Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01 แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา 30201-2005 การบัญชีชั้นสูง 1

01 แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา 30201-2005 การบัญชีชั้นสูง 1

Published by kannika phiosa-ad, 2021-09-18 12:15:06

Description: 01 แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา 30201-2005 การบัญชีชั้นสูง 1

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการ รายวิชา การบญั ชีช้ันสงู 1 รหสั วชิ า 30201 - 2005 จดั ทำโดย นางสาวกรรณกิ าร์ ผิวสะอาด ครู คศ.1 สาขาวิชาการบัญชี วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายการตรวจสอบและอนญุ าตใชแ้ ผน  ควรอนุญาตใหใ้ ช้ในการเรียนการสอนได้  ควรปรับปรุงเกี่ยวกับ ............................................................................................................................. ................................. .............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................. ลงชื่อ....................................................................... (นางเพญ็ ประภา อษุ าวโิ รจน์) หัวหน้าแผนกวชิ าการบญั ชี ................../......................./.....................  เห็นควรอนุญาตให้ใช้ในการจัดการเรียนรไู้ ด้  ควรปรับปรุงดังเสนอ  อื่น ๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ....................................................................... (นายอานภุ าพ วาสะสริ ิ) รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ ................../......................./.....................  อนญุ าตใหใ้ ชใ้ นการจดั การเรียนร้ไู ด้  อื่น ๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงช่ือ....................................................................... ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ................../......................./...................

โครงการสอน Course Syllabus แผนการจดั การเรียนรู้ หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สงู (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ของสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประเภทวิชา การบญั ชี สาขาวิชา การบญั ชี รหสั วชิ า 30201-2005 รายวชิ า การบัญชชี ้ันสูง 1 จำนวน 4 ชวั่ โมง/สัปดาห์ จำนวน 3 หน่วยกิต ผู้สอน นางสาวกรรณกิ าร์ ผิวสะอาด จุดประสงค์รายวชิ า เพ่อื ให้ 1. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการบัญชีของกิจการร่วมค้า ฝากขาย ขายผ่อนชำระและเช่าซื้อและการจัดทำงบการเงิน จากรายการท่บี นั ทึกไวไ้ มส่ มบรู ณ์ 2. มที กั ษะในการบันทกึ บัญชี และจัดทำงบการเงินของกจิ การรว่ มคา้ ฝากขาย ขายผอ่ นชำระและเชา่ ซ้ือตาม มาตรฐานการบัญชี 3. มคี ุณลกั ษณะนิสยั ทพ่ี งึ ประสงค์ และมีเจคติท่ีดี ในการประกอบอาชีพ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เก่ยี วกบั หลกั การการบัญชีของกจิ การรว่ มคา้ ฝากขาย ขายผอ่ นชำระและเช่าซอ้ื และการจัดทำ งบการเงนิ จากรายการบันทกึ ไวไ้ ม่สมบูรณ์ 2. ปฏบิ ัติงานตามกระบวนการบัญชีของกิจการร่วมคา้ ฝากขาย ขายผอ่ นชำระและเช่าซอ้ื และการจัดทำ งบการเงินจากรายการท่ีบนั ทึกไว้ไมส่ มบรู ณ์ ตามมาตรฐานการบญั ชี คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการบัญชีกิจการร่วมค้า ฝากขาย ขายผ่อนชำระและเช่าซื้อและการจัดทำงบการเงิน จากรายการบนั ทกึ บัญชีทไี่ ม่สมบรู ณ์

หนว่ ยการจัดการเรียนรู้ รหสั 30201 - 2005 วิชา การบญั ชีชั้นสงู 1 จำนวนคาบ 4/สัปดาห์ หน่วยที่ ชอ่ื หน่วยการสอน จำนวน หมายเหตุ (ชม.) 1 การบญั ชีเกี่ยวกบั การร่วมคา้ 1. ความหมายและความสำคัญของกิจการร่วมค้า 4 2. ประเภทของธรุ กจิ ที่ดำเนนิ ธุรกิจร่วมค้า 3. สาเหตุทมี่ ีการทำธุรกิจแบบรว่ มค้า 4 4 2 4. วิธกี ารบนั ทึกบญั ชขี องกิจการร่วมคา้ โดยไมเ่ ปดิ สมุดบญั ชีอีกชุด 4 หนงึ่ ตา่ งหาก 4 3 5. วิธีการบนั ทกึ บัญชขี องกจิ การรว่ มคา้ โดยเปิดสมุดบัญชีอกี ชุดหนงึ่ 4 ต่างหาก 4 4 การบัญชีการฝากขาย 4 1. ความหมายและความสำคัญของการฝากขาย 2. ลักษณะของการฝากขาย 4 3. วธิ กี ารดำเนนิ การฝากขาย 4 4. สิทธิของผู้รบั ฝากขาย 5. หนา้ ทีข่ องผรู้ ับฝากขาย 5 6. การบันทึกบัญชีดา้ นผู้ฝากขาย 7. สนิ ค้าคงเหลือของผฝู้ ากขาย 6 8. การบันทกึ บัญชดี า้ นผรู้ ับฝากขาย 9. เงินล่วงหนา้ จากผูร้ บั ฝากขาย 10. การสง่ คืนสินค้าฝากขายท่ีขายไมไ่ ด้ 11. การขายสินค้าฝากขายเปน็ เงนิ เช่ือ 7 12. การจัดทำรายงานยอดกำไรจากการฝากขาย 13. ศัพทบ์ ัญชี 8 การบัญชีเกยี่ วกับการขายตามสัญญาผ่อนชำระและการเช่าซ้ือ 1. ความหมายและความสำคัญของการขายตามสญั ญาผ่อนชำระ และการเชา่ ซอ้ื 2. คา่ นิยามจากแถลงการณ์มาตรฐานการบัญชฉี บับท่วั ไป 3. วธิ ีการบนั ทกึ บัญชีเกย่ี วกับการขายตามสญั ญาผ่อนชำระ 9 4. การบันทกึ บญั ชีและปดิ บัญชีการขายตามสัญญาผ่อนชำระเมื่อ กจิ การใช้วิธบี นั ทึกสินคา้ แบบต่อเนื่อง 10 5. การบันทึกบญั ชีและการปดิ บญั ชีการขายตามสัญญาผอ่ นชำระ เม่ือกิจการใชว้ ธิ ีบนั ทกึ สนิ ค้าเมื่อวนั สน้ิ งวด

หน่วยการจดั การเรียนรู้ . รหัส 30201 – 2005 วิชา การบญั ชีช้นั สงู 1 จำนวนคาบ 4 คาบ หรอื ชั่วโมง/สัปดาห์ หนว่ ยท่ี ชอื่ หน่วยการสอน จำนวนคาบ หมายเหตุ 11 (ชม.) 12 6. สินคา้ รับแลกเปล่ียน 4 13 7. การผดิ นดั ชำระหนี้ และการยดึ สินคา้ คืน 4 8. ศัพทบ์ ัญชี 4 14 ดอกเบ้ียที่เกิดจากการขายตามสัญญาผอ่ นชำระและสัญญาเชา่ ซื้อ 15 1. ความหมายของดอกเบี้ยตามสญั ญาผอ่ นชำระและดอกเบ้ียตามสัญญา 4 4 16 เชา่ ซ้ือ 17 2. การคำนวณดอกเบ้ีย 4 18 3. การบนั ทกึ รายการเกยี่ วกับการขายตามสัญญาผอ่ นชำระ 4 4 4. การบันทึกรายการเกย่ี วกับการขายตามสัญญาเช่าซ้ือ 5. การเปดิ เผยขอ้ มลู ในงบการเงนิ ระบบบัญชีท่ีไม่สมบรู ณแ์ บบหรือระบบบญั ชเี ด่ยี ว 1. ความหมายของระบบบัญชีทไ่ี มส่ มบูรณ์แบบ 2. ความสำคญั ของระบบบัญชที ี่ไม่สมบูรณแ์ บบ 3. การคำนวณหากำไรขาดทุนโดยการเปรยี บเทยี บทุน 4. การคำนวณหากำไรขาดทนุ โดยการวิเคราะหร์ ายละเอยี ดประกอบงบ กำไรขาดทุน 5. การเปลีย่ นวิธีการบัญชจี ากระบบบญั ชีทีไ่ มส่ มบรู ณแ์ บบมาเป็นระบบ บัญชีคู่ สอบปลายภาคเรียน

หน่วยที่ สมรรถนะหนว่ ยการเรียนรู้ จำนวนช่ัวโมง 1 4 1 1. อธบิ ายความหมายและความสำคัญของกิจการรว่ มคา้ ได้ 8 2. บอกประเภทของธรุ กจิ ที่ดำเนนิ ธุรกิจร่วมคา้ ได้ 2 3. บอกสาเหตทุ ่ีมีการทำธุรกจิ แบบร่วมค้าได้ 4 1. บอกวิธกี ารปฎิบตั เิ กีย่ วกับกิจการรว่ มคา้ ได้ 2 2. บันทึกการแสดงสิทธิสว่ นไดเ้ สียและกำไรขาดทุนจากกจิ การร่วมคา้ ในงบการเงิน 12 3 4 3 ของผู้ร่วมค้าได้ 8 3 1. อธบิ ายความหมายและความสำคญั ของการฝากขาย 4 3 2. อธิบายลกั ษณะของการฝากขาย 4 3. อธิบายวิธกี ารดำเนินการฝากขาย 4 4. อธิบายสิทธขิ องผ้รู ับฝากขาย 8 5. อธบิ ายหนา้ ทข่ี องผรู้ บั ฝากขาย 5 1. บนั ทึกบญั ชีเก่ียวกับการฝากขายได้ 12 2. สนิ คา้ คงเหลือของผฝู้ ากขาย 3. เงินล่วงหนา้ จากผูร้ ับฝากขาย 4. การส่งคืนสินคา้ ฝากขายทขี่ ายไมไ่ ด้ 5. การขายสินคา้ ฝากขายเป็นเงินเชอ่ื 6. การจัดทำรายงานยอดกำไรจากการฝากขาย 1. บอกความหมายและความสำคญั ของการขายตามสญั ญาผอ่ นชำระและการเช่าซื้อได้ 1. บันทึกบญั ชกี ารขายตามสญั ญาผอ่ นชำระ แบบวิธีบันทกึ สินคา้ แบบต่อเน่ืองได้ 2. ปิดบัญชกี ารขายตามสญั ญาผ่อนชำระ แบบใช้วิธีบนั ทกึ สินคา้ แบบต่อเน่อื งได้ 1. บันทกึ บญั ชี การขายตามสญั ญาผ่อนชำระ แบบวิธีบันทึกสนิ คา้ แบบสนิ้ งวดได้ 2. ปิดบญั ชีการขายตามสญั ญาผอ่ นชำระ แบบวธิ บี นั ทึกสินค้าแบบส้นิ งวดได้ 1. บันทกึ บญั ชีสินคา้ รับแลกเปล่ยี นได้ 2. บนั ทึกบัญชกี ารผิดนดั ชำระหน้ี และการยดึ สินค้าคนื ได้ 1. อธบิ ายความหมายของดอกเบี้ยตามสญั ญาผ่อนชำระและดอกเบย้ี ตามสัญญาเช่าซ้ือ 2. บอกวธิ กี ารคำนวณดอกเบ้ีย 3. บอกวธิ กี ารบนั ทกึ รายการเก่ยี วกับการขายตามสญั ญาผ่อนชำระ 4. บนั ทึกรายการเกี่ยวกับการขายตามสัญญาเชา่ ซื้อทางดา้ นผู้ให้เช่าซอ้ื และผเู้ ช่าซ้อื ได้ 5. สามารถเปิดเผยขอ้ มูลเกย่ี วกับการขายตามสัญญาผอ่ นชำระและการขายตามสญั ญา เชา่ ซ้อื ในงบการเงินได้ 1. บอกความหมาย ของระบบบัญชีที่ไมส่ มบูรณแ์ บบได้ 2. บอกความสำคัญของระบบบญั ชีท่ไี มส่ มบรู ณ์แบบได้ 3. การคำนวณหากำไรขาดทุนโดยการวิเคราะห์รายละเอยี ดประกอบงบกำไรขาดทนุ ได้ 4. บันทกึ การเปล่ยี นวิธีการบญั ชี จากระบบบญั ชที ี่ไม่สมบูรณแ์ บบเปน็ ระบบบัญชีคไู่ ด้

กจิ กรรมการเรียนการสอน 1. การออกแบบแผนผังความคดิ รวบยอด 2. กระบวนการกจิ กรรมกลมุ่ 3. การนำเสนอผลงานหลกั การบัญชีช้ันสงู 1 หน้าชั้นเรียน 4. การถาม-ตอบ ในช้ันเรียน 5. กจิ กรรมการทดสอบรายหน่วย 6. ใบงานกรณีศึกษา 7. การสบื คน้ ข้อมูลเพิ่มเติม จากแหลง่ เรยี นรู้ หนังสือ ตำรา เอกสารประกอบการสอน สอ่ื การสอน 1. สอ่ื การเรียนการสอน Online: https://pubhtml5.com/bookcase/ewue 2. สื่อการเรยี นการสอน PPT วิชาการบัญชชี ้นั สงู 1 30201 -2005 3. สื่อการเรียนการสอนออนไลน์ Google Classroom 4. เครือ่ งฉายภาพข้ามศีรษะหรอื เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ 5. จอภาพ 6. กรณีศึกษา หนังสือ – ตำรา – เอกสารประกอบการสอน 1. หนงั สือเรยี นวชิ า การบัญชีชน้ั สงู 1 30201 – 2005 ของ ผศ.อัมพร เท่ียงตระกูล และ วรรณา วงศวิวฒั น์ 2. หนังสือเรียนวิชา การบัญชีชั้นสงู 1 30201 – 2005 ของ มาลี สืบตระหา่ น และศริ พิ ร หลา้ อินตา เวลาเรียน - เวลาเรยี น...................18.....................สัปดาห์ / ภาคเรียน ประกอบด้วย - เรยี นทฤษฎี .................2.....................ชั่วโมง / สัปดาห์ - เรยี นปฏบิ ัติ .................2.....................ชวั่ โมง / สปั ดาห์ รวม..................4....................ชว่ั โมง / สปั ดาห์ รวมทงั้ สิ้น..................72....................ช่ัวโมง ตลอดภาคเรียน หรอื ......18........สัปดาห์ / ภาคเรียน . เวลาเรยี น ...............100........................เปอร์เซ็นต์ เท่ากบั .................72........ชว่ั โมง

การวัดผล การประเมินผลระหวา่ งภาคเรียน.....................60....................เปอร์เซ็นต์ ตามกิจกรรมการเรียนการสอน การประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น........................20.....................เปอรเ์ ซ็นต์ การประเมินผลคณุ ธรรม – จรยิ ธรรม.............20......................เปอร์เซ็นต์ ตามเกณฑ์ รวม...........100........................เปอร์เซ็นต์ เกณฑ์การประเมินผลคณุ ธรรม – จริยธรรม ........20..........เปอร์เซน็ ต์ มดี ังตอ่ ไปนี้  1. มมี นษุ ยสัมพนั ธ์  2. ความมวี ินัย  3. ความรับผิดชอบ  4. ควมซือ่ สัตย์สจุ ริต  5. ความเช่อื มน่ั ในตนเอง 6. การประหยดั  7. ความสนใจใฝ่รู้ 8. การละเวน้ ส่งิ เสพติดและการพนนั 9. ความรักสามัคคี 10. ความกตัญญกู ตเวที  11. ความคิดริเริม่ สรา้ งสรรค์  12. การพึ่งตนเอง  13. ความอดทนอดกลั้น 14. ความมคี ุณธรรม/จริยธรรม  15. ตรงตอ่ เวลา การประเมินผล ประเมินตามเกณฑ์ดงั ต่อไปน้ี 4.0 3.5 ไดค้ ะแนน 80 - 100 ไดเ้ กรด 3.0 ได้คะแนน 75 - 79 ได้เกรด ได้คะแนน 70 - 74 ได้เกรด 2.5 2.0 ไดค้ ะแนน 65 - 69 ได้เกรด ไดค้ ะแนน 60 - 64 ไดเ้ กรด 1.5 1.0 ไดค้ ะแนน 55 - 59 ไดเ้ กรด 0 ได้คะแนน 50 - 54 ไดเ้ กรด ได้คะแนน 0 - 49 ไดเ้ กรด

