Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Proceedings SROI

Proceedings SROI

Published by sroi.tsri2, 2021-11-16 10:03:10

Description: Proceedings SROI

Search

Read the Text Version

50

The 1st National Conference on SROI 51

52

The 1st National Conference on SROI 53

54

The 1st National Conference on SROI 55

56

The 1st National Conference on SROI 57

58

The 1st National Conference on SROI 59

60

The 1st National Conference on SROI 61

62

The 1st National Conference on SROI 63

64

The 1st National Conference on SROI 65

66

The 1st National Conference on SROI 67

68

The 1st National Conference on SROI 69

70

The 1st National Conference on SROI 71

72

The 1st National Conference on SROI 73

74 ค่าตวั แทนทางการเงินสาหรบั การคานวณมลู ค่าของชวี ิต คมสัน สรุ ิยะ สานกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (สกสว.) และ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ Correspondence: [email protected], [email protected] บทคัดยอ่ กำรศึกษำนี้มุ่งคำนวณมูลค่ำของชีวิตของคนไทยเพื่อใช้ประกอบกำรวิเครำะห์ควำมคุ้มค่ำจำกกำร ลงทุนด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตลอดจนกำรวิเครำะห์ผลกระทบทำงเศรษฐกิจและสังคม ของผลงำนวิจัย โดยใช้วิธีคำนวณหำจำนวนแรงงำนสมมูล (Labor equivalence) ของผู้ที่ทำงำนได้ระหว่ำง อำยุ 10-75 ปี ซึ่งนับรวมทั้งผู้ที่ถือสัญชำติไทยและไม่ถือสัญชำติไทย ประกอบกับกำรคำนวณระยะเวลำชีวิต ที่เหลือที่จะยังสำมำรถทำงำนได้อย่ำงเต็มประสิทธิภำพจนถึงอำยุที่ยังพอทำงำนได้ คือ 75 ปี โดยมีผลผลิต มวลรวมประชำชำติ (GDP) ในปี พ.ศ. 2562 เป็นฐำนในกำรคำนวณ แล้วยังได้มูลค่ำของเวลำเป็นผลพลอยได้ จำกกำรคำนวณอีกดว้ ย ผลกำรศึกษำพบว่ำ เมื่อใช้อัตรำคิดลดเท่ำกับร้อยละ 2 จะได้มูลค่ำของชีวิตของทั้งคนที่ทำงำน และคนที่ไม่ทำงำนรวมกันแล้วเท่ำกับ 7,552,791 บำทต่อคน ซึ่งจะคิดมูลค่ำของเวลำได้เท่ำกับ 0.4224 บำท ต่อนำที หำกคิดเฉพำะมูลค่ำของคนทีท่ ำงำนเท่ำนั้นจะได้เท่ำกับ 13,811,797 บำทต่อคน และมูลค่ำของเวลำ เท่ำกบั 0.7724 บำทต่อนำที คาสาคญั : มูลคำ่ ของชวี ติ ; มูลคำ่ ของเวลำ; ค่ำตวั แทนทำงกำรเงิน; กำรประเมนิ ผลกระทบทำงสังคม; ผลกระทบของกำรลงทนุ ด้ำนวิทยำศำสตร์ กำรวจิ ัยและนวัตกรรม

The 1st National Conference on SROI 75 1. ความสาคัญของค่าตวั แทนทางการเงนิ สาหรบั การคานวณมูลคา่ ของชีวิต ในกำรประเมินควำมคุ้มค่ำจำกกำรลงทุนด้ำนวิทยำศำสตร์ กำรวิจัยและนวัตกรรม โดยใช้เทคนิค ผลตอบแทนจำกกำรลงทุนด้ำนสังคม (Social return on investment: SROI) ในแผนงำนหรือโครงกำรที่มี ผลกระทบต่อกำรลดควำมสูญเสียชีวิตมนุษย์มีควำมจำเป็นต้องใช้ค่ำตัวแทนทำงกำรเงินสำหรับกำรคำนวณ มูลค่ำของชวี ติ ทีเ่ หมำะสม เพรำะวำ่ หำกใช้คำ่ ทม่ี ำกเกนิ ไปหรือน้อยเกินไปกจ็ ะทำใหผ้ ลตอบแทนจำกกำรลงทุน มีกำรเบี่ยงเบนไปจำกค่ำที่ควรจะเป็น ซึ่งจำกประสบกำรณ์กำรประเมินที่ผ่ำนมำของสำนักงำนกองทุน สนับสนุนกำรวิจัย (สกว.) และสำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) พบวำ่ มูลค่ำของชวี ิตเป็นแหล่งท่ีมำของกำรเฟ้อของผลตอบแทนจำกกำรลงทุนทำงสังคมที่สงู ทีส่ ุดรำยกำรหนึ่ง เพรำะอำจจะทำให้ค่ำ SROI มคี ำ่ มำกหลำยร้อยหรือหลำยพันเท่ำ อนั ทำใหผ้ รู้ ับฟังผลกำรประเมินเกิดข้อสงสัย ถงึ ผลตอบแทนทีส่ งู มำกเชน่ นัน้ กำรศึกษำนี้จึงพยำยำมที่จะแสวงหำค่ำตัวแทนทำงกำรเงิน (Financial proxy) ที่เหมำะสมสำหรับ กำรคำนวณมูลค่ำชีวิต (Value of life) เพื่อใช้ประกอบกำรประเมินผลกระทบทำงสังคมของกำรลงทุน ด้ำนวิทยำศำสตร์ กำรวิจัยและนวัตกรรม ที่มีผลต่อกำรลดควำมสูญเสียชีวิตมนุษย์ โดยกำรคำนึงถึง ควำมเป็นไปไดท้ ำงเศรษฐกจิ ทีม่ นุษยจ์ ะสำมำรถสร้ำงขึน้ ได้ตลอดช่วงชวี ติ ท่เี หลืออยู่ 2. การทบทวนวรรณกรรมด้านค่าตัวแทนทางการเงนิ สาหรับการคานวณมลู ค่าของชีวิต กำรเสนอค่ำตัวแทนทำงกำรเงินส ำหรับกำรคำนวณมูล ค่ำของชีวิตอยู่ในควำมสนใจของผู้ประเมิน และนักเศรษฐศำสตร์ทั่วโลก โดยเฉพำะในสำขำเศรษฐศำสตร์สำธำรณสุขเพรำะมีควำมจำเป็นในกำร ประเมินผลโครงกำรที่เกี่ยวข้องกับชีวิตมนุษย์โดยตรง โดยปรำกฏกำรตีพิมพ์ในเรื่องนี้อย่ำงต่อเนื่อง อำทิ Ehrlich (2000), Lee, Chertow and Zenios (2009), Tichopad and Zigmond (2013), Atikeler, K. et al. (2014), Tuna et al (2014), Yenilmez et al (2014), Kockaya, Yenilmez and Tuna (2016), Tuna and Kockaya (2016), Yenilmez, Tuna and Kockaya (2016), Jakubczyk et al (2018), Seposo et al (2018), Patenaude et al (2019), Hájnik et al (2021), Wei et al (2021) ในกำรประเมินมูลค่ำชีวิตค่อนข้ำงจะมีควำมหลำกหลำยขึ้นอยู่กับแนวคิด วิธีกำรประเมิน บริบท ของประเทศทต่ี ่ำงกันและควำมคำดหวังทำงเศรษฐกิจที่มีต่อชีวติ ที่เหลืออยู่ เม่อื ไดท้ บทวนวรรณกรรมท้ังหลำย แล้วพบว่ำไม่มีเทคนิควิธีกำรท่ีเป็นมำตรฐำนเพียงวิธีใดวิธีหนึ่งที่ได้รับกำรยอมรับโดยทั่วกัน แต่ทว่ำมีหลักกำร ทเ่ี ห็นพ้องต้องกนั อยู่ 4 ประกำร ดงั น้ี

76 หลกั กำรที่ 1 คำนึงถึงประโยชน์ทำงเศรษฐกิจเป็นหลกั หลักกำรท่ี 2 คำนงึ ถึงชว่ งเวลำท่ยี งั เหลอื อยู่ของชวี ติ หลกั กำรที่ 3 คำนึงถึงควำมสำมำรถและประสทิ ธภิ ำพของทุนมนุษย์ หลักกำรท่ี 4 คำนึงถึงมูลคำ่ ของเงินตำมเวลำ ภำยใต้หลักกำรทัง้ 4 ประกำรนี้ มีกำรใช้เทคนิคทีห่ ลำกหลำยในกำรประเมินมูลค่ำของชวี ิตและมีกำร วิพำกษ์วิจำรณท์ ำงวิชำกำรอยำ่ งเข้มขน้ ถงึ ข้อดแี ละข้อเสียของวิธีกำรแต่ละประเภท อำทิ ผลงำนของ Dickert et al (2015), Kuchyna (2015), Thomas and Vaughan (2015), Brousselle, Benmarhnia and Benhadj (2016) ทำให้เกิดกำรแสวงหำวิธีกำรที่ดีขึ้นในกำรประเมินมูลค่ำของชีวิตและกำรตีกรอบในกำรประเมิน ให้แคบลง เช่น กำรประเมินเพียงในเรื่องใดเรื่องหนึ่งในกลุ่มเป้ำหมำยของประชำกรกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเท่ำน้ัน โดยไม่พยำยำมที่จะขยำยผลกำรประเมินออกไปสำหรับทั้งประเทศหรือสำหรับประชำกรทุกกลุ่มอำยุ ท้ังนี้ เพือ่ ทีจ่ ะสำมำรถแก้ปัญหำของควำมเกินจรงิ (Overclaimed) ของผลกำรประเมิน กำรศึกษำนี้ใช้แนวคิดผู้ใหญ่สมมูล (Adult equivalence) จำกงำนวิจัยเรื่องกำรประมำณค่ำอุปสงค์ ของผู้บริโภค ค่ำผู้ใหญ่สมมูล และกำรกระจำยรำยได้ในประเทศไทย พ.ศ. 2531, 2533 และ 2535 ของ ศำสตรำจำรย์ ดร. อิศรำ ศำนติศำสน์ (2538) เป็นแนวทำงในกำรค ำนวณค่ำแรงงำนสมมูล (Labor equivalence) โดยในงำนวิจัยดังกล่ำวคำนวณค่ำผู้ใหญ่สมมูลจำกค่ำใช้จ่ำยที่จำเป็นสำหรับ กำรดำรงชีวิตของเด็กเมื่อเทียบกับผู้ใหญ่และเชื่อมโยงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงค่ำใช้จ่ำยกับรำยได้ที่หำมำได้ ซึ่งผลกำรศึกษำพบว่ำ ค่ำผู้ใหญ่สมมูลของเด็กในกรุงเทพฯ มีค่ำเท่ำกับร้อยละ 25.88 ของผู้ใหญ่ในกรุงเทพฯ เด็กในเขตเทศบำลมีค่ำเท่ำกับร้อยละ 57.15 ของผู้ใหญ่และเด็กนอกเขตเทศบำลมีค่ำเท่ำกับร้อยละ 53.23 ของผู้ใหญ่ ซึ่งมีเหตุผลว่ำเด็กในชนบท (อำยุน้อยกว่ำ 20 ปี) สำมำรถช่วยครอบครัวหำรำยได้ได้มำกกว่ำ เด็กในเมืองและในอีกมติ ิหนึ่ง คือ รำยได้ของผู้ใหญ่ในเมืองสูงกว่ำรำยได้ของผู้ใหญ่ในชนบทมำก ทำให้สดั ส่วน ของกำรสร้ำงรำยได้ของเด็กในกรุงเทพฯ ยง่ิ ห่ำงจำกรำยไดข้ องผ้ใู หญ่ในกรุงเทพฯ

The 1st National Conference on SROI 77 3. วธิ ีการคานวณค่าตวั แทนทางการเงนิ สาหรบั การคานวณมลู ค่าของชวี ติ แนวคดิ ในกำรคำนวณมูลค่ำชีวติ ในกำรศึกษำคร้งั นีม้ ีหลกั กำรอยู่ 5 ขอ้ ดังนี้ ข้อที่ 1 คิดมูลค่ำชีวิตในฐำนะที่เป็นปัจจัยกำรผลิต (Factor of production) เท่ำนั้น ไม่ได้คิด ในฐำนะที่เป็นกำรสะสมทุนมนุษย์ตั้งแต่กำเนิดเรื่อยไปจนตลอดเวลำของทั้งชีวิต (Human capital) ไม่ได้คิด ในฐำนะท่เี ปน็ สินค้ำทีซ่ อื้ ขำยแลกเปลี่ยนได้ (Commodity) และไม่ได้คดิ ในฐำนะที่เปน็ ทรัพย์สนิ (Asset) ข้อที่ 2 มนุษย์กับทุนอื่น ๆ ทำงำนร่วมกัน โดยทุนประเภทอื่นไม่สำมำรถสร้ำงมูลค่ำทำงเศรษฐกิจ ได้เลยหำกไม่มีมนุษย์ ดังนั้นจึงคิดมูลค่ำชีวิตจำกมูลค่ำทั้งหมดของผลิตภัณฑ์มวลรวมภำยในประเทศ (GDP) โดยไม่ไดค้ ิดเพยี งจำกมูลคำ่ เพม่ิ จำกค่ำจ้ำงเท่ำน้นั ข้อที่ 3 มนุษย์ในแต่ละวันทำงำนร่วมกันในระบบเศรษฐกิจ ทำให้คิดเรื่องจำนวนแรงงำนสมมูล (Labor equivalence) ซึ่งมนุษย์ในแตล่ ะวยั สำมำรถมสี ว่ นร่วมในกำรสรำ้ งมูลค่ำทำงเศรษฐกิจได้พร้อม ๆ กัน อันเกิดจำกกำรช่วยเหลอื เกอื้ กูลกนั ในกำรทำงำน ขอ้ ท่ี 4 มนษุ ย์ทำงำนได้ต้ังแตอ่ ำยุ 10 ปี ถึง 75 ปี แตส่ ำมำรถทำงำนได้ประสทิ ธิภำพมำกนอ้ ยตำ่ งกนั ข้อท่ี 5 คิดมูลค่ำชีวิตจำกเวลำที่เหลืออยโู่ ดยเฉลี่ยของประชำกรไทย หลักกำรทั้ง 5 ข้อนี้ทำให้เห็นว่ำมูลค่ำทำงเศรษฐกิจจะไม่เกิดขึ้นถ้ำไม่มีมนุษย์ เพรำะเครื่องจักร ไม่สำมำรถสร้ำงมูลค่ำทำงเศรษฐกิจเองได้ โดยไม่ใช่เฉพำะคนหนุ่มสำวเท่ำนั้นที่สร้ำงมูลค่ำทำงเศรษฐกิจ หำกแต่มีส่วนร่วมจำกมนุษย์ในหลำยวัยช่วยกันทำงำน ซึ่งแต่ละวันมีประสิทธิภำพในกำรทำงำนที่ต่ำงกัน และมูลคำ่ ชวี ิตคดิ จำกเฉพำะเวลำทย่ี งั เหลือพอทีจ่ ะทำงำนไดโ้ ดยเฉลี่ยของทกุ คน สิ่งที่นำมำคำนวณจำกหลักกำรทั้ง 5 ข้อ ทำให้เน้นย้ำว่ำจำเป็นต้องคิดมูลค่ำชีวิตจำกจำนวนคน ท้งั หมดในประเทศไทย ทงั้ คนท่ีถอื สัญชำติไทยและไม่ได้ถือสัญชำตไิ ทย โดยคดิ จำกมลู ค่ำทงั้ หมดของผลิตภัณฑ์ มวลรวมภำยในประเทศ (GDP) โดยไมไ่ ดค้ ดิ เพยี งจำกมลู คำ่ เพ่ิมจำกคำ่ จำ้ งเทำ่ น้ันและคดิ จำกจำนวนคนที่มีอำยุ ตั้งแต่ 10 – 75 ปี ซึ่งคิดค่ำแรงงำนสมมูล (Labor equivalence) จำกแนวคิดผู้ใหญ่สมมูล (Adult equivalence) โดยใช้ตัวเลขอำยุขัยเฉลี่ยของประชำกรระหว่ำง 10-75 ปี ซึ่งเท่ำกับ 41 ปี และเมื่อคำนวณ ผลตำ่ งจำกอำยุ 75 ปที ท่ี ำงำนได้ จะเหลอื เวลำที่จะทำงำนได้อกี 34 ปี

78 ในกำรศกึ ษำน้ีได้แบ่งขั้นตอนของกำรคำนวณค่ำตัวแทนทำงกำรเงินสำหรับกำรคำนวณมูลค่ำของชีวิต ไว้เปน็ 5 ข้ัน ดังตอ่ ไปนี้ ขน้ั ท่ี 1 รวบรวมขอ้ มลู ท่เี กยี่ วขอ้ งเพือ่ ตัง้ สมมติฐำนสำหรบั กำรคำนวณ ขั้นที่ 2 คำนวณจำนวนแรงงำนเมื่อเทียบสัดส่วนต่อประสิทธิภำพแรงงำนในช่วงอำยุต่ำง ๆ หรอื จำนวนแรงงำนสมมลู (Labor equivalence) ขนั้ ที่ 3 คำนวณมูลค่ำของผลผลติ ของแรงงำน 1 คน ขั้นที่ 4 คำนวณระยะเวลำทำงำนทเี่ หลือของผูท้ ่สี ำมำรถเป็นแรงงำน ขั้นที่ 5 คำนวณมูลค่ำผลผลิตของแรงงำนตลอดระยะเวลำทำงำนที่เหลือ คิดลดมูลค่ำผลผลิต ของแรงงำนในแต่ละปีให้เป็นมูลค่ำปัจจุบัน แล้วรวมมูลค่ำปัจจุบันของทุกปี ตลอดระยะเวลำทำงำนที่เหลือ แล้วสรุปเป็นค่ำตัวแทนทำงกำรเงินสำหรับกำรคำนวณ มูลค่ำของชีวิต (บำทต่อคน) และจะได้มูลค่ำของเวลำ (บำทต่อนำที) เป็น By-product ของกำรคำนวณ ขน้ั ที่ 6 คำนวณมูลคำ่ ของชีวิตในกรณที ี่ทกุ คนมมี ูลคำ่ ไม่เฉพำะแตค่ นที่ทำงำนเทำ่ นน้ั ขั้นที่ 7 คำนวณมูลค่ำของชีวิตและมูลค่ำของเวลำในกรณีที่อัตรำคิดลดเปลี่ยนแปลงไป (Sensitivity analysis) รำยละเอยี ดของกำรคำนวณ แสดงไว้ดงั ต่อไปนี้ ขั้นท่ี 1 สมมตฐิ ำนสำหรบั กำรคำนวณ สมมติฐำนต่ำง ๆ สำหรบั กำรคำนวณ แสดงไวด้ ังตำรำงท่ี 1 ดงั ตอ่ ไปนี้

The 1st National Conference on SROI 79 ตารางที่ 1 สมมตฐิ ำนสำหรับกำรคำนวณค่ำตวั แทนทำงกำรเงนิ สำหรบั กำรคำนวณมลู ค่ำของชีวติ ข้อทึ่ รำยกำร ปี พ.ศ. ตวั เลข แหลง่ ขอ้ มลู 1 มูลคำ่ ของผลผลติ ทีท่ กุ ชีวติ ในประเทศ 2562 16,898,086 สำนักงำนสภำ ไทยสำมำรถสร้ำงข้ึนได้ วดั จำก GDP ลำ้ นบำท พฒั นำกำรเศรษฐกจิ ของประเทศไทย และสังคมแหง่ ชำติ 2 จำนวนคนทั้งประเทศ ทัง้ ทถ่ี ือสัญชำติ 2562 66,558,935 คน กรมกำรปกครอง ไทยและไม่ถอื สญั ชำติไทย กระทรวงมหำดไทย 3 สัดสว่ นประชำกรที่สำมำรถทำงำนได้ 2562 สำนักงำนสถิตแิ ห่งชำติ อำยุ 10-14 ปี ร้อยละ 5.90 สดั สว่ นต่อประชำกร ทั้งหมด อำยุ 15-60 ปี รอ้ ยละ 65.72 สัดส่วนตอ่ ประชำกร ทง้ั หมด อำยุ 61-70 ปี ร้อยละ 9.40 สัดสว่ นตอ่ ประชำกร ท้ังหมด อำยุ 71-75 ปี ร้อยละ 2.82 สดั ส่วนตอ่ ประชำกร ทง้ั หมด 4 จำนวนประชำกรทสี่ ำมำรถทำงำนได้ 2562 สำนกั งำนสถติ แิ ห่งชำติ อำยุ 10-14 ปี 3,928,346 คน อำยุ 15-60 ปี 43,740,853 คน อำยุ 61-70 ปี 6,255,973 คน อำยุ 71-75 ปี 1,878,234 คน 5 อตั รำกำรเตบิ โตเฉล่ยี ของ GDP 2562 รอ้ ยละ 1.00 สำนักงำนสภำ ตอ่ ปี พัฒนำกำรเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชำติ 6 อัตรำคิดลด (Discount rate) 2562 ร้อยละ 2.00 คดิ จำกอัตรำเงนิ เฟอ้ โดยเฉลีย่ เนอ่ื งจำกเป็น ผลต่อกำรเส่อื มคำ่ ของรำยไดข้ องครัวเรือน ที่มำ: ขอ้ มูลจำกหลำยแหลง่ ดงั แสดงไว้ในรำยละเอยี ดของแหล่งขอ้ มลู ในตำรำง

80 ข้ันที่ 2 คำนวณจำนวนแรงงำนสมมลู (Labor equivalence) แนวคิดของกำรคำนวณจำนวนแรงงำนสมมูล (Labor equivalence) ประยุกต์มำจำกหลักกำร คำนวณค่ำผู้ใหญ่สมมูล (Adult equivalence) (อิศรำ, 2538) ประชำกรในแต่ละช่วงอำยุจะมีควำมสำมำรถ ในกำรทำงำนท่ีไม่เท่ำกัน โดยผูท้ ่มี อี ำยรุ ะหว่ำง 15-60 ปี จะมคี วำมสำมำรถในกำรทำงำนมำกกว่ำผทู้ ่ีมอี ำยุช่วง อน่ื ๆ ดงั น้นั หำกสมมติว่ำผทู้ ่ีมีอำยรุ ะหวำ่ ง 15-60 ปี มคี วำมสำมำรถในกำรทำงำนเท่ำกับ 1 เทำ่ แล้วสมมติให้ ผู้ที่มีอำยุในช่วงอื่น ๆ มีควำมสำมำรถในกำรทำงำนลดหลั่นกันลงมำจะทำให้คำนวณจำนวนแรงงำนเมื่อเทียบ สดั สว่ นต่อประสิทธภิ ำพแรงงำนในชว่ งอำยตุ ำ่ ง ๆ หรอื จำนวนแรงงำนสมมูล (Labor equivalence) ได้ ดงั นี้ ตารางที่ 2 กำรคำนวณแรงงำนสมมูล (Labor equivalence) ข้อทึ่ รำยกำร ปี พ.ศ. ตัวเลข แหล่งขอ้ มลู 1 จำนวนกำลังแรงงำนรวม 2562 สำนกั งำนสถติ แิ ห่งชำติ อำยุ 10-14 ปี 785,669 คน ร้อยละ 20 ของประชำกร ท่ีสำมำรถทำงำนได้ในอำยนุ ้ี อำยุ 15-60 ปี 33,920,000 คน รอ้ ยละ 77.55 ของประชำกร ทส่ี ำมำรถทำงำนไดใ้ นอำยุนี้ อำยุ 61-70 ปี 4,627,500 ร้อยละ 73.97 ของประชำกร ท่ีสำมำรถทำงำนได้ในอำยุน้ี อำยุ 71-75 ปี 563,470 ร้อยละ 30 ของประชำกร ทสี่ ำมำรถทำงำนไดใ้ นอำยนุ ้ี 2 ดชั นีประสิทธภิ ำพแรงงำน 2562 ข้อสมมติในกำรศกึ ษำน้ี อำยุ 10-14 ปี 0.10 เทำ่ อำยุ 15-60 ปี 1.00 เทำ่ อำยุ 61-70 ปี 0.50 เท่ำ อำยุ 71-75 ปี 0.15 เทำ่ 3 จำนวนแรงงำนสมมลู 2562 36,396,837 คน กำรคำนวณ โดยนำเอำดชั นี (Labor equivalence) ประสิทธภิ ำพแรงงำนคณู กับ จำนวนแรงงำนในแตล่ ะช่วงอำยุ อำยุ 10-14 ปี 78,567 คน อำยุ 15-60 ปี 33,920,000 คน อำยุ 61-70 ปี 2,313,750 คน อำยุ 71-75 ปี 84,520 คน ทีม่ ำ: จำกกำรคำนวณ

The 1st National Conference on SROI 81 ขน้ั ท่ี 3 คำนวณมูลค่ำของผลผลิตของแรงงำน 1 คน เมื่อมีจำนวนแรงงำนสมมูลเท่ำกับ 36,396,837 คน ซึ่งสำมำรถสร้ำงมูลค่ำผลผลิตได้เท่ำกับ 16,898,086 ล้ำนบำท ในปี 2562 แสดงให้เห็นว่ำในปีดังกล่ำว แรงงำนจำนวน 1 คนสำมำรถสร้ำงผลผลิตได้ เท่ำกบั 464,273 บำทต่อปี ขน้ั ที่ 4 คำนวณระยะเวลำทำงำนทีเ่ หลือของผู้ทีส่ ำมำรถเปน็ แรงงำน ตารางท่ี 3 กำรคำนวณระยะเวลำทำงำนท่เี หลือของผู้ทีส่ ำมำรถเป็นแรงงำน ขอ้ ทึ่ รำยกำร ปี พ.ศ. ตัวเลข แหลง่ ขอ้ มูล 1 อำยขุ ยั เฉลยี่ ของคนไทย 2562 76.6 ปี สำนกั งำนสถิติแห่งชำติ อำ้ งองิ ตอ่ จำก 2 ระยะเวลำทำงำนตลอดอำยุขัย 2562 61 ปี สำรประชำกร มหำวิทยำลยั มหิดล 3 อำยเุ ฉลยี่ ของประชำกรระหว่ำงอำยุ 2562 40.45 ปี (ฉบับเดือนมกรำคม) 10-75 ปี (ซง่ึ นบั ว่ำสำมำรถทำงำนได)้ 2562 34 ปี สำนกั งำนสถติ ิแห่งชำติ โดยคดิ ระยะเวลำต้งั แต่ 4 ระยะเวลำทำงำนท่ีเหลือของผทู้ ่ี อำยุ 15 ปี ถึง 75 ปี สำมำรถเป็นแรงงำน (10-75 ปี) ในกรณที ี่อำยุขยั เฉลยี่ มำกกวำ่ 60 ปี สำนกั งำนสถติ ิแห่งชำติ คดิ ระยะเวลำต้งั แต่อำยุ 40.45 ปี ถึง 75 ปี แลว้ ปดั เศษลง เพื่อไมใ่ ห้ Overestimated ในกำร คิดลดเป็นมลู คำ่ ปจั จบุ ัน ทตี่ ้องใช้มลู ค่ำเตม็ ทัง้ ปี ท่มี ำ: จำกกำรคำนวณ

82 ขนั้ ท่ี 5 คำนวณค่ำตัวแทนทำงกำรเงินสำหรบั กำรคำนวณมลู ค่ำของชวี ติ เมื่อแรงงำนหนึ่งคนสำมำรถสร้ำงมูลค่ำผลผลิตได้เท่ำกับ 464,273 บำทต่อปี ในปี พ.ศ. 2562 และจะมีระยะเวลำทำงำนที่เหลืออยู่อีก 34 ปีโดยเฉลี่ย จึงจะได้คิดมูลค่ำผลผลิตของแรงงำนไปเพิ่มอีก 34 ปี ด้วยอตั รำกำรเติบโตเทำ่ กบั อตั รำกำรเตบิ โตของ GDP คอื ร้อยละ 1.00 จำกนั้นคิดลดมูลค่ำผลผลิตของแรงงำนในแต่ละปีให้เป็นมูลค่ำปัจจุบันด้วยอัตรำคิดลดร้อยละ 2.00 แล้วรวมมูลค่ำปัจจุบันของทุกปีตลอดระยะเวลำทำงำนที่เหลือ สรุปได้เป็นค่ำตัวแทนทำงกำรเงินสำหรับ กำรคำนวณมลู ค่ำของชีวติ เทำ่ กบั 13,811,797 บำทต่อคน สำหรบั ตลอดเวลำท้งั ชีวติ กำรทำงำนทเี่ หลอื ท้งั นี้ สำมำรถคิดมูลค่ำของเวลำได้ออกมำเป็นผลผลิตสืบเน่ือง (By-product) ดว้ ย โดยมลู คำ่ ของเวลำ คิดจำกกำรสร้ำงมูลค่ำผลผลิต 13,811,797 บำทต่อคนต่อ 34 ปี หรือ 17,881,920 นำที (นับปีอธิกสุรทิน ซ่งึ จะเวยี นมำบรรจบทุก 4 ปี ได้ 8 ครงั้ ) จะคิดมูลค่ำของเวลำไดเ้ ท่ำกับ 0.7724 บำทต่อนำที ขัน้ ที่ 6 คำนวณมลู ค่ำของชวี ติ ของทง้ั คนทำงำนและไม่ทำงำน ในกำรคำนวณมูลค่ำของชีวิตที่รำยงำนไว้ในขั้นที่ 5 จะคิดเฉพำะคนที่ทำงำนเท่ำนั้น คือ คนจำนวน เพียง 36,396,837 คน ไมไ่ ดค้ ิดคนที่ไม่ได้ทำงำน หมำยควำมวำ่ มลู ค่ำของชีวติ ของคนท่ีไม่ได้ทำงำนอีกจำนวน ถงึ 30,162,098 คน จะเทำ่ กบั 0 บำทตอ่ คน ซึ่งไมน่ ำ่ จะถกู ต้องและน่ำจะขัดกบั ควำมร้สู ึกของควำมเป็นมนุษย์ ดังน้นั ในกำรคำนวณสว่ นนจ้ี ะได้นำเอำคนที่ไมไ่ ด้ทำงำนเข้ำมำรวมกับจำนวนคนท่ีทำงำนแลว้ คดิ มูลคำ่ ของชีวิต อีกครัง้ เมื่อรวมคนที่ทำงำน 36,396,837 คน เข้ำกับคนที่ไม่ได้ทำงำน 30,162,098 คน จะได้เท่ำกับ 66,558,935 คน ซึง่ เทำ่ กบั จำนวนคนในประเทศไทยทั้งหมด มูลค่ำปัจจุบันของผลผลิตที่ได้จำกกำรทำงำน 1 คน เท่ำกับ 13,811,787 คน คูณด้วยคนที่ทำงำน 36,396,837 คน รวมแล้วเท่ำกับ 502.71 ล้ำนล้ำนบำท เมื่อคิดจำกเวลำ 34 ปีที่เหลือในกำรทำงำน ของคนทำงำนทุกคนในประเทศไทย จำกนั้นนำมำหำรจำนวนประชำกรทั้งหมด ซึ่งรวมเอำทั้งคนที่ทำงำน และไม่ไดท้ ำงำนเข้ำด้วยกัน คือ 66,558,935 คน จะไดเ้ ทำ่ กับ 7,552,791 บำทต่อคน นั่นคือไม่ว่ำจะเป็นคนทำงำนหรือไม่ทำงำนก็จะมีมูลค่ำชีวิตเท่ำกับ 7,552,791 บำทต่อคน ซึ่งจะคิด มลู ค่ำของเวลำไดเ้ ทำ่ กับ 0.4224 บำทตอ่ นำที

The 1st National Conference on SROI 83 ขนั้ ที่ 7 กำรเปลย่ี นแปลงอัตรำกำรคดิ ลด (Sensitivity analysis) เมื่อใช้อัตรำคิดลดเท่ำกับร้อยละ 2 จะได้มูลค่ำของชีวิตของทั้งคนทำงำนและไม่ทำงำนรวมกันแล้ว เทำ่ กับ 7,552,791 บำทตอ่ คน ซงึ่ จะคิดมลู คำ่ ของเวลำได้เทำ่ กับ 0.4224 บำทต่อนำที เมื่อเปล่ียนแปลงอัตรำคิดลดเป็นร้อยละ 3 จะได้มูลคำ่ ของชีวิตของท้ังคนทำงำนและไม่ทำงำนรวมกัน แลว้ เทำ่ กับ 6,492,510 บำทต่อคน ซงึ่ จะคิดมลู ค่ำของเวลำได้เท่ำกับ 0.3631 บำทต่อนำที เมื่อเปล่ยี นแปลงอตั รำคิดลดเป็นร้อยละ 4 จะไดม้ ูลคำ่ ของชวี ติ ของทงั้ คนทำงำนและไม่ทำงำนรวมกัน แล้วเท่ำกับ 5,641,683 บำทตอ่ คน ซง่ึ จะคิดมลู คำ่ ของเวลำได้เทำ่ กับ 0.3155 บำทต่อนำที 4. การอภิปรายผลการศกึ ษาและสรุปผลการศึกษา กำรศึกษำนี้มุ่งค ำนว ณมูล ค่ำของช ีว ิตของคนไทย เพื่อใช ้ประกอบกำรว ิเครำะห์คว ำมคุ้มค่ำ จำกกำรลงทุนด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ตลอดจนกำรวิเครำะห์ผลกระทบทำงเศรษฐกิจและสังคม ของผลงำนวิจัย โดยใช้วิธีคำนวณหำจำนวนแรงงำนสมมูล (Labor equivalence) ของผู้ที่ทำงำนได้ระหว่ำง อำยุ 10-75 ปี ซึ่งนับรวมทั้งผู้ที่ถือสัญชำติไทยและไม่ถือสัญชำติไทย ประกอบกับกำรคำนวณระยะเวลำชีวิต ที่เหลือที่จะยังสำมำรถทำงำนได้อย่ำงเต็มประสิทธิภำพจนถึงอำยุที่ยังพอทำงำนได้คือ 75 ปี โดยมีผลผลิต มวลรวมประชำชำติ (GDP) ในปี พ.ศ. 2562 เป็นฐำนในกำรคำนวณ แล้วยังได้มูลค่ำของเวลำเป็นผลพลอยได้ จำกกำรคำนวณอีกดว้ ย ผลกำรศึกษำพบว่ำ เมื่อใช้อัตรำคิดลดเท่ำกับร้อยละ 2 จะได้มูลค่ำของชีวิตของทั้งคนที่ทำงำน และคนที่ไม่ทำงำนรวมกันแล้วเท่ำกับ 7,552,791 บำทต่อคน ซึ่งจะคิดมูลค่ำของเวลำได้เท่ำกับ 0.4224 บำท ต่อนำที หำกคิดเฉพำะมูลค่ำของคนทีท่ ำงำนเท่ำนั้นจะได้เท่ำกับ 13,811,797 บำทต่อคน และมูลค่ำของเวลำ เท่ำกบั 0.7724 บำทตอ่ นำที ตัวเลขที่ได้จำกกำรศึกษำนี้มีค่ำมำกกว่ำผลกำรคำนวณของ คมสัน (2562) ในโครงกำรระบบจ่ำเฉย อัจฉริยะพร้อมระบบออกใบส่ังอตั โนมัติ ซ่ึงคำนวณมลู ค่ำของชวี ิตได้เท่ำกับ 2.52 ล้ำนบำทต่อคน และคำนวณ มูลค่ำของเวลำได้เพียง 0.12 บำทต่อนำที ทั้งนี้เพรำะงำนของ คมสัน (2562) คิดเฉพำะมูลค่ำเพิ่มในส่วนของ ค่ำจ้ำงเท่ำนั้นและใช้ข้อมูลจำกตำรำงปัจจัยกำรผลิต-ผลผลิตปี พ.ศ. 2553 เป็นฐำนในกำรคำนวณ โดยสมมติ กำรเติบโตของค่ำจ้ำงเท่ำกับร้อยละ 2.0 ต่อปี พร้อมกับกำรคิดตัวหำรจำกจำนวนประชำกรทุกคนไม่ได้นับ เฉพำะผู้ที่ทำงำนได้เท่ำนั้นและไม่ได้คำนวณจำนวนแรงงำนสมมูล (Adult equivalence) แต่กระน้ัน งำนดังกล่ำวก็คิดระยะเวลำในกำรมีชีวิตเหลืออยู่มำกถึง 40 ปี ซึ่งคิดจำกระยะเวลำกำรทำงำนถึงอำยุ 65 ปี

84 และอำยเุ ฉลย่ี ของผู้เสียชีวิตจำกอบุ ัติเหตุบนท้องถนนเท่ำกบั 25 ปี แต่กท็ ำให้ได้ตวั เลขท่ีน้อยกว่ำในกำรศึกษำ นี้ คอื มลู คำ่ คำ่ จำ้ งต่อประชำกรเท่ำกับ 63,000 บำทตอ่ คนต่อปีเท่ำน้นั เทียบกับผลกำรคำนวณจำกกำรศึกษำ นี้ทีพ่ บว่ำ แรงงำนจำนวน 1 คน (เฉพำะคนท่ีทำงำน) สำมำรถสรำ้ งผลผลิตไดเ้ ท่ำกับ 464,273 บำทต่อปี อย่ำงไรก็ตำม ผลกำรศึกษำครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่ำควำมพยำยำมทีจ่ ะกำหนดค่ำตัวแทนทำงกำรเงินสำหรบั กำรคำนวณมูลค่ำของชีวิตและมูลค่ำของเวลำที่แน่นอนตำยตัวและกลำยเป็นตัวเลขมำตรฐำนสำหรับวงกำร วิจยั และกำรประเมนิ ผลกระทบฯ ไมน่ ่ำจะเป็นเร่อื งท่กี ระทำได้ ทง้ั น้ีด้วยเหตผุ ลอย่ำงนอ้ ย 3 ประกำร ดงั น้ี เหตุผลที่ 1 แนวคิดของกำรคำนวณมูลค่ำของชีวิตมีหลำยทำง อำทิ กำรคิดมูลค่ำชีวิตในฐำนะที่เป็น ปัจจัยกำรผลิต (Factor of production) กำรคิดมูลค่ำชีวิตในฐำนะที่เป็นกำรสะสมทุนมนุษย์ตั้งแต่กำเนิด เรื่อยไปจนตลอดเวลำของทั้งชีวิต (Human capital) กำรคิดมูลค่ำชีวิตในฐำนะที่เป็นสินค้ำที่ซื้อขำย แลกเปลี่ยนได้ (Commodity) และกำรคิดมูลค่ำชีวิตในฐำนะที่เป็นทรัพย์สิน (Asset) ซึ่งขึ้นอยู่กับบริบท (Context-based) ของเรื่องที่มนุษย์เข้ำไปเกี่ยวข้องและกลุ่มเป้ำหมำยทำงเศรษฐกิจ ดังนั้นกำรใช้แนวคิด ที่ต่ำงกันย่อมทำให้คำนวณมูลค่ำชีวิตได้ต่ำงกัน โดยกำรกำหนดว่ำจะต้องใช้แนวคิดใดเป็นหลักในกำรคำนวณ มูลค่ำชีวิตอำจจะเป็นเรื่องที่ไม่ได้จะทำได้หรืออำจจะทำได้ยำกเพรำะกำรจะตัดสินว่ำควรจะใช้แนวคิดใด จึงจะเหมำะสมและให้ผลครอบคลุมเรื่องที่กำรลงทุนด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรมจะเข้ำไปสร้ำง ผลกระทบนั้นคงจะต้องผ่ำนกำรอภิปรำยทำงวิชำกำรที่เข้มข้นเป็นอย่ำงมำกจนกว่ำจะได้ข้อสรุปและก็อำจจะ ไม่ไดข้ อ้ สรุปก็เปน็ ได้ เหตุผลที่ 2 รำยละเอียดของกำรคำนวณมีหลำยแง่มุม แม้แต่ในกำรศึกษำครั้งนี้ก็จะเห็นว่ำ หำกให้มูลค่ำชีวิตคิดจำกคนที่ทำงำนเท่ำนั้นก็จะมีค่ำมำก แต่ก็แลกมำด้วยกำรที่ไม่มีมูลค่ำชีวิตเลยให้แก่คนท่ี ไมม่ ีงำนทำ ซ่ึงเป็นเร่อื งที่น่ำจะขดั กับหลักมนษุ ยธรรมหรือควำมเป็นมนุษย์ แตห่ ำกใหน้ ้ำหนกั ของท้ังคนทำงำน และคนที่ไม่ทำงำนก็จะไดม้ ูลค่ำชีวิตทีล่ ดลง แต่ก็อำจจะไม่สะท้อนมูลค่ำท่ีคนท่ีทำงำนสร้ำงขึน้ ไดจ้ ริง ๆ ดังนัน้ ในควำมที่มีหลำยแง่มุมเหล่ำนี้สร้ำงควำมหลำกหลำยให้กับมูลค่ำที่คำนวณได้ กำรจะตัดสินว่ำมูลค่ำเท่ำใด ที่ถูกต้องแน่นอนนั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้ เพรำะว่ำขึ้นกับบริบทที่นำไปวิเครำะห์มำกกว่ำที่จะสำมำรถกำหนด ค่ำที่แน่นอนเพียงค่ำเดยี วสำหรบั ทกุ กรณไี ด้ เหตผุ ลท่ี 3 ควำมอ่อนไหวของกำรกำหนดสมมตฐิ ำนท่สี ำคัญย่อมทำใหเ้ กดิ กำรเปลย่ี นแปลงของมูลค่ำ ชวี ิตเพรำะแม้แต่เพียงกำรเลือกใช้อตั รำคิดลดทแ่ี ตกตำ่ งไปเพยี งเล็กน้อยก็ทำให้ได้มูลค่ำชีวิตท่ีแตกต่ำงกันมำก ซึ่งกำรจะกำหนดให้ใช้อัตรำคิดลดเพียงค่ำเดียวที่เป็นมำตรฐำนก็อำจจะไม่ได้รับกำรยอมรับจำกนักวิชำกำร โดยทั่วไป เพรำะกำรเลือกใช้อัตรำคิดลดย่อมขึ้นอยู่กับบริบท เช่น อัตรำเงินเฟ้อโดยเฉลี่ยตำมสถำนกำรณ์ ที่เป็นอยู่ในขณะนัน้ หรืออำจจะขึ้นอยู่กับต้นทุนของเงินทุนซึ่งย่อมผนั แปรตำมอัตรำผลตอบแทนของสนิ ทรพั ย์ เสย่ี งประเภทอื่น ๆ ด้วย

The 1st National Conference on SROI 85 ดังนั้น กำรแสวงหำค่ำตัวแทนทำงกำรเงินสำหรับกำรคำนวณมูลค่ำของชีวิตจะยังคงเป็นปริศนำ ให้นักวิชำกำรได้หำทำงค้นคว้ำหำแนวทำงที่เหมำะสมต่อไป ซึ่งในที่สุดอำจจะพบว่ำทำงออกของกำรเลือกใช้ ตัวเลขนี้อำจจะอยู่ที่บริบทของสิ่งที่ประเมิน เช่น ในงำนของคมสัน (2562) อยู่ในบริบทของอุบัติเหตุ บนท้องถนนซึ่งอำจจะเกิดขึ้นได้กับประชำกรทุกคน ทำให้มูลค่ำชีวิตที่เลือกใช้อำจจะคิดทั้งจำกคนที่ทำงำน และไม่ทำงำนเพรำะผลกระทบไม่ได้เกิดกับผู้ที่ทำงำนเท่ำนั้น แต่หำกประเมินในบริบทของกำรสูญเสียชีวิต แรงงำนที่มีทักษะสูงกอ็ ำจจะเลอื กใชม้ ูลคำ่ ชีวติ ของผู้ที่ทำงำนเทำ่ นน้ั เป็นตน้ โดยสรุปแล้ว กำรประเมินมูลค่ำชีวิตของมนุษย์ขึ้นอยู่กับบริบทเป็นอย่ำงมำก ชีวิตมนุษย์ที่อยู่กัน ในบริบทของเรอ่ื งที่แตกต่ำงกัน มุ่งสรำ้ งมลู ค่ำทำงเศรษฐกิจจำกกลุ่มเป้ำหมำยท่ีต่ำงกนั อยู่ในประเทศที่ต่ำงกัน และเป็นคนในวัยที่ต่ำงกันย่อมคำนวณมูลค่ำชีวิตได้ไม่เท่ำกัน กำรศึกษำครั้งนี้จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่จะได้คิดกัน อย่ำงจริงจังหำกมีควำมจำเป็นจริง ๆ ที่สำนักงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จะต้องกำหนดค่ำมำตรฐำนของมูลค่ำชีวิตขึ้นเพื่อประโยชน์สำหรับกำรอ้ำงอิงในกำรประเมินผลกระทบฯ ของกำรลงทุนด้ำนวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรมต่อไป ซึ่งทำงออกก็คือน่ำจะต้องคำนวณออกมำหลำยค่ำ เพื่อใช้ในบริบทที่หลำกหลำยเท่ำที่จะสำมำรถคำดกำรณ์ได้ว่ำวิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรมจะสร้ำง ผลกระทบในเร่อื งใดและในขอบเขตกว้ำงขวำงเพียงใด เอกสารอา้ งอิง คมสัน สุริยะ. 2562. กำรประเมนิ มูลคำ่ ผลลพั ธ์และผลกระทบของโครงกำรวิจยั โดดเดน่ ท่ี สกว. สนบั สนนุ โครงกำรท่ี 1: โครงกำรระบบจำ่ เฉยอจั ฉริยะพร้อมระบบออกใบสัง่ อตั โนมตั .ิ กรุงเทพฯ: ฝ่ำยติดตำม และประเมินผล สำนกั งำนกองทุนสนบั สนนุ กำรวิจัย (สกว.) อิศรำ ศำนตศิ ำสน์ . 2538. \"กำรประมำณค่ำอปุ สงคข์ องผู้บริโภค ค่ำผ้ใู หญส่ มมลู และกำรกระจำยรำยไดใ้ น ประเทศไทย พ.ศ. 2531, 2533 และ 2535 : รำยงำนผลกำรวจิ ยั \". กรงุ เทพมหำนคร : จฬุ ำลงกรณ์ มหำวทิ ยำลยั . Atikeler, K. et al. 2014. “Value of Life and Cost of Pre-Mature Deaths with The Perspective of Productivity as Net Tax Revenue: A Comparison in Argentina, Brazil and Mexico,” Value in Health 17: pp. A323–A686 Brousselle, Astrid, Tarik Benmarhnia and Lynda Benhadj. 2016. “What are the benefits and risks of using return on investment to defend public health programs?,” Preventive Medicine Reports 3: pp. 135–138

86 Dickert, Stephan et al. 2015. “Scope insensitivity: The limits of intuitive valuation of human lives in public policy,” Journal of Applied Research in Memory and Cognition 4: pp. 248–255 Ehrlich, Isaac. 2000. “Uncertain lifetime, life protection, and the value of life saving,” Journal of Health Economics 19: pp. 341–367 Hájnik, Ambróz et al. 2021. “A statistical value of a human life in Slovakia,” Transportation Research Procedia 55: pp. 284–290 Jakubczyk, Michal et al. 2018. “Choice Defines Value: A Predictive Modeling Competition in Health Preference Research,” Value in Health 21: pp. 229–238 Kockaya, G., Yenilmez FB. and Tuna E. 2016. “Estimation Of Value of Life with A Model Approach Depending on Net Present Value for Turkey,” Value in Health 19: pp. A347–A766 Kuchyna, Pavel. 2015. “Problems Associated with Value of Life,” Procedia Economics and Finance 25: pp. 378–385 Lee, Chris P., Glenn M. Chertow and Stefanos A. Zenios. 2009. “An Empiric Estimate of the Value of Life: Updating the Renal Dialysis Cost-Effectiveness Standard,” Value in Health 12: pp. 80–87 Patenaude, Bryan N. et al. 2019. “The Value of a Statistical Life-Year in Sub-Saharan Africa: Evidence from a Large Population-Based Survey in Tanzania,” Value in Health Regional Issues 19: pp. 151–156 Seposo, Xerxes et al. 2018. “Health impact assessment of PM2.5-related mitigation scenarios using local risk coefficient estimates in 9 Japanese cities,” Environment International 120: pp. 525–534 Thomas, P.J. and G.J. Vaughan. 2015. “Pitfalls in the application of utility functions to the valuation of human life,” Process Safety and Environmental Protection 98: pp. 148–169

The 1st National Conference on SROI 87 Tichopad, A. and Zigmond J. 2013. “Vale of life: As perceived by physicians and the general public,” Value in Health 16: pp. A477 Tuna, E. et al. 2014. “Value of Life and Cost of Pre-Mature Deaths with The Perspective of Productivity as Net Tax Revenue: A Comparison in France, Germany, Italy, Spain, United Kingdom,” Value in Health 17: pp. A323–A686 Tuna, E., Yenilmez FB. and Kockaya G. 2016. “Estimation Of Value of Life with A Model Approach Depending on Net Present Value for France, Germany, Italy, Spain and United Kingdom,” Value in Health 19: pp. A347–A766 Wei, Chun Wang et al. 2021. “Economic evaluation for mass vaccination against COVID-19,” Journal of the Formosan Medical Association 120: pp. S95–S105 Yenilmez, FB. et al. 2014. “Value of Life and Cost of Pre-Mature Deaths with The Perspective of Productivity as Net Tax Revenue: A Comparison in USA, Canada, Japan and Australia,” Value in Health 17: pp. A423 Yenilmez, FB., Tuna E. and Kockaya G. 2016. “Estimation of Value of Life with A Model Approach Depending on Net Present Value for Au stria, Canada, Japan and USA,” Value in Health 19: pp. A347–A766

88 ผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทนุ ของโครงการวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตร์ กรณีศกึ ษา ชุดโครงการ Thai Fruits – Functional Fruits และไม้ผลและผลิตภณั ฑจ์ ากผลไม้ Social Return on Investment of Scientific Research Projects in Project Package of Thai Fruits – Functional Fruits and Fruits and Fruit’s Products ไชยยะ คงมณี1* อรอนงค์ ลองพิชัย1 ปรัตถ พรหมม1ี เยำวเรศ เชำวนพนู ผล2 Chaiya Kongmanee1 Onanong Longpichai1 Paratta Prommee1 Yaovarate Chaovanapoonphol2 1 สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์เกษตรและธรุ กจิ เกษตร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ สงขลา 2 ภาควชิ าพฒั นาเศรษฐกิจการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เชยี งใหม่ 1 Department of Agricultural Economics and Agribusiness, Faculty of Economics, Prince of Songkla University, Songkhla 2 Department of Agricultural Economy and Development, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai *Correspondence: [email protected] บทคดั ย่อ บทควำมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเครำะห์ผลตอบแทนทำงสังคมของโครงกำรวิจัยในชุดโครงกำร Thai Fruits – Functional Fruits และไม้ผลและผลิตภัณฑ์ผลไม้ โดยรวบรวมข้อมูลจำกกำรสัมภำษณ์ รำยบุคคลด้วยแบบสอบถำมเชิงโครงสร้ำงและสัมภำษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 12 โครงกำร กำรวิเครำะห์ข้อมูลใช้กำรวิเครำะห์ผลตอบแทนทำงสังคมจำกกำรลงทุน ผลกำรวิจัยพบว่ำ ผลประโยชน์สุทธิ ในรูปของผลผลิตและผลลัพธ์มีมูลค่ำรวม 125,389,794 บำท สำนักงำนกองทุนส่งเสริมกำรวิจัย (สกว.) ใชง้ บประมำณกำรวจิ ยั รวม 11,883,370 บำท และมผี ลตอบแทนทำงสังคมจำกกำรลงทุนเทำ่ กบั 10.55 น่ันคือ เมื่อสำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรวิจัยให้กำรสนับสนุนงบประมำณกำรวิจัยในโครงกำรวิจัยทำงวิทยำศำสตร์ 1 บำท จะได้รับผลตอบแทนทำงสังคมกลับคืนมำ 10.55 บำท แสดงว่ำ กำรลงทุนมีควำมคุ้มค่ำ ข้อเสนอแนะ

The 1st National Conference on SROI 89 เพื่อเพิ่มผลตอบแทนทำงสังคมที่สูงขึ้นมีดังนี้ (1) สนับสนุนโครงกำรวิจัยแบบต่อเนื่องรำยปีเพื่อเพิ่มโอกำส กำรวิจัย กำรขยำยผลและต่อยอดตำมโซ่อุปทำน (2) พัฒนำระบบนิเวศวิจัยของหน่วยงำนต้นสังกัด อย่ำงเป็นระบบ (3) สร้ำงแรงจูงใจให้นักวิจยั จดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบตั รหรือทรัพย์สินทำงปัญญำ (4) สนับสนนุ ทุนว ิจ ัยในล ักษณะกำรร่วมทุนระห ว ่ำงแห ล่งทุนกับมห ำวิทยำล ัยส ำห รับงบด ำเนินงำนและส ่งเสริม กำรบูรณำกำรงำนวิจัยข้ำมสถำบัน (5) ส่งเสริมกำรประเมินโครงกำรวิจัยที่มีผลผลิตไม่แล้วเสร็จ ถ้ำมีควำมเป็นไปได้กำรวิจัย ควรสนับสนุนต่อเนื่องเพื่อเพิ่มโอกำสกำรเกิดผลลัพธ์และผลกระทบ ผลกำรวิจัย ที่ได้คำดว่ำจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงำนสนับสนุนกำรวิจัยและสถำบันกำรศึกษำ ในกำรนำไปใช้ประกอบ กำรวำงแผนและกำหนดนโยบำยสนบั สนนุ กำรวิจัยท่เี หมำะสมตอ่ ไป คาสาคัญ: กำรประเมินผลโครงกำร โครงกำรวิจยั ผลตอบแทนจำกกำรลงทนุ ไม้ผลและผลิตภณั ฑผ์ ลไม้ ABSTRACT This article analyzes Social Return on Investment (SROI) of scientific research projects in the project package of Thai Fruits – Functional Fruits and Fruits and Fruit Products. The data were collected using personal interviews with structured questionnaire and in– depth interviews with the key informants of the 12 research projects. The data were analyzed using SROI analysis. The results reveal the value of net benefit in terms of output and outcome equals 125,389,794 THB while the Thailand Research Fund (TRF)’s research funding amounted to 11,883,370 THB. As a result, the SROI is 10. 55. This value implies that the TRF obtained social return on investment of 10.55 THB for each their 1.0 THB research investment which is worthwhile investments. Recommendations to ensure the improvement of the SROI as follows: (1) support the multiyear research projects to increase research opportunities, implementation and translation research along the supply chain. (2) systematically develop the research ecosystem of the research institutions. ( 3) motivate the research’ s incentives to patent the patent/ petty patent or intellectual property; ( 4) support co- funding between the funding agency and the university for operating budget and promote the research integration across institutions. ( 4) promote the evaluation of unfinished research projects. If there is some research potential. The support should be continuing in order to increase

90 the likelihood of outcomes and impacts. This results are beneficial for the TRF, research grant associations and educational institutions to formulate appropriate policy for further research supports. Keywords: Project Evaluation, Research Project, Social Return on Investment, Fruits and Fruits Product บทนา ไม้ผลเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศและเป็นฐำนกำรผลิตที่ช่วยสร้ำงงำนทั้งในส่วน ของเกษตรกร ผู้ดำเนินกำรตลำดระดับต่ำง ๆ และผู้ประกอบกำรในอุตสำหกรรมแปรรูปในแต่ละภูมิภำค ของประเทศไทยมีลักษณะภูมิประเทศและสภำพภูมิอำกำศที่แตกต่ำงกัน ทำให้เกิดควำมหลำกหลำย ในชนิดไม้ผลเมืองร้อนและมีกำรขยำยพื้นที่ปลูกอย่ำงต่อเนื่อง กล่ำวคือ ในปี 2554 ประเทศไทยมีพื้นที่ใช้ ประโยชน์ทำงกำรเกษตรทั้งหมด 149.2 ล้ำนไร่ แบ่งเป็นพื้นที่ปลูกไม้ผลและไม้ยืนต้นจำนวน 34.90 ล้ำนไร่ และเพิ่มขึ้นเป็น 36.94 ล้ำนไร่ ในปี 2562 (สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร, 2561) ประเภทของไม้ผล ในประเทศไทยจำแนกตำมควำมสำคัญทำงเศรษฐกิจแบ่งเปน็ 2 กลมุ่ คอื 1) ไม้ผลทมี่ ีควำมสำคัญทำงเศรษฐกิจ และมีมูลค่ำกำรส่งออกสูง เช่น ทุเรียน ลำไย สับปะรด มังคุด เงำะ ลิ้นจี่ มะม่วง และกล้วย เป็นต้น มีตลำดส่งออกที่สำคัญ 10 อันดับแรก คือ จีน เวียดนำม ฮ่องกง สหรัฐอเมริกำ อินโดนีเซีย เกำหลีใต้ ญี่ปุ่น มำเลเซีย ไต้หวัน และแคนำดำ ตำมลำดับ 2) ไม้ผลที่มีศักยภำพทำงเศรษฐกิจในอนำคตหรือเป็นไม้ผลท้องถ่ิน หรือพื้นเมอื ง มีกำรบริโภคภำยในประเทศมำกกวำ่ กำรส่งออก ได้แก่ กระท้อน ชมพู่ น้อยหน่ำ พุทรำ มะปรำง ฝรั่ง และลองกอง เป็นต้น ทำให้ประเทศไทยมีศักยภำพในกำรพัฒนำให้เป็นแหล่งผลิตและตลำดผลไม้ เมืองร้อนทมี่ คี ุณภำพได้มำตรฐำนและเปน็ ที่ยอมรับในระดบั สำกล เมื่อพิจำรณำมูลค่ำกำรส่งออกผลไม้และผลติ ภัณฑ์ ระหว่ำงปี 2557 – 2561 พบว่ำ มูลค่ำกำรส่งออก ผลไม้สดเพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง กล่ำวคือ มูลค่ำกำรส่งออกผลไม้สดรวมทุกชนิดในปี 2557 มีมูลค่ำ 30,014.28 ล้ำนบำท ผลไม้สดที่มีมูลค่ำกำรส่งออกสูงท่ีสุด คือ ทุเรียน 12,435.70 ล้ำนบำท รองลงมำ ได้แก่ ลำไย มังคดุ มะม่วง และกล้วย ตำมลำดับ และในปี 2561 มูลค่ำกำรส่งออกผลไม้สดรวมทุกชนิดเพิ่มขึ้นเป็น 62,207.62 ล้ำนบำท ชนิดของผลไม้สดที่มีมูลค่ำกำรส่งออกสูง ได้แก่ ทุเรียน (30,186.97 ล้ำนบำท) ลำไย (17,219.25 ลำ้ นบำท) มงั คดุ (7,271.20 ลำ้ นบำท) มะมว่ ง (2,017.05 ลำ้ นบำท) และกลว้ ย (725.43 ลำ้ นบำท) ตำมลำดับ (สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร, 2561) ด้วยศักยภำพกำรผลิตและตลำดผลไม้เมืองร้อนที่ยอมรับในตลำดโลก

The 1st National Conference on SROI 91 ตลอดจนกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิต โดยเน้นกำรลดต้นทุนกำรผลิต กำรพัฒนำคุณภำพ กำรผลิตนอกฤดู รวมทั้งกำรจัดกำรผลผลิตหลังกำรเก็บเกี่ยวเพื่อสร้ำงโอกำสทำงกำรตลำดและเพิ่มรำยได้จำกกำรผลิต ซึ่งกำรเพิ่มมูลค่ำให้แก่ผลไม้ สำมำรถทำได้โดยกำรแปรรูปและกำรยกระดับจำกสินค้ำวัตถุดิบเป็นสินค้ำที่มี คุณสมบัติพิเศษ (Functional food) ด้วยกำรสนับสนุนกำรวิจัยและพัฒนำทำงวิทยำศำสตร์ สร้ำงนวัตกรรม กำรแปรรูปผลิตภณั ฑท์ ี่มีมลู ค่ำสงู (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, 2558) ดังนั้น สำนักงำนสนับสนุนกำรวิจัยได้เห็นถึงควำมสำคัญดังกล่ำว จึงสนับสนุนทุนวิจัยในชุดโครงกำร Thai Fruits-Functional Fruits ครอบคลุมผลไม้ไทยหลำกหลำยชนิด เช่น มะมว่ ง สม้ โอ มะละกอ และกล้วย เป็นต้น มีนักวิจัยจำกหลำกหลำยสถำบันเข้ำร่วมวิจัยจำนวนกว่ำ 100 คน โดยมีเป้ำหมำยเพื่อหำปริมำณ สำรสำคัญ เช่น flavonoid carotenoid enzymes phenolic acid และ prebiotic เป็นต้น และได้ศึกษำ ฤทธิ์ทำงชีวภำพของผลไม้ไทย โดยองค์ควำมรู้ที่ได้จำกกำรศึกษำนี้แสดงให้เห็นคุณค่ำของผลไม้ไทย เพื่อเผยแพร่และประชำสัมพันธ์คุณประโยชน์ของผลไม้ไทยในด้ำนเสริมสุขภำพ กำรสนับสนุนทุนวิจัย ในชุดโครงกำรจัดเป็นกำรลงทุนกิจกรรมทำงเศรษฐกิจที่สร้ำงหรือก่อให้เกิดองค์ควำมรู้ อันจะส่งผลต่อ กำรเปลี่ยนแปลงทำงเศรษฐกิจและสังคมหรือเสริมสร้ำงควำมเป็นอยู่ของคนในสังคมให้ดีขึ้น (Isvilanonda, 2010) ทั้งนี้ด้วยข้อจำกัดด้ำนงบประมำณ ทำให้ประเทศไทยมีสัดส่วนค่ำใช้จ่ำยด้ำนกำรวิจัยและพัฒนำ ต่อผลติ ภัณฑม์ วลรวมภำยในประเทศคอ่ นข้ำงตำ่ โดยมสี ัดส่วนระหวำ่ งรอ้ ยละ 0.21–1.11 ในช่วงปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2562 (กระทรวงกำรอดุ มศกึ ษำ วิทยำศำสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม, 2563) จงึ มคี วำมจำเปน็ ท่จี ะต้องทำ กำรประเมินว่ำ โครงกำรวิจัยหรือชุดโครงกำรวิจัยที่นักวิจัยได้รับกำรสนับสนุนเงินทุนสำหรับกำรทำวิจัย และดำเนินกำรวจิ ัยเสร็จสนิ้ ไปแล้ว มีควำมค้มุ ค่ำหรือไมต่ ่อกลมุ่ เป้ำหมำยใดและส่งผลกระทบต่อสังคมอย่ำงไร คำดว่ำจะเปน็ ประโยชน์ต่อกำหนดนโยบำยกำรสนับสนุนกำรวิจัยเพือ่ ให้กำรสนับสนุนเงินทุนวิจัยซึ่งมีอยูจ่ ำกดั ให้เกิดประโยชน์สูงสดุ ตอ่ กำรพัฒนำเศรษฐกจิ และสงั คม วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย บทควำมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเครำะห์ผลตอบแทนทำงสังคมจำกกำรลงทุนของชุดโครงกำร Thai Fruits – Functional Fruits และไม้ผลและผลิตภัณฑ์จำกผลไม้ ซึ่งผลกำรวิจัยที่ได้จะเป็นประโยชน์ ต่อหน่วยงำนสนับสนุนทุนวิจัย หน่วยงำนวิจัย และสถำบันกำรศึกษำในกำรนำไปใช้ประกอบกำรพิจำรณำ สนบั สนุนทุนวิจยั ที่มีบริบทคล้ำยคลงึ กนั

92 การทบทวนวรรณกรรม งำนวิจัยมีควำมสำคัญต่อกำรเติบโตทำงเศรษฐกิจ คุณภำพชีวิตที่ดีของประชำชนและควำมยั่งยืน ของกำรพัฒนำ จึงเป็นเหตุผลที่ประเทศต่ำง ๆ ให้ควำมสำคัญกับกำรลงทุนในงำนวิจัย สำหรับประเทศกำลัง พัฒนำที่ต้องเผชิญกับข้อจำกัดด้ำนงบประมำณ กำรสนับสนุนเงินทุนวิจัยจึงจำเป็นต้องมั่นใจว่ำเงินลงทุนผ่ำน โครงกำรวิจัยหรือชุดโครงกำรวิจัยให้ผลตอบแทนทำงเศรษฐกิจและสังคมในระดับที่คุ้มค่ำ จึงเป็นที่มำ ของคำถำมว่ำ ทำไมควรมกี ำรประเมินผลตอบแทนจำกกำรลงทุนในงำนวิจยั กำรประเมินผลกระทบของงำนวิจัยเป็นกำรวัดผลสำเร็จของงำนวิจัย ซึ่งเริ่มด้วยกำรประเมินผลผลิต (output) ตำมด้วยผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact) ของงำนวิจัยต่อกำรเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ และสังคม ในบทควำมนี้นิยำม ผลผลิต (output) ของงำนวิจัย คือ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจำกโครงกำรวิจัย ซึ่งถูกกำหนดโดยวัตถุประสงค์ของงำนวิจัยนั้น ๆ เช่น องค์ควำมรู้ ข้อมูล กำรฝึกอบรม จำนวนนักวิจัย ผลงำนตีพมิ พ์ สทิ ธิบัตรและนวัตกรรม รวมทง้ั อปุ กรณ์และเคร่อื งมือทำงวิทยำศำสตรท์ ่ผี ลิตข้ึน งำนวจิ ยั ช้ินหนึ่ง อำจสร้ำงผลผลิตที่พร้อมนำไปใช้ประโยชน์หรือผลผลิตที่กลำยเป็นปัจจัยนำเข้ำสู่งำนวิจัยขั้นสูงต่อไป สำหรับผลลัพธ์ (outcome) หมำยถึง กำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจำกกำรนำผลผลิตที่ได้จำกงำนวิจัยไปใช้ ประโยชนโ์ ดยผใู้ ช้ ซง่ึ อำจเป็นนักวิจัยเองหรือผ้มู ีสว่ นได้เสีย ดังนนั้ ผลผลิตสำมำรถกลำยเป็นผลลัพธ์ เชน่ รำยได้ เพิ่มขึ้น ต้นทุนลดลง ประสิทธิภำพสูงขึ้นและกำรได้แนวนโยบำยกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ ส่วนผลกระทบ (impact) คือ ผลที่เกิดขึ้นต่อเนื่อง (consequence) จำกงำนวิจัยที่ส่งผลกระทบต่อกลุ่มเป้ำหมำย หรอื สำธำรณะ โดยก่อให้เกดิ กำรเปลี่ยนแปลงทำงด้ำนเศรษฐกจิ สังคม และส่ิงแวดลอ้ ม ผลกระทบอำจจะเป็น ผลเชิงบวกหรือเชิงลบก็ได้ ผลต่อเนื่องอำจจะแบ่งกว้ำง ๆ ออกเป็นผลต่อเนื่องทำงวิทยำศำสตร์ (scientific consequence) และทำงสังคม (society consequence) ผลต่อเนื่องทำงวิทยำศำสตร์ คือ ควำมก้ำวหน้ำทำงวิทยำศำสตร์ ทุนทำงปัญญำ และงำนวิจัยมีอิทธิพลต่อควำมก้ำวหน้ำวิทยำศำสตร์ ส่วนผลต่อเนื่องทำงสังคมนั้น งำนวิจัยจะต้องตอบคำถำมว่ำอะไรคือประโยชน์ที่สังคมได้รับ เช่น สินค้ำที่ดี บริกำรที่ดี คุณภำพชีวิต สวัสดิกำรที่ดี กำรจ้ำงงำนเพิ่มขึ้น กำรเพิ่มผลิตภำพ และกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน (Walker, et al., 2008; ESF, 2012) กล่ำวคือ งำนวิจัยสร้ำงควำมก้ำวหน้ำหรือทุนควำมรู้ที่สำมำรถใช้สร้ำง นวัตกรรมและนโยบำยที่ดีเพื่อผลประโยชน์ทำงเศรษฐกิจและสังคม (Salter & Martin, 2001) กระบวนกำร ค้นหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกำรลงทุนวิจัยกับผลกระทบที่เกิดขึ้น สำมำรถอธิบำยโดยกรอบแนวคิด ควำมสัมพันธ์เชิงเส้น (linear process) ของผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ กล่ำวคือ ควำมรู้จำกงำนวิจัย พื้นฐำนเปลี่ยนรูปไปสู่งำนวิจัยเชิงประยุกต์และสุดท้ำยนำไปต่อยอดสู่นวัตกรรมทำงเทคนิคและสังคม และสง่ ผลกระทบตอ่ เศรษฐกจิ และสังคม (Walker, et al., 2008; ESF, 2012)

The 1st National Conference on SROI 93 บทควำมนี้ใช้หลักกำรผลตอบแทนทำงสังคมจำกกำรลงทุนในกำรวิเครำะห์ข้อมูล โดยประเมินมูลค่ำ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบทำงสังคมของโครงกำรวิจัยคำนวณเป็นตัวเงินแล้วเปรียบเทียบกับมูลค่ำ ของต้นทุนที่เป็นตัวเงินสำหรับใช้ดำเนินโครงกำรวิจัยเพื่อให้ทรำบว่ำ โครงกำรวิจัยนั้นก่อให้เกิดผลกระทบ ทำงสังคมคิดเปน็ มลู ค่ำในรปู ตัวเงินเทำ่ ไรต่อเงนิ ลงทนุ 1 บำท (Nicholls, et al., 2012; Achavanuntakul & Yamla-or, 2014; Cordes, 2017) ซึ่งเป็นกำรประเมินแบบผสำนวิธีที่มีกระบวนกำรเพื่อทำควำมเข้ำใจ วัดมูลค่ำผลกระทบและรำยงำนคุณค่ำของโครงกำรวิจัยที่ก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงทำงเศรษฐกิจ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม (Scholten, et al., 2006; Nicholls, et al., 2012; Banke, et al., 2015 Nicholls, 2017) กำรวิเครำะห์ผลตอบแทนทำงสังคมจำกกำรลงทุนเป็นเครื่องมือที่ใช้กันอย่ำงแพร่หลำย เพื่อประเมินผลกระทบขององค์กร โครงกำรพัฒนำสังคม โครงกำรวิจัย และบริกำรสำธำรณะ เช่น โครงกำร ด้ำนสำธำรณสุขและสุขภำพ กิจกำรเพื่อสังคม บริกำรสำธำรณะ งำนวิจัยและโครงกำรลงทุนของภำครัฐ (Faivel, et al., 2012; Jones, 2012; Wilson & Frederick, 2013; King, 2014; Thai Health Promotion Foundation 2014; Banke, et al. , 2015; Benjasiri, 2015; Bertotti, et al. , 2015; Ruiz- Courtney & Powell, 2020; ไชยยะ คงมณี และคณะ, 2561) ซึ่งมีควำมแตกต่ำงของผลตอบแทนทำงสังคมจำกกำรลงทุน ขึ้นอยูก่ ับลักษณะของโครงกำร ขนำดกำรลงทุน วตั ถปุ ระสงค์ ผลกำรดำเนินโครงกำร จำนวนผู้รบั ผลประโยชน์ ระยะเวลำดำเนินงำน และลักษณะผลกระทบทเ่ี กดิ ข้นึ อย่ำงไรกต็ ำม ในกำรเปรียบเทยี บผลตอบแทนทำงสังคม จำกกำรลงทุน ควรเป็นโครงกำร/องค์กรที่ทำงำนเหมือนกันหรือในลักษณะเดียวกันหรือแก้ปัญหำเดียวกัน รวมทั้งมีขอบเขตกำรทำงำน ข้อจำกัด และบริบทที่คล้ำยคลึงกัน แต่ไม่ควรเปรียบเทียบโครงกำร/องค์กรที่มี บรบิ ทแตกต่ำงกนั (Faivel, et al., 2012; Achavanuntakul & Yamla-or, 2017) วิธกี ารวิจยั งำนวิจัยนี้คัดเลือกโครงกำรวิจัยเฉพำะเจำะจงภำยใต้ชุดโครงกำร Thai fruits-Functional Fruits ที่ดำเนินงำนวิจัยในช่วงปี 2556 – 2558 จำนวน 12 โครงกำร ซึ่งได้รับเงินทุนสนับสนุนวิจัยจำนวนเงิน 11,888,370 บำท แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. งำนวิจัยเพื่อกำรต่อยอดทำงวิทยำศำสตร์ จำนวน 10 โครงกำร ได้รับงบประมำณจำนวน 7,826,370 บำท คิดเป็นร้อยละ 65.9 ของงบประมำณทั้งหมด และ 2. งำนวิจัย เพื่อกำรต่อยอดเชิงพำณิชย์ จำนวน 2 โครงกำร ได้รับงบประมำณจำนวนเงิน 4,062,000 บำท คิดเป็นร้อยละ 34.1 ของงบประมำณทั้งหมด รวบรวมข้อมูลใช้กำรสัมภำษณ์รำยบุคคลด้วยแบบสอบถำมเชิงโครงสร้ำงและสัมภำษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ หัวหน้ำโครงกำรวิจัย นักวิจัยร่วมในโครงกำร ผู้ช่วยวิจัยและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

94 และรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจำกรำยงำนกำรวิจัย รำยงำนทำงกำรเงนิ และเอกสำรท่ีเก่ียวข้อง วิเครำะห์ข้อมูลใช้ กำรวิเครำะห์ผลตอบแทนทำงสังคมจำกกำรลงทุนตำมขั้นตอนที่เสนอโดย Nicholls, et al. (2012) และใช้กรอบมูลค่ำตลำดของผลผลิตและผลลัพธ์โครงกำรวิจัยทำงวิทยำศำสตร์ที่นำเสนอโดย ไชยยะ คงมณี และคณะ (2561) ซึ่งมีกำรปรับปรุงเพิ่มเติมโดยตรวจสอบควำมใช้ได้และเหมำะสมมูลค่ำตลำดผล ผลิต และผลลัพธ์จำกกำรทบทวนเอกสำรต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องประกอบกับกำรสัมภำษณ์ผู้มีส่วนได้เสีย กำรกำหนด มูลค่ำตลำดภำยใต้หลักกำรพื้นฐำนของต้นทุนกำรผลิตทั้งหมดของผลผลิตแต่ละรำยกำรมำกำหนดเป็นมูลค่ำ ตลำดของผลผลิตนั้น ๆ หลังจำกนั้นใช้กำรปรึกษำหำรือกับผู้ทรงคุณวุฒิของโครงกำรเพื่อกำหนดมูลค่ำ ตลำดอย่ำงสมเหตุสมผล กำรวิเครำะห์ผลตอบแทนทำงสัมคมจำกกำรลงทุนประกอบด้วย 6 ขั้นตอน (Nicholls, et al., 2012) ดังนี้ 1. ก ำหนดขอบเขตของกำรประเมิน กำรประเมินครั้งนี้ก ำหนดระยะเวลำในกำรประเมิน กำรนำผลงำนวจิ ัยไปใช้ประโยชน์ไว้ 5 ปี หลังจำกโครงกำรวจิ ัยเสร็จส้ิน สำหรับขอบเขตกำรประเมินพิจำรณำ จำกปัจจัยนำเข้ำของโครงกำรวิจัย ได้แก่ งบประมำณสนับสนุนของ สกว. และงบประมำณสมทบ จำกแหล่งอื่น ๆ (ถ้ำมี) วัตถุประสงค์ของโครงกำรวิจัย กิจกรรมระหว่ำงกำรวิจัย ปัจจัยส่วนบุคคลของนักวิจัย ปัจจัยแวดล้อมในกำรทำวิจัย ลักษณะโครงกำรและควำมสำเร็จของโครงกำร ประกอบด้วย ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบจำกที่เกิดขึ้นจำกกำรดำเนินโครงกำรทั้งหมดเพื่อให้ได้ข้อมูลและค่ำสัดส่วนผลตอบแทน ทำงสงั คมจำกกำรลงทุนทสี่ ำมำรถเป็นคำ่ ตวั แทนของผลตอบแทนโดยรวมทงั้ หมดของกำรดำเนินโครงกำรวิจยั 2. ระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงกำรวิจัยโดยพิจำรณำจำกผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นและจัดทำ แผนที่ผลลัพธ์ มีขั้นตอนคือ (1) สร้ำงแผนที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงกำรวิจัย (2) ระบุกิจกรรม ผลผลิต และผลลัพธ์ เพื่อสร้ำงแผนที่ผลลัพธ์ (3) สัมภำษณ์ข้อมูลเกี่ยวกับโครงกำรวิจัยหรือกิจกรรม (4) สัมภำษณ์ ข้อมูลเกี่ยวกับผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ (5) ระบุตัวชี้วัดสำหรับวัดผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ (6) กำหนดมูลค่ำของผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ 3. รวบรวมข้อมูลผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบและค่ำแทนทำงกำรเงินของผลผลิตและผลลัพธ์ โดยทำกำรรวบรวมข้อมูลในช่วงเดือนมกรำคมถึงกรกฎำคม พ.ศ. 2561 และศึกษำจำกเอกสำรที่เกี่ยวข้อง เพื่อวิเครำะห์อัตรำกำรเกิดผลลัพธ์ กำหนดค่ำตัวแทนทำงกำรเงินและแปลงผลลัพธ์ให้เป็นตัวเงิน ทั้งนี้ ได้เจำะจงทำกำรประเมินเฉพำะมูลค่ำทำงกำรเงินของผลลัพธ์ที่ส่งผลอย่ำงชัดเจนต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เท่ำนั้น 4. วิเครำะห์ปัจจัยสนับสนุน (attribution) อัตรำกำรสูญเปล่ำ (deadweight) อัตรำทดแทน (displacement) และประมำณค่ำผลลัพธ์กำรวิเครำะห์ปัจจัยสนับสนุนจำกองค์กรอื่น พิจำรณำจำกสัดส่วน งบประมำณกำรวิจัยที่สนับสนุนโดย สกว. และผู้สนับสนุนวิจัยร่วม (ถ้ำมี) โดยกำหนดเป็นค่ำร้อยละสำหรับ

The 1st National Conference on SROI 95 อัตรำกำรสูญเปล่ำหรือผลลัพธ์ส่วนเกินเป็นกำรวัดผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหำกไม่มีโครงกำรวิจัยนี้ สำหรับอัตรำ ทดแทนเป็นผลลัพธ์เชิงบวกของผู้มีส่วนได้เสียถูกชดเชยด้วยผลลัพธ์เชิงลบสำหรับผู้มีส่วนได้เสียรำยอ่ืน ข้อมูลในส่วนนี้ได้จำกกำรสัมภำษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักของโครงกำรวิจัย รวมทั้งกำรศึกษำเอกสำรที่เกี่ยวข้อง และกำรปรกึ ษำกบั ผทู้ รงคุณวุฒิของโครงกำรวิจยั 5. คำนวณผลตอบแทนทำงสังคมจำกกำรลงทุนและจำแนกผลประโยชน์ตำ มผู้มีส่วนได้เสีย โดยผลตอบแทนทำงสังคมจำกกำรลงทุนแสดงเป็นค่ำอัตรำส่วนผลประโยชน์ทั้งหมดที่ได้รับจำกโครงกำรวิจัย ลบมูลค่ำผลประโยชน์ที่โครงกำรไม่ได้ก่อ หำรด้วยงบประมำณกำรวิจัยที่ได้รับจำก สกว. เกณฑ์กำรประเมิน คอื หำกคำ่ ท่ีคำนวณได้มำกกว่ำ 1 แสดงว่ำ กำรลงทนุ ในกำรวิจัยมคี วำมคมุ้ ค่ำ 6. สรุปผลกำรประเมินเป็นกำรสรุปผลตอบแทนทำงสังคมจำกกำรลงทุนที่คำนวณได้ในภำพรวม และนำเสนอทำงเลอื กมำตรกำรหรอื แนวทำงพัฒนำเพ่ือสง่ เสรมิ กำรประเมินควำมคุ้มคำ่ ในกำรลงทุนของ สกว. สำหรับกำรประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบตำมกรอบกำรวิเครำะห์ผลตอบแทนทำงสังคม จำกกำรลงทนุ เป็นกำรประเมนิ คำ่ ผลสำเร็จของโครงกำรเพื่อวัดควำมคุ้มค่ำเป็นตวั เงิน (เชงิ ปริมำณ) และคุณค่ำ ที่ไม่เป็นตวั เงิน (เชงิ คุณภำพ) กำรกำหนดคำ่ ผลสำเรจ็ ของโครงกำร 3 สว่ น ดงั นี้ 1. กำรประเมินมูลค่ำผลผลิตของโครงกำรวิจัยได้จำกกำรทบทวนเอกสำรที่เกี่ยวข้อง สัมภำษณ์ ผู้ให้ขอ้ มูลหลักและสังเกตหน้ำงำนในโครงกำร โดยกำหนดให้มลู คำ่ ผลผลิตทกุ รำยกำรของโครงกำรทม่ี ีหลักฐำน เชิงประจักษ์ (ตำรำงที่ 1) 2. กำรประเมนิ มูลคำ่ ผลลัพธ์ (outcome) ทกุ รำยกำรของโครงกำรจำกผู้มีสว่ นได้ส่วนเสยี ที่นำผลผลิต ไปใชต้ ำมกรอบเวลำในกำรวเิ ครำะห์ คือ 5 ปี ซึ่งสอดคล้องกับหลกั กำรลงทุนของภำคเอกชนและกำรคงอยู่ของ องค์ควำมรู้ เทคโนโลยี และทักษะ ควำมเชี่ยวชำญของบุคคล ซึ่งเป็นกำรประเมินผลลัพธ์จำกผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับโครงกำรวิจัยเท่ำนั้น ส่วนอัตรำคิดลดกำหนดให้เท่ำกับร้อยละ 1.25 สำหรับ เงินเดือนของบัณฑิตและร้อยละ 6.25 สำหรับผลประโยชน์สุทธิของบริษัทเอกชน (ถ้ำมี) สำหรับผลประโยชน์ ที่เกิดขึ้นคิดเฉพำะผลประโยชน์ส่วนเพิ่มสุทธิ (net incremental benefits) เท่ำนั้น ผลลัพธ์ทำงกำรเงิน ที่เกิดขึ้นจำกโครงกำรวิจัยจะถูกถ่วงน้ำหนัก (weighted) ด้วยสัดส่วนเงินทุนวิจัยจำก สกว. (attribution) และโอกำสหรอื รอ้ ยละของผลผลิตทจ่ี ะเกดิ ขึน้ หำกไม่มโี ครงกำรวิจยั น้ี (deadweight) (ซง่ึ ตวั ถว่ งน้ำหนกั กรณีนี้ จะเท่ำกับ 1 ลบร้อยละของ deadweight)

96 ตารางท่ี 1 มูลค่ำตลำดของผลผลิตทไี่ ดร้ บั จำกโครงกำรวิจยั รูปแบบผลผลิต มูลคำ่ ตลำด (บำท) เอกสำรอ้ำงอิง สง่ิ ประดษิ ฐ์ (ผลิตภณั ฑ์/ 200,000 กำรสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ของสำนักงำน เคร่อื งมือ/วิธีกำร/เทคนิค คณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.) มีข้อกำหนดว่ำต้องได้สิ่งประดษิ ฐ์ หอ้ งปฏบิ ตั ิกำร) 1 ชิ้น จำกกำรไดร้ ับทนุ สนับสนนุ ไม่เกนิ 200,000 บำท1 บทควำมวจิ ัยตพี ิมพ์ 200,000 กำรสนบั สนุนกำรวิจยั ของมหำวิทยำลัยสงขลำนครนิ ทร์ และ สกอ. ในวำรสำรทำงวิชำกำร ในกำรรบั ทุนวิจยั 200,000 บำท มีขอ้ กำหนดวำ่ จะตอ้ งไดผ้ ลงำน ของไทย ตีพิมพใ์ นวำรสำรวิชำกำรระดบั ชำติ/อนุสทิ ธบิ ตั รอย่ำงน้อย 1 ชิ้น2 บทควำมวิจัยตีพิมพ์ 400,000 กำรสนับสนุนกำรวิจยั ของมหำวทิ ยำลยั สงขลำนครนิ ทร์ และ สกอ. ในวำรสำรทำงวชิ ำกำร ในกำรรบั ทนุ วจิ ัย 400,000 บำท มขี ้อกำหนดว่ำจะต้องไดผ้ ลงำน นำนำชำติ4 ตพี มิ พ์ในวำรสำรวชิ ำกำรระดับนำนำชำติ/สทิ ธิบตั รอยำ่ งน้อย 1 ชิ้น2 สำหรบั กำรคำนวณมลู ค่ำผลผลติ สำหรบั ผลงำนตพี มิ พ์จะถว่ งน้ำหนัก ด้วยระดบั คณุ ภำพผลงำน ต้ังแต่ 0.25–1.00 ตำมแหลง่ ตพี มิ พ์ โดยบทควำมทต่ี พี ิมพใ์ นวำรสำรฐำน ISI ใหม้ ูลคำ่ เพิม่ แบ่งตำม Ranking โดยกำหนดให้ Q1 : 800,000 บำท Q2 : 700,000 บำท Q3 : 600,000 บำท และ Q4 : 500,000 บำท บทควำมวิจยั ตีพิมพ์ 40,000 กำรสนับสนนุ กำรวิจยั ของมหำวทิ ยำลัยสงขลำนครินทร์ (มอ.) ใน Proceedings และ สกอ. ในกำรรบั ทุนวจิ ัย 40,000 บำท มขี อ้ กำหนดวำ่ จะตอ้ งได้ บทควำมวจิ ัยตีพมิ พใ์ น Proceedings2 บณั ฑิตศึกษำ เภสัชกร สำนกั งำนสถิติแหง่ ชำติ สำรวจเงินเดือนส่วนเพิม่ โดยเฉล่ียจำกระดับ ระดบั ปรญิ ญำตรี 5,353 เงินเดือนปกติที่สถำนประกอบกำรกำหนดในกำรรับพนักงำน บำท/เดอื น เขำ้ ทำงำน จำแนกตำมวุฒกิ ำรศึกษำและตำแหน่ง ทว่ั รำชอำณำจักร วทิ ยำศำสตร์ ข้อมูลกำรสำรวจค่ำตอบแทนภำคเอกชน พ.ศ. 2556 กระทรวง 2,878 เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร และสัมภำษณ์เชิงลึก บำท/เดือน ผู้มสี ่วนได้เสยี กำหนดใหม้ ีเงนิ เดอื นส่วนเพิ่มร้อยละ 20 ของเงนิ เดือน ปกติ1 บณั ฑติ ศึกษำ เภสชั กร สำนักงำนสถิติแห่งชำติสำรวจเงินเดือนส่วนเพิ่มโดยเฉลี่ยจำกระดบั ระดบั ปริญญำโท เงินเดือนปกติที่สถำนประกอบกำรกำหนดในกำรรับพนักงำน 10,481 เขำ้ ทำงำน จำแนกตำมวฒุ ิกำรศึกษำ และตำแหน่ง ทั่วรำชอำณำจกั ร บำท/เดอื น

The 1st National Conference on SROI 97 รูปแบบผลผลิต มลู ค่ำตลำด (บำท) เอกสำรอำ้ งองิ บัณฑิตศกึ ษำ วิทยำศำสตร์ ข้อมูลกำรสำรวจค่ำตอบแทนภำคเอกชน พ.ศ. 2556 กระทรวง ระดับปรญิ ญำเอก 5,882 เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร และสัมภำษณ์เชิงลึก ผ้มู ีสว่ นได้เสยี กำหนดให้มีเงินเดือนส่วนเพ่ิมรอ้ ยละ 20 ของเงนิ เดือน ควำมลบั ทำงกำรคำ้ บำท/เดอื น ปกติ3 ต้นแบบระดบั หอ้ งปฏบิ ัติกำร เภสัชกร สำนักงำนสถิติแห่งชำตสิ ำรวจเงินเดือนส่วนเพิ่มโดยเฉลี่ยจำกระดบั ตน้ แบบระดบั พำณชิ ย์ 10,481 เงินเดือนปกติที่สถำนประกอบกำรกำหนดในกำรรับพนักงำนเข้ำ ตน้ แบบระดับภำคสนำม บำท/เดือน ทำงำน จำแนกตำมวุฒิกำรศึกษำ และตำแหน่ง ทั่วรำชอำณำจักร หนังสอื วทิ ยำศำสตร์ ข้อมูลกำรสำรวจค่ำตอบแทนภำคเอกชน พ.ศ. 2556 กระทรวง 5,882 เทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร และสัมภำษณ์เชิงลึก บำท/เดอื น ผู้มสี ว่ นไดเ้ สยี กำหนดให้มเี งินเดอื นสว่ นเพิ่มรอ้ ยละ 20 ของเงินเดือน ปกติ3 400,000 เทยี บเทำ่ กับสิทธบิ ตั ร กำรสนับสนนุ กำรวิจยั 200,000 ของมหำวทิ ยำลยั สงขลำนครนิ ทรใ์ นกำรรับทนุ วิจัย 400,000 บำท 400,000 มขี ้อกำหนดจะตอ้ งไดผ้ ลงำนตพี มิ พใ์ นวำรสำรวชิ ำกำรระดับ 300,000 นำนำชำติหรือสทิ ธบิ ตั รอย่ำงน้อย 1 ชิ้น เทยี บเทำ่ กบั อนุสิทธบิ ัตร กำรสนับสนนุ กำรวิจัย ของมหำวทิ ยำลัยสงขลำนครินทร์ในกำรรับทนุ วิจยั 200,000 บำท มีข้อกำหนดจะตอ้ งไดผ้ ลงำนตีพมิ พ์ในวำรสำรวิชำกำรระดับชำติ หรืออนุสิทธิบตั รอย่ำงน้อย 1 ชนิ้ เทยี บเทำ่ กบั สิทธิบตั ร กำรสนบั สนนุ กำรวจิ ัย ของมหำวิทยำลัยสงขลำนครนิ ทร์ในกำรรับทนุ วจิ ัย 400,000 บำท มขี อ้ กำหนดจะต้องไดผ้ ลงำนตพี มิ พ์ในวำรสำรวิชำกำรระดบั นำนำชำติหรือสิทธบิ ตั รอย่ำงนอ้ ย 1 ช้ิน ในกำรทดลองระดับภำคสนำมเป็นกำรทดลองขัน้ สูงหรือมีกำรขยำย ผลกว่ำระดับปฏิบัติกำร แต่ยังไม่มีกำรขยำยผลสู่ระดับเชิงพำณิชย์ จึงกำหนดให้มูลค่ำตลำดอยู่ระหว่ำงต้นแบบระดับห้องปฏิบัติกำร กบั ตน้ แบบระดับพำณิชย์ 400,000 เทยี บเทำ่ กับบทควำมวิจยั ตีพมิ พ์ในวำรสำรทำงวชิ ำกำรนำนำชำติ

98 รปู แบบผลผลติ มูลค่ำตลำด (บำท) เอกสำรอ้ำงองิ ค่มู อื /หนงั สือ 1 บท 40,000 เทียบเทำ่ กบั บทควำมวิจยั ตพี ิมพ์ใน Proceedings โครงกำรวิจัยใหมท่ ต่ี อ่ ยอด มูลค่ำเทำ่ กับ ต้องเปน็ โครงกำรต่อเน่ืองทีใ่ ช้ผลผลิตและผลลพั ธ์จำกโครงกำรวิจัย งบประมำณของ เดิมไม่นอ้ ยกวำ่ รอ้ ยละ 80 เพ่ือดำเนนิ งำนวจิ ยั โครงกำรวจิ ยั ใหม่ รำยงำนวิจัยฉบับสมบรู ณ์ รอ้ ยละ 10 หำกโครงกำรวจิ ัยไมส่ ง่ รำยงำนฉบบั สมบรู ณห์ รอื มีเหตุให้ต้องยุติ ของทุนวิจัย โครงกำร เพรำะทำวิจัยไมเ่ สรจ็ หรอื คณุ ภำพงำนวิจยั ใช้ไมไ่ ด้ โครงกำรวจิ ัยน้นั จะไมไ่ ดเ้ งินงวดสดุ ทำ้ ย ซ่ึงมกั สูงกวำ่ รอ้ ยละ 10 หมำยเหตุ : 1 ประกำศสำนกั งำนคณะกรรมกำรวิจัยแหง่ ชำติ (วช.) เรอื่ ง กำรรับข้อเสนอโครงกำรเพ่อื ขอรับทุนกิจกรรม ส่งเสรมิ และสนับสนุนกำรวจิ ัยภำยใตโ้ ครงกำรควำมร่วมมอื เพม่ิ มูลค่ำสงิ่ ประดิษฐ์สู่กำรใชป้ ระโยชน์ (co-funding) ประจำปี 2559 2 กำรสนับสนนุ ทุนวจิ ยั เงนิ รำยได้ปงี บประมำณ 2559 สำนกั วิจยั และพฒั นำมหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ 3 กำรสำรวจคำ่ ตอบแทนภำคเอกชน พ.ศ. 2556 สำนกั งำนสถิตแิ หง่ ชำติ กระทรวงเทคโนโลยสี ำรสนเทศและ กำรสอ่ื สำรและกำรสัมภำษณเ์ ชงิ ลกึ 4 ในกำรคำนวณมูลค่ำผลผลิตสำหรบั ผลงำนตพี มิ พ์ จะถ่วงนำ้ หนักดว้ ยระดับคุณภำพผลงำน ต้ังแต่ 0.25 – 1 ตำมแหล่งตพี ิมพ์ 3. กำรประเมินผลกระทบซึ่งเป็นกำรนำผลผลิตไปใช้โดยบุคคลที่สำมจะรำยงำนเป็นผลกระทบ (impact) ที่เกิดจำกโครงกำรวิจัยในลักษณะคุณค่ำหรือประโยชน์ที่เกิดขึ้นจำกผลผลิตของโครงกำรวิจัย แต่ไม่ตำมไปตีมูลค่ำ เพรำะอำจจะเกิดโอกำสให้ผลกำรประเมินสูงเกินจริง (over claim) กำรตีค่ำผลกระทบ ดังกล่ำวยังรวมถึงผลกระทบเชิงบวกที่เกิดขึน้ กับนักวิจัยและบณั ฑิตที่ร่วมโครงกำรวิจัยในฐำนะผู้ช่วยวิจยั ด้วย แตจ่ ะระบุผลกระทบในเชิงคณุ ภำพเทำ่ น้นั ผลการวจิ ยั และการอภปิ ราย ชุดโครงกำรวิจัยได้รับงบสนับสนุนวิจัยเป็นจำนวนเงิน 11,888,370 บำท โครงกำรที่ 1 – 11 ได้รับงบประมำณรวม 8,924,370 บำท งบประมำณที่โครงกำรย่อยได้รับอยู่ระหว่ำง 488,400 บำท ถึง 1,098,000 บำท ทั้งนี้มี 3 โครงกำรที่ได้รับทุนประมำณ 1 ล้ำนบำท สำหรับโครงกำรศูนย์วิจัยและพัฒนำ มะละกอบรโิ ภคสดจังหวัดมหำสำรคำมและกลุ่มอีสำนตอนกลำง ไดร้ บั ทนุ 2,694,000 บำท สำหรบั ระยะเวลำ 3 ปี จำก สกว. และในระหว่ำง 3 ปีที่ดำเนินงำน ได้รับกำรสนับสนุนจำกมหำวิทยำลัยต้นสังกัด จำก สวทช. และจำก อบต. รวมเป็นเงนิ 1,300,000 บำท ซงึ่ เป็นปจั จัยหนึง่ ทเี่ สรมิ กำรขยำยผลลพั ธ์ใหแ้ กโ่ ครงกำร

The 1st National Conference on SROI 99 หัวหนำ้ โครงกำรผูร้ บั ทนุ ใน 12 โครงกำรมีควำมเชี่ยวชำญในสำขำสรีรวทิ ยำ (ร้อยละ 50) สำขำอำหำร และโภชนำกำร (ร้อยละ 33) สำขำเภสัชวิทยำ (ร้อยละ 17) ในขณะที่รับทุนวิจัยครึ่งหนึ่งของหัวหน้ำโครงกำร ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศำสตรำจำรย์และร้อยละ 25 ครองตำแหน่งรองศำสตรำจำรย์ ที่เหลือครองตำแหน่ง อำจำรย์และนักวิจัย ต่อมำในระหว่ำงประเมินผลงำน พบว่ำ หัวหน้ำโครงกำรได้ครองตำแหน่งสูงขึ้น 4 รำย (หรือ 1 ใน 3) คือ เปลี่ยนจำกอำจำรย์เป็นผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ 1 รำย จำกผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ เปน็ รองศำสตรำจำรย์ 2 รำยและนักวจิ ยั เปลี่ยนเป็นนักวจิ ยั ชำนำญกำร 1 รำย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี จำกชุดโครงกำรวิจยั ประกอบด้วย เกษตรกร นักศึกษำระดับปริญญำตรี นักศึกษำ บัณฑิตศึกษำและมหำวิทยำลัยต้นสังกัด ตำรำงที่ 2 แสดงตัวอย่ำงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงผลผลิต ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย และปัจจัยสนับสนุนต่อผลลัพธ์ของโครงกำรวิจัย ศูนย์วิจัยและพัฒนำมะละกอบริโภคสด จังหวัดมหำสำรคำมและกลุ่มอีสำนตอนกลำงมีสัดส่วนร้อยละ 70.0 และอัตรำกำรสูญเปล่ำร้อยละ 60 โดยมีเส้นทำงผลกระทบแสดงดังภำพที่ 1 สำหรับโครงกำรวิจัยอื่น ๆ ปัจจัยสนับสนุนต่อผลลัพธ์มีสัดส่วน ร้อยละ 100.0 และไม่มีอัตรำกำรสูญเปล่ำ กล่ำวคือ ถ้ำไม่มีกำรสนับสนุนงบประมำณกำรวิจัยจำก สกว. ผลผลติ ของโครงกำรวจิ ยั เหลำ่ น้กี ็จะไม่เกดิ ขึ้น ตารางที่ 2 ตัวอย่ำงควำมสัมพันธ์ระหว่ำง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลผลิต ผลลัพธ์ และปัจจัยสนับสนุน ของโครงกำรวิจัยศูนย์วิจัยและพัฒนำมะละกอ บริโภคสด จังหวัดมหำสำรคำมและกลุ่มอีสำน ตอนกลำง จำนวน % ปัจจัย % อตั รำกำร % อตั รำกำร ผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทเี่ กีย่ วขอ้ ง ผลผลติ ผลลัพธ์ สนบั สนนุ สูญเปลำ่ ทดแทน (รำยกำร) (Attribution) (deadweight) (displacement) 1) เกษตรกร 4,000 - เกษตรกร - รำยได้ 70 50 60 2) นักศกึ ษำ ผ่ำนกำร สุทธิ 100 - - ปริญญำตรี 100 - - 3) นักศึกษำ อบรมและใช้ สว่ นเพม่ิ 100 บัณฑิตศกึ ษำ - - 4) มหำวทิ ยำลยั เมลด็ พันธ์ุ - ตน้ ทนุ รำชภฏั สำรคำม กำรผลิต ลดลง 12 - เงินเดือน - ส่วนเพิ่ม 2 - เงนิ เดือน - ส่วนเพมิ่ 7 - เมลด็ - มะละกอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook