Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Proceedings SROI

Proceedings SROI

Published by sroi.tsri2, 2021-11-16 10:03:10

Description: Proceedings SROI

Search

Read the Text Version

The 1st National Conference on SROI 239 อย่ำงไรก็ตำมในกำรใช้งำนเครื่องมือบูรณำกำรวัดระดับควำมพร้อมกำรลงทุนนี้ เนื่องด้วยเป็นกำร ผสมผสำนหลำยเครื่องมือที่มีควำมต้องกำรข้อมูล ควำมสำมำรถในกำรใช้งำนและมุมมองที่แตกต่ำงกัน คณะผู้วิจัยจึงเห็นว่ำในกำรใช้เครื่องมือได้อย่ำงมีประสิทธิภำพในเบื้องต้นควรมีกำรศึกษำลักษณะข้อมูล ที่จำเป็นในแต่ละเครื่องมือแต่ละส่วน อันพอสรุปได้ดังนี้ 1. ระดับควำมพร้อมของเทคโนโลยี ควรมีข้อมูล สถำนะรูปแบบของเทคโนโลยี 2. กำรประเมินขนำดตลำดเป้ำหมำย ควรมีข้อมูลตลำดในควำมสนใจ และประเมินควำมสำมำรถในกำรสร้ำงส่วนแบ่งตลำดเป็นมูลค่ำกำรตลำดทำงเศรษฐกิจได้อย่ำงชัดเจน ตำมลำดับขั้นเทคโนโลยี 3. ระดับควำมพร้อมของกำรลงทุนควรมีกำรประเมินเทียบเคียงกับสถำนะ ในแบบจำลองผืนภำพธุรกิจและเทียบเคียงระดับควำมพร้อมของเทคโนโลยีอยู่เสมอ ข้อมูลนี้ควรมีควำมเป็น ปัจจุบันที่สุดเท่ำที่เป็นไปได้ 4. กำรยอมรับเทคโนโลยี ควรมีข้อมูลรับรองกำรตอบรับจำกผู้ใช้ในด้ำนกำรรับรู้ ประโยชน์และกำรรับรู้ควำมง่ำยซึ่งประเมินเป็นสัดส่วนที่สอดคล้องกับขนำดตลำดเป้ำหมำย 5. แบบจำลอง ผืนภำพธรุ กจิ ควรมขี ้อมูลสำคัญคือโครงสร้ำงธุรกิจทช่ี ัดเจนเพ่ือประเมินตน้ ทนุ และช่องทำงในกำรสร้ำงรำยได้ ที่ชัดเจน ซึ่งต้องประเมินด้วยสมมติฐำนแนวคิดที่มีควำมสอดดล้องกับตลำดเป้ำหมำยและควำมพร้อม ในกำรลงทนุ โดยมีกำรปรับปรุงใหเ้ ปน็ ปัจจบุ นั ตำมสถำนะควำมพร้อมของเทคโนโลยอี ยู่เสมอ ดังพอจะเห็นได้จำกกำรอธิบำยข้อมูลสำคัญข้ำงต้น ประเด็นวิกฤตที่จะส่งผลต่อกำรใช้งำนเครื่องมือ แบบบูรณำกำร คือ กำรเชื่อมโยงข้อมูลที่เกี่ยวเนื่องของแต่ละแนวคิดเข้ำด้วยกัน ด้วยมุมมองบนพื้นฐำน ควำมเป็นเป็นไปได้จริงตำมเหตุปัจจัยของสถำนกำรณ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องเน้นย้ำและพัฒนำแนวทำงที่มี ควำมชดั เจนย่ิง ๆ ขึน้ ตอ่ ไป ข้อจากัดและงานวจิ ัยในอนาคต งำนวจิ ยั นีม้ ีขอ้ จำกัดท่ีมุ้งเน้นในกำรสร้ำงแบบประเมนิ กำรลงทุนในระดับมหภำคเป็นกำรเสนอแนวคิด กำรบรู ณำกำรเคร่ืองมือตำมกำรสำรวจทำงทฤษฎแี ละพสิ จู น์ควำมสอดคล้องกบั ควำมจำเปน็ และควำมต้องกำร ของอุตสำหกรรมในประเทศไทยเท่ำนั้น โดยข้อจำกัดด้ำนระยะเวลำกำรวิจัยและกำรเข้ำถึงตำมสถำนกำรณ์ โควิด-19 ทำให้แบบประเมินยังไม่ได้รับกำรปรับแต่งรำยละเอียดจำเพำะเป็นเพียงแนวคิดเบื้องต้น แบบประเมนิ บูรณำกำรนี้สมควรได้รับกำรปรับให้เหมำะสมต่อลักษณะจำเพำะของแผนงำนแตล่ ะอุตสำหกรรม เพื่อให้ได้แนวทำงกำรประเมินที่ถูกต้องแม่นยำมำกยิ่งขึ้นโดยควรทำทำกำรวิจัยและกำรประเมินตำมประเภท ของอตุ สำหกรรม

240 เอกสารอ้างอิง Alexander Osterwalder, Yves Pigneur. 2010. Business model generation: a handbook for visionaries, game changers, and challengers. New Jersey. John Wiley&Sons, Inc. Banke-Thomas, A.O., Madaj, B., Charles, A. and Van Den Broek, N.. 2015. Social return on investment (SROI) methodology to account for value for money of public health interventions: a systematic review. BMC Publick Health, Vol. 15 No. 1, pp. 582-595. Cordes, J.J. 2017. Using cost-benefit analysis and social return on investment to evaluate the impact of social enterprise: Promises, implementation, and limitations. Evaluation and Program Planning, 64, 98-104. Costa, E. and Pesci, C. 2016. Social impact measurement: why do stakeholders matter?. Sustainability Accounting, Management and Policy Journal, Vol. 7 No. 1, pp. 99-124 Chmelik, e., Musteen, M. and Ahsan, M. 2015. Measures of performance in the context of international social ventures: an exploratory study. Journal of Social Entrepreneurship, Vol. 7 No. 1, pp. 74-100. Davis, F. & Venkatesh, V. 1996. A critical assessment of potential measurement biases in the technology acceptance model: three experiments. Int. J. Human-Computer Studies, 45(1), 19-45. Grieco, C., Michelini, L. and lasevoli, G. 2014. Measuring value creation in social enterprises: a cluster analysis of social impact assessment models. Nonprofit and Voluntary Sector Quarterly, Vol. 44 No. 6, pp. 1173-1193. Rizzi, F., Pellegrini, C. and Battaglia, M. 2018. The structuring of social finance: emerging approaches for supporting environmentally and socially impactful projects. Journal of Cleaner Production, Vol. 170 No. 1, pp.805-817 Rogers, Everett M. 1962. Diffusion of innovations (1st ed.). New York: Free Press of Glencoe Steve Blank and Bob Dorf. 2012. The Startup Owner's Manual. K & S Ranch. first edition. ISBN 978-0984999309 S. Blank. 2014. How Investors Make Better Decisions: The Investment Readiness Level.

The 1st National Conference on SROI 241 การประเมินความคุ้มค่าของการลงทุนในแผนการวิจัย การศกึ ษาแบบบรู ณาการการเรยี นรู้กับการทางาน Assessment of investment on work-integrated learning research projects วรรณพงษ์ ดรุ งคเวโรจน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง Corresponding author อีเมล์ [email protected] บทคัดยอ่ งำนวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินควำมคุ้มค่ำทำงเศรษฐกิจจำกกำรลงทุนในแผนงำนวิจัย ด้ำนกำรพัฒนำนวัตกรรมต้นแบบในกำรยกระดับกำรศึกษำแบบบูรณำกำรกำรเรียนรู้กับกำรทำงำนระหว่ำง สถำบันกำรศึกษำและภำคอุตสำหกรรม (Work-integrated learning) โดยให้ควำมสำคัญกับผลกระทบ ต่อภำคอุตสำหกรรม ระเบียบวิธีวิจัยคือกำรประเมินควำมคุ้มค่ำแบบ Ex-ante โดยคำนวณค่ำ ROI ภำยใต้ สถำนกำรณ์ที่ต่ำงกัน ผลกำรศึกษำพบว่ำ แผนงำนวิจัยนี้สำมำรถสร้ำงมูลค่ำทำงเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นระหว่ำง 70 ถึง 4,400 ล้ำนบำท และมีค่ำ ROI ระหว่ำง 0.56 ถึง 35.88 ทั้งนี้ ปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ประโยชน์สุทธิ ของแผนงำนวิจัยนี้เพิ่มขึ้น คือ กำรมีส่วนร่วมของสถำบันกำรศึกษำ (สถำบันอำชีวศึกษำและมหำวิทยำลัย) มีโครงกำร WIL เพิม่ ขึ้นและสัดสว่ นของนักศึกษำจบใหม่ที่ทำงำนในภำคอุตสำหกรรมมำกข้ึน คาสาคัญ: กำรบรู ณำกำรกำรเรยี นรู้กบั กำรทำงำน, กำรศึกษำ, ภำคอุตสำหกรรม, ควำมค้มุ คำ่ ของกำรลงทุน, สถำบันกำรศึกษำ

242 1. บทนา เศรษฐกิจไทยในปัจจุบันเผชิญกับควำมท้ำทำยในหลำยมิติ ไม่ว่ำจะเป็นศักยภำพในกำรแข่งขัน ของประเทศ สังคมสูงวัย ควำมเหล่ือมล้ำ ควำมผันผวนของเศรษฐกิจโลก รวมถึงควำมก้ำวหนำ้ ทำงเทคโนโลยี ท่เี ขำ้ มำเปล่ยี นวิถีชวี ิตและวิธีกำรผลิตของสถำนประกอบกำร โดยเฉพำะอยำ่ งย่ิงในภำคอุตสำหกรรม คุณภำพ ของแรงงำนในภำคอตุ สำหกรรมจงึ มีควำมสำคญั ไม่ยิ่งหย่อนไปกวำ่ ปัจจัยกำรผลติ อ่ืน ๆ กำรเตรียมควำมพร้อม ให้กบั แรงงำนทจ่ี ะเข้ำสู่ตลำดแรงงำนมีควำมรู้ ทกั ษะ และสมรรถนะทเ่ี หมำะสมกับอำชีพในอนำคตและตรงกับ ควำมต้องกำรของสถำนประกอบกำรจึงเป็นเร่ืองสำคัญท่ีทกุ ภำคส่วนต้องให้ควำมสำคัญ งำนวจิ ยั ชิ้นนี้มุ่งศึกษำ ควำมคุ้มค่ำของกำรลงทุนด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) เพื่อส่งเสริมระบบกำรบูรณำกำร กำรเรยี นรู้กบั กำรทำงำน ในชว่ งหลำยทศวรรษที่ผ่ำนมำ ไทยได้กำ้ วจำกกำรเปน็ หนึ่งในประเทศท่ียำกจนท่ีสุดในโลกมำเป็นหน่ึง ในประเทศที่มีอัตรำกำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจที่สูงที่สุดในโลกและถูกจัดอันดับให้เป็นประเทศรำยได้ ปำนกลำงฐำนบน (Upper-middle income countries) นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 (Warr, 1993; Jitsuchon, 2012) กำรเจริญเติบโตทำงเศรษฐกิจที่สูงต่อเนื่องเป็นระยะเวลำนำน (Sustained economic growth) ส่งผลให้เกิดกำรพัฒนำเศรษฐกิจเปน็ วงกว้ำง สะท้อนจำกดัชนีชี้วดั คุณภำพชีวติ ทีส่ ูงขึ้น ไม่ว่ำจะเป็นอัตรำกำร อ่ำนออกเขียนได้ อำยุคำดหวังเฉลี่ย กำรเข้ำถึงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน รวมถึงกำรลดลงของควำมยำกจน (Warr, 2019) ซึ่งในช่วงระยะเวลำเดียวกันนี้ เศรษฐกิจไทยได้เผชิญกับกำรเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้ำง (Structural transformation) เฉกเช่นประเทศกำลังพัฒนำอื่น ๆ เช่น เกำหลีใต้ จีน และอินโดนีเซีย เป็นต้น ทีม่ ีกำรเจรญิ เติบโตทำงเศรษฐกจิ ในระดบั สูง สะทอ้ นจำกสดั ส่วนของผลผลิตจำกภำคกำรเกษตร (Agricultural output) ที่ลดลงจำกร้อยละ 44 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภำยในประเทศ (Gross domestic product: GDP) ในปี พ.ศ. 2494 มำเป็นร้อยละ 11 ในปี พ.ศ. 2561 ในช่วงเวลำเดียวกันนี้ สัดส่วนของผลผลิต จำกภำคอุตสำหกรรมเพิ่มขึ้นจำกร้อยละ 13 มำเป็นร้อยละ 30 (Timmer et al., 2015; de Vries, 2021) ควำมสำคัญของภำคอุตสำหกรรมที่เพิ่มขึ้นนี้ได้สร้ำงผลกระทบในหลำยมิติรวมถึงควำมต้องกำรใช้แรงงำน ในภำคอตุ สำหกรรม กำรเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้ำงของเศรษฐกิจไทยยังสะทอ้ นได้จำกกำรเปลีย่ นแปลงของสำขำกำรผลิต (Sector) ที่แรงงำนไทยทำงำนอยู่ แม้ว่ำแรงงำนไทยส่วนใหญ่จะยังคงทำงำนในภำคเกษตรกรรมแต่สัดส่วน ของแรงงำนในภำคนี้ลดลงอย่ำงต่อเนื่อง ระหว่ำงปี พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ. 2563 สัดส่วนของแรงงำนในภำค เกษตรกรรมลดลงจำกร้อยละ 38.69 มำเป็นร้อยละ 31.34 ขณะทแี่ รงงำนในภำคอตุ สำหกรรม (ภำคกำรผลิต) เพ่มิ ข้ึนจำกรอ้ ยละ 13.78 มำเป็นรอ้ ยละ 15.86 เรอ่ื งนีส้ ำทับด้วยกำรท่ตี ลำดแรงงำนไทยมสี ัดสว่ นของแรงงำน ที่มีระดับกำรศึกษำที่สูงขึ้น แม้ว่ำแรงงำนกว่ำร้อยละ 42.74 จะมีกำรศึกษำในระดับประถมศึกษำหรือต่ำกว่ำ

The 1st National Conference on SROI 243 แต่สัดส่วนของแรงงำนที่จบกำรศึกษำในระดับอำชีวศึกษำและอุดมศึกษำเพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่องจำกร้อยละ 15.60 ของแรงงำนทั้งหมดในปี พ.ศ. 2554 มำเป็นร้อยละ 21.05 ในปี พ.ศ. 2563 เมื่อพิจำรณำในภำพกว้ำง จงึ มีควำมเปน็ ไปไดท้ ีแ่ รงงำนท่ที ำงำนในภำคอตุ สำหกรรมจงึ มแี นวโนม้ ที่จะมคี ุณภำพท่ีสูงขึ้น หนึ่งในปัญหำสำคัญของตลำดแรงงำนที่รุนแรงขึ้นในช่วงหลำยปีที่ผ่ำนมำ คือ ควำมสำมำรถ ของแรงงำนไม่ตรงกับควำมต้องกำรของนำยจ้ำง (Skill mismatch) และสัดส่วนควำมต้องกำรแรงงำนที่จบวุฒิ ปริญญำตรีมีน้อยกว่ำจำนวนแรงงำนจบใหม่ที่มีวุฒิปริญญำตรี (Qualification mismatch) (OECD, 2020) ดังน้นั ควำมท้ำทำย คอื กำรทำใหม้ ่นั ใจได้ว่ำนักศึกษำจบใหม่ที่กำลงั เข้ำสู่ตลำดแรงงำนมีทักษะท่ีตรงกับควำม ต้องกำรของสถำนประกอบกำร ควำมท้ำทำยดังกล่ำวไม่ได้เป็นโจทย์สำหรับผู้เรียน/นักศึกษำเพียงอย่ำงเดียว แต่รวมถึงสถำบันกำรศึกษำที่จะต้องปรับปรุงหลักสู ตรเพื่อตอบส นองคว ำมต้องกำรของผู้ใช ้บั ณ ฑิต (สถำนประกอบกำรในภำคเอกชน) และภำครัฐ (เช่น กระทรวงอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และสำนักงำนคณะกรรมกำรอำชีวศึกษำ) ที่จะต้องผลิตบัณฑิตที่มีคุณภำพ กลำยเป็นแรงงำนทักษะสูง และสร้ำงคณุ ประโยชน์ให้กบั ระบบเศรษฐกจิ หนึ่งในเครื่องมือที่ถูกใช้กันอย่ำงแพร่หลำยในหลำยประเทศและถูกนำมำปรับใช้ในสถำบันกำรศึกษำ หลำยแห่ง คือ กำรเรียนกำรสอนที่บูรณำกำรกำรเรียนรู้กับกำรทำงำน (Work-integrated learning: WIL) (ต่อไปนี้ จะเรียกว่ำ WIL) โดย WIL เป็นกำรจัดกำรกำรศึกษำที่เน้นกำรฝึกปฏิบัติเพื่อให้ประกอบอำชีพได้จรงิ เป็นรูปธรรมของนโยบำยกำรพัฒนำกำลังคนด้ำนวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยควำมร่วมมือ ของ 3 ภำคส่วน คือ ภำครัฐ ภำคเอกชน และสถำบันกำรศึกษำ มุ่งวัตถุประสงค์เพื่อผลิตกำลังทุนในระดับ ประกำศนียบัตรวิชำชีพชั้นสูง (ปวส.) และระดับปริญญำตรี ที่มีคุณภำพตรงกับควำมต้องกำร ของภำคอตุ สำหกรรม (ปำนเพชร ชินนิ ทร และคณะ, 2553; สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ; 2552) จำกควำมสำคัญดังกล่ำว สำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ในฐำนะหน่วยงำนกำหนดแผนและยุทธศำสตร์กำรวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ตลอดจนมีภำรกิจหลัก ในกำรจัดสรรงบประมำณให้แก่หนว่ ยงำนและองค์กรในระบบวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) รวมทั้ง จัดสรรงบประมำณสำหรับแผนงำนริเริ่มสำคัญด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ที่มีผลกระทบสูงต่อกำร พัฒนำประเทศได้เล็งเห็นควำมจำเป็นอย่ำงยิ่งในกำรสนับสนุนกำรพัฒนำทุนมนุษย์ในรูปแบบที่สำมำรถขยำย ผลให้เกิดกำรสร้ำงบุคลำกรที่มีขีดควำมสำมำรถในอุตสำหกรรม พร้อมกับกำรพัฒนำศักยภำพของภำคเอกชน สกสว. จึงได้ให้ทุนวิจัยเพื่อพัฒนำและผลักดันกลไกขับเคลื่อนกำรถ่ำยทอดนโยบำยไปสู่กำรปฏิบัติสำหรับ กำรพัฒนำระบบกำรบูรณำกำรเรียนรู้กับกำรท ำงำนเพื่อยกระดับคุณภำพกำรจัดกำรศึกษำ ของสถำบันกำรศึกษำร่วมกับสถำนประกอบกำรที่เป็นอุตสำหกรรมเป้ำหมำยตำมยุทธศำสตร์ของประเทศ