หน่วยที่ ชื่อหนว่ ย/เนอื้ หา ตารางวิเคราะห์ม 1 การบญั ชีเก่ยี วกบั กิจการรว่ มค้า พ 2 การบญั ชีเก่ียวกบั การฝากขาย ความรู้ ความจำ นำไปใช้ 3 การบญั ชเี กยี่ วกบั การขายผ่อนชำระ 4 ดอกเบี้ยและเช่าซอ้ื ผ่อนชำระ ✓✓ ✓ 5 ระบบบญั ชที ไี่ ม่สมบรู ณแ์ บบ ✓✓ ✓ ✓✓ ✓ สอบปลายภาค ✓✓ ✓ รวม ✓✓ ✓ ลำดับความสำคัญ 66 6 11 1

มาตรฐานสมรรถนะ พุทธพิสยั ทักษะ จิตพิสัย รวม ลำดับ จำนวน วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมนิ คา่ พิสยั ความสำคัญ (ชม.) ✓ ✓5 1 12 ✓ ✓5 1 16 ✓ ✓ ✓6 1 20 ✓ ✓ ✓6 1 8 ✓ ✓ ✓6 2 12 4 5- - 66 72 2- - 1 1- - -





แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 หนว่ ยท่ี 1 วิชา 30201 – 2003 การบัญชีชน้ั สงู 1 สอนครั้งที่ 1 ช่อื หนว่ ย การบัญชเี กยี่ วกบั กิจการรว่ มคา้ จำนวน 12 ชวั่ โมง ชอื่ เร่อื ง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกบั กจิ การรว่ มค้า จำนวน 4 ชว่ั โมง หวั ข้อเรอ่ื ง ดา้ นความรู้ 1. แสดงความร้เู ก่ียวกบั เกีย่ วกับความหมายของการรว่ มคา้ ได้ 2. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั ลักษณะของการรว่ มค้าได้ 3. แสดงความรูเ้ ก่ียวกบั ประโยชนก์ ารรว่ มคา้ ได้ 4. แสดงความรู้เก่ยี วกับระบบบัญชีทแ่ี บ่งตามลกั ษณะการผลิตได้ ดา้ นทักษะ 5. บันทกึ บัญชีกจิ การรว่ มคา้ ได้ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง (มวี ินยั มีความรบั ผดิ ชอบ ขยัน ประหยัด ซอ่ื สตั ยส์ ุจริต และมีความสามคั ค)ี 6. รบั ฟังความคิดเห็นของผ้อู ่นื 7. ปฏบิ ตั งิ านทไ่ี ด้รบั มอบหมายสำเร็จตามทีก่ ำหนดไดด้ ้วยตนเอง 8. ปฏิบตั ิตนตามกฎ ระเบยี บขอ้ บังคับของสถานศกึ ษาและสังคม ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง สาระสำคัญ ในโลกธุรกิจปัจจุบันมีการแขง่ ขันสงู มีการเปิดการค้าอย่างเสรแี ละกว้างไกล มีความร่วมมือทางการคา้ กนั มากข้ึนทัง้ ในและต่างประเทศ โดยทกุ ๆ ฝา่ ยต่างหาพนั ธมติ รเพอ่ื การแขง่ ขนั ทางการค้า กอ่ ให้เกดิ การร่วมมือ ทางการคา้ ก่อให้เกิดการร่วมมือทางการค้ากนั มากข้นึ ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว เช่น การลงทุนแบบชั่วคราว เกี่ยวกับพืชผลการเกษตรที่เกิดขึ้นตามฤดูกาล การประมูลงานก่อสร้าง การสร้างเขื่อนบริษัทข้ามชาติ ตามประมวลรัษฎากร หมวด 3 ว่าดว้ ยภาษีเงนิ ไดน้ ิตบิ คุ คล มาตรา 39 กำหนดวา่ กจิ การรว่ มคา้ ของไทยจะต้อง มีนติ บิ คุ คลเปน็ หลกั ในการลงทนุ ประกอบดว้ ย 1. บรษิ ทั กับบรษิ ัท 2. บรษิ ัทกับห้างห้นุ สว่ นนติ บิ คุ คล 3. ห้างหนุ้ ส่วนนติ บิ ุคคลกบั หา้ งหนุ้ สว่ นนติ ิบคุ คล 4. บรษิ ทั และ/หรอื ห้างหุ้นสว่ นนิตบิ ุคคลกับบุคคลธรรมดา 5. บริษทั และ/หรอื ห้างหุ้นส่วนนติ บิ ุคคลกบั คณะบคุ คลทม่ี ใิ ชน่ ติ บิ ุคคล 6. บรษิ ัทและ/หรอื ห้างหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลกับห้างหนุ้ สว่ นสามัญ 7. บริษัทและ/หรอื ห้างหุ้นสว่ นนติ ิบุคคลกับนติ บิ ุคคลอ่ืน

สมรรถนะประจำหนว่ ย บนั ทกึ บญั ชเี ก่ียวกับรายการรว่ มคา้ ได้ตามมาตรฐานการบญั ชี จุดประสงค์การสอน/การเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ท่ัวไป เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของการร่วมค้า ลักษณะของการร่วมค้า ประโยชน์ของการร่วมค้า รูปแบบของการร่วมค้า วิธีการบัญชีเกี่ยวกับการร่วมค้า และวิธีการบันทึกบัญชีของ กจิ การร่วมค้า การแบ่งผลกำไรขาดทนุ กอ่ นการรว่ มคา้ เสร็จส้นิ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. แสดงความรูเ้ กี่ยวกบั เกย่ี วกบั ความหมายของการร่วมค้าได้ 2. แสดงความรเู้ กีย่ วกบั ลกั ษณะของการร่วมคา้ ได้ 3. แสดงความรเู้ กีย่ วกับประโยชน์การร่วมคา้ ได้ 4. แสดงความรเู้ ก่ียวกับระบบบญั ชีท่แี บง่ ตามลกั ษณะการผลติ ได้ 5. บอกวิธีการบัญชเี กีย่ วกบั การรว่ มคา้ ได้ 6. วิเคราะหผ์ ลกระทบของการทจุ รติ คอร์รัปชนั่ ต่อตนเองและส่วนรวมได้ 7. ประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการดำเนนิ ชวี ติ อย่างสจุ รติ ได้ 8. ปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ตรงเวลาที่กำหนดอย่างมีเหตแุ ละผลตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และคุณลกั ษณะ3D การบูรณาการกบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและคณุ ลกั ษณะ 3D หลักความพอประมาณ 1. นกั เรยี นจดั สรรเวลาในการฝึกปฏิบตั ิตามใบงานได้อยา่ งเหมาะสม 2. นกั เรยี นร้จู กั ใช้และจัดการ วสั ดุอปุ กรณ์ต่างๆ อย่างประหยัดและคุม้ ค่า 3. นักเรียนปฏิบัติตนเป็นผู้นำและผตู้ ามท่ดี ี 4. นกั เรยี นเปน็ สมาชกิ ทด่ี ีของกลมุ่ เพื่อและสงั คม หลักความมีเหตุผล 1. เหตคุ ณุ คา่ ของการจดั ทำบญั ชีได้อยา่ งมีเหตุมีผล และสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ในการดำเนนิ ธรุ กจิ และใช้ชวี ิตประจำวันได้ 2. กล้าแสดงความคดิ อยา่ งมเี หตุผล 3. กลา้ ทักทว้ งในส่ิงทไ่ี มถ่ ูกตอ้ งอยา่ งถกู กาลเทศะ 4. กล้ายอมรบั ฟงั ความคดิ ของผอู้ ่นื 5. ใช้วัสดุถูกต้องและเหมาะสมกับงาน 6. ไม่มเี รอ่ื งทะเลาะวิวาทกบั ผู้อ่นื 7. มีความคิดวเิ คราะหใ์ นการแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ระบบ

หลกั ความคุ้มกัน 1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจด้านความรู้ทวั่ ไปเกยี่ วกับกิจการร่วมคา้ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 2. มที ักษะในการบอกวิธกี ารบญั ชีเกีย่ วกบั การร่วมค้าได้ 3. นักเรยี นได้รบั ความรทู้ ี่ถกู ตอ้ ง และพรอ้ มที่จะนำความรู้เกี่ยวกับการบัญชีได้ การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงหรือตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งนัน้ ต้องอาศัยทัง้ ความรแู้ ละคณุ ธรรมเป็นพ้ืนฐาน ดังนี้ เงอื่ นไขความรู้ 1. นักเรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจกีย่ วกบั การบัญชี 2. ใช้วัสดุอยา่ งประหยดั และคมุ้ ค่า 3. มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เง่อื นไขคณุ ธรรม 1. ปฏบิ ัตงิ านทไ่ี ด้รบั มอบหมายเสร็จตามกำหนด 2. ใช้วัสดุอยา่ งประหยัดและค้มุ ค่า 3. มคี วามเพยี รพยายามและกระตอื รอื ร้นในการเรียนและการปฏิบัตงิ าน 4. ใหค้ วามรว่ มมอื กบั การทำกจิ กรรมของสว่ นรวม อาสาชว่ ยเหลืองานครูและผู้อน่ื เน้อื หาสาระการสอน/การเรยี นรู้ 1. ลักษณะของการร่วมคา้ ความหมายของการร่วมคา้ ทีร่ ะบไุ วใ้ นมาตรฐานการบญั ชฉี บับท่ี 46 เรอ่ื ง “รายงานทางการเงินเกี่ยวกับ ส่วนได้เสียในการร่วมค้า” ได้ให้คำจำกัดความของการร่วมค้าว่า “การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรม เชิงเศรษฐกิจของบุคคลหรือกิจการตั้งแต่สองรายขึ้นไปโดยให้มีการควบคุมร่วมกันตามที่ตกลงไว้ในสัญญา ” อาจจัดตั้งขึ้นเป็นนิติบคุ คลตามกฎหมาย เช่น ห้างหุ้นส่วน หรือบริษัท หรืออาจไม่จัดตัง้ ข้ึนมากไ็ ด้ แต่ลักษณะ สำคัญของการรว่ มค้าจะตอ้ งประกอบ ไปด้วย 1. มีผรู้ ว่ มคา้ ตัง้ แต่ 2 รายข้นึ ไป ตกลงกนั เป็นสญั ญา และ 2. สัญญาดังกลา่ วระบุใหผ้ ู้รว่ มคา้ ทุกรายมอี ำนาจในการควบคุมร่วมกนั จะเห็นได้ว่า ประเด็นสำคัญในการรว่ มค้าก็คือ อำนาจในการควบคุมรว่ มกัน ซึ่งหากมีผู้ร่วมค้ารายใด ไม่มีอำนาจในการควบคุม มาตรฐานบญั ชีฉบับที่ 46 ก็จะถือว่าผูน้ ้ันเป็นเพียงผู้ลงทุนเทา่ นัน้ โดยในสัญญาร่วม ค้าจะต้องมีข้อกำหนดเกี่ยวกับการดำเนินกิจการ โดยการตัดสินใจที่ถือเป็นเรื่องสำคัญอาจต้องได้รับ ความเห็นชอบจากผู้ร่วมค้าทุกราย ในขณะที่บางเรื่องที่ไม่สำคัญนักอาจดำเนินการได้ทันที หากได้รับ ความเห็นชอบจากผู้รว่ มคา้ ส่วนใหญ่ การร่วมค้า เป็นเพียงการควบคมุ กจิ การร่วมกัน ดังนั้น จึงไม่ใชบ่ รษิ ัทย่อย ดังนั้น ผู้ถือหุ้น ในกิจการ ร่วมคา้ จึงไมจ่ ำเป็นต้องจัดทำงบการเงินรวมสำหรับกิจการร่วมค้าแต่อยา่ งใด

2. รูปแบบของกจิ การรว่ มคา้ แบง่ ได้ 3 รูปแบบ ดงั นี้ - การดำเนินงานทค่ี วบคุมรว่ มกัน (Jointly Controlled Operations) - สินทรัพยท์ ีค่ วบคุมรว่ มกัน (Jointly Controlled Assets) - กจิ การที่ควบคุมร่วมกนั หรอื กจิ การร่วมคา้ (Jointly Controlled Entities) 3. ประเภทของธรุ กจิ ที่ดำเนินธรุ กิจรว่ มค้า 1. ธุรกิจขายสนิ ค้า 2. ธุรกจิ การจดั สรรทดี่ นิ 3. ธุรกิจการสรา้ งและจดั จำหนา่ ยภาพยนต์ 4. สาเหตุท่ีมีการทำธรุ กจิ แบบร่วมคา้ 1. การลดความเส่ยี ภยั 2. เพอื่ รวบรวมเงินทนุ 3. การรวบรวมความรคู้ วามสามารถจากบุคคลตา่ งๆ 4. การประหยัดคา่ ใช้จา่ ย 5. ประโยชนท์ างกฎหมาย 5. การบนั ทึกบญั ชขี องกจิ การร่วมคา้ 1. วิธที ่ี 1. ไม่เปิดสมดุ บญั ชชี ดุ ร่วมคา้ อีกชุดหนึง่ 2. วธิ ีที่ 2 เปดิ สมุดบัญชชี ุดร่วมค้าอีกชดุ หน่ึง กจิ กรรมการเรยี นการสอน/การเรียนรู้ 1. ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรยี น 1. ผู้สอนทบทวนความรเู้ ดมิ ทไี่ ด้ศึกษามาแล้วในระดบั ปวช. เพื่อให้สัมพนั ธก์ บั เนื้อหาสาระการเรียนรใู้ หม่ และประเมินผลโดยการถาม-ตอบ 2. แจง้ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง 2. ขั้นดำเนนิ การสอน 1. ผูส้ อนอภิปรายหวั ขอ้ ตามสาระการเรียนรู้ และยกตัวอย่างของธุรกจิ รว่ มคา้ ประกอบ 2. มอบหมายให้ผู้เรยี นศกึ ษาคน้ ควา้ ตามหัวข้อสาระการเรยี นรู้ทุกคน 3. สมุ่ ผเู้ รยี นบางคน เสนอผลงานหน้าช้นั เรียน และใหเ้ พือ่ นๆ คนอื่นแสดงความคดิ เห็น 4. ผเู้ รยี นทำแบบประเมนิ ผลการเรยี นรูห้ น่วยที่ 1 3. ขั้นสรปุ 1. ผ้สู อนและผู้เรียนสรปุ สาระสำคญั โดยการซกั ถาม และแสดงความคิดเหน็ รว่ มกัน 2. ผเู้ รียนทำแบบประเมนิ ผลการเรยี นรูห้ นว่ ยที่ 1 3. ประเมนิ ผลหลงั เรียน เพอื่ ประเมนิ ความก้าวหนา้ ในการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน 4. ตรวจเคร่ืองแตง่ กายผู้เรยี น ใหผ้ เู้ รียนดแู ลความสะอาดของห้องเรียนกอ่ นออกจากห้อง

4. ขัน้ นำไปใช้หรอื ประเมนิ ผล 1. มอบหมายให้แต่ละกลมุ่ (กลุม่ เดิม) ร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ อภิปราย ในเรื่อง ความร้ทู ั่วไปเกย่ี วกบั การร่วมค้าและวิดทิ ัศน์ และให้ตวั แทนกลุม่ นำเสนอหน้าชน้ั เรยี น 2. ผู้สอนสรุปและอธิบายประเภทกจิ การรรว่ มคา้ วธิ ีการบันทกึ บญั ชีกจิ การร่วมค้า สอื่ การเรยี นการสอน/การเรียนรู้ 1. ส่อื Power Point เรอื่ ง ความหมายของการร่วมค้า 2. สอ่ื Power Point เร่ือง ประโยชนข์ องการรว่ มคา้ 3. สอ่ื Power Point เรอ่ื ง สาเหตขุ องการรว่ มค้า 4. ส่ือวดิ ีทศั น์ เรอ่ื ง กิจการร่วมค้า 5. สอ่ื การเรยี นการสอนออนไลน์ https://pubhtml5.com/bookcase/ewue 6. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ อ่ นเรยี นและหลังเรยี น 7. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 8. เว็บไซต์ ก.ล.ต. 9. เวบ็ ไซต์กรมสรรพากร 10. เว็บไซต์สภาวชิ าชีพบญั ชี 11. หนงั สอื เรียนรายวชิ า การบญั ชีช้ันสงู 1 งานท่ีมอบหมายหรอื กจิ กรรม กอ่ นเรยี น 1. จดั เตรยี มเอกสาร สอื่ การเรียนการสอนตามท่ผี ู้สอนและบทเรียนกำหนด 2. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน 3. ทำความเขา้ ใจเก่ยี วกบั จดุ ประสงค์การเรียนของหน่วยที่ 1 และการใหค้ วามรว่ มมอื ในการทำกิจกรรมในหนว่ ยการเรียนท่ี 1 ขณะเรียน 1. ผู้มอบหมายใหผ้ ้เู รียนแบ่งกลุ่มย่อยตามความสมคั รใจ 2. ปฏบิ ัตงิ านตามใบงาน 3. รว่ มกนั สรุปตามหวั ข้อท่ีไดร้ ับมอบหมาย 4. รายงานหนา้ ช้ันเรียนตามหัวข้อที่ได้รบั มอบหมาย หลังเรียน 1. ผู้สอนมอบหมายใหผ้ ู้เรียนทำแบบฝึกหดั ท้ายหน่วยท่ี 1 2. ทำแบบทดสอบหลงั เรียน

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วธิ วี ัดผล 1. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้กอ่ นเรียน 2. การสังเกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เคร่อื งมอื วัดผล 1. แบบประเมินผลการเรียนรูก้ อ่ นเรียนและหลงั เรยี น 2. แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยอาจารยแ์ ละ นกั ศึกษาร่วมกันประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ ผล 1. แบบประเมินผลการเรยี นร้กู ่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่าน อาจารย์จะเกบ็ คะแนนไว้เปรียบเทียบ กบั คะแนน ทไี่ ดจ้ ากการทำแบบประเมินผลการเรยี นรู้หลงั เรยี น 2. ผลคะแนนประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ขน้ึ อยกู่ ับ การประเมินตามสภาพจริง ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสำเร็จของผเู้ รียน 1. ผู้เรยี นทำใบงานและแบบฝึกหดั ท้ายหนว่ ยการเรียนถูกตอ้ ง 2. กระดาษคำตอบแบบฝึกหัดท้ายหน่วยการเรยี น 3. ใบงานไดจ้ ากการคน้ ควา้ 4. ผเู้ รยี นออกแบบผังความคิดรวบยอด เรือ่ ง ความรู้ทั่วไปเกย่ี วกบั การรว่ มคา้

แบบสังเกตแบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล คำช้แี จง ทำเคร่อื งหมาย  ในชอ่ งท่ีตรงกับความเป็นจริงตามเกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์การประเมนิ (ใช้ข้อมลู จากการสังเกตตามสภาพจรงิ ของครูผู้สอน) เลขที่ ชือ่ - สกุล ต้งั ใจและรบั ผิดชอบ ทำงานดว้ ยความเพียร รวม ในการปฏิบตั ิหน้าที่การงาน พยายาม และอดทนเพ่อื ให้ งานสำเรจ็ ตามเป้าหมาย 4 3 2 1 4 3 2 1 8 คะแนน 1 2 3 4 5 เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ 4 คะแนน เท่ากับ ดมี าก 3 คะแนน เท่ากับ ดี ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 2 คะแนน เท่ากับ พอใช้ 7-8 ดีมาก 1 คะแนน เทา่ กบั ปรับปรงุ 5-6 ดี 3-4 พอใช้ 1-2 ปรับปรงุ (ลงช่ือ)...................................ครูผู้ประเมิน (…………………………………………………) ............../................./.............

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ คำช้ีแจง ให้ทำเครื่องหมาย ✓ ลงในชอ่ งรายการสงั เกตพฤตกิ รรมทน่ี ักเรียนปฏบิ ตั ิ รายการ รับผดิ ชอบ รับฟงั นำเสนอ มคี วามคิดรเิ ริ่ม ทำงานเสรจ็ เลขที่ ช่อื -สกลุ งานท่ไี ด้รบั ความคดิ เห็น ผลงานได้ สร้างสรรค์ ตามเวลาที่ มอบหมาย ของผ้อู ่ืน น่าสนใจ (2 คะแนน) กำหนด (2 คะแนน) (2 คะแนน) (2 คะแนน) (2 คะแนน) เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน 9 – 10 ระดบั ดมี าก คะแนน 7 – 8 ระดบั ดี คะแนน 5 – 6 ระดบั พอใช้ คะแนน 0 – 4 ระดับ ควรปรบั ปรงุ (ลงชอื่ )........................................ครูผู้ประเมิน (…………………………………………………) ............../................./.............

แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ชอ่ื ผ้ปู ระเมิน/กลมุ่ ประเมนิ ................................................................................................................ ชื่อกลุม่ รับการประเมนิ ...................................................................................................................... ระดับพฤตกิ รรม ท่ี คุณลกั ษณะ/พฤติกรรมบง่ ช้ี ใชไ้ ด้ ควรปรบั ปรุง คะแนนที่ได้ (2 คะแนน) (0 คะแนน) 1 ความมมี นษุ ย์สัมพันธ์ - แสดงกริ ิยาทา่ ทางสภุ าพต่อผู้อ่นื - ให้ความรว่ มมอื กับผู้อ่นื 2 ความมวี ินยั - ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ข้อบงั คบั และข้อตกลงตา่ ง ๆ ของวทิ ยาลัย ได้แก่ การแตง่ กายถูกตอ้ ง ตามระเบียบและข้อบงั คบั ตรงตอ่ เวลา 3 ความรบั ผิดชอบ - เตรยี มความพรอ้ มในการเรยี นและการปฏิบตั งิ าน - ปฏบิ ัตงิ านดว้ ยความต้ังใจ - มคี วามเพยี รพยายามในการเรียนและการปฏิบัติงาน 4 ความเช่อื มน่ั ในตนเอง - กลา้ แสดงความคดิ เห็นอยา่ งมเี หตุผล 5 ความปลอดภยั - ปฏบิ ัติงาน ทำกจิ กรรมดว้ ยความระมัดระวงั 6 ความสนใจใฝ่รู้ - ซกั ถามปญั หานา่ สงสยั 7 ความรกั สามคั คี - ร่วมมอื ในการทำงาน 8 ความกตญั ญกู ตเวที - มีสมั มาคารวะตอ่ ครู-อาจารยอ์ ยา่ งสม่ำเสมอ ท้ังต่อหน้าและลับหลัง 9 พง่ึ ตนเอง - ทำงานปฏบิ ตั งิ านด้วยตนเอง 10 มคี วามอดทนอดกลน้ั - ควบคมุ อารมณ/์ ความรู้สกึ อยา่ งมสี ติและเหตุผล

ใบงานท่ื 1 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับกจิ การรว่ มคา้ 1. ความหมายและประเภทของกิจการร่วมค้า ประเภทของธุรกิจที่ดำเนินธุรกิจ รว่ มค้าและสาเหตุที่มกี ารทำธรุ กจิ แบบร่วมค้า 2. วธิ ีการบันทึกบัญชขี องกจิ การร่วมคา้ 3. การแสดงสิทธสิ ว่ นไดเ้ สยี และกำไรขาดทุนจากกจิ การร่วมคา้ ในงบการเงินของ ผรู้ ว่ มคา้ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายและประเภทของกิจการร่วมค้า ประเภทของธุรกิจที่ดำเนินธุรกิจร่วมค้า และสาเหตทุ ี่มกี ารทำธรุ กจิ แบบรว่ มค้าได้ 2. บันทึกบญั ชีของกิจการรว่ มคา้ ได้ 3. แสดงสทิ ธิสว่ นได้เสยี และกำไรขาดทุนจากกจิ การร่วมค้า ในงบการเงนิ ของ ผรู้ ่วมคา้ ได้ จงตอบคำถามต่อไปน้ี 1. จงอธิบายความหมายของกิจการรว่ มค้า พรอ้ มยกตัวอย่างโดยสังเขป 2. จงอธบิ ายลักษณะของการร่วมค้า มีลักษณะอย่างไรบา้ ง 3. จงบอกรูปแบบของกิจการรว่ มค้าตามมาตรฐานการบญั ชี ฉบับท่ี 31 (ปรบั ปรงุ 2555) มีอย่างไรบา้ ง 4. จงบอกประโยชน์ของการรว่ มค้า โดยสงั เขป 5. วธิ กี ารบัญชีเก่ียวกบั การร่วมค้ามีก่วี ิธี อะไรบ้าง 6. จงอธิบายการดำเนนิ งานทคี่ วบคมุ ร่วมกนั โดยสังเขป 7. จงอธิบายสินทรพั ย์ทคี่ วบคมุ ร่วมกัน โดยสังเขป 8. จงอธิบายกจิ การทค่ี วบคุมร่วมกนั หรอื กจิ การรว่ มคา้ โดยสังเขป 9. จงอธบิ ายการบนั ทึกบัญชีผรู้ ่วมคา้ แตล่ ะคนตา่ งบันทกึ รายการร่วมค้าในสมุดบญั ชขี องตนเอง 10. จงอธบิ ายการบันทึกบัญชอี กี ชุดหนง่ึ ตา่ งหาก สำหรบั กจิ การรว่ มค้าและผู้รว่ มค้าแต่ละคน

แบบประเมินผลการเรยี นรกู้ อ่ น/หลงั เรยี น หน่วยท่ี 1 การบัญชีกจิ การร่วมคา้ คำสั่ง จงทำเคร่ืองหมาย  ทับข้อท่ถี ูกต้องทีส่ ดุ เพยี งขอ้ เดียว 1. Joint Venture คือ กิจการประเภทใด ก. เจา้ ของคนเดยี ว ข. หา้ งห้นุ ส่วน ค. บริษทั จำกัด ง. กจิ การรว่ มคา้ 2. ความหมายของกิจการรว่ มค้า ตรงกบั ขอ้ ใด ก. การประกอบกจิ การคนเดยี วหรอื หลายคน มวี ตั ถุประสงค์มาดำเนนิ ธุรกิจร่วมกนั ข. การประกอบธุรกจิ ของบุคคลตง้ั แตส่ องคนขึน้ ไปมาจัดตั้งในรูปหา้ งห้นุ ส่วน ค. การประกอบธุรกจิ เชิงเศรษฐกจิ ของบุคคลตั้งแต่สองรายขึน้ ไปโดยมกี ารควบคุมรว่ มกันตามท่ตี กลงไว้ ในสญั ญา ง. การประกอบธุรกจิ จดทะเบยี นปกตแิ สวงหากำไร 3. ข้อใดไมใ่ ชป่ ระเภทของการร่วมคา้ ก. การดำเนนิ งานทีค่ วบคุมร่วมกัน ข. สินทรพั ย์ควบคมุ ร่วมกัน ค. วิธรี วมตามสัดสว่ นและวธิ สี ว่ นได้เสีย ง. การแบง่ กำไรร่วมกนั 4. ผลตอบแทนที่ผรู้ ว่ มค้าจะไดร้ ับ ตรงกบั ขอ้ ใด ข. ค่าปว่ ยการ ก. ค่านายหน้า ง. สว่ นแบ่งกำไร ค. ดอกเบ้ยี เงนิ ลงทนุ 5. ขอ้ ใดไม่ใชป่ ระโยชนข์ องการร่วมค้า ก. เปน็ การระดมความคิด แลกเปลย่ี นทรพั ยากรจดั การร่วมกนั ข. การตัดสินใจงา่ ย สะดวกและรวดเร็ว ค. กิจการมโี อกาสในการลงทนุ มากและมเี งนิ ลงทุนจำนวนมาก ง. เปน็ การกระจายความเสีย่ งของธุรกจิ จากบัญชีแยกประเภทรว่ มค้าตอ่ ไปนี้ ใชต้ อบคำถามข้อ 6 - 9 บญั ชีรว่ มค้า 2563 2563 พ.ค. 5 ซอื้ สนิ ค้า บจ. ดำ 13,000 พ.ค. 6 ขายสนิ ค้า บจ.แดง 20,000 7 ค่าขนสง่ เขา้ บจ. แดง 500 15 ขายสินคา้ บจ.ดำ 15,000 10 ค่าโฆษณา บจ.แดง 350 20 ขายสนิ ค้า บจ.แดง 18,000 12 ค่าขนส่งออก บจ.ดำ 500 27 คา่ นายหนา้ บจ.ดำ ? คา่ นายหนา้ บจ.แดง ? ข้อมูลเพม่ิ เติม ผู้ร่วมค้าตกลงรว่ มกนั 2 ข้อ 1. คิดวา่ นายหนา้ ใหก้ บั ผ้รู ่วมค้าในอตั รา 10% ของยอดขายแต่ ละราย แบ่งกำไรจากการร่วมคา้ ตามขอ้ ตกลงเทา่ ๆ กนั ทุกราย

6. ค่านายหน้าของบริษทั แดง จำกัด ตรงกับขอ้ ใด ก. 1,500 บาท ข. 1,800 บาท ค. 3,300 บาท ง. 5,300 บาท 7. ค่านายหนา้ ของบรษิ ทั แดง จำกัด ตรงกับข้อใด ก. 1,500 บาท ข. 1,800 บาท ค. 3,300 บาท ง. 5,300 บาท 8. กิจการมีกำไรขาดทุนจากกจิ การรว่ มค้า ตรงกับขอ้ ใด ก. 33,350 บาท ข. 33,550 บาท ค. 33,850 บาท ง. 38,650 บาท 9. บริษทั ดำ จะได้รับกำไรจากการรว่ มค้า ตรงกับข้อใด ก. 16,755 บาท ข. 16,775 บาท ค. 16,925 บาท ง. 19,325 บาท 10. วิธกี ารบนั ทกึ บญั ชีของกจิ การรรว่ มคา้ โดยทว่ั ไป ตรงกบั ขอ้ ใด ก. วธิ ีการควบคมุ ร่วมกนั ข. วธิ ีการดำเนนิ งานรว่ มกนั ค. วธิ ีการบรหิ ารสนิ ทรัพย์รว่ มกัน ง. วิธเี ปดิ สมดุ บัญชชี ุดรว่ มคา้ อีกชุดหนงึ่ และไมเ่ ปดิ สมุดบัญชีชุดรว่ มค้าอกี ชุดหน่งึ

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 หนว่ ยที่ 1 วชิ า 30201 – 2005 การบัญชีชน้ั สงู 1 สอนครงั้ ที่ 2 ชื่อหนว่ ย การบญั ชีเกย่ี วกับกจิ การรว่ มคา้ จำนวน 12 ชั่วโมง ชื่อเร่ือง วธิ กี ารบนั ทกึ บญั ชขี องกิจการร่วมค้าโดยไม่เปิดสมุด จำนวน 4 ชัว่ โมง บญั ชอี กี ชุดหน่งึ ต่างหาก หัวขอ้ เรือ่ ง ด้านความรู้ 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกับเกยี่ วกับความหมายของการรว่ มค้าได้ 2. แสดงความรเู้ กี่ยวกับลักษณะของการร่วมค้าได้ 3. แสดงความรู้เกยี่ วกับประโยชนก์ ารร่วมคา้ ได้ 4. แสดงความรู้เก่ียวกบั ระบบบญั ชีท่แี บ่งตามลักษณะการผลิตได้ ดา้ นทักษะ 5. บอกวิธีการบัญชเี กยี่ วกับการรว่ มคา้ ได้ 6. บันทึกบัญชรี ายการรว่ มคา้ กรณีผูร้ ่วมค้าต่างจดบนั ทึกรายการคา้ ในสมุดบญั ชขี องตนเองได้ 7. คำนวณกำไรขาดุทนจากกิจการร่วมคา้ กรณกี ารร่วมค้ายงั ไม่สน้ิ สุดและมีสินคา้ คงเหลอื จากการรว่ มคา้ ได้ 8. บนั ทึกบญั ชีรายการร่วมคา้ กรณีใช้สมดุ บญั ชีอีกชุดหนึง่ ตา่ งหากสำหรับกจิ การรว่ มคา้ ได้ 9. คำนวณเงนิ ลงทนุ ในกิจการรว่ มค้าหรอื หนีส้ ินต่อกิจการรร่วมค้า ซงึ่ จะปรากฎในงบแสดงฐานะการเงิน ของผรู้ ว่ มค้าแต่ละคนได้ ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง (มีวินยั มีความรับผดิ ชอบ ขยัน ประหยัด ซ่อื สัตย์สจุ ริต และมคี วามสามัคค)ี 10. รบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผู้อน่ื 11. ปฏิบตั งิ านที่ไดร้ ับมอบหมายสำเร็จตามท่ีกำหนดได้ดว้ ยตนเอง 12. ปฏิบัตติ นตามกฎ ระเบยี บขอ้ บังคับของสถานศึกษาและสงั คม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สาระสำคญั ในโลกธุรกิจปัจจุบันมีการแข่งขันสูง มีการเปิดการค้าอย่างเสรแี ละกว้างไกล มีความร่วมมือทางการค้ากัน มากขึ้นทั้งในและต่างประเทศ โดยทุก ๆ ฝ่ายต่างหาพันธมิตรเพื่อการแข่งขันทางการค้า ก่อให้เกิดการร่วมมือ ทางการค้า ก่อให้เกิดการร่วมมือทางการค้ากันมากขึ้นทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เช่น การลงทุนแบบชั่วคราว เกย่ี วกบั พืชผลการเกษตร ท่เี กิดขนึ้ ตามฤดกู าล การประมลู งานก่อสรา้ ง การสรา้ งเขอื่ นบรษิ ทั ขา้ มชาติ ตามประมวล รัษฎากร หมวด 3 ว่าด้วยภาษีเงินได้นิติบุคคล มาตรา 39 กำหนดว่า กิจการร่วมค้าของไทยจะต้องมีนิติบุคคล เป็นหลักในการลงทุน ประกอบด้วย 1. บรษิ ัทกับบรษิ ัท 2. บริษัทกับห้างหุ้นสว่ นนติ บิ ุคคล

3. หา้ งหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลกบั ห้างหนุ้ ส่วนนิติบุคคล 4. บริษัทและ/หรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนิตบิ คุ คลกบั บคุ คลธรรมดา 5. บริษทั และ/หรือห้างหุ้นส่วนนติ ิบุคคลกับคณะบคุ คลท่ีมิใชน่ ิตบิ ุคคล 6. บรษิ ทั และ/หรือหา้ งหุ้นส่วนนิติบุคคลกับหา้ งหนุ้ ส่วนสามญั 7. บรษิ ัทและ/หรอื ห้างหุ้นส่วนนิติบคุ คลกบั นติ ิบคุ คลอน่ื สมรรถนะประจำหนว่ ย บนั ทึกบัญชเี ก่ยี วกับรายการรว่ มคา้ ได้ตามมาตรฐานการบัญชี จดุ ประสงคก์ ารสอน/การเรียนรู้ จุดประสงค์ทั่วไป เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของการร่วมค้า ลักษณะของการร่วมค้า ประโยชน์ ของการร่วมค้า รูปแบบของการร่วมค้า วิธีการบัญชีเกี่ยวกับการร่วมค้า และวิธีการบันทึกบญั ชีของกิจการร่วมค้า การแบ่งผลกำไรขาดทนุ กอ่ นการรว่ มคา้ เสร็จส้นิ จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกวธิ ีการบญั ชีเกีย่ วกบั การรรว่ มคา้ ได้ 2. บันทึกบัญชรี ายการร่วมค้า กรณีผ้รู ่วมค้าตา่ งจดบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชีของตนเองได้ 3. คำนวณกำไรขาดุทนจากกิจการร่วมค้า กรณกี ารร่วมค้ายังไม่สิน้ สดุ และมีสนิ คา้ คงเหลอื จาก การร่วมคา้ ได้ 4. วเิ คราะห์การใชส้ ตทิ ำให้ชวี ิตเกิดการเรยี นรแู้ ละพฒั นาได้ 5. ประยกุ ต์การใช้สตกิ บั ปัญญามาเปน็ แนวทางในการดำเนนิ ชีวติ ได้ 6. ปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ตรงเวลาทกี่ ำหนดอย่างมเี หตุและผลตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง และคณุ ลกั ษณะ3D การบูรณาการกบั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงและคุณลักษณะ 3D หลักความพอประมาณ 1. นกั เรียนจัดสรรเวลาในการฝึกปฏิบตั ติ ามใบงานได้อย่างเหมาะสม 2. นกั เรยี นรู้จักใช้และจัดการ วัสดุอุปกรณต์ ่างๆ อยา่ งประหยัดและคุ้มค่า 3. นักเรยี นปฏิบตั ติ นเป็นผนู้ ำและผตู้ ามที่ดี 4. นักเรียนเปน็ สมาชิกที่ดีของกลุ่มเพอื่ และสงั คม หลกั ความมีเหตุผล 1. เหตคุ ณุ ค่าของการจัดทำบญั ชไี ดอ้ ยา่ งมีเหตมุ ผี ล และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ในการดำเนิน ธรุ กิจและใช้ชีวิตประจำวนั ได้ 2. กลา้ แสดงความคดิ อยา่ งมีเหตผุ ล 3. กล้าทกั ท้วงในสิ่งทไ่ี มถ่ กู ต้องอยา่ งถูกกาลเทศะ 4. กล้ายอมรับฟังความคดิ ของผูอ้ ่นื 5. ใชว้ ัสดุถูกต้องและเหมาะสมกบั งาน

6. ไม่มีเรือ่ งทะเลาะววิ าทกับผ้อู นื่ 7. มคี วามคดิ วเิ คราะห์ในการแก้ปญั หาอยา่ งเป็นระบบ หลกั ความคุ้มกัน 1. มคี วามร้คู วามเข้าใจดา้ นความรู้ทว่ั ไปเก่ยี วกับกิจการรว่ มค้าได้อย่างถกู ต้อง 2. มีทักษะในการแสดงวธิ กี ารบันทึกบัญชีของกิจการร่วมค้าโดยไม่เปดิ สมดุ บัญชอี กี ชุดหน่ึงตา่ งหากได้ 3. นกั เรียนไดร้ บั ความรูท้ ี่ถกู ต้อง และพร้อมทจี่ ะนำความรเู้ ก่ยี วกบั การบัญชีได้ การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงหรือตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทัง้ ความรูแ้ ละคุณธรรมเปน็ พ้นื ฐาน ดงั นี้ เง่อื นไขความรู้ 1. นกั เรียนมีความรู้ความเข้าใจก่ยี วกับการบัญชี 2. ใช้วสั ดุอย่างประหยดั และคมุ้ คา่ 3. มีความร้คู วามเขา้ ใจเกี่ยวกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เงอื่ นไขคุณธรรม 1. ปฏบิ ัตงิ านที่ไดร้ บั มอบหมายเสรจ็ ตามกำหนด 2. ใช้วัสดุอยา่ งประหยัดและคุ้มคา่ 3. มคี วามเพียรพยายามและกระตอื รอื ร้นในการเรียนและการปฏิบตั ิงาน 4. ให้ความร่วมมือกับการทำกจิ กรรมของส่วนรวม อาสาชว่ ยเหลืองานครแู ละผู้อื่น เน้ือหาสาระการสอน/การเรียนรู้ 1. วิธีรวมตามสัดสว่ น (Proportionate Consolidation) วิธีรวมตามสัดส่วน คือ การรวมสินทรัพย์ที่ควบคุมร่วมกันและหนี้สินที่รับผิดชอบ ร่วมกันเฉพาะ ส่วนของผูร้ ่วมค้าไว้ในงบดุลรวม และรวมรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ ่ายของกิจการร่วมค้าเฉพาะสว่ นของผ้รู ว่ มค้าไว้ในงบกำไร ขาดทุนรวม ซึ่งการรวมตามสัดส่วน จะมีขั้นตอนการจัดทำเช่นเดียวกับงบการเงินของบริษัทใหญ่และบริษัทย่อย นน่ั เอง การรวมสดั ส่วนสามารถกระทำได้ 2 รปู แบบ ดังนี้ รปู แบบที่ 1 เกณฑ์รวมแตล่ ะบรรทดั คอื การนำรายการทค่ี ล้ายคลึงกันมารวมกนั ในแต่ละบรรทัด รูปแบบที่ 2 แยกแสดงเป็นบรรทัด คือการใช้สินทรัพย์ หนี้สิน และรายได้และค่าใช้จ่ายของ กจิ การแสดงไวก้ ับรายการท่คี ล้ายคลงึ กนั หากกิจการผู้ร่วมค้า ไม่สามารถควบคุมกิจการร่วมค้าได้อีกต่อไป กิจการจะต้องบันทึกบัญชี เงินลงทุนโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย (Equity Method) แทน ในทางตรงกันข้าม หากกิจการร่วมค้ารายใดรายหน่ึง สามารถควบคุมกิจการร่วมค้าได้อย่างเต็มที่ กิจการร่วมค้า จะแปรสภาพเป็นบรษิ ัทย่อยในทนั ที ดังนั้น จึงต้องจัดทำ งบการเงนิ รวม (Consolidation) แทน 2. การบันทึกบญั ชีของกจิ การร่วมคา้ 1. วธิ ีท่ี 1. ไม่เปดิ สมดุ บญั ชชี ดุ รว่ มค้าอีกชดุ หนง่ึ การลงบัญชีวธิ ีน้ผี ู้ร่วมค้าจะบนั ทกึ รายการเกีย่ วกับการรว่ มค้าท้ังสิน้ ในสมุดบญั ชขี องตนเอง โดยจะเปิดบัญชี ร่วมค้าและบัญชีผู้ร่วมค้าคนอื่นๆ แยกเป็นรายบุคคล บัญชีร่วมค้าจะมีลักษณะเป็นบัญชีสรุปผลกำไรขาดทุน

จากการร่วมค้า ทางด้านเดบิตจะบันทึกต้นทุนขายของสินค้าที่ขายและค่าใช้จ่ายต่างๆ จากการร่วมค้า ส่วนด้านเครดิต จะบันทึกยอดขายสินค้าและรายไดอ้ ืน่ ๆ จากการร่วมค้า ผลต่างระหว่างดา้ นเดบิตและด้านเครดิต เป็นกำไรขาดทนุ จากการรว่ มคา้ ซึง่ จะนำมาแบ่งกันระหว่างผ้รู ว่ มค้า ตามสว่ นแบ่งกำไรขาดทุนท่ีตกลงกนั ส่วนบัญชี ผู้ร่วมค้าอื่นๆ แต่ละคนใช้บันทึกรายการที่เกี่ยวข้องซึ่งกันและกันระหว่างผู้ร่วมค้าอื่นๆ ทำนองเดียวกันกับบัญชี กระแสทุนของกิจการหา้ งห้นุ สว่ น การบันทึกบัญชีตามวิธีนี้เหมาะสำหรับกิจการร่วมค้าที่มีรายการค้าจำนวนมาก และมีระยะเวลา การดำเนินงานค่อนข้างยาว โดยจะมีการเปิดสมุดบัญชีของกิจการร่วมค้าขึ้นชุดหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อทำการจด บันทึกรายการค้าของกิจการร่วมค้า ซึ่งการจัดทำบัญชีของกิจการร่วมค้าจะปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี เชน่ เดยี วกับกิจการท่ัวไป มผี ู้ทำหน้าท่ีในการจดบันทึกรายการบัญชีสำหรบั การรว่ มค้า จะมีการแต่งตั้งให้ผู้ร่วมค้า คนอน่ื ๆ รวมท้ังผ้จู ดั การจะจดบันทึกรายการบัญชใี นสมดุ บัญชขี องตนเองเฉพาะรายการท่เี กยี่ วขอ้ งกับตนเองเท่านน้ั วิธีปฏิบตั ใิ นการบนั ทกึ รายการบัญชีกรณที ่ีมกี ารเปิดบญั ชกี ิจการร่วมคา้ แยกต่างหากสามารถสรุปได้ดงั น้ี 1. มกี ารเปิดสมุดบัญชีชุดใหม่เพ่ือจดบันทึกรายการคา้ ของกิจการรว่ มคา้ เชน่ เดียวกับกิจการท่ัวไป ซ่งึ กิจการ ร่วมค้าที่มีการเปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหากจะมีการจัดตั้งกิจการร่วมค้าเป็นติติบุคคล ตามกฎหมาย ดังนั้น กิจการร่วมค้าสามารถมีสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ ค่าใช้จ่าย ฯลฯ เป็นของกิจการร่วมค้า ไดเ้ อง และเมือ่ กจิ การรว่ มคา้ ส้นิ สุดลงจะมกี ารปิดบัญชีรายได้และคา่ ใช้จา่ ยต่าง ๆ เข้าบญั ชกี ำไรขาดทุนเหมือนกับ การคา้ ปกติเพ่อื คำนวณกำไรสทุ ธหิ รอื ขาดทนุ สทุ ธิจากการรว่ มค้าเพ่อื จัดสรรให้แก่ผ้รู ว่ มค้าตามข้อตกลง หลังจากนั้น จะมีการจา่ ยเงนิ คนื ให้แกผ่ ู้รว่ มคา้ 2. ผู้ร่วมค้าแต่ละคนจะเปิดบัญชีร่วมค้าหรือบัญชีเงินลงทุนในกิจการร่วมค้าในสมุดบัญชีของตนเอง เพื่อบันทึกสิทธิ์ที่ตนเองมีส่วนได้หรือส่วนเสียในกิจการร่วมค้า โดยบัญชีร่วมค้าหรือเงินลงทุนในกิจการร่วมค้า จะบนั ทึกสทิ ธิสว่ นไดเ้ สียในกิจการรว่ มค้าดงั นี้ รายการท่บี ันทกึ ทางดา้ นเดบติ - เงนิ สดหรือสนิ ทรัพย์ทสี่ ง่ ให้แก่กิจการรว่ มค้า - สว่ นแบ่งผลกำไรจากกิจการรว่ มค้า รายการทบี่ ันทกึ ทางด้านเครดติ - เงินสดหรอื สินทรัพยท์ ส่ี ่งให้แก่กิจการรว่ มค้า - ส่วนแบ่งผลขาดทนุ จากกิจการร่วมค้า การบนั ทึกบัญชรี ่วมคา้ โดยเปดิ สมดุ บัญชกี ิจการรว่ มคา้ แยกตา่ งหาก สามารถบนั ทึกได้ 2 กรณี คอื กรณีที่ 1 การบันทึกรายการบัญชีเมือ่ การรว่ มคา้ เสรจ็ สนิ้ กรณที ่ี 2 การบันทกึ รายการบัญชเี มือ่ การรว่ มคา้ ไม่เสร็จสน้ิ

หลกั การบันทกึ บญั ชกี ารร่วมค้าโดยไมเ่ ปิดสมุดบัญชีกจิ การร่วมคา้ แยกตา่ งหาก กรณีการดำเนนิ การร่วมค้าเสรจ็ ส้นิ ดังตอ่ ไปนี้ รายการ การบนั ทึกบญั ชใี นสมุดบัญชี การบันทึกบัญชีในสมุดบัญชี ของผู้รว่ มค้าทีเ่ กิดรายการ ของผูร้ ่วมคา้ คนอนื่ 1. การนำสินค้ามาลงทนุ ในกิจการ ร่วมคา้ เดบติ รว่ มคา้ xx เดบิต ร่วมค้า xx 1.1 ระบบการบนั ทึกบัญชีสินคา้ เครดิต ซ้ือสนิ คา้ xx เครดิต ผรู้ ว่ มค้าทีน่ ำ เมอื่ ส้ินงวด ( Periodic Inventory System ) สนิ คา้ มาลงทุน xx xx 1.2 ระบบการบนั ทกึ บัญชสี นิ คา้ เดบติ ร่วมคา้ xx เดบติ รว่ มค้า xx แบบต่อเน่อื ง เครดติ สนิ คา้ xx ( Perpetual Inventory System ) เครดติ ผู้ร่วมค้าที่นำ 2. ผู้ร่วมค้าส่งเงนิ ไปใหผ้ ูร้ ว่ มค้า สินค้ามาลงทุน อกี คนเพือ่ มีไวจ้ ่ายคา่ ใชจ้ ่ายของ กจิ การร่วมคา้ รายการในสมุดบัญชผี สู้ ง่ เงิน 3. การซ้อื สนิ คา้ ของกจิ การร่วมค้า เดบติ ผ้รู ว่ มค้าที่รับเงนิ xx เดบติ ผู้ร่วมค้าที่รับเงิน xx 3.1 ซ้อื สินค้าเป็นเงนิ สด เครดติ เงินสด xx เครดิต ผ้รู ว่ มค้าทส่ี ่งเงนิ xx 3.2 ซื้อสินคา้ เป็นเงินเชือ่ รายการในสมุดบญั ชผี ู้รบั เงนิ 4. การจ่ายชำระหนใ้ี ห้เจ้าหน้ี 4.1 จา่ ยชำระเป็นเงินสด เดบติ เงินสด xx 4.2 จา่ ยชำระเป็นเชค็ เครดิต ผูร้ ว่ มคา้ ทสี่ ่งเงนิ xx xx เดบติ ร่วมค้า xx เครดิต เงนิ สด xx เดบิต รว่ มคา้ xx เครดติ ผูร้ ว่ มค้าที่ เดบิต รว่ มคา้ xx ซอื้ สินค้า xx เครดิต เจ้าหน้ี xx xx เดบติ ร่วมคา้ เครดติ ผู้ร่วมค้าท่ี xx ซ้อื สินค้า เดบติ เจ้าหนี้ xx ไมบ่ นั ทึกบญั ชี เครดติ เงินสด xx ไมบ่ นั ทกึ บัญชี เดบติ เจา้ หน้ี xx เครดติ ธนาคาร xx

หลักการบนั ทึกบัญชีการร่วมคา้ โดยไมเ่ ปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมคา้ แยกตา่ งหาก กรณกี ารดำเนนิ การร่วมค้าเสร็จสิ้น ดังตอ่ ไปนี้ รายการ การบนั ทึกบัญชใี นสมดุ บญั ชี การบันทกึ บญั ชใี นสมดุ บญั ชี ของผรู้ ่วมคา้ ทเ่ี กดิ รายการ ของผูร้ ่วมคา้ คนอน่ื 5. การขายสนิ ค้าของกจิ การร่วมค้า 5.1 ขายสินคา้ เปน็ เงนิ สด เดบิต เงนิ สด xx เดบติ ผรู้ ว่ มค้าทขี่ ายสินคา้ xx เครดติ ร่วมค้า xx เครดิต รว่ มค้า xx 5.2 ขายสินคา้ เปน็ เงินเชือ่ เดบติ ลกู หน้ี xx เดบิต ผรู้ ่วมคา้ ทขี่ ายสินค้า xx เครดติ รว่ มค้า xx เครดติ รว่ มคา้ xx 6. การรบั ชำระหน้จี ากลกู หน้ี 6.1 รับชำระเป็นเงินสด เดบติ เงนิ สด xx ไมบ่ ันทกึ บญั ชี เครดติ ลูกหน้ี xx 6.2รับชำระเป็นเช็ค เดบิต เงินสด xx เครดิต ลกู หนี้ xx ไมบ่ นั ทกึ บัญชี 6.3 รับชำระหนี้เป็นเช็คนำ เดบติ ธนาคาร xx ฝากธนาคารทันที เครดิต ลกู หน้ี xx ไม่บนั ทึกบัญชี 7. การตัดหน้สี ูญ เดบิต รว่ มคา้ xx เดบติ รว่ มค้า xx เครดติ ลูกหนี้ xx เครดติ ผู้รว่ มคา้ ท่ีขายสนิ ค้า หรอื ผรู้ ่วมคา้ ท่ีตดั ลกู หน้ีเปน็ หน้สี ญู xx 8. การจ่ายคา่ ใช้จา่ ยเปน็ เงินสด เดบติ รว่ มคา้ xx เดบิต ร่วมค้า xx เครดติ ธนาคาร xx เครดติ ผรู้ ่วมค้าทจี่ ่าย คา่ ใช้จา่ ย xx 9. ผู้ร่วมค้าโอนบญั ชคี ่าใชจ้ า่ ยของ เดบติ รว่ มค้า xx เดบติ ร่วมค้า xx กจิ การตนเองไปเป็นคา่ ใช้จา่ ย เครดิต คา่ ใช้จา่ ย xx เครดิต ผรู้ ่วมคา้ ท่ีจ่าย ของกจิ การรว่ มค้า ค่าใช้จา่ ย xx 10. การจ่ายเงินเดอื นใหผ้ รู้ ว่ มค้าที่ เดบิต รว่ มคา้ xx เดบติ รว่ มคา้ xx เป็นผู้จัดการ เครดิต รายไดเ้ งินเดือน xx เครดิต ผู้รว่ มค้าทไ่ี ด้รับ เงินเดอื น xx 11. การถอนสินค้าจากกจิ การ ร่วมคา้ เดบติ ซ้อื สินค้า xx เดบิต ผ้รู ่วมคา้ ทถี่ อนสินค้า xx 11.1 ระบบการบันทกึ สนิ คา้ เครดิต ร่วมค้า xx เครดิต รว่ มค้า xx เมอ่ื สิ้นงวด ( Periodic Inventory System )

หลกั การบนั ทกึ บัญชกี ารร่วมคา้ โดยไม่เปิดสมุดบัญชีกจิ การร่วมคา้ แยกต่างหาก กรณีการดำเนนิ การร่วมค้าเสร็จสิ้น ดังตอ่ ไปนี้ รายการ การบนั ทึกบัญชใี นสมดุ บัญชี การบันทึกบัญชีในสมดุ บญั ชี ของผ้รู ว่ มค้าทเ่ี กดิ รายการ ของผรู้ ว่ มคา้ คนอืน่ 11.2 ระบบการบันทึกบัญชี เดบติ สินคา้ xx เดบิต ผู้ร่วมค้าท่ีถอนสินค้า xx สินค้าแบบตอ่ เนื่อง เครดติ รว่ มค้า xx เครดติ รว่ มค้า xx ( Perpetual Inventory System ) 12. การถอนเงินสดจากกจิ การ รายการในสมุดบญั ชผี ูไ้ ดร้ ับเงิน รว่ มคา้ เดบิต เงนิ สด xx เดบิต ผู้รว่ มคา้ ที่รบั เงนิ xx เครดติ ผู้รว่ มคา้ ทจ่ี ่ายเงนิ xx เครดติ ผู้ร่วมคา้ รายการในสมุดบญั ชผี ู้จา่ ยเงนิ ท่จี า่ ยเงิน xx เดบติ ผู้รว่ มคา้ ทรี่ ับเงิน xx เครดิต เงนิ สด xx 13. การคดิ คา่ นายหน้าในการขาย เดบิต ร่วมค้า xx เดบติ รว่ มค้า xx สนิ คา้ หรือคิดดอกเบ้ียให้กบั เครดิต รายได้คา่ นายหนา้ เครดิต ผรู้ ่วมคา้ คนอนื่ xx ผูร้ ่วมค้าทน่ี ำเงินมาลงทุน หรือดอกเบี้ยรับ (เฉพาะส่วนตนเอง) ผู้รว่ มค้าคนอื่น ๆ xx (ตามสว่ นที่แต่ละคน ได้รบั ) 14. การแบง่ ผลกำไรเมื่อการรว่ มคา้ เดบิต รว่ มค้า xx เดบิต ร่วมค้า xx เสรจ็ สิ้น (ยอดกำไรท้ังส้ิน) (ยอดกำไรท้งั สิน้ ) เครดิต กำไรจากการรว่ มคา้ xx เครดิต กำไรจากการร่วมคา้ xx (เฉพาะส่วนของตนเอง) (เฉพาะส่วนของ ผรู้ ่วมค้าคนอ่นื ๆ xx ตนเอง) (ตามสว่ นท่ีแตล่ ะ ผรู้ ว่ มค้าคนอ่นื ๆ xx คนไดร้ ับ) (ตามสว่ นที่แตล่ ะ คนได้รบั )

หลักการบนั ทึกบัญชกี ารรว่ มค้าโดยไมเ่ ปิดสมดุ บัญชีกจิ การร่วมค้าแยกตา่ งหาก กรณีการดำเนินการรว่ มค้าเสร็จสิน้ ดังตอ่ ไปนี้ รายการ การบนั ทึกบญั ชใี นสมุดบัญชี การบันทึกบญั ชใี นสมดุ บญั ชี ของผรู้ ว่ มคา้ ท่เี กดิ รายการ ของผู้รว่ มค้าคนอนื่ การแบ่งผลขาดทนุ เม่อื การ เดบิต ขาดทุนจากการร่วมคา้ xx เดบติ ขาดทุนจากการรว่ มค้า xx รว่ มคา้ เสรจ็ ส้นิ (เฉพาะส่วนของตนเอง) (เฉพาะส่วนของตนเอง) ผู้รว่ มคา้ คนอืน่ xx ผู้ร่วมค้าคนอน่ื xx ( ตามสว่ นทแ่ี ตล่ ะคนได้รบั ) ( ตามส่วนที่แต่ละคนได้รับ) เครดิต ร่วมค้า xx เครดติ ร่วมค้า xx (ยอดขาดทุนท้งั สนิ้ ) (ยอดขาดทุนท้งั ส้นิ ) 15. การจ่ายเงนิ ระหวา่ งกันเม่อื การบนั ทกึ บญั ชีของผ้รู ่วมคา้ ท่จี ่ายเงนิ การบันทึกบัญชขี องผรู้ ว่ มคา้ ทรี่ ับเงิน กจิ การร่วมค้าเสร็จส้นิ หมายเหตุ เดบิต ผรู้ ว่ มคา้ ทร่ี บั เงนิ xx เดบติ เงินสด xx ผ้รู ว่ มคา้ คนใดจะเป็นผู้ เครดติ เงินสด xx เครดติ ผู้รว่ มคา้ จา่ ยเงินหรือเปน็ ผ้รู บั เงนิ ตอ้ งหา ยอดคงเหลอื บญั ชผี รู้ ว่ มคา้ ถา้ บญั ชี ท่ีจา่ ยเงิน xx ผ้รู ่วมค้าคนใดมยี อดคงเหลอื ด้าน เดบิต แสดงว่าเปน็ ผ้ทู ตี่ ้องจ่ายเงนิ ให้ผู้ร่วมคา้ คนอ่นื ถ้าบัญชีผู้ร่วมค้า คนใดมยี อดคงเหลือด้านเครดติ แสดงว่า เป็นผู้ทจ่ี ะได้รับเงิน กิจกรรมการเรยี นการสอน/การเรยี นรู้ เตรยี มความพร้อมก่อนสอน ผู้สอนจดั เตรียมหนังสอื เอกสารประกอบการสอนและวัสดุอปุ กรณ์เพือ่ ท่ีใชป้ ระกอบการสอนให้พร้อมผู้สอน เรียกช่ือผู้เรยี น และจดบนั ทึกลงในสมดุ บันทกึ เวลาเรยี น ข้นั สอนมีขั้นตอน ดงั นี้ 1. ขั้นนำเขา้ สูบ่ ทเรียน 1. ผู้สอนทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของกิจการร่วมค้า โดยวิธีการถาม-ตอบ เปน็ กลมุ่ หรือรายบคุ คล 2. แจง้ ผลการเรยี นร้ทู ่คี าดหวัง 2. ขั้นดำเนินการสอน 1. ผู้สอนอธิบายถงึ หลกั การบนั ทึกบญั ชีของกิจการรว่ มคา้ และยกตวั อยา่ งโจทย์กรณีศึกษาประกอบ 2. ผู้เรยี นแสดงความคิดเหน็ โดยการซกั ถามประเด็นตา่ งๆ ของการบันทึกบญั ชี 3. ผูเ้ รียนศึกษา คน้ ควา้ เพมิ่ เตมิ เกีย่ วกับการบนั ทึกบญั ชขี องกจิ การร่วมค้า โดยการจบั คู่เพอ่ื นคคู่ ดิ 4. สุ่มผู้เรยี น บางคู่ ออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน 5. ผเู้ รยี นคนอ่ืนๆ แสดงความคิดเห็น ใหข้ ้อเสนอแนะ

3. ขัน้ สรุป 1. ผู้สอนและผู้เรียนสรุปหลักการบัญชีของกิจการร่วมค้า โดยการยกตัวอย่างรายการค้า และให้ผู้เรียน วเิ คราะห์ 2. ผเู้ รยี นคนอืน่ ๆ แสดงความคดิ เหน็ ใหข้ อ้ เสนอแนะ 4. ขน้ั นำไปใช้หรอื ประเมินผล 1. ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม โดยวิธีให้นักศึกษาจัดกลุ่ม จับสลากหรือเรียงลำดับเลขที่ แลว้ แตค่ วามเหมาะสม 2. นกั ศกึ ษาแตล่ ะกลมุ่ เลือกหวั หนา้ กลมุ่ และเลขานกุ ารกลมุ่ 3. หัวหน้ากลุ่ม เลขานุการกลมุ่ หรอื ผู้แทนกล่มุ จบั สลาก 4. หวั หนา้ กลุ่มแบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่มรบั ผิดชอบ 5. นักศึกษาทง้ั 4 กลมุ่ ระดมสมอง ศกึ ษาเนอื้ หาตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมายและคน้ คว้าเพิ่มเตมิ 6. หวั หน้ากลมุ่ เลขานกุ ารกลุ่มหรอื ตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี นใชเ้ วลากลุ่มละไมเ่ กิน 10 นาที หรอื อาจารยก์ ำหนดเวลาให้เหมาะสมกบั เน้อื หา 7. นักศกึ ษาแต่ละกลุ่มประเมนิ ผลกล่มุ ตนเองและประเมนิ ผลกลมุ่ อืน่ ๆ อกี 3 กลมุ่ อาจารยป์ ระเมินผลทุก กลุ่ม โดยใช้แบบประเมิน 1 และเฉลี่ยคะแนนโดยนำคะแนนที่ได้หารด้วย 5 (คะแนนทั้งหมด 25 หารด้วย 5 เทา่ กบั 5 คะแนน ถ้ามีจุดทศนยิ มให้ปัดตามหลักคณิตศาสตร์) 8. ครูรวบรวมแบบประเมิน 1 มาสรปุ คะแนนลงในแบบประเมนิ 2 รวมคะแนนและหารดว้ ย 5 (นกั ศกึ ษา 4 กลุ่ม + อาจารย์) พรอ้ มแสดงขอ้ คิดเหน็ /ขอ้ เสนอแนะ สอื่ การเรียนการสอน/การเรียนรู้ 1. สื่อ Power Point เรื่อง วิธีรวมตามสดั สว่ น 2. สือ่ Power Point เรื่อง วิธกี ารบนั ทกึ บญั ชีการร่วมค้า 3. สอ่ื วิดีทัศน์ เร่ือง กิจการรว่ มคา้ 4. สอ่ื การเรียนการสอนออนไลน์ https://pubhtml5.com/bookcase/ewue 5. แบบประเมินผลการเรยี นร้กู อ่ นเรยี นและหลงั เรียน 6. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 7. เวบ็ ไซต์ ก.ล.ต. 8. เว็บไซตก์ รมสรรพากร 9. เว็บไซต์สภาวิชาชีพบญั ชี 10. หนังสอื เรยี นรายวชิ า การบญั ชชี ัน้ สูง 1

งานท่ีมอบหมายหรอื กจิ กรรม กอ่ นเรยี น 1. จดั เตรียมเอกสาร ส่ือการเรยี นการสอนตามท่ผี ู้สอนและบทเรยี นกำหนด 2. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ทำความเข้าใจเก่ียวกับจุดประสงคก์ ารเรียนของหนว่ ยที่ 1 และการให้ความร่วมมอื ในการทำกิจกรรมในหนว่ ยการเรยี นที่ 1 ขณะเรียน 1. ผมู้ อบหมายใหผ้ เู้ รียนแบง่ กลมุ่ ย่อยตามความสมัครใจ 2. ปฏิบัตงิ านตามใบงาน 3. ร่วมกันสรุปตามหวั ข้อท่ีไดร้ บั มอบหมาย 4. รายงานหน้าชนั้ เรียนตามหัวข้อทไ่ี ด้รบั มอบหมาย หลังเรียน 1. ผูส้ อนมอบหมายใหผ้ ู้เรียนทำแบบฝกึ หัดทา้ ยหน่วยท่ี 1 2. ทำแบบทดสอบหลังเรยี น การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ วิธวี ดั ผล 1. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้กอ่ นเรียน 2. การสังเกตและประเมินพฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เครือ่ งมอื วดั ผล 1. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ก่อนเรียนและหลงั เรยี น 2. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยอาจารยแ์ ละ นักศกึ ษารว่ มกนั ประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ ผล 1. แบบประเมินผลการเรียนรกู้ อ่ นเรียนไมม่ ีเกณฑ์ผา่ น อาจารย์จะเก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบ กบั คะแนน ทไี่ ดจ้ ากการทำแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้หลังเรยี น 2. ผลคะแนนประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสำเร็จของผ้เู รยี น 1. ผู้เรียนทำใบงานและแบบฝึกหัดท้ายหนว่ ยการเรียนถูกต้อง 2. กระดาษคำตอบแบบฝกึ หดั ท้ายหนว่ ยการเรียน 3. ใบงานได้จากการค้นคว้า 4. ผู้เรียนออกแบบผงั ความคิดรวบยอด เร่ือง ความรทู้ ่ัวไปเกีย่ วกับการร่วมค้า

แบบสังเกตแบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล คำชีแ้ จง ทำเคร่อื งหมาย  ในช่องท่ตี รงกับความเปน็ จรงิ ตามเกณฑ์การประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ (ใชข้ อ้ มูลจากการสังเกตตามสภาพจรงิ ของครผู ้สู อน) เลขที่ ชอ่ื - สกุล ตัง้ ใจและรบั ผิดชอบ ทำงานดว้ ยความเพียร รวม ในการปฏิบตั ิหน้าทก่ี ารงาน 8 คะแนน พยายาม และอดทนเพือ่ ให้ งานสำเร็จตามเปา้ หมาย 4 3 21 4 3 21 1 2 3 4 5 เกณฑก์ ารใชค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ 4 คะแนน เทา่ กบั ดีมาก 3 คะแนน เท่ากับ ดี ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 2 คะแนน เท่ากบั พอใช้ 7-8 ดมี าก 1 คะแนน เทา่ กบั ปรบั ปรงุ 5-6 ดี 3-4 พอใช้ 1-2 ปรับปรงุ (ลงชื่อ)...................................ครผู ู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ คำชีแ้ จง ให้ทำเคร่อื งหมาย ✓ ลงในช่องรายการสงั เกตพฤติกรรมที่นกั เรียนปฏบิ ัติ รายการ รบั ผดิ ชอบ รบั ฟงั นำเสนอ มีความคิดรเิ ริ่ม ทำงานเสร็จ เลขที่ ช่ือ-สกลุ งานทไ่ี ดร้ บั ความคิดเห็น ผลงานได้ สร้างสรรค์ ตามเวลาท่ี มอบหมาย ของผ้อู ื่น นา่ สนใจ (2 คะแนน) กำหนด (2 คะแนน) (2 คะแนน) (2 คะแนน) (2 คะแนน) เกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน 9 – 10 ระดบั ดมี าก คะแนน 7 – 8 ระดับ ดี คะแนน 5 – 6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0 – 4 ระดับ ควรปรับปรงุ (ลงชอื่ )...................................ครผู ู้ประเมนิ (…………………………………………………) ............../................./.............

แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ชือ่ ผูป้ ระเมิน/กลุม่ ประเมิน................................................................................................................ ชอ่ื กลมุ่ รบั การประเมนิ ...................................................................................................................... ระดับพฤตกิ รรม ที่ คุณลกั ษณะ/พฤติกรรมบ่งช้ี ใช้ได้ ควรปรบั ปรุง คะแนนท่ไี ด้ (2 คะแนน) (0 คะแนน) 1 ความมมี นุษยส์ ัมพนั ธ์ - แสดงกริ ิยาทา่ ทางสุภาพตอ่ ผอู้ ่ืน - ให้ความรว่ มมือกบั ผอู้ ่นื 2 ความมวี นิ ัย - ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บ ขอ้ บงั คบั และขอ้ ตกลงตา่ ง ๆ ของวทิ ยาลัย ไดแ้ ก่ การแตง่ กายถกู ตอ้ ง ตามระเบยี บและขอ้ บงั คบั ตรงต่อเวลา 3 ความรับผิดชอบ - เตรียมความพร้อมในการเรยี นและการปฏบิ ัตงิ าน - ปฏบิ ัตงิ านด้วยความตั้งใจ - มีความเพยี รพยายามในการเรยี นและการปฏิบตั ิงาน 4 ความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง - กล้าแสดงความคดิ เหน็ อย่างมเี หตุผล 5 ความปลอดภยั - ปฏิบตั ิงาน ทำกิจกรรมด้วยความระมัดระวัง 6 ความสนใจใฝ่รู้ - ซักถามปัญหานา่ สงสยั 7 ความรักสามคั คี - รว่ มมอื ในการทำงาน 8 ความกตญั ญูกตเวที - มสี ัมมาคารวะตอ่ ครู-อาจารยอ์ ย่างสมำ่ เสมอ ท้ังตอ่ หน้าและลับหลงั 9 พึ่งตนเอง - ทำงานปฏบิ ัตงิ านดว้ ยตนเอง 10 มีความอดทนอดกลั้น - ควบคุมอารมณ์/ความรูส้ ึกอย่างมีสตแิ ละเหตุผล

ใบงานท่ื 1 เรือ่ ง การบัญชีเก่ียวกบั กจิ การร่วมค้า 1. ความหมายและประเภทของกิจการร่วมค้า ประเภทของธุรกิจที่ดำเนินธุรกิจ รว่ มคา้ และสาเหตุทมี่ ีการทำธรุ กจิ แบบรว่ มค้า 2. วธิ ีการบันทกึ บญั ชีของกจิ การรว่ มคา้ 3. การแสดงสิทธสิ ่วนได้เสียและกำไรขาดทนุ จากกิจการรว่ มค้าในงบการเงินของ ผู้ร่วมค้า จดุ ประสงค์ 1. บอกความหมายและประเภทของกิจการร่วมค้า ประเภทของธุรกิจที่ดำเนินธุรกิจร่วมค้าและ สาเหตุทีม่ กี ารทำธุรกิจแบบร่วมค้าได้ 2. บนั ทกึ บญั ชขี องกิจการรว่ มคา้ ได้ 3. แสดงสทิ ธิสว่ นไดเ้ สยี และกำไรขาดทุนจากกิจการร่วมค้า ในงบการเงนิ ของผูร้ ่วมค้าได้ เนอื้ หาสาระ ตอ่ ไปน้ีเป็นรายการรร่วมคา้ ของกิจการร่วมค้าแหง่ หนง่ึ ซ่งึ บนั ทึกบญั ชโี ดยผรู้ ่วมคา้ แตล่ ะฝา่ ยตา่ งๆ จดบนั ทกึ รายการรว่ มคา้ ในสมดุ บัญชขี องตนเองและบันทกึ บัญชีเกย่ี วกับสนิ คา้ ตามวิธี Periodic Inventory System มี ขอ้ ตกลงรว่ มกัน คอื ผ้ขู ายจะได้รับคา่ นายหนา้ 3% ของยอดขาย และแบง่ กำไรขาดทนุ เทา่ ๆ กนั รายการค้า สมุดบัญชขี องบริษัท มานี จำกัด สมดุ บญั ชีของบริษทั มานะ จำกัด บริษทั มานะ จำกดั ส่งสินค้ามา ลงทนุ 10,000 บาท บรษิ ทั มานะ จำกดั จ่ายคา่ ขนส่ง สินค้าไป 1,000 บาท บรษิ ทั มานะ จำกัด ขายสนิ ค้าได้รับ เงนิ สด 30,000 บาท บริษัท มานี จำกดั ขายสินคา้ เป็น เงินเช่อื 20,000 บาท บรษิ ัท มานี จำกัด จ่ายคา่ โฆษณา 2,500 บา บรษิ ทั มานี จำกดั รับชำระหนี้ จากลูกหนี้ทง้ั จำนวน บนั ทกึ คา่ นายหนา้ ใหแ้ ก่ผู้ร่วมคา้ 3% ของยอดขาย แบ่งกำไรใหแ้ ก่ผ้รู ว่ มคา้ ตามขอ้ ตกลง ผูร้ ร่วมคา้ ชำระเงินท่ีติดค้างแกก่ ัน

แบบประเมินผลการเรียนรกู้ อ่ น/หลงั เรยี น หน่วยท่ี 1 การบัญชกี จิ การรว่ มคา้ คำสง่ั จงทำเคร่อื งหมาย  ทับขอ้ ทีถ่ กู ตอ้ งทส่ี ดุ เพยี งขอ้ เดียว 1. Joint Venture คือ กิจการประเภทใด ก. เจา้ ของคนเดยี ว ข. หา้ งหุ้นสว่ น ค. บรษิ ัทจำกัด ง. กิจการรว่ มคา้ 2. ความหมายของกิจการรว่ มค้า ตรงกับข้อใด ก. การประกอบกิจการคนเดยี วหรอื หลายคน มีวตั ถุประสงค์มาดำเนินธุรกิจร่วมกัน ข. การประกอบธรุ กจิ ของบคุ คลตัง้ แต่สองคนขน้ึ ไปมาจัดตง้ั ในรปู ห้างหุ้นสว่ น ค. การประกอบธรุ กิจเชงิ เศรษฐกจิ ของบุคคลตงั้ แต่สองรายข้ึนไปโดยมีการควบคมุ รว่ มกันตามที่ตกลงไวใ้ น สัญญา ง. การประกอบธุรกจิ จดทะเบยี นปกติแสวงหากำไร 3. ขอ้ ใดไมใ่ ชป่ ระเภทของการร่วมคา้ ข. สนิ ทรัพย์ควบคมุ รว่ มกนั ก. การดำเนินงานที่ควบคุมรว่ มกัน ง. การแบง่ กำไรร่วมกนั ค. วิธีรวมตามสัดสว่ นและวธิ สี ่วนไดเ้ สีย 4. ผลตอบแทนท่ีผูร้ ่วมค้าจะไดร้ ับ ตรงกบั ข้อใด ข. คา่ ป่วยการ ก. ค่านายหนา้ ง. สว่ นแบ่งกำไร ค. ดอกเบยี้ เงนิ ลงทุน 5. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ประโยชนข์ องการร่วมค้า ก. เปน็ การระดมความคิด แลกเปลย่ี นทรพั ยากรจดั การรว่ มกนั ข. การตัดสนิ ใจงา่ ย สะดวกและรวดเรว็ ค. กิจการมโี อกาสในการลงทุนมากและมีเงินลงทนุ จำนวนมาก ง. เปน็ การกระจายความเสยี่ งของธรุ กิจ

จากบัญชแี ยกประเภทร่วมคา้ ต่อไปน้ี ใช้ตอบคำถามขอ้ 6 - 9 บญั ชรี ว่ มคา้ 2563 2563 พ.ค. 5 ซอื้ สินค้า บจ. ดำ 13,000 พ.ค. 6 ขายสินค้า บจ.แดง 20,000 7 คา่ ขนส่งเข้า บจ. แดง 500 15 ขายสนิ คา้ บจ.ดำ 15,000 10 คา่ โฆษณา บจ.แดง 350 20 ขายสนิ คา้ บจ.แดง 18,000 12 ค่าขนสง่ ออก บจ.ดำ 500 27 คา่ นายหนา้ บจ.ดำ ? ค่านายหน้า บจ.แดง ? ขอ้ มูลเพ่ิมเติม ผ้รู ่วมคา้ ตกลงรว่ มกัน 2 ขอ้ 1. คดิ ว่านายหนา้ ใหก้ บั ผูร้ ่วมคา้ ในอัตรา 10% ของยอดขายแต่ละ ราย ข้อ 2. แบง่ กำไรจากการรว่ มค้าตามขอ้ ตกลงเท่าๆ กันทกุ ราย 6. คา่ นายหนา้ ของบริษทั แดง จำกัด ตรงกับข้อใด ก. 1,500 บาท ข. 1,800 บาท ค. 3,300 บาท ง. 5,300 บาท 7. คา่ นายหนา้ ของบรษิ ทั แดง จำกัด ตรงกับข้อใด ก. 1,500 บาท ข. 1,800 บาท ค. 3,300 บาท ง. 5,300 บาท 8. กิจการมีกำไรขาดทุนจากกิจการรว่ มคา้ ตรงกับข้อใด ก. 33,350 บาท ข. 33,550 บาท ค. 33,850 บาท ง. 38,650 บาท 9. บริษทั ดำ จะไดร้ บั กำไรจากการรว่ มค้า ตรงกับขอ้ ใด ก. 16,755 บาท ข. 16,775 บาท ค. 16,925 บาท ง. 19,325 บาท 10. วิธกี ารบนั ทึกบญั ชีของกิจการรร่วมคา้ โดยทั่วไป ตรงกับข้อใด ก. วธิ กี ารควบคุมรว่ มกนั ข. วธิ กี ารดำเนินงานร่วมกนั ค. วธิ ีการบรหิ ารสนิ ทรพั ย์ร่วมกนั ง. วธิ ีเปดิ สมุดบัญชีชุดร่วมค้าอีกชุดหนึ่งและไม่เปิดสมุดบญั ชีชดุ รว่ มคา้ อีกชุดหนึง่

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 หน่วยที่ 1 วชิ า 30201 – 2005 การบญั ชีช้ันสูง 1 สอนครั้งท่ี 3 ชอ่ื หน่วย การบัญชเี ก่ียวกบั กจิ การร่วมค้า จำนวน 12 ช่ัวโมง ชือ่ เรื่อง วิธกี ารบนั ทึกบัญชีของกิจการร่วมคา้ โดยเปิดสมุดบญั ชี จำนวน 4 ช่วั โมง อีกชุดหนงึ่ ต่างหาก หัวขอ้ เรอื่ ง ด้านความรู้ 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั เกี่ยวกบั ความหมายของการร่วมคา้ ได้ 2. แสดงความรเู้ ก่ยี วกับลกั ษณะของการร่วมคา้ ได้ 3. แสดงความร้เู ก่ยี วกับประโยชนก์ ารร่วมคา้ ได้ 4. แสดงความร้เู ก่ียวกับระบบบญั ชีท่ีแบ่งตามลกั ษณะการผลิตได้ ดา้ นทักษะ 5. บอกวิธีการบัญชเี กีย่ วกบั การร่วมค้าได้ 6. บนั ทกึ บัญชรี ายการรว่ มคา้ กรณีผู้รว่ มคา้ ต่างจดบันทึกรายการคา้ ในสมดุ บญั ชขี องตนเองได้ 7. คำนวณกำไรขาดุทนจากกิจการร่วมคา้ กรณีการรว่ มค้ายังไมส่ ิ้นสุดและมีสนิ ค้าคงเหลือ จากการรว่ มค้าได้ 8. บนั ทกึ บัญชรี ายการร่วมค้า กรณีใช้สมุดบญั ชีอีกชดุ หนงึ่ ตา่ งหากสำหรบั กิจการรว่ มค้าได้ 9. คำนวณเงนิ ลงทุนในกิจการร่วมค้าหรอื หนสี้ นิ ต่อกจิ การรรว่ มค้า ซ่ึงจะปรากฎในงบแสดงฐานะการเงิน ของผรู้ ว่ มค้าแต่ละคนได้ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง (มีวินัย มคี วามรับผิดชอบ ขยนั ประหยดั ซอ่ื สัตย์สจุ ริต และมคี วามสามคั คี) 10. รบั ฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่นื 11. ปฏิบตั ิงานท่ไี ดร้ บั มอบหมายสำเร็จตามท่ีกำหนดได้ด้วยตนเอง 12. ปฏิบตั ิตนตามกฎ ระเบยี บขอ้ บังคบั ของสถานศึกษาและสงั คม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สาระสำคัญ ในโลกธุรกิจปัจจุบันมีการแข่งขันสูง มีการเปิดการค้าอย่างเสรีและกวา้ งไกล มีความรว่ มมือทางการค้ากัน มากขึ้นทั้งในและต่างประเทศ โดยทุก ๆ ฝ่ายต่างหาพันธมิตรเพื่อการแข่งขันทางการค้า ก่อให้เกิดการร่วมมือ ทางการค้า ก่อให้เกิดการร่วมมือทางการค้ากันมากขึ้นทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เช่น การลงทุนแบบชั่วคราว เกี่ยวกับพืชผลการเกษตร ที่เกิดขึ้นตามฤดูกาล การประมูลงานก่อสร้าง การสร้างเขื่อนบริษัทข้ามชาติ ตามประมวลรษั ฎากร หมวด 3 วา่ ดว้ ยภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล มาตรา 39 กำหนดวา่ กิจการรว่ มค้าของไทยจะต้องมี นติ บิ ุคคลเปน็ หลักในการลงทนุ ประกอบดว้ ย

1. บรษิ ทั กบั บริษทั 2. บริษัทกับหา้ งหุน้ ส่วนนิตบิ คุ คล 3. หา้ งห้นุ สว่ นนติ บิ คุ คลกบั ห้างหนุ้ ส่วนนติ บิ ุคคล 4. บริษัทและ/หรือห้างหนุ้ สว่ นนติ บิ คุ คลกบั บุคคลธรรมดา 5. บริษัทและ/หรือห้างหนุ้ ส่วนนติ บิ คุ คลกบั คณะบุคคลท่ีมใิ ช่นิตบิ ุคคล 6. บรษิ ทั และ/หรอื ห้างหุ้นสว่ นนิตบิ คุ คลกับหา้ งหนุ้ ส่วนสามัญ 7. บริษัทและ/หรอื หา้ งหนุ้ สว่ นนิตบิ ุคคลกับนิติบคุ คลอื่น สมรรถนะประจำหนว่ ย บันทกึ บัญชีเกย่ี วกับรายการร่วมค้าได้ตามมาตรฐานการบัญชี จุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้ จดุ ประสงค์ทั่วไป เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั ความหมายของการรว่ มค้า ลักษณะของการร่วมคา้ ประโยชน์ ของการร่วมค้า รูปแบบของการรว่ มค้า วิธีการบัญชีเกี่ยวกับการร่วมค้า และวิธีการบันทึกบัญชขี องกิจการรว่ มค้า การแบ่งผลกำไรขาดทุน กอ่ นการรว่ มค้าเสรจ็ สิ้น จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. บอกวิธีการบญั ชีเก่ียวกับการรรว่ มคา้ ได้ 2. บันทึกบัญชรี ายการร่วมค้า กรณีใช้สมุดบัญชอี ีกชุดหนึ่งต่างหากสำหรบั กิจการร่วมคา้ ได้ 3. คำนวณกำไรขาดทุ นจากกจิ การร่วมคา้ กรณกี ารร่วมคา้ ยังไมส่ ิ้นสดุ และมสี ินค้าคงเหลือ จากการรว่ มค้าได้ 4. วิเคราะห์การใชส้ ตทิ ำใหช้ วี ติ เกิดการเรียนร้แู ละพฒั นาได้ 5 ประยกุ ต์การใช้สตกิ ับปัญญามาเป็นแนวทางในการดำเนนิ ชวี ิตได้ 6. ปฏบิ ัติงานได้อย่างถกู ต้อง ตรงเวลาทก่ี ำหนดอยา่ งมีเหตแุ ละผลตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง และคุณลักษณะ3D การบรู ณาการกบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและคุณลกั ษณะ 3D หลกั ความพอประมาณ 1. นกั เรยี นจัดสรรเวลาในการฝกึ ปฏิบัตติ ามใบงานได้อย่างเหมาะสม 2. นกั เรียนรจู้ กั ใช้และจัดการ วสั ดุอุปกรณต์ ่างๆ อย่างประหยดั และคมุ้ ค่า 3. นกั เรยี นปฏิบัตติ นเป็นผูน้ ำและผตู้ ามท่ดี ี 4. นักเรยี นเป็นสมาชิกท่ีดีของกลุ่มเพื่อและสังคม หลักความมเี หตผุ ล 1. เหตคุ ุณค่าของการจดั ทำบัญชีไดอ้ ยา่ งมีเหตุมีผล และสามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตในการดำเนิน ธุรกิจและใช้ชีวติ ประจำวนั ได้ 2. กลา้ แสดงความคิดอย่างมีเหตุผล

3. กล้าทกั ทว้ งในส่ิงท่ไี มถ่ กู ตอ้ งอย่างถูกกาลเทศะ 4. กลา้ ยอมรบั ฟังความคิดของผอู้ น่ื 5. ใชว้ ัสดุถูกต้องและเหมาะสมกับงาน 6. ไม่มีเรื่องทะเลาะววิ าทกับผ้อู ื่น 7. มคี วามคิดวเิ คราะหใ์ นการแกป้ ญั หาอย่างเป็นระบบ หลกั ความคมุ้ กนั 1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจด้านความรทู้ วั่ ไปเกี่ยวกับกจิ การรว่ มคา้ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 2. มที ักษะในการแสดงวธิ ีการบนั ทึกบญั ชีของกจิ การรว่ มค้าโดยเปิดสมุดบญั ชอี ีกชดุ หน่งึ ตา่ งหากได้ 3. นักเรียนไดร้ ับความรทู้ ี่ถูกตอ้ ง และพรอ้ มที่จะนำความรเู้ กี่ยวกับการบญั ชีได้ การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงหรือตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงน้ัน ต้องอาศัยทัง้ ความรู้และคณุ ธรรมเป็นพืน้ ฐาน ดังนี้ เง่ือนไขความรู้ 1. นกั เรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับการบัญชี 2. ใชว้ ัสดุอย่างประหยดั และคุม้ ค่า 3. มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เงอื่ นไขคณุ ธรรม 1. ปฏิบตั งิ านที่ได้รับมอบหมายเสรจ็ ตามกำหนด 2. ใชว้ ัสดอุ ย่างประหยัดและค้มุ คา่ 3. มคี วามเพียรพยายามและกระตือรือร้นในการเรียนและการปฏิบัตงิ าน 4. ใหค้ วามรว่ มมอื กับการทำกจิ กรรมของส่วนรวม อาสาชว่ ยเหลอื งานครแู ละผู้อื่น เนื้อหาสาระการสอน/การเรยี นรู้ 1. วิธีรวมตามสัดสว่ น (Proportionate Consolidation) วิธีรวมตามสัดส่วน คือ การรวมสินทรัพย์ที่ควบคุมร่วมกนั และหนี้สินที่รับผิดชอบร่วมกันเฉพาะ ส่วนของผู้ร่วมค้าไว้ในงบดุลรวม และรวมรายได้และค่าใช้จ่ายของกิจการร่วมค้าเฉพาะส่วนของผู้ร่วมค้าไว้ใน งบกำไรขาดทุนรวม ซึง่ การรวมตามสดั สว่ น จะมีขั้นตอนการจดั ทำเชน่ เดียวกบั งบการเงินของบริษัทใหญ่และบริษัท ย่อยน่นั เอง การรวมสดั ส่วนสามารถกระทำได้ 2 รูปแบบ ดงั น้ี รูปแบบท่ี 1 เกณฑร์ วมแต่ละบรรทัด คอื การนำรายการที่คลา้ ยคลงึ กันมารวมกนั ในแตล่ ะบรรทดั รูปแบบที่ 2 แยกแสดงเป็นบรรทัด คือการใช้สินทรัพย์ หนี้สิน และรายได้และค่าใช้จ่าย ของกิจการแสดงไวก้ บั รายการทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั หากกิจการผู้ร่วมค้า ไม่สามารถควบคุมกิจการร่วมค้าได้อีกต่อไป กิจการจะต้องบันทึกบัญชี เงินลงทุนโดยใช้วิธีส่วนได้เสีย (Equity Method) แทน ในทางตรงกันข้าม หากกิจการร่วมค้ารายใดรายหนึ่ง สามารถควบคุมกจิ การร่วมค้าไดอ้ ย่างเต็มท่ี กจิ การรว่ มคา้ จะแปรสภาพเปน็ บริษทั ย่อยในทนั ที ดงั น้ัน จงึ ต้องจัดทำ งบการเงนิ รวม (Consolidation) แทน 2. การบันทึกบัญชีของกจิ การรว่ มคา้

1. วธิ ที ี่ 1. เปดิ สมดุ บัญชีชดุ ร่วมคา้ อีกชุดหนง่ึ การลงบัญชวี ธิ ีนี้ ผูร้ ว่ มค้าแตล่ ะคนมขี ้นั ตอนในการบันทึกบัญชี ดงั นี้ 1. ผู้ร่วมค้าทำหน้าที่เป็นผู้ดำเนินการร่วมค้าจะเป็นผู้บันทึกรายการทั้งหมดที่เกี่ยวกับรายการร่วมค้า ในสมดุ บัญชีของกจิ การร่วมคา้ 2. ผู้ร่วมค้าแต่ละฝ่ายรวมถึงผู้ดำเนินการร่วมค้า จะบันทึกเฉพาะรายการค้าของกิจการรร่วมค้า เฉพาะส่วนท่ีเกี่ยวข้องเทา่ นนั้ ในบัญชเี งนิ ลงทนุ ของกิจการร่วมค้า การบันทึกบัญชีตามวิธีนี้เหมาะสำหรับกิจการร่วมค้าที่มีรายการค้าจำนวนมาก และมีระยะเวลา การดำเนินงานค่อนข้างยาว โดยจะมีการเปิดสมุดบัญชีของกิจการร่วมค้าขึ้นชุดหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อทำการ จดบันทึกรายการค้าของกิจการร่วมค้า ซึ่งการจัดทำบัญชีของกิจการร่วมค้าจะปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี เชน่ เดยี วกับกิจการทั่วไป มผี ทู้ ำหน้าทใ่ี นการจดบันทกึ รายการบญั ชสี ำหรับการรว่ มคา้ จะมีการแต่งตั้งให้ผู้ร่วมค้า คนอื่น ๆ รวมทั้งผู้จัดการจะจดบันทึกรายการบัญชีในสมุดบัญชีของตนเองเฉพาะรายการที่เกี่ยวข้องกับตนเอง เท่าน้นั วิธีปฏิบตั ิในการบนั ทึกรายการบัญชีกรณีท่มี กี ารเปดิ บัญชกี ิจการร่วมค้าแยกต่างหากสามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี 1. มีการเปิดสมุดบัญชีชุดใหม่เพื่อจดบันทึกรายการค้าของกิจการร่วมค้าเช่นเดียวกับกิจการทั่วไป ซึ่งกิจการร่วมค้าที่มีการเปิดสมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหากจะมีการจัดตั้งกิจการร่วมค้าเป็นติติบุคคล ตามกฎหมาย ดังนั้น กิจการร่วมค้าสามารถมีสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ ค่าใช้จ่าย ฯลฯ เป็นของกิจการร่วมค้า ไดเ้ อง และเมอื่ กจิ การรว่ มคา้ สนิ้ สุดลงจะมกี ารปดิ บญั ชรี ายได้และค่าใชจ้ ่ายต่าง ๆ เขา้ บญั ชีกำไรขาดทุนเหมือนกับ การค้าปกติเพื่อคำนวณกำไรสุทธิหรอื ขาดทุนสุทธิจากการร่วมคา้ เพื่อจัดสรรให้แก่ผู้ร่วมค้าตามข้อตกลง หลังจาก นน้ั จะมกี ารจา่ ยเงินคนื ใหแ้ กผ่ ู้ร่วมคา้ 2. ผู้ร่วมค้าแต่ละคนจะเปิดบัญชีร่วมค้าหรือบัญชีเงินลงทุนในกิจการร่วมค้าในสมุดบัญชีของตนเอง เพื่อบันทึกสิทธิ์ที่ตนเองมีส่วนได้หรือส่วนเสียในกิจการร่วมค้า โดยบัญชีร่วมค้าหรือเงินลงทุนในกิจการร่วมค้า จะบันทึกสทิ ธิส่วนได้เสยี ในกจิ การร่วมค้าดังนี้ รายการที่บันทกึ ทางดา้ นเดบติ - เงนิ สดหรอื สนิ ทรัพยท์ ่สี ่งให้แก่กิจการรว่ มคา้ - ส่วนแบ่งผลกำไรจากกิจการร่วมค้า รายการท่ีบันทึกทางด้านเครดติ - เงนิ สดหรอื สนิ ทรพั ยท์ ่สี ง่ ให้แก่กิจการร่วมค้า - ส่วนแบง่ ผลขาดทนุ จากกิจการรว่ มค้า การบนั ทึกบัญชรี ่วมคา้ โดยเปิดสมุดบัญชกี ิจการรว่ มคา้ แยกตา่ งหาก สามารถบันทกึ ได้ 2 กรณี คือ กรณีที่ 1 การบันทึกรายการบญั ชีเม่ือการรว่ มค้าเสร็จส้ิน กรณที ี่ 2 การบันทึกรายการบญั ชเี มื่อการร่วมค้าไมเ่ สร็จส้ิน

หลกั การบัญชีการร่วมค้าโดยเปดิ สมดุ บัญชกี จิ การรว่ มคา้ แยกต่างหาก กรณีการดำเนินการรว่ มคา้ เสร็จสนิ้ รายการ การบันทกึ บัญชใี นสมุดบญั ชี การบนั ทึกบัญชใี นสมดุ การบนั ทกึ บัญชี ของกิจการร่วมคา้ บญั ชขี องผู้ร่วมค้า ในสมดุ บัญชีของ ท่ีเกดิ รายการ ผูร้ ่วมค้า คนอ่นื 1.การนำสนิ ค้ามาลงทุนในกจิ การรว่ มคา้ เดบติ ซ้อื สินค้า xx เดบิต ร่วมค้า หรอื 1.1ระบบการบันทึกสินคา้ เมื่อส้ินงวด เครดิต ผรู้ ่วมค้า เงินลงทนุ ใน (Periodic Inventory System) ท่นี ำสินคา้ กจิ การร่วมคา้ xx ไมบ่ นั ทึกบญั ชี มาลงทนุ xx เครดิต ซ้อื สนิ คา้ xx 1.2ระบบการบันทึกสินค้า เดบิต สินคา้ xx เดบิต รว่ มคา้ หรือ แบบต่อเนือ่ ง(Perpetual Inventory เครดิต ผรู้ ่วมค้า เงนิ ลงทุนใน System) ทีน่ ำสินค้า กิจการรว่ มค้า xx ไม่บันทกึ บัญชี มาลงทุน xx เครดิต สนิ คา้ xx 2.ผูร้ ว่ มค้าสง่ เงินไปให้ผรู้ ว่ มคา้ ที่ทำ เดบิต เงนิ สด xx เดบิต รว่ มค้า หรอื หนา้ ที่ เครดติ ผู้รว่ มคา้ เงนิ ลงทุนใน ผู้จดั การ เพอ่ื มีไว้ใชจ้ ่ายของกิจการ ที่ส่งเงิน xx กิจการรว่ มค้า xx ไมบ่ นั ทกึ บัญชี ร่วมค้า เครดิต เงนิ สด xx 3.การซอ้ื สินค้าของกิจการรว่ มคา้ 3.1ซือ้ สนิ ค้าเป็นเงินสด ก.ระบบการบันทกึ สนิ คา้ เดบติ ซื้อสินค้า xx ไม่บันทึกบัญชี ไม่บนั ทกึ บญั ชี เมื่อสิ้นงวด(Periodic Inventory System) เครดติ เงนิ สด xx ข . ร ะ บ บ ก า ร บ ั น ท ึ ก ส ิ น ค้ า เดบติ สินค้า xx แบบตอ่ เนอื่ ง(Perpetual เครดติ เงินสด xx ไมบ่ ันทึกบญั ชี ไมบ่ นั ทึกบัญชี ไม่บันทกึ บญั ชี ไมบ่ นั ทึกบญั ชี Inventory System) ไม่บันทึกบญั ชี ไม่บนั ทึกบญั ชี ไม่บันทกึ บัญชี ไมบ่ ันทกึ บัญชี 3.2ซอื้ สินค้าเป็นเงนิ เช่ือ เดบติ ซ้ือสนิ ค้า xx ก.ระบบการบนั ทกึ สนิ ค้าเมื่อสิน้ เครดติ เจา้ หนี้ xx ไมบ่ นั ทกึ บัญชี ไมบ่ ันทกึ บัญชี งวด(Periodic Inventory System) 4.การจ่ายชำระหนใี้ ห้เจ้าหน้ี เดบิต เจ้าหนี้ xx 4.1 จ่ายชำระเปน็ เงนิ สด เครดติ เงินสด xx 4.2 จ่ายชำระเปน็ เช็ค เดบติ เจ้าหน้ี xx เครดิต เงินสด xx 5.การขายสินค้าของ เดบิต เงินสด xx กจิ การรว่ มคา้ เครดิต ขายสนิ ค้า xx 5.1ขายสนิ ค้าเป็นเงนิ สด ก.ระบบการบันทกึ สนิ คา้ เมอื่ สน้ิ งวด (Periodic Inventory System)

หลักการบญั ชีการร่วมคา้ โดยเปดิ สมุดบัญชีกิจการร่วมค้าแยกต่างหาก กรณกี ารดำเนินการรว่ มค้าเสรจ็ สน้ิ รายการ การบนั ทกึ บญั ชใี นสมุดบญั ชี การบันทกึ บญั ชใี นสมุด การบนั ทึกบัญชี ของกจิ การร่วมคา้ บัญชีของผู้ร่วมคา้ ในสมดุ บัญชขี อง ทีเ่ กดิ รายการ ผูร้ ว่ มค้าคนอ่ืน ข.ระบบการบนั ทกึ สนิ คา้ เดบิต เงินสด xx แบบต่อเนอ่ื ง(Perpetual (ราคาขาย) Inventory System) เครดิต ขายสนิ ค้า xx ไม่บันทึกบัญชี ไม่บนั ทกึ บญั ชี เดบิต ต้นทนุ ขาย xx (ราคาทนุ ) เครดติ สินค้า xx 5.2ขายสินค้าเป็นเงินเชือ่ ก.ระบบการบนั ทึกสินคา้ เดบติ ลูกหน้ี xx ไม่บนั ทกึ บญั ชี ไม่บนั ทึกบญั ชี เม่อื ส้นิ งวด(Periodic เครดิต ขายสนิ ค้า xx Inventory System) ข.ระบบการบนั ทึกสนิ ค้า เดบติ ลกู หน้ี xx แบบตอ่ เนอื่ ง(Perpetual (ราคาขาย) Inventory System) เครดิต ขายสินค้า xx ไม่บนั ทกึ บญั ชี ไม่บนั ทกึ บญั ชี เดบิต ต้นทนุ ขาย xx (ราคาทนุ ) เครดติ สนิ คา้ xx 6.การรบั ชำระหน้ีจากลกู หนี้ 6.1รบั ชำระเป็นเงนิ สด เดบิต เงินสด xx ไมบ่ นั ทึกบญั ชี ไม่บันทกึ บัญชี เครดิต ลูกหน้ี xx 6.2รบั ชำระเปน็ เช็ค เดบติ เงินสด xx เครดติ ลูกหนี้ xx ไมบ่ ันทกึ บัญชี ไม่บันทึกบญั ชี 6.3รับชำระเป็นเชค็ นำฝาก เดบติ ธนาคาร xx ไมบ่ ันทกึ บญั ชี ไม่บนั ทกึ บญั ชี ธนาคารทนั ที เครดติ ลูกหน้ี xx ไมบ่ ันทึกบัญชี ไมบ่ ันทกึ บัญชี 7.การตัดหนส้ี ญู ไม่บนั ทกึ บัญชี ไมบ่ นั ทึกบญั ชี เดบิต หน้สี ญู xx 8.การจ่ายคา่ ใช้จ่ายเป็น เครดิต ลกู หนี้ xx เงินสด เดบิต คา่ ใชจ้ ่าย xx เครดติ เงินสด xx 9.ผูร้ ่วมคา้ โอนบญั ชี เดบติ ค่าใชจ้ ่าย xx เดบติ รว่ มคา้ หรือ ไม่บนั ทกึ บญั ชี ค่าใชจ้ า่ ยของกิจการไป เครดิต ผรู้ ว่ มค้าท่ี เงินลงทุนใน เปน็ ค่าใช้จ่ายของ โอนค่าใชจ้ า่ ย xx กจิ การร่วมคา้ xx กิจการร่วมค้า เครดติ เงนิ สด หรือ คา่ ใชจ้ ่ายที่ โอนมา xx

หลกั การบญั ชกี ารร่วมคา้ โดยเปิดสมุดบญั ชีกิจการร่วมคา้ แยกต่างหาก กรณกี ารดำเนินการรว่ มค้าเสรจ็ ส้นิ รายการ การบันทกึ บญั ชีในสมดุ บัญชี การบันทกึ บัญชีในสมุดบญั ชี การบนั ทึกบัญชี ของกิจการร่วมค้า ของผรู้ ว่ มค้า ในสมุดบัญชีของ ที่เกดิ รายการ ผูร้ ่วมค้า คนอน่ื 10.การจ่ายเงินเดอื นให้ผู้ เดบติ เงนิ เดอื น xx เดบติ ร่วมคา้ หรือ ร่วมคา้ ทเ่ี ปน็ ผจู้ ดั การ เครดติ ผ้รู ่วมค้าท่ไี ด้ เงินลงทุนใน รบั เงินเดือน xx กจิ การรว่ มค้า xx ไมบ่ ันทึกบัญชี เครดิต เงนิ เดือนรบั xx 11.การถอนสนิ ค้าจาก กิจการร่วมค้า 11.1ระบบการบนั ทกึ สินคา้ เดบิต ผรู้ ่วมคา้ ที่ เดบติ ซื้อสนิ ค้า xx เมอ่ื ส้นิ งวด(Periodic ถอนสินคา้ xx เครดิต ร่วมคา้ หรอื ไมบ่ ันทกึ บัญชี Inventory System) เครดติ ซื้อสนิ ค้า xx เงินลงทุนใน กิจการรว่ มค้าxx ข.ระบบการบนั ทกึ สินค้า เดบติ ผู้รว่ มค้าที่ เดบิต สินค้า xx แบบตอ่ เนอ่ื ง(Perpetual ถอนสินคา้ xx เครดิต ร่วมค้า หรือ Inventory System) เครดติ สินค้า xx เงินลงทนุ ใน ไม่บนั ทึกบัญชี กจิ การร่วมคา้ xx 12.การถอนเงินสดจาก เดบติ ผรู้ ่วมคา้ ที่ เดบติ เงินสด xx กิจการร่วมคา้ ถอนเงนิ xx เครดติ รว่ มคา้ หรอื เครดิต เงนิ สด xx เงนิ ลงทนุ ใน ไมบ่ นั ทกึ บัญชี กิจการรว่ มคา้ xx 13.การคดิ คา่ นายหน้าในการ ขายสินค้าหรือคดิ ดอกเบย้ี ให้กบั ผ้รู ว่ มคา้ ท่ีนำมาลงทนุ เดบติ คา่ นายหนา้ xx เดบติ รว่ มค้า หรือ 13.1การคดิ คา่ นายหน้า เครดติ ผู้รว่ มคา้ ที่ เงินลงทุนใน ขายสินค้า xx กจิ การร่วมคา้ xx ไมบ่ ันทกึ บญั ชี เครดิต รายได้ คา่ นายหนา้ xx 13.2การคดิ ดอกเบ้ีย เดบิต ดอกเบย้ี จ่ายxx เดบิต รว่ มคา้ หรือ เครดติ ผู้รว่ มคา้ ท่ี เงินลงทนุ ใน ไม่บันทกึ บัญชี ไดร้ ับดอกเบี้ยxx กิจการร่วมคา้ xx เครดติ ดอกเบ้ียรับ xx 14.การแบง่ กำไรเมือ่ การ เดบติ กำไรขาดทุน xx เดบติ รว่ มค้า หรือ เดบิต รว่ มคา้ หรือ ร่วมคา้ เสรจ็ สิน้ เครดติ ผรู้ ว่ มคา้ เงินลงทนุ ใน เงินลงทนุ ใน แตล่ ะคน xx กิจการร่วมค้า xx กิจการร่วมค้า xx เครดิต กำไรจากการ เครดิต กำไรจากการ ร่วมคา้ xx ร่วมค้า xx (เฉพาะส่วนของตนเอง) (เฉพาะส่วนของตนเอง)

หลกั การบญั ชีการรว่ มค้าโดยเปิดสมุดบญั ชกี ิจการรว่ มค้าแยกตา่ งหาก กรณกี ารดำเนินการร่วมคา้ เสร็จส้นิ รายการ การบนั ทึกบัญชีในสมดุ การบนั ทึกบญั ชีในสมุด การบันทกึ บญั ชี บัญชีของกจิ การร่วมค้า บญั ชีของผรู้ ว่ มค้า ในสมุดบัญชขี อง ทเ่ี กิดรายการ ผู้รว่ มคา้ คนอ่นื 15.การแบ่งผลขาดทนุ เดบติ ผ้รู ่วมคา้ เดบติ ขาดทุนจาก เดบติ ขาดทุนจาก เม่อื การรว่ มค้าเสรจ็ ส้นิ แต่ละคน xx การรว่ มค้า xx การร่วมค้า xx เครดิต กำไรขาดทุนxx เครดิต ร่วมคา้ หรอื เครดติ รว่ มคา้ หรอื เงนิ ลงทุนใน เงนิ ลงทุนใน กจิ การรว่ มค้าxx กิจการรว่ มคา้ xx 16.การจา่ ยเงนิ ระหว่างกนั เม่ือการ เดบิต ผู้ร่วมคา้ ท่ี เดบิต เงินสด xx เดบติ เงนิ สด xx ร่วมคา้ เสรจ็ สน้ิ ได้รบั เงนิ xx เครดติ รว่ มคา้ หรือ เครดิต ร่วมค้า หรอื เครดติ เงนิ สด xx เงนิ ลงทุนใน เงนิ ลงทุนใน กิจการร่วมค้าxx กิจการร่วมคา้ xx กจิ กรรมการเรยี นการสอน/การเรยี นรู้ เตรยี มความพรอ้ มก่อนสอน ผสู้ อนจัดเตรียมหนงั สอื เอกสารประกอบการสอนและวสั ดอุ ุปกรณ์เพอื่ ท่ีใช้ประกอบการสอนให้พร้อมผู้สอน เรยี กชื่อผูเ้ รียน และจดบนั ทึกลงในสมดุ บันทึกเวลาเรียน ขน้ั สอนมขี ัน้ ตอน ดงั นี้ 1. ขนั้ นำเขา้ สู่บทเรยี น 1. ผู้สอนทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของกิจการร่วมค้า โดยวิธีการถาม-ตอบ เป็นกลุ่ม หรือรายบุคคล 2. แจง้ ผลการเรยี นร้ทู คี่ าดหวงั 2. ขน้ั ดำเนินการสอน 1. ผูส้ อนอธิบายถงึ หลักการบนั ทกึ บญั ชีของกจิ การร่วมค้า และยกตวั อยา่ งโจทยก์ รณีศกึ ษาประกอบ 2. ผ้เู รียนแสดงความคดิ เหน็ โดยการซักถามประเดน็ ตา่ งๆ ของการบนั ทกึ บญั ชี 3. ผเู้ รียนศกึ ษา คน้ คว้าเพ่ิมเตมิ เกย่ี วกบั การบันทึกบัญชีของกจิ การร่วมคา้ โดยการจับคเู่ พ่อื นคคู่ ดิ 4. สุ่มผู้เรยี น บางคู่ ออกมานำเสนอหน้าชน้ั เรยี น 5. ผเู้ รยี นคนอื่นๆ แสดงความคดิ เหน็ ให้ขอ้ เสนอแนะ 3. ขน้ั สรุป 1. ผู้สอนและผู้เรียนสรุปหลักการบัญชีของกิจการร่วมค้า โดยการยกตัวอย่างรายการค้า และให้ผู้เรียน วิเคราะห์ 2. ผู้เรยี นคนอ่นื ๆ แสดงความคิดเห็น ใหข้ อ้ เสนอแนะ

4. ขัน้ นำไปใช้หรือประเมินผล 1. ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม โดยวิธีให้นักศึกษาจัดกลุ่ม จับสลากหรือเรียงลำดับเลขท่ี แล้วแตค่ วามเหมาะสม 2. นักศกึ ษาแตล่ ะกลมุ่ เลือกหัวหน้ากลุม่ และเลขานุการกลมุ่ 3. หัวหน้ากลุ่ม เลขานกุ ารกลุ่มหรอื ผู้แทนกลุ่มจบั สลาก 4. หวั หน้ากลมุ่ แบง่ งานให้สมาชิกในกล่มุ รบั ผิดชอบ 5. นกั ศึกษาท้ัง 4 กลุ่มระดมสมอง ศึกษาเนอื้ หาตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมายและค้นคว้าเพิ่มเตมิ 6. หัวหน้ากลุ่ม เลขานุการกลุ่มหรือตัวแทนกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนใช้เวลากลุ่มละไม่เกิน 10 นาที หรืออาจารย์กำหนดเวลาให้เหมาะสมกบั เน้อื หา 7. นักศกึ ษาแตล่ ะกลมุ่ ประเมินผลกล่มุ ตนเองและประเมินผลกลมุ่ อนื่ ๆ อกี 3 กลุ่ม อาจารยป์ ระเมนิ ผลทุก กลุ่ม โดยใช้แบบประเมิน 1 และเฉลี่ยคะแนนโดยนำคะแนนที่ได้หารด้วย 5 (คะแนนทั้งหมด 25 หารดว้ ย 5 เทา่ กับ 5 คะแนน ถา้ มจี ดุ ทศนยิ มให้ปดั ตามหลักคณติ ศาสตร์) 8. ครูรวบรวมแบบประเมนิ 1 มาสรปุ คะแนนลงในแบบประเมิน 2 รวมคะแนนและหารดว้ ย 5 (นักศึกษา 4 กลุ่ม + อาจารย์) พรอ้ มแสดงขอ้ คดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะ สื่อการเรียนการสอน/การเรยี นรู้ 1. สอ่ื Power Point เร่อื ง วธิ รี วมตามสดั ส่วน 2. สือ่ Power Point เร่อื ง วธิ ีการบนั ทกึ บัญชีการรว่ มคา้ 3. สือ่ วดิ ีทศั น์ เรื่อง กิจการร่วมค้า 4. สอื่ การเรียนการสอนออนไลน์ https://pubhtml5.com/bookcase/ewue 5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ก่อนเรียนและหลงั เรยี น 6. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7. เวบ็ ไซต์ ก.ล.ต. 8. เว็บไซต์กรมสรรพากร 9. เว็บไซตส์ ภาวชิ าชีพบัญชี 10. หนงั สือเรยี นรายวิชา การบัญชชี ัน้ สูง 1 งานทม่ี อบหมายหรอื กิจกรรม กอ่ นเรียน 1. จัดเตรยี มเอกสาร สอื่ การเรยี นการสอนตามทผ่ี ู้สอนและบทเรยี นกำหนด 2. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน 3. ทำความเขา้ ใจเก่ยี วกบั จุดประสงคก์ ารเรียนของหนว่ ยท่ี 1 และการใหค้ วามร่วมมือ ในการทำกจิ กรรมในหน่วยการเรียนที่ 1

ขณะเรยี น 1. ผมู้ อบหมายให้ผู้เรียนแบง่ กลุม่ ยอ่ ยตามความสมคั รใจ 2. ปฏบิ ัติงานตามใบงาน 3. ร่วมกนั สรุปตามหวั ข้อทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 4. รายงานหน้าช้ันเรยี นตามหัวขอ้ ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย หลังเรียน 1. ผู้สอนมอบหมายใหผ้ เู้ รียนทำแบบฝึกหดั ท้ายหนว่ ยที่ 1 2. ทำแบบทดสอบหลังเรียน การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธวี ัดผล 1. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ ่อนเรยี น 2. การสังเกตและประเมนิ พฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เครื่องมือวดั ผล 1. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้กอ่ นเรียนและหลังเรยี น 2. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยอาจารย์และ นักศึกษารว่ มกนั ประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ ผล 1. แบบประเมนิ ผลการเรียนรกู้ อ่ นเรียนไม่มีเกณฑผ์ ่าน อาจารย์จะเก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบ กับคะแนน ทไี่ ด้จากการทำแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้หลังเรยี น 2. ผลคะแนนประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ข้นึ อยู่กับ การประเมินตามสภาพจรงิ ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสำเร็จของผูเ้ รยี น 1. ผ้เู รียนทำใบงานและแบบฝกึ หัดท้ายหนว่ ยการเรยี นถกู ตอ้ ง 2. กระดาษคำตอบแบบฝกึ หดั ท้ายหน่วยการเรยี น 3. ใบงานได้จากการค้นคว้า 4. ผเู้ รียนออกแบบผงั ความคิดรวบยอด เร่อื ง ความรทู้ ั่วไปเกย่ี วกบั การร่วมคา้