหนักของผลกระทบมคี ่ำระหำ่ ง 0-1 โดยในกำรศกึ ษำน้ี เรำพิจำรณำ เฉพำะ w1 ซึง่ สำมรถคำนวณไดจ้ ำก
The 1st National Conference on SROI 209 w1 = 2 ( LR(w2 , w3 , w4 , w5 0) − LR(w2 = 0; w3, w4 , w5 0)) 8 + 1 (LR(w2 0, w3 0; w4 , w5 = 0) − LR(w2 = 0; w3, w4 , w5 0)) 8 + 1 (LR(w2 0; w3, w4 0, w5 = 0) − LR(w2 = 0, w3 = 0, w4 , w5 0)) (4) 8 + 1 (LR(w2 0, w3 0; w4 = 0, w5 0) − LR(w2 = 0, w3 0; w4 , w5 = 0)) 8 + 1 (LR(w2 0, w3, w4 = 0; w5 0) − LR(w2 = 0, w3 0, w4 = 0, w5 = 0)) 8 + 2 (LR(w2 0, w3, w4 , w5 = 0) − LR(w2 , w3, w4, w5 = 0)) 8 โ ด ย ท่ี LR ค ื อ likelihood ratio ข อ ง ส ม ก ำ ร ถ ด ถ อ ย ท ี ่ ม ี ก ำ ร จ ำ ก ั ด แ ล ะ ส ม ก ำ ร ไ ม ่ จ ำ กั ด เช่น LR(w2 0, w3, w4, w5 = 0) คือ likelihood ของสมกำรถดถอยที่กำหนดให้ weight ของตัวแปร RDtTh ไมเ่ ปน็ ศนู ยแ์ ต่ตวั แปรอืน่ เปน็ ศูนย์ (สมกำรจำกดั ) และ likelihood ของสมกำรถดถอยที่ไม่มกี ำรจำกัด สมกำรข้ำงต้นเป็นไปตำมสมมุติฐำนในกำรประมำณรำยได้ประชำชำติของไทยและในกำรวิเครำะห์น้ี จะทำให้เรำทรำบได้ว่ำองค์ประกอบหรือสัดส่วนของผลกระทบทำงเศรษฐกิจที่แท้จริงของของงำนวิจัยได้ น่ันคือ w1 3. เนื่องจำกงำนวิจัยขั้นแนวหน้ำและกำรนำไปใช้เชิงพำณิชย์และอุตสำหกกรมของไทยยังไม่ชัดเจน ดังนั้น ในงำนวิจัยนี้ผู้วิจัยทำกำรพยำกรณ์ผลกระทบของงำนวิจัยขั้นแนวหน้ำว่ำควรจะมีผลต่อภำคเศรษฐกิจ จริงเมื่อใด ดังนั้นในกำรศึกษำนี้วิธีกำร Genetic algorithm (Bangalore, Shaffer, Small and Arnold, 1996) มำทำกำรคัดเลือก lag หรือควำมล่ำทีเ่ หมำะสมทจ่ี ะประเมินระยะเวลำท่ีกำรวิจยั แนวหน้ำน้ีจะนำไปใช้ ประโยชน์ได้จริงและเกิดผลกระทบเชิงพำณิชย์และเมื่อเลือก lag ที่เหมำะสมได้แล้วเรำจึงทำกำรคำดกำรณ์ กำรยอมรบั เทคโนโลยหี รอื adoption rate ของผลงำนทัง้ 10 องคค์ วำมร้นู ี้ 4. Adoption rate ของงำนวิจยั น้จี ะทำกำรประเมินภำยใต้กรอบแนวคิด 2 แนวคิด ดงั น้ี 4.1 กำรคำดกำรณ์ตำมภำยใต้ทฤษฎีกำรยอมรับเทคโลยีใหม่ คือ Gartner's Hype Cycle (Jarvenpaa, Makinen, 2008). รูปท่ี 2 วัฐจักรของกำรยอมรับเทคโนโลยี ต้งั แต่มกี ำรตีพิมพ์ผลงำน (Hype Cycle)
210 จำกรูปที่ 2 แสดงวัฐจักรของกำรยอมรับเทคโนโลยีหรือ Hype Cycle ซึ่งจะทำกำรแบ่งระยะของกำรส่งผ่ำน เทคโนโลยีจนกระทัง้ ถึงกำรถูกนำไปใช้ ได้ทั้งหมด 5 ระยะ คือ ระยะที่ 1 technology trigger คอื ระยะท่มี กี ำรเปิดตัวเทคโนโลยีใหมแ่ ละไดร้ ับกำรสนใจจำกตลำด ระยะที่ 2 the peak of inflated expectations คือ ระยะที่กำรตีพิมพ์ผลงำนกันอย่ำงมำก และในวงกวำ้ งแต่ยังไม่สำมำรถนำเทคโลยนี ้นั เขำ้ สูอ่ ตุ สำหกรรมหรือเชิงพำณชิ ยไ์ ด้ ระยะที่ 3 Trough of Disillusionment คอื ระยะกำรชะงักงันของเทคโนโลยอี นั เนื่องจำกกำรที่มีกำร ถกเถยี งถึงขอ้ ดี ข้อเสยี ของเทคโนโลยี ระยะที่ 4 Slope of Enlightenment คือ ระยะกำรมีกำรศึกษำและพบถึงข้อดีและข้อเสีย ของเทคโลยเี รียบร้อยแล้วและมีกำรเรม่ิ นำมำใชเ้ ป็นครง้ั แรก ระยะที่ 5 the plateau of productivity คือ ระยะที่มีประชำชนและสำธำรณชนยอมรับ ในเทคโนโลยีใหม่นี้และเรม่ิ ถำ่ ยทอดเทคโนโลยีเข้ำสู่อุตสำหกรรมและพำณิชย์ ซง่ึ จำกกำรประมำณเบ้ืองต้นผวู้ จิ ยั มีควำมเหน็ ว่ำแผนงำนวจิ ยั ทที่ ำกำรประเมนิ นำ่ จะอยรู่ ะยะท่ี 4 แล้ว ดังนั้นในระยะที่ 4 นี้ ผู้วิจัยใช้กำรคำดกำรณ์ของผู้วิจัยและผู้เชี่ยวชำญร่วมกับผลกำรประมำณทำงเศรษฐมิติ Genetic algorithm และ sigmoid function ซึ่งฟังก์ชั่นนี้สำมำรถเขียนได้ดังสมกำรดังต่อไปนี้ (Martino, 2003) f (t) = (1 + K (5) e )−a(t−T0 ) โดยที่ K คือ ระดับกำรยอมรับเทคโนโลยีสูงสุด a คือ ควำมชัน และ T0 คือ จุดหักหรือจุดที่เทคโนโลยี น่ำจะ stable แล้ว และ t คือ ช่วงระยะเวลำที่ทำกำรประเมินผลกระทบ ซึ่งในกรณีนี้เรำที่ 20 ปี (Parlings, Klingebiel, Oschmann, 2016) เน่อื งจำกเป็นระยะเวลำท่นี ่ำจะมีเทคโนโลยใี หมเ่ ข้ำมำแทนที่หรือกำรพัฒนำ ไปอีกระดับขั้นหนึ่งแล้วและในกำรประมำณตัวพำรำมิเตอร์ในสมกำรที่ 4 เรำสำมำรถใช้กำรอ้ำงอิง จำกงำนวิจัยในอดีตและจำกผู้เชี่ยวชำญหรือจำกกำรประมำณด้วยแบบจำลองทำงคณิตศำสตร์ (Järvenpää และ Mäkinen, 2008) คอื T (6) Min f (tt ) − Pti t =1 s.t. f (tt ) = (1 + K −T0 ) ) e − a ( tt โดยที่ Pti คือ จำนวนบทควำมที่ได้รับกำรตีพิมพ์ของอุตสำหกรรม i ณ เวลำ t Parlings, Klingebiel และ Oschmann (2016) กล่ำวว่ำ กำรใช้จำนวนบทควำมที่ได้รับกำรตีพิมพ์จะสำมำรถสะท้อนถึงควำมสนใจ
The 1st National Conference on SROI 211 ของเทคโลยีใหม่นี้ว่ำเป็นอย่ำงไรและเรำสำมำรถพยำกรณ์ถึงกำรยอมรับอนำคตภำยใต้แนวโน้มของบทควำม ตีพิมพ์ ดังน้นั ภำยใตแ้ นวคดิ น้ี ผวู้ จิ ัยมมี ุมมองว่ำผลงำนตพี ิมพ์หรือผลผลติ ของแผนงำนนไ้ี มถ่ ูกนำไปใช้พร้อมกัน แตจ่ ะมแี นวโน้มกำรถกู นำไปใชเ้ รือ่ ย ๆ 4.2 กำรคำดกำรณ์ตำมภำยใต้ควำมเหน็ ของผู้เชีย่ วชำญ ในกำรประเมินผลกระทบของผลงำนวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้รวบรวมแนวคิดเกี่ยวด้ำนกำรยอมรับ และผลกระทบของเทคโนโลยีจำกผู้เชี่ยวชำญและจำกกำรทบทวนวรรณกรรมต่ำง ๆ (Gibbons และ Johnston, 1974; Crane et al.2017; Depa, 2020) ซึ่งมีมุมมองโดยสรุปว่ำเทคโนยีขั้นแนวหน้ำ จะได้รับกำรยอมรับที่สูงมำกและมีแนวโน้มที่สูงต่อเนื่องในอนำคต ดังนั้นกำรเมื่อเรำพิจำรณำที่ผลผลิต ของแผนงำนนี้ เรำจะพบว่ำแผนงำนนี้มีผลผลิตเท่ำกับ 10 องค์ควำมรู้หรือ 10 บทควำมวิจัยขั้นแนวหน้ำ ดังนั้น ผู้วิจัยมีกำรคำดกำรณ์ว่ำองค์ควำมรู้เหล่ำนี้จะนำไปสู่ภำคเศรษฐกิจจริงทั้งหมด ดังนั้น adoption rate ควรกำหนดให้เท่ำกับ 100% แต่อย่ำงไรก็ตำมระยะเวลำที่ถูกนำไปใช้ให้เกิดผลทำงเศรษฐกิจนั้น ผู้วิจัยจะทำ กำรทดสอบระยะเวลำที่เหมำะสม จำกกำรทดสอบควำมล่ำช้ำของผลกระทบหรือ lag length selection จำกกำรคัดเลือกจำก Genetic algorithm และกำหนดให้ Akaike Information Criteria (AIC) เป็นเกณฑ์ ในกำรคัดเลือกเนื่องจำกในกำรประเมินครั้งนี้ มีอุตสำหกรรมที่ได้รับผลกระทบจำกแผนงำนวิจัยนี้อยู่ทั้งหมด 6 อ ุ ต ส ำ ห ก ร ร ม ค ื อ ( 1) Quantum Computing (2) Space Technology (3) High Energy Physics (4) Advanced Materials (5) Food for the Future และ (6) Advanced Medical Research ดงั นน้ั ผู้วิจัย จะทำกำรประเมนิ แยกอตุ สำหกรรมและสมมุติวำ่ ในแตล่ ะอตุ สำหกรรมจะมีองค์ควำมร้สู ูงสุดไม่เกิน 10 เรื่อง 4. ผลการศกึ ษา ตารางที่ 1 ผลกำรประเมินชว่ งระยะเวลำของอทิ ธิผลของผลงำนตพี ิมพ์และองคค์ วำมรตู้ ่อกำรพัฒนำ ทำงเศรษฐกจิ ของโลก AIC ปที ่ี 1 ปที ี่ 2 ปที ่ี 3 ปีท่ี 4 ปีท่ี 5 ปที ่ี 6 ปที ี่ 7 ปที ่ี 8 Quantum 1923.3 1924.1 1919.8 1915.3 1908.6 1905.4 1905.5 1907.26 Space Technology 1913.0 1906.6 1904.7 1902.6 1909.6 1921.6 1932.2 1939.4 High Energy Physics 1996.3 1988.7 1980.0 1974.6 1966.4 1955.5 1942.4 1938.7 Advanced Materials 1936.4 1931.0 1924.5 1920.1 1917.2 1922.9 1924.9 1929.4 Food for the Future 1946.3 1944.9 1944.8 1949.0 1953.0 1955.3 1958.6 1959.6 Advanced Medical 1890.7 1887.1 1890.2 1897.2 1907.3 1921.0 1931.5 1934.0 ในส่วนผลกำรศึกษำส่วนที่แรก ผู้วิจัยจะทำกำรประเมินช่วงเวลำที่ผลงำนวิจัยหรือองค์ควำมรู้ที่สร้ำง ขึ้นสำมำรถที่จะไปต่อยอดจนกระทั่งสำมำรถสร้ำงผลกระทบให้กับเศรษฐกิจได้จริง ซึ่งจำกผลกำรศึกษำ กำรเลือกช่วงเวลำที่เหมำะสมในตำรำงที่ 1 พบว่ำ อุตสำหกรรม Quantum, Space Technology, High
212 Energy Physics, Advanced Materials, Food for the Future และ Advanced Medical จะสำมำรถสรำ้ ง ผลกระทบให้เศรษฐกิจในอีก 6, 4, 8, 5, 3 และ 2 ปีข้ำงหน้ำ ซึ่งผลกำรศึกษำนี้ค่อนข้ำงจะสอดคล้องกับ ผลกำรศึกษำของ Berman (1990) ทก่ี ลำ่ ววำ่ กำรถ่ำยทอดเทคโนโลยีตำ่ ง ๆ มักใช้เวลำประมำณ 5 ปีถงึ จะเห็น ผลทำงเศรษฐกิจ แตอ่ ยำ่ งไรกต็ ำม Gibbons และ Johnston (1974) กลบั พบว่ำกำรถ่ำยทอดและกำรนำไปใช้ ในอุตสำหกรรมอำจตอ้ งใชเ้ วลำถึง 12 ปี ดังนนั้ ผู้วิจัยจึงคอ่ นขำ้ งมน่ั ใจได้วำ่ ผลกำรประเมินนจ้ี ะสำมำรถนำไปใช้ เป็นขอ้ มลู ในกำรประเมิน adoption rate ต่อไปได้ ตารางท่ี 2 ผลกำรประมำณสมกำรถดถอย ค่าสัมประสทิ ธ์ิ ความคาดเคล่อื น คำ่ คงท่ี 1.987e+13*** 3.879e+12 Quantum 2.343e+08*** 6.334e+06 Space Technology 1.434e+9*** 3.213e+07 High Energy Physics 1.456e+9*** 1.228e+08 Advanced Materials 1.899e+9*** 4.672e+07 Food for the Future 2.332e+9*** 1.284e+08 Advanced Medical 2.134e+9*** 4.456e+07 Consumption 0.4080*** 0.1192 Investment 0.0531*** 0.0145 Capital accumulation 0.7121*** 0.0124 หมำยเหตุ: *** มรี ะดับนัยสำคัญที่ 0.01 จำกผลกำรประมำณในตำรำงที่ 2 คอื ผลกำรศึกษำจะแสดงผลกำรประเมินผลกระทบของผลกำรวิจัย หรือผลงำนตีพิมพ์ 1 เรื่อง ซึ่งจะเห็นว่ำผลกำรประมำณแสดงถึงระดับนัยสำคัญที่มีนัยสำคัญและเพื่อให้เป็น กำรงำ่ ยต่อกำรแปลผล ผูว้ ิจัยจะดำเนินกำรแสดงว่ำกำรประมำณให้อยู่ในรูปของเงินดอลลำรแ์ ละเงนิ บำทต่อไป ในคอลัมน์ที่ 2 และ 3 ของตำรำงที่ 2 ซึ่งเรำจะเห็นว่ำตัวเลขผลกระทบทำงเศรษฐกิจของอุตสำหกรรมต่ำง ๆ จะอยู่ระหว่ำง 113,000,000 ดอลลำร์ สรอ. (อุตสำหกรรม Space Technology) จนถึง 239,100,000 ดอลลำร์ สรอ. (อุตสำหกรรม Quantum) ซึ่งผลกำรศึกษำนี้ค่อนข้ำงจะสอดคล้องกับกำรประเมินผลกระทบ ทำงเศรษฐกิจของ Solarin และ Yen (2016) ที่ทำกำรประเมินผลกระทบของผลผลิตทำงกำรวิจัยต่อกำร เจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจและพบว่ำผลกระทบของเศรษฐกิจ 169 ประเทศระหว่ำงปี 2539 - 2556 จะอยู่ระหว่ำง 0.02 - 0.134 % หรือประมำณ 51 - 343 ล้ำนดอลลำร์สรอ. และสำหรับในคอลัมน์ที่ 3 เป็นกำรแปลงผลกระทบให้อยู่ในรปู ของเงนิ บำท แต่อยำ่ งไรกต็ ำมผลกำรประมำณเปน็ ผลทเ่ี กดิ จำกท่ีมีงำนวิจัย เป็นจุดเริ่มต้นจนถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจริงในเศรษฐกิจ ซึ่งผลกระทบด้ำนวิจัยนี้ไม่ใช่ผลกระทบหลักที่นำไปสู่
The 1st National Conference on SROI 213 ผลกระทบที่แท้จริงของงำนวิจัยได้ ในกำรประเมินผลกระทบของแต่ละบทควำมในอุตสหกรรมนั้น เรำจะต้อง คำนึงถึงผลกระที่เป็นทำงตรงเท่ำนั้น โดยไม่คิดถึงอิทธิพลของปัจจัยอื่น ๆ ที่เข้ำมำส่งผลกระทบในภำยหลัง ดังนั้นผู้วิจัยจึงทำกำรแยกย่อยอิทธิพลของกำรวิจัยโดยใช้วีธีกำรแยกย่อยของแชปลีย์ Shapley (Shapley decomposition) โดยวิธีกำรนี้จะทำให้เรำแยกย่อยผลกระทบที่ทำงตรงของปัจจัยหนึ่งต่ออีกปัจจัยหน่ึง ว่ำคดิ เป็นสัดสว่ นเทำ่ ไหร่ (Broto, Bachoc, and Depecker, 2020) และผลได้ถกู แสดงในตำรำงท่ี 4 ซึง่ เรำจะ เห็นวำ่ ขนำดผลกระทบทีแ่ ท้จรงิ ของงำนวจิ ยั ในภำพรวมของประเทศไทยจะอย่ปู ระมำณ 0.1041 หรอื 10.41% ดังนั้น ผู้วิจัยจึงทำกำรแยกย่อยผลกระทบที่จริงของงำนวิจัยแต่ละงำนที่ผลิตได้ ดังแสดงในตำรำงที่ 4 ในคอลมั นท์ ่ี 3 ตารางท่ี 3 ผลกำรประเมนิ ผลกระทบทำงเศรษฐกิจของ 1 องค์ควำมร้ใู นแตล่ ะอตุ สำหกรรมแนวหน้ำ ผลกระทบ/องคค์ วามรู้ ผลกระทบ/องคค์ วามรู้ ผลกระทบสทุ ธิ/องค์ความรู้ (ดอลลาร์ สรอ.) (บาท) (บาท) (ประเมินจากคา่ (ใชค้ า่ เงนิ ท่ี 33 บาท/ (ผลกระทบของงานวิจัยต่อ สัมประสิทธ์ิใน ตารางที่ 3) ดอลลาร์ สรอ.) เศรษฐกจิ คิดเปน็ 10.41 % Quantum 234,300,000 7,731,900,000 ตารางท่ี 4) Space Technology 143,400,000 4,732,200,000 804,890,790 High Energy Physics 145,600,000 4,804,800,000 492,622,020 Advanced Materials 189,900,000 6,266,700,000 500,179,680 652,363,470 Food for the Future 233,200,000 7,695,600,000 801,111,960 Advanced Medical 213,400,000 7,042,200,000 733,093,020 ตารางที่ 4 ผลกำรวเิ ครำะห์กำรแยกย่อยอิทธิพลของตัวแปรทำงเศรษฐกิจและกำรวจิ ยั ของประเทศไทย ตัวแปร Weight bias ความคาดเคลอื่ น 0.1041 0.0086 0.0655 RDtTh 0.0249 0.0498 0.0492 TradetThai 0.2530 -0.0046 0.1059 InvtTh 0.2727 0.0025 0.1231 ContTh 0.1390 0.0219 0.0747 GovtTh หลังจำกที่ทรำบขนำดผลกระทบทำงเศรษฐกิจของผลงำนวิจัยในแต่ละอุตำหกรรมแล้ว ผู้วิจัย จะดำเนินกำรพยำกรณ์ผลกระทบทำงเศรษฐกิจต่อไปโดยพิจำรณำจำก adoption rate ใน 2 แนวทำง คือ กำรคำดกำรณ์ตำมภำยใต้ทฤษฎีกำรยอมรับเทคโลยีใหม่ ของ Gartner's Hype Cycle (ภำพที่ 2)
214 และกำรคำดกำรณ์ตำมภำยใต้กำรทบทวนวรรณกรรมและควำมเห็นของผู้เชี่ยวชำญ (ภำพที่ 3) จำกภำพที่ 2 จะเห็นวำ่ ผลกำรประเมินจำกสมกำรท่ี 5 แสดงใหเ้ ห็นแนวโน้มกำรนำองค์ควำมรู้ท่เี กิดจำกแผนงำนนี้ไปใช้แบบ ค่อยเป็นค่อยไปแต่เนื่องจำกข้อเสนอของ Parlings, Klingebiel, Oschmann (2016) ที่กล่ำวว่ำ ขนำดของ ผลกระทบทำงเศรษฐกิจของำนวิจัยที่ผลิตขึ้นไม่ควรเกิน 20 ปี เนื่องจำกจะมีองค์ควำมรู้ใหม่เข้ำมำแทนท่ี และทดแทนองค์ควำมรู้เก่ำในที่สุด ดังนั้น displacement ของงำนวิจัยจะเกิดขึ้นทันทีเมื่อผ่ำนไป 20 ปี และสำหรับภำพที่ 3 ผู้วิจัยเชื่อว่ำผลกระทบจะเกิดในปีที่แสดงดังตำรำงที่ 1 และผลงำนทั้ง 10 เรื่อง จะถกู นำไปใชใ้ นทันที เนือ่ งจำกเป็นงำนวิจยั ขนั้ แนวหน้ำและเป็นท่ีตอ้ งกำรของประเทศไทย ดงั นนั้ ผวู้ จิ ัยเชื่อว่ำ ผลงำนวิจัยในระดับ Q1 และ Q2 ที่สร้ำงขึ้นภำยใต้แผนงำนน้ีจะถกู นำไปใช้ต่อยอดทั้งหมดและในส่วนสุดท้ำย ผู้วิจัยได้ทำกำรพยำกรณร์ ำยได้และประเมนิ NPV และ ROI ของแตล่ ะอตุ สำหกกรม ดงั แสดงในตำรำงท่ี 5 - 7 adoption rate of quantum(%) adoption rate of Space(%) adoption rate of Energy(%) 20 40 60 80 100 20 40 60 80 100 20 40 60 80 100 0 0 0 5 10 15 20 5 10 15 20 5 10 15 20 Time Time Time (ก) Quantum (ข) Space (ค) Energy adoption rate of Material(%) adoption rate of Food(%) adoption rate of Medical(%) 20 40 60 80 100 20 40 60 80 100 20 40 60 80 100 0 0 0 5 10 15 20 5 10 15 20 5 10 15 20 Time Time Time (ง) Materials (จ) Food (ฉ) Medical รูปท่ี 3 Adoption rate ภำยใต้ Gartner's Hype Cycle
The 1st National Conference on SROI 215 adoption rate of Quantum(%) adoption rate of Space(%) adoption rate of Energy(%) 20 40 60 80 100 20 40 60 80 100 20 40 60 80 100 0 0 0 5 10 15 20 5 10 15 20 5 10 15 20 Time Time Time (ก) Quantum (ข) Space (ค) Energy adoption rate of Materials (%) adoption rate of Food (%) adoption rate of Medical(%) 20 40 60 80 100 20 40 60 80 100 20 40 60 80 100 0 0 0 5 10 15 20 5 10 15 20 5 10 15 20 Time Time Time (ง) Materials (จ) Food (ฉ) Medical รปู ที่ 4 Adoption rate ภำยใต้ควำมเหน็ ของทมี วจิ ยั ตารางท่ี 5 ระดับควำมสำเรจ็ ของ ววน. ภำยใต้ adoption ตำมควำมเห็นของผู้เช่ียวชำญ อตั รำควำมสำเร็จ 100% ผลผลติ 13.22 6.78 50% 75% 8.11 8.65 Quantum 6.61 9.92 12.44 12.29 Space Technology 3.39 5.08 High Energy Physics 4.06 6.08 Advanced Materials 4.32 6.49 Food for the Future 6.22 9.33 Advanced Medical 6.14 9.22
216 ตารางท่ี 6 ระดบั ควำมสำเร็จของ ววน. ภำยใต้ adoption ตำมแนวคิดของ Gartner's Hype Cycle ผลผลติ อัตรำควำมสำเรจ็ 50% 75% 100% Quantum 3.38 5.06 6.75 Space Technology 1.51 2.26 3.02 High Energy Physics 2.06 3.08 4.11 Advanced Materials 1.41 2.11 2.82 Food for the Future 1.56 2.35 3.13 Advanced Medical 2.55 3.83 5.11 ตารางท่ี 7 ระดับควำมสำเร็จของ ววน. โดยรวมเม่ือมกี ำรลงทนุ ในอุตสำหกรรมตำ่ ง ๆ เท่ำกนั อัตราความสาเร็จ 50% 75% 100% ควำมเหน็ ของผ้เู ชย่ี วชำญ 4.49 6.73 8.99 Gartner's Hype Cycle 4.48 6.73 8.97 จำกผลกำรประเมินผลกระทบดว้ ย NPV และ ROI ตำรำงที่ 5 - 7 สำมำรถสรุปได้ดังน้ี คอื เมอื่ พจิ ำณำ Adoption rate ของแนวคิด Gartner's Hype Cycle พบว่ำ ROI ของอุตสำหกรรม Quantum, Space Technology, High Energy Physics, Advanced Materials, Food for the Future แ ล ะ Advanced Medical มีค่ำเท่ำกับ 6.75, 3.01, 4.11, 2.81, 3.12 และ 5.10 เท่ำ ตำมลำดับ แต่เมื่อพิจำณำ Adoption rate ของแนวคิดของทีมวิจัยนั้น พบว่ำ ROI มีค่ำเท่ำกับ 13.22, 6.77, 8.11, 8.64, 12.44 และ 12.28 ตำมลำดับ ผลกำรศึกษำข้ำงต้นเป็นไปตำมที่คำดกำรณ์ เนื่องจำก ROI ของ แนวคิด Gartner's Hype Cycle จะต่ำกว่ำแนวคิดของทำงผู้เชี่ยวชำญ เนื่องจำก Adoption rate ต่ำกว่ำนั่นเอง ทั้งนี้ผู้วิจัยมีควำมเห็นว่ำ ROI ที่ประมำณมำนค้ี ่อนข้ำงทจ่ี ะสอดคล้องกับกำรประเมินขนำดตลำดของอุตสำหกรรมขั้นแนวหน้ำของสำนักงำน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (2564) ที่ทำกำรประเมินว่ำมูลค่ำตลำดเทคโนโลยีสมัยใหม่มีโอกำสเติบโตอย่ำงมำก และเติบโตมำกถึง 4 - 6 เท่ำภำยในปี 2579 ดังนั้นกำรประเมิน แนวคิด Gartner's Hype Cycle น่ำจะเป็น กำรประเมินที่เหมำะสมที่จะสะท้อนผลกระทบทำงเศรษฐกิจของแผนงำนวิจัยด้ำนกำรริเริ่มกำรวิจัย ข้นั แนวหนำ้ ประเทศไทย ปี 2563 - 2566
The 1st National Conference on SROI 217 ในประเด็นสุดท้ำย เนื่องจำกกำรประเมินนี้ผู้วิจัยใช้กำรประเมินโดยสมมุติว่ำแผนงำนนี้ได้ลงทุน ในอุตสำหกรรมใดอุตสำหกกรรมหนึ่งเท่ำนั้น ดังนั้นเพื่อทำกำรประเมินผลตอบแทนในภำพรวม เรำจึงทำกำร กระจำยเงินลงทุนไปยังอุตสำหกรรมต่ำง ๆ ให้เท่ำกันและจำกผลกำรศึกษำพบว่ำ ROI ของแผนมีค่ำเท่ำกับ 2.89 - 5.69 เท่ำ ภำยใต้แนวคิด adoption rate ของ Gartner's Hype แต่ ROI จะเพิ่มขึ้นสูงถึง 4.48 - 8.97 เท่ำ ภำยใต้แนวคิดของผู้เชีย่ วชำญ 5. สรุปผลการศึกษา ในกำรประเมิน แผนงำนวิจัยด้ำนกำรริเริ่มกำรวิจัยขั้นแนวหน้ำประเทศไทย ที่มีเงินลงทุนมำกถึง ทั้งหมด 596,706,289 บำทและมีผลผลิต คือ องค์ควำมรู้ขั้นแนวหน้ำ 10 องค์ควำมรู้ ผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือ ทำงเศรษฐมิติเพื่อทำกำรพยำกรณ์ adoption rate ของงำนวิจัยที่ทำกำรประเมินผลตอบแทนทำงเศรษฐกิจ ของแต่ละองค์ควำมรู้ นอกจำกเครื่องมือเศรษฐมิติและผู้วจิ ยั ยงั ทำกำรทบทวนวรรณกรรมและทำกำรรวบรวม ข้อมูลควำมเห็นของผู้เช่ียวชำญท่ีเกี่ยวข้องกับอุตสำหกรรมแนวหน้ำนี้เพื่อที่จะประเมินทิศ ทำง ของอตุ สำหกรรมทจ่ี ะไดร้ บั ประโยชนจ์ ำกแผนงำนวิจยั นี้ จำกผลกำรศึกษำ ผู้วิจัยทำกำรประเมินออกเป็น 2 แนวทำง คือ ผลตอบแทนจำกกำรลงทุนด้ำนวิจัย ในอุตสำหกรรมใดอุตสำหกรรมหนึ่งและผลตอบแทนรวมโดยเฉลี่ย ซึ่งผลกำรศึกษำในส่วนแรก พบว่ำ เมื่อพิจำณำ Adoption rate ของแนวคิด Gartner's Hype Cycle พบว่ำ ROI ของ อุตสำหกรรม Quantum, Space Technology, High Energy Physics, Advanced Materials, Food for the Future และ Advanced Medical มีค่ำเท่ำกับ 6.75, 3.01, 4.11, 2.81, 3.12 และ 5.10 เท่ำ ตำมลำดับ แต่เมื่อ พิจำณำ Adoption rate ของแนวคิดของทีมวิจัยน้นั พบว่ำ ROI มีค่ำเท่ำกบั 13.22, 6.77, 8.11, 8.64, 12.44 และ 12.28 ตำมลำดับและสำหรับส่วนกำรประเมินในแบบฉำกทัศน์ท่ี 2 คือ กำรกระจำยเงินลงทุนไปยัง อุตสำหกรรมต่ำง ๆ ให้เท่ำกัน พบว่ำ ROI ของแผนมีค่ำเท่ำกับ 2.89 - 5.69 เท่ำ ภำยใต้แนวคิด adoption rate ของ Gartner's Hype แต่ ROI จะเพิ่มข้นึ สูงถึง 4.48 - 8.97 เทำ่ ภำยใตแ้ นวคิดของผ้เู ชี่ยวชำญ เอกสารอ้างอิง Bangalore, Arjun S., Ronald E. Shaffer, Gary W. Small, and Mark A. Arnold. \"Genetic algorithm- based method for selecting wavelengths and model size for use with partial least- squares regression: application to near-infrared spectroscopy.\" Analytical Chemistry 68, no. 23 (1996): 4200-4212.
218 Berman, Evan M. \"The economic impact of industry-funded university R&D.\" Research policy 19, no. 4 (1990): 349-355. Broto, Baptiste, François Bachoc, and Marine Depecker. \"Variance reduction for estimation of Shapley effects and adaptation to unknown input distribution.\" SIAM/ASA Journal on Uncertainty Quantification 8, no. 2 (2020): 693-716. Crane, Keith W., Lance G. Joneckis, Hannah Acheson-Field, Iain D. Boyd, Benjamin A. Corbin, Xueying Han, and Robert N. Rozansky. Assessment of the Future Economic Impact of Quantum Information Science. Institute for Defense Analyses., 2017. Deutsch, Joseph, María Noel Pi Alperin, and Jacques Silber. \"Using the Shapley decomposition to disentangle the impact of circumstances and efforts on health inequality.\" Social Indicators Research 138, no. 2 (2018): 523-543. Dhawan, S. M., B. M. Gupta, and Sudhanshu Bhusan. \"Global publications output in quantum computing research: A scientometric assessment during 2007-16.\" Emerging Science Journal 2, no. 4 (2018): 228-237. Gibbons, Michael, and Ron Johnston. \"The roles of science in technological innovation.\" Research policy 3, no. 3 (1974): 220-242. Jarvenpaa, Heini M., and Saku J. Makinen. \"An empirical study of the existence of the Hype Cycle: A case of DVD technology.\" In 2008 IEEE International Engineering Management Conference, pp. 1-5. IEEE, 2008. Martino, Joseph P. \"A review of selected recent advances in technological forecasting.\" Technological forecasting and social change 70, no. 8 (2003): 719-733. Parlings, Matthias, Katja Klingebiel, and Patrick Oschmann. \"An integrated innovation life cycle model for supply chain adaption.\" IFAC-PapersOnLine 49, no. 2 (2016): 96-101. Solarin, Sakiru Adebola, and Yuen Yee Yen. \"A global analysis of the impact of research output on economic growth.\" Scientometrics 108, no. 2 (2016): 855-874. World Economic Forum. (2020). The Future of Jobs Report 2020. Geneva: World Economic Forum.
The 1st National Conference on SROI 219 ภาคผนวก รูปท่ี ก.1 ผลกำรประมำณจำก regression รปู ที่ ก.2 ผลกำรประมำณจำก Sharpley decomposition
220 การพฒั นาเคร่ืองมอื แบบบูรณาการเพ่อื วดั ระดับความพร้อมด้านการลงทนุ สาหรบั แผนงานวจิ ัยดา้ นอุตสาหกรรมมุง่ เปา้ An integrated tools development to measure investment readiness for Targeted Industrial Research เดวดิ มกรพงศ1์ *, ธรี ข์กรณ์ อุดมรัตนะมณี2, ธนสิ ร เกยี รติพลพจน์3, กัญญ์วรำ แสนเยยี และพชั รปรตั ถ์ ขำวสะอำด David Makarapong1*, Theerakorn Udomratanamanee2, Thanisorn Kiatponpot3, Karnwara Sanyear and Patcharaprat Kawsaard 1บรษิ ทั เดวดิ เอนเตอรไ์ พรส์แอนดด์ วี ลี อปเม้นท์ จากดั 1David Enterprise and Development Co., ltd 2คณะบริหารธรุ กิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 2University of Thai Chamber of Commerce Business School 3บรษิ ทั บเี อส โกลบอลเทรด จากัด 3BS GLOBAL TRADE Co., ltd *Corresponding author อเี มล์ [email protected] บทคดั ย่อ กำรวัดระดับควำมพร้อมด้ำนกำรลงทุนเป็นแนวคิดสำคัญที่ส่งผลต่อโครงสร้ำงเทคโนโลยีและมูลค่ำ ทำงเศรษฐกิจ หนึ่งในแนวคิดที่ได้รับควำมนิยม คือ กำรวัดระดับควำมพร้อมของเทคโนโลยี หำกแต่กำรวัด ระดับควำมพร้อมของเทคโนโลยีเพียงอย่ำงเดียวยังมีประเด็นถึงควำมเหมำะสมและควำมชัดเจ นในกำรเป็น ตวั ช้วี ดั บทควำมนี้นำเสนอแนวคิดกำรพัฒนำเครื่องมือแบบบูรณำกำรโดยใช้วิธีผสมผสำน ในเชิงคุณภำพ ทำกำรศึกษำข้อมูลทุติยภูมิและสัมภำษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้ำงกลุ่มตัวอย่ำงสองกลุ่ม ใช้วิธีสุ่มตัวอย่ำง แบบเจำะจง ประกอบด้วยกลุม่ ท่ีหนึ่ง ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิทำงวิชำกำรหรอื ผูม้ ีตำแหน่งรับผิดชอบระดับบรหิ ำร ในองค์กรที่ส่งผลต่อกำรพัฒนำเทคโนโลยีจำนวน 14 รำยและกลุ่มที่สอง ได้แก่ ผู้เชี่ยวชำญในอุตสำหกรรม ที่มีประสบกำรณ์โดยตรงกับอุตสำหกรรมตำมแผนพัฒนำจำนวน 8 รำย ใช้วิธีกำรวิเครำะห์ข้อมูลด้วยกำร
The 1st National Conference on SROI 221 ถอดรหัสใจควำมสำคญั บนั ทึกควำมถีแ่ ละกำรตีควำมเนื้อหำ ในเชิงปรมิ ำณทำกำรเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถำม ใช้วิธีสุ่มตัวอย่ำงแบบลูกโซ่ต่อเนื่องกลุ่มผู้ประกอบกำรจำนวน 123 รำย ทำกำรวิเครำะห์ข้อมูลด้วยสถิติ เชงิ พรรณนำ ผลกำรศึกษำแสดงถึงควำมจ ำเป็นของกำรใช้เครื่องมือชี้วัดมำกกว่ำหนึ่งและ แสดงถึงกำรยอมรับ แนวคิดบูรณำกำรในเบื้องต้นห้ำเครื่องมือตำมแนวคิด ควำมพร้อมเทคโนโลยี กำรประเมินตลำดเป้ำหมำย ควำมพร้อมกำรลงทุน กำรยอมรับเทคโนโลยีและแบบจำลองผืนภำพธุรกิจ โดยได้นำเสนอแนวคิดเพื่อใช้งำน ต่อไป บทนา อุตสำหกรรมมุ่งเป้ำหรือตลำด 11 อุตสำหกรรมในประเทศเป็นตลำดที่มีควำมสำคัญต่อกำร เจริญเติบโตทั้งทำงเศรษฐกิจและเทคโนโลยีเป็นอย่ำงมำก จำกพันธกิจของสำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัย แห่งชำติ 3 ประกำร คือ 1. จัดทำและขับเคลื่อนนโยบำยและยุทธศำสตร์กำรวิจัยของชำติเป็นองค์กรหลัก ในกำรบูรณำกำรงบประมำณกำรวิจัยของทุกหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง 2. พัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำนทำงกำรวิจัย ด้ำนบุคลำกรด้ำนกำรวิจัยและพัฒนำมำตรฐำนกำรวิจัย ฐำนข้อมูลสำรสนเทศกำรวิจัยของประเทศ และเครือข่ำยวิจัยระดับต่ำง ๆ เพื่อสนับสนุนกำรวิจัยของภำครัฐ ภำคเอกชนและภำคชุมชน/ท้องถิ่น รวมทั้ง ผลักดันกำรเป็นผู้นำด้ำนกำรวิจัยของประเทศ และ 3. ติดตำมและประเมินผลกำรวิจัยของประเทศ รวมท้ัง กำรปฏิรูประบบวิจัยและส่งต่องำนวิจัยที่มีศักยภำพเพื่อพัฒนำต่อยอดสู่กำรใช้ประโยชน์อ ย่ำงเป็นรูปธรรม ซึ่งสำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติได้จัดตั้งขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2499 กว่ำ 65 ปีแห่งกำรทำงำนเป็นองค์กร ที่สำคัญในกำรพัฒนำกำรวิจัยและต่อยอดนวัตกรรมของประเทศไทย ปัจจุบันกำรประเมินควำมคุ้มค่ำ ในกำรลงทุนด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) จึงมีควำมสำคัญและจำเป็นอย่ำงยิ่งในกำร เปรียบเทียบผลกระทบทั้งทำงด้ำนเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยกำรวิจัยฉบับนี้จะมุ่งเน้นที่ 11 อุตสำหกรรมมุ่งเป้ำอันประกอบไปด้วย อุตสำหกรรมด้ำนโลจิสติกส์และกำรบิน อุตสำหกรรมด้ำนหุ่นยนต์ และระบบอัตโนมัติ อุตสำหกรรมด้ำนอุตสำหกรรมอำหำรแห่งอนำคต อุตสำหกรรมด้ำนกำรพัฒนำยำนยนต์ สมัยใหม่และอิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะ อุตสำหกรรมด้ำนอุตสำหกรรมเกษตรและควำมพอใจต่อทิศทำง กำรพัฒนำเทคโนโลยีชีวภำพ อุตสำหกรรมวัสดุขั้นสูงเพื่ออุตสำหกรรม อุตสำหกรรมด้ำนดิจิทัล อุตสำหกรรม ดำ้ นควำมมั่นคงและเทคโนโลยอี วกำศ อตุ สำหกรรมด้ำนกำรแพทย์ สุขภำพ และสำธำรณสขุ อุตสำหกรรมด้ำน พัฒนำผลติ ภณั ฑ์อำหำร เครอ่ื งสำอำง และเวชสำอำง อตุ สำหกรรมด้ำนเช้ือเพลิงชวี ภำพและเคมชี ีวภำพ
222 อุตสำหกรรมมุ่งเป้ำข้ำงต้นนี้พอจะกล่ำวได้ว่ำอุตสำหกรรมทั้ง 11 ต่ำงก็สร้ำงผลกระทบต่อระบบ เศรษฐกิจ ทั้งในระดับจุลภำคและมหภำคของประเทศและนอกจำกนี้ยังสร้ำงผลกระทบต่อสังคม สร้ำงควำม เปลี่ยนแปลงต่อกำรดำรงชีวิตของมนุษย์ทั้งสิ้น ดังนั้นกำรประเมินควำมคุ้มค่ำในกำรลงทุนด้ำนกำรวิจัย จึงมีควำมส ำคัญเป็นอย่ำงยิ่งต่อกำรให้ทุนวิจัยและยังเป็ นเครื่องมือในกำรประเมินถึงควำมเหม ำ ะสม ในกำรวำงแผนกำรลงทุนในด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) ต่อไปในอนำคต อย่ำงไรก็ตำม 11 อุตสำหกรรมข้ำงต้นนี้ ต่ำงก็มีควำมสำคัญต่อทั้งระบบเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมในคนละมิติ โดยจำเป็นที่จะต้องมีเครื่องมือในกำรประเมินควำมคุ้มค่ำในกำรลงทุนเพื่อใช้เป็นเครื่องมือที่จะนำมำพัฒนำ ระบบกำรให้ทุนวิจัยในอนำคตให้มีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น โดยเมื่อจัดกลุ่มประเภทของงำนวิจัยแล้ว จะสำมำรถจัดกลุ่ม ได้ 2 ประเภท ได้แก่ ประเภทที่ 1 งำนวิจัยด้ำน 11 อุตสำหกรรมมุ่งเป้ำเพื่อพัฒนำ องค์ควำมรู้ และ ประเภทที่ 2 งำนวิจัยด้ำน 11 อุตสำหกรรมมุ่งเป้ำเพื่อสร้ำงสินค้ำ/บริกำร ให้เกิดประโยชน์ ทำงเศรษฐกิจและสงั คม แม้ว่ำควำมสำคัญของงำนวิจัยมุ่งเป้ำจะเป็นที่เด่นชัดตำมที่กล่ำวมำข้ำงต้น หำกแต่เครื่องมือ และกระบวนกำรในกำรประเมินควำมคุ้มค่ำยังกล่ำวได้ยำกว่ำมีควำมเหมำะสมในกำรใช้งำน โดยเฉพำะ เมื่องำนวิจัยนั้นคำดหวังกำรสร้ำงคุณค่ำทำงเศรษฐกิจ เครื่องมือที่ได้รับควำมนิยมหนึ่งคือกำรวัดระดับ ควำมพร้อมทำงเทคโนโลยีก็ยังคงมีข้อถกเถียงถึงทั้งควำมสำมำรถในกำรตอบโจทย์มูลค่ำทำงธุรกิจ ควำมสำมำรถในกำรถ่ำยทอดส่งต่อ กระทงั่ ควำมชดั เจนในกำรประเมิน โดยแมจ้ ะมลี ักษณะอันดีของควำมเป็น เทคโนโลยีแต่ก็มีจุดอ่อนในกำรเชื่อมโยงกับควำมเป็นไปได้จริงทำงธุรกิจ จึงเป็นที่มำของประเด็นกำรศึกษำ กำรพัฒนำเครื่องมือแบบบูรณำกำรเพื่อประเมินควำมพร้อมด้ำนกำรลงทุนในงำนวิจัยนี้ โดยจะเป็นกำร ศึกษำวิจัยในแผนงำนประเภทที่ 2 ซึ่งมุ่งเน้นให้ควำมสำคัญทำงด้ำนงำนวิจัยที่สำมำรถทำประโยชน์ ทำงเศรษฐกจิ และสงั คมได้เปน็ หลัก วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย บทควำมนี้มีแนวทำงในกำรศึกษำเปรียบเทียบประเด็นที่เกี่ยวข้องกับควำมเหมำะสมของกำรใช้งำน เคร่ืองมอื วัดระดับควำมพร้อมทำงเทคโนโลยีเพอื่ กำรต่อยอดในกำรประเมินมลู ค่ำเชิงพำณชิ ย์ โดยศึกษำปัญหำ ควำมเหมำะสม ประเด็นพิจำรณำในกำรใช้งำนร่วมกับกำรเปรียบเทียบควำมคำดหวังและควำมสอดคล้อง กับภำคธุรกิจ ซึ่งผลกำรวิจัยคำดหวังกำรนำเสนอเครื่องมือในแนวทำงบูรณำกำรร่วมหลำยฝ่ำยที่ตอบสนอง ควำมตอ้ งกำรทัง้ หน่วยงำนผูใ้ ห้ทนุ ผูข้ อรับทุนและผู้มโี อกำสใชป้ ระโยชนห์ รือลงทนุ ทำงพำณชิ ย์
The 1st National Conference on SROI 223 กล่ำวโดยสรุปวัตถุประสงค์หลักของกำรวิจัยน้ี ได้แก่ กำรนำเสนอแนวคิดพัฒนำเครื่องมือแบบ บูรณำกำรเพ่อื ประเมนิ ควำมพร้อมในกำรลงทนุ การทบทวนวรรณกรรม แนวคิดระดบั ควำมพร้อมของเทคโนโลยี (technology readiness level: TRL) “TRL คือ กำรบ่งช้ีระดบั ควำมพร้อมและเสถียรภำพของเทคโนโลยีตำมบริบทกำรใช้งำนต้ังแต่วัตถุดิบ องคป์ ระกอบสำคัญ อุปกรณ์ และกระบวนกำรทำงำนทง้ั ระบบก่อนท่ีจะมีกำรบูรณำกำรเทคโนโลยีเป็นระบบ” (คำจำกัด ควำมจำก สวทช.) โดยระดับควำมพร้อมของเทคโนโลยีแต่เดิมได้รับกำรเผยแพร่ขององค์กำรนำซำ (Mankins, 1995 อ้ำงถงึ ใน Mankins, 2009) ปัจจุบันหน่วยงำนต่ำง ๆ ในประเทศไทยได้เริ่มนำ TRL เข้ำมำใช้ในกำรบริหำรงำนวิจัยมำกข้ึน เช่น PMU หรือ Program Management Unit ซึ่งทำหน้ำที่ในกำรจัดกำรทุนวิจัย ติดตำมและประเมินผล งำนวิจัยของประเทศ โดย TRL นั้นเริ่มพัฒนำมำจำกองค์กรนำซำ (NASA) ของสหรัฐอเมริกำและมีองค์กร สำคัญ ๆ ในโลกหลำยแห่งได้นำไปปรับแต่งใช้ตำมควำมเหมำะสม อำทิ เช่น Homeland Security, Department of Energy, Federal Aviation Administration, European Space Agency, Department of Defense, DARPA, Naval Research Laboratory และ Sandia National Laboratories ซึ่งหน่วยงำน ที่กล่ำวมำมักเกี่ยวข้องกับงำนวิศวกรรม ทำหน้ำที่ทดสอบ (Test) ต้นแบบ ให้งำนไม่ให้เกิดข้อผิดพลำด เปน็ งำนทดสอบแบบซ้ำ ๆ กันเพ่อื ป้องกนั ข้อผดิ พลำดที่อำจจะเกิดขึ้น เชน่ กำรยงิ จรวด เป็นต้น จำกนั้นกำรมี มำตรฐำนสำกลเพื่อวัดค่ำระดับควำมพร้อมทำงเทคโนโลยีที่เรียกว่ำ Technology Readiness Level หรือ TRL จึงได้ถอื กำเนิดขึน้ และไดเ้ รม่ิ มีกำรนำมำใช้ในกำรบริหำรงำนวิจัยเพิ่มมำกข้นึ โดยTRL เป็นเคร่ืองมือ บริหำรจัดกำรโครงกำรหรือโปรแกรมที่นำมำประยุกต์ใช้ เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจร่วมกันระหว่ำงนักพัฒนำ เทคโนโลยีกับผู้ที่จะนำเทคโนโลยีไปถ่ำยทอดสู่ลูกค้ำและสำมำรถเปรียบเทียบควำมพร้อมและเสถียรภำพ ของเทคโนโลยรี ะหว่ำงเทคโนโลยที ่แี ตกต่ำงกันได้ ซึ่งกำรวัดระดับควำมพร้อมของเทคโนโลยีนั้นได้มีกำรปรับใช้ให้เหมำะสมกับยุคสมัยมีควำมเป็น ปัจจุบันเพื่อใช้งำนในหลำยอุตสำหกรรมที่นิยมแพร่หลำยได้แก่ Level 1: Basic principles observed and reported Level 2: Concept and/or application formulated Level 3: Concept demonstrated analytically or experimentally Level 4: Key elements demonstrated in laboratory environments Level 5: Key elements demonstrated in relevant environments Level 6: Representative of the deliverable demonstrated in relevant environments Level
224 7: Final development version of the deliverable demonstrated in operational Level 8: Actual deliverable qualified through test and demonstration Level 9: Operational use of deliverable แนวคดิ ประเมนิ ขนำดตลำดเป้ำหมำย (TAM SAM SOM) ในโลกของกำรเป็นผู้ประกอบกำร หรือ Entrepreneurship ที่หมำยถึงเป็นผู้สร้ำงและก่อตั้งธุรกิจ ซง่ึ แนวคดิ ในกำรก่อตั้งธุรกจิ ก่อนกำรตดั สนิ ใจลงทุนหรือลงแรงทำไป ส่วนใหญ่มักจะมำจำกกำรมองเห็นโอกำส ที่หลัก ๆ แล้วมำจำก 2 ประเด็น คือ เห็นโอกำสจำกปัญหำและเห็นโอกำสจำกตลำด สิ่งควรทำลำดับถัดมำ ก่อนตัดสินใจประกอบกิจกำรหรือออกแบบธุรกิจก็คือกำรศึกษำตลำด ซึ่งเครื่องมือในกำรประเมินขนำดตลำด หรือ Market Size Analysis ที่กำลังได้รับควำมเชื่อถืออย่ำงแพร่หลำยในวงกำร Startup และ SME ดว้ ยเทคนคิ TAM SAM SOM อธิบำยไว้โดย (Blank and Dorf, 2012) มีรำยละเอียดดังนี้ TAM: Total Available Market หมำยถึง มูลคำ่ รวมของตลำดทัง้ หมด ซ่งึ ตวั เลข เหล่ำนี้จะต้องได้จำกแหล่งที่น่ำเชื่อถือด้วย เช่น สำนักงำนสถิติแห่งชำติหรือรำยงำนกำรวิจัยทำงธุรกิจ ของสถำบันชั้นนำ SAM: Serviceable Available Market หมำยถึง ตลำดที่เรำเข้ำถึงได้หรือไม่ก็เป็นเฉพำะ ส่วนหรือ Segmentation ของตลำดที่เรำเข้ำถึงได้หรือต้องกำร ตำมโมเดลธุรกิจที่เรำออกแบบไว้และ SOM: Serviceable Obtainable Market หมำยถึง ตลำดที่เรำเข้ำถึงและขำยได้จริง ๆ มีขนำดเท่ำไหร่ กล่ำวคือ ศักยภำพท่ีเรำจะมีสินค้ำป้อนตลำดได้แค่ไหนอย่ำงไร รวมทั้งศักยภำพในกำรพำสินค้ำไปถึงมือลูกค้ำแค่ไหน กำรศึกษำขนำดตลำดทช่ี ดั เจนและเชื่อถือได้ จะทำใหก้ ำรวำงแผนธุรกจิ กอ่ นเดนิ หน้ำทำกิจกำร มีภำพกำรขำย และกำไรที่ชัดเจน รวมไปถึงโอกำสและแนวทำงเติบโตในอนำคต อย่ำงไรก็ตำม TAM SAM SOM เป็นเพียง ส่วนหนึ่งของกำรประเมินแผนธุรกิจ กำรเป็นผู้ประกอบกำรยังต้องกำรเครื่องมือและทักษะอีกหลำยอย่ำง ทีจ่ ำเปน็ ตอ้ งผสมผสำน เพ่อื ใหไ้ ด้กำรตดั สนิ ใจทดี่ ีท่สี ดุ ในโครงกำรนั้น ๆ แนวคิดระดับควำมพร้อมของกำรลงทุน (Investment Readiness Level: IRL) เครื่องมือประเมินระดับควำมพร้อมด้ำนกำรลงทุน Investment readiness level หรือ IRL เป็นเครื่องมือที่ถูกพัฒนำและออกแบบมำเพื่อกำรตัดสินใจในกำรลงทุนธุรกิจเริ่มต้นทีใ่ ช้เทคโนโลยี (Startup) IRL ถูกออกแบบโดย (Bank, 2014) เป็นขั้นตอนในกำรพัฒนำเทคโนโลยีและธุรกิจให้แต่ละขั้นตอนของกำร พัฒนำสำมำรถจับต้องได้เป็นรูปธรรมเพื่อสะดวกและง่ำยต่อกำรตัดสินใจของนักลงทุน เครื่องมือนี้เป็นที่นิยม อย่ำงแพร่หลำยในบรษิ ัทเอกชนชนั้ นำขนำดใหญ่เพ่อื เป็นกรอบในกำรตัดสินใจในกำรลงทุน
The 1st National Conference on SROI 225 ตารางที่ 1 ระดบั ของ Investment Readiness Level (IRL) ระดบั IRL คำอธบิ ำย 1 Complete First-Pass Business model canvas ไดแ้ ผนธรุ กิจในขั้นตน้ ทสี่ ำมำรถระบุใน BMC ได้ 2 Market size/Competitive Analysis สำมำรถระบุขนำดของตลำด ระบุสภำวะกำรแข่งขนั ในตลำดและระบุขนำดของตลำดทเี่ รำสำมำรถเขำ้ ถึงได้ 3 Problem/ Solution Validation ยืนยันและตรวจสอบแนวทำงกำรไขปัญหำ 4 Prototype Low-fidelity Minimum Viable Product ไดร้ ะดับสินค้ำตน้ แบบทมี่ ีคุณลักษณะเด่นข้นั ต้น 5 Validate Product/Market Fit นำต้นแบบขั้นตน้ ไปทดสอบกับตลำด 6 Validate revenue Model (right side of canvas) ตรวจสอบและยืนยนั รปู แบบกำรสรำ้ งรำยได้จำกสินคำ้ /บริกำร โดยองิ จำกกลมุ่ รำยได้ ด้ำนขวำของ BMC 7 Prototype High-fidelity Minimum Viable Product (MVP) ไดร้ ะดับสนิ คำ้ ตน้ แบบทมี่ คี ุณลักษณะเด่นทีเ่ สรจ็ สมบรู ณ์ตำมโจทย์วจิ ัยและพฒั นำ 8 Validate Value Delivery (left side of canvas) ตรวจสอบและยนื ยันรูปแบบกำรสง่ มอบสนิ คำ้ และตน้ ทุนจำกสินคำ้ /บรกิ ำร โดยองิ จำกกลมุ่ รำยได้ ดำ้ นซำ้ ยของ BMC 9 Identity and Validate Metric that Matter สำมำรถระบแุ ละยนื ยนั ปจั จยั อน่ื ๆ ทสี่ ง่ ผลตอ่ สินคำ้ /บรกิ ำร ทม่ี ำ: https://steveblank.com/2014/07/01/how-investors-make-better-decisions-the-investment-readiness- level/ เขำ้ ถงึ เมือ่ 11 กนั ยำยน 2564 ตำรำงที่ 1 แสดงถึงรำยละเอียดคำอธิบำยในแต่ละขั้นตอนของ IRL จำแนกทั้งหมด 9 ขั้นตอน กำรได้มำของแผนธุรกิจ กำรสำมำรถระบุขนำดของตลำด กำรยืนยันและตรวจสอบแนวทำงกำรไขปัญหำ กำรได้ระดับสินค้ำต้นแบบ กำรนำต้นแบบไปทดสอบ กำรตรวจสอบและยืนยันกำรสร้ำงรำยได้ กำรได้ระดับ สินค้ำต้นแบบท่ีมคี ุณลักษณะสมบูรณ์ กำรตรวจสอบและยืนยันรูปแบบกำรส่งมอบสินค้ำและกำรสำมำรถระบุ และยืนยนั ปจั จัยอ่ืน ๆ แนวคดิ แบบจำลองกำรยอมรบั เทคโนโลยี (Technology Acceptance Model: TAM) แบบจำลองกำรยอมรับเทคโนโลยี (Technology Acceptance Mode :TAM) ของ Davis ( 1989 ) นน้ั อยูบ่ นพนื้ ฐำนของทฤษฎที ำงสงั คมจติ วทิ ยำ ทฤษฎกี ำรยอมรับเทคโนโลยนี ้ี คือ ตัวแปรภำยนอกจะสรำ้ งกำร รบั ร้ถู งึ ประโยชน์ท่ไี ดจ้ ำกบริกำรและกำรรบั รถู้ ึงควำมงำ่ ยในกำรใช้บรกิ ำร (Perceived Ease Of Use) ซึ่งส่งผล
226 ต่อทัศนคติต่ำง ๆ ที่มีต่อกำรใช้งำนและเจตนำในกำรใช้ ทำให้เกิดพฤติกรรมยอมรับเทคโนโลยี สุดท้ำยก็จะมี กำรใช้งำนจริงตำมมำ ซึ่งกำรรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับ (Perceived Usefulness) ยังเป็นตัวผลักดันให้เกิด พฤติกรรมกำรยอมรับและกำรใช้งำนจริงด้วย ซึ่งแนวคิดที่ได้จำกแบบจำลอง TAM นี้คือ ควำมเชื่อทัศนคติ เจตนำของกำรใช้งำน รวมไปถึงพฤติกรรมกำรใช้ มีควำมสัมพันธ์ สำมำรถอธิบำยและคำดกำรณ์เกี่ยวกับ กำรยอมรบั เทคโนโลยีระหว่ำงผู้ใชท้ หี่ ลำกหลำยได้ องค์ประกอบแบบจำลองกำรยอมรับเทคโนโลยี ประกอบไปด้วยปัจจัยทัง้ หมด 5 ปัจจัยด้วยกัน ได้แก่ 1. กำรรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับ (Perceived Usefulness: PU) หมำยถึง ระดับที่ผู้ใช้บริกำรเชื่อว่ำประโยชน์ ของเทคโนโลยีดังกล่ำวจะมำช่วยเพิ่มประสิทธิภำพให้กับงำนของตนซึ่งมีควำมสัมพันธ์โดยตรงกับทัศนคติ ที่มีต่อกำรใช้งำนและพฤติกรรมของผู้ใช้บริกำร 2. กำรรับรู้ถึงควำมง่ำยในกำรใช้งำน (Perceived Ease of Use: PEOU) หมำยถงึ ระดบั ทีผ่ ใู้ ช้บรกิ ำรเชื่อวำ่ เทคโนโลยีที่นำมำใช้มคี วำมง่ำยในกำรใช้งำน สำมำรถนำไปใช้ งำนได้โดยไม่ต้องใช้ควำมพยำยำมสูงซึ่งมีควำมสัมพันธ์โดยตรงกับกำรรับรู้ประโยชน์และทัศนคติ 3. ทัศนคติ ที่มีต่อกำรใช้งำน (Attitude Toward Using: ATU) หมำยถึง ควำมคิดเห็นหรือทัศนคติของผู้ใช้บริกำรที่มีต่อ เทคโนโลยีนั้น ๆ ซึ่งเกิดจำกกำรรับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับและกำรรับรู้ถึงควำมง่ำยในกำรใช้งำนซึ่งจะส่งผล โดยตรงต่อพฤติกรรมของผู้ใช้บริกำร (Behavioral Intention: BI) ด้วยและจำกกำรที่มีควำมตั้งใจใช้งำน เทคโนโลยีนั้นแล้ว ผู้ใช้จะเกิดควำมรู้สึกที่ควรใช้งำนเทคโนโลยีนั้นจริง (Actual Use: AU) 4. พฤติกรรม ของผู้ใช้บริกำร (Behavioral Intension: BI) หมำยถึง พฤติกรรมหรือกำรกระทำผู้ใช้บริกำรที่มีต่อเทคโนโลยี น้ัน ๆ โดยไดร้ บั อิทธพิ ลจำกกำรรบั รู้ถึงประโยชน์และทัศนคตทิ ่ีมีต่อกำรใช้งำนเทคโนโลยีน้ัน 5. กำรใช้งำนจริง ของผู้ใช้บริกำร (Actual System Use: AU) หมำยถึง พฤติกรรมทเ่ี กิดขน้ึ จริงในกำรใช้เทคโนโลยีเป้ำหมำย แบบจำลองโมเดลนี้สำมำรถบอกระดับกำรยอมรับของเทคโนโลยโี ดยผ้ใู ช้ ซงึ่ สำมำรถนำมำประยุกต์ใช้ กับกำรประเมินกำรยอมรับควบคู่กำรประเมินขนำดของตลำดเพื่อระบุโอกำสทำงเศรษฐกิจภำพต้นฉบับ ของแบบจำลองกำรยอมรบั เทคโนโลยดี ังแสดงในรปู ท่ี 1 รปู ที่ 1 แบบจำลองกำรยอมรับเทคโนโลยี (TAM) ท่ีมำ: Davis, 1996, p.453
The 1st National Conference on SROI 227 แนวคดิ แบบจำลองผืนภำพธรุ กิจ (Business Model Canvas: BMC) แบบจำลองสำหรับผ้ปู ระกอบกำรท่ตี ้องกำรวำงแผนธุรกิจอย่ำงเป็นระบบผ่ำนองค์ประกอบทั้ง 9 ส่วน อันเป็นองค์ประกอบสำคัญของธุรกิจที่ประสบควำมสำเร็จ (Osterwalder and Pigneur, 2010) ซึ่งปัจจุบัน ทั้งนักกำรตลำด และ SMEs ได้ให้กำรยอมรับโมเดลนี้กันอย่ำงแพร่หลำยและนิยมใช้เป็นเคร่ืองมือพื้นฐำน ในกำรวำงแผนธรุ กิจประกอบดว้ ย องค์ประกอบทั้ง 9 ประกอบด้วย 1) ลูกค้ำ (Customer Segments—CS) ต้องระบุให้ได้ว่ำใครคือ กลุ่มเป้ำหมำย ควรระบุให้ชัดเจนยิ่งลึกยิ่งดีเพรำะจะได้นำเสนอคุณค่ำของสินค้ำได้ตรงกับควำมต้องกำร ของกลุ่มเป้ำหมำยที่สุด 2) คุณค่ำ (Value Propositions—VP) ต้องมั่นใจและหำให้ได้ว่ำคุณค่ำของสินค้ำ บริกำรหรือจุดขำยที่ส่งมอบให้ลูกค้ำ จะตอบโจทย์ควำมต้องกำรหรือแก้ปัญหำให้กับกลุ่มลูกค้ำเป้ำหมำยได้ 3) ช่องทำง (Channels—CH) ต้องวิเครำะห์ให้ออกว่ำช่องทำงกำรสื่อสำรและช่องทำงกำรส่งมอบสินค้ำ ชอ่ งทำงแบบไหนท่เี หมำะกับกลุ่มเป้ำหมำยและมีประสทิ ธภิ ำพมำกทีส่ ดุ กำรขำยตรง ขำยผำ่ นออนไลน์ เป็นต้น 4) ควำมสัมพันธ์กับลูกค้ำ (Customer Relationships—CR) ต้องมีวิธีในกำรสร้ำงและรักษำควำมสัมพันธ์ กับลูกค้ำเพื่อให้เกิดกำรใช้สินค้ำบริกำรต่อเนื่อง รวมถึงบอกต่อทำให้ลูกค้ำกลำยเป็นลูกค้ำที่ยั่งยืน เลื่อมใส ในผลิตภัณฑ์ด้วยควำมเชื่อใจและไว้วำงใจ 5) กระแสรำยได้ (Revenue Streams—RS) โมเดลรำยได้ มีหลำกหลำยรูปแบบ จึงต้องมองให้ออกว่ำเรำจะสร้ำงรำยได้ด้วยวิธีกำรใด เช่น จำกส่วนแบ่งจำกค่ำสินค้ำ บริกำร จำกค่ำสมำชิกหรือจำกค่ำโฆษณำ เป็นต้น และวำงกลยุทธ์ในกำรทำกำไรให้ธุรกิจ 6) ทรัพยำกรหลัก (Key Resources—KR) เงินลงทุน เทคโนโลยีต่ำง ๆ ซึ่งรวมไปถึงทรัพยำกรบุคคล ซึ่งธุรกิจจำเป็นต้องรู้ว่ำ บริษัทมี KR ที่เหมำะสมหรือเพียงพอต่อกำรทำธุรกิจหรือไม่ 7) กิจกรรมหลัก (Key Activities—KA) คือ กำรมองว่ำงำนหลักของธุรกิจคืออะไร เทียบกับคู่แข่งเป็นอย่ำงไร จะสำมำรถสร้ำงกิจกรรม หรือ Solutions ใหม่ ๆ ให้ลกู คำ้ ไดอ้ ยำ่ งไรบ้ำงหรือกิจกรรมทีต่ ้องทำเพ่ือให้โมเดลธรุ กิจอยู่ได้ 8) พนั ธมติ รหลัก (Key Partners—KP) หุ้นส่วนทำงธุรกิจเป็นใครได้บ้ำงที่จะมำช่วยส่งเสริมหรือเติมเต็มให้ธุรกิจมีควำม แข็งแกร่งมำกขึ้น เช่น คู่ค้ำและเครือข่ำยทำงธุรกิจ 9) โครงสร้ำงต้นทุน (Cost Structure-CS) คือ ค่ำใช้จ่ำย ทั้งรำยจ่ำยคงที่และไม่คงที่ เช่น ค่ำน้ำ ค่ำไฟ ค่ำวัตถุดิบ ค่ำแรงงำน รวมถึงค่ำใช้จ่ำยทำงด้ำนกำรตลำด ที่เมื่อนำรำยจ่ำยเหล่ำนี้ไปลบกับรำยได้แล้ว ผลลัพธ์ที่ได้คือ ผลตอบแทนที่กิจกำรจะได้รับกลับมำ ภำพรวม ของแบบจำลองผืนภำพธุรกิจดังแสดงในรูปที่ 2
228 รูปท่ี 2 แบบประเมนิ ควำมพร้อมด้ำนกำรลงทุน (BMC) ที่มำ: Alexander Osterwalder, 2010 ประเดน็ แนวคดิ ควำมเหมำะสมและกำรบูรณำกำรเคร่ืองมอื กำรประเมินควำมคุ้มค่ำด้ำนกำรลงทุนและผลกระทบทำงสังคมในอดีตที่ผ่ำนมำจนถึงปัจจุบันน้ัน มีแนวคิดกำรประเมินที่ค่อนข้ำงหลำกหลำย (Banke-Thomas et al., 2015) ตำมแต่ควำมต้องกำร ของโครงกำร องค์กรต้นสงั กัด ผู้รับผิดชอบบริหำรโครงกำร แม้กระทั่งกระแสทิศทำงควำมนยิ ำมของเครื่องมอื หรือองค์ควำมรู้ทำงวิชำกำร ซึ่งก็ยังคงมีข้อโต้แย้งถึงรูปแบบที่เหมำะสมอันพอจะกล่ำวได้ว่ำกำรประเมิน ควำมคุ้มค่ำด้ำนกำรลงทุนของแผนงำนวิจัยที่ส่งผลเพื่อสังคมนั้น ยังไม่มีมำตรฐำนกำรประเมินที่ชัดเจน (Costa and Pesci, 2016) และไม่มเี ครือ่ งมอื หนงึ่ ใดท่ีเหมำะสมกบั ทุกโครงกำร (Grieco, 2015) ด้วยเหตุผลควำมหลำกหลำยและควำมเป็นกำรวิจัยประยุกต์ กำรพัฒนำเครื่องมือในกำรวิจัยน้ี จะกระทำโดยแนวทำงบูรณำกำรหลำยเครื่องมือตำมข้อเสนอแนะของกลุ่มนักวิจัยที่มีควำมสอดคล้องกัน ในทิศทำงกำรประเมินว่ำควรศึกษำกำรใช้มำกกว่ำหนึง่ เครื่องมือในกำรประเมินควำมคุ้มค่ำ (Chmelik et al., 2015) และกำรมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหลำยฝ่ำยในกำรวิจัยและมีส่วนร่วมในกำรวิเครำะห์จะสร้ำง กระบวนกำรใหม่ที่ได้รับกำรปรับแต่งสำหรับประเด็นเฉพำะและเหมำะสมในกำรอธิบำยดังกรอบกำรศึกษำ ครั้งนี้ (Cordes, 2017) เพื่อใช้ในกำรประเมินระดับของเทคโนโลยีที่สอดคล้องไปในทิศทำงเดียวกับระดับ ของกำรลงทุน ด้วยควำมมุ่งหวังให้ผู้ให้ทุนและผู้ขอทุนสำมำรถระบุควำมคุ้มค่ำทำงเศรษฐกิจได้แม่นยำมำก ย่ิงขึ้น ทั้งสำมำรถสร้ำงควำมเปลี่ยนแปลงและตอบสนองควำมต้องกำรของผู้ลงทุนได้อย่ำงเหมำะสม (Rizzi et al., 2018)
The 1st National Conference on SROI 229 โดยจะกระทำบนพื้นฐำนของกำรบูรณำกำรหลำยเครื่องมือ ได้แก่ ระดับควำมพร้อมของเทคโนโลยี (Technology readiness level TRL) เครื่องมือประเมินขนำดตลำดเป้ำหมำย TAM SAM SOM เครื่องมือ ประเมินระดับควำมพร้อมด้ำนกำรลงทุน Investment Readiness level (IRL) แบบจำลองผืนภำพธุรกิจ Business Model Canvas (BMC) และทฤษฎีกำรยอมรับเทคโนโลยี Technology acceptance model: TAM) วธิ กี ารวิจัย กำรวิจัยในครั้งนี้เปน็ กำรวิจัยหลำยขั้นตอนประกอบด้วยกำรเช่ือมโยงภำควจิ ัยและภำคธุรกิจจำกกำร รวบรวมข้อมูลรปู แบบผสมผสำนเชงิ คณุ ภำพและเชงิ ปริมำณ ในเชิงคุณภำพทำกำรศึกษำข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องกับเพื่อระบุสถำนกำรณ์และทิศทำงกระแส เทคโนโลยีสำกลและมีกำรสัมภำษณ์กลุ่มตัวอย่ำงสองกลุ่มด้วยกำรสัมภำษณ์เชิงลึกกึ่งโครงสร้ำง โดยใช้วิธีสุ่ม ตัวอย่ำงแบบเจำะจง ประกอบด้วยกลุ่มที่หนึ่ง ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิทำงวิชำกำรผู้มีตำแหน่งทำงวิชำกำรระดับ รองศำสตรำจำรยด์ อกเตอร์ในสังกดั ทเ่ี กีย่ วข้องกับเทคโนโลยีและธรุ กจิ หรือผู้มีตำแหน่งรับผดิ ชอบระดับบริหำร ในองค์กรที่ส่งผลต่อกำรพัฒนำเทคโนโลยีจำนวน 14 รำยเพื่อศึกษำและสอบทำนควำมเหมำะสมตำมหลัก วิชำกำร และกลุ่มที่สอง ได้แก่ ผู้เชี่ยวชำญในอุตสำหกรรมที่มีประสบกำรณ์โดยตรงกับอุตสำหกรรม ตำมแผนพัฒนำจำนวน 8 รำยเพื่อศึกษำควำมสอดคล้องกับควำมต้องกำรของภำคธุรกิจ ใช้วิธีกำรวิเครำะห์ ข้อมูลด้วยกำรถอดรหัสใจควำมสำคัญ บันทึกควำมถี่และกำรตีควำมเนื้อหำ (content analysis) โดยมีกำร ตรวจสอบควำมเที่ยงของเนื้อหำด้วยกำรตรวจสอบสำมเส้ำระหว่ำงแนวคิดทฤษฎีของเครื่องมือต่ำง ๆ กำรขอควำมคดิ เห็นของผเู้ ชยี่ วชำญและควำมถูกต้องของขอ้ มลู ในเชิงปริมำณทำกำรเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถำม ใช้วิธีสุ่มตัวอย่ำงแบบลูกโซ่ต่อเนื่อง (snowball) โดยกำรกระจำยในกลุ่มผู้ประกอบกำรที่เป็นสมำชิกของสมำพันธ์เอสเอ็มอีไทยและองค์กรกำรประชุมสร้ำง สำยสัมพันธ์ทำงธุรกิจ เพื่อแลกเปลี่ยนกำรแนะนำลูกค้ำระหว่ำงนักธุรกิจและเจ้ำของกิจกำรอย่ำงเป็นระบบ (BNI) จำนวน 123 รำยเพ่ือศึกษำควำมเปน็ ไปได้ในกำรลงทุน ทำกำรตรวจสอบควำมเทยี่ งของเน้ือหำดว้ ยควำม คดิ เหน็ ของผูเ้ ช่ียวชำญและทำกำรวเิ ครำะห์ขอ้ มลู ด้วยสถติ ิเชงิ พรรณนำ จำกนั้นนำผลที่ได้มำทำกำรหำควำมเป็นไปได้และควำมเหมำะสมในภำคปฏิบัติของกำรบูรณำกำร แบบประเมินตำมลักษณะเด่น ควำมมุ่งหวังและประเด็นกำรใช้งำนของแต่ละเครื่องมือ โดยภำพรวมของกำร วิจัยในครั้งนี้ประกอบด้วยกำรยึดกรอบอุตสำหกรรมมุ่งเป้ำ เพื่อประเมินผลผลิตและผลลัพธ์ที่ได้จำกงำนวิจัย ประยุกต์ จำกนั้นศึกษำแนวโน้มควำมต้องกำรเทคโนโลยีก่อนนำไปเปรียบเทียบควำมต้องกำรและควำมพร้อม
230 ของผู้ประกอบกำร เพื่อพัฒนำแบบประเมินพร้อมด้ำนกำรลงทุนอันจะนำไปประเมินควำมคุ้มค่ำเป็นระดับ ควำมคุม้ ค่ำในทำ้ ยทีส่ ดุ ดังแสดงในรูปที่ 3 รปู ท่ี 3 ภำพรวมกรอบแนวคิดกำรวิจัย ผลการวจิ ยั ผลกำรสมั ภำษณผ์ ทู้ รงคุณวฒุ ิทำงวชิ ำกำร กำรสัมภำษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิจำกสถำบันกำรศึกษำ หน่วยงำนวิจัยของภำครัฐและเอกชนที่มีกำรวิจัย พัฒนำตำมแผน 11 อุตสำหกรรมมุ่งเป้ำ ทั้งหมด 14 ท่ำน โดยใช้เครื่องมือประเมินระดับกำรลงทุน (IRL) ทไ่ี ดส้ ร้ำงขึน้ ผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้ง 14 ท่ำน มีควำมเห็นที่สอดคล้องเป็นเอกฉันท์ว่ำ กำรจะสร้ำงประโยชน์เพื่อควำม คุ้มค่ำทำงเศรษฐกิจและสังคมที่แท้จริงนั้น ระดับของเทคโนโลยี (TRL) นั้นมีควำมสำคัญอย่ำงยิ่ง จะต้อง มำกกว่ำ TRL 8 ขึ้นไป ถึงจะเป็นเทคโนโลยีที่มีศักยภำพ อย่ำงไรก็ตำม ผู้ทรงคุณวุฒิเห็นด้วยกับกำรนำ เครื่องมือประเมินระดับกำรลงทุน (IRL) เข้ำมำประยุกต์ใช้และมีควำมเห็นที่เป็นเอกฉันท์ว่ำ ระดับ IRL 4 ที่สำมำรถพิสูจน์แนวทำงกำรวิจัยได้ขั้นต้นนี้ไม่เพียงพอต่อกำรสร้ำงควำมคุ้มค่ำทำงเศรษฐกิจและสังคม ต้องถึงระดับ IRL ที่ 7 ขึ้นไปซึ่งจะได้มำสินค้ำ/บริกำร ที่มีคุณลักษณะเด่นและผ่ำนกำรทดสอบ โดยตลำด SOM แล้ว โดยในระดับนี้จะสำมำรถสร้ำงกำรแพร่กระจำยของนวัตกรรมได้ในระดับ Early Adopters ทมี่ ีสดั ส่วนอยูท่ ี่ 13.5% ของลกู ค้ำเป้ำหมำย ท่ีอธิบำยโดย (Rogers,1962) เพอื่ นำผลตอบรบั ของผู้ใช้ มำยืนยัน ว่ำสำมำรถแก้ไขหรือตอบโจทย์กำรทำงำนท่ีเป็นโจทย์งำนวิจัยพัฒนำได้และนำผลตอบรับ กำรประเมิน ควำมพงึ พอใจมำปรบั ปรงุ ให้เกิดสนิ คำ้ /บรกิ ำร ที่สำมำรถตอบโจทย์ลูกค้ำได้อยำ่ งดีท่ีสดุ
The 1st National Conference on SROI 231 โดยในแต่ละอุตสำหกรรมจำกแผนงำน 11 อุตสำหกรรมนั้น จะสำมำรถใช้เครื่องมือประเมินระดั บ กำรลงทุนได้ โดยมุ่งเน้นไปที่ตลำด SOM ซึ่งเป็นตลำดแรกสุดและมีโอกำสเป็นไปได้มำกที่สุดในกำรประเมิน ระดับควำมคุ้มทำงเศรษฐกิจจำกกำรลงทุนในแผนงำนวิจัย ตำมกรอบของสำนักงำนกำรวิจัยแห่งชำติ กล่ำวโดยสรุปคือ เครื่องมือ IRL เป็นตัวกำหนดควำมคุ้มค่ำในกำรลงทุน โดยมีเครื่องมือ TAM SAM SOM และ Business Model canvas บูรณำกำรเข้ำไปเพื่อใช้อธิบำยควำมคุ้มค่ำได้ เพื่อใช้เป็นส่วนหน่ึง ของกำรประกอบกำรประเมินของหนว่ ยงำนท่ีเกี่ยวข้อง ในกำรประเมินมิติด้ำนควำมคุ้มค่ำทำงด้ำนสังคมนั้น แผน 11 อุตสำหกรรมมุ่งเป้ำสอดคล้องกับ เป้ำหมำยกำรพัฒนำที่ยั่งยืน (SDGs) โดยทีมวิจัยพบว่ำ มีควำมสอดคล้องกับเป้ำหมำยกำรพัฒนำที่ยั่งยืน (SDGs) กับ 13 เป้ำหมำยหลัก โดยแต่ละแผนงำน ใน 11 อุตสำหกรรมนั้นจะสอดคล้องระหว่ำง 1 - 4 เป้ำหมำย อำทิเช่น งำนวิจัยด้ำนชีววัตถุทำงกำรแพทย์ มีควำมสอดคล้องกับเป้ำหมำยที่ 3 กำรมีสุขภำพ และควำมเป็นอยู่ที่ดี รองลงมำ คือ เป้ำหมำยที่ 8 งำนที่มีคุณค่ำและกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจ เป้ำหมำยที่ 9 ส่งเสริมอตุ สำหกรมนวัตกรรมและโครงกำรสร้ำงพื้นฐำน ตำมลำดับ ดงั นัน้ กำรประเมนิ ผลกระทบทำงสังคมนั้น สำมำรถประยุกต์เป้ำหมำยกำรพัฒนำที่ยั่งยืน (SDGs) เข้ำไปเป็นส่วนหนึ่งของแบบประเมินระดับกำรลงทุน (IRL) ที่ได้สร้ำงขึ้น เพื่อที่จะวัดผลกระทบทำงด้ำนมิติสังคมในประเด็นต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับแผนงำน ตำ่ ง ๆ ใน 11 อุตสำหกรรมมงุ่ เป้ำได้ ผลกำรสมั ภำษณ์ผู้เชี่ยวชำญในอุตสำหกรรม 1. ควำมสำคัญตอ่ ทศิ ทำงกำรพัฒนำเทคโนโลยีแตล่ ะอตุ สำหกรรม เรียงลำดับตำมคะแนนเฉล่ยี ท่ีเห็นด้วย มำกที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ เทคโนโลยีด้ำนกำรแพทย์ สุขภำพ และสำธำรณสุข เทคโนโลยีวิจัย ด้ำนอุตสำหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภำพ เทคโนโลยีวิจัยด้ำนอุตสำหกรรมอำหำรแห่งอนำคต เทคโนโลยีวิจยั ด้ำนดจิ ิทัล เทคโนโลยีวิจัยด้ำนควำมมั่นคงและเทคโนโลยีอวกำศ 2. ควำมสนใจในกำรลงทุนเทคโนโลยีตำมแผนงำนพฒั นำเทคโนโลยี 5 อนั ดบั แรกตำมคะแนนเฉลี่ยท่ีเห็น ด้วยมำกที่สุด ได้แก่ เทคโนโลยีวิจัยด้ำนอุตสำหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภำพ เทคโนโลยีวิจัย ด้ำนอุตสำหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภำพ เทคโนโลยีวิจัยด้ำนดิจิทัล เทคโนโลยีวิจัย ด้ำนอุตสำหกรรมอำหำรแห่งอนำคต เทคโนโลยีวิจัยด้ำนพัฒนำผลิตภัณฑ์อำหำร เครื่องสำอำง และเวชสำอำง 3. ควำมพอใจในทิศทำงกำรพัฒนำเทคโนโลยีแต่ละด้ำนของอุตสำหกรรมในลักษณะภำพรวมปัจจุบัน เรียงล ำดับตำมคะแนนเฉลี่ยที่พอใจมำกที่สุด 5 อันดับแรก ได้แก่ กำรพัฒนำเทคโนโลยี
232 วิจัยด้ำนหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ กำรพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนอุตสำหกรรมเกษตร และเทคโนโลยีชีวภำพ กำรพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนควำมมั่นคงและเทคโนโลยีอวกำศ กำรพัฒนำ เทคโนโลยีวิจัยด้ำนพัฒนำผลิตภัณฑ์อำหำร เครื่องสำอำง และเวชสำอำง กำรพัฒนำเทคโนโลยีวิจัย ดำ้ นอตุ สำหกรรมอำหำรแห่งอนำคต 4. ภำยในปี 2574 งำนวิจัยภำยใต้กรอบอุตสำหกรรมมุ่งเป้ำ ทั้ง 11 ด้ำนนี้ ที่สำมำรถสร้ำงควำมคุ้มค่ำ ทำงเศรษฐกิจได้มำกที่สุด เรียงล ำดับตำมคะแนนเฉลี่ย 5 อันดับแรก ได้แก่ เทคโนโลยี วิจัยด้ำนกำรแพทย์ สุขภำพ และสำธำรณสุข เทคโนโลยีวิจัยด้ำนอุตสำหกรรมเกษตร และเทคโนโลยีชีวภำพ เทคโนโลยวี จิ ัยด้ำนอุตสำหกรรมอำหำรแหง่ อนำคต เทคโนโลยีวิจัยด้ำนดจิ ทิ ัล เทคโนโลยีวจิ ัยด้ำนพฒั นำผลิตภณั ฑ์อำหำร เครอ่ื งสำอำง และเวชสำอำง 5. กรอบอตุ สำหกรรมที่สำมำรถสร้ำงควำมคุ้มค่ำให้กับธุรกจิ ไดเ้ รว็ ที่สุด (ภำยในระยะเวลำ 1 ปี หลังจำก นำงำนวิจัยเทคโนโลยีไปใช้กับธุรกิจ) 3 อันดับแรก เรียงลำดับตำมคะแนนเฉลี่ย 5 อันดับแรก ได้แก่ เทคโนโลยีวิจัยด้ำนกำรแพทย์ สุขภำพ และสำธำรณสุข เทคโนโลยีวิจัยด้ำนดิจิทัล เทคโนโลยี วิจัยดำ้ นพฒั นำผลติ ภณั ฑอ์ ำหำร เครอ่ื งสำอำง และเวชสำอำง เทคโนโลยวี จิ ัยด้ำนอตุ สำหกรรมเกษตร และเทคโนโลยีชีวภำพ เทคโนโลยวี ิจัยด้ำนห่นุ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ 6. ระดับ Technology Readiness Levels (TRL) ที่สำมำรถสร้ำงประโยชน์เชิงพำณิชย์ให้กับองค์กร หรือภำคธุรกิจได้คุ้มค่ำที่สุด คือ ระดับ TRL 9 โดยมีผู้ให้คะแนนว่ำ TRL 9 มีควำมคุ้มค่ำที่สุดสูงถึง รอ้ ยละ 49.05 7. กำรนำไปหำผลประโยชนเ์ ชิงพำณิชย์ในภำคอุตสำหกรรมจริง โดยกำรปรับเปลย่ี นกลยทุ ธก์ ำรทำธุรกิจ เป็นธุรกิจที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ระดับควำมพร้อมที่เหมำะสมเกือบทั้ง 11 อุตสำหกรรมเห็นว่ำ ที่ระดับ TRL 9 เป็นระดับที่เหมำะสมที่สุด ยกเว้นอุตสำหกรรมด้ำนเชื้อเพลิงชีวภำพและเคมีชีวภำพ ผู้ตอบแบบสอบถำมใหค้ ะแนนสงู สุดที่ TRL ระดบั 8 8. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำมเป็นเพศชำยมำกกว่ำเพศหญิง อำยุผู้ตอบแบบสอบถำมเรียง ตำมลำดบั มำกท่ีสดุ 3 ลำดบั แรก ได้แก่ อำยุ 31 - 40ปี (ร้อยละ 45.3) อำยุ 41 - 50 ปี (ร้อยละ 37.7) อำยุ 51 - 60 ปี (ร้อยละ 11.3) และมีกำรกระจำยตัวของสถำนที่ประกอบกำรทั่วทุกภูมิภำค ของประเทศ รวมถึงมีสถำนทต่ี งั้ ของสถำนประกอบกำรหลกั อยตู่ ่ำงประเทศ 9. ลักษณะธุรกิจจดทะเบียนธุรกิจในรูปแบบบริษัทจำกัดมำกที่สุด ร้อยละ 62.3 และมีทุนจดทะเบียน อยู่ในกลุ่ม 1000000 - 4999999 บำท มำกที่สุด คือ ร้อยละ 43.4 ในขณะที่ยอดขำยต่อปีกลุ่มท่ี มำกกวำ่ 20 ล้ำนบำท ร้อยละ 37.7% และ มยี อดขำยต่อปี 1000000 - 4999999 บำท ร้อยละ 30.2 10. จำนวนพนักงำนภำยในองค์กรของผู้ตอบแบบสอบถำมมีกลุ่มที่มีพนักงำนรวมไม่เกิน 10 คนอยู่ที่ ร้อยละ 51
The 1st National Conference on SROI 233 11. องค์กรของผู้ตอบแบบสอบถำมมีกำรจัดตั้งงบประมำณในกำรวิจัยและพัฒนำไว้เป็นจำนวนเงิน 1 - 300000 บำท/ปี รอ้ ยละ 47.2 และกลุ่มทีไ่ มม่ กี ำรจดั ตัง้ งบประมำณ รอ้ ยละ 28.3 12. ผู้ตอบแบบสอบถำมมีวิธีในกำรสร้ำงนวัตกรรมโดยกำรวิจัยและพัฒนำโดยกำรร่วมลงทุน รอ้ ยละ 41.5 ไม่มกี ำรสร้ำงนวัตกรรม รอ้ ยละ 22.6 และลงทนุ เอง ร้อยละ 20.8 13. ระยะเวลำที่เหมำะสมในกำรลงทนุ ด้ำน ววน. ก่อนท่จี ะสร้ำงรำยได้หรือขำยสตู่ ลำดไดจ้ ริงมีกลุ่มผู้ตอบ แบบสอบถำมเห็นวำ่ ไม่เกนิ 1 ปี รอ้ ยละ 49.1 และ ระยะเวลำ 2 - 4 ปี รอ้ ยละ 45.3 14. หน่วยงำนของภำครัฐที่ควรจะเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับสืบค้นงำนวิจัยที่ต้องกำรลงทุน คือ สำนักงำน พัฒนำวทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชำติ (สวทช.) รอ้ ยละ 77.4 15. องค์กรที่คิดว่ำเป็นต้นแบบ/ตัวอย่ำงที่ดีในอุตสำหกรรมของผู้ตอบแบบสอบถำม เช่น CP Exxon Total Corbian Purac NIA SCG สวทช. สิงห์ หอกำรค้ำไทย Max Motor ดัชมิลล์ สสว. หมูอนิ เตอรก์ รุ๊ป เป็นต้น ผลการสารวจผู้ประกอบการภาคธรุ กิจ ตารางที่ 2 ระดับควำมคิดเห็นเฉล่ียควำมสำคัญ ควำมสนใจลงทุนและควำมพอใจในทิศทำงเทคโนโลยี ลาดบั ทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีของอตุ สาหกรรม ความ ความ ความ สาคัญ สนใจ พอใจ 1 เทคโนโลยวี จิ ัยดำ้ นโลจสิ ติกสแ์ ละกำรบิน 2 เทคโนโลยีวิจัยด้ำนห่นุ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมตั ิ 5.60 4.38 3.94 3 เทคโนโลยวี ิจยั ด้ำนอตุ สำหกรรมอำหำรแหง่ อนำคต 5.42 4.60 5.60 4 เทคโนโลยวี ิจัยดำ้ นกำรพัฒนำยำนยนตส์ มยั ใหม่และอิเลก็ ทรอนิกส์ อจั ฉริยะ 5.79 5.17 4.26 5 เทคโนโลยวี ิจัยด้ำนอตุ สำหกรรมเกษตรและเทคโนโลยชี ีวภำพ 5.45 4.66 4.00 6 เทคโนโลยีวิจัยวัสดุขัน้ สูงเพือ่ อตุ สำหกรรม 5.83 5.43 4.32 7 เทคโนโลยีวิจัยด้ำนดิจทิ ัล 5.53 4.62 3.91 8 เทคโนโลยีวจิ ยั ดำ้ นควำมม่ันคงและเทคโนโลยีอวกำศ 5.70 5.23 4.15 9 เทคโนโลยีวิจัยดำ้ นกำรแพทย์ สุขภำพ และสำธำรณสุข 5.68 4.06 3.42 10 เทคโนโลยีวจิ ยั ด้ำนพฒั นำผลิตภัณฑ์อำหำร เคร่อื งสำอำง และเวชสำอำง 5.92 5.28 4.17 11 เทคโนโลยวี ิจัยด้ำนเชอื้ เพลิงชวี ภำพและเคมีชีวภำพ 5.43 4.87 4.30 5.43 4.51 3.96 ตำรำงที่ 2 แสดงถึงระดับควำมคิดเห็นเฉลี่ยในกำรประเมินระดับควำมสำคัญของทิศทำงกำรพัฒนำ เทคโนโลยีในอุตสำหกรรม ควำมสนใจลงทุนในเทคโนโลยีในอุตสำหกรรมและควำมพอใจในทิศทำงกำรพัฒนำ
234 เทคโนโลยีของอุตสำหกรรม โดย 1 หมำยถึง ไม่สำคัญที่สุด และ 6 หมำยถึง สำคัญที่สุดสำหรับระดับ ควำมสำคัญ 1 หมำยถึง ไม่สนใจที่สุด และ 6 หมำยถึง สนใจที่สุดในระดับควำมสนใจ และ 1 หมำยถึง ไม่พอใจท่ีสุด และ 6 หมำยถึงพอใจที่สุดสำหรับระดับควำมพอใจ โดยแผนงำนพัฒนำเทคโนโลยวี ิจัยด้ำนโลจสิ ติกสแ์ ละกำรบนิ ผลควำมสำคญั อยใู่ นระดับมำก ค่ำเฉลี่ย อยู่ที่ 5.60 คะแนน ผลควำมสนใจอยู่ในระดับค่อนข้ำงสนใจ ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 4.38 คะแนนและผลควำมพอใจ อยใู่ นระดบั ค่อนขำ้ งไม่พอใจ ค่ำเฉล่ียอยู่ท่ี 3.94 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ผลควำมสำคัญอยู่ในระดับมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.42 คะแนน ผลควำมสนใจอยู๋ในระดับค่อนข้ำงสนใจ ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 4.60 คะแนน ผลควำม พอใจอยูใ่ นระดับพอใจมำก ค่ำเฉล่ียอยู่ท่ี 5.60 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนอุตสำหกรรมอำหำรแห่งอนำคต ผลควำมสำคัญอยู่ในระดับมำก ที่สุด ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.79 คะแนน ผลควำมสนใจอยู่ในระดับสนใจมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.17 คะแนน ผลควำม พอใจอยูใ่ นระดับค่อนข้ำงพอใจ ค่ำเฉล่ียอยู่ท่ี 4.26 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนกำรพัฒนำยำนยนต์สมัยใหม่และอิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะ ผลควำมสำคัญอยูใ่ นระดับมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.45 คะแนน ผลควำมสนใจอยู่ในระดับค่อนข้ำงสนใจ ค่ำเฉลี่ย อยู่ท่ี 4.66 คะแนน ผลควำมพอใจอยู่ในระดบั คอ่ นข้ำงพอใจ ค่ำเฉล่ียอยู่ที่ 4.00 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนอุตสำหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภำพ ผลควำมสำคัญ อยู่ในระดับสำคัญมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.45 คะแนน ผลควำมสนใจอยู่ในระดับสนใจมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.43 คะแนน ผลควำมพอใจอยู่ในระดบั ค่อนข้ำงพอใจ ค่ำเฉล่ียอยู่ท่ี 4.32 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยวัสดุขั้นสูงเพื่ออุตสำหกรรม ผลควำมสำคัญอยู่ในระดับสำคัญมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.53 คะแนน ผลควำมสนใจอยู่ในระดับค่อนข้ำงสนใจ ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 4.62 คะแนน ผลควำมพอใจอยใู่ นระดับค่อนข้ำงไม่พอใจ ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 3.91 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนดิจิทัล ผลควำมสำคัญอยู่ในระดับสำคัญมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.70 คะแนน ผลควำมสนใจอยู่ในระดับสนใจมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.23 คะแนน ผลควำมพอใจอยู่ในระดับค่อนข้ำง พอใจ ค่ำเฉล่ียอยู่ที่ 4.15 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจยั ดำ้ นควำมมั่นคงและเทคโนโลยอี วกำศ ผลควำมสำคัญอยู่ในระดบั สำคัญ มำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.68 คะแนน ผลควำมสนใจอยู่ในระดับค่อนข้ำงสนใจ ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 4.06 คะแนน ผลควำมพอใจอยใู่ นระดับค่อนข้ำงไมพ่ อใจ ค่ำเฉลี่ยอยู่ท่ี 3.42 คะแนน
The 1st National Conference on SROI 235 แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนกำรแพทย์ สุขภำพ และสำธำรณสุข ผลควำมสำคัญอยู่ในระดับ สำคัญมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.92 คะแนน ผลควำมสนใจอยู่ในระดับสนใจมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.28 คะแนน ผลควำมพอใจอยู่ในระดบั คอ่ นขำ้ งพอใจ ค่ำเฉลี่ยอยู่ท่ี 4.17 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนพัฒนำผลิตภัณฑ์อำหำร เครื่องสำอำง และเวชสำอำง ผลควำมสำคัญอยูใ่ นระดับมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.43 คะแนน ผลควำมสนใจอยู่ในระดับค่อนข้ำงสนใจ ค่ำเฉลี่ย อยู่ที่ 4.87 คะแนน ผลควำมพอใจอยูใ่ นระดบั คอ่ นขำ้ งมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 4.30 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนเชื้อเพลิงชีวภำพและเคมีชีวภำพ ผลควำมสำคัญอยู่ในระดับมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.43 คะแนน ผลควำมสนใจอยู่ในระดับค่อนข้ำงสนใจ ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 4.51 คะแนน ผลควำม พอใจอยูใ่ นระดับค่อนขำ้ งไม่พอใจ ค่ำเฉล่ียอยู่ที่ 3.96 คะแนน ตารางที่ 3 ระดบั ควำมคดิ เฉลยี่ กำรสร้ำงควำมคุ้มคำ่ ทำงเศรษฐกิจและควำมเร็วในกำรสรำ้ งควำมค้มุ คำ่ ลาดับ ทศิ ทางการพฒั นาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรม ความค้มุ คา่ ความเรว็ 1 เทคโนโลยวี จิ ัยดำ้ นโลจิสตกิ ส์และกำรบิน 5.11 4.38 2 เทคโนโลยวี ิจยั ด้ำนหนุ่ ยนต์และระบบอัตโนมตั ิ 5.04 4.60 3 เทคโนโลยีวิจัยดำ้ นอตุ สำหกรรมอำหำรแหง่ อนำคต 5.34 5.17 4 เทคโนโลยีวจิ ยั ด้ำนกำรพฒั นำยำนยนตส์ มยั ใหมแ่ ละอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อจั ฉริยะ 4.87 4.66 5 เทคโนโลยีวจิ ยั ด้ำนอตุ สำหกรรมเกษตรและเทคโนโลยชี วี ภำพ 5.47 5.43 6 เทคโนโลยวี จิ ยั วสั ดุขน้ั สงู เพ่อื อตุ สำหกรรม 4.85 4.62 7 เทคโนโลยีวิจัยดำ้ นดิจิทัล 5.21 5.23 8 เทคโนโลยวี จิ ยั ด้ำนควำมมัน่ คงและเทคโนโลยีอวกำศ 3.74 4.06 9 เทคโนโลยีวจิ ยั ด้ำนกำรแพทย์ สุขภำพ และสำธำรณสุข 5.68 5.28 10 เทคโนโลยวี ิจัยดำ้ นพัฒนำผลติ ภณั ฑอ์ ำหำร เคร่อื งสำอำง และเวชสำอำง 5.19 4.87 11 เทคโนโลยวี จิ ัยด้ำนเชอ้ื เพลิงชีวภำพและเคมีชวี ภำพ 5.43 4.51 ตำรำงที่ 3 แสดงถึงระดับควำมคิดเห็นเฉลี่ยในกำรประเมินระดับควำมคุ้มค่ำทำงเศรษฐกิจ ต่อกำรลงทนุ และควำมเรว็ ในกำรสรำ้ งควำมควำมคุ้มคำ่ โดย 1 หมำยถึง ไม่คุ้มค่ำ และ 6 หมำยถึง คุ้มค่ำที่สุด สำหรับระดับควำมคุ้มค่ำ และ 1 หมำยถึง ช้ำที่สุด และ 6 หมำยถึง เร็วท่ีสุดสำหรับระดับควำมเร็ว โดยแผนงำนพัฒนำเทคโนโลยวี ิจยั ด้ำนโลจิสตกิ สแ์ ละกำรบิน ผลควำมคุ้มค่ำอยู่ในระดับมำก ค่ำเฉลี่ย อยู่ท่ี 5.11 คะแนน ผลควำมเร็วอยู่ในระดับค่อนข้ำงเร็ว ค่ำเฉลี่ยอยู่ท่ี 4.34 คะแนน
236 แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยวี ิจัยด้ำนห่นุ ยนตแ์ ละระบบอตั โนมัติ ผลควำมคุ้มคำ่ อยู่ในระดับมำก ค่ำเฉล่ีย อยู่ที่ 5.04 คะแนน ผลควำมเร็วอยู๋ในระดับค่อนข้ำงเร็ว ค่ำเฉล่ียอยู่ที่ 4.42 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนอุตสำหกรรมอำหำรแห่งอนำคต ผลควำมคุ้มค่ำอยู่ในระดับมำก ทส่ี ุด ค่ำเฉล่ียอยู่ท่ี 5.34 คะแนน ผลควำมเรว็ อยใู่ นระดับค่อนข้ำงเร็ว ค่ำเฉลี่ยอยู่ท่ี 4.38 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนกำรพัฒนำยำนยนต์สมัยใหม่และอิเล็กทรอนิกส์ อัจฉริยะ ผลควำมคุ้มค่ำอยู่ในระดับค่อนข้ำงมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 4.87 คะแนน ผลควำมเร็วอยู่ในระดับค่อนข้ำงเร็ว ค่ำเฉลี่ยอยู่ท่ี 4.23 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนอุตสำหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภำพ ผลควำมคุ้มค่ำ อยใู่ นระดบั มำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ท่ี 5.47 คะแนน ผลควำมเร็วอยู่ในระดับค่อนข้ำงเร็ว ค่ำเฉลี่ยอยู่ท่ี 4.38 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยวัสดุขั้นสูงเพื่ออุตสำหกรรม ผลควำมคุ้มค่ำอยู่ในระดับค่อนข้ำงมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ท่ี 4.85 คะแนน ผลควำมเรว็ อยู่ในระดบั ค่อนข้ำงเร็ว ค่ำเฉล่ียอยู่ที่ 4.19 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนดิจิทลั ผลควำมคุ้มค่ำอยู่ในระดับมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.21 คะแนน ผลควำมเร็วอยู่ในระดับค่อนข้ำงเร็ว ค่ำเฉล่ียอยู่ท่ี 4.85 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนควำมมั่นคงและเทคโนโลยีอวกำศ ผลควำมคุ้มค่ำอยู่ในระดับ ค่อนขำ้ งน้อย ค่ำเฉลี่ยอยู่ท่ี 3.74 คะแนน ผลควำมเรว็ อยใู่ นระดับค่อนข้ำงช้ำ ค่ำเฉล่ียอยู่ท่ี 3.17 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวจิ ยั ด้ำนกำรแพทย์ สขุ ภำพ และสำธำรณสขุ ผลควำมคุม้ ค่ำอยู่ในระดับมำก ค่ำเฉล่ียอยู่ที่ 5.68 คะแนน ผลควำมเรว็ อย่ใู นระดบั เร็วมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.04 คะแนน แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนพัฒนำผลิตภัณฑ์อำหำร เครื่องสำอำง และเวชสำอำง ผลควำม คุ้มค่ำอยู่ในระดับมำก ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 5.19 คะแนน ผลควำมเร็วอยู่ในระดับค่อนข้ำงเร็ว ค่ำเฉลี่ยอยู่ที่ 4.87 แผนงำนพัฒนำเทคโนโลยีวิจัยด้ำนเชื้อเพลิงชีวภำพและเคมีชีวภำพ ผลควำมคุ้มค่ำอยู่ในระดับมำก ค่ำเฉลี่ย อยู่ท่ี 5.43 คะแนน ผลควำมเรว็ อยู่ในระดบั ค่อนข้ำงเร็ว ค่ำเฉล่ียอยู่ที่ 4.51 คะแนน การบูรณาการแบบประเมนิ กำรบูรณำกำรเครื่องมือ IRL เข้ำกับ TAM SAM SOM ในขั้นตอนที่จะใช้เครื่องมือต่ำง ๆ ประเมิน ควำมคุ้มค่ำด้ำนกำรลงทุนนั้น คณะผู้วิจัยเสนอให้ใช้เครื่องมือ IRL เป็นหนึ่งในเครื่องมือหลักในกำรประเมิน และใช้ TAM SAM SOM อธิบำยขนำดของตลำด โดยมุ้งเน้นไปที่ SOM = Service Obtainable Market หรือตลำดที่เรำสำมำรถขำยสินค้ำ/บริกำรได้แน่นอน เป็นตลำดนำร่องสินค้ำ/บริกำรในกำรสร้ำงรำยได้
The 1st National Conference on SROI 237 ในช่วงแรกเพื่อนำมูลค่ำตลำดในส่วนตลำด SOM นี้ มำเป็นตัวกำหนดควำมคุ้มค่ำในกำรลงทุนในระยะแรก ซึ่งจะสอดคล้องกับเครื่องมือ IRL ในระดับ IRL 3 ว่ำปัญหำและแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำมีตลำดรองรับ อยู่จริงและมีมูลค่ำที่คุ้มค่ำในกำรตัดสินใจลงทุนจำกระดับ IRL 3 ขึ้นไป เพื่อทำสินค้ำ/บริกำรให้ตอบโจทย์ ตลำด ในชว่ งท้ำย Business Model canvas จะเขำ้ มำมีสว่ นสำคัญในกำรประเมินรูปแบบธุรกิจ 9 กิจกรรม หลัก ซึ่งสำมำรถจัดกลุ่มได้ 2 กลุ่ม คือ กลุ่มสร้ำงรำยได้ กลุ่มต้นทุน โดยในกลุ่มสร้ำงรำยได้จัดเป็นกลุ่ม ทำงดำ้ นขวำของ BMC และกลมุ่ ตน้ ทุน จดั เป็นกลุ่มทำงด้ำนซ้ำยของ BMC โดย ระดับ IRL ที่ 6 และ BMC กลุ่มรำยได้ จะให้ควำมสำคัญว่ำสินค้ำ/บริกำรที่ถูกพัฒนำขึ้นมำน้ัน ได้มีกำรตรวจสอบรูปแบบรำยได้อีกครัง้ โดยทำกำรตรวจสอบกับตลำด SOM ว่ำมีรำยได้ที่จะเขำ้ มำสอดคล้อง กับมูลค่ำตลำด SOM ที่ได้กำหนดไว้ในตอนแรกมำกหรือน้อยเพียงใดและควบคู่กับกำรประเมินตลำดอนำคต ทัง้ ตลำด SAM และ ตลำด TAM ในระดับ IRL 7 นั้น จะได้มำซึ่ง Minimum viable Product (MVP) มีบทบำทสำคัญอย่ำงมำก ในฐำนะเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ที่ใช้ทดสอบประเมินตลำด (Market Validation) ได้อย่ำงรวดเร็วว่ำ สินค้ำ/ บริกำรที่ถูกสร้ำงขึ้นจะสร้ำงสำมำรถมูลค่ำทำงเศรษฐกิจได้มำกหรือน้อยเพียงใด ในระดับ MVP นี้ สินค้ำ และบริกำรจะมีคุณลักษณะหรือฟีเจอร์อย่ำงน้อยทส่ี ุดท่ีจะสำมำรถประเมินกำรตอบรับของตลำดได้ โดยมีข้อดี ดังตอ่ ไปน้ี 1) สำมำรถทดสอบสมมติฐำน โดยใช้ทรัพยำกรน้อยที่สุด: กำรสร้ำงคุณลักษณะหรือฟีเจอร์น้อยที่สุด เพื่อทดสอบตลำดหรือสมมติฐำนที่แผนงำนวิจัยและพัฒนำนั้นได้สร้ำงขึ้นเพื่อที่จะตอบโจทย์ปัญหำ ในภำคอุตสำหกรรมได้อย่ำงตรงจุดก่อนนำไปพัฒนำคุณลักษณะอื่น ๆ เพื่อให้สินค้ำ/บริกำรมีควำม พรอ้ มในกำรใชป้ ระโยชนเ์ ชิงพำณชิ ย์ 2) เสริมสร้ำงกำรเรียนรู้: กำรทดสอบสมมติฐำนช่วยให้คณะวิจัยได้คำตอบเกี่ยวกับ สินค้ำ/บริกำร ในระดับ MVP ว่ำตอบโจทย์ตลำดเป้ำหมำยมำกน้อยเพียงใดและนำข้อมูลมำปรับปรุง ต่อยอด ในระดับขั้นตอ่ ไป 3) เก็บผลตอบรับจำกกำรใช้จำกลูกค้ำ รวมถึงเป็นกำรทดสอบสมมติฐำนด้วยว่ำ ในตลำดเป้ำหมำย ของเรำ สนิ ค้ำ/บริกำรนนั้ ลกู ค้ำยอมรบั ในระดบั ใด
238 กล่ำวโดยสรุป คอื ระดับ IRLที่ 7 จะไดม้ ำสนิ คำ้ /บริกำร ทีม่ คี ุณลักษณะหรือฟเี จอร์นอ้ ยท่ีสดุ เพื่อนำไป ทดสอบตลำด โดยเฉพำะตลำด SOM เพื่อนำผลตอบรับของผู้ใช้มำยืนยันว่ำสำมำรถแก้ไขหรือตอบโจทย์ กำรทำงำนทเี่ ป็นโจทย์งำนวจิ ัยพฒั นำไดแ้ ละนำผลตอบรบั กำรประเมนิ ควำมพึงพอใจ มำปรับปรุงใหเ้ กิดสินค้ำ/ บริกำร ท่ีสำมำรถตอบโจทยล์ ูกคำ้ ไดอ้ ยำ่ งดีท่ีสดุ ซึ่งในแต่ละอุตสำหกรรมนั้น จะมีระดับกำรประเมินควำมคุ้มค่ำทำงเศรษฐกิจที่แตกต่ำงกัน นอกจำก กำรประเมินระดับเทคโนโลยีแล้วนั้น กำรประเมินระดับ IRL ให้มีควำมเหมำะสมในแต่ละอุตสำหกรรม เพื่อกำหนดระดับควำมคุ้มทำงเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นจำกกำรลงทุนในแผนงำนวิจัยและพัฒนำ ดังนั้น ในงำนวิจัยนี้จะใช้เครื่องมือ IRL เป็นตัวกำหนดควำมคุ้มค่ำในกำรลงทุน โดยมีเครื่องมือ TAM SAM SOM และ Business Model canvas บูรณำกำรเข้ำไปเพื่อใช้อธิบำยควำมคุ้มค่ำในแต่ละแผนงำนวิจัยและพัฒนำ ในแต่ละอตุ สำหกรรม จำกนั้นประยุกต์ใช้เครื่องมือที่ช่วยออกแบบโมเดลธุรกิจ (Business Model Canvas: BMC) สำหรับ ผู้ประกอบกำรที่ต้องกำรวำงแผนธุรกิจอย่ำงเป็นระบบผำ่ นองค์ประกอบทั้ง 9 ส่วนอันเป็นองค์ประกอบสำคัญ ของธุรกิจที่ประสบควำมสำเร็จ ซึ่งปัจจุบันทั้งนักกำรตลำด และ SMEs ได้ให้กำรยอมรับโมเดลนี้กัน อย่ำงแพร่หลำยและนิยมใช้เป็นเครื่องมือพืน้ ฐำนในกำรวำงแผนธุรกจิ โดยประกอบดว้ ย 1) ลูกคำ้ (Customer Segments—CS) 2) คณุ ค่ำ (Value Propositions—VP) 3) ชอ่ งทำง (Channels—CH) 4) ควำมสมั พนั ธ์ กับลูกค้ำ (Customer Relationships—CR) 5) กระแสรำยได้ (Revenue Streams—RS) 6) ทรัพยำกร หลัก (Key Resources—KR) 7) กจิ กรรมหลกั (Key Activities—KA) 8) พนั ธมิตรหลกั (Key Partners— KP) 9) โครงสร้ำงต้นทุน (Cost Structure-CS) ดังนั้น กำรร่ำง BMC นี้ จะช่วยให้นักวิจัยและภำคธุรกิจ คิดรอบด้ำนและทำให้เห็นภำพรวมของธุรกิจซึ่งสะท้อนถึงมูลค่ำทำงเศรษฐกิจจำกแผนงำนวิจัย ซึ่ง BMC สำมำรถปรบั เปล่ียนได้ตำมควำมเหมำะสมของรปู แบบธรุ กิจและอุตสำหกรรม ข้ออภิปราย ข้อเสนอแนะในกำรใชง้ ำนเคร่ืองมือบรู ณำกำร ผลกำรศึกษำแนวคิดกำรบูรณำกำรเคร่ืองมือประเมินควำมพร้อมในกำรลงทนุ ครัง้ นี้มีควำมสอดคล้อง กบั แนวคิดของ (Grieco, 2015) ท่รี ะบวุ ่ำไม่มีเครื่องมือใดเหมำะสมกับทุกโครงกำรเพยี งอย่ำงเดียวและข้อสรุป ควำมคิดเห็นของทั้งภำคกำรศึกษำและภำคธุรกิจมีควำมเห็นทิศทำงเดียวกันที่ตรงกับข้อสรุปกำรศึกษำ ของ (Chmelik et al., 2015 ในกำรเครื่องมือในกำรประเมินควำมพร้อมและควำมคุ้มค่ำมำกกว่ำหนึ่งวิธี ตรงตำมขอ้ สังเกตในกำรตอบสนองควำมต้องกำรของผูล้ งทนุ ไดอ้ ยำ่ งเหมำะสม (Rizzi et al., 2018)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355