244 เช่น อุตสำหกรรมเชื้อเพลิงชีวภำพและเคมีชีวภำพและอุตสำหกรรมดิจิทัล เป็นต้น และยังให้ทุนวิจัยเพื่อวิจยั เชงิ ระบบ วิจยั เชิงปฏิบตั กิ ำร พัฒนำ ทดลองระบบบรหิ ำรจดั กำร ภำยในหน่วยงำน แนวทำงกำรทำงำนร่วมกัน ระหว่ำงหน่วยงำนเพื่อรองรับกำรเรียนกำรสอนในรูปแบบ WIL แผนงำนวิจัยที่สกสว. สนับสนุนี้มีชื่อว่ำ “แผนงำนวิจัยด้ำนกำรพัฒนำนวัตกรรมต้นแบบในกำรยกระดับกำรศึกษำแบบบูรณำกำรกำรเรียนรู้ กับกำรทำงำนระหว่ำงสถำบันกำรศึกษำและภำคอตุ สำหกรรม” มรี ะยะเวลำ 3 ปี ระหว่ำง พ.ศ. 2564 – 2566 ด้วยงบประมำณทัง้ สิ้น 124,000,000 บำท กำรศึกษำชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินควำมคุ้มค่ำของแผนงำนวิจัยดังกล่ำว โดยให้ควำมสำคัญ กับกำรวิเครำะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นจำกแผนงำนวิจัยอันเป็นผลมำจำกกำรให้ทุนสนับสนุนของ สกสว. กำรประเมินควำมคุ้มค่ำมีลักษณะ Ex-ante ซึ่งเป็นกำรคำดกำรณ์ผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นในอนำคต ตัวชี้วัด สำคัญของควำมคุ้มคำ่ คอื Return on investment (ROI) ซึ่งเป็นกำรพิจำรณำควำมคุ้มคำ่ ในมิติของเศรษฐกิจ โดยนำเครือ่ งมอื ทำงเศรษฐศำสตร์เข้ำมำประยุกตใ์ ช้ สำหรับกำรนำเสนอของบทควำม ส่วนที่ 2 เป็นกำรทบทวนวรรณกรรมเรื่อง WIL และรำยละเอียด ของแผนงำนวิจยั สว่ นที่ 3 อธิบำยระเบียบวิธิวิจยั ส่วนที่ 4 นำเสนอผลกำรศึกษำและส่วนสดุ ทำ้ ยเปน็ ส่วนสรุป 2. วรรณกรรมท่เี กย่ี วข้อง กำรทบทวนวรรณกรรมแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ควำมหมำยและลักษณะของกำรบูรณำกำร กำรเรียนกำรสอนกับกำรทำงำนในสถำนประกอบกำร (Work-integrated learning: WIL) และงำนวิจัย ท่เี กี่ยวข้อง WIL เป็นกำรผสมผสำนระหว่ำงกำรเรียนรู้ในเชิงวิชำกำร (Academic) กับวิชำชีพ (Profession) ภำยใต้สภำพแวดลอ้ มของกำรทำงำน ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรของนักศึกษำ WIL จึงเป็นกำรเชื่อมโยง ระหว่ำงกำรศึกษำในชั้นเรียนกับวิชำชีพในอนำคต ช่วยเปิดโอกำสให้เกิดกำรประยุกต์ใช้ทฤษฎีเข้ำกับโลก แห่งควำมจริง นอกจำกประโยชนท์ ่เี กิดขน้ึ กบั นักศกึ ษำแลว้ มหำวิทยำลัยสำมำรถใชป้ ระโยชน์จำก WIL เช่นกนั ในแง่ของกำรทำวิจัยและควำมร่วมมือกับผู้ใช้งำนวิจัย ขณะที่สถำนประกอบกำรได้แรงงำนจบใหม่ที่มีทักษะ ตรงตำมควำมตอ้ งกำร กำรแบ่งประเภทของ WIL มคี อ่ นข้ำงหลำกหลำย โดยทัว่ ไป WIL มี 9 ประเภท ประกอบด้วย ทวิภำคี สหกิจศึกษำ กำรฝึกงำน กำรฝึกหัด กำรกำหนดประสบกำรณ์ก่อนเข้ำศึกษำ กำรเรียนสลบั กำรทำงำน กำรฝึก เฉพำะตำแหน่ง กำรปฏิบัติงำนภำคสนำมและกำรฝึกงำนที่เน้นกำรเรียนรู้พฤติกรรมกำรทำงำน ในปัจจุบัน รูปแบบของ WIL ที่แพร่หลำยในหลำยมหำวิทยำลัย คือ สหกิจศึกษำ (Cooperative education) ที่เกิดจำก

The 1st National Conference on SROI 245 ควำมร่วมมือระหว่ำงสถำบันกำรศึกษำกับหน่วยงำนภำยนอกสถำนศึกษำ (ไม่จำเป็นต้องเป็นบริษัทเอกชน) มีกำรกำหนดพันธกิจและภำรกิจร่วมกัน มีนโยบำยและแผนงำนที่ชัดเจน โดยมหำวิทยำลัยกับหน่วยงำนนั้น ทำงำนในลักษณะหุ้นส่วนสหกิจศึกษำ (COOP Partnership) ประโยชน์ที่ชัดเจนของสหกิจศึกษำ คือ บัณฑิต สหกิจศึกษำสำมำรถหำงำนได้เร็วกว่ำและมำกกว่ำบัณฑิตที่ไม่ได้เข้ำร่วมสหกิจศึกษำ ผู้ประกอบกำรพอใจ คุณภำพบัณฑิตสหกจิ ศกึ ษำสงู กว่ำบัณฑิตทีไ่ ม่ได้เข้ำร่วมสหกิจศึกษำ นอกจำกนั้น สถำบันกำรศึกษำมีทัศนคติ ที่ดีต่อนักศึกษำที่เข้ำร่วมโครงกำร โดยเห็นว่ำผู้ที่ผ่ำนสหกิจศึกษำมีวุฒิภำวะ มีควำมรับผิดชอบและมีวินัย (อลงกต ยะไวทย์, 2559) ตัวอย่ำงของ WIL ในสถำบันกำรศึกษำของไทย เช่น โครงกำรปริญญำตรีสหกิจ ภำควิชำเครื่องกล คณะวิศวกรรมศำสตร์ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำธนบุรี (มจธ.) ที่จัดกำรเรียนกำรสอน แบบบูรณำกำรร่วมกับกำรทำงำนกับบริษัท สยำมมิชลิน จำกัด โดยมุ่งผลิตบัณฑิตในโครงกำรร่วมกับ สถำบันกำรศึกษำอีก 4 แห่ง ประกอบด้วย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำพระนครเหนือ มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์และมหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลล้ำนนำ สำหรับที่ มจธ. นั้น นักศึกษำใช้ระยะเวลำ 10 ปี ในปีกำรศึกษำที่ 4 มีกำรทำงำนและทำวิจัยบนโจทย์ ของบรษิ ทั นอกจำกนั้น ยงั มกี ำรเรยี นรำยวชิ ำเฉพำะที่บรษิ ัท อีกหนึง่ ตัวอย่ำงของสหกจิ ศึกษำ คอื คณะเศรษฐศำสตร์ มหำวทิ ยำลัยเชียงใหม่ โดยโครงกำรนี้เร่ิมต้น ในปี พ.ศ. 2553 ระยะเวลำของโครงกำรท่ีนักศึกษำเขำ้ รว่ มคอื 4 เดอื น มีกำรเตรียมควำมพรอ้ มให้กบั นักศึกษำ มีอำจำรย์นิเทศที่คอยให้คำแนะนำและช่วยเหลือนักศึกษำ อย่ำงไรก็ตำม พบว่ำ ขอบเขตของสถำน ประกอบกำรที่เข้ำร่วมในโครงกำรสหกิจศึกษำกับคณะเศรษฐศำสตร์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ไม่ได้มีเฉพำะ สถำนประกอบกำรในภำคเอกชนแต่รวมถึงหน่วยงำนของรัฐ (เช่น กรมกำรกงสุล กรมศุลกำกร และกำรไฟฟ้ำ ฝำ่ ยผลิตแห่งประเทศไทย เปน็ ตน้ ) และสถำนประกอบกำรในภำคบริกำร (เช่น บรษิ ทั จีเอม็ เอม็ แกรมมี่ จำกัด มหำชน และบรษิ ัททำ่ อำกำศยำนยนตไ์ ทย จำกดั มหำชน) สำหรับงำนวิจัยทีเ่ กี่ยวข้องกับ WIL นน้ั พบว่ำ ส่วนมำกมักจะเปน็ กำรประเมินประสิทธิภำพของ WIL ในสถำนกำรณ์ที่ต่ำงกัน สำหรับงำนวิจัยที่ทำในบริบทประเทศไทยนั้นมีค่อนข้ำงจำกัดเมื่อเทียบกับงำนวิจัย ในต่ำงประเทศ เช่น สุริยะ พุ่มเฉลิม และพัลลภ พิริยะสุรวงศ์ (2558) กษิรำ กำญจนพิบูลย์ และธนำสิทธ์ิ เพ่มิ เพียร (2559) ปรำโมทย์ สทิ ธิจักร และวิไรวรรณ แสนชะนะ (2560) รวมถึงจิระเสกข์ ตรีเมธสุนทร (2563) ที่ศึกษำปัจจัยสู่ควำมสำเร็จของ WIL โดยเน้นที่ด้ำนสมรรถนะของพนักงำน โดยใช้ข้อมูลจำกกำรสัมภำษณ์ โดยใช้แบบสอบถำมผู้บริหำรในองค์กำรที่ตั้งอยู่ในนิคมอุตสำหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี และนิคม อุตสำหกรรมอมะตะซิตี้ จังหวัดระยอง จำนวน 350 ตัวอย่ำง ผลกำรศึกษำพบว่ำกลุ่มตัวอย่ำงเห็นด้วยกับ

246 โครงกำร WIL นอกจำกนั้นพบว่ำปัจจัยด้ำนจำนวนพนักงำน ประเภทของอุตสำหกรรมและปัจจัยด้ำนสญั ชำติ ของเจ้ำของส่งผลต่อปัจจัยสู่ควำมสำเร็จของ WIL ระหว่ำงสถำบันอุดมศึกษำกับผู้ประกอบกำรในกำรพัฒนำ ด้ำนสมรรถนะของพนักงำนฝำ่ ยผลติ สำหรับงำนวิจัยที่ทำในต่ำงประเทศนั้นจะยกมำ 2 งำนด้วย งำนแรก คือ งำนของ Smith (2012) ซึ่งไดป้ ระเมินคุณภำพของ WIL จำกกำรทบทวนวรรณกรรมท่ีเกย่ี วข้องในอดตี โดยพบวำ่ คุณภำพของ WIL น้ัน ขึ้นอยู่กับ 6 ปัจจัยหลักด้วยกัน ประกอบด้วย ควำมจริงจังของโครงกำร (authenticity) ที่ให้นักเรียนได้มี ส่วนร่วมและเกี่ยวข้องกับกำรทำงำนในสถำนที่จริงอย่ำงแท้จริง ควำมเชื่อมโยงระหว่ำงกำรสอนและกิจกรรม กำรเรียนรู้ที่มีเป้ำหมำยกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร (alignment of teaching and learning activities with integrative learning objectives) ที่ช่วยให้นักเรียนสำมำรถบูรณำกำรทฤษฎีเข้ำกับควำมรู้เชิงปฏิบัติ (practical knowledge) ควำมเชื่อมโยงของกำรประเมินที่มีเป้ำหมำยเพื่อกำรเรียนรู้แบบบูรณำกำร (alignment of assessment with integrative learning objectives) กำรสนับสนุนกำรเรียนรู้ (integrated learning support) ที่ไม่ใช่เพียงแค่กำรสนับสนุนด้ำนวิชำกำรแต่รวมถึงกำรสนับสนุนด้ำนสังคมและสภำพ จิตใจของนักเรียนในโครงกำร กำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำงตัวแทนของมหำวิทยำลัยกับนักเรียน ( supervisor access) เพื่อให้ได้รับข้อคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อกำรเรียนรู้และเพื่อสนับสนุนกำรทำงำนในสถำนที่จริง และขั้นตอนกำรแนะนำโครงกำรและกำรเตรยี มตวั (induction and preparation processes) ทัง้ น้ี ผูว้ จิ ัยได้ สมั ภำษณ์นักศกึ ษำกว่ำ 219 คนในออสเตรเลียและสหรำชอำณำจักร ผลจำกกำรวเิ ครำะห์ดว้ ย principal axis factoring method และ structural equation modelling สะท้อนถึงควำมสำคัญของ 6 ปัจจัยนี้ที่ส่งผล ตอ่ คณุ ภำพของ WIL นอกจำกนั้น Jackson (2015) ศึกษำแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ (best practice) ในชั้นเรียนและกำร ทำงำน (work placement) ที่ช่วยพัฒนำทักษะที่เกี่ยวข้องกับควำมสำมำรถในกำรทำงำน (employability skills) และหำปัจจัยที่ท ำขัดขวำงประสิทธิภำพของโครงกำร WIL โดยใช้ข้อมูลจำกกำรสัมภำษณ์ โดยใช้แบบสอบถำมจำกนักศึกษำระดับปริญญำตรีจำนวน 131 คน ในหลำกหลำยสำขำวิชำในมหำวิทยำลัย แห่งหนึ่งในออสเตรเลีย ผลกำรศึกษำพบว่ำ นักเรียนส่วนใหญ่ชื่นชอบห้องเรียนและ/หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ที่ให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกำรวำงแผนและกำหนดเป้ำหมำยและมีระบบประเมินที่ยึดโยงกับ ผลลัพธ์ ที่ตั้งเป้ำหมำย ซึ่งกิจกรรมนี้ทำให้นักเรียนเกิดแรงบันดำลใจ มีควำมสำมำรถในกำรมองเห็นตนเอง มีควำมคิด เชิงวิพำกย์และควำมสำมำรถในกำรแก้ไขปัญหำ กำรสื่อสำร กำรทำงำนอย่ำงมืออำชีพ และควำมสำมำรถ ในกำรทำงำนร่วมกับคนอื่น สำหรับกำรทำงำนในสถำนท่ีจรงิ น้ัน นักเรียนส่วนมำกระบุว่ำกำรโค้ช (coaching) และระบบพ่ีเลี้ยง (mentoring) มปี ระโยชนอ์ ย่ำงมำก รวมไปถึงกำรตั้งเป้ำหมำย (goal setting) และกิจกรรม ที่เกี่ยวกับกำรสะท้อนกำรเรียนรู้ (reflection activities) ถูกมองว่ำเป็นประโยชน์ต่อกำรเพิ่มประสิทธิภำพ

The 1st National Conference on SROI 247 ของโครงกำร WIL นอกจำกนั้น อุปสรรคที่สำคัญของประสิทธิภำพของ WIL คือ กำรที่นักเรียนที่เข้ำร่วม โครงกำรไม่สำมำรถประเมินระดับของมำตรฐำนของงำน (standard) ที่นักเรียนผิดชอบและไม่ทรำบถึงระดับ ของผลลัพธ์และเป้ำหมำยที่ควรจะบรรลุ นอกจำกนั้น นักเรียนยังรู้สึกว่ำกำรทำงำนกับพนักงำน ทม่ี ีประสบกำรณ์มำกกว่ำทำให้รสู้ ึกว่ำตนเองไม่มีควำมสำมำรถมำกพอและรู้สึกโดดเดย่ี วและแบ่งแยกออกจำก พนักงำนในบริษัท ปัญหำอื่น ๆ ที่มักพบเช่นกำรไม่ได้รับกำรสนับสนุนจำกเพื่อนร่วมงำนคนอื่น ๆ รวมถึง กำรทำงำนกับคนที่มีวัฒนธรรม ภำษำ และชำติพันธ์ที่แตกต่ำง ทำให้กำรสื่อสำรผิดพลำดและกำรทำงำนไม่มี ประสทิ ธภิ ำพเทำ่ ทคี่ วร 3. ระเบยี บวธิ ีวิจยั 3.1 กรอบแนวคดิ การประเมิน กำรประเมินควำมคุ้มค่ำของกำรลงทุนในแผนงำนวิจัยด้ำนกำรพัฒนำนวัตกรรมต้นแบบในกำร ยกระดับกำรศึกษำแบบบูรณำกำรกำรเรียนรู้กับกำรทำงำนระหว่ำงสถำบันกำรศึกษำและภำคอุตสำหกรรม ของ สกสว. จำนวน 124,000,000 ล้ำนบำท เป็นไปตำมกำรประเมินแบบ 3 S ประกอบด้วย Situation Scenario และ Simulation Situation คือ กำรระบุผลกระทบที่น่ำจะเป็นไปได้ของแผนงำนวิจัยหรือเป็นกำรเขียนเส้นทำง ของผลกระทบ (Impact Pathway) ซึ่งขั้นตอนนี้มีควำมสำคัญต่อกำรประเมินผลกระทบจำกกำรลงทุนวิจัย เนื่องจำกช่วยค้นหำวิถีทำงที่งำนวิจัยจะก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงต่อเศรษฐกิจและสังคม ประกอบด้วย กำรวิเครำะห์ว่ำงำนวิจัยสำมำรถนำไปสู่กำรเปลี่ยนแปลงในด้ำนใดบ้ำงและกำรเปลี่ยนแปลงดังกล่ำวนำไปสู่ ผลกระทบอะไรและใครทเ่ี ปน็ ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย (Stakeholders) สำหรับ impact pathway ของแผน WIL นี้ มีผลผลิต (Outputs) หลำยด้ำน คือ ผลผลิตแรก คือ ระบบกำรบูรณำกำรกำรเรียนรู้กับกำรทำงำนเพื่อผลิตบุคลำกรร่วมกันระหว่ำงสถำบันกำรศึกษำกับสถำน ประกอบกำร สำหรับผลลัพธ์ คือ กำรมีระบบบูรณำกำรกำรเรียนรู้กับกำรทำงำนที่จะนำไปสู่กำรพัฒนำ ภำคอุตสำหกรรมในบริบทที่ทำให้ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของภำคอุตสำหกรรมเพิ่มขึ้น ผลผลิตที่สอง คือ ช่วยส่งเสริมให้นักศึกษำระดับอำชีวศึกษำและระดับอุดมศึกษำมีทักษะตรงตำมควำมต้องกำรของภำค อตุ ุสำหกรรม ผลลัพธ์ คอื กำรมบี คุ ลำกรทม่ี ีศักยภำพสอดคล้องกบั ควำมตอ้ งกำรของภำคอตุ สำหกรรม ผลกระทบ คือ กำรมกี ำลังคนร่วมระหว่ำงสถำบันอดุ มศกึ ษำกับภำคเอกชนเพื่อพฒั นำบัณฑิตคณุ ภำพ/ ผู้สำเร็จกำรศึกษำใหม่ที่มีทักษะตรงหรือใกล้เคียงกับที่ตลำดแรงงำนต้องกำรเพิ่มมำกขึ้น ทั้งนี้ ผู้มีส่วน ได้ ส่วนเสียจำกกำรทำผลงำน ววน. ไปใช้ประโยชน์ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ สถำบันอุดมศึกษำ หน่วยงำนรัฐ

248 และภำคอุตสำหกรรม พื้นที่ที่นำผลงำนววน. ไปใช้ประโยชน์ คือ สถำบันอุดมศึกษำ หน่วยงำนรัฐ ภำคเอกชน ท่ปี รำกฏอยู่ทว่ั ประเทศ Scenario คือ กำรกำหนดเงื่อนไขสถำนกำรณ์ท่ีอำจเกิดข้ึน เช่น กำรระบุระดับของกำรนำเทคโนโลยี และ/หรือผลงำนไปใช้ (adoption) ในระดับต่ำง ๆ ซึ่งกำรกำหนดระดับของกำรนำผลงำนวิจัยไปใช้มีหลำย ประเดน็ ใหพ้ ิจำรณำ เชน่ ชว่ งเวลำที่ผลงำนจะถูกนำไปใช้ (adoption profile) แรงจงู ใจในกำรนำผลงำนไปใช้ (incentives) และปัจจัยทสี่ ่งเสริมหรอื อปุ สรรคในกำรทำผลงำนไปใช้ นอกจำกนั้น ยังรวมถึงกำรกำหนดโอกำส ของควำมสำเร็จของแผน เชน่ กำรระบรุ อ้ ยละทแี่ ผนงำนจะประสบควำมสำเรจ็ สำหรับแผนงำนวิจยั ด้ำน WIL น้ี ประกอบด้วยกนั 3 สถำนกำรณ์ ได้แก่ 1) สถำนกำรณ์ทท่ี ุกสถำบันกำรศึกษำ (สถำบนั อำชีวศึกษำและมหำวิทยำลยั ) มโี ครงกำร WIL ให้กับนกั ศกึ ษำ 2) สถำนกำรณ์ท่ีสถำบนั กำรศึกษำจำนวนร้อยละ 50 มโี ครงกำร WIL 3) สถำนกำรณ์ทสี่ ถำบนั กำรศึกษำจำนวนร้อยละ 25 มโี ครงกำร WIL ข้อจำกัดประกำรหน่งึ ของกำรประมำณผลกระทบกำรลงทนุ ด้ำนกำรวจิ ยั แบบ Ex-ante คือ สมมุตฐิ ำน ที่ใช้ในกำรประมำณแนวโน้มกำรนำผลงำนวิจัยไปใช้นั้นหำวิธีกำรที่เป็นมำตรฐำน น่ำเชื่อถือหรือหลักฐำน เชิงประจักษ์มำรองรับได้ยำก เนื่องจำกเป็นกำรคำนึงถึงสถำนกำรณ์ในอนำคตที่ไม่เคยปรำกฏมำก่อน ในกำรศึกษำครั้งนี้ จึงได้กำหนด adoption rate ออกเป็น 3 ระดับ คือ ร้อยละ 100 ร้อยละ 50 และร้อยละ 25 แม้ว่ำ adoption rate ทีร่ ะดับร้อยละ 100 จะเกิดขน้ึ ได้จรงิ เพรำะหมำยถึงทุกสถำบนั กำรศึกษำต้องดำเนิน โครงกำร WIL อย่ำงไรก็ตำม พบว่ำสถำนศึกษำในปัจจุบันมักมีโครงกำรที่เป็นส่วนหนึ่งของ WIL อยู่แล้ว หำกในอนำคตโครงกำร WIL ได้รับกำรสนับสนุนอย่ำงจริงจัง ควำมร่วมมือระหว่ำงภำคอุตสำหกรรม ภำครัฐ และสถำบันกำรศกึ ษำนำ่ จะปรำกฎให้เห็นมำกยิ่งข้นึ ทั้งนี้ Baseline scenario คือ กำรที่แรงงำนจบใหม่ในแต่ละปีมีคุณภำพเท่ำเดิม กล่ำวคือ มีโอกำส ที่จะเกิด Skill mismatch และ Qualification mismatch นอกจำกนั้น โอกำสในควำมสำเร็จกำหนดท่ี 3 ค่ำ เชน่ กัน คือ 100% 50% และ 25% อีกประเด็นหนึ่งที่สำคัญ คือ กำรคิดส่วนเกี่ยวข้องของววน. (Contribution) ซึ่งงำนศึกษำนี้คำนวณ Contribution อ้ำงอิงจำกงบประมำณจำกหน่วยงำนอื่น ๆ ที่น่ำจะทำให้เกิดควำมสำเร็จของแผน ซึ่งก็คือ กำรมีแรงงำนจบใหม่ที่มีทักษะตรงตำมควำมต้องกำรของแรงงำน นอกเหนือจำกงบประมำณของ สกสว.

The 1st National Conference on SROI 249 หน่วยงำนอน่ื ท่เี กยี่ วข้องคอื กระทรวงอดุ มศกึ ษำ วิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม และสำนกั งำนคณะกรรมกำร อำชวี ศกึ ษำ Simulation คือ กำรกำหนดข้อสมมติ (Assumption) ที่สำคัญรวมถึงกำรคำนวณ Return of Investment (ROI) สำหรับกำรคำนวณผลกระทบทำงเศรษฐกิจนั้น จะพิจำรณำว่ำกำรเพิ่มขึ้นของแรงงำน ที่มีศักยภำพร้อยละ 1 จะสร้ำงมูลค่ำทำงเศรษฐกิจแตกต่ำงจำก baseline scenario เท่ำไหร่ (เรียกว่ำ ค่ำ Output Elasticity of Labor) งำนวิจัยนี้ศึกษำควำมสัมพันธ์ดังกล่ำวโดยใช้ Production function ที่กำหนดให้ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปัจจัยแรงงำนและปัจจัยทุนเป็นแบบ Cobb-Douglas ซึ่งรำยละเอียด ของ production function แสดงในภำคผนวก ก. ท้งั นี้ คำ่ ของ ROI คำนวณจำกผลประโยชน์ทีไ่ ด้รับจำกกำร ลงทุนด้ำน ววน. หำรดว้ ยต้นทนุ ท่ีเกิดข้นึ ซ่งึ เป็นมูลค่ำของแผนงำนวิจัยดำ้ น WIL อีกประเด็นที่สำคัญในขั้นตอนน้ี คือ กำรกำหนดผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับแผนงำนวิจัย แม้ว่ำ WIL จะเกี่ยวข้องกับนักศึกษำในหลำยคณะแต่แผนงำนวิจัยของ สกสว. นี้ มุ่งให้ควำมสำคัญกับอุตสำหกรรมท่ีตอบ โจทย์ยุทธศำสตร์ชำติ ดังนั้น งำนวิจัยนี้จึงกำหนดให้ผู้ได้รับประโยชน์ คือ แรงงำนจบใหม่ที่สำเร็จกำรศึกษำ ด้ำนวิศวกรรม อุตสำหกรรม วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี รวมถึงนักศึกษำที่จบจำกสถำบันอำชีวศึกษำ ทั้งนี้ กำหนดให้แรงงำนจบใหม่เข้ำทำงำนในภำคอุตสำหกรรมเท่ำกับร้อยละ 16 ของนักศึกษำจบใหม่ (จำกมหำวทิ ยำลัยและสถำบันอำชีวศกึ ษำ) ซึ่งเปน็ ขอ้ มลู ของปี พ.ศ. 2562 อัตรำส่วนของกำไรสุทธิกับค่ำใช้จ่ำย (Return on investment: ROI) คำนวณจำกกำรนำมูลค่ำ ทำงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นใหม่ (เมื่อเทียบกับ base scenario) หำรด้วยงบประมำณของแผนงำนวิจัย WIL ซึง่ มมี ูลคำ่ อยทู่ ี่ 124,000,000 ล้ำนบำท 3.2 ข้อมูลที่ใชใ้ นการศกึ ษา ข้อมูลที่ใช้ในกำรประมำณกำรทำงเศรษฐมิติ (สมกำร Cobb-Douglas production function) คือ ผลผลิต (output) จำนวนแรงงำนและทุน ระหวำ่ งปี พ.ศ. 2534 ถึง พ.ศ. 2562 ซง่ึ รวบรวมจำกสภำพัฒนำ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องแรงงำนที่จำเป็นในกำรคำนวณ ได้แก่ จำนวนนักศึกษำจำแนกตำมด้ำน ทีจ่ บกำรศึกษำ จำนวนผู้มงี ำนทำและกำลังแรงงำนตำมสำขำกำรผลติ รวบรวมจำกกำรสำรวจภำวกำรณ์ทำงำน ของประชำกร สำนกั งำนสถติ ิแห่งชำติ

250 4. ผลการศึกษา ผลกำรศึกษำมี 2 ส่วน ส่วนแรก คือ ผลกระทบทำงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจำกแผนงำนวิจัย (ปรำกฏ ในตำรำงที่ 1) และส่วนท่ีสอง คอื SOI ของแผนงำนวิจยั (ปรำกฎในตำรำงที่ 2) ตัวเลขที่ปรำกฏในตำรำงที่ 1 เป็นควำมแตกต่ำงระหว่ำงผลกระทบทำงเศรษฐกิจจำกแผนงำนวิจัย ด้ำน WIL เมื่อเทียบกับ base scenario ซึ่งเป็นกรณีที่ไม่มีแผนงำนวิจัยด้ำน WIL ซึ่งมูลค่ำทำงเศรษฐกิจอยู่ท่ี 56,720 ล้ำนบำท ซึ่งคำนวณจำกกำรนำ coefficient ของตัวแปรแรงงำนที่ได้จำก regression model คูณกบั สัดสว่ นของแรงงำนจบใหมท่ ่ที ำงำนในภำคอตุ สำหกรรม จำกตำรำงที่ 1 พบว่ำ ผลกระทบทำงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจำกแผนงำนวิจัยด้ำน WIL มีค่ำอยู่ระหว่ำง 69.51 ล้ำนบำท ถึง 4,448.65 ล้ำนบำท ขึ้นอยู่กับสถำนกำรณ์ (Scenario) และโอกำสของควำมสำเร็จ หำกทุกสถำบันกำรศึกษำ (สถำบันอำชีวศึกษำและมหำวิทยำลัย) ทุกสถำบันดำเนินโครงกำร WIL อย่ำงเป็น รูปธรรมและโครงกำร WIL นี้ ช่วยให้นักศึกษำจบใหม่มีทักษะตรงตำมควำมต้องกำรของสถำนประกอบกำร ในภำคเอกชน มลู ค่ำทำงเศรษฐกจิ ทีเ่ พิม่ ขึน้ จำกสถำนกำรณ์ฐำน (Base scenario) คอื 4,448.65 ล้ำนบำท ตารางท่ี 1 ผลกระทบทำงเศรษฐกิจจำกแผนงำนวิจัยด้ำน WIL (หนว่ ย: ล้ำนบำท) Scenario I Scenario II Scenario III (Adoption rate (Adoption rate 50%) (Adoption rate 100%) 25%) Prob of success 100% 4,448.65 1,668.24 278.04 Prob. of success 50% 2,224.32 834.12 139.02 Prob. of success 25% 1,112.16 417.06 69.51

The 1st National Conference on SROI 251 ตารางที่ 2 ROI จำแนกตำมสถำนกำรณ์และโอกำสที่ WIL จะประสบควำมสำเรจ็ Prob of success 100% Scenario I Scenario II Scenario III Prob. of success 50% 35.88 13.45 2.24 Prob. of success 25% 17.94 6.73 1.12 8.97 3.36 0.56 จำกตำรำงที่ 2 ค่ำ ROI อยรู่ ะหว่ำง 0.56 ถึง 35.88 ดังน้ัน ค่ำ ROI จะมีคำ่ มำกหรือน้อย จึงข้ึนอยู่กับ วำ่ สถำบนั กำรศึกษำจะใช้ WIL และโอกำสทโ่ี ครงกำร WIL จะสร้ำงแรงงำนใหม่ที่มีทักษะตรงกับควำมต้องกำร ของสถำนประกอบกำรได้มำกน้อยเพยี งใด ทั้งนี้ จำกกำรประมำณกำร ROI มี 2 ปัจจัยที่ทำให้ค่ำ ROI สูง คือ 1) สัดส่วนของแรงงำนที่ทำงำน ในภำคอุตสำหกรรมเพิ่มขึ้น และ 2) สถำบันกำรศึกษำ (สถำบันอำชีวศึกษำและมหำวิทยำลัย) มีกำรดำเนิน โครงกำร WIL มำกขนึ้ ซึ่งท้ัง 2 สว่ นนต้ี ้องอำศยั กำรผลกั ดันอย่ำงเป็นรูปธรรมจำกผู้มีส่วนได้สว่ นเสียให้เกิดกำร ขยำยผลในวงกว้ำงเรื่องกำรพัฒนำกำรเรียนกำรสอน เพื่อผลิตบุคลำกรร่วมกันระหว่ำงสถำบันกำรศึกษำ กับสถำนประกอบกำร ภำยในหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องทั้งในส่วนของสถำบันกำรอุดมศึกษำและสถำบันวิจัย ของภำครัฐในรูปแบบใหม่ พร้อมท้งั เสนอตอ่ หน่วยงำนนโยบำยเพ่ือปฏิรูปเชงิ โครงสรำ้ งดำ้ นกำรพัฒนำบุคลำกร ที่มีคุณภำพและมีเพียงพอตอบสนองควำมต้องกำรของประเทศ ทั้งนี้ จำกงำนวิจัยของ Rybnicek and Konigsgruber (2019) ได้เสนอ 3 ปัจจัยที่ทำให้ควำมร่วมมือระหว่ำงสถำบันกำรศึกษำและภำคอุตสำหกรรม ประสบควำมสำเร็จ ประกอบดว้ ย 1) ปัจจัยเชงิ สถำบัน (institutional factors) เช่น ทรพั ยำกร ควำมต้องกำร ในกำรเปลี่ยนแปลงและกำรควบคุมกำรดำเนินงำน เป็นต้น 2) ปัจจัยด้ำนควำมสัมพันธ์ (relationship factors) เชน่ กำรตดิ ต่อสอื่ สำร พนั ธสญั ญำ ควำมเชอ่ื ใจ และประสบกำรณ์ เปน็ ตน้ และ 3) ปจั จยั ด้ำนผลผลติ (output factors) เช่น กำรส่งต่อควำมรู้ กำรส่งต่อเทคโนโลยีและเป้ำหมำย เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ำท้ำทำย ว่ำปัจจัยเหล่ำนี้แตกต่ำงกันหรือไม่อย่ำงไรในแต่ละสถำบันกำรศึกษำและสถำนประกอบกำรและบทบำท ของภำครัฐจะเป็นอย่ำงไรเพ่อื สนบั สนนุ ปจั จยั เหล่ำนใี้ ห้เกดิ ข้ึน

252 5. สรปุ แผนงำนวจิ ยั ด้ำนกำรพฒั นำนวตั กรรมตน้ แบบในกำรยกระดับแบบบรู ณำกำรกำรเรียนรู้กบั กำรทำงำน ระหว่ำงสถำบันกำรศึกษำและภำคอุตสำหกรรม วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนำระบบพัฒนำกำลังคนร่วมระหว่ำง สถำบันอุดมศึกษำกับภำคเอกชน เพื่อพัฒนำบัณฑิตและผู้ได้รับกำรฝึกอบรมที่มีทักษะและคุณลักษณะตรงกบั ที่ตลำดงำนของประเทศต้องกำร งำนศึกษำชิ้นนี้ชี้ว่ำกำรลงทุนในแผนงำนวิจัยดังกล่ำวสร้ำงควำมคุ้มค่ำ ทำงเศรษฐกจิ ระหวำ่ ง 70 ถึง 4,400 ล้ำนบำท และมคี ำ่ ROI ระหว่ำง 0.56 ถงึ 35.88 งำนวิจัยในอนำคตสำมำรถวิเครำะห์ประโยชน์ของแผนงำนวิจัย WIL ในมิติอื่น ๆ ที่นอกเหนือจำก มูลค่ำทำงเศรษฐกิจ เช่น กำรแก้ไขปัญหำควำมเหลื่อมล้ำและกำรแก้ไขปัญหำกำรจ้ำงงำน เป็นต้น ซึ่งทั้งสอง มติ เิ ปน็ ประเดน็ ที่เก่ียวข้องกบั สภำวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในปจั จุบันเป็นอย่ำงยง่ิ นอกจำกนั้น มิติของสังคม สูงวัยและผลกระทบจำกกำรใช้เทคโนโลยีในสถำนประกอบกำรเป็ นอีกประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกำรพัฒนำ คณุ ภำพแรงงำนด้วยโครงกำร WIL เอกสารอา้ งองิ กษริ ำ กำญจนพบิ ูลย์ และธนำสทิ ธ์ิ เพม่ิ เพยี ร. (2559). แนวทำงปฏิบตั ติ ำมนแวกำรจัดกำรศึกษำเชิงบูรณำกำร กับกำรทำงำนทีเ่ หมำะสมกับคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของนักศึกษำหลักสตู รบรหิ ำรธุรกิจบัณฑิตและ ควำมต้องกำรของสถำนประกอบกำร. วารสารปัญญาภิวัฒน์, ปีท่ี 8 เล่มท่ี 3, หนำ้ 165-177. จิระเสกข์ ตรีเมธสุนทร. (2563). ปัจจัยสู่ควำมสำเร็จของกำรบูรณำกำรกำรเรียนรู้กับกำรทำงำนระหว่ำง สถำบันอุดมศึกษำกับสถำนประกอบกำรในกำรัฒนำด้ำนสมรรถนะของพนักงำนฝ่ำยผลิตในนิคม อุตสำหกรรมภำคตะวันออก. วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก (สาขามนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร)์ . ปีท่ี 6 (ฉบบั ที่ 1), หนำ้ 50-61. ปำนเพชร ชินินทร, และวิเชษฐ์ พลำยมำศ. (2553). กำรศึกษำปัจจัยสู่ควำมสำเร็จของกำรจัดกำรศึกษำเชิง บูรณำกำรกับกำรทำงำนสำหรับอุดมศึกษำไทย (work integrated learning: WIL). รำยงำนกำร ประชุมวิชำกำรครั้งที่ 7 มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ วิทยำเขตกำแพงแสน คณะวิทยำศำสตร์และ ส่งิ แวดล้อม วนั ที่ 7-8 ธนั วำคม 2553. หน้ำท่ี 1056-1063. ปรำโมทย์ สทิ ธจิ กั ร และวไิ รวรรณ แสนชะนะ. (2560). กำรพัฒนำระบบจัดกำรเรียนรแู้ บบบรู ณำกำรเครือข่ำย สังคมออนไลน์ สำหรับหลักสูตรท้องถ่ินผำ่ นอปุ กรณ์เคลือ่ นที่. วำรสำรเทคโนโลยีสุรนำรี, ปีที่ 11 เล่ม ท่ี 2, หน้ำ 59-82.

The 1st National Conference on SROI 253 สุริยะ พุ่มเฉลิม และพัลลภ พิริยะสุรวงศ์. (2558). กำรออกแบบรูปแบบกำรจัดกำรศึกษำแบบบูรณำกำรกำร เรียนกับกำรทำงำน โดยใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศของสถำบันอุดมศึกษำ. วารสารวิชาการครุศาสตร์ อตุ สาหกรรม พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. ปที ่ี 6 เลม่ ที่ 2, หนำ้ 49-57. สำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ. (2552). รำยงำนกำรวจิ ยั ฉบับสมบูรณ์เร่ือง กำรพฒั นำแนวทำงกำรจัดกำร เรียนกำรสอนที่บูรณำกำรกำรเรียนรู้กับกำรทำงำนในสถำบันอุดมศึกษำ (Work-Integrated Learning). กรงุ เทพมหำนคร: สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำกำรศึกษำ กระทรวงศึกษำธิกำร. อลงกต ยะไวทย์. (2559). กำรสอนในมหำวิทยำลัยทำไมต้องเป็น WIL. เอกสำรประกอบกำรบรรยำยเมื่อวัน ศกุ ร์ท่ี 29 เมษำยน 2559. de Vries, G., Arfelt, L., Drees, D., Godemann, M., Hamilton, C., Jessen-Thiesen, B., Kaya, A. I., Kruse, H., Mensah, E., Woltjer, P. (2021). The Economic Transformation Database (ETC): Content, Sources, and Methods. WIDER Technical Note 2/2021. Jackson, D. (2015). Employability skill development in work-integrated learning: Barriers and best practice. Studies in higher education, 40(2), 350-367. Jitsuchon, S. (2012). Thailand in a middle-income trap. TDRI Quarterly Review, 27(2), 13-20. OECD. (2020). Thailand’s education system and skills imbalances: Assessment and policy recommendations. Ecoomics Department Working Series No. 1641. Rybnicek, R. and Konigsgruber, R. (2019). What makes industry-university collaboration succeed? A systematic review of the literature. Journal of Business Economics, 89, 221- 250. Smith, C. (2012). Evaluating the quality of work-integrated learning curricula: A comprehensive framework. Higher Education Research and Development, 31(2), 247-262. Timmer, M. P., de Vries, G. J., and de Vries, K. (2015). Patterns of structural change in developing countries. In J. Weiss, & M. Tribe (Eds.), Routledge Handbook of Industry and Development. (pp. 65-83). Routledge. Warr, P. (1993). The Thai economy. In P. Warr (Ed.), The Thai Economy in Transition. Cambridge: Cambridge University Press.

254 Warr, P. G. (2019). Economic development of post-war Thailand. In: P. Chachavalpongun (ed.), Routledge Handbook of Contemporary Thailand, London: Routledge. ภาคผนวก ก. ฟังกช์ ันกำรผลติ (Production function) ฟังก์ชันกำรผลิต (Production function) แสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปัจจัยกำรผลิตกับผลผลิต ที่ได้รับจำกปัจจัยกำรผลิตนั้น ๆ ในช่วงระยะเวลำหนึ่ง ฟังก์ชันกำรผลิตสำมำรถใช้เพื่อประมำณค่ำดัชนีชี้วัด ทำงเศรษฐกิจได้หลำกหลำย เช่น ผลิตภำพกำรผลิต (productivity) กำรจัดสรรทรัพยำกร (resources allocation) ต้นทุนกำรผลติ สว่ นเพ่มิ (marginal costs) ควำมเข้มข้นของปัจจัยทุน (factor intensity) รวมถงึ บทบำทของนวัตกรรม (innovation) ฟังก์ชันกำรผลิตสำมำรถคำนวณได้ทั้งระดับบริษัท (firm level) และระดับภำพรวม (aggregate level) เช่น ภูมิภำคและประเทศ เป็นต้น ในที่นี้จะแสดง Cobb-Douglas production framework ให้ ������������������ คือ ผลผลิตของบริษัท ������ ณ เวลำ ������ และให้ ������������������ และ ������������������ คือ ทุนและแรงงำน ซึ่งเป็น สองปจั จยั ท่ใี ช้ในกำรผลติ สมกำรที่ 1 แสดง Cobb-Douglas production framework ������������������ = ������������������������������������������������������������������ (1) โดยที่ ������������������ คือ ผลิตภำพโดยรวม (total factor productivity) ของบริษัท ������ คือ output elasticity of capital ขณะที่ ������ คือ output elasticity of labor และกำหนดให้ ������ + ������ = 1 ซึ่งทำให้ production function ในสมกำรที่ 1 อยู่ภำยใต้เงื่อนไข constant returns to scale (CRS) ทั้งนี้ ภำยใต้ ข้อสมมติว่ำตลำดแข่งขันกันอย่ำงสมบูรณ์และค่ำตอบแทนของปัจจัยกำรผลิตเท่ำกับผลผลิตส่วนเพิ่ม (marginal product) ������ และ ������ ยังสะท้อนสดั ส่วนของทุนและแรงงำนในผลผลติ แกส้ มกำรที่ (1) โดยกำร take logs ln ������������������ = ������ ln ������������������ + ������ ln ������������������ + ������������������ + ������������������ (2) โดยท่ี ������������������ ≡ ln������������������ และ ������������������ คือ measurement error

The 1st National Conference on SROI 255 ทั้งนี้ นอกเหนือจำก Cobb-Douglas production function แล้ว ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงต้นทุน กำรผลิตกับผลผลิตอำจแสดงได้ด้วย Constant Elasticity of Substitution (CES) production function ซ่งึ มคี วำมยดื หยนุ่ มำกกวำ่ ในเรื่องของกำรทดแทนกันระหว่ำงปัจจัยกำรผลติ

256 การประเมนิ ผลตอบแทนจากการลงทุนทางสงั คมของโครงการจดั การปัญหาสุนัข ในเขตมหาวิทยาลยั เชยี งใหมแ่ บบมีสว่ นร่วมจากชมุ ชนอยา่ งย่งั ยืน วรลกั ษณ์ หมิ ะกลัส*, ปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์, กนั ต์สินี กันทะวงศ์วำร สขุ มุ พนั ธณ์ุ รงค์, พมิ ลพรรณ บญุ ยะเสนำ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ *Corresponding author อีเมล์ [email protected] 1. ท่มี าและความสาคญั กำรสำรวจสุนัขจรจัดหรือสุนัขไร้เจ้ำของในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2557 พบว่ำ มีจำนวนประชำกรสุนัขถึง 164 ตวั ซึง่ อำศยั อยอู่ ย่ำงอิสระในพื้นทส่ี ำธำรณะหรืออำศัยอยู่รว่ มกบั ชมุ ชนในคณะ และหน่วยงำนต่ำง ๆ โดยสุนัขเหล่ำนี้มีทั้งที่สำมำรถจับบังคับได้และไม่ได้และหลำยครั้ง สุนัขที่ไม่เป็นมิตร และจับบังคับไม่ได้ก็ก่อปัญหำด้ำนสำธำรณสุขและควำมปลอดภัยแก่คนในชุมชน เช่น สร้ำงควำมบำ ดเจ็บ และหวำดกลัว เนื่องจำกพฤติกรรมที่ก้ำวร้ำว ก่อควำมรำคำญจำกเสียงและควำมสกปรกเป็นสำเหตุ ของอุบัติเหตุทำงจรำจรและที่สำคัญมีโอกำสแพร่โรคติดต่อจำกสัตว์สู่คน เช่น โรคพิษสุนัขบ้ำ ได้อีกด้วย นอกจำกนี้ สุนัขที่จับบังคับไม่ได้ยังส่งผลให้จำนวนประชำกรสุนัขเพิ่มมำกขึ้นเพรำะไม่สำมำรถควบคุม ประชำกรจำกกำรผำ่ ตดั ทำหมนั ได้ โครงกำรจัดกำรปัญหำสุนัขในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่แบบมีส่วนร่วมจำกชุมชนอย่ำงยั่งยืน (โครงกำร MaCMU) จึงได้เริ่มต้นข้ึนต้ังแต่เดอื นเมษำยน 2559 เป็นโครงกำรที่คณะสัตวแพทยศำสตร์ ร่วมกับ สำนักงำนมหำวิทยำลัย มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ดำเนินกำรจัดกำรปัญหำสุนัข ป้องกันกำรเกิดโรคพิษสุนัขบ้ำ และควบคุมประชำกรสุนัขที่อำศัยในเขตพื้นที่มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ในรูปแบบของกำรมีส่วนร่วมจำกชุมชน อย่ำงยั่งยืนและสร้ำงแนวปฏิบัติ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในกำรดูแลด้ำนสุขภำพและสวัสดิภำพของสุนัขในเขต มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ให้เป็นไปอย่ำงถูกต้องและเหมำะสมตำมหลักสำกล สำมำรถเป็นต้นแบบนำไป ประยกุ ตใ์ ชแ้ ละขยำยสชู่ ุมชนอืน่ ๆ ตอ่ ไป

The 1st National Conference on SROI 257 วัตถุประสงค์ของโครงกำรฯ คือ (1) เพื่อสร้ำงควำมเข้ำใจและควำมร่วมมือจำกชุมชน ในมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ถึงกำรจัดกำรอย่ำงเหมำะสมสำหรับสุนัขในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ รวมถึง สร้ำงทัศนคตทิ ่ีถกู ต้องแกผ่ ดู้ ูแล (2) เพื่อจัดกำรใหส้ ุนขั ในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหมเ่ ป็นสุนัขชุมชน1 ที่มีกำรข้ึน ทะเบียนประวัติสุนัขได้รับกำรดูแลด้ำนสุขภำพและปรับพฤติกรรม (3) เพื่อควบคุมจำนวนประชำกรสุนัข และดูแลสขุ ภำพสนุ ัขในเขตมหำวิทยำลยั เชยี งใหม่ และ (4) เพ่อื สร้ำงภำพลกั ษณ์ท่ดี ีด้ำนกำรจดั กำรปัญหำสุนัข ชุมชน มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ได้ให้ควำมส ำคัญกับกำรบริกำรวิชำกำรแก่ชุมชน โดยในแต่ละปี มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ได้ให้ทุนสนับสนุนโครงกำรหรือกิจกรรมกำรบริกำรวิชำกำรแก่ชุมชนแก่หน่วยงำน ของมหำวิทยำลัยในหลำยโครงกำร ดังนั้นจึงมีควำมจำเป็นต้องมีกำรประเมินผลกระทบจำกโครงกำรบริกำร วิชำกำรที่มหำวิทยำลัยได้ให้กำรสนับสนุนงบประมำณในกำรดำเนินกิจกรรมแก่หน่วยงำนต่ำง ๆ ที่ผ่ำนมำ เพื่อให้กำรบริหำรจัดกำรโครงกำรมีประสิทธภิ ำพ มีควำมคุ้มค่ำและเกิดประโยชน์ต่อสังคม ซึ่งโครงกำรจัดกำร ปัญหำสุนัขในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ แบบมีส่วนร่วมจำกชุมชนอย่ำงยั่งยืน (โครงกำร MaCMU) เป็นโครงกำรหนึ่งที่ได้รับงบประมำณสนับสนุนจำกมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ จึงได้คัดเลือกโครงกำรฯ เพอื่ กำรประเมินผลตอบแทนจำกกำรลงทนุ ทำงสังคม 2. แผนท่ผี ลลัพธ์โครงการฯ กำรประเมินโครงกำรจัดกำรปัญหำสุนัขในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ แบบมีส่วนร่วมจำกชุมชน อย่ำงยั่งยืน (โครงกำร MaCMU) จะทำกำรประเมินเฉพำะโครงกำรที่ดำเนินกำรในระยะที่ 1 และ 2 สำหรับ โครงกำรในระยะที่ 3 ยังไม่ทำกำรประเมินผลกระทบเนื่องจำกในช่วงของกำรประเมินผลตอบแทน จำกกำรลงทุน โครงกำรฯ ยังอยู่ในช่วงของกำรดำเนินกิจกรรม (ธันวำคม 2562 - กันยำยน 2563) โดยมีรำยละเอียดดังนี้ (รูปที่ 1) 2.1 ปจั จัยนาเข้า (Inputs) โครงกำรจัดกำรปัญหำสุนัขในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ แบบมีส่วนร่วมจำกชุมชนอย่ำงยั่งยืน (โครงกำร MaCMU) มงี บประมาณรวม 2,239,000 บาท โดยแยกเป็นงบประมำณจำกมหำวิทยำลยั เชียงใหม่ จำนวน 1,387,000 บำท (งบประมำณระยะท่ี 1 จำนวน 608,000 บำท และระยะท่ี 2 จำนวน 779,000 บำท) 1 สุนัขชุมชน (Community dog) คือ สุนัขที่อำศัยในบริเวณเดียวกับกลุ่มคนที่อยู่ร่วมกันเป็นสังคมขนำดเล็ก โดยสมำชิก ของชุมชนได้คำนงึ ถงึ สุขภำพและสวสั ดิภำพของสนุ ัข จึงรว่ มกันดแู ลชว่ ยเหลือ ทำให้สนุ ขั อยรู่ ่วมกนั ในชมุ ชนอย่ำงมคี วำมสขุ

258 สำนกั งำนมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ จำนวน 40,000 บำท เพ่อื กำรจดั กิจกรรมเปดิ ตัวโครงกำรและอบรมให้ควำมรู้ กำรจัดกำรเกี่ยวกับสุนัขและกิจกรรมสรุปงำนเมื่อสิ้นสุดโครงกำร หน่วยงำนเอกชน จำนวน 500,000 บำท เพื่อเป็นค่ำอำหำรสุนัข อำหำรซอง อำหำรกระป๋อง อำหำรเม็ดหรือขนม และส่วนงำนที่เข้ำร่วมโครงกำร จำนวน 312,000 บำท เปน็ ค่ำเหมำจำ่ ยในกำรทำหมนั และฝงั ไมโครชิพ 2,000 บำทตอ่ ตวั จำนวน 156 ตวั 2.2 กิจกรรม (Activities) โครงกำรฯ มีระยะเวลำดำเนินโครงกำรรวมทัง้ หมด 3 ปี 4 เดือน (เมษำยน 2559 – กันยำยน 2562) โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1: เมษำยน 2559 - มีนำคม 2561 รวมระยะเวลำ 2 ปี และ ระยะท่ี 2: มิถนุ ำยน 2561 - กันยำยน 2562 รวมระยะเวลำ 1 ปี 4 เดือน กำรดำเนินงำนของโครงกำรประกอบด้วย 3 กิจกรรม หลัก คือ (1) กำรปฏิบัติงำนด้ำนกำรดูแลสุขภำพและลงทะเบียนสุนัขในโครงกำร ประกอบด้วยกำรสำรวจ ประชำกรสุนัขและจัดทำฐำนข้อมูล กำรดูแลสุขภำพและกำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รวมถึงกำรทำหมันสุนัข (2) กจิ กรรมกำรอบรมและสร้ำงทัศนคติเชิงบวก ประกอบดว้ ยกำรอบรมให้ควำมรู้เกย่ี วกบั กำรจัดกำรดูแลสุนัข และกิจกรรมต่ำง ๆ เพื่อสร้ำงทัศนคติเชิงบวก (3) กำรจัดทำสื่อและประชำสัมพันธ์โครงกำรผ่ำน Facebook ในนำม “โครงกำรกำรจัดกำรปญั หำสนุ ขั มช.” รวมถึงกำรประชำสัมพนั ธ์ผ่ำนสื่อต่ำง ๆ 2.3 ผลผลติ (Outputs) ผลจำกกำรดำเนนิ กจิ กรรมของโครงกำรฯ ก่อใหเ้ กดิ ผลผลิตทสี่ ำคญั ดังนี้ 1) จานวนสุนัขที่เข้าร่วมโครงการและการลงทะเบียนบันทึกข้อมูลประวัติทั้งหมด 205 ตัว จำกจำนวน สุนัข 216 ตัวที่สำรวจพบในพื้นที่ทั่วทั้งมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ รวมถึงศูนย์กำรศึกษำมหำวิทยำลัย เชียงใหม่ “หริภุญชัย” จังหวัดลำพูน โดยได้รับกำรฝังไมโครชิพและดูแลสุขภำพขั้นพื้นฐำน รวมท้ัง ทำหมันแล้วจำนวน 156 ตัว คิดเป็นร้อยละ 72.22 และอยู่ในกลุ่มสุนัขที่อยู่ระหว่ำงกำรดำเนินกำร ปรับพฤติกรรมเพื่อเข้ำรับกำรดูแลสุขภำพ จำนวน 49 ตัว คิดเป็นร้อยละ 22.69 และสุนัขที่ยังไม่ได้ ลงทะเบียนเข้ำร่วมโครงกำร กระจำยอยู่ตำมจดุ ต่ำง ๆ ของมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ที่ไม่สำมำรถระบุตัวตน ได้ จำนวน 11 ตัว คิดเป็นรอ้ ยละ 5.09 (ข้อมูล ณ 30 กนั ยำยน 2562) 2) ระบบลงทะเบียนแก่ผู้ที่ประสงค์จะนำอำหำรมำเลี้ยงสุนัขในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ รวมทั้ง กำรกำหนดจดุ ให้อำหำรทีเ่ หมำะสมที่สุนขั สำมำรถเข้ำถึงได้ง่ำย 3) กิจกรรมอบรมให้ควำมรู้เกี่ยวกับกำรดูแลและจัดกำรสุนัขจำนวน 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมกำรอบรม ให้ควำมรู้แก่นักศึกษำ บุคลำกร และอำจำรย์ (6 ครั้ง) กิจกรรมอบรมนักศึกษำอำสำสมัคร (2 ครั้ง) กิจกรรมอบรมวธิ กี ำรอำบนำ้ แกส่ นุ ัข (1 คร้ัง) กจิ กรรม Interprofessional Education (IPE) (1 ครง้ั ) 4) กิจกรรมสร้ำงทัศนคติเชิงบวกเกี่ยวกับสุนัขในที่สำธำรณะจำนวน 4 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมพิเศษ วันพิษสุนัขบ้ำโลก (1 ครั้ง) กิจกรรม MaCMU Fair (2 ครั้ง) กิจกรรมมองหมำมุมใหม่ (1 ครั้ง) กิจกรรม

