พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 1 โสณทณั ฑสูตร [๑๗๘] ขาพเจา ไดส ดบั มาแลวอยางนี้. สมัยหน่ึง พระผมู พี ระภาคเจา เสดจ็ จารกิ ไปในอังคชนบทพรอ มดว ยภกิ ษสุ งฆห มูใหญ ประมาณ ๕๐๐ รปู เสด็จถงึ นครจัมปา. ไดทราบวาสมัยน้นั พระองคประทบั อยใู กลข อบสระโบกขรณีคัคครา ในนครจมั ปา. เสดจ็ นครจมั ปา [๑๗๙] กส็ มัยนั้น พราหมณโ สณทัณฑะ ครองนครจมั ปา ซง่ึ คับคง่ัดวยประชาชนและหมูสัตว อดุ มดวยหญา ดวยไม ดวยนา้ํ สมบรู ณดว ยธัญญาหาร ซ่ึงเปนราชสมบัติ อนั พระเจาแผนดนิ มคธจอมเสนา พระ-นามวา พิมพิสาร พระราชทานปูนบาํ เหนจ็ ใหเ ปน สว นพรหมไทย พราหมณและคฤหบดชี าวนครจมั ปา ไดสดับขา ววา พระสมณโคดมศากยบุตร ทรงผนวชจากศากยสกลุ เสด็จจารกิ ไปในอังคชนบท พรอ มดว ยพระภิกษสุ งฆหมูใหญป ระมาณ ๕๐๐ รปู เสดจ็ ถึงนครจัมปา ประทับอยูใกลข อบสระโบกขรณี ชอ่ื คัคครา ในนครจัมปา เกยี รติศัพทอ นั งามของพระโคดมพระองคน้นั ขจรไปแลว ดังนี้วา แมเ พราะเหตนุ ี้ พระผูมพี ระภาคเจาพระองคน ั้น เปนพระอรหันตตรัสรเู องโดยชอบ ถึงพรอ มดว ยวชิ ชาและจรณะเสดจ็ ไปดแี ลว ทรงรโู ลก เปนสารถฝี ก คนทค่ี วรฝก ไมม ผี อู น่ื ยงิ่ กวาเปนพระศาสดาของเทวดาและมนุษยท ง้ั หลาย เปน ผูเบิกบานแลว เปนผูจาํ แนกพระธรรม พระองคทรงทําโลกน้พี รอมทงั้ เทวโลก มารโลกพรหมโลก ใหแจง ชัดดวยพระปญ ญาอนั ยง่ิ ของพระองคเองแลว ทรงสอนหมู
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 2สัตวพ รอ มทั้งสมณพราหมณ เทวดาและมนษุ ยใหร ตู าม ทรงแสดงธรรมงามในเบอื้ งตน งามในทา มกลาง งามในทส่ี ดุ ทรงประกาศพรหมจรรยพรอมทง้ั อรรถ พรอมทง้ั พยญั ชนะ บริสทุ ธิ์บริบรู ณสิ้นเชงิ ก็การเห็นพระอรหันตท ั้งหลายเห็นปานน้นั ยอมเปน การดีแล ดังน้ี คร้งั นัน้ พราหมณีและคฤหบดีชาวนครจัมปา ออกจากนครจมั ปารวมกันเปนหมู ๆ พากนั ไปยงั สระโบกขรณีคคั ครา. โสณทณั ฑพราหมณเ ขาเฝา [๑๘๐] สมัยนนั้ พราหมณโ สณทณั ฑะนอนกลางวันอยู ณ ปราสาทชน้ั บน ไดเ หน็ พราหมณแ ละคฤหบดีชาวนครจมั ปา ออกจากนครจัมปารวมกนั เปน หมู ๆ พากันไปยังสระโบกขรณคี ัคครา จงเรียกทป่ี รึกษามาถามวา พราหมณและคฤหบดชี าวนครจมั ปาออกจากนครจมั ปารวมกนั เปน หมู ๆไปยงั สระโบกขรณีคคั ครา ทําไมกัน. ทปี่ รึกษาบอกวา เรอ่ื งมีอยขู อรบัพระสมณโคดมศากยบตุ ร ทรงผนวชจากศากยสกุล เสดจ็ จาริกไปในองั ค-ชนบท พรอ มดวยภกิ ษุสงฆห มูใหญป ระมาณ ๕๐๐ รปู เสด็จถงึ นครจัมปาประทับอยูใกลข อบสระโบกขรณีคคั คราในนครจมั ปา เกยี รตศิ พั ทอันงามของพระองคข จรไปแลว อยางน้ีวา แมเ พราะเหตุนี้ พระผูมพี ระภาคเจาพระองคน้นั เปน พระอรหนั ตตรสั รเู องโดยชอบ ทรงถงึ พรอมดวยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแลว ทรงรูโลก ทรงเปนสารถฝี กคนท่ีควรฝก ไมม ีผอู ืน่ ยิ่งกวา เปนพระศาสดาของเทวดาและมนุษยท ้ังหลายเปน ผเู บิกบานแลว เปนผจู ําแนกพระธรรม พราหมณแ ละคฤหบดเี หลา นัน้ พากนั ไปเฝาพระโคดมพระองคน ้ัน. โสณทณั ฑะกลา ววา ถา เชนน้นั ทา นจงไปหาเขาแลวบอกเขาอยางนวี้ า ทา นทัง้ หลาย พราหมณโสณทัณฑะสงั่ วา ขอใหท า น
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นิกาย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 3ทั้งหลายจงรอกอน พราหมณโ สณทณั ฑะจะไปเฝาพระสมณโคดมดวย. ท่ีปรกึ ษารับคําแลวไปหาพราหมณแ ละคหบดชี าวนครจัมปา แลว บอกตามคาํสั่งวา พราหมณโสณทณั ฑะส่งั วา ขอทานท้งั หลายจงรอกอน พราหมณโสณทัณฑะจะไปเฝาดวย. [๑๘๑] สมยั น้นั พวกพราหมณต างเมืองประมาณ ๕๐๐ คนพกั อยูในนครจัมปาดวยกรณยี กจิ บางอยา ง. เขาไดท ราบวา พราหมณโ สณทัณฑะจักไปเฝา พระสมณโคดม จงึ พากนั เขาไปหาแลวถามวา ไดท ราบวา ทานจักไปเฝาพระสมณโคดมจริงหรอื . โสณทัณฑะตอบวา ทา นผเู จรญิ เราคดิ วา จักไปเฝา พระสมณโคดมจริง พวกพราหมณกลา ววา อยา เลย ทา นโสณทัณฑะทานไมควรไปเฝา พระสมณโคดม ถาทานไป ทา นจะเสียเกยี รตยิ ศ เกียรติยศของพระสมณโคดมจกั รุงเรอื ง ดวยเหตนุ ้ีแหละ ทา นจงึ ไมค วรไป พระสมณโคดมตางหากควรจะเสดจ็ มาหาทา น อนง่ึ ทานเปนอุภโตสชุ าต ทง้ัฝา ยมารดาและบดิ า มคี รรภเปนท่ถี อื ปฏิสนธิหมดจดดีตลอด ๗ ชั่วคน ไมมีใครจะคดั คานติเตียนไดดว ยการกลา วอางถึงชาติ เพราะเหตุนี้ ทานจงึ ไมควรไปเฝา พระสมณโคดม พระสมณโคดมตา งหากคารจะเสดจ็ มาหาทานอนง่ึ ทานเปนผมู ง่ั คง่ั มีทรพั ยมาก มโี ภคสมบัตมิ าก....อนง่ึ ทานเปน ผูคงแกเ รยี น ทรงจาํ มนต รูจบไตรเพท พรอมท้ังคมั ภีรนฆิ ณั ฑุ คมั ภรี เกตุภะ พรอ มทงั้ ประเภทอกั ษร มคี มั ภีรอ ติ หิ าส เปนทหี่ า เปน ผูเขา ใจตวั บท เปน ผเู ขา ใจไวยากรณ ชํานาญในคัมภีรโ ลกายตะ และมหาปรุ ิส-ลักษณะ อน่ึง ทา นมรี ปู งาม นา ดู นาเล่อื มใส ประกอบดว ยผวิ พรรณผดุผองยิง่ นกั มีวรรณคลา ยพรหม มรี ูปรา งคลา ยพรหม นา ดู นาชมไมนอ ยอนึ่ง ทา นเปนผูมีศีล มีศลี ยั่งยนื ประกอบดว ยศีลยงั่ ยนื อนึ่ง ทานเปนผมู ีวาจาไพเราะ มีสาํ เนยี งไพเราะ ประกอบดว ยวาจาของชาวเมือง สละสลวย
พระสุตตันตปฎก ทีฆนกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 4หาโทษมไิ ด ใหผ ูฟ งเขาใจเน้อื ความไดชัด อนงึ่ ทา นเปน อาจารยและปาจารยข องชนหมมู าก สอนมนตแกมาณพถึง ๓๐๐ คน มาณพเปน อนั มากตา งทิศตางชนบทผตู องการมนต ใครจะเรยี นมนตในสํานักของทา นพากนัมา อนึ่ง ทานเปน คนแกเ ฒา เปนผใู หญลวงกาลผา นวยั มาโดยลาํ ดบั สว นพระสมณโคดมเปน คนหนมุ และบวชแตยังหนุม อน่งึ ทานเปนผอู นั พระเจา แผน ดินมคธ จอมเสนา พระนามวา พมิ พิสาร ทรงสกั การะเคารพนับถือ บูชา นอบนอม อนึง่ ทานเปนผอู ันพราหมณโปกขรสาติสีกการะเคารพ นบั ถอื บชู า นอบนอ ม อนง่ึ ทานครองนครจมั ปาซง่ึ คบั คง่ั ดว ยประชาชนและหมูสตั ว อดุ มดวยหญา ดว ยไม ดว ยนํา้ สมบรู ณดวยธญั ญาหาร ซงึ่ เปนราชสมบัตอิ ันพระเจา แผนดนิ มคธ จอมเสนา พระนามวาพมิ พสิ าร พระราชทานปนู บําเหนจ็ ใหเ ปน สว นพรหมไทย เพราะเหตนุ ้ีแหละทา นจงึ ไมควรไปเฝา พระสมณโคดม พระสมณโคดมตา งหาก ควรจะเสด็จมาหาทาน ดังน้.ี พระพุทธคุณ [๑๘๒] เมอ่ื พวกพราหมณกลา วอยางน้แี ลว พราหมณโ สณทณั ฑะไดกลา ววา ทานท้ังหลาย ถาอยา งน้นั ขอพวกทา นจงฟงขาพเจา บาง เราน้แี หละควรไปเฝา พระโคดมพระองคน้นั พระโคดมไมค วรเสด็จมาหาเราไดทราบวา พระสมณโคดม เปนอุภโตสชุ าต ทัง้ ฝายพระมารดาและพระบิดา มีพระครรภท ีท่ รงถอื ปฏิสนธหิ มดจดดีตลอด ๗ ชั่วคน ไมมีใครจะคัดคา นตเิ ตียนไดด วยการกลา วอางถึงพระชาติ เพราะเหตุน้แี หละ พระโคดมจงึ ไมควรเสด็จมาหาเรา ทถี่ ูกเรานแ้ี หละควรจะไปเฝา พระองค ไดทราบวา พระสมณโคดม ทรงสละพระญาตหิ มูใหญออกทรงผนวช ทรง
พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนิกาย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 5สละเงินและทองเปนอันมาก ทั้งท่ีอยูใ นพนื้ ดนิ ทัง้ ท่ีอยใู นอากาศออกทรงผนวช พระองคก าํ ลังหนุม มีพระเกศาดําสนิท ทรงพระเจรญิ ดวยปฐมวัย ออกทรงผนวชเปน บรรพชิต เมือ่ พระมารดาและพระบดิ าไมทรงปรารถนาใหทรงผนวช มีพระพักตรอ าบดว ยนํ้าพระเนตรทรงกันแสงอยู พระองคท รงปลงพระเกศาและพระมัสสุ ทรงครองผา กาสาว-พัสตรเ สดจ็ ออกผนวชเปน บรรพชิต พระองคม ีพระรูปงาม นา ดู นาเลอ่ื มใส ประกอบดว ยพระฉววี รรณผดุ ผอ งยงิ่ นัก มพี ระวรรณคลา ยพรหมมีพระรปู คลายพรหม นาดู นาชมไมนอย พระองคเ ปน ผมู ีศลี มีศลี อันประ-เสรฐิ มศี ลี เปนกศุ ล ประกอบดวยศลี เปน กศุ ล พระองคม พี ระวาจาไพเราะมีพระสาํ เนยี งไพเราะ ประกอบดว ยวาจาของชาวเมอื ง สละสลวย หาโทษมิได ใหผูฟงเขาใจเน้อื ความไดช ัด พระองคเปน อาจารยแ ละปาจารยข องคนหมมู าก พระองคสนิ้ กามราคะแลว เลกิ ประดบั ประดาแตง แลว พระองคเปน กรรมวาที เปน กริ ยิ วาที ไมทรงมงุ รา ยแกพวกพราหมณ พระองคท รงผนวชจากสกลุ สูง คอื สกลุ กษัตริยอ ันไมเจือปน พระองคทรงผนวชจากสกุลมัง่ คั่ง มีทรัพยมาก มโี ภคสมบตั ิมาก ชนตางรัฐตางชนบทพากนัมาทลู ถามปญ หากะพระองค เทวดาหลายพนั นอบชีวติ ถึงพระองคเ ปนสรณะพระเกียรตศิ พั ทอ ันงามของพระองคขจรไปแลว อยางน้วี า แมเพราะเหตุนี้ ๆพระผูมีพระภาคเจา พระองคน ั้น เปนพระอรหันตต รสั รเู องโดยชอบ ถึงพรอมดว ยวชิ ชาและจรณะ เสด็จไปดีแลว ทรงรูโ ลก ทรงเปนสารถีฝกคนทีค่ วรฝก ไมม ีผอู ่นื ยงิ่ กวา เปนพระศาสดาของเทวดาและมนุษยท ง้ั -หลาย เปน ผเู บกิ บานแลว เปน ผูทรงจาํ แนกพระธรรม ดงั น้ี พระองคท รงประกอบดวยมหาปรุ ิลกั ษณะ ๓๒ ประการ พระองคม ปี กติกลาวเชื้อเชิญเจรจาผกู ไมตรี ชา งปราศรยั พระพกั ตรไ มสยว้ิ เบกิ บาน มปี กตติ รสั
พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 6กอ น พระองคเปน ผูอันบริษทั ๔ สักการะ เคารพนบั ถอื บูชา นอบนอมเทวดาและมนุษยจ ํานวนมากเลอื่ มใสในพระองคย ิง่ นกั พระองคท รงพํานักอยูในหมูบา นหรือในนคิ มใด ในหมูบา น หรือในนิคมน้นั ไมม ีอมนษุ ยเ บียด-เบียนมนุษย พระองคทรงเปนเจา หมเู จา คณะและทรงเปนคณาจารยไดร ับยกยองวา เปนยอดของเจาลทั ธิเปน อันมาก สมณพราหมณเหลา นรี้ งุ เรืองยศดว ยประการใด ๆ แตพ ระสมณโคดมไมอยางนั้น ทแ่ี ทพ ระสมณโคดมรงุเรืองพระยศ ดว ยวิชชาและจรณสมบตั อิ ันยอดเยีย่ ม พระเจาแผนดินมคธจอมเสนา พระนามวา พมิ พิสาร พรอ มทง้ั พระโอรส และพระมเหสี ทง้ัราชบรพิ ารและอํามาตย ทรงมอบชีวิต ถงึ พระองคเปน สรณะ พระเจาปเสนทิโกศล พรอ มทงั้ พระโอรส และพระมเหสที ง้ั ราชบริพารและอาํ มาตยทรงมอบชีวิตถงึ พระองคเปนสรณะ พราหมณโปกขรสาตพิ รอมทั้งบุตรและภรรยา ท้งั บรวิ ารและอํามาตย มอบชีวิตถงึ พระองคเปนสรณะพระองคเปน ผูอ ันพระเจาแผนดนิ มคธ จอมเสนา พระนามวา พิมพสิ าร ทรงสกั การะเคารพนับถอื บูชา นอบนอม พระองคเปนผอู นั พระเจา ปเสนทโิ กศลทรงสักการะ เคารพ นับถือ บูชานอบนอ ม พระองคเปน ผูอนั พราหมณโปกขรสาตทิ รงสกั การะ เคารพ นับถอื บูชา นอบนอม พระองคเสดจ็ ถงึนครจมั ปา ประทับอยู ณ ขอสระโบกขรณีคัคครา ในนครจัมปา สมณะหรอื พราหมณเหลา ใดเหลา หนงึ่ มาสูเ ขตบานของเรา ทานเหลานั้นจดั วาเปนแขกของเรา และเปนแขกอนั เราควรสักการะ เคารพ นับถอื บชู านอบนอ ม พระสมณโคดมเสด็จถึงนครจัมปา ประทบั อยู ณ ขอบสระโบก-ขรณีคคั ครา ในนครจมั ปา พระองคท รงเปน แขกของพวกเรา และเปน แขกทเ่ี ราควรสักการะเคารพนับถอื บชู า นอบนอม เพราะเหตฉุ ะนแ้ี หละ พระองคจงึ ไมควรเสดจ็ มาหาเรา ท่ีถกู เราตา งหากควรจะไปเฝาพระองค ขาพเจา
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 7ทราบพระคุณของพระโคดมเพียงเทาน้ี แตพระโคดมไมใชม พี ระคณุ เพยี งเทาน้ี ความจรงิ พระองค มพี ระคณุ หาประมาณมไิ ด. [๑๘๓] เมื่อพราหมณโสณทณั ฑะกลา วอยางนแ้ี ลว พราหมณเ หลาน้นั ไดก ลาววา ทานโสณทัณฑะกลา วชมพระสมณโคดมถงึ เพยี งนี้ ถึงหากพระโคดมพระองคน ัน้ จะประทับอยไู กลจากทนี่ ี้ตัง้ รอยโยชน ก็ควรแทท ี่กลุ บุตรผมู ศี รัทธาจะไปเฝา แมจะตองนําเสบียงไปก็ควร. พราหมณโสณทณั ฑะกลาววา ถา เชนนน้ั เราทั้งหมดจกั ไปเฝา พระสมณโคดม.ลาํ ดบั นั้น พราหมณโสณทณั ฑะพรอมดว ยคณะพราหมณห มูใหญไปถงึสระโบกขรณีคัคครา. เม่ือผานพนราวปา ไปแลว ไดเกิดปรวิ ิตกขน้ึ อยา งนี้วา ถาเราจะถามปญหากะพระสมณโคดม หากพระองคจ ะพงึ ตรัสกะเราอยา งนว้ี า พราหมณ ปญหาขอนท้ี านไมควรถามอยา งนั้น ทถ่ี กู ควรจะถามอยา งนี้ดงั นี้ ชมุ นุมชนน้จี ะพงึ ดหู ม่นิ เราไดดวยเหตุน้นั วา พราหมณโ สณทัณฑะเปนคนเขลา ไมฉลาด ไมอาจถามปญหาโดยแยบคายกะพระสมณโคดมได ผูทีถ่ ูกชมุ นุมชนดูหมนิ่ พึงเสื่อมยศ ผูเส่ือมยศก็เสอื่ มจากโภคสมบตั ิเพราะไดย ศ เราจึงมีโภคสมบตั ิ ถา พระสมณโคดมจะพึงตรัสถามปญ หากะเรา และเราแกไ มถ กู พระทัย ถาพระองคจ ะพึงตรัสกะเราอยางนีว้ าพราหมณ ปญ หาขอนที้ านไมควรแกอ ยา งนัน้ ที่ถกู ควรจะแกอยางนี้ ดงั นี้ชุมนมุ ชนนีจ้ ะพึงดหู มิ่นเราไดด ว ยเหตุนัน้ วา พราหมณเปน คนเขลา ไมฉลาดไมอ าจแกปญหาใหถกู พระทัยพระสมณโคดมได ผทู ่ีถูกชมุ นมุ ชนดหู ม่นิ พงึเส่ือมยศ ผูเ ส่อื มยศก็พงึ เสอ่ื มโภคสมบตั ิ เพราะไดยศเราจงึ มโี ภคสมบัติอนงึ่ เราเขามาใกลถ งึ เพียงนี้แลว ยงั มิไดเฝา พระสมณโคดม จะกลับเสยีชุมนมุ ชนนจ้ี ะพงึ ดูหมิ่นเราไดด วยเหตุนน้ั วา พราหมณโ สณทัณฑะเปนคน-
พระสุตตันตปฎก ทฆี นิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 8เขลาไมฉ ลาด กระดา งดวยมานะ เปน คนฉลาด ไมอ าจเขาเฝา พระสมณ-โคดมได เขา มาใกลถงึ เพียงนแี้ ลว ยังไมทนั เฝา พระสมณโคดม ไฉนจึงกลบั เสยี ผทู ถ่ี กู ชมุ นมุ ชนดูหม่ินพึงเสอ่ื มยศ ผูเ สื่อมยศก็พึงเสือ่ มโภคสมบัติเพราะไดยศเราจึงไดโ ภคสมบัต.ิ [๑๘๔] ลําดับนั้น พราหมณโสณทณั ฑะเขา ไปเฝาพระผูมพี ระภาค-เจาถึงทป่ี ระทับ ไดป ราศรัยกับพระผูม ีพระภาคเจา ครน้ั ผา นการปราศรัยพอใหระลึกถงึ กันไปแลว จึงนงั่ ณ ท่คี วรสวนขา งหน่ึง. ฝา ยพราหมณและคฤหบดชี าวนครจมั ปา บางพวกกถ็ วายอภิวาท บางพวกก็ปราศรัยบางพวกก็ประนมอญั ชลีไปทางพระผมู พี ระภาคเจา บางพวกกป็ ระกาศชือ่และโคตร บางพวกกน็ ิ่งอยู แลวตางกน็ ่งั ณ ทค่ี วรสว นขา งหนึ่ง ๆ. ไดยินวา ในขณะนั้น พราหมณโ สณทัณฑะน่งั ครนุ คิดถงึ แตเรื่องนน้ั วา ถาเราจะพงึ ถามปญหากะพระสมณโคดม หากพระองคจ ะพงึ ตรสั กะเราอยา งน้ีวา พราหมณ ปญหาขอนีท้ านไมควรถามอยา งนนั้ ทถ่ี ูกควรจะถามอยา งน้ีดงั นี้ ชุมนุมชนน้ีจะพงึ ดูหม่นิ เราดวยเหตนุ ัน้ วา พราหมณโสณทณั ฑะเปนคนเขลา ไมฉ ลาด ไมอาจถามปญหาโดยแยบคายกะพระสมณโคดมได ผูท่ถี ูกชมุ นุมชนดหู มนิ่ พึงเสือ่ มยศ ผเู สื่อมยศกพ็ งึ เสือ่ มโภคสมบัติ เพราะไดยศเราจงึ มโี ภคสมบัติ ถาพระสมณโคดมจะพึงตรสั ถามปญ หากะเรา ถาเราแกไ มถูกพระทยั ถา พระองคจะพงึ ตรสั กะเราอยา งนีว้ า พราหมณ ปญหาขอน้ีทา นไมค วรแกอ ยา งนี้ ท่ีถูกควรจะแกอ ยางน้ี ดังน้ี ชมุ นมุ ชนนจี้ ะพงึ ดูหมิ่นเราไดดว ยเหตนุ ้ันวา พราหมณโสณทัณฑะเปนคนเขลา ไมฉลาด ไมอาจแกปญหาใหถูกพระทยั พระสมณโคดมได ผทู ีถ่ ูกชมุ นมุ ชนดูหม่นิ พึงเสอ่ื มยศ ผูเส่ือมยศกพ็ ึงเสอื่ มโภคสมบัติ เพราะไดย ศเราจงึ มโี ภคสมบตั ิ ถา
พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 9กระไร ขอพระสมณโคดมพึงตรัสถามปญหากะเราในเรอ่ื งไตรวิชาอันเปนของอาจารยของเรา เราจะพึงแกใ หถูกพระทัยของพระองคไ ดเ ปนแน. [๑๘๕] ลาํ ดับนน้ั พระผูม พี ระภาคเจา ทรงทราบความคดิ ในใจของพราหมณโ สณทณั ฑะดว ยพระหฤทัย แลว ทรงดาํ รวิ า พราหมณโ สณ-ทณั ฑะน้ลี ําบากใจตวั เองอยู ถากระไร เราพงึ ถามปญ หาเขาในเรื่องไตร-วชิ าอันเปนของอาจารยของเขา. ตอ แตน้นั จึงไดตรสั ถามพราหมณโสณ-ทัณฑะวา ดูกอ นพราหมณ บคุ คลผูประกอบดว ยองคเ ทา ไร พวกพราหมณจงบัญญัติวา เปน พราหมณ และเมือ่ เขาจะกลา ววา เราเปน พราหมณ ก็พึงกลา วไดโ ดยชอบ ทงั้ ไมตอ งถึงมุสาวาทดวย. พราหมณโสณทัณฑะดําริวา เราไดป ระสงคจ าํ นงหมายปรารถนาวา ไวแ ลววา ถา กระไร ขอพระสมณ-โคดมพงึ ตรสั ถามปญหากะเรา ในเรือ่ งไตรวชิ าอนั เปน ของอาจารยข องเราเราพึงแกใหถ ูกพระทัยของพระองคไ ดเ ปน แนน ้ัน เผอญิ พระองคก ต็ รัสถามปญ หากะเราในเรือ่ งไตรวชิ าอนั เปนของอาจารยของเรา เราจักแกปญหาใหถกู พระทยั ไดเปน แนทเี ดยี ว พราหมณบ ญั ญตั ิ [๑๘๖] ลาํ ดับนนั้ พราหมณโ สณทณั ฑะจึงเผยอกายขนึ้ เหลยี วดชู ุม-นุมชนแลวกราบทูลพระผูม พี ระภาคเจาวา ขาแตพระโคดมผเู จริญ บุคคลประกอบดวยองค ๕ ประการ พวกพราหมณย อมบญั ญตั วิ า เปน พราหมณและเมอ่ื เขาจะกลาววา เราเปนพราหมณ กพ็ ึงกลา วไดโ ดยชอบ ทัง้ ไมตองถงึ มสุ าวาทดว ย องค ๕ ประการเปนไฉน ขาแตพ ระโคดมผเู จรญิบุคคลผเู ปนพราหมณใ นโลกน้ี ๑. เปน อุภโตสชุ าต ท้งั ฝา ยมารดาและบิดา มคี รรภเปนท่ถี อื ปฏสิ นธิ
พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 10หมดจดดตี ลอด ๗ ช่ัวคน ไมมีใครจะคดั คา นติเตียนได ดวยการกลา วอางถงึ ชาติ ๒. เปน ผูค งแกเ รยี น ทรงจาํ มนตรูจบไตรเพท พรอมท้ังคัมภีรนิฆณั ฑุ คัมภีรเกตภุ ะ พรอ มท้งั ประเภทอกั ษรมีคมั ภีรอักษรมีคมั ภรี อติ ิหาสเปนท่ี ๕เปนผเู ขา ใจตวั บท เปนผเู ขาใจไวยากรณ ชาํ นาญในคมั ภีรโลกายตะและมหาปรุ ิสลักษณะ ๓. เปนผมู รี ูปงาม นา ดู นาเลอื่ มใส ประกอบดวยผิวพรรณผุดผอ งยง่ิ นกั มพี รรณคลายพรหม มีรูปรา งคลา ยพรหม นา ดู นา ชม ไมน อย ๔. เปน ผมู ศี ลี มีศลี ยัง่ ยืน ประกอบดว ยศีลยง่ั ยนื ๕. เปน บัณฑติ มปี ญ ญาเปนท่ี ๑ หรอื ที่ ๒ ของพวกปฏคิ าหก ผูรับบูชาดวยกัน ขาแตพ ระโคดมผเู จรญิ บุคคลประกอบดว ยองค ๕ เหลา นแ้ี ล พวกพราหมณย อ มบัญญัติวาเปนพราหมณ และเมอ่ื เขาจะกลา ววา เราเปนพราหมณ ก็พงึ กลา วไดโ ดยชอบ ทั้งไมตอ งถึงมสุ าวาทดว ย. [๑๘๗] พระผูมพี ระภาคเจา ตรัสวา ดูกอนพราหมณ บรรดาองคท ง้ั๕ เหลา น้ี ยกเสียองคหนึ่งแลว บคุ คลประกอบดวยองค เพียง ๔ อาจจะบญั ญัติวา เปน พราหมณไ ดห รือไม และเมื่อเขาจะกลาววา เราเปนพราหมณพ ึงกลาวไดโ ดยชอบ ท้ังไมตอ งถงึ มสุ าวาทดวย. พราหมณโสณทัณฑะทลู วา ได พระโคดมผูเ จรญิ บรรดาองคทงั้ ๕ เหลา น้ี ยกวรรณะเสียกไ็ ด เพราะวรรณะจกั กระทาํ อะไรได ดวยเหตุวา บคุ คลผูเปนพราหมณ ๑. เปน อภุ โตสชุ าต ทัง้ ฝายมารดาและบิดา มคี รรภเ ปนท่ีถอื
พระสุตตันตปฎ ก ทฆี นิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 11ปฏสิ นธิหมดจดดีตลอด ๗ ชั่วคน ไมมใี ครจะคัดคา นตเิ ตียนไดด วยการกลา วอางถึงชาติ ๒. เปนผคู งแกเ รยี น ทรงจํามนต รูจบไตรเพท พรอมท้งั คัมภรี นฆิ ณั ฑุ คัมภีรเ กตุภะ พรอ มทง้ั ประเภทอกั ษร มีคมั ภีรอ ิตหิ าสเปน ที่ ๕เปน ผเู ขาใจตวั บท เปน ผเู ขา ใจไวยากรณ ชํานาญในคัมภรี โ ลกายตะและมหาปรุ ิสลักษณะ ๓. เปนผมู ศี ลี มศี ีลยัง่ ยืน ประกอบดวยศีลยงั่ ยนื ๔. เปนบัณฑิต มีปญ ญา เปน ท่ี ๑ หรอื ที่ ๒ ของพวกปฏิคาหก ผูรับบูชาดวยกนั ขา แตพ ระโคดมผเู จรญิ บุคคลประกอบดว ยองค ๔ เหลา นีแ้ ล พวกพราหมณย อ มบัญญัติวา เปน พราหมณ และเม่ือเขาจะกลาววา เปน พราหมณพงึ กลา วไดโดยชอบ ท้ังไมตองถึงมสุ าวาทดวย. [๑๘๘] พระผูมีพระภาคเจา ตรสั วา ดูกอนพราหมณ บรรดาองค ๔เหลาน้ี ยกเสียองคห นงึ่ แลว บุคคลประกอบดว ยองคเ พยี ง ๓ อาจบัญญตั ิวา เปน พราหมณ และเมอื่ เขาจะกลา ววา เราเปนพราหมณ พงึ กลาวไดโดยชอบ ทั้งไมต อ งถงึ มุสาวาทดว ย. พราหมณโสณทณั ฑะทลู วา ได พระ-โคดมผเู จริญ บรรดาองค ๔ เหลานจ้ี ะยกมนตเสียก็ได เพราะมนตจักทําอะไรได ดวยเหตวุ าบุคคลผเู ปนพราหมณ ๑. เปนอภุ โตสชุ าต ท้ังฝา ยมารดาและบดิ า มคี รรภเ ปนทถี่ ือปฏิสนธหิ มดจดดี ๗ ตลอดชว่ั คน ไมม ีใครจะคัดคา นติเตยี นไดดว ยการกลา วอา งถึงชาติ ๒. เปนผมู ศี ลี มศี ีลย่งั ยนื ประกอบดว ยศีลย่ังยนื
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 12 ๓. เปน บัณฑิต มปี ญ ญาเปน ท่ี ๑ หรอื ที่ ๒ ของพวกปฏิคาหกผูรบั บูชาดว ยกัน ขาแตพ ระโคดมผูเ จริญ บคุ คลผปู ระกอบดว ยองค ๓ เหลา นี้แลพวกพราหมณย อ มบัญญัตวิ า เปน พราหมณ และเม่ือเขาจะกลาววาเราเปนพราหมณ กพ็ ึงกลาวไวไดโดยชอบท้งั ไมต องถงึ มสุ าวาทดว ย. [๑๘๙] พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั วา ดกู อ นพราหมณ บรรดาองค ๓เหลา นี้ ยกเสียองคห น่ึงแลว บุคคลประกอบดว ยองค เพียง ๒ อาจจะบญั ญัตวิ าเปนพราหมณไดหรือไม และเมอ่ื เขาจะกลาววา เราเปน พราหมณก็พงึ กลา วไดโดยชอบ ท้ังไมตอ งถงึ มสุ าวาทดวย. พราหมณโสณทณั ฑะทูลวา ได พระโคดมผเู จริญ บรรดาองค ๓ เหลาน้ี ยกชาติเสียกไ็ ด เพราะชาติจกั ทําอะไรได ดว ยเหตวุ า บุคคลผูเปน พราหมณ ๑. เปน ผมู ศี ีล มีศีลยง่ั ยืน ประกอบดวยศีลยั่งยนื ๒. เปนบัณฑติ มปี ญ ญาเปนท่ี ๑ หรอื ท่ี ๒ ของพวกปฏิคาหกผูรบั บูชาดวยกัน ขา แตพระโคดมผเู จริญ บคุ คลประกอบดวยองค ๒ เหลา นีแ้ ล พวกพราหมณยอมบญั ญตั ิวาเปน พราหมณ และเมือ่ เขาจะกลาววา เราเปนพราหมณก พ็ งึ กลา วไดโ ดยชอบ ทงั้ ไมต อ งถงึ มุสาวาทดวย. [๑๙๐] เม่ือพราหมณโสณทัณฑะทลู อยางน้แี ลว พราหมณเ หลาน้นัไดก ลา ววา ทา นโสณทัณฑะ อยาไดกลา วอยา งน้ันเลย ทานโสณทณั ฑะอยาไดกลา วอยา งนนั้ เลย ทา นโสณทณั ฑะกลาวลบหลวู รรณะ กลา วลบหลูมนต กลาวลบหลชู าติ กลาวคลอ ยตามวาทะของพระสมณโคดมถายเดยี วเทา นัน้ . ลําดบั นั้น พระผมู พี ระภาคเจาไดตรสั กะพราหมณเหลาน้ันวาถา พวกทา นคดิ อยา งน้วี า พราหมณโสณทณั ฑะออนการศกึ ษา พูดไมด ี
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 13มีปญญาทราม และไมส ามารถจะโตตอบกบั พระสมณโคดมในเรื่องนไ้ี ดพราหมณโ สณทัณฑะก็จงหยดุ เสยี พวกทา นจงพดู กับเราเถดิ แตถา พวกทา นคิดอยา งนี้วา พราหมณโ สณทัณฑะเปน พหสู ตู พดู ดี เปนบณั ฑิตและสามารถจะโตตอบกบั พระสมณโคดมในเรื่องนไี้ ด พวกทา นจงหยดุ เสียพราหมณโสณทณั ฑะจงโตต อบกับเรา. [๑๙๑] เมอื่ พระผมู พี ระภาคเจา ตรัสอยางน้แี ลว พราหมณโสณทัณ-ฑะไดก ราบทูลวา ขอพระโคดมผูเ จรญิ ทรงหยุดเถดิ ขอพระโคดมผเู จริญทรงนงิ่ เสยี เถิด ขาพระองคเองจกั โตต อบเขาโดยชอบแกเหตุ แลว จงึ กลา วกะพราหมณพ วกนนั้ วา ทานทัง้ หลาย อยาไดกลาวอยางน้ี ๆ วา พราหมณโสณทัณฑะกลาวลบหลวู รรณะ กลา วลบหลมู นต กลาวลบหลชู าติ กลาวคลอ ยตามวาทะของพระสมณโคดมถา ยเดยี วอยางนเี้ ลย. ขาพเจามไิ ดก ลาวลบหลูวรรณะ หรอื มนต หรือชาตเิ ลย อางองั คกมาณพ [๑๙๒] สมยั น้ัน อังคกมาณพหลานของพราหมณโ สณทัณฑะ นงั่อยูใ นชมุ นุมชนนัน้ ดวย. พราหมณโ สณทณั ฑะไดก ลาวกะพราหมณพวกนนั้วา ทานทัง้ หลาย นอ้ี ังคกมาณพหลานของขาพเจา พวกทา นเหน็ หรอื ไมพราหมณพวกนนั้ ตอบวา เหน็ แลวทา น พราหมณโ สณทณั ฑะกลา วตอไปวา องั คกมาณพเปน คนมรี ูปงาม นา ดู นา เลือ่ มใส ประกอบดวยผิวพรรณผุดผองยง่ิ นกั มพี รรคคลา ยพรหม มรี ปู รา งคลายพรหม นาดู นาชมไมน อยในชมุ นมุ ชนน้ยี กพระสมณโคดมเสีย ไมมใี ครมีวรรณะเสมออังคกมาณพเลยอังคกมาณพเปนผูค งแกเรยี น ทรงจาํ มนตไ ด รูจบไตรเพท พรอมทงั้คมั ภรี น ิฆัณฑุ คัมภรี เกตุภะ พรอ มทงั้ ประเภทอกั ษร มีคมั ภีรอิติหาส
พระสุตตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 14เปน ที่ ๕ เปนผเู ขา ใจตัวบท เปนผูเขา ใจไวยากรณ ชาํ นาญในคมั ภรี โลกายตะ และมหาปุรสิ ลักษณะ ขา พเจา เปนผูบอกมนตแกเ ธอ เธอเปนอภุ โตสชุ าต ทัง้ ฝา ยมารดาและบิดา มีครรภเ ปนทถี่ ือปฏสิ นธิหมดจดดีตลอด ๗ ชว่ั คน ไมม ีใครจะคดั คานติเตียนได ดวยการกลา วอางถึงชาติขา พเจา รจู ักมารดาและบิดาของเธอ ถึงอังคกมาณพจะพงึ ฆา สัตวบ า ง จะพึงถอื เอาสง่ิ ของท่ีเขามไิ ดใ หบ า ง จะพงึ คบหาภรยิ าของบคุ คลอ่นื บา ง จะพงึกลา วเทจ็ บา ง จะพึงดม่ื นํ้าเมาบาง ในเวลาน้ี ฐานะเชน นีว้ รรณะจักทําอะไรได มนตจกั ทาํ อะไรได และชาตจิ กั ทําอะไรได ดว ยเหตุวา บคุ คลผูเปนพราหมณ เปน ผมู ีศลี มศี ลี ยั่งยืน ประกอบดวยศลี ยง่ั ยืนและเปน บณั ฑิตมปี ญญาเปน ที่ ๑ หรือที่ ๒ ของปฏคิ าหกผรู บั บชู าดว ยกนั บคุ คลผูป ระกอบดว ยองค ๒ เหลา นี้แล พวกพราหมณ จะบญั ญตั ิวาเปนพราหมณก็ได และเมอื่ เขาจะกลา ววาเราเปน พราหมณ ก็จะพึงกลา วไดโ ดยชอบ ทัง้ ไมถงึมุสาวาทดว ย. [๑๙๓] พระผมู ีพระภาคเจา ตรสั วา ดกู อ นพราหมณ บรรดาองค ๒นี้ยกเสียองคห นึง่ แลว บคุ คลผูประกอบดว ยองคเพยี ง ๑ อาจจะบัญญตั วิ าเปนพราหมณไดหรือไม และเมื่อเขาจะกลาววาเราเปน พราหมณ กพ็ งึกลาวไดโดยชอบ ทง้ั ไมตองถงึ มุสาวาทดว ย. พราหมณโ สณทณั ฑะกราบทลู วา ขา แตพระโคดมผเู จริญ ขอนไี้ มได เพราะวาปญญาอนั ศีลชาํ ระใหบริสทุ ธิ์ และศีลอนั ปญ ญาชาํ ระใหบรสิ ุทธ์ิ ศลี มีในบุคคลใด ปญ ญาก็มีในบคุ คลน้ัน ปญญามใี นบุคคลใด ศีลก็มีในบุคคลนั้น ปญญาเปน ของบคุ คลผูม ศี ีล ศลี เปน ของบคุ คลผมู ีปญญา และนักปราชญย อมกลาวศีลกับปญ ญาวา เปนยอดในโลก เหมอื นบุคคลลา งมอื ดว ยมือ หรอื ลา งเทาดวยเทา ฉะนนั้ .
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 15 [๑๙๔] พระผูมีพระภาคเจา ตรสั วา ดกู อนพราหมณ ขอเปน อยางนน้ั ขอนี้เปนอยางนั้น ปญญาอนั ศลี ชําระใหบริสุทธ์ิ ศลี อนั ปญญาชาํ ระใหบริสุทธ์ิ ศีลมใี นบคุ คลใด ปญญาก็มใี นบุคคลน้นั ปญญามีในบคุ คลใดศลี กม็ ใี นบุคคลนั้น ปญญาเปน ของบคุ คลผมู ศี ลี ศลี เปน ของผมู ีปญญาและนักปราชญย อมกลาวศลี กบั ปญญาวาเปน ยอดในโลก เหมอื นบุคคลลางมือดวยมือ หรอื ลา งเทาดว ยฉะน้ัน ดกู อ นพราหมณ ศีลน้ันเปนไฉนปญญาน้นั เปนไฉน. พราหมณโ สณทณั ฑะกราบทลู วา ขา แตพ ระโคดมผูเจรญิ พวกขาพระองค มีความรเู ทา น้เี อง เม่อื เน้ือความมเี ชน ไร ขอเนื้อความแหง ภาษิตน้ี จงแจม แจงแกพระโคดมผเู จริญเองเถิด. [๑๙๕] พระผูมพี ระภาคเจา ตรสั วา ดูกอนพราหมณ ถาอยางนนั้ทานจงฟง จงต้งั ใจใหด ี เราจกั กลาว. พราหมณโสณทณั ฑะรบั สนองพระพุทธพจนแ ลว. พระผูม ีพระภาคเจา ไดตรัสพระพทุ ธพจนนก้ี ะพราหมณโสณทัณฑะวา ดกู อ นพราหมณ พระตถาคตอบุ ัติขึ้นในโลกนเ้ี ปน พระอรหนั ตตรสั รูเ องโดยชอบ ฯ ล ฯ (พึงดูพสิ ดารในสามญั ญผลสตู ร) ดกู อนพราหมณกภ็ กิ ษุเปนผถู ึงพรอ มดวยศลี อยา งนีแ้ ล. แมข อน้ีแล คอื ศีลนั้น. เขาถึงปฐมฌานอยู. เขาถงึ ทุติยฌานอย.ู เขาถึงตตฌิ านอยู. เขา ถึงจตุตถฌานอยู ฯ ล ฯ เธอนําเฉพาะนอ มเฉพาะจิตเพอื่ ญาณทสั สนะ ฯ ล ฯ แมข อน้จี ดัอยูในปญญา ของเธอ ฯ ล ฯ เธอยอ มรชู ดั วา กิจอื่นเพอื่ ความเปน อยางนี้มิไดม.ี แมข อนีจ้ ดั อยูในปญ ญาของเธอ. ดกู อ นพราหมณ น้ีแลคือปญ ญาน้ัน. โสณทัณฑพราหมณแสดงตนเปน อบุ าสก [๑๙๖] เมือ่ พระผูม พี ระภาคเจา ตรัสอยางนี้แลว พราหมณโ สณ-ทัณฑะไดก ราบทลู คาํ นกี้ ะพระผูมีพระภาคเจา ขา แตพระโคดมผูเจริญ
พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 16ภาษิตของพระองคแจมแจงนัก ขาแตพระโคดมผเู จรญิ ภาษติ ของพระองคแจม แจงนกั เปรียบเหมือนหงายของทีค่ ว่าํ เปด ของทีป่ ด บอกทางแกคนหลงทาง หรือสองประทีปในทีม่ ดื ดวยคดิ วา ผมู จี ักษจุ ักเหน็ รปู ดงั นี้ฉันใด พระผมู พี ระภาคเจาทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยาย กฉ็ นั นน้ัเหมือนกนั ขา แตพระโคดมผเู จรญิ ขา พระองคข อถงึ พระโคดมผเู จรญิพรอ มทั้งพระธรรม และพระสงฆเปนที่พง่ึ ขอพระโคดมผูเ จรญิ จงทรงจาํขาพระองคว า เปน อบุ าสกผูถ งึ สรณะ อยางมอบกายถวายชวี ิตตง้ั แตวันนี้เปนตน ไป และขอพระโคดมผูเจรญิ ทรงรบั ภตั ตาหารของขา พระองค เพอ่ืเสวยในวนั พรุง น้ี พรอมดว ยภกิ ษุสงฆ. พระผูมพี ระภาคเจาทรงรับดว ยดุษณีภาพแลว ลาํ ดับนน้ั พราหมณโสณทณั ฑะทราบวา พระผูมีพระ-ภาคเจาทรงรับนมิ นตแลว ลกุ จากอาสนะ ถวายอภวิ าทกระทําประทักษณิแลว กลับ. โสณทัณฑพราหมณท ูลความประสงคของตน [๑๙๗] ครน้ั ลวงราตรีนัน้ แลว พราหมณโสณทณั ฑะไดตกแตง ของเคี้ยวของฉันอันประณตี ในนิเวศนของตนเสร็จแลวใหคนไปกราบทลู ภัตต-กาล แดพระผูม ีพระภาคเจา วา ขาแตพระโคดมผูเจริญ ถึงเวลาแลวภัตตาหารเสร็จแลว . คร้งั น้ันเปน เวลาเชา พระผูมีพระภาคเจาทรงนุงแลวทรงถือบาตรและจีวร เสด็จเขาไปยงั นเิ วศนของพราหมณโ สณทัณฑะพรอมดวยภกิ ษสุ งฆ แลว ประทบั นง่ั ณ อาสนะท่ีเขาจัดไว. พราหมณโสณทัณฑะ ไดองั คาสภกิ ษสุ งฆ มพี ระพุทธเจาเปน ประมุข ดว ยของเค้ยี วของฉนั อนั ประณีต ใหอมิ่ หนาํ ดว ยมอื ของตนเสร็จแลว. [๑๙๘] ครัง้ นั้น พราหมณโ สณทัณฑะทราบแลว พระผูมีพระภาค-เจา เสวยเสร็จแลว วางพระหตั ถจากบาตรแลว จึงถอื เอาอาสนะต่าํ กวา น่ัง
พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 17ณ ท่คี วรสว นขา งหน่งึ แลว กราบทลู วา ขาแตพ ระโคดมผเู จรญิ ถา ขา พระองคก ําลังอยใู นทามกลางชมุ นมุ ชน จะพึงลกุ จากอาสนะ ถวายอภิวาทพระโคดมผเู จริญ ชมุ นมุ ชนนนั้ จะพึงดูหมน่ิ ขา พระองคด วยเหตนุ นั้ ได ผูท ถี่ ูกชุมนุมชนดหู มิ่นพึงเสอ่ื มยศ ผูเ ส่อื มยศพงึ เสอ่ื มจากโภคสมบัติ เพราะไดยศขา พระองคจ ึงมโี ภคสมบตั ิ ขาแตพระโคดมผูเจรญิ ถา ขาพระองคกาํ ลงัอยใู นทามกลางชมุ นุมชน จะพึงประคองอัญชลี ขอพระโคดมผูเจริญจงเขาพระทยั วา แทนการลุกจากอาสนะ ถา ขา พระองคกําลังอยูในทา มกลางชมุ นุมชน จะพึงเปล้อื งผา โพกออก ขอพระโคดมผูเจริญจงเขาพระทัยวาแทนการอภิวาทดวยศีรษะ ถา ขาพระองคกําลงั ไปในยาน จะพึงลงจากยานแลว ถวายอภวิ าทพระโคดม ชุมนุมชนนนั้ จะพึงดูหม่ินขาพระองคดว ยเหตุน้ันได ผทู ่ถี ูกชมุ นมุ ชนดูหมิ่นยอมเสือ่ มยศ ผูเส่อื มยศพึงเสอ่ื มจากโภคสมบตั ิเพราะไดยศ ขา พระองคจงึ มีโภคสมบัติ ขา แตพระโคดมผเู จรญิ ถาขาพระองคจ ะพงึ ไปในยาน จะพงึ ยกปฏักข้ึน ขอพระโคดมผเู จริญจงทรงเขาพระทยั วา แทนการลงจากยานของขา พระองค ถา ขา พระองคก ําลงั ไปในยาน จะพึงลดรม ลง ขอพระโคดมผูเจริญจงทรงเขา พระทยั วา แทนการอภิวาทดวยศรี ษะของขาพระองคดงั น.ี้ ลําดับน้นั พระมีพระภาคเจา ไดท รงยงั พราหมณโสณทัณฑะ ใหเห็นแจง ใหสมาทาน ใหอาจหาญ ใหรา เรงิ ดว ยธรรมกี ถาแลว เสดจ็ลกุ จากอาสนะเสดจ็ กลบั ดังน้ีแล. จบโสณทัณฑสูตร ที่ ๔
พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 18 อรรถกถาโสณทัณฑสตู ร เอวมเฺ ม สตุ ฯ เป ฯ องฺเคสูติ โสณทณฺฑสุตติ . ในโสณทณั ฑสูตรนัน้ มกี ารพรรณนาตามลําดับบท ดังตอ ไปนี้ บทวา ในอังคชนบท มีความวา ราชกมุ ารทง้ั หลาย นามวา อังคะเปนชาวชนบททมี่ กั เรยี กกนั อยา งน้ี กเ็ พราะเปนผมู รี ูปรา งนา เล่อื มใส ชนบทแมเ ดียวซึง่ เปนท่ีอาศัยอยูข องราชกุมารเหลา น้ัน ทานก็เรียกวา องั คชนบทเพราะศัพทเ พม่ิ เขา มา. ในชนบทช่อื องั คะน้ัน. บทวา จาริก แมในชนบทนี้ ทานมุงหมายเอาการเสดจ็ จารกิ ไมรบี รอน และการเสดจ็ จารกิ ประจาํไดย นิ วา ในกาลนน้ั เม่ือพระผมู พี ระภาคเจา ทรงเล็งดูโลกธาตุทง้ั หมนื่ หน่ึงอยู โสณทัณฑพราหมณเ ขาไปปรากฏในขา ย คอื พระญาณแลว .ลําดบั นั้น พระผูมพี ระภาคเจาทรงพิจารณาอยวู า พราหมณน ้ีปรากฏในขา ยคือญาณของเรา พราหมณน ้ีมีอุปนสิ ยั หรอื ไมห นอ ก็ไดทอดพระเนตรเห็นวา เมอื่ เราไป ณ ทน่ี น้ั พวกลูกศษิ ยข องเขาจะพากนั กลา วสรรเสริญพราหมณดวยอาการ ๑๒ แลวจะไมย อมใหเขามายงั สาํ นกั ของเรา แตพราหมณน ้นั จะทําลายวาทะของพวกลกู ศษิ ยเหลา นน้ั เสยี แลว กลาวสรร-เสรญิ เราดวยอาการ ๒๙ แลว เขามาหาเราแลว จักถามปญหา ในท่สี ุดการเฉลยปญ หา เขาก็จักถึงสรณะ ดังนี้แลว พรอ มดว ยภิกษุสงฆ ๕๐๐ รูปเปนบริวาร เสด็จไปสูช นบทนนั้ . เพราะเหตนุ ้นั ทานจึงกลาววา พระผูม ีพระภาคเจาเสด็จจาริกไปในอังคชนบท เสดจ็ ถึงเมอื งจมั ปา ดงั นี.้
พระสุตตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 19 บทวา ทฝ่ี ง แหงสระโบกขรณีช่อื คคั ครา มคี วามวา ในที่ไมไ กลเมืองจมั ปาน้นั มีสระโบกขรณีเรียกช่อื กนั วา คัคครา เพราะพระมเหสขี องพระราชาทรงพระนามวา คัคคราทรงขดุ ไว โดยรอบฝงสระนัน้ มีปา ตนจมั ปาใหญ ประดับประดาดวยดอกไม ๕ สี มีสีเขยี วเปน ตน พระผูม ีพระภาค-เจาเสดจ็ ประทับอยใู นปา ตนจมั ปา ซึ่งมีกลิน่ หอมระรื่นดวยกล่ินหอมของดอกไม. ทานมงุ หมายเอาปาตนจัมปานั้น จึงกลา ววา ที่ฝง แหง สระโบก-ขรณี ช่ือคคั ครา. ในบทนี้วา พระเจาพิมพสิ ารผูครองแควน มคธมีเสนาใหญ พระราชาพระองคนน้ั ชื่อวาผคู รองแควน มคธ เพราะทรงเปน ผใู หญข องชาวแควนมคธ ช่อื วามีเสนาใหญ เพราะประกอบพรอมดวยเสนาใหญ. บทวา พมิ ฺพิ แปลวา ทองคาํ . เพราะฉะน้นั ทา นจงึ เรียกวา พิมพิสารเพราะเปน ผูม ีผิวพรรณเชน เดียวกันทองคําแท. ชนเปน อันมากมารวมกนัเพราะเหตนุ น้ั ช่อื วา หมู. หมชู นในแตล ะทิศของชนเหลานน้ั มีอยู เพราะเหตุนั้น ชนเหลา นนั้ ชอื่ วา มีหมู. คร้งั แรกชนเหลา น้ันมิไดเ ปน คณะกนั ในภายในเมือง แตอ อกไปนอกเมืองแลว จงึ รวมกนั เปนคณะ เพราะเหตนุ น้ัชอื่ วา รวมกนั เปน คณะ. บทวา เรยี กท่ปี รึกษามา ความวา มหาอาํ มาตยผ สู ามารถเฉลยปญหาทถ่ี กู ถามได เรียกวา ขตั ตะ (ทป่ี รกึ ษา) เรยี กทป่ี รึกษาคนน้ันมาบทวา อาคเมนฺตุ แปลวา จงรอสกั ประเด๋ยี ว หมายความวาอยาเพ่ิงไป บทวา ผูอยูต างแดน ความวา พราหมณท งั้ หลายผูเกดิ ในแดนตา ง ๆ กนั คือในแดนมีแควนกาสี และแควน โกศล เปน ตน คนละแหงแดนเหลา น้นั เปน ทอี่ ยูอ าศัยของพวกเขา หรอื วา พวกเขามาจากแดนน้นัเพราะฉะน้ัน พราหมณเหลานั้นชือ่ วา ผอู ยตู า งแดน แหง พราหมณท ้ัง
พระสุตตันตปฎก ทฆี นิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 20หลายผูอยูตางแดนกันเหลา นน้ั . บทวา ดว ยกรณียกิจบางอยาง ความวาไดยินวา พวกพราหมณท ั้งหลาย ในนครนนั้ ประชมุ กนั ดว ยกรณียกจิ สองอยางคือเพื่อจะรว มทําการบชู ายญั หรือเพ่อื การสาธยายมนต. และในคราวนน้ั ในนครนน้ั ไมม ีการบชู ายัญ. แตพราหมณเหลานน้ั มาประชมุ กันในสํานกัของโสณทัณฑพราหมณ เพ่อื สาธยายมนต ทานกลา ววา ดว ยกรณียกจิบางอยาง หมายเอาการสาธยายมนตน ้ัน. พราหมณเ หลา น้ันไดท ราบวา การไปของโสณทัณฑพราหมณน น้ั แลวโสณทัณฑพราหมณน เ้ี ปนพราหมณช ัน้ สูง และพราหมณเหลาอื่นโดยมากคดิ วาถงึ สมณโคดมเปนสรณะ โสณทัณฑพราหมณน้เี ทาน้ันยังไมไป ถาเขานแี้ หละจักไป เขาก็จกั ถูกมายาทน่ี ําใหงงงวยของพระสมณโคดมทาํ ใหหลงใหลแลว จกั ถงึ พระโคดมเปนสรณะแนแ ท แตน้ันไป สันนบิ าตของพวกพราหมณทปี่ ระตเู รือนของโสณทัณฑพราหมณแ มน้นั ก็จักไมมี เอาเถอะ เราจะขัดขวางไมใหเ ขาไปได ดงั น้ี ปรึกษากันแลวจงึ ไปในทนี่ น้ั .ทา นหมายเอาขอ นน้ั จึงไดกลา วคําเปนตนวา คร้งั นัน้ แล พราหมณทง้ัหลาย ดงั นี้. บรรดาบทเหลา น้ัน บทวา ดว ยองคแ มนี้ คอื ดวยเหตุน้ี. พวกพราหมณค ร้ันกลา วเหตนุ น้ั อยา งน้แี ลว คิดอกี วา ธรรมดาคนเมือ่ เขากลาวสรรเสรญิ ตนที่จะไมย ินดหี ามไี ม เอาเถอะ พวกเราจะหา มการไปของเขาดว ยการกลาวสรรเสริญเขา จึงกลา วเหตุหลายอยา งเปน ตนวา กโ็ สณทณั ฑ-พราหมณผูเจริญเปนอุภโตสุชาต เปน ตน . บทวา สองฝาย คือ จากฝา ยท้งั สอง คือจากมารดา และจากบดิ า. โสณทัณฑพราหมณผ เู จรญิ เปน อุภโตสุชาต ทงั้ ฝายมารดาท้งั ฝา ยบดิ า อยางนี้ คือมารดาของโสณทณั ฑพราหมณผ ูเจริญเปน นางพราหมณี
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 21มารดาของมารดาเปนนางพราหมณี มารดาแมของมารดาของมารดาน้ันก็เปนนางพราหมณี บิดาเปน พราหมณ บิดาของบดิ าเปนพราหมณ บดิ าแมของบิดาของบดิ านั้น ก็เปน พราหมณ. บทวา มีครรภท ถ่ี ือปฏสิ นธิหมดจดดีความวา ครรภเปน ทถี่ อื ปฏสิ นธิ คือทองของมารดา หมดจดด.ี แตใ นบทนีว้ า สมเวปากินยิ า คหณยิ า ไฟธาตอุ ันเกิดจากกรรมทา นเรยี กวาคหณี (ครรภเปน ทถี่ อื ปฏสิ นธ)ิ . ในบทวา ตลอด ๗ ชัว่ คนน้ีความวา บดิ าของบดิ าช่อื ปตามหะ (ปู) ยุคแหงปต ามหะช่ือปตามหยุค.ประมาณของอายทุ านเรียกวายุค. ก็คํานเ้ี ปน เสยี งชอื่ ยคุ เทานัน้ . แตโ ดยความ ปตามหะนัน้ แหละ ช่อื ปตามหยคุ บรรพบรุ ษุ แมท้ังปวงเหนอื ขึน้ไปจากปตามหะน้นั ทานกใ็ ชค ลมุ ถึงดวยปตามหะศัพทนี้แหละ เขาเปนผูม ีครรภเ ปน ทถี่ อื ปฏิสนธิ อนั หมดจดดตี ลอด ๗ ชั่วคนดวยประการฉะน้ี.อกี ประการหนง่ึ พราหมณท ง้ั หลายแสดงวา เขาเปน ผอู ันใครดูถูกไมไ ดไมถ กู ตําหนดิ วยการกลา วอางถึงชาติ. บทวา ผูอ นั ใคร ๆ ดถู ูกไมไ ด คือใคร ๆ ดูถกู ไมได ไดแ กผ ลักไสไมไ ด วา พวกทานจกั ไลเขาไปเสีย จะประโยชนอะไรกบั คนคนนี้ ดังน้.ี บทวา ไมถูกตําหนิ คอื ไมถ ูกติเตยี นไดแกไ มเคยท่จี ะไดรับคําดา วา หรอื ตเิ ตยี นเลย. ถามวา เพราะเหตุไร.แกวา เพราะการกลาวอา งถงึ ชาติ. ความวา เพราะถอ ยคาํ เหน็ ปานน้ีวาแมเพราะเหตนุ ีเ้ ขาเปนคนมีชาติตํ่าทราม ดงั นี้. บทวา ผมู ่งั คั่ง คอื ผูเปนใหญ. บทวา มที รพั ยมาก คอื ประกอบพรอมดว ยทรัพยมากมาย. พราหมณทงั้ หลายแสดงวา ก็ในเรือนของทานผเู จรญิ มีทรพั ยมาก ราวกะฝนุ และทรายในแผนดนิ แตพ ระสมณโคดมไมมีทรัพย เทย่ี วขอเขาพอเต็มทองเลี้ยงชวี ิต. บทวา มโี ภคะมาก คอื มีเคร่อื งอปุ โภคมากดว ยอาํ นาจแหง กามคุณหา. พวกพราหมณทั้งหลายสําคญั อยวู า
พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 22ชนทง้ั หลายกลา วคณุ ใด ๆ พวกเราจะแสดงสงิ่ ทมี่ ใิ ชคณุ อยา งเดียวดว ยอํานาจเปนปฏปิ กษตอ คณุ นนั้ ๆ ดังนี้ จึงไดก ลาวอยา งนนั้ . บทวา มรี ปู สวย คือ มีรปู งามย่งิ ไดแ กม ีรูปดีย่งิ กวา เหลามนุษยอ่นื ๆ. บทวา นา ดู คือชือ่ วานาดู เพราะทาํ ใหไมรจู กั อิ่มเอบิ แกช นผูดูอยูแมตลอดวนั ชอ่ื วา นา เลอ่ื มใส เพราะใหเ กิดความเลือ่ มใสแหง จิตดวยการดูนั่นแหละ. ความดงี าม ทานเรียกวา ความสวย ความท่ีผิวพรรณเปนของสวยงาม ชื่อวา มีผิวพรรณสวยงาม ความวา ประกอบดวยวรรณ-สมบัตนิ น้ั . แตท านโบราณาจารยท ง้ั หลายกลา ววา ชนทงั้ หลายเรียกสรีระวา โปกขระ วรรณะนัน่ แหละวา วรรณะ. ตามมตขิ องทานโบราณาจารยเหลา นน้ั วรรณะดวยรูปราง ดวยชอื่ วรรณะรูปรา งความมแี หง ผวิพรรณและรูปรา ง เหลา นน้ั ช่ือวา ความมผี วิ พรรณและรปู รา ง เขาประกอบดว ยความมผี ิวพรรณและรปู รา งอยา งยง่ิ ดวยประการฉะน้ี ความวา ประกอบดว ยผวิ พรรณและสมบัตแิ หงสรรี ะสณั ฐานอนั บรสิ ุทธิ์อยา งสงู สุด. บทวา มผี ิวพรรณดังพรหม คอื มีผิวพรรณอนั ประเสริฐสุด ความวา ประกอบพรอ มดวยผวิ พรรณประดุจทองคําอนั ประเสรฐิ สดุ แมในบรรดาผูมผี ิวพรรณอันบรสิ ุทธ์ิทง้ั หลาย. บทวา มรี ปู รา งดังพรหม คอื ประกอบพรอมดว ยรูปรา งเชนกบั รปู รางของทา วมหาพรหม. บทวา นาดู นา ชมมิใชนอย คอื ชองทางทจี่ ะดใู นรปู รา งของทา นผเู จริญมิใชเล็กนอย คอืมาก. พราหมณท ั้งหลายแสดงวา อวัยวะนอ ยใหญข องทา นแมทุกสว นเปนของนา ดู และอวัยวะนอยใหญเ หลา นั้นก็ใหญดว ย ดงั นี.้ ศลี ของบุคคลนน้ั มีอยู เหตนุ นั้ เขาช่อื วา เปน ผมู ศี ีล ศลี ท่เี จรญิ แลวคืองอกงามแลว ของบคุ คลน้ันมอี ยู เหตุนน้ั เขาช่ือวาเปน ผมู ศี ีลอนั เจริญแลว. บทวา ดว ยศีลอันเจริญ คือ ดวยศลี อนั เจริญนน่ั แหละ คือทงี่ อก
พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 23งามแลว . บทวา มาถึงพรอมแลว คอื ประกอบแลว . คํานี้เปนไวพจนของ บทวา มีศลี อันเจริญแลว. คําท้งั หมดนั้นทานกลาวหมายเอาเพยี งศลี หา เทานัน้ . ในบทท้งั หลายมีบทวา มวี าจางามเปน ตน มีความวา วาจาอนังาม คือดี ไดแ กม ีบทและพยญั ชนะกลมกลอมของบุคคลนน้ั มีอยู เหตนุ น้ัเขาชื่อวามีวาจางาม. บทวา มสี าํ เนียงไพเราะ คือสาํ เนียงอันไพเราะ คือออ นหวานของบุคคลนน้ั มีอยู เหตนุ ้นั เขาช่ือวา มสี ําเนียงไพเราะ บทวาสาํ เนยี ง ไดแ กเสยี งกงั วาลที่เปลง ออก. วาจามีอยใู นเมอื ง เพราะบรบิ รู ณดว ยคณุ ความดี เหตุนัน้ จึงชือ่ วา เปน ของชาวเมอื ง. อกี ประการหน่งึ ชือ่วาโปรี เพราะมวี าจาเชน กับความที่หญิงชาวเมือง คอื หญงิ ชาวเมืองเปนผูละเอียดออ น เพราะความท่ตี นอยใู นเมอื ง. ดว ยวาจาหญงิ ชาวเมอื งนั้น.บทวา วิสสฺ ายต ถ ความวา ไมพ รา คือเวนจากโทษมีความชักชา ท่ีตนเห็นแลวเปนตน . บทวา หาโทษมไิ ด คือเวน จากการกลืนน้าํ ลาย. จรงิ อยู เมื่อใคร ๆ พูดอยู น้ําลายไหลเขาหรือวา น้ําลายไหลออก หรือวา ฟองนาํ้ ลายกระเซ็นออกมา วาจาของผนู ้นั ชอ่ื วา ชมุ ดวยนํ้าลาย ความวา วาจาที่ตรงกนั ขา มกบั วาจานัน้ . บทวา ใหร ใู จความได คอื สามารถใหร ใู จความท่ีกลา วไดช ัดเจนทัง้ เบ้ืองตน ทา มกลาง และที่สุด. บทวา แกแลว คือเปน คนแก เพราะเปนผคู รํา่ ครา ดวยชรา. บทวา เปน ผเู ฒา คือถงึ ขดี สุดแหงความเจริญของอวัยวะนอ ยใหญ. บทวาเปน ผใู หญ คอื ประกอบพรอมดวยความเปนผูใหญโดยชาติ อธบิ ายวา เกิดมานานแลว บทวา ผานเวลามานาน คือลวงเวลานาน อธิบายวาลวงเลยมาตัง้ ๒-๓ รัชกาลแลว. บทวา ผา นวัยแลว คอื ผา นถงึ ปจ ฉิม-
พระสตุ ตนั ตปฎก ทีฆนิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 24วยั แลว สว นท่สี าม อนั เปน ทส่ี ุดแหง ๑๐๐ ป ช่ือวา ปจฉมิ วยั อีกนยัหน่ึง บทวา แกแ ลว คือเกา แก อธบิ ายวา เปน ไปตามวงศสกลุ ที่เปนไปแลว สน้ิ กาลนาน. บทวา เปนผเู ฒา คือประกอบดวยความเจริญดว ยคณุ มีศีลและอาจาระเปนตน. บทวา เปนผใู หญ คอื ประกอบพรอมดวยความเปนผูใหญดว ยสมบัต.ิ บทวา ผานเวลามานาน คอื เดนิ ทางมา ไดแ กม ีปกตปิ ระพฤตไิ มล ว งละเมิดมารยาท มีวตั รจรยิ าเปนตนของพวกพราหมณ.บทวา ผา นวัยแลว คือผานถึงแมความเปน ผูเจริญดว ยชาตอิ ันเปนวัยสุดทา ยแลว . บทวา เม่อื พวกพราหมณกลา วอยางนีแ้ ลว ความวา เมื่อพวกพราหมณเ หลา นั้นกลา วอยางนแี้ ลว โสณทัณฑพราหมณคิดวา พวกพราหมณเ หลานก้ี ลาวสรรเสริญคุณของเราดวยชาตเิ ปน ตน แตการท่ี เราจะยนิ ดีในการกลา วสรรเสรญิ คณุ ของตนไมสมควรแกเ ราเลย เอาเถอะ เราจะทาํ ลายวาทะของพวกเขาเสยี แลว ใหพวกเขารูว าพระสมณโคดมเปน ผใู หญจะทาํ ใหพ วกเขาไปในทีน่ ้นั ดงั น้ี แลว จงึ กลา วคาํ เปน ตน วา ทา นผูเจรญิถา กระนัน้ ขอพวกทานจงฟง คาํ ของขา พเจาบา ง. โสณทณั ฑพราหมณส าํ คญัเห็นคณุ ท้งั หลายทีย่ ่ิงกวาคุณของตนวา ในคณุ เหลา นน้ั คุณแมเหลา ใดเชนเดียวกบั คณุ ของตนมีวา อุภโตสชุ าตเปน ตน คุณแมเหลา นนั้ กเ็ ปนคุณมีชาติสมบัติเปน ตน ของพระสมณโคดม ดังน้ี จงึ ไดประกาศคณุ เหลานี้เพอื่ ทีจ่ ะแสดงความทพ่ี ระผูมีพระภาคเจามีพระคณุ ยิ่งใหญโ ดยสว นเดยี วโดยแท. ก็โสณทณั ฑพราหมณเ มือ่ จะกําหนดแนอ ยางนี้วา พวกเรานนั่ แหละ.ควรไปเฝา จงึ แสดงคํานใ้ี นที่นี้วา ถามีบุคคลทคี่ วรเขา ไปหา เพราะความเปน ผมู ีคุณใหญ เพราะฉะนั้น พวกเราน่นั แหละควรจะเขา ไปเฝา เพอ่ื ทัศนา
พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 25พระโคดมผเู จริญนน้ั เปรียบเหมือนเมล็ดผกั กาด เม่ือนําไปเท่ยี วกับเขาสิเนรุ รอยเทาโค. เมอ่ื นาํ ไปเทียบกบั มหาสมทุ ร หยดน้ําคา ง เมือ่ นําไปเทียบกบั น้ําในสระใหญ ๗ สระ ก็เปนของกะจดิ๊ รดิ คอื เลก็ นอ ยฉันใดคณุ ของพวกเรา เม่ือนาํ ไปเทียบกับพระคณุ มพี ระชาตสิ มบตั เิ ปนตน ของพระสมณโคดม เปน ของนดิ หนอ ย คอื เล็กนอย ฉันน้ัน เพราะฉะน้นัพวกเรานัน้ แหละ ควรไปเฝาพระโคดมผูเจริญ. บทวา ทรงละหมพู ระญาตมิ ากมาย คือทรงละตระกูลพระญาติแสนหกหมืน่ อยางน้ี คือ ฝายพระมารดาแปดหมื่น ฝา ยพระบดิ าแปดหมื่น. ในบทน้วี า อยใู นดินและตง้ั อยใู นอากาศ ทรัพยท เ่ี ขาขุดสระโบก-ขรณีท่ีฉาบปูนเกลยี้ งในพระลานหลวง และในพระราชอุทยาน ใสแ กว ๗ประการจนเต็ม แลวฝง ไวในแผน ดนิ ชอ่ื วาทรัพยอยูในดิน. สว นทรัพยท่ตี งั้ ไวจ นเตม็ ประสาทและปอ ม เปน ตน ช่ือวา ต้งั อยใู นอากาศ. ทรพั ยที่ตกทอดมาตามความหมนุ เวยี นแหงตระกลู มีเพียงเทาน้กี อ น. แตในวันท่ีพระตถาคตอุบตั ขิ ึ้นแลวนนั่ แหละ มขี ุมทรัพย ๔ ขุม คอื ขุมทรพั ยช ่อืสังขะ ๑ ชอื่ เอละ ๑ ชื่ออุปปละ ๑ ชอ่ื ปุณฑรกิ ๑ ผุดขน้ึ แลว. บรรดาขุมทรัพยทงั้ ๔ น้นั ขมุ ทรัพยช อ่ื สงั ขะมีคาวตุ หนึง่ ขุมทรพั ยชอื่ เอละมีครง่ึ โยชน ขมุ ทรัพยชื่ออุปปละมีสามคาพยตุ ขุมทรัพยช อื่ ปุณฑริกะมีโยชนหนงึ่ ทรพั ยท ่ีถือเอา ๆ แมในขุมทรัพยเ หลา นัน้ ก็กลบั เต็มอกี .พึงทราบวา พระผูมพี ระภาคเจาทรงละเงินทองมากมายแลว ออกผนวชดว ยประการฉะน้.ี บทวา ยังเปนคนหนุม คอื ยงั เปน เด็ก. บทวา มพี ระเกศาดําสนทิคือมพี ระเกศาดําขลับ ความวา มีพระเกศาเชน เดียวกบั สยี าหยอดตา.บทวา เจริญ คอื ด.ี บทวา วยั ทหี่ นง่ึ คือ ปฐมวัยในบรรดาวัยทง้ั สาม.
พระสุตตนั ตปฎก ทีฆนิกาย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 26 บทวา ไมใ ครอยู คือไมปรารถนา. คาํ นีเ้ ปนฉฏั ฐวี ภิ ตั ิลงในอรรถวา อนาทร. นา้ํ ตาทีห่ นา ของชนเหลานั้นมอี ยู เหตนุ ้ันเขาชอ่ื วาหนานองดว ยนาํ้ ตา. ความวา เมอ่ื พระมารดาบดิ าเหลา นนั้ มีพระพกั ตรนองดว ยนา้ํ -พระเนตร คือมพี ระพักตรเ ปย กชุมดวยนํ้าพระเนตร. บทวา ทรงกนั แสงอยูคอื ทรงกนั แสงคร่ําครวญอย.ู ในบทวา ชองทางมิใชน อ ย น้ี พงึ ทราบความวา ชอ งทางที่จะไดเห็นพระผูมพี ระภาคเจาหาประมาณมิได. ในท่ีน้ี มีเรอ่ื งดงั ตอไปนี้. ไดย ินวา ในกรงุ ราชคฤหม ีพราหมณค นหนึ่ง ทราบวา เขาเลาวา ใคร ๆ ยอมไมสามารถที่จะถือเอาประมาณของพระสมณโคดมได ในเวลาที่พระผมู พี ระภาคเจา เสดจ็ เขาไปบิณฑบาต ถอื เอาไมไ ผย าว ๖๐ ศอกยืนอยขู างนอกประตเู มือง เมอ่ื พระผูมพี ระภาคเจา เสด็จมาถึง ถือเอาไมไ ผ ไดยนื อยใู นทใ่ี กล. ไมไผยาวถงึ แคพ ระชานุของพระผูม ีพระภาคเจา .ในวันรุงขึ้นเขาจงึ ตอไมไ ผส องลาํ แลวไดย นื อยูในทใ่ี กล. แมพ ระผมู พี ระ-ภาคเจา ก็ทรงปรากฏเพยี งแคพ ระสะเอวเทานน้ั เหนือไมไผสองลําน้นั จงึตรัสวา พราหมณท านทําอะไร. เขาทลู วา ขา พระองคจ ะวดั สว นพระองค.พระผูมพี ระภาคเจา ตรัสวา พราหมณ แมถาทา นจกั ตอ ไมไ ผทีเ่ กิดอยเู ตม็ทอ งแหง จกั รวาลทั้งส้ินเขา ดว ยกนั แลว ทานก็จักไมส ามารถที่จะวัดเราไดเพราะวา บารมตี ลอดสี่อสงไขยและแสนกปั เรามไิ ดบ ําเพ็ญโดยประการท่ีคนอ่นื พงึ วดั เราได พราหมณ ตถาคตใครๆ จะชง่ั มิได ใครๆ จะประมาณมไิ ด ดังน้แี ลตรัสคาถาในธรรมบทวา เม่ือบุคคลบชู าทา นผเู ยอื กเย็นแลว ไมมภี ัยแตท ี่ไหน ๆ เชน นนั้ อยู ใคร ๆ ไมอาจทจี่ ะนับบญุ ไดว า เพยี งเทา นด้ี งั นี้ ในท่ีสดุ แหงคาถา สตั ว ๘๔,๐๐๐ ไดดมื่ นํ้าอมฤตแลว .
พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นิกาย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 27 ยังมีเรอื่ งแมอืน่ อีก ไดยนิ วา ทา วอสุรนิ ทรราหูสงู ได ๔,๘๐๐โยชน. ระหวางแขนของเขาวัดได ๑,๒๐๐ โยชน ระหวา งนมวดั ได ๖๐๐โยชน. พน้ื มือและพื้นเทาหนาได ๓๐๐ โยชน. ขอนว้ิ ยาวได ๕๐ โยชน.ระหวางควิ้ กวา ง ๕๐ โยชน. หนายาว ๒๐๐ โยชน. ลกึ ได ๓๐๐ โยชน.มีปรมิ ณฑลได ๓๐๐ โยชน. คอยาวได ๓๐๐ โยชน. หนา ผากยาวได๓๐๐ โยชน. ศรี ษะยาวได ๙๐๐ โยชน. เขาคดิ วา เราสูงมาก จกั ไมสามารถทจี่ ะนอ มตัวลงแลดพู ระศาสดาได ดังนี้ จึงไมม าเฝา . วันหนง่ึ เขาไดฟงพระคุณของพระผมู ีพระภาคเจา จงึ มาดวยคิดวา เราจกั มองดูโดยอาการอยา งใดอยา งหนง่ึ . พระผูมีพระภาคเจาทรงทราบอชั ฌาสยั ของเขาแลวทรงดําริวา เราจักแสดงดว ยอริ ิยาบถไหน ในบรรดาอริ ยิ าบถทง้ั ส่ี ทรงดาํ ริวา ธรรมดาคนยืน แมจ ะตํ่าก็ปรากฏเหมือนคนสงู แตเ ราจักนอนแสดงตนแกเขา ดงั นแ้ี ลว จงึ ตรสั วา อานนท เธอจงตง้ั เตียงในบรเิ วณคนั ธกฏุ ี แลว ทรงสําเร็จสหี ไสยาสนบ นเตียงน้นั . ทา นอสุรนิ ทรราหมู าแลวชคู อขน้ึ มองดพู ระผูมีพระภาคเจา ประทับนอนอยูร าวกะวาพระจนั ทรเตม็ดวงในทา มกลางทอ งฟา และเมอื่ พระผูม พี ระภาคเจา ตรัสวา อสรุ ินทะ นี้อะไร จึงกราบทลู วา ขา แตพระผมู พี ระภาคเจา ขา พระองคมไิ ดม าเฝาดวยคดิ วา เราจักไมสามารถทจี่ ะโนม ตวั ลงแลดไู ด ดังนี.้ พระผูม ีพระ-ภาคเจาตรสั วา อสุรนิ ทะ เรามิไดก มหนาบาํ เพญ็ บารมีมา เราใหทานทําใหเลศิ ทงั้ นัน้ ดังน้.ี วนั นัน้ อสรุ ินทรราหู ไดถงึ สรณะ. พระผมู พี ระภาคเจาทรงนาดูนาชมมิใชน อย ดวยประการดงั น้.ี บุคคลช่อื วา เปนผูม ศี ลี เพราะปาริสุทธิศลี ๔ ก็ศลี นน้ั เปนของประเสรฐิ คือสูงสุด ไดแ ก เปนศีลบรสิ ทุ ธ์ิ เพราะเหตนุ ัน้ ทา นจึงกลา ววามศี ีลอนั ประเสริฐ. ศลี น้นั นั่นเองเปนกุศล เพราะอรรถวา ไมมโี ทษ.
พระสตุ ตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 28เพราะเหตุนั้น ทานจงึ กลาววา มีศีลเปน กศุ ล. คาํ วา ดว ยศีลอนั เปน กุศลนี้เปนไวพจนของคําวา มศี ีลเปน กศุ ลนัน้ . บทวา เปน อาจารย และปาจารย ของคนเปน อันมาก ความวาในการแสดงธรรมคร้ังหนง่ึ ๆ ของพระผูมพี ระภาคเจา สัตวม ีประมาณ๘๔,๐๐๐ และเทวดาและมนษุ ยท ัง้ หลายหาประมาณมไิ ด ยอมไดด ม่ื นํา้ อมฤตคอื มรรคและผล เพราะฉะนั้น พระองคจึงจดั วา เปนอาจารยของคนเปน อันมาก และเปนปาจารยข องสาวกผเู ปนเวไนย. ในบทวา มกี ามราคะสนิ้ แลวนี้ ความวา กเิ ลสแมท ั้งปวงของพระผูม ีพระภาคเจาส้นิ ไปแลวโดยแท. แตพราหมณไ มรูกิเลสเหลาน้ัน จึงกลา วคุณไปในฐานะแหง ความรขู องตนน่ันแหละ. บทวา เลกิ ประดับตก-แตง แลว คือเวน จากการประดับตกแตงทที่ านกลา วไวอ ยางนวี้ า การตก-แตง บาตร การตกแตงจีวร การตกแตง เสนาสนะ การเลนสนกุ สนานแหงรา งกายอันเนานี.้ บทวา ไมท รงมุงราย คอื แสดงความเคารพธรรมทไ่ี มเปน บาปคอืโลกตุ รธรรม ๙ ประการ เท่ียวไป. บทวา ตอประชาชนท่ีเปนพราหมณ คือตอ คนที่เปน พราหมณต าง ๆ กันเปนตนวา พระสารีบุตร พระโมคคลั ลานะและพระมหากัสสปะ และพระองคเ ปนผแู สดงความนบั ถือประชาชนนนั้ .อธิบายวา กป็ ระชาชนน้ีกระทาํ พระสมณโคดมไวเ บ้อื งหนา เท่ียวไป. อีกประการหนง่ึ บทวา ไมท รงมงุ รา ย ความวา ไมท รงกระทําบาปไวเบื้องหนาเที่ยวไป คอื ไมปรารถนาลามก. อธบิ ายวา ไมท รงมงุ รา ยตอประชาชนท่ีเปนพราหมณน้นั คอื ตอประชาชนที่เปนพราหมณ แมจะเปน ปฎิปกษกบั ตนคอื เปนผหู วังประโยชนส ขุ แตอ ยางเดียว.
พระสุตตันตปฎก ทฆี นกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 29 บทวา ตา งรฐั คอื จากรัฐอื่น. บทวา ตา งชนบท คอื จากชนบทอื่น บทวา ตา งพากนั มาเพอื่ ทลู ถามปญ หา ความวา กษตั รยิ และบัณฑิตเปน ตนก็ดี เทวดาพรหมนาคและคนธรรพเ ปน ตนก็ดี ตา งตระเตรียมปญ หามาเฝาดวยคิดวา พวกเราจักถาม ในบรรดาชนเหลา นน้ั บางจาํ พวกกําหนดเห็นโทษของการถาม หรอื ความท่ีตนไมส ามารถในการยอมรับขอ เฉลย จงึไมท ูลถามเลย แลว นั่งนง่ิ เสยี บางจําพวกทูลถาม สําหรับบางจําพวกพระผมู พี ระภาคเจาทรงใหเ กดิ ความอตุ สาหะในการถามแลว จงึ ทรงเฉลยความเคลอื บแคลงของชนเหลานั้นแมท้ังส้ิน มาถึงพระผูม พี ระภาคเจา แลวกเ็ สือ่ มคลายไป เหมือนคล่นื ในมหาสมุทร มาถึงฝงแลวกส็ ลายไปฉะนนั้ดวยประการฉะน.ี้ บทวา มปี กติกลา วเชื้อเชญิ ความวา พระองคยอ มตรัสกะคนผมู าสสู าํ นกั ของพระองคน้นั ๆ ไมว าจะเปน เทวดา มนษุ ย บรรพชิตและคฤหสั ถอยางนว้ี า เชิญทา นเขามาสิ ทา นมาดแี ลว (เราขอตอ นรับทาน)ดงั น้ี. บทวา เจรจาผูกไมตรี คือ ทรงประกอบพรอมดวยพระดาํ รสั ผูกไมตรีทท่ี า นกลา วไวโ ดยนยั เปน ตน วา บรรดาวาจาเหลานัน้ คําพูดผูกไมตรีเปนไฉน คําพูดผกู ไมตรี คอื วาจาทีห่ าโทษมไิ ด เปนวาจาดี ไพเราะเสนาะหู ดงั นี้ อธิบายวา มพี ระดาํ รัสออนหวาน. บทวา ชางปราศรัย คอื ทรงฉลาดในการปฏสิ ันถาร ความวา พระองคทรงกระทาํ สมั โมทนียกถากอ นทเี ดียว ดังจะทรงระงบั ความกระวนกระวายเพราะเดินทางไกลของเหลาบริษทั ทั้งสี่ ผูมาแลว ๆ ไดส น้ิ โดยนัยเปน ตนวา ภกิ ษุ เธอสบายดแี ลหรือ อาหาร การฉนั ยงั พอเปน ไปไดแลหรอื . บทวา ไมสยิว้ พระพักตรความวา บางคนเขา ไปยงั ประชุมท่ีแลวมีหนา เครงขรมึ มีหนาข้งึ เครยี ดฉนั ใดพระองคมิไดเปน เชนนนั้ . แตการเหน็ ที่ประชุมของพระผมู พี ระภาคเจา น้ัน
พระสุตตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 30เปน เหมอื นดอกปทุมท่ีบานแลว ดว ยการตอ งแสงแดดออ น เปน ราวกะรศั มีแหง พระจนั ทรเ ตม็ ดวง. บทวา มพี ระพักตรเ บกิ บาน ความวา ทา นแสดงไวว า คนบางจําพวกมหี นา ควาํ่ เมอ่ื ชุมนุมชนมาประชมุ กนั แลว ก็ไมพูดอะไร เปน คนทมี่ คี าํพูดอนั ไดด วยยากฉนั ใด แตพระสมณโคดมไมเ ปนเชน น้นั เปนผมู ีพระวาจาไดด วยงาย สําหรับผูทม่ี าสูสํานักของพระองคไ มเกดิ ความเดือดรอ นใจวา พวกเรามาในทน่ี เ้ี พราะเหตุไร แตช นท้งั หลายไดฟ งธรรมแลว ยอ มมีใจยินดโี ดยแท. บทวา มีปกติตรัสกอ น คือ พระองคเน้อื จะตรสั ยอ มตรสั -กอ น และพระดํารัสก็ประกอบดว ยกาล. พระองคก ต็ รสั แตถ อยคําประกอบดว ยประมาณ อาศยั ประโยชนโ ดยแท ไมตรัสถอ ยคาํ อนั หาประโยชนมไิ ด. บทวา ในบานนัน้ หรอื ความวา ไดยนิ วา พระผูมีพระภาคเจาประทบั อยู ณ ทใ่ี ด เทวดาผมู ศี กั ดิใ์ หญย อมถวายอารักขา. เพราะอาศยัเทวดาเหลานน้ั อุปทวะยอมไมม แี กมนษุ ยทงั้ หลาย. ก็ปศ าจทงั้ หลายมีปศาจคลุกฝนุ เปน ตน ยอ มเบียดเบียนมนษุ ย. ปศ าจเหลาน้ันยอ มหลีกไปไกลดว ยอานุภาพของเทวดาเหลา นัน้ . อกี ประการหนง่ึ แมเพราะกาํ ลังแหง พระ-เมตตาของพระผมู พี ระภาคเจา พวกอมนษุ ยก ไ็ มเบยี ดเบียนมนษุ ย. ในบทท้งั หลายมบี ทวา เปนเจา หมเู ปน ตน ความวา หมูท คี่ นพึงพร่ําสอนหรือที่คนใหเกิดเองของบคุ คลนน้ั มอี ยู เหตุนั้นเขาช่ือวาเปน เจาหม.ู อนง่ึ คณะเชนนนั้ ของบคุ คลนัน้ อยู เหตนุ ้นั เขาช่อื วา เปนเจาคณะ.อกี ประการหนง่ึ คาํ นี้เปน ไวพจนข องบทแรก. พระองคทรงเปนอาจารยของคณะดวยอํานาจแหงการใหเ ขาศกึ ษาเร่อื งอาจาระ เหตุนัน้ จงึ ชอ่ื วา ผูเปน คณาจารย. บทวา แหงเจา ลทั ธิมากมาย คือ แหง เจาลัทธิจาํ นวนมาก
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทฆี นิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 37 ลําดับนัน้ พราหมณค ิดวา ปญ ญาเราเฉลยแลวดว ยอาํ นาจแหงลัทธิของตน แตพ ระสมณโคดมกลบั ยอ นถามเราอีก บัดนเี้ ราจะพึงสามารถท่ีจะเฉลยปญ หาทําใหพ ระทยั ของพระองคยนิ ดี หรอื ไมส ามารถ ถาเราจกั ไมสามารถ ความละอายของเราแมท เ่ี กิดในคร้งั แรก จักทําลายไป แตโทษในการกลาววา ขาพเจาไมส ามารถ ดังน้ี ไมมแี กเ ราผูไมส ามารถอยู ดงั นี้ จึงยอ นกลับมา ทาํ ใหเ ปนภาระแกพ ระผมู พี ระภาคเจา องคเ ดียวอีก จงึ กราบทลูคาํ เปนตนวา ก็ขาพระองคท ัง้ หลายมีความรเู พยี งแคนี้ ดงั น้.ี บรรดาบทเหลานั้น บทวา มคี วามรเู พยี งแคนี้ คอื ศลี และปญ ญา เพียงแคนี้ ไดแ กศ ีลและปญ ญา เพยี งนเี้ ทา นนั้ เปน อยางยง่ิ ของขาพระองคท้ังหลาย ความวาพวกขา พระองคเหลา นัน้ มีศีลและปญญา เพียงแคน้ี เปนอยา งยิ่ง คือไมทราบเน้อื ความแหงคาํ ท่ตี รสั นน้ั ยง่ิ ขน้ึ ไปกวา นั้น. ลําดบั นัน้ พระผูมีพระภาคเจา เพอ่ื จะทรงแสดงศลี และปญ ญา จาํ เดมิแตก ารอบุ ัติของพระตถาคต ผูทรงเปน รากเงาของศลี และปญ ญาแกเขา จงึตรัสพระดํารัสวา พราหมณ ตถาคตในโลกน้ี ดังนี้ เปน ตน . ใจความแหง บทน้ัน พงึ ทราบตามนยั ท่ีทา นกลา วไวแลว ในสามญั ญผลสตู รนัน้ แล.แตข อแตกตางมดี งั ตอ ไปน้.ี ในที่นี้ศลี แมท ั้งสามอยางนน้ั พระผมู พี ระภาคเจาทรงชช้ี ดั วา เปนศีลโดยแทอ ยา งนีว้ า แมข อ นก้ี จ็ ดั อยใู นศีลของเธอ. ฌาน ๔มีปฐมฌานเปนตน โดยความจัดเปนปญญาสัมปทา. พระผูมีพระภาคเจา มิไดทรงชี้ชัดดว ยอํานาจแหง ปญญา ทรงแสดงโดยเพยี งเปนปทัสถานแหงปญญามวี ปิ สสนาเปน ตน ทรงชี้ชดั ถึงปญญา จาํ เดมิ แตวปิ สสนาปญ ญา ดว ยประการฉะน.้ี บทวา เพ่อื ฉันในวันพรงุ นี้ พงึ ทราบใจความตามนัยทก่ี ลาวแลวในคาํ นี้วาเพือ่ ฉันในวนั น้นี นั่ แล.
พระสุตตนั ตปฎ ก ทฆี นกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 38 บทวา ชุมนุมชนน้ันพึงดูหม่ินขาพระองค เพราะเหตุนน้ั ความวาชมุ นมุ ชนน้ัน พึงดูหมนิ่ ขาพระองค เพราะเหตทุ ีเ่ หน็ พระองคแตไกลแลวลุกจากอาสนะนัน้ วา โสณทณั ฑพราหมณน้ี เปน คนแกต้ังอยใู นปจ ฉิมวยัแลว แตพระโคดมยังหนุม เปนเดก็ แมเ ปน หลานของเขาก็ยังไมไ ด เขายังลุกจากอาสนะของตน ใหแกพระโคดมผยู งั ไมถ ึงแมค วามเปน หลานของตน. บทวา การประคองอัญชลนี น้ั แทนการลุกจากอาสนะของขา พระองคความวา โสณทัณฑพราหมณก ราบทลู วาขึ้นชือ่ วา การไมลกุ เพราะไมเคารพของขา พระองคไ มม ี แตข า พระองคจกั ไมลุก เพราะกลวั โภคสมบัติจะฉบิ หาย ขอนน้ั ควรมี พระองคแ ละขาพระองคจะตอ งทราบ เพราะฉะนน้ัขอพระโคดมผูเจริญไดโ ปรดทรงเขา ใจการประคองอัญชลนี ้ัน เปน การแทนการลุกขน้ึ รบั . ไดยนิ วา คนหลอกลวงเชนกบั โสณทัณฑพราหมณนี้ หาไดย าก. กช็ ือ่ วา ความไมเคารพในพระผูมีพระภาคเจา ของพราหมณน้ีไมม ี เพราะฉะนนั้ เขากลาวอยางน้นั ดว ยอํานาจแหงการหลอกลวง เพราะกลวั วา โภคสมบัตจิ ะฉิบหาย. แมใ นบทอน่ื ก็มนี ยั เชนเดียวกนั น้.ี ในบทวา ดว ยกถาอันประกอบดวยธรรมเปน ตน มีความวา พระผูม ีพระภาคเจาทรงแสดงใหเห็นจริง ซึง่ ประโยชนท ีเ่ ปนปจ จบุ ันและเบื้องหนา ทรงใหเ ขายดึ มน่ั คอื ใหถอื เอาธรรมที่เปน กศุ ล ทรงใหเขาอาจหาญในธรรมท่ีเปนกุศลน้นั คือกระทาํ เขาใหม ีความอุตสาหะ ทําใหเ ขาราเริง ดวยความเปนผมู ีอตุ สาหะนั้น และคณุ ท่ีมีอยูอยางอ่ืน ทรงใหฝ นคอื พระธรรมรตั นะตกลงแลว เสดจ็ ลุกจากอาสนะ หลกี ไป. กพ็ ราหมณเพราะเหตุทต่ี นเปนคนหลอกลวง เม่ือพระผูมพี ระภาคเจา ทรงใหฝนคอื พระธรรมตกลงอยแู มด วยประการฉะน้ี กไ็ มส ามารถทจ่ี ะยังคุณวิเศษใหเกิดขึ้นได. กถาทง้ั หมด ไดเปนกถาเบ้อื งตน และเบือ้ งปลาย
พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 39เพอ่ื ประโยชนแ กน ิพพาน ในกาลตอ ไป และเพ่ือมีสวนแหงวาสนาของพราหมณอ ยา งเดยี ว. อรรถกถาโสณทัณฑสูตร ในอรรถกถาทีฆนกิ าย ชือ่ สมุ ังคลวิลาสนิ ีจบลงแลว ดว ยประการฉะน.้ี จบอรรถกถาโสณทัณฑสูตร ท่ี ๔
พระสตุ ตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 40 ๕. กูฏทันตสตู ร เรอ่ื งกูฏทนั ตพราหมณ [๑๙๙] ขาพเจา ไดส ดบั มาแลว อยางนี้ สมยั หน่งึ พระผูม พี ระภาคเจา เสดจ็ จาริกไปในมคธชนบท พรอมดว ยภิกษสุ งฆหมูใหญ ประมาณ ๕๐๐ รปู ไดเ สดจ็ ถงึ พราหมณคามของชาวมคธชอื่ ขานมุ ตั ตะ. ไดย ินวาในสมัยน้ัน พระผมู พี ระภาคเจา ประทับอยูในสวนอัมพลฏั ฐกิ า ใกลบานขานุมัตตะ สมัยน้นั พราหมณก ฏู ทันตะอยคู รองบานขานมุ ตั ตะ อนั คับคั่งดว ยประชาชนและหมูสตั ว อดุ มดวยหญาดว ยไม ดว ยนา้ํ สมบรู ณดว ยธัญญาหาร ซ่งึ เปน ราชสมบัติ อนั พระเจา -แผนดินมคธ จอมเสนา พระนามวา พิมพสิ าร พระราชทานปนู บําเหน็จใหเปน สวนพรหมไทย. มหายัญของกูฏทนั ตพราหมณ [๒๐๐] ก็ในสมัยน้นั พราหมณก ูฏทันตะไดเตรยี มมหายญั โคผู๗๐๐ ตัว ลกู โคผู ๗๐๐ ตวั ลกู โคเมีย ๗๐๐ ตัว แพะ ๗๐๐ ตัว และแกะ๗๐๐ ตวั ถูกนาํ เขาไปผกู ไวทีห่ ลัก เพอ่ื บชู ายญั . พราหมณและคฤหบดีชาวบา นขานมุ ัตตะ ไดส ดับวา พระสมณโคดมศากยบุตร ทรงผนวชจากศากยสกุล เสดจ็ จารกิ ไปในมคธชนบท พรอ มดว ยภกิ ษสุ งฆหมูใหญป ระ-มาณ ๕๐๐ รูป เสด็จถึงบา นขานมุ ัตตะ ประทับอยใู นสวนอมั พลฏั ฐิกาใกลบานขานุมัตตะ เกียรตศิ พั ทอนั งามของพระสมณโคดมพระองคน้ันขจรไปแลวอยางนี้วา
พระสุตตนั ตปฎก ทีฆนิกาย สลี ขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 41 พระพทุ ธคณุ แมเพราะเหตนุ ้ี ๆ พระผูมีพระภาคเจา พระองคน ้ัน เปนพระอรหนั ตตรสั รชู อบดวยพระองคเ อง ถึงพรอ มดวยวชิ ชาและจรณะ เสดจ็ ไปดแี ลวทรงรูแจง โลก เปน สารถฝี กคนที่ควรฝก ไมมผี ูอนื่ ยิ่งกวา เปนพระศาสดาของเทวดาและมนษุ ยท งั้ หลาย เปนผเู บกิ บานแลว เปน ผูจาํ แนกพระธรรมพระตถาคตองคน น้ั ทรงทาํ โลกนี้พรอมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก ใหแจงดวยพระปญ ญา อนั ย่งิ ของพระองคแ ลว ทรงสอนหมูสัตวพ รอมทง้ัสมณะและพราหมณ เทวดาและมนษุ ย ใหร ูต าม ทรงแสดงธรรมงามในเบื้องตน งามในทา มกลาง งามในท่ีสดุ ทรงประกาศพรหมจรรย พรอมทั้งอรรถ พรอมทง้ั พยัญชนะ บริสุทธิบ์ รบิ ูรณโดยส้ินเชิง กก็ ารเหน็ พระอรหันตท ้ังหลายเห็นปานนน้ั ยอ มเปน การดแี ลว ดังน.ี้ คร้ังน้ัน พราหมณและคฤหบดชี าวบานขานุมตั ตะ ออกจากบานขานมุ ตั ตะเปนหมู ๆ พากนัไปยงั สวนอมั พลฏั ฐกิ า. [๒๐๑] สมยั น้นั พราหมณกูฏทันตะ ขึน้ นอนกลางวนั ในปราสาทช้นั บน ไดเ หน็ พราหมณ และคฤหบดชี าวบานขานุมัตตะ ออกจากบานขานุมัตตะรวมกนั เปนหมู ๆ พากันไปสวนอมั พลฏั ฐกิ า จึงเรยี กท่ีปรึกษามาถามวา ทา นที่ปรกึ ษา พราหมณและคฤหบดีชาวบา นขานมุ ตั ตะ ออกจากบา นขานมุ ัตตะรวมกันเปนหมู ๆพากันไปยงั สวนอมั พลัฏฐกิ า ทาํ ไมกัน.ที่ปรึกษาบอกวา เร่ืองมอี ยู ทา นผูเจริญ พระสมณโคดมศากยบตุ รทรงผนวชจากศากยสกลุ เสด็จจาริกไปในมคธชนบทพรอมดว ยภกิ ษุสงฆหมใู หญประมาณ ๕๐๐ รปู เสด็จถึงบา นขานมุ ตั ตะ ประทับอยใู นสวนอัมพลฏั ฐกิ าใกลบ านขานุมตั ตะ เกยี รตศิ พั ทอนั งามของพระองคฟ งุ ขจรไปแลวอยา งนี้วา แมเพราะเหตุนี้ ๆ พระผูมพี ระภาคเจาพระองคน นั้ เปน อรหนั ต ตรัสรู
พระสตุ ตันตปฎก ทฆี นกิ าย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 42เองโดยชอบ ถึงพรอมดวยวชิ ชาและจรณะเสด็จไปดแี ลว ทรงรูแจงโลก เปน สารถีฝกคนท่คี วรฝก ไมม ีผูอน่ื ยิง่ กวา เปนพระศาสดาของเทวดาและมนษุ ยท งั้ หลาย เปนผเู บิกบานแลว เปน ผูจําแนกพระธรรมพราหมณและคฤหบดเี หลานัน้ พากันเขา ไปเฝาพระสมณโคดมพระองคน ้ัน.ลําดบั น้นั พราหมณกูฏทันตะไดเกดิ ความคิดเชนนี้วา ก็เราไดสดบั ขา วน้ีมาวา พระสมณโคดมทรงทราบยัญสมบัติ ๓ ประการ ซงึ่ มีบริวาร ๑๖ แตเราไมทราบ และเรากป็ รารถนาจะบชู ามหายัญ ถากระไร เราควรเขา ไปเฝาพระสมณโคดม ทลู ถามยญั ๓ ประการ ซึ่งมีบรวิ าร ๑๖. ลําดบั น้ันพราหมณกูฎทนั ตะไดเ รียกที่ปรกึ ษามาส่งั วา ทานทปี่ รึกษา ถาเชน น้นั ทา นจงไปหาพราหมณและคฤหบดชี าวบา นขานุมัตตะ แลวบอกเขาอยางน้ีวาทานท้ังหลาย พราหมณกฏู ทนั ตะสง่ั มาวา ขอใหท า นทั้งหลายจงรอกอนแมพราหมณกฏู ทนั ตะกจ็ ักไปเฝาพระสมณโคดมดว ย. ทีป่ รกึ ษารบั คําแลวไปหาพราหมณแ ละคฤหบดีชาวบานขานุมัตตะ แลว บอกวา ทานท้งั หลายพราหมณกูฏทันตะสั่งมาวาขอใหทา นทั้งหลายจงรอกอน แมพ ราหมณกูฏ-ทันตะก็จกั ไปเฝาพระสมณโคดมดว ย. [๒๐๒] สมยั นน้ั พราหมณห ลายรอ ยคนพักอยูในบา นขานมุ ัตตะดว ยหวังวา พวกเราจักบรโิ ภคมหายัญของพราหมณกูฏทนั ตะ. พราหมณเหลา น้ันไดท ราบวา พราหมณก ูฏทันตะจักไปเฝาพระสมณโคดม จงึ พากันไปหาพราหมณกูฏทนั ตะแลว ถามวา ไดท ราบวา ทา นจักไปเฝาพระสมณ-โคดม จริงหรือ. กฏู ทันตะ เราคิดวา จกั ไปเฝา พระสมณโคดม จริง.พราหมณ อยาเลยทา นกฏู ทนั ตะ ทา นไมค วรไปเฝาพระสมณโคดม ถาทา นไปเฝา ทา นจะเสียเกยี รตยิ ศ เกียรติยศของพระสมณโคดมจักรุง เรืองดวยเหตุนแ้ี หละ ทานจึงไมควรไปเฝาพระสมณโคดม พระสมณโคดมตา ง
พระสตุ ตันตปฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 43หากควรจะมาหาทาน อนงึ่ ทานเปน อุภโตสชุ าต ทั้งฝา ยมารดาและบิดามีครรภเ ปน ท่ีถอื ปฏสิ นธหิ มดจดดตี ลอด ๗ ช่ัวคน ไมม ใี ครจะคัดคา นติเตียนดวยการกลาวอางถึงชาตไิ ด เพราะเหตุนนั้ ทานจงึ ไมควรไปเฝาพระสมณโคดม พระสมณโคดมตางหากควรจะมาหาทา น อน่งึ ทานเปนคนมงั่ ค่ัง มีทรัพยมาก มีโภคสมบตั ิมาก มีเครอ่ื งใชสอยอันนาปล้มื ใจมาก มีทองและเงนิ มาก อนึง่ ทานเปนผคู งแกเ รียน ทรงจาํ มนต รูจบไตรเพท พรอมท้งั คมั ภรี น ิฆัณฑุ คัมภรี เ กตุภะ พรอ มท้งั ประเภทอกั ษรมคี ัมภรี อิติหาส เปนที่ ๕ เปนผูเขาใจตัวบท เปน ผเู ขาใจไวยากรณ ชํานาญในคมั ภรี โ ลกายตะและมหาปุรสิ ลกั ษณะ อนงึ่ ทา นมรี ปู งาม นา ดนู าเลอ่ื มใส ประกอบดว ยผวิ พรรณผดุ ผอ งย่งิ นกั มฉี วีวรรณคลายพรหม มีรปู รางคลายพรหม นาดูนา ชมไมน อย อนึง่ ทา นเปนผูมีศีล มีศลี ย่งั ยนื ประกอบดวยศีลย่งั ยืน อนึ่ง ทานเปน ผูมวี าจาไพเราะ มสี าํ เนียงไพเราะ ประกอบดว ยวาจาของชาวเมือง สละสลวย หาโทษมไิ ด ใหผูฟงเขา ใจเนอ้ื ความไดช ดั อน่ึง ทานเปนอาจารยและปาจารยข องชนหมูมาก สอนมนตมาณพถึง ๓๐๐ พวกมาณพเปน อันมากตา งทศิ ตางชนบท ผูตอ งการมนตจะเรียนมนตใ นสํานักของทา นพากันมา อนึ่ง ทา นเปนผแู กเ ฒา เปนผใู หญ ลวงกาลผานวัยมาโดยลาํ ดับ สว นพระสมณโคดมเปน คนหนมุ และบวชแตย ังหนมุ อนง่ึ ทา นเปนผอู นั พระเจาแผน ดินมคธ จอมเสนา พระนามวาพิมพิสาร ทรงสักการะเคารพนบั ถอื บูชา นอบนอม อนึง่ ทา นเปนผอู ันพราหมณโ ปกขรสาติ สกั การะ เคารพนับถือ บูชา นอบนอ ม อนึ่ง ทานครองบานขานมุ ัตตะอนั คับคงั่ ดวยประชาชนและหมสู ตั ว อุดมดว ยหญาดวยไม ดว ยนาํ้ สมบูรณด ว ยธัญญาหาร ซึง่ เปน ราชสมบตั อิ นั พระเจากรงุ มคธ ทรงพระนามวา เสนิยะ พมิ พสิ าร พระราชทานปูนบําเหน็จให
พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นิกาย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 44เปนสว นพรหมไทย เพราะเหตนุ ีแ้ หละ ทา นจึงไมควรไปเฝาพระสมณโคดมพระสมณโคดมตางหากควรจะมาหาทา น. [๒๐๓] เม่ือพวกพราหมณกลา วอยา งน้ีแลว พราหมณกูฏทันตะจึงไดกลา ววา ทานท้งั หลาย ถา อยางน้นั ขอจงฟงขาพเจาบาง เรานี้แหละควรไปเฝา พระสมณโคดมพระองคนั้น พระสมณโคดมไมค วรจะเสดจ็ มาหาเรา เพราะไดย ินวา ทานเปนอุโตสุชาต ทั้งฝา ยมารดา และบดิ า มีพระครรภเปนท่ถี อื ปฏสิ นธิหมดจดดีตลอด ๗ ช่วั คน ไมม ีใครคัดคานติเตียน ดวยการกลาวอา งถงึ พระชาติ เพราะเหตนุ แี้ หละ พระโคดมจงึ ไมค วรจะเสดจ็ มาหาเรา ทีถ่ ูกเราน้แี หละ ควรไปเฝา พระองค.ไดยินวา พระสมณโคดมทรงละพระญาติหมใู หญ ออกผนวชแลวพระองคท รงสละเงนิ และทองเปน อนั มาก ทงั้ ทอ่ี ยูใ นพ้นื ดิน ทัง้ ที่อยใู นอากาศออกผนวช พระองคก าํ ลังรนุ มพี ระเกศาดาํ สนิท ยงั หนมุ แนนตง้ั อยใู นปฐมวัย เสด็จออกผนวชเปน บรรพชิต เมื่อพระมารดาและพระบิดา ไมท รงปรารถนาใหผ นวช มพี ระพกั ตรอาบดวยนา้ํ พระเนตรทรงกันแสงอยู พระองคไ ดท รงปลงพระเกศา และพระมสั สุ ทรงครองผากาสาวพสั ตร เสดจ็ ออกผนวชเปน บรรพชติ พระองคมีพระรูปงามนาดู นา เลอ่ื มใส ประกอบดวยพระฉววี รรณ ผดุ ผองยงิ่ นัก มีพระฉวีวรรณคลายพรหม มีพระสรีระคลายพรหม นา ดู นา ชม มิใชนอย พระองคเปนผูมีศีล มีศีลประเสริฐ มีศีลเปนกุศล ประกอบดว ยศลี เปน กุศลพระองคม พี ระวาจาไพเราะ มีพระสําเนียงไพเราะ ประกอบดว ยวาจาของชาวเมือง สละสลวย หาโทษมิได ใหผฟู ง เขา ใจเนอ้ื ความไดช ดั พระองคเปน อาจารยและปาจารยของคนหมมู าก พระองคสิ้นกามราคะแลว เลิกประดบั ตกแตง พระองคเ ปน กรรมวาที เปน กิรยิ -
พระสตุ ตันตปฎ ก ทฆี นกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 45วาที ไมท รงมุงรา ยตอพวกพราหมณ พระองคท รงผนวชจากสกลุ สูง คอืสกลุ กษตั รยิ อ นั ไมเจือปน พระองคผนวชจากสกุลม่งั ค่ัง มีทรัพยม ากมีโภคสมบตั มิ าก ชนตางรัฐตา งชนบทพากันมาทูลถามปญ หากะพระองคเทวดาหลายพันมอบชีวิตถึงพระองคเ ปน สรณะ เกียรติศัพทอนั งามของพระองคฟงุ ขจรไปแลวอยา งน้ีวา แมเ พราะเหตนุ ี้ ๆ พระผมู พี ระภาคเจาพระองคน ้ัน เปน พระอรหนั ต ตรสั รเู องโดยชอบ ถึงพรอ มดว ยวิชชาและจรณะ เสดจ็ ไปดแี ลว ทรงรูแจงโลก เปน สารถีฝกคนผูควรฝก ไมมีผูอน่ื ยงิ่ กวา เปน พระศาสดาของเทวดาและมนุษยท ง้ั หลาย เปนผเู บกิ บานแลว เปน ผูจําแนกพระธรรม พระองคท รงประกอบดวยมหา-ปุรสิ ลักษณะ ๓๒ ประการ พระองคม ปี กตกิ ลาวเช้ือเชิญ เจรจาผูกไมตรี ชา งปราศรัย มพี ระพักตรไมส ย้วิ มีพระพกั ตรเ บกิ บาน มีปกติตรสั กอ น พระองคเ ปน ผูอ ันบรษิ ทั ๔ สกั การะเคารพ นับถอื บชู านอบนอ ม เทวดาและมนษุ ยเปน อันมาก เล่อื มใสในพระองคย ิ่งนัก พระองคท รงพํานักอยใู นบา นหรือนิคมใด บา นหรือนิคมน้นั อมนษุ ยไ มเบยี ดเบียนมนุษย พระองคเปนเจา หมูเ จาคณะ และเปนคณาจารย ไดรบั ยกยองวา เปน ยอดของเจา ลัทธิเปนอนั มาก สมณพราหมณเ หลา นี้เรอื งยศดวยประกาศ ใด ๆ แตพ ระสมณโคดม ไมเรอื งยศอยางนน้ั ที่แทพระสมณโคดม เรืองยศดว ย วชิ ชา และจรณสมบัติ อันยอดเย่ียมพระเจา กรุงมคธทรงพระนามวา เสนิยะ พมิ พสิ าร พรอ มทั้งพระโอรสและพระมเหสี ท้งั ราชบรพิ ารและอาํ มาตย ทรงมอบชวี ิตถึงพระองคเ ปนสรณะพระเจา ปเสนทิโกศล พรอมทัง้ พระโอรสและพระมเหสี ท้งั ราชบรพิ ารและอาํ มาตยทรงมอบชีวติ ถึงพระองคเปน สรณะ พราหมณโ ปกขรสาติพรอ มท้ังบุตรและภรยิ า ทั้งบริวารและอํามาตย มอบชีวติ ถงึ พระองค
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ทีฆนิกาย สลี ขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาท่ี 46เปน สรณะ พระองคเปน ผอู นั พระเจากรงุ มคธ ทรงพระนามวา เสนยิ ะพมิ พิสาร ทรงสักการะ เคารพนบั ถือ บูชา นอบนอ ม พระองคเปน ผูอนั พระเจาปเสนทิโกศล ทรงสกั การะเคารพนับถือ บูชา นอบนอมพระองคเปน ผูอันพราหมณโปกขรสาติ สักการะ เคารพนบั ถือ บูชานอบนอ ม พระองคเสดจ็ ถึงบา นขานุมตั ตะ ประทบั อยูที่สวนอัมพลัฏฐกิ าใกลบ านขานุมตั ตะ สมณหรือพราหมณเหลา ใดเหลา หนึ่ง มาสเู ขตบา นของเรา เหลานนั้ จัดวาเปนแขกของเรา และเปนแขกซงึ่ เราควรสกั การะ เคารพ นับถอื บชู า นอบนอม เพราะเหตทุ ีพ่ ระสมณโคดมเสดจ็ ถงึ บานขานมุ ตั ตะ ประทับอยทู ่ีสวนอมั พลฏั ฐกิ า ใกลบ านขานมุ ตั ตะจดั วาเปนแขกของเรา และเปนแขกท่เี ราควรสักการะ เคารพนับถอื บชู านอบนอม นีแ้ หละ พระองคจ ึงไมควรจะเสดจ็ มาหาเรา ที่ถูก เราตางหากควรไปเฝาพระองค ขาพเจาทราบพระคุณของพระโคดมเพยี งเทาน้ีแตพ ระโคดมมิใชมีพระคุณเพียงเทา น้ี ความจรงิ พระองคม พี ระคณุ หาประมาณมไิ ด. [๒๐๔] เมอ่ื พราหมณกฏู ทนั ตะ กลาวอยา งน้แี ลว พวกพราหมณเหลา นั้นไดก ลาววาทา นกฏู ทันตะ กลาวชมพระสมณโคดมถึงเพียงน้ีถึงหากพระองคจะประทบั อยูไกลจากที่นี้ตั้ง ๑๐๐ โยชนก ็ควรแทท ่กี ุลบตุ รผูมีศรัทธาจะไปเฝา แมตอ งนําเสบยี งไปกค็ วร. พราหมณก ฏู ทนั ตะกลาววา ทานทั้งหลาย ถาเชนน้นั เราท้ังหมดจักเขาไปเฝาพระสมณ-โคดม. ลําดบั นั้น พราหมณกูฏทันตะพรอมดว ยคณะพราหมณผใู หญ ไดเขา ไปเฝาพระผมู ีพระภาคเจาทีส่ วนอัมพลัฏฐกิ า ไดป ราศรัยกับพระผูมีพระภาคเจา คร้ันผา นการปราศรัยพอใหร ะลึกถงึ กันไปแลว ไดน่งั ณ ทค่ี วรสวนขางหนึง่ . ฝายพราหมณแ ละคฤหบดชี าวบา นขานมุ ัตตะ บางพวกก็ถวาย
พระสุตตันตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ที่ 47บังคม บางพวกกป็ ราศรยั บางพวกก็ประนมอญั ชลไี ปทางพระผมู ีพระภาค-เจา บางพวกก็ประกาศชอื่ และโคตร บางพวกก็นิง่ อยู แลว ตา งพากันนงั่ณ ทคี่ วรสวนขา งหน่งึ . พราหมณก ูฏทนั ตะ น่งั ณ ทีค่ วรสวนขา งหนง่ึแลว ไดกราบทูลพระผูมพี ระภาคเจา วา ขา แตพระสมณโคดมผเู จริญ ขา -พระองคไดส ดับมาวา พระสมณโคดมทรงทราบยัญสมบัติ ๓ ประการ ซ่ึงมีบริวาร ๑๖ สวนขา พระองคไมท ราบ แตป รารถนาจะบูชามหายญั ขอประทานพระวโรกาส ขอพระโคดมผูเจริญโปรดแสดง ยัญสมบัติ ๓ ประการซ่ึงมีบรวิ าร ๑๖ แกขา พระองคเถิด พระเจา ขา ยญั ของพระเจามหาวิชติ ราช [๒๐๕] พระผมู พี ระภาคเจาตรสั วา ดกู อนพราหมณ ถาเชน นั้นทานจงฟง จงต้งั ใจใหดีเราจักบอก. เมอ่ื พราหมณก ูฏทันตะทูลรับแลว จงึตรสั วา ดูกอนพราหมณ เรอ่ื งเคยมีมาแลว พระเจามหาวชิ ติ ราช เปนผูม่งั คัง่มีทรัพยมาก มโี ภคสมบตั ิมาก มที องและเงนิ มาก มีเครือ่ งใชส อยอันนาปลม้ื ใจมาก มที รัพยและขาวเปลือกมาก มีทองพระคลงั และฉางบริบรู ณ.ดูกอ นพราหมณ คร้ังนั้น พระเจามหาวิชิตราชไดเ สดจ็ เขา ไปสทู ี่ลับเรนอยูไดเ กดิ พระปรติ กอยางนีว้ า เราไดครอบครองสมบัติมนษุ ยอ ยา งไพบูลยแลวไดชนะปกครองดินแดนมากมาย ถา กระไร เราพึงบูชามหายัญ ทจ่ี ะเปนประโยชนแ ละความสขุ แกเ ราตลอดกาลนาน. ดกู อ นพราหมณ พระเจามหาวชิ ิตราชรบั สง่ั ใหเ รยี กพราหมณปุโรหิตมาแลว ตรัสวา วันน้เี ราไดเ ขา สูทีล่ ับเรน อยู ไดเ กิดปริวิตกอยางนวี้ า เราไดครอบครองสมบัติมนษุ ยอยางไพบลู แลว ไดช นะปกครองดนิ แดนมากมาย ถา กระไร เราพงึ บชู ามหายัญที่จะเปน ไปเพอ่ื ประโยชนและความสุขแกเราตลอดกาลนาน. ดกู อนพราหมณ
พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขันธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 48เราปรารถนาจะบูชามหายัญ ขอทา นจงชีแ้ จงวิธบี ชู ามหายญั ทจี่ ะเปนประ-โยชนและความสุขแกเราตลอดกาลนาน. [๒๐๖] ดูกอนพราหมณ เม่ือพระเจา มหาวิชติ ราช รับสั่งอยางนี้แลว พราหมณป ุโรหติ กราบทูลวา ชนบทของพระองคยงั มีเสย้ี นหนามยงั มีการเบียดเบียนกนั โจรปลน บา นกด็ ี ปลนนคิ มก็ดี ปลนเมอื งกด็ ีทํารายในหนทางเปลี่ยวก็ดี ยังปรากฏอย.ู พระองคจะโปรดยกภาษอี ากรในเมื่อบา นเมอื งยงั มเี สย้ี นหนาม ยงั มีการเบยี ดเบียนกัน ดวยเหตุทย่ี กเสียนั้น จะพงึ ชอ่ื วา ทรงกระทาํ การมิสมควร. บางคราวพระองคจะทรงดาํ ริอยา งนีว้ า เราจักปราบปรามเสยี้ นหนามคอื โจรดวยการประหาร ดวยการจองจํา ดว ยการปรับไหม ดว ยการตําหนิ หรือเนรเทศ. อนั การปราบปรามดวยวธิ ีเชน นี้ ไมชอื่ วาเปน การปราบปรามโดยชอบ. เพราะวา โจรบางพวกท่ีเหลอื จากถูกกาํ จดั จักยังมอี ยู ภายหลังมนั กจ็ กั เบยี ดเบยี นบา นเมืองของพระองค. แตว า การปราบปรามเสย้ี นหนามคือโจรนั้น จะชอื่ วาเปน การปราบปรามโดยชอบ เพราะอาศยั วา การดังตอ ไปนี้ พลเมืองเหลา ใดในบานเมืองของพระองค ขะมักเขมนในกสกิ รรมและโครักขกรรม ขอพระองคจ งเพ่ิมขา วปลกู และขาวกินใหแ กพลเมืองเหลาน้นั ในโอกาสอนั สมควร พลเมืองเหลา ใดในบานเมืองของพระองค ขะมกั -เขมนในพาณิชยกรรม ขอพระองคจงเพมิ่ ทนุ ใหแ กพ ลเมืองเหลา นั้นในโอกาสอนั สมควร ขาราชการเหลา ใด ในบา นเมืองของพระองคข ยัน ขอพระองคจงพระราชทานเบีย้ เลีย้ ง และเงินเดอื นแกข า ราชการเหลานั้น ในโอกาสอนั สมควร พลเมืองเหลาน้นั น่ันแหละ จกั เปน ผขู วนขวายในการงานของตน ๆ จกั ไมเ บยี ดเบียนบานเมืองของพระองค. อนึ่ง กองพระราชทรัพยมจี ํานวนมาก จักเกิดแกพระองค บา นเมืองกจ็ ะตง้ั มัน่ อยใู นความเกษม
พระสุตตนั ตปฎก ทีฆนกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนา ท่ี 49หาเสี้ยนหนามมิได ไมม กี ารเบยี ดเบียนกนั พลเมอื งจักชืน่ ชมยินดตี อกันยงั บตุ รใหฟอ นอยูบนอก จกั ไมต องปด ประตเู รอื นอยู. ดกู อนพราหมณ พระเจามหาวิชิตราชทรงรบั คาํ พราหมณปโุ รหติ แลว กไ็ ดพระราชทานขา วปลูกและขา วกนิ แกพลเมอื งในบา นเมืองของพระองคท ี่ขะมกั เขมน ในพาณชิ ย-กรรม พระราชทานเบยี้ เลีย้ ง และเงนิ เดอื นแกขา ราชการในเมืองของพระองคท ข่ี ยัน พลเมืองเหลา น้ันน่ันแหละ ไดเปน ผูข วนขวายในการงานตามหนาที่ของตนๆ ไมไดเ บียดเบียนบานเมืองของพระองค. อนึง่ กองพระราชทรพั ยมีจาํ นวนมาก ไดเกิดมแี ลวแกพระองค บา นเมืองไดด าํ รงอยูใ นความเกษม หาเสยี้ นหนามมิได ไมมกี ารเบียดเบียนกัน พลเมืองชื่นชมยินดีตอกัน ยังบตุ รใหฟ อ นอยบู นอก ไมต องปด ประตูเรือนอยแู ลว . [๒๐๗] ดูกอนพราหมณ คร้ังนน้ั แล พระเจา มหาวชิ ิตราชไดทรงรับสงั่ ใหพ ราหมณป โุ รหติ มาเฝาแลว ตรัสวา ทานผูเจริญ โจรทีเ่ ปน เส้ยี นหนามนัน้ เราไดปราบปรามดีแลว เพราะอาศัยวธิ กี ารของทาน และกองพระราชทรพั ยใ หญไ ดบงั เกดิ แกเ รา บานเมืองก็ไดดํารงอยใู นความเกษม หาเส้ยี นหนามมิได ไมมกี ารเบียดเบียนกนั พลเมอื งชืน่ ชมยนิ ดตี อ กนั ยังบตุ รใหฟอ นอยูบ นอก ไมตอ งปดประตูเรอื นอยู ดูกอนพราหมณ เราปรารถนาจะบูชามหายัญ ขอทา นจงชี้แจงวธิ บี ูชามหายญั ทจี่ ะเปน ประโยชนและความสุขแกเ ราตลอดกาลนาน. พราหมณป โุ รหิตกราบทูลวา ขอเดชะ ถาเชน นนั้ อนุยนตกษัตรยิ เหลา ใด ซง่ึ เปน ชาวนคิ มและชาวชนบท ในพระราชอาณาเขตของพระองค ขอพระองคจ งเรียกอนยุ นตกษัตรยิ เ หลานั้นมาปรึกษาวา ทานท้ังหลาย เราปรารถนาจะบูชายญั ขอทานจงรว มมอื กับเรา เพอ่ื ประโยชนเพื่อความสขุ แกเราตลอดกาลนาน. อาํ มาตยราชบริพารเหลา ใด ซ่ึงเปนชาวนิคมและชาวชนบท ในพระราชอาณาเขตของ
พระสุตตนั ตปฎ ก ทีฆนกิ าย สีลขนั ธวรรค เลม ๑ ภาค ๒ - หนาที่ 50พระองค ขอพระองคจ งเรยี กอํามาตยร าชบรพิ ารเหลา น้ันมาปรกึ ษาวา ทา นทั้งหลายเราปรารถนาจะบชู ามหายญั ทา นจงรว มมอื กบั เรา เพื่อประโยชนเพือ่ ความสุขแกเราตลอดกาลนาน. พราหมณมหาศาลเหลาใด ซ่งึ เปนชาวนิคมและชาวชนบท ในพระราชอาณาเขตของพระองค ขอพระองคจ งเรียกพราหมณมหาศาลเหลาน้นั มาปรึกษาวา ทานทั้งหลาย เราปรารถนาจะบูชามหายัญ ทานจงรวมมอื กบั เรา เพือ่ ประโยชนเ พอื่ ความสขุ แกเ ราตลอดกาลนาน. คฤหบดผี ูม ง่ั คง่ั เหลา ใด ซึง่ เปน ชาวนิคมและชาวชนบท ในพระราชอาณาเขตของพระองค ขอพระองคจ งเรียกคฤหบดีผูม่ังค่งั เหลา น้นัมาปรกึ ษาวา ทานทั้งหลาย เราปรารถนาจะบูชามหายญั ขอทานจงรว มมือกบั เรา เพื่อประโยชนเ พ่ือความสุขแกเ ราตลอดกาลนาน. ดกู อนพราหมณพระเจามหาวิชิตราช ทรงรับคําปุโรหติ แลวทรงเรยี กอนุยนตกษตั รยิ ซึ่งเปนชาวนิคมและชาวชนบทในพระราชอาณาเขตของพระองคม าปรกึ ษา วาทา นท้ังหลาย เราปรารถนาจะบูชามหายญั ขอทา นจงรว มมือกบั เรา เพ่อืประโยชน เพ่อื ความสขุ แกเ ราตลอดกาลนาน. อนุยนตกษตั รยิ เหลา นั้นกราบทูลวา ขอพระองคจงบูชายัญเถดิ ขอเดชะ บดั นี้เปน การสมควรท่ีจะบูชายัญ ทรงเรียกอาํ มาตยราชบรพิ าร ซึ่งเปน ชาวนคิ มและชาวชนบทในพระราชอาณาเขตของพระองคม าปรึกษาวา ทา นทง้ั หลาย เราปรารถนาจะบชู ามหายญั ขอทา นจงรวมมือกับเรา เพ่อื ประโยชนเพื่อความสขุ แตเราตลอดกาลนาน อาํ มาตยร าชบริพารเหลา น้ันกราบทลู วาขอพระองคจ งทรงบชู ายัญเถดิ ขอเดชะ บดั นีเ้ ปนการสมควรทจ่ี ะบชู ายญั ทรงเรยี กพราหมณมหาศาล ซง่ึ เปน ชาวนิคมและชาวชนบทในพระราชอาณาเขตของพระองคมาปรึกษาวา ทานทัง้ หลาย เราปรารถนาจะบชู ามหายญั ขอทา นจงรว มมือกบั เรา เพอ่ื ประโยชน เพือ่ ความสุขแกเราตลอดกาลนาน พราหมณ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286