The 1st National Conference on SROI 259 “มำแชะหมำ มช.กนั๋ ” (1 คร้งั ) 5) Facebook “โครงกำรจัดกำรปัญหำสุนัข มช.” เพื่อใช้ในกำรประชำสัมพันธ์ข่ำวสำร แนะนำข้อมูลสุนัข ในที่สำธำรณะของมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ รวมทั้งเป็นช่องทำงกำรสื่อสำรโดยตรงกับทำงโครงกำร ซึ่งมียอดผู้ติดตำม 7,489 คนและมีกำรเข้ำถึงโพสต์จำนวน 112,032 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยำยน 2562) โดยส่วนใหญ่กำรแสดงควำมคิดเหน็ เปน็ ไปในทำงบวก 6) สื่อเพื่อเผยแพร่และประชำสัมพันธ์โครงกำร เช่น คลิปนำเสนอข้อมูลโครงกำร คลิปน้องเตี้ย คลิปกำร รับน้องขึ้นดอย กำรฝึกสุนัขชุมชน ซึ่งมีผู้ชมมำกถึง 5,200 คน ผ่ำนทำง Facebook และ YouTube รวมถงึ กำรไดร้ บั โอกำสเชญิ ไปรว่ มรำยกำรโทรทัศนต์ ่ำง ๆ 2.4 ผลลัพธ์ (Outcomes) ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลังจำกได้มีกำรนำเอำผลผลิตของโครงกำรไปใช้ประโยชน์พบว่ำได้ก่อให้เกิดกำร เปลย่ี นแปลงกบั ผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสียกล่มุ ตำ่ ง ๆ ทส่ี ำคัญ ดังน้ี 1) นักศกึ ษาและบคุ ลากรในมหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ผลกำรดำเนินกจิ กรรมของโครงกำรต้ังแต่กำรลงทะเบียนและกำรดูแลสุขภำพสุนขั ทำใหส้ ุนัขมีสุขภำพ ดแี ละสำมำรถควบคมุ ประชำกรสนุ ัขไม่ใหเ้ พิ่มขนึ้ เป็นจำนวนมำก สง่ ผลใหเ้ กดิ ผลกระทบหรอื กำรเปลีย่ นแปลง ที่สำคัญกับนักศึกษำและบุคลำกรในมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ซึ่งมีจำนวน 43,867 คน แบ่งเป็นนักศึกษำ 32,476 คน และบคุ ลำกร 11,391 คน (ข้อมูล ณ เดอื นพฤศจกิ ำยน 2563) ดังน้ี ความเสี่ยงของการติดต่อโรคจากสัตว์สู่คนลดลงและปัญหาความสกปรก การก่อเหตุเดือดร้อน ราคาญจากสุนัขลดลง เป็นผลจำกกำรดูแลสุขภำพสุนัข กำรฉีดวัคซีน รวมถึงกำรทำหมันให้สุนัขที่เข้ำร่วม โครงกำร เนื่องด้วยแต่เดิมเมื่อยังไม่มีโครงกำรฯ พบว่ำ มีสุนัขที่อำศัยอยู่อย่ำงอิสระในพื้นที่สำธำรณะ หรืออำศัยอยู่ร่วมกับชุมชนในคณะและหน่วยงำนต่ำง ๆ โดยสุนัขเหล่ำนี้มีทั้งที่สำมำรถจับบังคับได้และไม่ได้ และมักพบว่ำสุนัขท่ีไม่เปน็ มติ รและจับบังคบั ไม่ไดจ้ ะก่อปญั หำด้ำนสุขภำพและควำมปลอดภัยแก่คนในชุมชน เช่น สร้ำงควำมบำดเจ็บจำกกำรโดนสุนัขกัดและหวำดกลัวเนื่องจำกพฤติกรรมที่ก้ำวร้ำว ก่อควำมรำคำญ จำกเสียงและควำมสกปรกเป็นสำเหตขุ องอบุ ตั เิ หตุทำงจรำจรและทีส่ ำคญั คือ มีโอกำสแพร่โรคติดตอ่ จำกสัตว์ สู่คน เชน่ โรคพิษสนุ ขั บ้ำ ได้อีกดว้ ย นอกจำกน้ี สนุ ขั ท่ีจับบังคบั ไม่ได้ยังส่งผลใหจ้ ำนวนประชำกรสนุ ัขเพ่ิมมำก ข้นึ เพรำะไม่สำมำรถควบคุมประชำกรจำกกำรผำ่ ตัดทำหมันได้ แม้ว่ำในบำงพื้นที่หรือบำงคณะจะมีผู้ดูแลสุนัขอยู่บ้ำง แต่ด้วยขำดระบบกำรจัดกำรที่ดีทำให้ปัญหำ ต่ำง ๆ ที่เกิดจำกสุนัขไม่ได้ลดลงมำกนัก เมื่อมีกำรดำเนินกิจกรรมของโครงกำรฯ ทำให้สุนัขมีสุขภำพดีได้รับ กำรฉีดวัคซีนและปรับพฤติกรรม ทำให้ลดควำมเสี่ยงของกำรติดต่อโรคจำกสัตว์สู่คน เช่น โรคพิษสุนัขบ้ำ

260 อีกทั้งสุนัขยังสำมำรถทำประโยชน์ให้แก่ชุมชนได้อีกด้วย ไม่ว่ำจะเป็นกำรสอดส่องดูแล และป้องกัน คนแปลกหน้ำที่เข้ำมำในพื้นที่ของมหำวิทยำลัย กำรกำจัดสัตว์มีพิษ เช่น งู แมงป่อง และตะขำบ รวมถึง กำรควบคุมประชำกรหนูที่เป็นพำหะนำโรคจำกสัตว์สู่คน เช่น โรคฉี่หนู และกำฬโรค เป็นต้น นอกจำกน้ี เมื่อสุนัขได้รับกำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ยังช่วยลดปัญหำกำรก่อควำมสกปรก กำรก่อเหตุเดือดร้อนรำคำญ กำรทำลำยข้ำวของและกำรกดั ทำร้ำยผู้คนลงได้ ทศั นคตติ ่อสุนขั ชมุ ชนดีข้ึน เม่ือสนุ ขั ไดร้ ับกำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มลี กั ษณะทเี่ ป็นมิตรและยอมให้ จับบังคับได้ทำให้สุนัขเป็นที่ยอมรับในชุมชนมำกขึ้น อีกทั้งผลของกำรจัดกิจกรรมกำรอบรมให้ควำมรู้ ควำมเข้ำใจและกำรจัดกำรที่ถูกต้องกับสุนัขมำกขึ้น รวมถึงกิจกรรมกำรสร้ำงทัศนคติเชิงบวกอย่ำงต่อเนื่ อง ทำให้ท้ังนกั ศึกษำและบุคลำกรในมหำวิทยำลยั มีทัศนคตติ ่อสนุ ัขชมุ ชนทีด่ ีข้ึนได้ ความเป็นจิตอาสาของนักศึกษามากขึ้น กำรจัดกิจกรรมต่ำง ๆ ของโครงกำรทำให้โครงกำร เป็นที่รู้จักมำกขึ้น จนก่อให้เกิดควำมร่วมมือจำกนักศึกษำคณะต่ำง ๆ ในกำรจัดกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือ โครงกำรฯ ซึ่งเป็นกำรสร้ำงเสริมจิตอำสำมำกขึ้น เช่น กิจกรรม “Bathing Your Dogs by MaCMU” ซึ่งเป็นกำรทำกิจกรรมอำบน้ำใหส้ ุนขั ร่วมกัน ณ วัดผำลำด โครงกำร Purple Lab จำกคณะวิศวกรรมศำสตร์ ซึ่งเป็นโครงกำรที่มีนักศึกษำวิศวกรรมศำสตร์จำกหลำย ๆ สำขำวิชำร่วมศึกษำและวิเครำะห์ในกำรจัดหำ อุปกรณ์เพื่อช่วยอำนวยควำมสะดวกในกำรปฏิบัติงำนของโครงกำร ซึ่งในขณะนี้อยู่ระหว่ำงกำรออกแบบ กรงดักจับอัตโนมัติที่เน้นควำมง่ำยและรวดเร็วในกำรใช้งำนหรือโครงกำร “Petscard” ของคณะ มนุษยศำสตร์ ที่ได้ \"รวบรวมภำพสุนัขและแมวภำยในมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ เพื่อจัดทำเป็นโปสกำร์ด” และกิจกรรม \"กำรเดินกล่องแจกถุงผ้ำและรับเงินบริจำคจำกผู้มีจิตศรัทธำ\" จำกกำรรวมตัวกันของนักศึกษำ จำกคณะต่ำง ๆ ได้แก่ คณะเศรษฐศำสตร์ คณะรัฐศำสตร์และรัฐประศำสนศำสตร์ คณะศึกษำศำสตร์ และคณะกำรสื่อสำรมวลชน ในรำยวิชำกำรเงินส่วนบุคคล (702213) ของคณะบริหำรธุรกิจ ในกำรระดมทนุ สมทบกองทุนสงเครำะห์สัตว์ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้ำพี่นำงเธอ เจ้ำฟ้ำกัลยำณิวัฒนำ กรมหลวง นรำธวิ ำสรำช-นครินทร์เพื่อชว่ ยเหลือสุนขั มช. เปน็ ต้น 2) นกั ศึกษา บุคลากร และหนว่ ยงานท่ีดแู ลสุนัขชมุ ชน นอกจำกนักศึกษำและบุคลำกรทั่วไปในพื้นที่มหำวิทยำลัยเชียงใหม่แล้ว นักศึกษำ บุคลำกร และหน่วยงำนที่ดูแลสุนัขชุมชนเองยังได้รับผลกระทบจำกกำรดำเนินกิจกรรมของโครงกำรด้วย โดยกลุ่ม นกั ศึกษำ บคุ ลำกรและหนว่ ยงำนทด่ี ูแลสนุ ัขจะไดร้ ับกำรอบรมเพื่อสร้ำงควำมรู้ ควำมเขำ้ ใจและควำมร่วมมือ กันในกำรจัดกำรที่ถูกต้องกับสุนัข ทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน คือ ทาให้มีการจัดการที่ถูกต้อง กับสุนัขมากขน้ึ เนอ่ื งจำกก่อนมีโครงกำรฯ กำรดูแลสุนัขมลี ักษณะทต่ี ำ่ งคนตำ่ งดูแลกนั เอง เชน่ กำรให้อำหำร ไม่มีกำรจำกัดหรือควบคุม ทำให้มีกำรให้อำหำรซ้ำซ้อนและไม่เหมำะสมกับสุนัข จนเกิดปัญหำด้ำนสุขภำพ

The 1st National Conference on SROI 261 แต่เมื่อมีโครงกำร กำรให้อำหำรหรือกำรดูแลจะมีกำรกำหนดผู้ที่จะดูแลอย่ำงชัดเจน มีกำหนดกำรให้อำหำร ที่เหมำะสม ทำให้สุนัขที่ดูแลอยู่มีสุขภำพที่ดี มีกำรจัดกำรที่เป็นระบบและไม่เกิดควำมสับสนในกำรดูแล นอกจำกนี้ยังเป็นกำรสร้างเสริมความเป็นจิตอาสามากขึ้นทั้งตัวนักศึกษำที่เป็นอำสำสมัครมำดูแลรวมถึง บคุ ลำกรของหนว่ ยงำนทรี่ บั ผิดชอบดแู ลสนุ ัขชุมชนของตนเอง ซ่ึงบุคคลตำ่ ง ๆ เหลำ่ นต้ี ำ่ งมคี วามสุขที่ได้ดูแล สนุ ัขมากขึน้ อีกทั้งกิจกรรมกำรอบรมที่จัดขึ้นยังเป็นกำรจัดในลักษณะของกำรแลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน ดังนั้น นักศึกษำและบุคลำกรที่เข้ำร่วมก็จะได้รู้จักและเกิดเครือข่ายความร่วมมือในการดูแลสุนัข ในทสี่ าธารณะที่ย่ังยนื ต่อไป 3) ชุมชนอ่นื ๆ เนื่องจำกมหำวิทยำลัยเชียงใหม่นับได้ว่ำตั้งอยู่ในแหล่งชุมชนซึ่งมีพื้นที่ชุมชนต่ำง ๆ ล้อมรอบ กำรจัดกำรปัญหำสุนัขในเขตพื้นที่ของมหำวิทยำลัยย่อมส่งผลกระทบต่อชุมชนอื่น ๆ โดยรอบมหำวิทยำลัย ที่เป็นผลจำกกำรควบคุมดูแลสุนัขทั้งในด้ำนสุขภำพ พฤติกรรมและจำนวนประชำกร โดยผลกระทบ ที่เกิดขึ้นกับชุมชนโดยรอบพื้นที่ ได้แก่ ความเสี่ยงของการติดต่อโรคจากสัตว์สู่คนลดลง ปัญหาความ สกปรก การก่อเหตเุ ดอื ดร้อนราคาญจากสุนัขลดลง อีกทัง้ ยงั มที ศั นคตติ ่อสนุ ัขชมุ ชนดขี น้ึ นอกจำกนี้ยังมีชุมชนอื่น ๆ ที่แม้จะอยู่ในพื้นที่ห่ำงไกลจำกมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ แต่ด้วยกำรดำเนิน กิจกรรมของโครงกำรซึ่งได้มีกำรประชำสัมพันธ์ผ่ำนสื่อต่ำง ๆ ทั้งในรูปของ Facebook รวมถึงผลจำกกำร ได้รับโอกำสในกำรรับเชิญเข้ำร่วมในรำยกำรโทรทัศน์และสื่อออนไลน์ต่ำง ๆ ซึ่งนอกจำกจะเป็นกำร ประชำสัมพันธ์งำนของโครงกำรแล้ว ยังส่งผลให้บุคคลทั่วไป หน่วยงำนเอกชน สถำนศึกษำภำยนอก ให้ควำมสนใจเขำ้ มำศกึ ษำดูงำน รวมท้งั ไดใ้ ห้คำปรึกษำอย่ำงสมำ่ เสมอในกรณที ่ีไดม้ ีกำรตดิ ต่อขอรับคำปรึกษำ ผ่ำนทำงโทรศัพท์หรือกล่องข้อควำม Facebook “โครงกำรจัดกำรปัญหำสุนัข มช.” จำกบุคคลภำยนอก เพ่ือขอข้อมูลกำรบรหิ ำรจัดกำรโครงกำรเพ่ือนำไปเป็นตน้ แบบนำเสนอต่อผู้บรหิ ำรหน่วยงำนของตนเองต่อไป ซง่ึ ผลจำกกำรเป็นต้นแบบให้กับชมุ ชนอืน่ ๆ ท่ีได้นำไปปรบั ใชก้ ับชุมชนของตนเอง ย่อมสง่ ผลกระทบต่อชุมชน ต่ำง ๆ เหล่ำนี้ในรูปแบบเดียวกับผลกระทบที่เกิดขึ้นกับนักศึกษำ บุคลำกรของมหำวิทยำลัยและชุมชน โดยรอบพ้นื ท่ไี มว่ ่ำจะเปน็ ความเสี่ยงของการตดิ ต่อโรคจากสตั วส์ ู่คนลดลง ปญั หาความสกปรก การก่อเหตุ เดอื ดร้อนราคาญจากสนุ ัขลดลงและทัศนคติต่อสุนัขชมุ ชนดขี ้นึ

262 3. การประเมนิ มลู ค่าผลกระทบท่เี กิดจากโครงการฯ กำรประเมินมูลค่ำผลกระทบที่เกิดข้ึนจำกกำรบริกำรวิชำกำรโครงกำร “กำรจดั กำรปัญหำสนุ ัขในเขต มหำวิทยำลยั เชยี งใหม่แบบมีส่วนรว่ มจำกชุมชนอย่ำงยง่ั ยืน” เปน็ กำรประเมนิ ผลลพั ธจ์ ำกโครงกำรทเ่ี ป็นตัวเงิน โดยจะประเมนิ จำกตวั ชว้ี ดั ผลลัพธ์ (Outcome indicator) คอื ควำมเส่ียงของกำรติดต่อโรคจำกสตั วส์ คู่ นลดลง ในส่วนของต้นทุนจะพิจำรณำจำกงบประมำณของโครงกำร โดยข้อมูลที่นำมำประเมินผลลัพธ์ได้รับ จำกรำยงำนวิจยั แบบสอบถำมและกำรสมั ภำษณผ์ ู้ที่เก่ยี วขอ้ ง โดยมีรำยละเอยี ดดังนี้ • ผลลัพธ/์ ผลกระทบเชงิ บวก ในส่วนของผลลัพธ์/ผลกระทบจำกโครงกำรซงึ่ มผี ู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี ท้ังหมด 3 กลมุ่ ไดแ้ ก่ (1) นักศึกษำ และบุคลำกรในมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ (2) นักศึกษำ บุคลำกรและหน่วยงำนทีด่ ูแลสุนัขชุมชน และ (3) ชุมชน อน่ื ๆ ใกลเ้ คยี ง อยำ่ งไรกต็ ำม ผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี ท่ีไดร้ ับผลกระทบจำกโครงกำรชัดเจนและครอบคลมุ มำกที่สุด คือ กลุ่มนักศึกษำและบุคลำกรในมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ดังนั้นในกำรประเมินผลลัพธ์/ผลกระทบเชิงบวก จะพิจำรณำเฉพำะกลุ่มนกั ศึกษำและบุคลำกรท่ัวไปในมหำวทิ ยำลัยเชยี งใหม่เท่ำนนั้ ผลจำกกำรดำเนินกิจกรรมของโครงกำรทำให้มีสุนัขที่ลงทะเบียนทั้งหมด 205 ตัว มีสุขภำพที่ดี มีกำรปรับพฤติกรรมจนทำให้ลดควำมเสี่ยงของกำรติดต่อโรคจำกสัตว์สู่คน รวมถึงลดปัญหำควำมสกปรก และกำรก่อเหตุเดอื ดร้อนรำคำญจำกสนุ ัข ดงั น้นั ตัวช้วี ดั กำรเปลย่ี นแปลงผลลัพธ์ของโครงกำรฯ คือ ความเส่ียง ของการติดต่อโรคจากสัตว์สู่คนที่ลดลง ซึ่งกำรดำเนินกิจกรรมของโครงกำรฯ ทำให้นักศึกษำและบุคลำกร ทั่วไปในมหำวิทยำลัยเชียงใหม่จำนวน 43,867 คน (นักศึกษำ 32,476 คน และบุคลำกร 11,391 คน; ข้อมูล ณ เดือนพฤศจิกำยน 2563) ได้รับประโยชน์ในด้ำนสุขภำพของตนเอง รวมถึงสภำพแวดล้อมที่ดีและไม่มี ควำมเดือดร้อนรำคำญจำกสุนัข ดังนั้นด้วยผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจะใช้ค่าความเต็มใจจ่าย (willingness to pay) สาหรับสนับสนุนกิจกรรมของโครงการฯ เนื่องจำก ในปัจจุบันโครงกำรฯ ได้รับเงินสนับสนุน จำกมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ในกำรดำเนินกิจกรรมของโครงกำร โดยนักศึกษำและบุคลำกรไม่ได้มีส่วนในกำร ร่วมจ่ำย ดังนั้นค่ำควำมเต็มใจจ่ำยสำหรับสนับสนุนกิจกรรมของโครงกำรจะสะท้อนได้ว่ำกลุ่มผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียเหล่ำน้ีให้มูลค่ำทีเ่ ป็นตัวเงินกับประโยชนท์ ี่ได้รบั จำกกำรจัดกำรปญั หำสุนัขเพิ่มขึ้นเท่ำใด และมีควำม คมุ้ คำ่ ทจี่ ะจ่ำยเพ่ือให้ไดร้ บั ประโยชนต์ ่อตนเองมำกนอ้ ยเพยี งใด ทัง้ นีค้ ่ำควำมเตม็ ใจจำ่ ยเพ่ือสนับสนุนกจิ กรรมของโครงกำรฯ ไดจ้ ำกกำรสัมภำษณ์และแบบสอบถำม ผ่ำนระบบออนไลน์ โดยให้ผู้ตอบแบบสอบถำมดูคลิปวีดิโอแนะนำโครงกำรควำมยำวประมำณ 5 นำที เพื่อให้ คำตอบว่ำหำกมีโครงกำรดังกล่ำวจะยินดีจ่ำยเงินเพื่อสนับสนุนโครงกำรให้ดำเนินต่อไปได้จำ นวนเท่ำใด ซึ่งจำกผูต้ อบแบบสอบถำมทั้งหมด 224 คน แบ่งเป็นนักศึกษำ 204 คน และบุคลำกร 20 คน จำกคณะต่ำง ๆ

The 1st National Conference on SROI 263 ในมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ พบว่ำ ผู้ตอบแบบสอบถำมมำกกว่ำร้อยละ 50 ประสบปัญหำหรือได้รับผลกระทบ จำกปัญหำสุนัขในมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ค่อนข้ำงน้อยและผู้ตอบแบบสอบถำม มำกกว่ำครึ่งหนึ่งไม่เคยรู้จัก โครงกำร MaCMU ทั้งนี้เมื่อสอบถำมถึงควำมเต็มใจที่จะร่วมสนับสนับทำงกำรเงินพบว่ำผู้ตอบแบบสอบถำม ร้อยละ 84 (36,849 คน) มีควำมเต็มใจที่จะร่วมจ่ำยเงินเพื่อสนับสนุนโครงกำรฯ หำกโครงกำรไม่ได้รับเงิน สนับสนุนจำกมหำวิทยำลัยเชียงใหม่และพบว่ำค่ำควำมเต็มใจจ่ำยของกลุ่มตัวอย่ำงทั้งหมดเฉลี่ยเท่ำกับ 136.44 บำทตอ่ คนต่อปี • คา่ น้าหนักของการเปล่ยี นแปลงทเี่ กิดขึ้นอยแู่ ลว้ (Deadweight) การเกิดผลลัพธท์ ดแทน (Displacement) ผลลพั ธ์ส่วนของโครงการ (Attribution) และ การลดลงของผลประโยชน์ (Drop-off) ผลลัพธ์ต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นจำกกิจกรรมของโครงกำรฯ สำมำรถสรุปค่ำน้ำหนักของ Deadweight Displacement Attribution และ Drop-off ได้ดงั ตำรำง 1 โดยมีรำยละเอียดดงั น้ี เนื่องจำกกำรประเมินผลได้ของโครงกำรครั้งนี้ ค่ำตัวแทนทำงกำรเงิน (Financial proxies) ใช้ค่ำ ควำมเต็มใจจ่ำยทมี่ ีต่อกิจกรรมของโครงกำรกำรจัดกำรปญั หำสุนัขในเขตมหำวิทยำลัยเชยี งใหม่แบบมีส่วนร่วม จำกชุมชนอย่ำงยั่งยืนเท่ำนั้น ไม่ว่ำจะเป็นกิจกรรมกำรลงทะเบียน กำรดูแลสุขภำพ และกำรทำหมัน มูลค่ำที่เกิดขึ้นจึงเป็นมูลค่ำผลประโยชน์เฉพำะสำหรับโครงกำร ดังนั้นจึงไม่มีกำรให้ค่ ำน้ำหนักของกำร เปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ข้ึนอย่แู ลว้ (Deadweight) และกำรเกิดผลลัพธ์ทดแทน (Displacement) สำหรับผลลัพธ์ส่วนของโครงกำร (Attribution) นอกจำกบทบำทของโครงกำรฯ ที่มีส่วนอย่ำงมำก ในกำรลดควำมเสี่ยงของกำรติดต่อโรคจำกสัตว์สู่คน รวมถึงลดปัญหำควำมสกปรกและกำรก่อเหตุเดือดร้อน รำคำญจำกสุนัขแล้ว ยังมีบทบำทของผู้ที่ดูแลสุนัขในพื้นที่อยู่แต่เดิม รวมถึงบทบำทของคณะหรือหน่วยงำน ที่ใหค้ วำมสนใจในกำรดูแลสุนขั ในพื้นที่ของตน เชน่ คณะวศิ วกรรมศำสตร์ ทม่ี ีกำรจัดสรรงบประมำณเพื่อดูแล สนุ ัขชมุ ชนของตนเองอยู่แล้ว ดังนนั้ บทบำทของกลุ่มบุคคลและหน่วยงำนเหลำ่ นี้มสี ว่ นทำใหเ้ กิดผลลัพธ์คิดเป็น ร้อยละ 20 และเนื่องจำกกำรประเมินผลลัพธ์เป็นกำรประเมินเพียงช่วงระยะ 5 ปี ดังนั้นจึงคำดว่ำในช่วง ระยะเวลำดงั กล่ำวจะไมม่ กี ำรลดลงของผลประโยชน์ (Drop-off) • ผลกระทบเชิงลบ (ผลกระทบท่เี ปน็ ต้นทุน) เนื่องจำกโครงกำร “กำรจัดกำรปัญหำสุนัขในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่แบบมีส่วนร่วมจำกชุมชน อย่ำงยั่งยืน” มีกำรดำเนินโครงกำรใน 2 ระยะ และได้รับเงินสนับสนุนจำกหน่วยงำนอื่น ๆ ร่วมด้วย ดังน้ัน

264 งบประมำณท่ีไดจ้ ึงได้รบั ในช่วงเวลำทีต่ ่ำงกัน กำรคำนวณต้นทนุ /งบประมำณที่ใช้ในโครงกำรจึงต้องมีกำรปรับ ใหเ้ ป็นคำ่ ปจั จุบันเพ่อื ใชใ้ นกำรคำนวณ โดยมีตน้ ทนุ /งบประมำณตำ่ ง ๆ ดังนี้ 1. ต้นทุนในปีที่ 0 ได้แก่ 1.1 งบประมำณสนับสนุนจำกมหำวทิ ยำลยั เชยี งใหม่ในระยะที่ 1 จำนวน 608,000 บำท (ระยะเวลำ ดำเนนิ กำร 2 ป)ี 1.2 สำนักงำนมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ จำนวน 40,000 บำท เพื่อกำรจัดกิจกรรมเปิดตัวโครงกำร และอบรมให้ควำมรู้ในกำรจดั กำรเก่ยี วกบั สุนขั และกิจกรรมสรุปงำนเมือ่ ส้นิ สุดโครงกำร 2. ต้นทุนในปีที่ 2 ได้แก่ 2.1 งบประมำณสนับสนนุ จำกมหำวทิ ยำลยั เชยี งใหมใ่ นระยะที่ 2 จำนวน 779,000 บำท 2.2 งบประมำณสนับสนุนจำกหน่วยงำนเอกชน มูลค่ำ 500,000 บำท เพื่อเป็นค่ำอำหำรสุนัข อำหำรซอง อำหำรกระปอ๋ ง อำหำรเม็ดหรือขนม 3. คำ่ เหมำจ่ำยในกำรทำหมันและฝงั ไมโครชิพ 2,000 บำทตอ่ ตวั จำนวน 156 ตวั โดยส่วนงำนที่เข้ำร่วม โครงกำรเป็นผู้รับผิดชอบจำนวน 312,000 บำท โดยกระจำยออกเป็น 3 ปี (ปีท่ี 0, 1 และ 2) ปลี ะ 104,000 บำท 4. ต้นทุนคำ่ บำรุงรกั ษำ เนอ่ื งจำกในกำรบริหำรจัดกำรโครงกำรตอ้ งมคี ่ำใช้จ่ำยที่เกิดขนึ้ ในแตล่ ะปี ดังน้ัน กำรดำเนินโครงกำรในปีที่ 2 – 5 จะมีค่ำบำรุงรักษำซึ่งคิดจำกงบประมำณสนับสนุนที่ได้รับในระยะ ท่ี 2 จำนวน 584,250 บำทตอ่ ปี เมอ่ื นำตน้ ทนุ /งบประมำณท้งั หมดปรับใหเ้ ป็นค่ำปจั จบุ นั จะมีมลู ค่ารวม 3,671,551.36 บาท • การประเมินความคุม้ คา่ โครงการฯ กำรวิเครำะห์ผลประโยชน์ของโครงกำร “กำรจัดกำรปัญหำสุนัขในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ แบบมีส่วนร่วมจำกชุมชนอย่ำงยั่งยืน” กำหนดให้ผลประโยชน์จำกกำรดำเนินโครงกำรเกิดขึ้นในปี 2560 และคำดกำรณ์ผลประโยชนต์ อ่ ไปในอนำคต รวมระยะเวลำประเมนิ ผลประโยชนท์ ้งั หมด 5 ปี เมื่อรวมมูลค่ำผลประโยชน์ทั้งหมดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ นักศึกษำและบุคลำกรทั่วไป ในมหำวิทยำลัยเชียงใหม่จำนวน 36,849 คน2 จะได้มูลค่ำผลประโยชน์ของโครงกำรที่ถูกปรับให้เป็นมูลค่ำ ปัจจุบัน (Present value) ด้วยอัตรำคิดลดร้อยละ 3.5 เท่ำกับ 18.16 ล้ำนบำท และมีต้นทุนของกำรดำเนิน โครงกำรที่ถูกปรับให้เป็นมูลค่ำปัจจุบันจำนวน 3.67 ล้ำนบำท ดังนั้นมูลค่ำปัจจุบันสุทธิ (NPV) ของโครงกำร เท่ำกับ 14.49 ล้ำนบำท โดยมีอัตรำผลตอบแทนทำงสังคม (SROI ratio) เท่ำกับ 4.95 หมำยควำมว่ำ ในกำรลงทุนในโครงกำรฯ 1 บำท ก่อให้เกิดผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจและสังคมเมื่อคิดเป็นตัวเงินแล้ว 2 คำนวณจำกสดั ส่วนร้อยละ 84 ของผตู้ อบแบบสอบถำมควำมเตม็ ใจจ่ำยท่ีระบุวำ่ เต็มใจจ่ำย

The 1st National Conference on SROI 265 ในระยะเวลำ 5 ปี เท่ำกับ 4.95 บำท แสดงว่ำโครงกำร “กำรจัดกำรปัญหำสุนัขในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ แบบมีส่วนร่วมจำกชุมชนอย่ำงยั่งยืน” ก่อให้เกิดผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจและสังคมเมื่อคิดเป็นมูลค่ำ ทำงกำรเงินแล้วมีควำมคุ้มค่ำ (ตำรำง 2) อย่ำงไรเมื่อวิเครำะห์ควำมอ่อนไหวของโครงกำรฯ พบว่ำโครงกำรฯ จะไมเ่ กิดควำมคุ้มคำ่ หำกมลู ค่ำผลประโยชน์ของโครงกำรลดลงไปมำกกวำ่ ร้อยละ 80 4. สรุปและขอ้ เสนอแนะ โครงกำร “กำรจดั กำรปัญหำสุนขั ในเขตมหำวิทยำลัยเชยี งใหม่แบบมีสว่ นรว่ มจำกชมุ ชนอย่ำงยั่งยืน” เป็นโครงกำรที่คณะสัตวแพทยศำสตร์ ร่วมกับ สำนักงำนมหำวิทยำลยั เชียงใหม่ ดำเนินกำรจัดกำรปัญหำสนุ ขั พร้อมทั้งป้องกันกำรเกิดโรคพิษสุนัขบ้ำซึ่งกำลังระบำดในหลำยพื้นที่ของประเทศไทยในปัจ จุบันและควบคุม ประชำกรสุนัขที่อำศัยในเขตพื้นที่มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ในรูปแบบของกำรมีส่วนร่วมจำกชุมชนอย่ำงยั่งยืน และสร้ำงแนวปฏิบัติ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในกำรดูแลด้ำนสุขภำพและสวัสดิภำพของสุนัขในเขต มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ให้เป็นไปอย่ำงถูกต้องและเหมำะสมตำมหลักสำกล สำมำรถเป็นต้นแบบ นำไปประยุกต์ใช้และขยำยสู่ชุมชนอื่น ๆ ต่อไป โดยในกำรดำเนินโครงกำรมีกิจกรรมหลัก 3 กิจกรรม ได้แก่ 1) กำรปฏิบัติงำนด้ำนกำรดูแลสุขภำพ กำรทำหมันและลงทะเบียนสุนัขในโครงกำร รวมถึงกำรปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุนัขให้เป็นมิตรจนสำมำรถจับต้องได้ 2) กิจกรรมกำรอบรมให้ควำมรู้ในด้ำนกำรจัดกำรดูแล สุนัขและกำรสร้ำงทัศนคติเชิงบวกเกี่ยวกับสุนัขในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ และ 3) กำรจัดทำสื่อ และประชำสัมพนั ธ์ กำรดำเนินโครงกำรให้ก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน 3 กลุ่ม คือ 1) นักศึกษำ และบุคลำกรทั่วไปในมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ 2) นักศึกษำ บุคลำกร และหน่วยงำนที่ดูแลสุนัขชุมชน และ 3) ชุมชนอื่น ๆ ที่อยู่โดยรอบพื้นที่มหำวิทยำลัยเชียงใหม่และชุมชนอื่น ๆ ที่นำเอำรูปแบบของโครงกำร ไปปรับใชก้ บั ชุนชนของตน โดยก่อใหเ้ กดิ ผลลพั ธใ์ นทั้ง 3 กลมุ่ ไมว่ ่ำจะเป็นควำมเส่ียงของกำรติดตอ่ โรคจำกสัตว์ สู่คนลดลง ปัญหำควำมสกปรก กำรก่อเหตุเดือดร้อนรำคำญจำกสุนัขลดลง ทัศนคติต่อสุนัขชุมชนดีขึ้น ควำมเปน็ จติ อำสำมำกขนึ้ และเกดิ เครือข่ำยควำมร่วมมือในกำรดูแลสุนัขในทีส่ ำธำรณะที่ยั่งยืน เมื่อประเมินควำมคุ้มค่ำของโครงกำร “กำรจัดกำรปัญหำสุนัขในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ แบบมีส่วนร่วมจำกชุมชนอย่ำงยั่งยืน” ซึ่งได้รับงบประมำณจำกมหำวิทยำลัยเชียงใหม่เพื่อกำรดำเนินกำร โครงกำรในระยะที่ 1 และ 2 รวม 1,387,000 บำท รวมทัง้ ได้รบั กำรสนับสนุนงบประมำณจำกหน่วยงำนอื่น ๆ ร่วมด้วยอีกเป็นจ ำนวน 852,000 บำทและในกำรด ำเนินโครงกำรคำดว่ำจะมีค่ำบริหำรจัดกำร และค่ำบำรงุ รักษำเกิดขึน้ ในแต่ละปี เมื่อคดิ รวมงบประมำณทั้งหมดของโครงกำรและปรับให้เป็นมูลค่ำปัจจุบัน

266 (Present value) ด้วยอัตรำคิดลดร้อยละ 3.5 จะมีงบประมำณในกำรดำเนินกิจกรรมของโครงกำร ในระยะเวลำ 5 ปีรวมทั้งหมด 3.67 ล้ำนบำท สำหรับมูลค่ำผลประโยชน์ทั้งหมดของโครงกำรที่ปรับให้เป็น มูลค่ำปัจจุบัน (Present value) เท่ำกับ 18.16 ล้ำนบำท มูลค่ำปัจจุบันสุทธิ (NPV) ของโครงกำรเท่ำกับ 14.49 ล้ำนบำท โดยมีอัตรำผลตอบแทนทำงสังคม (SROI ratio) เท่ำกับ 4.95 หมำยควำมว่ำ ในกำรลงทุน ในโครงกำรฯ 1 บำท ก่อให้เกิดผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจและสังคมเมื่อคิดเป็นตัวเงินแล้วในระยะเวลำ 5 ปี เท่ำกับ 4.95 บำท แสดงว่ำโครงกำร “กำรจัดกำรปัญหำสุนัขในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่แบบมีส่วนร่วม จำกชุมชนอย่ำงย่งั ยนื ” ก่อให้เกิดผลประโยชนเ์ ชิงเศรษฐกิจและสังคมเม่ือคิดเป็นมูลค่ำทำงกำรเงินแล้วมีควำม คุม้ คำ่ อย่ำงไรก็ตำมในกำรประเมินควำมคุ้มค่ำของโครงกำรฯ ในครั้งนี้ ด้วยระยะเวลำที่จำกัดของกำร ประเมินผลกระทบและปัญหำจำกกำรระบำดของไวรัสโควดิ -19 ในช่วงระยะเวลำที่ได้ทำกำรประเมินฯ ผู้วิจัย จึงประเมินผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเฉพำะกลุ่มนักศึกษำและบุคลำกรทั่วไป ในมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ซึ่งเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลักที่ได้รับประโยชน์โดยตรงจำกโครงกำร โดยไม่ได้ ประเมินผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับ นักศึกษำ บุคลำกรและหน่วยงำนที่ดูแลสุนัขชุมชนโดยตรง ซึ่งส่วนใหญ่ ผลประโยชน์ทีเ่ กิดขึ้นจะเป็นลกั ษณะของควำมรู้สกึ เช่น ควำมเป็นจิตอำสำหรือควำมสขุ ที่ไดด้ ูแลสุนัข รวมไป ถึงกำรมีเครือข่ำยควำมร่วมมือกำรดูแลสุนัขในที่สำธำรณะที่ยั่งยืนและสำมำรถขยำยผลไปยังชุมชนอื่น ๆ ที่รบั เอำต้นแบบของกำรจัดกำรไปปรบั ใช้ต่อไป เอกสารอา้ งอิง เยำวเรศ ทับพันธุ์. 2551. กำรประเมนิ โครงกำรตำมแนวทำงเศรษฐศำสตร์. พิมพ์ครง้ั ที่ 3. กรุงเทพฯ: มหำวทิ ยำลัยธรรมศำสตร์. เรณู สขุ ำรมณ์. 2541. วธิ กี ารสมมตเิ หตุการณใ์ ห้ประเมนิ ค่าสินคา้ ทีไ่ ม่ผา่ นตลาด. วำรสำรเศรษฐศำสตร์ ธรรมศำสตร์. 16(4): 89-117. สฤณี อำชวำนันทกุล และภัทรำพร แย้มละออ. 2560. คมู่ ือกำรประเมนิ ผลลัพธท์ ำงสงั คมและผลตอบแทน ทำงสงั คมจำกกำรลงทนุ . กรุงเทพฯ: สำนกั งำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัย (สกว.).

ปจั จยั นาเขา้ กจิ กรรม งบประมำณ - กำรลงทะเบยี นสนุ ัขในโครงกำร สนุ ัขทีเ่ ข้ำ 1,387,000 บำท - กำรดูแลสขุ ภำพ 205 ตัว - ฉดี วคั ซนี ตรวจสุขภำพ - สุนัขมีสุข - ปรับเปลย่ี นพฤติกรรม - ควบคมุ ป - ทำหมัน - สุนัขชุมช งบสนับสนุนจำก กำรอบรมและกิจกรรมสรำ้ งทศั นคติ - กจิ กรรม - สำนกั งำนมหำวิทยำลัย เชงิ บวก ในกำรด จำนวน 40,000 บำท กำรจดั ทำสอ่ื และประชำสมั พันธ์ - หน่วยงำนเอกชน - กิจกรรม จำนวน 500,000 บำท - สว่ นงำนที่เขำ้ รว่ ม - Facebo ปัญหำส โครงกำร เหมำจำ่ ย คำ่ ทำหมัน 2,000 บำท - คลปิ วดิ ีโ จำนวน 156 ตวั Facebo รวม 312,000 บำท รปู ที่ 1 แผนทผี่ ลลัพธโ์ ครงกำร “กำรจดั กำรปญั หำสุนขั ในเขตมหำวิทยำลัยเชียงใหม่แบบมสี ว่ นร่วม

ผลผลิต The 1st National Conference on SROI 267 ำร่วมโครงกำรจำนวน ผลลพั ธ์ ขภำพดี นักศึกษาและบุคลากรในมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ประชำกรสนุ ัข - ควำมเสย่ี งของกำรติดตอ่ โรคจำกสตั วส์ ู่คนลดลง ชนเพ่ิมขึ้น - ควำมสกปรก กำรก่อเหตเุ ดอื ดรอ้ นรำคำญ มกำรอบรมให้ควำมรู้ จำกสุนัขลดลง ดแู ลและจดั กำรสุนัข - ทศั นคติต่อสนุ ขั ชุมชนดขี น้ึ 4 กจิ กรรม - สรำ้ งควำมเป็นจติ อำสำของนกั ศกึ ษำมำกข้นึ มสรำ้ งทศั นคตเิ ชงิ บวก 4 กิจกรรม นกั ศกึ ษา บุคลากรและหนว่ ยงานทีด่ ูแลสนุ ขั ชมุ ชน ook “โครงกำรจัดกำร - กำรจัดกำรที่ถูกต้องกบั สนุ ัขมำกขนึ้ สนุ ัข มช.” - ควำมเปน็ จิตอำสำมมี ำกขน้ึ โอตำ่ ง ๆ ผำ่ นทำง - ควำมสขุ ทไ่ี ด้ดแู ลสุนขั มำกขึ้น ook และ YouTube - เครือข่ำยควำมรว่ มมอื กำรดูแลสุนขั ในที่สำธำรณะ มจำกชมุ ชนอย่ำงย่ังยืน” ทีย่ ั่งยืน ชมุ ชนอนื่ ๆ - ควำมเสย่ี งของกำรตดิ ต่อโรคจำกสตั วส์ ่คู นลดลง - ควำมสกปรก กำรกอ่ เหตุเดอื ดรอ้ นรำคำญ จำกสนุ ัขลดลง - ทัศนคติต่อสนุ ขั ชุมชนดีขึน้

268 ตารางท่ี 1 ผลกำรประเมินผลตอบแทนทำงสงั คมจำกกำรลงทนุ (SROI) โครงกำร “กำรจัดกำรปัญหำสุนัข ในเขตมหำวิทยำลยั เชียงใหม่แบบมสี ่วนรว่ มจำกชุมชนอยำ่ งยงั่ ยนื ” ผลลัพธ์ ตัวชี้วดั ตัวแทนทาง Dead Displace Attribut Drop- มลู ค่า (Outcome/Impact) (Indicators) การเงิน Weight ment ion (%) off ผลลัพธ์ (Proxies) (%) (%) เบ้ืองตน้ (%) (บาท) ควำมเตม็ ใจ นักศกึ ษาและบคุ ลากรใน จ่ำย มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ (Willingness to Pay) - มคี วำมเสยี่ งของกำรติดต่อ ควำมเสย่ี งของ 0 0 20 0 4,022,122 136.44 บำท/ .42 โรคจำกสัตว์ กำรติดต่อโรค คน/ปี สู่คนลดลง จำกสตั วส์ ูค่ น - ปญั หำควำมสกปรก กำร ลดลง ก่อเหตุเดอื ดรอ้ นรำคำญ จำกจำนวน นกั ศึกษำ จำกสนุ ขั ลดลง - มีทัศนคติตอ่ สุนขั ชุมชนดี และบคุ ลำกร ข้ึน 36,849 คน - สร้ำงควำมเป็นจิตอำสำ ของนักศึกษำมำกขึน้ ตารางท่ี 2 ผลกำรประเมนิ อัตรำผลตอบแทนทำงสงั คมโครงกำร “กำรจดั กำรปัญหำสุนัขในเขต มหำวิทยำลัยเชยี งใหม่แบบมีสว่ นร่วมจำกชมุ ชนอย่ำงย่งั ยืน” ณ อัตรำคดิ ลดรอ้ ยละ 3.5 หนว่ ย: บำท ผลลัพธ์ (Outcome ปีที่ 0 ปีที่ 1 ปที ี่ 2 ปีที่ 3 ปที ี่ 4 ปีที่ 5 /Impact) นกั ศกึ ษำและ บคุ ลำกรใน 0.00 4,022,122.42 4,022,122.42 4,022,122.42 4,022,122.42 4,022,122.42 มหำวทิ ยำลยั เชยี งใหม่ รวม 0.00 4,022,122.42 4,022,122.42 4,022,122.42 4,022,122.42 4,022,122.42 มูลคา่ ปัจจุบัน 0.00 3,886,108.61 3,754,694.31 3,627,723.97 3,505,047.32 3,386,519.15 ในแต่ละปี

The 1st National Conference on SROI 269 ผลลพั ธ์ (Outcome ปีท่ี 0 ปีท่ี 1 ปีที่ 2 ปที ี่ 3 ปที ี่ 4 ปีท่ี 5 /Impact) มลู คา่ ปัจจุบัน 18,160,093.37 ท้ังหมด (PV) มูลคา่ ปจั จบุ นั 3,671,551.36 ของต้นทุน ทัง้ หมด มูลค่าปจั จบุ นั 14,488,542.01 สุทธิ อัตรา ผลตอบแทน 4.95 ทางสงั คม

270 การประเมนิ ผลตอบแทนทางสงั คม: โครงการถา่ ยทอดนวตั กรรมการยอ้ มดว้ ยสธี รรมชาติ ส่กู ล่มุ ผา้ มดั ย้อมแม่องิ ชิโบริ กลั ยำ จำปำทอง1, วีระพงษ์ กิติวงค์2*, เริงฤทยั ศริ ริ ักษ์1 และชัยพฒั น์ ลำพนิ ี1 Kanlaya Jumpatong1, Weerapong Kitiwong2, Roengruethai Sirirak1 and Chaipat Lapinee1 1คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั พะเยา 2คณะบรหิ ารธรุ กิจและนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั พะเยา *Corresponding author อเี มล์ [email protected] บทคดั ย่อ กำรประเมินผลตอบแทนทำงสังคมในครั้งนี้ เป็นกำรประเมินผลตอบแทนทำงสังคมของโครงกำร ถ่ำยทอดนวัตกรรมกำรย้อมผ้ำด้วยสีธรรมชำติสู่กลุ่มผ้ำมัดย้อมแม่อิงชิโบริ โดยมีมูลค่ำกำรลงทุน จำนวน 482,150 บำท มมี ูลคำ่ ผลลัพธจ์ ำกโครงกำร จำนวน 983,983 บำท หลังจำกหกั รำยได้หำกไมม่ โี ครงกำรจำนวน 30,000 บำท โครงกำรถ่ำยทอดนวัตกรรมในครั้งนี้จะมีมูลค่ำผลลัพธ์สุทธิ 11 เดือน ระยะเวลำในกำร ประเมินผล 11 เดือน ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎำคม 2563 ถึง 31 พฤษภำคม 2564 จำนวน 471,833 หรืออำจ กล่ำวได้ว่ำ โครงกำรมีอัตรำผลตอบแทนทำงสังคมเท่ำกับ 1.68 เท่ำ สำหรับมูลค่ำกำรลงทุนนั้น ร้อยละ 27 เป็นของผู้ได้รับผลประโยชน์ ร้อยละ 56 เป็นของผู้ให้ทุนสนับสนุน หำกพิจำรณำมูลค่ำผลลัพธท์ ี่ไม่เป็นตัวเงิน ร้อยละ 48 เป็นของผู้ได้รับผลประโยชน์ ในรูปแบบองค์ควำมรู้และนวัตกรรมด้ำนกำรมัดย้อมและกำรย้อมสี ธรรมชำติ ร้อยละ 24 เปน็ ของบุคคล/กลุ่มที่เกย่ี วข้องท่ีอยู่ในรูปแบบของกำรทำให้มหำวิทยำลัยเป็นที่รู้จักของ ชุมชนมำกยงิ่ ขึ้นและกำรสรำ้ งควำมสมั พันธ์ท่ีดีระหว่ำงชุมชนและมหำวิทยำลัย สว่ นมลู ค่ำผลลัพธ์ท่ีเป็นตัวเงิน ร้อยละ 30 เปน็ ของผู้ดำเนนิ กำรหลักท่นี ักวจิ ัยสำมำรถต่อยอดงำนวจิ ัยเพ่ือพัฒนำผลิตภณั ฑ์ของกลุ่มในอนำคต และร้อยละ 70 เป็นของผู้ได้รับผลประโยชน์ในรูปแบบกำรจ้ำงงำน กำรจัดส่งวัตถุดิบและรำยได้ของกลุ่มจำก กำรขำยผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เกิดขึ้นจำกโครงกำร สำหรับมิติตัวชี้วัดที่ไม่เป็นตัวเงินร้อยละ 43 เป็นมิติสังคม/ ควำมสัมพันธ์และร้อยละ 24 เป็นมิติของทักษะ/นวัตกรรม หำกพิจำรณำมิติตัวชี้วัดที่เป็นตัวเงินพบว่ำร้อยละ 30 เป็นมิติของทักษะ/นวัตกรรมและร้อยละ 68 เป็นมิติเศรษฐกิจ/กำรเงินเนื่องจำกกำรประเมิน

The 1st National Conference on SROI 271 เป็นกำรประเมินกำรดำเนินโครงกำรในช่วงระยะเวลำสั้น ๆ ผลกำรเปลี่ยนแปลงและอัตรำผลตอบแทน ทำงสังคมอำจยังไม่ชัดเจนมำกนัก ทั้งนี้ อัตรำผลตอบแทนทำงสังคมน่ำจะเพิ่มขึ้นในอนำคต เนื่องจำกกลุ่ม ผ้ำมัดยอ้ มมผี ลิตภัณฑใ์ หม่และสำมำรถผลิตสินคำ้ ทมี่ มี ลู ค่ำเพิม่ สงู ขนึ้ อีกด้วย คาสาคัญ: ผลตอบแทนทำงสังคม กำรถำ่ ยทอดนวตั กรรม ย้อมสธี รรมชำติ มัดยอ้ ม Abstract This social return on investment (SROI) assessment is to evaluate SROI of the project on innovation diffusion of natural dyes to Mae Ing Shibori tie-dye group. The investment is amounting to 482,150 Thai Baht. The value of the outcomes is amounting to 983,983 Thai Baht. After deducting the group’s revenue without the project amounting to 30,000 Thai Baht, the net value of outcomes for the period 11 months from July 1, 2020 to May 31, 2021 is 471,833 Thai Baht. In other words, the project has SROI of 1.68 times. 27% and 58% of the investment came from the parties who have derived benefits from the project and the fund provider, respectively. 47 percent and 24 percent of non-financial outcomes belong to the parties who have derived benefits from the project and persons/related parties, respectively. The parties who have derived benefits from the project have gain knowledge and learned innovation of tie-dye and natural dyes. The persons/related parties are beneficial from this project by gaining good reputation among communities and by strengthening good relationships between them and communities. 30 percent and 70 percent of financial outcomes belong to the main operators of the project and the parties who have derived benefits from the project, respectively. Researchers, who the main operators of the project, can develop the new research project which will help the group develop its products in the future. For the parties who have derived benefits from the project, their benefits are in terms of the employments, raw material supply and the group’s sales of new of products in the future. For non-financial performance measurement, 43 percent and 24 percent are in forms of social/relationship indicators and skills/innovation indicators, respectively. For financial performance measurement, 30 percent and 68 percent are in forms of skills/innovation

272 indicators and economic/financial indicators, respectively. As the assessment was done for evaluating the project with running for the short period of time, the changes and SROI may remain unclear. However, SROI in the future may improve because the group has had new products and can produce high value products. Keywords: Social return on investment, Innovation diffusion, Natural dye, Tie-dye บทนา ตำบลแม่อิง อำเภอภูกำมยำว จังหวัดพะเยำ เป็นแหล่งปลูกข้ำวที่สำคัญของจังหวัดพะเยำ เนื่องจำก ผลกระทบของพำยุโซนร้อน “วิภำ” ในเดือนสิงหำคม 2562 ที่ผ่ำนมำทำให้เกษตรกรในพื้นที่ประมำณ 200 ครัวเรือนประสบปัญหำที่นำถูกน้ำท่วมเสียหำยกว่ำ 1,000 ไร่ จึงทำให้เกษตรกรในพื้นที่มีควำมจำเป็น ต้องมองหำอำชีพเสริมนอกภำคกำรเกษตรเพื่อสร้ำงรำยได้อีกทำงหนึ่ง อำชีพช่ำงผ้ำมัดย้อม “ชิโบริ” จึงเป็นอำชีพทำงเลือกหนึ่งที่น่ำสนใจ เนื่องจำกภำยในชุมชนมีปรำชญ์ที่มีควำมเชี่ยวชำญในด้ำนกำรมัดย้อม แบบ “ชิโบริ” อยู่แล้ว ทำให้เกษตรกรในพื้นที่ได้ร่วมกันจัดตั้ง กลุ่มผ้ำมัดย้อม “แม่อิงชิโบริ” ขึ้นในเดือน พฤศจิกำยน 2562 รปู ที่ 1 ผลติ ภัณฑ์ของกลุ่มผำ้ มัดยอ้ ม “แม่องิ ชโิ บริ” จำกกำรเข้ำไปสำรวจควำมต้องกำรของกลุ่มเมื่อต้นปี 2563 พบว่ำ กลุ่มมีควำมต้องกำรควำมรู้ และเทคนิคเพิ่มเติมในกระบวนกำรย้อมผ้ำด้วยสีย้อมธรรมชำติ เนื่องจำกในปัจจุบันมีกำรตื่นตัวถึงอันตรำย ที่เกิดขึ้นในกำรใช้สีสังเครำะห์สำหรับงำนย้อมในอุตสำหกรรมสิ่งทอมำกขึ้นเพรำะสีสังเครำะห์บำงกลุ่ม

The 1st National Conference on SROI 273 บำงสภำวะ สำมำรถเปล่ียนเป็นสำรก่อมะเรง็ ซง่ึ สำมำรถทำใหเ้ กดิ อนั ตรำยต่อทั้งผู้ผลติ และผ้บู ริโภค และนำ้ เสีย ที่เกิดขึ้นหลังจำกกระบวนกำรย้อมยังก่อให้เกิดปัญหำต่อสภำวะส่ิงแวดล้อม จึงทำให้สมำชิกในกลุ่มหันมำ ให้ควำมสนใจกำรย้อมผ้ำและสิ่งทอด้วยสีธรรมชำติมำกขึ้นเพรำะไม่เป็นอันตรำย ไม่ก่อให้เกิดมลภำวะ ต่อสิ่งแวดล้อม อย่ำงไรก็ตำมพบว่ำ ผ้ำฝ้ำยที่ทำงกลุ่มย้อมด้วยสีธรรมชำติยังมีข้อด้อยกว่ำผ้ำฝ้ำยที่ย้อมด้วยสี สังเครำะห์บำงประกำร เช่น สีตกง่ำย ไม่ทนต่อกำรซักและแสงแดด ปัญหำด้ำนกระบวนกำรย้อมที่ยุ่งยำก และใช้เวลำนำน อีกทั้งเป็นกำรยำกที่จะทำซ้ำเพื่อให้ได้เฉดสีเดิมที่ต้องกำรเพรำะไม่มีกำรจดบันทึกอัตรำส่วน และสภำวะท่แี นน่ อนหรอื เหมำะสมในกำรยอ้ ม นอกจำกน้ี กลุ่มผ้ำมัดย้อมยังมีควำมสนใจในเทคนิคกำรปลกู และผลิตหัวเชือ้ ครำมในชุมชน โดยไม่ใช้ สำรเคมอี ีกดว้ ย เน่อื งจำกในปัจจบุ นั ได้มีกำรรณรงค์ให้ลดพื้นที่ในกำรปลกู ขำ้ วนำปรังเพรำะปริมำณน้ำในแหล่ง น้ำธรรมชำติมีไม่เพียงพอ จึงทำให้สมำชิกกลุ่มและคนในชุมชนมีควำมต้องกำรที่จะปลูกครำมในพื้นท่ี ของตัวเองเพื่อทดแทนกำรทำนำปรังและเพื่อต้องกำรลดรำยจ่ำยจำกกำรสั่งซื้อหัวเชื้อครำมจำกจังหวัด สกลนคร เนื่องจำกมีรำคำสูงเป็นกำรเพิ่มรำยได้ให้แก่คนในชุมชนในกำรปลูกครำมเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในกำร ย้อมผ้ำฝ้ำยให้กับกลุ่มผ้ำมัดย้อม “แม่อิงชิโบริ” และกลุ่มทอผ้ำกลุ่มอื่นได้ต่อไป เนื่องจำกสีย้อมธรรมชำติ จำกครำมยังเป็นทีต่ อ้ งกำรของตลำดสีธรรมชำตแิ ละมรี ำคำสูง กลุ่มผ้ำมัดย้อมยังต้องกำรควำมรู้และเทคนิคในกำรผลิตกระดำษจำกฟำงข้ำวเพื่อบรรจุภัณฑ์ เนอ่ื งจำกพบวำ่ หลังฤดูกำลเก็บเกีย่ วในชุมชนมีเศษฟำงข้ำวเหลือท้ิงเป็นจำนวนมำก ฟำงข้ำวที่เหลือจำกกำรใช้ ประโยชน์มักถูกเผำทิ้งซึ่งส่งผลให้เกิดมลภำวะทำงอำกำศในเขตภำคเหนือของประเทศไทย นอกจำกเป็นกำร ช่วยประหยัดรำยจ่ำยในกำรจัดซื้อบรรจุภัณฑ์ของกลุ่มแล้ว ยังเป็นกำรช่วยลดมลพิษที่ปลดปล่อยออกสู่ สิ่งแวดล้อมไดอ้ ีกทำงหนึ่ง และยังสำมำรถชว่ ยกระจำยรำยไดใ้ ห้แก่คนในชมุ ชนได้อีกทำงหนง่ึ และเนอ่ื งจำกเป็น กลุ่มวิสำหกิจที่เพิ่งจัดตั้งขึ้น จึงทำให้ขำดประสบกำรณ์ในกำรกำหนดรำคำผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม เกิดควำมไม่ แนใ่ จว่ำรำคำทต่ี ้ังมีควำมเหมำะสมหรือไม่ รำคำเท่ำไหรถ่ งึ จะทำให้ผลิตภัณฑ์ขำยไดแ้ ละไมข่ ำดทุนในระยะยำว จึงมีควำมต้องกำรควำมรู้และเทคนิคที่ถูกต้องในกำรคำนวณต้นทุนและกำรตั้งรำคำสินค้ำจำกนักวิชำกำร หรอื ผเู้ ช่ียวชำญทำงกำรตลำด จำกควำมต้องกำรของกลุ่มผ้ำมัดย้อม คณะผู้วิจัยจึงได้มีกำรเชื่อมโยงองค์ควำมรู้และกำรให้บริกำร วิชำกำรร่วมกับบุคลำกรในหลำยสำขำวิชำของคณะวิทยำศำสตร์ บุคลำกรคณะบริหำรธุรกิจและนิเทศศำสตร์ มหำวทิ ยำลยั พะเยำ และบุคลำกรของบริษัท วรณอ์ โี คครีเอช่นั จำกัด เพอ่ื จะได้นำควำมรู้จำกกำรวิจัยทำงด้ำน เทคนิคกำรปลูกครำมโดยไม่ใช้สำรเคมี เทคนิคกำรทำควำมสะอำดด้ำยฝ้ำยโดยกำรลดกำรใช้สำรเคมี เทคนิค กำรยอ้ มผำ้ ฝ้ำยด้วยสีย้อมธรรมชำติจำกพืชในท้องถ่นิ ของจังหวดั พะเยำ เทคนิคกำรย้อมครำม เทคนิคกำรผลิต กระดำษจำกฟำงข้ำวเพื่อบรรจุภัณฑ์รวมไปถึงเทคนิคและกระบวนกำรที่ถูกต้องในกำรคำนวณต้นทุนและกำร

274 ตั้งรำคำสินค้ำเพื่อช่วยให้ผ้ำมัดย้อม สำมำรถตั้งรำคำสินค้ำได้อย่ำงเหมำะสมและมีควำมถูกต้องเพื่อพัฒนำ และสง่ เสริมควำมม่ันคงทำงวสิ ำหกิจอยำ่ งยง่ั ยนื ต่อไป อกี ทง้ั ผทู้ ่ีเข้ำรับกำรอบรมและรับกำรถ่ำยทอดนวัตกรรม ในโครงกำรนี้จะได้รับกำรคัดเลือกให้เป็นวิทยำกรชุมชนที่มีควำมรอบรู้ในกำรนำควำมรู้ทำงด้ำนวิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยีไปประยุกต์และปรับใช้ให้เกิดประโยชน์อย่ำงสูงสุดและเป็นรูปธรรม ในกำรประกอบอำชีพ ของตนเองและสำมำรถขยำยผลไปยังกลุ่มเป้ำหมำยอื่นได้เพื่อพัฒนำและแก้ไขปัญหำให้แก่สังคม ชุมชน ในพน้ื ท่ไี ด้อยำ่ งแท้จริงและย่งั ยนื รูปที่ 2 แสดงขั้นตอนกำรดำเนินงำนของโครงกำร ซึ่งประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก คือ ขั้นตอนกำรเตรียมกำร กำรถำ่ ยทอดนวัตกรรม และกำรประเมินผลตอบแทนทำงสงั คม ขั้นตอนการเตรียมการ การถ่ายทอดนวตั กรรม การประเมนิ ผล ตอบแทนทางสงั คม • ศึกษำบรบิ ทของกล่มุ • อบรมเทคนคิ กำรทำควำมสะอำด ผำ้ มัดย้อม ผำ้ ฝ้ำยโดยกำรใชส้ บแู่ ละโซดำแอซ • เก็บข้อมูลก่อนเร่มิ โครงกำร • ศึกษำควำมตอ้ งกำร • อบรมเทคนิคกำรยอ้ มสีฝ้ำยด้วยสี • กำรกำหนดขอบเขต ของกลุ่มผ้ำมัดยอ้ ม ยอ้ มธรรมชำติ กำรประเมิน • อบรมเทคนคิ กำรปลูกครำมโดยลด • กำรระบกุ ล่มุ ผ้มู สี ว่ นไดเ้ สยี กำรใช้สำรเคมแี ละกำรผลติ หวั เชื้อ และกำรกำหนดผลลพั ธ์ ครำม ของโครงกำร • อบรมเทคนิคกำรย้อมสีด้ำย • กำรเก็บข้อมูลหลังเสร็จสน้ิ ฝำ้ ยหรือผ้ำผำ้ ยดว้ ยครำม โครงกำร • อบรมเทคนคิ กำรเตรยี มเยื่อ กระดำษและข้นึ รปู กระดำษ จำกใบขำ้ ว • กำรอบรมกำรออกแบบบรรจุภณั ฑ์ จำกกระดำษใบขำ้ วและเชอื กฟำง • กำรคำนวณตน้ ทนุ และกำรตัง้ รำคำสินค้ำ รูปท่ี 2 ข้ันตอนในกำรดำเนินงำน

The 1st National Conference on SROI 275 กระบวนการถา่ ยทอดนวตั กรรม กระบวนกำรถ่ำยทอดนวัตกรรม ประกอบดว้ ย กำรถำ่ ยทอดนวัตกรรมกระบวนกำรย้อมผ้ำฝ้ำยด้วยสี ย้อมธรรมชำติท่ีมีกระบวนกำรหลักที่สำคัญ 2 กระบวนกำร คือ กระบวนกำรทำควำมสะอำดด้ำยฝ้ำย และกระบวนกำรยอ้ มด้ำยฝ้ำยดว้ ยสีย้อมธรรมชำติ ในกำรถ่ำยทอดนวัตกรรม ประกอบดว้ ย กิจกรรมท่ี 1 อบรม เทคนคิ กำรทำควำมสะอำดผำ้ ฝ้ำยโดยกำรใชส้ บูแ่ ละโซดำแอซ กจิ กรรมที่ 2 เทคนิคกำรยอ้ มสผี ้ำฝ้ำยด้วยสีย้อม ธรรมชำติ รปู ที่ 3 กำรควำมสะอำดผ้ำฝ้ำยโดยกำรใชส้ บแู่ ละโซดำแอซ

276 รูปท่ี 4 แสดงสผี ำ้ /ด้ำยฝำ้ ยท่ีย้อมดว้ ยสียอ้ มธรรมชำติ กิจกรรมที่ 3 เป็นกำรถ่ำยทอดองค์ควำมรู้เรื่องครำมและกำรอบรมเชิงปฏิบัติกำรกำรผลิตเนื้อครำม ธรรมชำติและกำรย้อมสีครำมธรรมชำติและกิจกรรมที่ 4 เป็นกำรอบรมเทคนิคกำรย้อมสีด้ำยฝ้ำย/ ผ้ำฝ้ำย ด้วยครำม โดยเครอื ข่ำยควำมรว่ มมือจำกบริษทั วรณอ์ โี คครเี อชัน จำกดั รูปท่ี 5 แสดงต้นครำม และหัวเชื้อครำมที่ปลกู และผลิตโดยสมำชกิ ในชุมชน

The 1st National Conference on SROI 277 รูปที่ 6 ผำ้ ฝำ้ ยและดำ้ ยฝ้ำยที่ยอ้ มด้วยครำม กิจกรรมที่ 5 เป็นกำรอบรมกำรเตรียมเยื่อกระดำษและกำรขึ้นรูปกระดำษ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ควำมรู้ด้ำนวัสดุว่ำเศษเหลือทำงกำรเกษตรชนิดใดมีศักยภำพเพียงพอที่จะนำมำทำกระดำษและชนิดใด ไม่สำมำรถนำมำทำกระดำษได้หรือถ้ำทำได้ก็ต้องเติมแต่งด้วยเยื่อยำวของวัสดุชนิดอื่นเพื่อให้กระดำษที่ได้ มีควำมเหนียวมำกเพียงพอที่จะขึ้นรูปเป็นบรรจุภัณฑ์ได้ โดยในครั้งนี้ทำงพื้นที่ต้องกำรนำดอกดำวเรืองซึ่งเป็น วัสดุเหลือใช้จำกกำรทำผ้ำมัดย้อมของกลุ่ม ส่วนกิจกรรมที่ 6 เป็นกำรอบรมกำรออกบรรจุภัณฑ์จำกกระดำษ ใบขำ้ วและเชอื กฟำงข้ำว รปู ที่ 7 กจิ กรรมถ่ำยทอดกำรเตรยี มเยื่อกระดำษและกำรข้ึนรูปกระดำษ

278 รูปท่ี 8 กำรเตรยี มเยื่อกระดำษและกำรขน้ึ รูปกระดำษจำกฟำงข้ำว กำรขนึ้ รปู ถุงกระดำษ (บรรจภุ ณั ฑ์) จำกกระดำษและเชอื กฟำงขำ้ วท่ีเตรียมได้ กิจกรรมที่ 7 กำรคำนวณต้นทุนและกำรตั้งรำคำสินค้ำ เนื่องจำกกลุ่มผ้ำมัดย้อม “แม่อิงชิโบริ” เพิ่งจัดตั้งขึ้นจึงทำให้ขำดประสบกำรณ์ในกำรกำหนดรำคำผลิตภัณฑ์ของกลุ่ มเกิดควำมไม่แน่ใจว่ำรำคำที่ตั้ง มีควำมเหมำะสมหรือไม่ รำคำเท่ำไหร่ถึงจะทำให้ผลิตภัณฑ์ขำยได้และไม่ขำดทุนในระยะยำว กิจกรรมที่ 7 จึงเป็นกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุม่ มีควำมรู้และเทคนิคที่ถูกต้องในกำรคำนวณต้นทุนและกำรตั้งรำคำ สินคำ้ ท่ีเหมำะสมเป็นกจิ กรรมท่ีบรู ณำกำรกบั กำรเรยี นกำรสอน การประเมนิ ผลตอบแทนทางสงั คม กำรดำเนินธุรกิจในปัจจุบันอำจยังขำดข้อมูลเกี่ยวกับผลกระทบของกำรดำเนินกิจกรรมทำงธุรกิจ ที่มีต่อสงั คมและส่ิงแวดล้อม ซ่ึงอำจส่งผลทำให้ไมส่ ำมำรถลดผลกระทบท่ีมตี ่อผู้มีส่วนได้เสยี กลุ่มอ่ืนให้ลดลงได้ แม้ว่ำกำรดำเนินกิจกรรมทำงธุรกิจดังกล่ำวจะเกิดผลตอบแทนทำงกำรเงินให้กับผู้ถือหุ้น (Lingane & Olsen 2004) แต่อย่ำงไรก็ตำมหลำย ๆ ธุรกิจต่ำงเริ่มให้ควำมสำคัญกับผลตอบแทนทำงสังคมเช่นเดียวกัน

The 1st National Conference on SROI 279 กับผลตอบแทนทำงกำรเงินมำกยิ่งขึ้น (Pathak & Dattani 2014) กำรประเมินผลกระทบทำงสังคมนับว่ำ มีควำมสำคัญอย่ำงมำก เนื่องจำกเป็นกำรติดตำมประเมินผลงำนและเพิ่มโอกำสได้รบั กำรสนับสนุนจำกแหลง่ ทุน (Pathak & Dattani 2014) ดังนั้น อำจกล่ำวได้ว่ำผลตอบแทนทำงสังคม เป็นกำรวัดผลกำรดำเนินงำน ที่นอกเหนือไปจำกกำรวัดผลกำรดำเนินงำนเชิงเศรษฐศำสตร์แบบดั้งเดิม (Rotheroe & Richards, 2007) ผลตอบแทนทำงสังคม (SROI) พัฒนำมำจำกอัตรำผลตอบแทนของเงินทุน (Return on Investment: ROI) (Lingane & Olsen 2004) SROI เปน็ กรอบแนวคิดในกำรวัดผลกระทบเชิงสังคมและส่ิงแวดล้อม รวมถงึ ควำม คมุ้ ค่ำเชงิ ต้นทนุ ทำงเศรษฐศำสตร์และผลตอบแทน (The SROI Network, 2012) โดยมขี นั้ ตอนดังรูปท่ี 9

280 ขนั้ ตอนที่ 3 กำรหำหลักฐำน ขั้นตอนที่ 1 ของผลลัพธท์ ่ี กำรสรำ้ งขอบเขต เกดิ ข้นึ และควำม ของกำรประเมิน มีอยขู่ องหลกั ฐำน และกำรระบผุ ู้มี ส่วนได้เสยี ขน้ั ตอนที่ 2 ข้นั กำรเชอ่ื มโยง กำ ผลลัพธก์ บั กลุ่ม ผ ผู้มีส่วนได้เสีย ข้ันตอนกำรว ขน้ั ตอนกำรเกบ็ ข้อมลู รปู ท่ี 9 ขนั้ ตอนกำรประเมนิ SROI ข

ขน้ั ตอนที่ 5 กำรคำนวน SROI นตอนท่ี 4 ขั้นตอนท่ี 6 ำรกำหนด กำรจัดทำรำยงำน ผลกระทบ และกำรสรปุ ผล วเิ ครำะหข์ ้อมูล ข้นั ตอนนำเสนอผลกำรวิเครำะห์ ของ Banke -Thomas et al. (2015)

The 1st National Conference on SROI 281 ในกำรคำนวณ SROI นั้น ใช้วิธีกำรของ Ashwanuntakul and Yamla-or (2017) โดยสำมำรถ สรปุ ได้ดงั รูปภำพท่ี 10 รูปท่ี 10 กรอบแนวคิดในกำรคำนวณ SROI นนั้ ใชว้ ธิ ีกำรของ Ashwanuntakul and Yamla-or (2017) 1. ผลจากการเกบ็ ข้อมูลกอ่ นเรมิ่ โครงการ 1.1 ข้อมูลทัว่ ไป ตำรำงที่ 1 แสดงข้อมูลทั่วไปของผู้เข้ำร่วมโครงกำรจำนวน 54 คน โดยแบ่งเป็นเพศชำย 14 คน (ร้อยละ 25.93) และเพศหญิง 40 คน (ร้อยละ 74.07) ผู้เข้ำร่วมโครงกำรเพศชำยเป็นกลุ่มที่มีอำยุมำกกว่ำ 61 ปี ในขณะที่เพศหญิงเป็นกลุ่มที่มีอำยุอยู่ในช่วง 41 – 70 ปี โดยส่วนมำกอยู่ในช่วงอำยุ 51 – 60 ปี ผู้เข้ำร่วมโครงกำรทั้งเพศชำยและเพศหญิงมีอำชีพเกษตรกรรมและมีรำยได้ต่อปีจำกอำชีพหลักอยู่ในช่วง 10,001 - 30,000 บำทต่อปี มีผู้เข้ำร่วมโครงกำรเพศหญิง 1 คน ที่ปลูกดอกดำวเรืองอยู่แล้วและผู้เข้ำร่วม โครงกำรเพศหญงิ 1 คน ทที่ ำผ้ำมัดย้อมอยแู่ ลว้

282 ตารางที่ 1 ข้อมลู ทั่วไปของผู้เข้ำรว่ มโครงกำร (ก) ผเู้ ขำ้ รว่ มโครงกำร (ข) ผเู้ ขำ้ ร่วมโครงกำรแยกตำมเพศ (ค) ผู้เข แยกตำมเพศ และช่วงอำยุ อ เพศ จานวน ร้อยละ เพศ เกษตรก เยบ็ หม ชำย 14 25.93 ช่วงอายุ ชาย หญิง รวม คำ้ ขำย รับจำ้ งท หญิง 40 74.07 31 - 40 ปี 1 1 2 เกษตร ขำ้ รำชก รวม 54 100 41 - 50 ปี 1 11 12 ปลกู ดอ ทำผำ้ ม 51 - 60 ปี 2 17 19 ผกั สวน รวม 61 - 70 ปี 6 10 16 มำกกว่ำ 70 ปี 4 1 5 รวม 14 40 54

ข้ำรว่ มโครงกำรแยกตำมเพศและอำชีพ (ง) ผ้เู ขำ้ รว่ มโครงกำรแยกตำมเพศและช่วงรำยได้ต่อปี เพศ เพศ ชาย หญงิ รวม อาชีพ ชาย หญิง รวม ช่วงรายได้ต่อปี 336 ตำ่ กวำ่ 10,000 บำท 5 11 16 กร ทำนำ 12 26 38 10,001 - 20,000 บำท 5 12 17 20,001 - 30,000 บำท 044 มวก 0 1 1 30,001 - 40,000 บำท 156 40,001 - 50,000 บำท 011 ย 0 55 50,001 - 60,000 บำท 033 สูงกวำ่ 60,000 บำท 14 39 53 ท่วั ไป 1 3 4 รวม คำ้ ขำย 1 1 2 กำร 0 1 1 อกดำวเรือง 0 1 1 มัดยอ้ ม 0 11 นครัว 0 1 1 14 40 54

The 1st National Conference on SROI 283 1.2 ความคาดหวัง รูปที่ 11 แสดงควำมคำดหวังของผู้เข้ำร่วมโครงกำรก่อนเข้ำร่วมโครงกำรจำกกำรสัมภำษณ์ แบบกึ่งมีโครงสร้ำง พบว่ำ ผู้เข้ำร่วมโครงกำรจำนวน 10 คน มีควำมคำดหวังว่ำ กำรเข้ำร่วมโครงกำรจะทำให้ ตนเองสำมำรถสร้ำงอำชีพเสริมและเพิ่มรำยได้ โดยมีระดับควำมคำดหวังมำกที่สุด (ค่ำเฉลี่ย = 4.30) ทั้งน้ี ผู้เข้ำร่วมโครงกำรจำนวน 9 คนเห็นว่ำกำรเข้ำร่วมโครงกำรทำให้ตนเองมีควำมรู้เพิ่มเติม โดยมีระดับ ควำมคำดหวงั อยู่ในระดบั มำกทีส่ ุด (ค่ำเฉลี่ย = 4.33) ผู้เข้ำร่วมโครงกำรจำนวน 20 คน มีควำมคำดหวังว่ำ กำรเข้ำร่วมโครงกำรจะทำให้ตนเองมีควำมรู้ และทกั ษะกำรมัดย้อม โดยมีควำมคำดหวงั ในระดบั มำกทสี่ ุด (คำ่ เฉลยี่ = 4.40) และผู้เขำ้ รว่ มโครงกำรจำนวน 14 คน มีควำมคำดหวังในกำรเข้ำเป็นสมำชิกกลุ่มเพื่อตัดเย็บ โดยมีควำมคำดหวังในระดับมำก (ค่ำเฉลี่ย = 4.14) ทั้งนี้ หำกกลุ่มแม่อิงชิโบริ มีควำมประสงค์ที่จะขยำยกำลังกำรผลิต อำจสำมำรถคัดเลือกจำกผู้เข้ำร่วม โครงกำรทมี่ คี วำมรแู้ ละทักษะกำรมัดย้อมหรือมีควำมสนใจเข้ำเป็นสมำชิกกลมุ่ เพ่อื ตดั เยบ็ ผู้เข้ำร่วมโครงกำรส่วนมำกเป็นเกษตรกรและมีพื้นที่เพำะปลูก ดังนั้นโดยส่วนมำกจึงมีควำมคำดหวัง ที่จะเป็นผู้ส่งวัตถุดิบให้ทำงกลุ่มแม่อิงชิโบริ ผู้เข้ำร่วมโครงกำรจำนวน 24 คน มีควำมสนใจในกำรปลูกครำม และส่งเป็นวัตถุดิบ โดยมีควำมคำดหวังในระดับมำก (ค่ำเฉลี่ย = 3.42) และผู้เข้ำร่วมโครงกำรจำนวน 18 คน ที่มีควำมสนใจในกำรปลูกดอกดำวเรืองและส่งเป็นวัตถุดิบ โดยมีควำมคำดหวังในระดับปำนกลำง (ค่ำเฉลี่ย = 3.28) กำรที่ผู้เข้ำร่วมโครงกำรมีควำมสนใจปลูกครำมและดอกดำวเรืองเป็นจำนวนมำก อำจนำไปสู่ปัญหำ จำนวนวตั ถุดบิ ทม่ี ำกเกนิ กว่ำควำมตอ้ งกำรเพ่อื ผลิตหรือปญั หำผลผลติ ล้นตลำด

284 ปลูกฝา้ ยและสง่ เปน็ วตั ถดุ ิบ 1 5.00 (มากท่สี ดุ ) 18 ปลกู ดอกดาวเรืองและสง่ เปน็ วตั ถุดบิ 2 14 ปลูกครามและสง่ เป็นวัตถดุ ิบ 2 5.00 (มากทส่ี ดุ ) ความร้แู ละทักษะการมัดย้อม เข้าเปน็ สมาชกิ กล่มุ เพอื่ ตัดเย็บ 9 ความเข้มแข็งของกล่มุ และชมุ ชน 10 แสวงหาความรเู้ พมิ่ เตมิ สรา้ งอาชพี เสรมิ เพ่ิมรายได้ รปู ท่ี 11 ควำมคำดหวัง หมำยเหตุ: กำรตีควำมค่ำเฉลี่ยควำมคำดหวังจำกกำรเข้ำร่วมโครงกำรเปน็ ดงั นี้ ค่ำเฉลี่ย = 0.00 ค่ำเฉลยี่ = 2.61 – 3.40 หมำยถงึ ควำมคำดหวังปำนกลำง คำ่ เฉลีย่ = 3.41 – 4.20 หมำยถึง ควำ

24 3.28 (ปานกลาง) 20 3.42 (มาก) 4.40 (มากทส่ี ุด) 4.14 (มาก) 4.33 (มากทส่ี ุด) 4.30 (มากท่สี ดุ ) งของผ้เู ข้ำร่วมโครงกำร – 1.80 หมำยถึง ควำมคำดหวังน้อยที่สุด ค่ำเฉลี่ย = 1.81 – 2.60 หมำยถึง ควำมคำดหวงั น้อย ำมคำดหวังมำก และคำ่ เฉล่ยี = 4.21 – 5.00 หมำยถึง ควำมคำดหวงั มำกที่สุด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook