Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมจริงๆ

รวมจริงๆ

Published by waew_lek, 2021-09-28 11:35:33

Description: รวมจริงๆ

Search

Read the Text Version

๒๙๖ 2. ดา้ นกจิ กรรมการเรยี นการสอน โรงเรียนจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนให้รองรับวิสยั ทัศน์ของโรงเรยี น และนโยบายของผ้บู รหิ าร สถานศึกษา โดยมีกิจกรรมดงั นี้ 1) ครูวิเคราะหห์ ลักสตู รให้สอดคลอ้ งกับบริบทของโรงเรยี นและความต้องการของนักเรยี น โดยจดั กิจกรรมการเรียนการสอนดา้ นสิง่ แวดล้อมศึกษาทเ่ี หมาะสมตง้ั แตน่ ้นั มา ประกอบกับบริบทของ โรงเรียนที่ตง้ั อยู่ในชมุ ชน ตำบลพระธาตุ สภาพปัญหาท่ีพบสว่ นใหญ่ คือ การจัดการขยะของโรงเรยี นเมื่อครู และนักเรียนเร่ิมตะหนักถงึ สภาพปญั หาน้จี งึ มีการนำปัญหาเขา้ ไปบูรณาการในการจดั การเรียนการสอน มีกิจกรรมทีห่ ลากหลายรปู แบบ 2) ครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ การลดปริมาณขยะ การรักษาสง่ิ แวดล้อม ใหม้ ีการบูรณาการ ในการเรยี นการสอนในการจัดการขยะ จัดใหม้ ีการเรียนการสอนในรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ผา่ นกจิ กรรมการ เรยี นแบบโครงงาน ให้นกั เรยี นทำสภาพปัญหา ขยะในโรงเรียนมาหาแนวทางแก้ปัญหา นักเรยี นจึงนำใบไม้ กิง่ ไม้แหง้ มาทำเปน็ ปุ๋ยในระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 3) จัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชว่ งลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้ และเวลาว่างของนกั เรียนดงั นี้ 3.1) รายวชิ าภาษาไทยจัดใหม้ กี ารประกวดคำขวญั เพื่อจดั ป้ายนเิ ทศเพ่ือใหน้ ักเรียนตระหนักถึง เรือ่ งส่ิงแวดลอ้ มและการลดปรมิ าณขยะภายในโรงเรียน 3.2) กจิ กรรมส่งเสรมิ การลดปรมิ าณขยะในโรงเรยี นด้วยวิธที ี่หลากหลาย วธิ กี ารดำเนนิ งาน 1. เม่ือผบู้ ริหารโรงเรยี นให้ความเห็นชอบใหด้ ำเนินกิจกรรมธนาคารขยะ ไดส้ รรหาคณะกรรมการซ่ึง ประกอบดว้ ยคณะกรรมการครูและนักเรยี นที่มใี จเข้ารว่ มกันกำหนดวัตถปุ ระสงค์ การดำเนินงานซึ่งโรงเรยี น สอดคลอ้ งกบั วสิ ัยทัศน์ ปรัชญา พันธกิจ และเปา้ ประสงค์ ของโรงเรียนพระธาตุพิทยาคม มีกจิ กรรมอบรมให้ ความรเู้ ก่ยี วกับขยะการจัดการขยะและวธิ ีดำเนินงานแก่คณะทำงานพร้อมกบั ประชาสัมพันธ์ อบรมให้ความรู้ เรื่องขยะแกน่ กั เรียนตลอดถงึ การดำเนนิ งานธนาคารขยะโดยนกั เรยี นเปน็ ผูร้ บั ผิดชอบดำเนนิ งานให้เปน็ ระบบ โดยใช้หลกั PDCA โดยมคี รเู ป็นท่ปี รึกษาและอำนวยการสะดวก 2. อบรมการทำจุลินทรยี ์ (EM) เพ่ือใชใ้ นโรงเรียน 3. ศกึ ษาดงู าน เรื่อง การประยุกต์ใชจ้ ุลนิ ทรีย์ EM 4. จดั กิจกรรมเผยแพร่ให้ความรเู้ รอื่ งการทำน้ำยาอเนกประสงค์ ครมี ขดั รองเท้า น้ำยาเช็ดกระจก จำหนา่ ยEM ขยาย และ ปุ๋ยอินทรีย์ ให้กับผเู้ ข้าชมทั่วไป ในวนั คลา้ ยวันสถาปนาโรงเรยี น ตลาด ประชารัฐ และตลาดวสิ าหกิจชมุ ชน Green Ban Klang 5. จดั ใหม้ กี ารสง่ เสริมความรเู้ ร่อื งการแยกขยะกิจกรรมหนา้ เสาธง 6. ใช้ธนาคารขยะรไี ซเคลิ เปน็ แหลง่ เรยี นรู้ จากการสร้างนวัตกรรมแหง่ การเรยี นรู้ Q R Code ผ่านแอ พลิเคชนั่ LINE 7. จัดกิจกรรม Big Cleaning Day เปน็ ประจำทุกสปั ดาห์ 8. ส่งเสริมนักเรียนปลูกผักปลอดสารพิษโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์จากเศษใบไม้ที่ผลิตในโรงเรียนนักเรียน มัธยมปลายช่วยกัน ปลูกผักคะน้า สาระแหน่ กะหล่ำดอก ต้นหอม คื่นฉ่าย ผักชีฝรั่ง โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิต จากเศษใบไมใ้ นโรงเรียน 9. กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ จัดทำผลิตภัณฑ์ จากพืช กระดาษที่ใช้แล้ว ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่สนองต่อ โครงการรักษ์นก คือ รูปภาพนูนต่ำนกพันธ์ต่าง ๆ จากกระดาษเป็นเปเปอร์มาเช่ และสนองต่อโครงการงาน สวนพฤกษศาสตร์ คอื เข็มกลัดทีร่ ะลึกจากเมล็ดตะแบก

๒๙๗ งานประดิษฐ์ของที่ระลึก เปเปอรม์ าเช่ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานอยู่ในระดบั 4 พบวา่ โรงเรียนพระธาตุพิทยาคมไดก้ ำหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการ ดำเนนิ งานโรงเรยี นปลอดขยะได้ชัดเจน สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ นโยบายเปา้ หมายและจดุ เนน้ การพฒั นา คณุ ภาพของสถานศึกษา ทำให้เกิดจากการรบั รู้ เข้าใจปัญหาและความต้องการร่วมกนั ของทกุ ฝ่าย ทุกงานใน สถานศึกษา ผเู้ กี่ยวข้องมสี ว่ นรว่ มคดิ วางแผน และลงมือปฏบิ ัติหรอื สนับสนุนตามบทบาทหนา้ ที่ นกั เรยี นโรงเรยี นพระธาตุพิทยาคมได้ตระหนักถึงสภาวะแวดล้อมทเ่ี ป็นมลพิษในสภาพของสงั คม ปจั จบุ นั ไม่วา่ จะเปน็ ด้านสภาพภูมศิ าสตร์ สภาพการบรโิ ภคความเปน็ อยทู่ เี่ กิดจากความเจริญของสงั คมซึ่งได้ สรา้ งสภาพปัญหาท่สี ง่ ผลถงึ สภาพความเปน็ อยูข่ องมนษุ ย์โรงเรียนได้ดำเนินการโครงการตา่ งๆ เพื่อให้ทุกภาค ส่วน คณะครู นกั เรียน ผปู้ กครอง และชมุ ชน โดยตระหนักถงึ สภาวะสิง่ แวดล้อมท่ีเปลย่ี นแปลงไปหรอื ปนเปือ้ น มลพษิ ซึง่ จะทำใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ คณุ ภาพชีวิตของบุคลากรทกุ ฝา่ ยในโรงเรียน และชุมชน ลดการใชส้ ารเคมี ในชีวติ ประจำวัน เช่น นำ้ ยาถูพื้น นำ้ ยาล้างจาน สารเคมีในการลดกล่นิ สารกำจดั แมลง รวมถงึ สารเคมีท่ใี ช้ สำหรบั เกษตรกร กระทั่งสารปรงุ แตง่ อาหารที่รับประทาน เห็นวา่ เป็นความสะดวกสบาย แต่ผลกระทบ ข้างเคียงท่ีเกิดข้นึ ทำให้คณุ ภาพชวี ิตของเราเปลย่ี นแปลงมีโรคภยั ไข้เจ็บที่เกิดข้นึ จากการใช้สารเคมี จึงได้ รว่ มมอื กันอยา่ งจริงจังปอ้ งกันสภาวะแวดลอ้ มทเ่ี ปน็ มลพิษใกลต้ ัวใหห้ ันมาใช้ ผลิตภณั ฑ์จากธรรมชาติ ซ่ึง นอกจากน้ยี ังเปน็ การรกั ษาสง่ิ แวดล้อมไมใ่ ห้ถูกทำลายด้วยกระบวนการประยุกต์ใชจ้ ุลินทรยี ์ EM และการผลติ ปุย๋ อนิ ทรยี ์จากเศษพชื ลดการใชป้ ๋ยุ เคมี และปลูกตน้ ไมต้ ามโครงการอนุรักษ์พนั ธุกรรมพืช โครงการงานสวน พฤกษศาสตร์ โครงการเรียน-รู้-รักษ์นก และโครงการรักษป์ ่าน่าน หลก านอ้างอิง 1. เล่มสรปุ รายงานโครงการโรงเรยี นปลอดขยะ (โครงการตามแนวพระราชดำรขิ อง ร.๙) 2. ภาพกิจกรรม 3. เกียรติบตั รรางวลั

๒๙๘ โครงการพฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนกเรยี น PRATAT MODEL วธิ ีการดำเนินงาน โรงเรียนพระธาตพุ ิทยาคมได้มีการดำเนนิ งานตามมาตรฐาน Safe School TSQP – ๐๒ ทง้ั หมด ๕ มาตรฐาน ๑๓ ตวั ช้วี ัด ดงั น้ี มาตร านที่ 1 นกเรยี นมีความปลอดภยจากสิง่ แวดล้อมทางกายภาพ และบุคคลทอ่ี าจก่ออนตราย ตอ่ นกเรยี นในโรงเรียน ตวชีว้ ดท่ี 1 (1) โรงเรียนจดั ทำแผนการดำเนินการทงั้ การป้องกนั เฝา้ ระวังอันตรายจาก ส่ิงแวดล้อมแก้ไขในเรื่องสขุ อนามัย ภัยพบิ ัตแิ ละบคุ คลท้ังในและนอกบริเวณโรงเรยี น โดยบุคลากรทุกฝ่ายที่มี ส่วนเก่ียวขอ้ ง ได้แก่ คณะครู และบุคลากรในโรงเรยี น นักเรียน ผู้เช่ยี วชาญพ่อแมผ่ ปู้ กครอง และ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน เปน็ ตน้ ตวชีว้ ดท่ี 2 (2) โรงเรียนมีโครงสรา้ ง ระบบ กลไก และผรู้ ับผิดชอบในการบริหารจัดการเรื่อง ความปลอดภัย และความปลอดโรค ของส่งิ แวดล้อมและบุคคล ตวช้วี ดท่ี 3 (3) นกั เรยี นและบุคลากรในโรงเรียนไม่การใช้ความรุนแรงตอ่ กัน มาตร านท่ี 2 นกเรียนไดร้ บการเฝา้ ระวง การดูแล การช่วยเหลือและการคุ้มครองให้นกเรียนปลอดภย ท้งในและนอกบริเวณโรงเรยี น ตวชีว้ ดท่ี 1 (4) โรงเรียนมีระบบการคัดกรองเฝา้ ระวัง การดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี นทกุ คน อย่าง เหมาะสม โดยเฉพาะนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและนักเรียนที่ต้องการความ ช่วยเหลือโดยมีการท่างานร่วมกับทีม เครือข่ายสหวิชาชพี ในการช่วยเหลือ นักเรยี น ตวช้วี ดที่ 2 (5) ครู ผู้ปกครอง เครอื ข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน และ ผู้มสี ่วนเกี่ยวข้องทา่ งานร่วมกนั ในการเฝา้ ระวัง ดูแล และคมุ้ ครอง นักเรยี น มาตร านท่ี 3 การจดห้องเรียนเสมอภาคเพ่ือความปลอดภยทางจติ ใจในการเรยี นรู้ ตวชว้ี ดที่ 1 (6) โรงเรียนมีนโยบายให้ครูสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ สหสาขาวิชา หรือพหุปญั ญา เพือ่ ให้นักเรียนทุกคนไดม้ ีโอกาสสลับผลดั เปลี่ยนกันเปน็ ผู้นำ ตวชี้วดที่ 2 (7) โรงเรียน ได้มกี ารสนับสนนุ ให้ครูจัดการเรยี นการสอนทีย่ ดึ ความสนใจของ ผูเ้ รียนเป็นฐานในการจัดการเรียนรู้ ตวชว้ี ดที่ 3 (8) โรงเรียนสนบั สนนุ ใหม้ กี ารจัดกจิ กรรมการประเมนิ เพ่ือพฒั นาในหอ้ งเรยี น มาตร านที่ 4 การส่งเสริมสขุ ภาวะภายในบ้านและครอบครวของ ู้เรยี น ตวชว้ี ดท่ี 1 (9) โรงเรยี นมีการส่งเสรมิ และใหค้ วามรู้ดา้ นการป้องกนั ควบคุม การใชส้ ารเคมี สารพษิ สารเสพตดิ ที่ใหโ้ ทษตอ่ ร่างกาย สภาพแวดล้อมในครอบครัวและชมุ ชน ตวชว้ี ดที่ 2 (10) โรงเรียนมีการสง่ เสริมและใหค้ วามร้ดู ้านการป้องกนั ควบคุม การทาน อาหารที่ไมท่ า่ ให้เกิดโรคไมต่ ดิ ต่อเรื้อรงั (Chronic Non-communicable Diseases : NCDs)แก่ครอบครัว ตวชี้วดท่ี 3 (11) โรงเรยี นมีการสง่ เสรมิ และให้ความร้ดู ้านการออกกำลังกายแก่สมาชกิ ครอบครวั ของนักเรยี น มาตร านท่ี 5 การประสานความรว่ มมือกนระหวา่ งโรงเรียน ู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ข้นพื้น าน ชุมชน และหน่วยงาน/องค์กรที่เก่ียวขอ้ ง ตามมาตร านโรงเรยี นคมุ้ ครองเด็ก ตวชว้ี ดที่ 1 (12) โรงเรยี น ผ้ปู กครอง ชุมชน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกันส่งเสรมิ พัฒนานักเรยี นตามพฒั นาการ 5 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านรา่ งกาย จติ ใจ สงั คม สติปญั ญาและ ครอบครัว

๒๙๙ ตวชีว้ ดท่ี 2 (13) โรงเรยี นจัดใหน้ ักเรียน ครู ผ้ปู กครอง ชุมชน และคณะกรรมการ สถานศึกษาขัน้ พืน้ ฐานมกี ิจกรรมร่วมกนั เพื่อให้นักเรียนมคี วามปลอดภยั มาตร านที่ 1 นกเรยี นมคี วามปลอดภยจากสิง่ แวดลอ้ มทางกายภาพ และบุคคลท่ีอาจกอ่ อนตราย ต่อนกเรยี นในโรงเรยี น ตวชว้ี ดที่ 1 (1) โรงเรียนจัดทำแผนการดำเนินการท้ังการปอ้ งกนั เฝา้ ระวังอนั ตรายจากส่ิงแวดล้อม แกไ้ ขในเร่ืองสุขอนามัย ภยั พิบตั แิ ละบคุ คลทงั้ ในและนอกบริเวณโรงเรยี น โดยบุคลากรทุกฝ่ายที่มสี ่วน เก่ยี วขอ้ ง ได้แก่ คณะครู และบคุ ลากรในโรงเรยี น นกั เรียน ผ้เู ชยี่ วชาญพอ่ แมผ่ ปู้ กครอง และคณะกรรมการ สถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน เปน็ ต้น ตวชีว้ ดท่ี 2 (2) โรงเรียนมีโครงสร้าง ระบบ กลไก และผู้รับผดิ ชอบในการบรหิ ารจัดการเรื่อง ความ ปลอดภยั และความปลอดโรค ของสิ่งแวดล้อมและบุคคล ตวชวี้ ดที่ 3 (3) นกั เรียนและบคุ ลากรในโรงเรียนไม่การใชค้ วามรนุ แรงต่อกัน โรงเรียนไดด้ ำเนนิ งานทโ่ี รงเรียนได้ทำในมาตรฐานนี้ คือ ๑. โรงเรยี นมีบรรยากาศ สภาพแวดล้อมสวยงาม สะอาด มรี ว้ และมปี า้ ยชอื่ โรงเรียนที่เหมาะสม ในการจัดบรรยากาศเพื่อให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โรงเรียนได้สร้างความ ตระหนักให้ผู้เรียนมีใจรกั ในการชว่ ยดแู ล รักษาความสะอาด มีความรับผิดชอบและอนุรักษ์สิง่ แวดล้อมภายใน โรงเรยี นใหม้ คี วามน่าดู นา่ อยู่ นา่ เรียน ซึ่งเปน็ ส่วนหนง่ึ ของการสรา้ งศักยภาพ และกระบวนการเรียนการสอน การบริหารการศึกษา เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณภาพ สามารถก้าวสู้ระดับระดับมาตรฐานสากล เพื่อสนอง นโยบาย พันธกจิ ยุทธศาสตร์ และพัฒนาการบริหารการจัดการศึกษา ตามโครงการ โรงเรยี นน่าดู น่าอยู่ นา่ เรยี น โรงเรียนพระธาตุพิทยาคมได้จัดการจัดสภาพแวดล้อม โดยมีป้ายชื่อโรงเรียนที่เหมาะสม สวยงาม มีรั้วรอบบริเวณโรงเรียน อาคารสถานที่ต่าง ๆ บริเวณโรงเรียนสะอาด ถูกสุขลักษณะ มีการปรับภูมิทัศน์ ทำสวนหย่อม การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ และแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ให้มีความสะอาด สวยงามพร้อมใช้งาน เอือ้ ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรูต้ ามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ต่าง ๆ ให้นักเรยี นไดเ้ รยี นอย่างมีความสุข

๓๐๐ 2. สภาพถนนและทางเดิน สะดวกในการส จร มปี ้ายจราจร มีป้ายคำขว และปา้ ยบอกทาง ทีเ่ หมาะสม สภาพถนนในโรงเรียนพระธาตุพทิ ยาคมมีความสะอาดและปลอดภยั ในการสัญจร มีป้ายจราจรบอกใน การขับรถในบริเวณโรงเรียน โดยให้ขับรถวนทางเดียว ริมถนนทาสีขอบแนวเป็นสัญลักษณ์ในการถนน มีการ ปลูกไม้ดอก ไม้ประดับ ริมถนนตลอดทางเข้าโรงเรียนเพือ่ ความสะอาดและสวยงาม ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับ นักเรยี น มปี า้ ยคำขวญั บอกอยา่ งเด่นชัดเจน

๓๐๑ ๓. จดทำโครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนกเรยี นประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ และคำสง่ แตง่ ตง้ คณะทำงานท่มี ีหน้าทรี่ บ ดิ ชอบในงานระบบดูแลชว่ ยเหลือนกเรียน โดยมกี จิ กรรมต่าง ๆ ในโรงเรยี น และรว่ มกบชุมชน ๓.๑ จัดกิจกรรมสำรวจจดุ เสยี่ ง โดยคณะครูและสภานักเรยี น เพือ่ รว่ มกนั หาแนวทางแกไ้ ขจุดเสีย่ ง ในโรงเรียน ๓.๒ นางพัทธนันท์ พิพิธนวงค์ ผู้อำนวยการโรงเรียนพระธาตุพิทยาคม ปฏิบัติหน้าที่ตรวจ พฤติกรรมนักเรียนและนักศึกษาในพื้นที่เสี่ยงอำเภอเชียงกลาง พร้อมกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมความประพฤติ นักเรียนและนักศึกษา ศูนย์เสมารักษ์สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดน่าน นำโดยนางฐิติมา เร่งประเสริฐ รอง ศึกษาธิการจังหวดั น่าน โดยการอำนวยการของ ดร.ณนั ศภรณ์ นลิ อรณุ ศกึ ษาธิการจังหวัดนา่ น

๓๐๒ ๓.๓ โรงเรียนปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน ซ่ึงมีสภาพทรุดโทรม ใหม้ ีความปลอดภยั ๓.๔ สร้างแหลง่ เรียนรใู้ นบริเวณโรงเรยี น โรงเรยี นมีแหล่งเรยี นรู้มากมาย เช่น หอ้ งสมดุ ฝายมีชีวติ ห้อง ICT หอ้ ง USO NET มีการทำ การสาธติ แปลงเกษตร มปี ราชญ์ท้องถ่ินมาใหค้ วามรแู้ กน่ ักเรียน กิจกรรมชุมนุมส่งเสริมอาชีพ ชุมนุมนวดแผนไทย ชุมนุมเสริมสวย ชุมนุมตัดผมชาย ชุมนุม การเลี้ยงปลากินพืช ชุมนุมเลี้ยงไกพ่ ันธุไ์ ข่ ชมุ นมุ เล้ียงไก่พนั ธุ์ไข่ เรอื นเพาะชำ นวดฝา่ เท้า ICT

๓๐๓ ผักไฮโดรโปนกิ ส์ เสริมสวย นวดฝา่ เท้า นวดฝ่าเทา้ เลีย้ งปลา ตัดผม ๓.๕ ปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ ปลูกต้นหญ้า รวมทั้งการดูแลหญ้าบริเวณสนาม ุตบอล เพื่อป้องกัน อนั ตรายจากสัตว์มพี ิษตา่ งๆ จัดภูมิทัศน์ใหเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้และเอื้อต่อการเรยี นรขู้ องนักเรยี น จัดทำต้นไม้แห่ง การเรียนรู้ สวนพฤกษศาสตร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ดำเนินการตามนโยบายโรงเรียน น่าอยู่ น่าเรียน เพื่อให้ครูและนักเรียนมีส่วนรว่ มในการปรับปรุง การพัฒนาอาคารสถานที่และสภาพแวดลอ้ ม ให้สวยงาม โรงเรียนพระธาตุพิทยาคม มีนโยบายและจัดกิจกรรมให้ความรู้ ที่ถูกต้องและสร้างจิตสำนึกด้าน การผลิตและบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนำไปปฏิบัติใช้ที่บ้าน และชุมชนมีการกำหนดแนวทาง วางแผนการบริหารจัดการ อาคารสถานที่ และสภาพแวดล้อมของโรงเรียน การจัดทำผังบริเวณโรงเรียน พัฒนาอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมของโรงเรียนให้อยู่ในสภาพมั่นคง ปลอดภัย เหมาะสมพร้อมที่จะใช้ ประโยชน์ นักเรียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ และมีการขยายผลแหล่งเรียนรู้ ด้านการลดใช้พลังงาน การจดั การขยะและอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดลอ้ มสชู่ ุมชนด้วย

๓๐๔ โรงเรียนมีการติดตาม ตรวจสอบการใชอ้ าคารสถานท่ี และสภาพแวดล้อมของโรงเรยี น เพ่ือให้เกิด ความคุ้มค่าและเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้และมีการสำรวจความพึงพอใจจากผู้เกี่ยวข้องและผู้รับผิดชอบ และนำผลไปปรับปรุงและพัฒนาการใช้อาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมของโรงเรียน โดยมีสถานที่ ท่ใี หบ้ ริการแกน่ ักเรียนและชมุ ชน มาตร านที่ 2 นกเรียนได้รบการเฝา้ ระวง การดแู ล การช่วยเหลือและการคุ้มครองให้นกเรยี นปลอดภย ทง้ ในและนอกบริเวณโรงเรียน ตวช้ีวดท่ี 1 (4) โรงเรียนมีระบบการคัดกรองเฝ้าระวงั การดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนทุกคน อยา่ ง เหมาะสม โดยเฉพาะนักเรยี นกลุ่มเสยี่ งและนักเรยี นท่ตี ้องการความ ชว่ ยเหลอื โดยมีการท่างานรว่ มกบั ทีม เครอื ข่ายสหวิชาชพี ในการชว่ ยเหลือ นกั เรียน บนทึกขอ้ มลู การประเมนิ ปจั จยเสีย่ ง โรงเรยี นพระธาตพุ ิทยาคม มีระบบการบันทึกข้อมลู การประเมินปัจจยั เส่ียงเพ่ือคัดกรองเฝ้าระวัง และ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนทุกคนอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและนักเรียนที่ต้องการความ ชว่ ยเหลอื โดยมีการทำงานรว่ มกับทีมเครือข่ายสหวิชาชีพในการชว่ ยเหลือ ระบบดูแลและตดิ ตามการใชส้ ารเสพติดในสถานศกึ ษา ข้อมลู พื้นฐานสถานศึกษา รายงาน ลการคดกรอง รายงานผลการคดั กรองนักเรียนผทู้ ่มี ีปจั จยั เสยี่ งโรงเรยี นพระธาตพุ ิทยาคม โดยเฉพาะนักเรยี นกลมุ่ เส่ยี งและนกั เรยี นทต่ี อ้ งการความช่วยเหลือ รายงานผูเ้ ก่ยี วข้องกับยาเสพติด รายงานผ้ไู ดร้ บั การดูแลช่วยเหลือ

๓๐๕ สรุปขอ้ มูลสภาพปั หานกเรียนและแนวทางความตอ้ งการรบบริการของนกเรยี น โรงเรียนพระธาตุพิทยาคม มีสรุปข้อมลู สภาพปญั หานักเรียนและแนวทางความต้องการรับบริการของ นักเรียนโดยในการดำเนินงานนักเรียนได้มีการประชุมหาวิธีการรับมือ และป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ของ นักเรยี นโรงเรยี นพระธาตุพทิ ยาคม สรุปผู้เกยี่ วข้องกับสารเสพติด (บุหร่ี เหลา้ เคร่อื งดื่มแอลกอฮอล์) สภานกั เรยี นโรงเรียนพระธาตุพทิ ยาคมร่วมกนั ประชุม สรปุ หาวิธีการรบั มือและปอ้ งกนั ปัจจัยเสีย่ งต่าง ๆ ของนักเรียน โรงเรยี นพระธาตพุ ทิ ยาคม และไดน้ ำผลจากการประชมุ มาดำเนนิ การกบั นักเรียน โรงเรียนพระธาตพุ ิทยาคมทกุ คน แ นการชว่ ยเหลือนกเรยี นตามความต้องการและประโยชน์สูงสดุ ของนกเรียน โรงเรียนพระธาตุพิทยาคมมีแผนการช่วยเหลือนักเรียนตามความต้องการและประโยชน์สูงสุดของ นักเรียน โดยการดูแลช่วยเหลือนักเรียนทุกคนอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและนักเรียนท่ี ตอ้ งการความช่วยเหลอื โดยมกี ารทำงานร่วมกบั ทีมเครือข่ายสหวิชาชีพ ด้วยการจดั กจิ กรรมต่าง ๆ เพือ่ สง่ เสริม ใหน้ ักเรียนมีความรู้และทกั ษะการรับมอื กับปัจจยั เสย่ี งตา่ ง ๆ เชน่ การรบั มือกบั สารเสพติด ทางโรงเรียนพระธาตุพิทยาคมจึงได้จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนโรงเรียนพระธาตุ พิทยาคม ได้มที ักษะ และความร้ใู นเรอ่ื งดังกล่าว จึงได้จดั ทำโครงการส่งเสรมิ ทักษะการปฏิเสธสารเสพตดิ และทักษะการ ปฏเิ สธการมเี พศสมั พันธ์ในวัยใสของกล่มุ เยาวชน ตำบลพระธาตุ ข้ึนมาเพ่ือให้นักเรียนรู้จักรับมือกับปจั จัยเสี่ยง ต่าง ๆ ทอี่ าจจะเกิดข้ึนไดใ้ นอนาคต โรงเรียนพระธาตุพิทยาคมมีการจัดประชุมว่าด้วยเรื่องการเฝ้าระวัง ดูแลและคุ้มครองนักเรียน เป็น การเฉพาะที่ร่วมกันระหว่างครู ผู้ปกครอง เครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและผู้มี

๓๐๖ ส่วนเกี่ยวข้อง ได้รับความร่วมมือจากคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนพระธาตุพิทยาคม บุคลากร จากแตล่ ะหน่วยงานในอำเภอเชียงกลาง ใหค้ วามรว่ มมือในการร่วมมือดูแลและส่งเสริม เปน็ อยา่ งดี ให้มีความ เข้าใจถึงปญั หาและการแกป้ ัญหา เพอ่ื ทจี่ ะได้นำไปใช้ในการดำเนนิ ชวี ิตประจำวนั อยา่ งมีความสขุ บันทกึ กรประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา รายงานการประชุม ประกาศแต่งต้งั สหวชิ าชีพ ประวัตคิ ณะทำงานเครือข่ายสหวชิ าชพี โรงเรยี นพระธาตุพทิ ยาคม

๓๐๗ ตวชีว้ ดที่ 2 (5) ครู ผ้ปู กครอง เครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน และผ้มู ี ส่วนเกยี่ วข้องท่างานรว่ มกันในการเฝ้าระวงั ดูแล และคมุ้ ครอง นักเรียน โรงเรียนพระธาตุพทิ ยาคมมีรายงานการประชุมวา่ ด้วยเรื่องการเฝ้าระวงั ดูแลและคมุ้ ครองนักเรียนอัน เกดิ จากความรว่ มมือ ระหว่างครู ผู้ปกครอง เครอื ขา่ ยผูป้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องและมีคำสั่งแต่งตั้งเครือข่ายครู ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้อง ในการเฝ้าระวัง ดูแลและคุ้มครอง นกั เรยี น การประชุมกลุม่ เครือข่ายสหวิชาชพี โรงเรียนพระธาตุพทิ ยาคม การประชุมผปู้ กครอง และจัดเครอื ข่ายผปู้ กครองตามชน้ั เรียน

๓๐๘ การประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน โรงเรียนพระธาตุพิทยาคมมีรายงานผลการดำเนินงานเรื่องการเฝ้าระวัง ดูแลและคุ้มครองนักเรียน อันอาจเกิดจากความร่วมมือกันระหว่างครู ผู้ปกครอง เครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานการศึกษา ขั้นพื้นฐานและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเฝ้าระวัง โดยคณะครูบุคลากรของทางโรงเรียนและกลุ่มสหวิชาชีพได้ ออกตรวจ ตามจุดเสี่ยงตา่ ง ๆ ของทางอำเภอ และคดั กรองนักเรยี นกล่มุ เสยี่ งปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรม การออกปฏบิ ตั ิงานร่วมตรวจจดุ เสยี่ ง ในวนั เทศกาลต่าง ๆ นกั เรยี นทำงานจิตอาสา ทำงานปรบั เปลย่ี นพฤติกรรม

๓๐๙ มาตร านท่ี 3 การจดห้องเรียนเสมอภาคเพื่อความปลอดภยทางจิตใจในการเรยี นรู้ ตวชีว้ ดท่ี 1 (6) โรงเรียนมีนโยบายให้ครสู ร้างบรรยากาศการเรียนร้แู บบบูรณาการ สหสาขาวิชา หรือพหุปัญญา เพื่อใหน้ ักเรียนทุกคนได้มีโอกาสสลับผลดั เปลีย่ นกันเป็นผู้นำ โรงเรยี นพระธาตุพทิ ยาคม ไดร้ บั ความรว่ มมือจากคณะครู บุคลากรทางการศึกษา และเครอื ข่ายต่างๆ เพื่อพัฒนาโรงเรียนด้วยระบบคุณภาพเพื่อมุ่งสู่มาตรฐานสากล เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะของผู้เรียนใน ศตวรรษที่ ๒๑ โดยมนี วตั กรรมในการบริหารสถานศกึ ษา ได้แก่ ๑. นวตั กรรมพฒั นาระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น PRATAT MODEL ๒. นวัตกรรมการส่งเสริมคุณธรรม การดำรงชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง การบริหารจัดการขยะ การอนุรักษ์พลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม DEK D Nan Model ๓. นวัตกรรมการส่งเสริมอาชีพนักเรียน \"๑ ศักยภาพ ๑ ครู ๑ อาชีพ\" CASH PP Model มีการ ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ โดยจัดการเรียนรู้แบบโรงเรียนสอนคิด Thinking School ส่งผลให้ผู้เรียนเป็น คนดี มคี ณุ ธรรม ร้จู กั คดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ เกิดการเรยี นรู้ตามหลักสตู ร ประสบความสำเรจ็ ครแู ละบุคลากร ทางการศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้ที่มีหลักสูตรสอดคล้องกับบริบท และความสนใจของผู้เรียน ครูจัดทำสื่อ นวัตกรรม พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ทำการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ส่งเสริมการพัฒนาครูและ บุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีความรู้ ความชำนาญ ประสบการณ์ในการปฏิบตั หิ น้าที่ สร้างเสริมขวัญและกำลังใจ ให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาอยู่เสมอ พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยเข้าร่วม โครงการ sQip (School Quality Improvement Program) และได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการอย่าง ต่อเนื่องอีก คือ โครงการ TSQP ๒ (Teacher School Quality Program) สนับสนุนโดย กองทุนเพื่อความ เสมอภาค (กสศ.) และมหาวิทยาลัยศรีประทุมเป็นพี่เลี้ยง และได้รับการพิจารณาเข้าร่วมโครงการเพ าะพันธุ์ ปญั ญา โดยมหาวิทยาลยั พะเยาเป็นพเี่ ลีย้ ง มผี ลการจัดการศึกษาที่สรา้ งความเชื่อม่ัน และความพึงพอใจให้แก่ ผูป้ กครอง และชุมชน เป็นโรงเรยี นดปี ระจำตำบล ซึ่งมีการปฏบิ ตั ิงานตามไทมไ์ ลน์ ดงั นี้

๓๑๐ โรงเรยี นมนี โยบายให้ครสู ร้างบรรยากาศการเรียนร้แู บบบรู ณาการสหสาขาวิชา หรือพหุปญั ญา เพือ่ ให้ นกั เรียนทกุ คนได้มีโอกาสสลับผลดั เปล่ียนกนั เปน็ ผู้นำ โรงเรียนพระธาตุพิทยาคมไดฝ้ ึกให้ผู้เรียนเป็นผู้นำตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ ระดับดี จำนวน ๘ ประการ ร้อยละ ๙๙.๐๘ (รายงานการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการของผู้เรียน, ๒๕๖๒) จากผลการประเมินคุณภาพ รอบสาม มีผลการประเมินตัวบ่งชี้ที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ทพ่ี ึงประสงค์อยู่ระดับ ดีมาก คะแนนทไ่ี ด้ ๙.๑๖ (สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถาน ศึกษาระดับ การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน รอบสาม, ๒๕๕๔) และจากการเสนอแนะของการประเมินคุณภาพ ผเู้ รียน มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตทีด่ ีมคี ุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทีพ่ ึงประสงค์กจิ กรรมคุณธรรมจรยิ ธรรม โรงเรียนปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักเรียนโดยเน้นการปฏิบัติ Active Learning โดยกิจกรรม ภาคเช้า ช่วงเข้าแถวหน้าเสาธง ๐๗.๕๐ น. ทำกิจกรรมเคารพธงชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๐๘.๓๐ น. มกี จิ กรรมดงั นี้ วนจนทร์ และวนพุธ กิจกรรมโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) วนองคาร กจิ กรรมสง่ เสริมทกั ษะการเรยี นรู้และนวตั กรรม วนพฤหสบดี กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “วางทุกงาน อ่านทุกคน”เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ ด้วยเทคนคิ KWL Plus วนศุกร์ กิจกรรมส่งเสริมโครงการพระราชดำริ (งานสวนพฤกษศาสตร์ โครงการเรียน – รู้ – รักษ์นก และการดำรงชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง) กจิ กรรมชว่ งพักกลางวนั เวลา ๑๒.๐๐ น. – ๑๓.๐๐ น. ไดแ้ ก่ กจิ กรรมเสยี งตามสาย กิจกรรม ๕ ภาษาพาเพลิน กิจกรรมโรงเรยี นสจุ ริต ต้านทุจริต โรงเรียนดี วถิ ีพุทธ (ทำกิจกรรมทกุ วันพระ) กิจกรรมหลังเลกิ เรยี น เวลา ๑๖.๓๐ น. – ๑๗.๓๐ น. กจิ กรรมส่งเสริมความเปน็ เลศิ ดา้ นดนตรี กีฬา (ดนตรีไทย และดนตรสี ากล) กิจกรรมสง่ เสริมจติ อาสา ของนักเรยี นพักนอน กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น (ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้) เวลา ๑๕.๒๐ – ๑๖.๓๐ น. วนจนทร์ กจิ กรรมชมุ นุม \"๑ ศกั ยภาพ ๑ ครู ๑ อาชีพ\" วนพธุ กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี วนศุกร์ กจิ กรรมส่งเสริมศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาและคณะครูพบนักเรียน อบรมและปลูกฝังนกั เรียนด้านคุณธรรมจริยธรรม และ คุณลกั ษณะ อันพึงประสงค์ ชว่ งพกั กลางวนั โดยมคี รูเวรประจำวนั และครูทปี่ รกึ ษาเปน็ ผ้คู อยควบคุมดแู ล นำความรทู้ ่ไี ดร้ ับจากผู้บริหารสถานศึกษาและครูไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวัน เพ่ือเนน้ ใหผ้ ้เู รยี นเกดิ ความ ตระหนกั และมที ักษะจนเกิดเปน็ นสิ ยั ในการเป็นคนดีมคี ุณธรรม จริยธรรมนำไปใช้ในชวี ิตประจำวัน อยู่รว่ ม ในสังคมได้อย่างมคี วามสขุ นอกจากนีโ้ รงเรียนยังได้ส่งเสริมคุณธรรม และจรยิ ธรรมนักเรียน โดยทำโครงการ โครงงาน และกจิ กรรมต่างๆ เชน่ โครงการชวนกนั ทำดี โครงการคุณธรรมนำทกั ษะชีวิต โครงการโรงเรียนดี วิถพี ุทธ โครงการสถานศึกษาสีขาวปลอดยาเสพติด และอบายมุข โครงการ To Be Number One โครงงาน คุณธรรมการบริหารจดั การขยะ อนรุ กั ษพ์ ลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม การสง่ เสรมิ ขวญั และ กำลังใจนักเรยี นและครู โดยการคดั เลอื กและยกย่องเชดิ ชูนกั เรยี นแกนนำท่มี คี วามประพฤติดดี ้านต่างๆ โดย

๓๑๑ มอบทุนการศึกษา ในการคดั เลือกนกั เรียนท่ีไดร้ บั ทุนการศึกษาต่างๆ คัดเลอื กนักเรียนที่มีความประพฤติดี มีภาวการณเ์ ป็นผู้นำซ่งึ เป็นคุณสมบตั ิเบอื้ งต้นที่พึงมีของผู้เรยี น ลสำเรจ็ ของการดำเนินงาน 1. ครสู ามารถปรับวธิ ีเรยี น เปล่ียนวธิ สี อนให้เหมาะสมกับบริบทของตนเอง 2. ครูมคี วามกระตือรือรน้ ใสใ่ จพฒั นาเทคนิค วิธกี ารจัดการเรยี นการสอนอยา่ งต่อเนอ่ื ง 3. ครูผสู้ อนมสี ัมพันธภาพท่ีดตี ่อกัน 4. ครูทราบวิธกี าร แนวทางในการพฒั นาผเู้ รียน และแกไ้ ขปัญหาการจดั การเรยี นรู้รว่ มกัน ๕. นักเรยี นเรียนรู้เขา้ ใจ และมคี วามสุขในการเรยี น ๖. มเี ครือข่ายในการนเิ ทศ ร่วมพฒั นา ให้กำลงั ใจ และแก้ไขปัญหารว่ มกนั ๗. ครูได้เผยแพร่การสอน เผยแพร่และแลกเปลย่ี นผลงานวิชาการ คณะกรรมการนเิ ทศโรงเรยี นพฒั นาคณุ ภาพต่อเนอ่ื ง (sQip) จากกองทุนเพอื่ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.) วนั ที่ 31 พฤษภาคม 2560, 9 สงิ หาคม 2560 และ 11 มกราคม 2561

๓๑๒ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม โครงการพัฒนาครแู ละโรงเรยี นเพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง (TSQP2) จากกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) วนั ท่ี ๒๑ มกราคม 256๓ ๑๔ กุมภาพนั ธ์ 256๓ และ ๒๑ กุมภาพันธ์ 256๓ ตวช้วี ดท่ี 2 (7) โรงเรียน ได้มีการสนบั สนุนใหค้ รจู ัดการเรียนการสอนที่ยดึ ความสนใจของผูเ้ รยี นเปน็ ฐานในการจดั การเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในหวั ขอ้ การเรียนท่ีเกิด จากการสำรวจพื้นที่ในโรงเรียน เรื่อง การทำไม้ไม้กวดทางมะพร้าว โดยมีเนื้อหาสาระวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ การงานอาชีพ และภาษาไทย ที่เน้นให้ผู้เรียนได้เกิดทักษะคิดวิเคราะห์และลองลงมือ ปฎบิ ัตดิ ว้ ยตนเอง ไม่วา่ จะเป็นกจิ กรรมรายบคุ คลและรายกลุ่ม ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ แผนการจัดการเรียนรู้ เนอ้ื หา/ สาระการเรียนรู้ ➢ วิชาศิลปะ – หตั ศิลป์ในงานศิลปะ ➢ วชิ าการงานอาชีพ – การออกแบบงาน ประดษิ ฐ์ ➢ วิชาภาษาไทย – หลักการเขียนรายงาน การศกึ ษาค้นคว้า การวางโครงเรอื่ ง ➢ ภาษาองกฤษ – อ่านออกเสยี งวลีเกี่ยวกบั งานบ้านต่าง ๆ ➢ วทิ ยาศาสตร์ – ปัญหาสง่ิ แวดล้อม ➢ บรู ณาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 5 กลมุ่ สาระ – เส้นทางสายกลาง

๓๑๓ จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ -ปฏบิ ัตชิ ิ้นงาน “ไม้กวาดสรา้ งโลก” ได้ -เขียนแผนภาพและอธบิ ายปัญหาสิง่ แวดล้อมในบรเิ วณโรงเรียนและบอกแนวทางการแก้ไขได้ -ระบุอาชีพทเ่ี กี่ยวข้องกับงานทศั นศลิ ป์และทักษะทจี่ ำเปน็ ในการประกอบอาชพี น้ันๆ -นำความรู้เร่อื งการเขียนรายงานเชิงวชิ าการไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ได้ -นกั เรียนสามารถพูดสนทนาและการเขยี นให้ข้อมลู เกย่ี วกับกจิ วตั รประจำวนั ของตนเอง และบุคคลใกลต้ วั ในสถานการณ์ตา่ งๆ ในชีวิตประจำวัน -ให้ความรว่ มมือและทำงานร่วมกบั ผู้อืน่ ได้ 1. จดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active Learning

๓๑๔

๓๑๕ ๒. กิจกรรมการสำรวจชุมชน เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของอาชีพในชุมชน ตัวเอง ได้แก่ กิจกรรมการทำอาชีพเกษตรกรรม ปลูกผักสวนครัว และพืชผลต่างๆ กิจกรรมการอนุรักษ์พันธุ์ และศึกษานกชนิดต่างๆ รวมถึงการสำรวจทรัพยากรธรรมชาติที่นำพามาเลี้ยงชีวิตคนในชุมชนใกล้โรงเรียน ของเรา เรยี นรู้ สกู่ ารปฏิบตั ิ กับเครือข่ายผู้ปกครองนกั เรียน

๓๑๖ ๓. จัดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน กิจกรรมชมุ นมุ ใหส้ อดคล้องกับการมีทักษะอาชีพตา่ ง ๆ โดยคณะครูใน โรงเรยี นเปน็ ผู้ควบคมุ ดูแลให้ผู้เรยี นไดล้ องฝกึ ปฏบิ ัติ โดยมีแนวคิดใหผ้ ู้เรยี นเลือกกิจกรรมตามความถนดั และ ความสนใจในการปฏบิ ัติงานร่วมกบั คนอนื่ ๆ ในสงั คมได้ ดงั น้ี ฐานเรียนรู้พระธาตุคาเ ่ ฐานเรียนรู้การเลย้ี งไก่ ฐานเรยี นรู้เพาะเหด็ ฐานเรียนร้สู หกรณ์ ฐานเรียนรผู้ กั ไฮโดรโปนิก ฐานเรียนรกู้ ารเลย้ี งไส้เดือน

๓๑๗ ฐานเรยี นรูก้ ารเล้ียงกบในบ่อซีเมนต์ ฐานเรียนรู้การเลีย้ งปลากินพืช ฐานเรยี นรู้การทำเรือนเพาะชำ ฐานเรยี นรกู้ ารตัดผมชาย ฐานเรยี นรูร้ า้ นเสรมิ สวย ฐานเรยี นรู้การนวดฝา่ เท้า

๓๑๘ ฐานเรียนรู้การปลกู ผกั ฐานเรียนรกู้ ารทำฝาย ฐานเรยี นรู้รกั ษ์นก ฐานเรียนรธู้ นาคารขยะ ฐานเรยี นร้ปู ยุ๋ หมกั ธรรมชาติ ฐานเรยี นรูส้ วนสมุนไพร

๓๑๙ ตวชีว้ ดที่ 3 (8) โรงเรยี นสนับสนุนให้มกี ารจดั กิจกรรมการประเมนิ เพอ่ื พฒั นาในห้องเรียน การประเมินเพื่อการพฒนา (Formative Assessment) เป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่ ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดการเรียนการสอน โดยมิใช่ใช้แต่การทดสอบระหว่างเรียนเป็นระยะ ๆ อย่างเดียว แต่เป็นการที่ครูเก็บข้อมูลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างไม่เป็นทางการด้วย ขณะที่ให้ผู้เรียนทำภาระงานตามท่ี กำหนด ครูสังเกต ซักถาม จดบันทึก แล้ววิเคราะห์ข้อมูลว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้หรือไม่ จะต้องให้ผู้เรียน ปรับปรุงอะไร หรือผู้สอนปรับปรุงอะไร เพื่อให้เกิดความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามมาตรฐานหรือตัวชี้วัด การประเมินระหว่างเรียนทำได้หลายรูปแบบ เช่น การให้ข้อแนะนำ ข้อสังเกตในการนำเสนอผลงาน การพูดคุยระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเป็นกลุ่มหรือรายบุคคล การสัมภาษณ์ ตลอดจนการวิเคราะห์ผลการสอบ เปน็ ต้น การประเมินแบบ 360 องศา วิธีการในการประเมินแบบนี้เป็นวิธีการที่กำลังได้รับความนิยมมาก ที่สุดในขณะนี้ เนื่องจากเป็นวิธีการที่ประเมินแล้วมีความน่าเชื่อถือมากที่สุดถ้าเปรียบเทียบกับวิธีการอื่น ๆ เพราะเปน็ การประเมนิ ความสามารถของคน ๆ หนึง่ จากผ้คู นท่ีอยรู่ อบข้าง (หัวหนา้ ตวั เอง เพอื่ นร่วมงาน และ แล้วหาค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินออกมา เพื่อสะท้อนให้เห็นว่าระดับความสามารถที่แท้จริงในแต่ละหัวข้อ นั้น อยู่ในระดับใด เมื่อประเมินครบทุกคนทุกหัวข้อแล้ว จะมีการสรุปผลการประเมินความสามารถโดยรวม ของ แต่ละคนออกมา เพ่ือนำไปใชใ้ นการใหค้ ำปรกึ ษาเพ่ือพัฒนาตวั เองตอ่ ไป โรงเรียนพระธาตุพิทยาคม จึงได้พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นนโยบายสำคัญให้ ดำเนินการอย่างต่อเนื่องและจริงจังกอ่ ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล เนื่องจากระบบการดแู ลช่วยเหลือ นักเรียนมีขั้นตอนการดำเนินงานที่ชัดเจน มีวิธีการและเครื่องมือที่ได้มาตรฐาน มีคุณภาพและมีหลักฐานการ ทำงานที่ตรวจสอบได้ทั้งเชิงคุณภาพนักเรียน ด้านกระบวนการ และด้านปัจจัย ซึ่งความมุ่งหวังของการจัด การศึกษา คือ มุ่งให้เด็กนกั เรียนเปน็ คนดี มีปัญญา มีความสุข ใสศตวรรษที่ 21 ส่งเสริมสร้างขวญั และกำลังใจ ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งทักษะวิชาการ ทักษะชีวิต และมีค่านิยม 12 ประการ เพื่อส่งเสริม พัฒนา ป้องกัน และแก้ไขปัญหา ให้นักเรียนสามารถพัฒนาได้เต็มศักยภาพเกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีภูมิคุ้มกันทั้งทาง ร่างกายและจิตใจที่เข็มแข็ง เกิด “ทักษะชีวิต” (Life Skills) ในการดำรงชีวิตและมีคุณภาพชีวิตที่ดี รอดพ้น จากวิกฤตท้งั ปวงทเี่ กิดจากการเปลี่ยนแปลงโลกและสังคมในปัจจบุ นั ระบบการดูแลช่วยนักเรยี นของโรงเรียนพระธาตุพิทยาคมได้รับการพัฒนาใหส้ ามารถดำเนินอย่างเป็น ระบบและสามารถส่งเสริมพัฒนาและแก้ไขปัญหานักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ตาม เกณฑ์มาตรฐานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งเชิง คุณภาพผู้เรียน ด้านกระบวนการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และด้านปัจจัย ครูทุกคนได้รับ การอบรม ประชุมสัมมนา เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่าง เป็นระบบ โรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนหรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการทำงานร่วมกัน โดยผ่านกระบวนการ ทำงานทชี่ ดั เจน พร้อมด้วยเอกสารหลักฐานการปฏบิ ัติงาน สามารถตรวจสอบหรอื รบั การประเมนิ ได้ นักเรียนมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเกณฑ์ของมาตรฐานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนสำนักงานคณ ะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

๓๒๐ ตวั อยา่ งโครงการหรือกจิ กรรม ที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ตวั อยา่ งการจดั กจิ กรรมการประเมนิ เพื่อพฒั นา และการรายงานผล มีกจิ กรรมการให้ผ้เู รยี นประเมินตนเอง ครรู ว่ มกนั และเพ่ือนร่วมชน้ั แบบ 360 องศา ดว้ ยวธิ ีต่างๆ ในช่วงช้นั ท่ี 2

๓๒๑

๓๒๒

๓๒๓ มาตร านที่ 4 การส่งเสริมสุขภาวะภายในบา้ นและครอบครวของ ้เู รยี น ตวช้วี ดที่ 1 (9) โรงเรียนมีการส่งเสริมและให้ความร้ดู ้านการป้องกนั ควบคมุ การใชส้ ารเคมีสารพิษ สารเสพติด ทใ่ี หโ้ ทษต่อรา่ งกาย สภาพแวดล้อมในครอบครัวและชุมชน 1. โรงเรียนได้รับความร่วมมือจากคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนพระธาตุพิทยาคม และบุคลากรจากแต่ละหน่วยงานในอำเภอเชียงกลาง ให้ความร่วมมือในกิจกรรมโครงการส่งเสริมทักษะการ ปฏิเสธสารเสพติดและทักษะการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ในวัยใสของกลุ่มเด็กนักเรียนและเยาวชน ตำบลพระธาตุ เป็นอย่างดี มีความเข้าใจในหลักการทักษะการปฏิเสธสารเสพติดและทักษะการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหา ระหว่างบ้าน โรงเรียน ชุมชน และกลุ่มเพื่อนวัยรุ่น ผลการจัด กิจกรรมดีมาก

๓๒๔ 2. การจัดค่ายเยาวชนนิวเคลียร์ “รักอะตอม” สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) กระทรวงการ อุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม เพอ่ื สร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง และความตระหนักเกี่ยวกับ พลังงานนิวเคลียร์และรังสี กับการดูแลความปลอดภัย ระหว่างวันที่ 23-25 ธันวาคม 2563 ณ โรงเรียน พระธาตพุ ทิ ยาคม ใหก้ บั เดก็ นักเรยี น และเยาวชน ในอำเภอเชยี งกลาง จำนวน ๑๒๐ คน 3. โรงเรียนมีการเชิญชวนให้มีการรณรงค์เรื่องการงดสารเสพติดในครอบครัว เช่น เหล้า บุหร่ี โรงเรียนมีการเดินขบวนรณรงค์ต่อต้านยาเสพติดในชุมชน ในงานกีฬาต้านสารเสพติดในตำบลพระธาตุ เพ่ือ เป็นการให้ความรู้และให้คนในชุมชนตระหนักถึงผลเสียของสารเสพติด และช่วยกันสอดส่องดูแลเพื่อให้เด็ก นกั เรยี นและเยาวชนในโรงเรียนและชมุ ชนปลอดสารเสพติดทุกประเภท ๔. โรงเรียนมีกิจกรรมเชิญชวนใหค้ รอบครวั ใช้สารอนิ ทรีย์ ในการประกอบอาชีพ และงานบ้าน ครูและ นักเรยี นมกี ารดำเนินการสำรวจพื้นท่ีการเกษตรในชุมชนรณรงค์ให้ผูป้ กครองนักเรียนและชุมชนใช้สารอินทรีย์ ทดแทนการใช้สารเคมี ในการปลูกพืชผักสวนครัว การเกษตร เพื่อความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ตามโครงการ น่านเพาะพันธ์ปญั ญา โดยมีครูจิราภา อนิ สองใจ เปน็ ครูทีป่ รึกษาโครงการดงั กล่าว

๓๒๕ นอกจากนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ยังมีกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ในชั้นเรียน เรื่อง การ ผลติ สบจู่ ากสมนุ ไพร โดยครจู ริ าภา อินสองใจ เป็นครูทป่ี รึกษาโครงงาน เพื่อใหน้ ักเรียนมคี วามรู้ สามารถผลิต สบสู่ มุนไพร และนำความรทู้ ่ีได้ไปขยายผลให้กับคนในครอบครวั ของนักเรียนให้สามารถผลิตสบู่สมุนไพรใช้เอง ได้ พรอ้ มฝึกนักเรียนจำหนา่ ยผลิตภัณฑใ์ ห้กบั ผ้ทู ่สี นใจ นำข้อมูลมาจัดทำบัญชี งบกำไร ขาดทนุ เพ่อื การเรียนรู้ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ตวชี้วดท่ี 2 (10) โรงเรยี นมีการส่งเสริมและใหค้ วามรูด้ า้ นการป้องกัน ควบคุม การทานอาหารท่ีไม่ ท่าใหเ้ กดิ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Chronic Non-communicable Diseases : NCDs)แกค่ รอบครวั 1. โรงเรยี นมีกิจกรรมการส่งเสริมและให้ความรู้ด้านการปรงุ อาหารสุก สะอาด โรงเรียนมกี จิ กรรมการสง่ เสริมและให้ความร้ดู ้านการปรงุ อาหารสุก สะอาด การทำอาหารของ นกั เรียนในรายวิชาการงานอาชีพ โดยครูสุภาพร จิตตรง เป็นครูประจำวิชา

๓๒๖ 2. โรงเรยี นมกี ารเชิญชวนให้มีการรณรงค์เรือ่ งการปรุงอาหารรสไม่จดั งดหวาน และเคม็ โรงเรียนมีการเชิญชวนให้มีการรณรงค์เรื่องการปรุงอาหารรสไม่จดั งดหวาน และเค็ม โดยในวนั ที่ 3 กันยายน 2563 โรงเรียนพระธาตุพิทยาคมได้รับความอนุเคราะห์จากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล พระธาตุ จดั โครงการสรา้ งเสริมสุขภาพดี และปอ้ งกนั โรคเชงิ รุก โดยเจ้าหนา้ ทีจ่ ากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลพระธาตไุ ดใ้ ห้ความรูเ้ รอื่ งปรมิ าณน้ำตาลในเคร่ืองด่ืมมีผลต่อสุขภาพ จำนวน ๑๓๙ คน 3. โรงเรยี นใหค้ วามรู้เกย่ี วกับ และคณุ คา่ อาหาร 5 หมู่ โรงเรียนมีการให้ความรู้แก่นักเรียนในเรื่องคุณค่าของอาหารหลัก 5 หมู่ อาหารที่มีประโยชน์ต่อ ร่างกาย และการประกอบอาหารทม่ี คี ณุ คา่ ทางโภชนาการ ฐานผักไอโดรโปนกิ ส์ ปลูก – ดแู ล – เก็บเกยี่ ว – แปรรปู – ปลอดภัย – มีประโยชน์ – สร้างรายได้

๓๒๗ ตวชว้ี ดท่ี 3 (11) โรงเรียนมีการส่งเสริมและใหค้ วามรู้ด้านการออกกำลงั กายแกส่ มาชิกครอบครวั ของนักเรียน 1. โรงเรียนมีกิจกรรมการส่งเสริมและใหค้ วามร้ดู ้านการออกกำลงั ประเภทตา่ ง ๆ โรงเรียนมกี ารส่งเสรมิ กิจกรรมการแข่งขันวอลเลยบ์ อลนัดลองสนามระหว่างโรงเรียนพระธาตุพิทยา คมและโรงเรียนไตรราษฎร์สามคั คี วนั ที่ 15 ตุลาคม 2563 ส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีการเข้าร่วมกิจกรรมด้านกีฬากับหน่วยงานต่างๆอย่างต่อเนื่อง เช่น การว่ิง ก้าวนี้เพื่อน้อง “Run for Kids” ในวันที่ 22 พฤศจิกายน 2563 นางสาวธัญญารัตน์ สุต๋า นักเรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 รบั ถ้วยรางวัลรองชนะเลศิ อันดับที่ 4 รนุ่ อายไุ ม่เกิน 18 ปี หญงิ

๓๒๘ โรงเรียนมีการเชิญชวนให้มีการรณรงค์เรื่องการออกกำลังกายภายในครอบครัว ส่งเสริมให้คณะครู และบุคลากรทางการศึกษาออกกำลังกาย ในตอนเย็นหลังเลิกเรียน 2. โรงเรยี นมกี จิ กรรมรว่ มกันกับนกั เรยี น และสมาชกิ ครอบครวั ด้านการกฬี า โรงเรียนส่งเสรมิ ให้นักเรยี นเขา้ ร่วมกิจกรรมด้านกีฬาเพ่ือสรา้ งความสมั พันธร์ ะหว่างโรงเรียน นักเรียน ผ้ปู กครอง และชุมชน

๓๒๙ มาตร านท่ี 5 การประสานความรว่ มมือกนระหว่างโรงเรียน ปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศกึ ษา ขน้ พื้น าน ชุมชน และหนว่ ยงาน/องค์กรทเี่ ก่ียวขอ้ ง ตามมาตร านโรงเรียนคุ้มครองเดก็ ตวชี้วดที่ 1 (12) โรงเรียน ผู้ปกครอง ชมุ ชน และคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน รว่ มกัน สง่ เสรมิ พฒั นานกั เรยี นตามพัฒนาการ 5 ด้าน ไดแ้ ก่ ดา้ นร่างกาย จติ ใจ สงั คม สติปญั ญาและครอบครัว โรงเรยี น ผู้ปกครอง ชมุ ชน และคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน รว่ มกนั สง่ เสรมิ นักเรียนใหม้ ี พฒั นาการทั้ง 5 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม สตปิ ญั ญาและครอบครัว โรงเรียนมกี ารดำเนินการ ดังน้ี 1. โรงเรียนมีการจัดศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง โดยมีสวนเกษตร ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงปลา เลี้ยงกบ เลี้ยงไก่ พระธาตุคาเ ่ เสริมสวยหญิง ตัดผมชาย เป็นต้น ในการส่งเสริมให้นักเรียนมีแนวทางทักษะ อาชีพ และนำไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั 2. โรงเรียนส่งเสริมให้นักเรียนเล่นกีฬาอย่างต่อเนื่อง เป็นการฝึกฝนทักษะทางด้านร่างกาย อารมณ์ และสงั คมของผู้เรียน จะส่งผลต่อพัฒนาการท่ีดใี นการเจริญเติบโตเปน็ นักเรียนที่มีคณุ ภาพสามารถดำรงตนอยู่ ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ 3. โรงเรยี นสง่ เสรมิ ให้นักเรียนมีวินัย มจี ิตอาสา รจู้ กั ช่วยเหลอื ซึ่งกันและกนั อยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง มีความสขุ นอกจากนี้โรงเรยี นร่วมกบั ผ้ปู กครอง/คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน/ชมุ ชน/หน่วยงาน/องค์กร ทเ่ี กยี่ วข้องไดจ้ ัดกจิ กรรมท่ีสง่ เสริมให้เกิดความสัมพนั ธ์อันดรี ะหวา่ งครูกบั ผูป้ กครอง และนกั เรยี นกับผู้ปกครอง เสมอมา การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

๓๓๐ ประชมุ ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สง่ เสริมวินยั และจติ อาสา

๓๓๑ ส่งเสริมใหน้ กั เรยี นเลน่ กีฬาและออกกำลังกาย ตวช้วี ดท่ี 2 (13) โรงเรียนจัดใหน้ กั เรยี น ครู ผปู้ กครอง ชุมชน และคณะกรรมการ สถานศึกษาข้ัน พื้นฐานมกี จิ กรรมร่วมกันเพื่อให้นกั เรียนมีความปลอดภยั โรงเรียนจัดให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีกิจกรรม ร่วมกันเพ่อื ใหน้ กั เรียนมีความปลอดภยั ตามมาตรฐานโรงเรียนค้มุ ครองเด็ก โรงเรียนมีการดำเนนิ การดังน้ี 1. มีเครือข่ายผู้ปกครองในการประสานความร่วมมือระหว่างผู้บริหาร ครู และผู้ปกครองนักเรียน ใน การแจ้งขอ้ มลู ตามระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นอยา่ งต่อเน่ืองและทันต่อเหตุการณ์ต่างๆ อย่างเปน็ ปจั จบุ ัน 2. การประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน (Classroom Meeting) ภาคเรียนละหนึ่งครั้ง เพื่อชี้แจงนโยบาย การดำเนินงานดา้ นการจัดการศึกษาและการให้ความช่วยเหลือนักเรียนระหว่างครูที่ปรึกษา และผู้ปกครองใน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมของบุตรหลาน การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง (หนา้ ๘๗) 3. การจัดแนะแนวการศึกษาต่อของนักเรียนโดยครแู ละบุคลากรโรงเรียนพระธาตุพิทยาคม หรือการ ตดิ ต่อประสานกบั หนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วข้องใหข้ ้อมูลเกยี่ วกับการศกึ ษาต่อของนักเรยี น เพือ่ ให้นักเรยี นมีแนวทางใน การตดั สนิ ใจเก่ียวกบั การศกึ ษาต่อหรือประกอบอาชีพในอนาคต 4. จัดห้องเรียน Smart Classroom เพื่อให้ โอกาสทางการศึกษาอย่าง ทัดเทียมในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้โดยใช้ สื่อ ICT ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมยุค ปจั จุบนั โดยไดร้ ับการส่งเสริมสนับสนนุ จากผ้ปู กครองและชมุ ชนทีใ่ ห้ความสำคญั ของความทันสมยั ของอุปกรณ์ การเรียนการสอน ซ่ึงได้รับการสนับสนนุ หอ้ ง USO NET นอกจากน้ีโรงเรียนร่วมกบั ผูป้ กครอง/คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน/ชมุ ชน/หนว่ ยงาน/องค์กร ที่เก่ยี วข้องไดจ้ ดั กจิ กรรมท่ีส่งเสริมให้เกิดความสมั พันธ์อนั ดรี ะหวา่ งครูกับผู้ปกครอง และนักเรียนกับผู้ปกครอง เสมอมา สง่ ผลตอ่ การติดตามนักเรียน ดงั นน้ั ผบู้ ริหาร คณะครู และผู้ปกครองต้องมีแผนงานในการร่วมมือกัน ในการแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนอย่างต่อเนื่อง และให้ความสำคัญเปน็ อย่างย่ิงในการพัฒนาให้นักเรียนมีทักษะชีวิตใน การช่วยเหลอื ตนเอง สามารถดำรงตนให้อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุขตามศักยภาพของแตล่ ะคน เครอื่ งมือในระบบการดแู ลช่วยเหลือนกเรยี น ๑. การเย่ยี มบา้ น (Home Visit) การเยี่ยมบา้ นเป็นกิจกรรมท่สี ำคญั อยา่ งหนึ่งในระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น ซงึ่ มักจะนำไปใช้มาก ในขั้นตอนการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ช่วยให้รู้จักนักเรียนอย่างลึกซึ้งและมีข้อมูล เชิงประจักษ์ และ นำไปใช้ในการส่งเสริมพัฒนารวมถึงการป้องกันและแก้ไขได้อย่างเหมาะสม สรุปรายงานและความเห็นของผู้ เยี่ยมบ้าน เพ่ือรวบรวมเปน็ ฐานข้อมลู นกั เรยี น

๓๓๒ ๒. การประชมุ ู้ปกครองช้นเรียน (Classroom Meeting) เปน็ การกระบวนการแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และสรา้ งสมั พันธร์ ะหวา่ งสถานศกึ ษา ชมุ ชน ผ้ปู กครอง ครู และนกั เรยี น เปน็ การสรา้ งเครือขา่ ยผปู้ กครอง ชมุ ชน สถานศึกษา และนักเรียน ในการดูแลชว่ ยเหลือ และ ค้มุ ครองเดก็ นักเรยี นทีม่ ีความเข้มแขง็ ๓. การทำ Case Conference โรงเรียนจัดให้มีการเยี่ยมบ้าน เพื่อรับทราบปัญหา/วิเคราะห์สถานการณ์ ตรวจสอบข้อเท็จจริง/การ ประชุมหารือ ภายใน ประสาน/ส่งต่อ ภายนอก ช่วยเหลือแบบองค์รวม ติดตาม/ประเมิน ช่วยเหลือ ไม่ดีข้ึน รายงาน ดขี ้ึน ไม่ดีข้ึน ดำเนนิ การแกไ้ ข/ ปรบั เปลี่ยนวิธีการ ๔. การให้คำปรกึ ษา โรงเรียนมีกระบวนการให้ความช่วยเหลือ ติดต่อสื่อสารกันด้วยวาจาและกิริยาท่าทาง ที่เกิดจาก สัมพันธภาพระหว่างบุคคลอย่างน้อย 2 คน คือ ผู้ให้คำปรึกษาในที่นี้หมายถึง ครูที่มีคุณลักษณะที่เอื้อต่อการ ให้คำปรึกษา มีความรู้และทักษะในการให้คำปรึกษา ทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้รับคำปรึกษาหรือ นักเรียน ซึ่งเป็นผู้ที่กำลังประสบความยุ่งยากใจ หรือมีความทุกข์และต้องการความช่วยเหลือให้เข้าใจตนเอง เข้าใจสิ่งแวดล้อม ให้มีทักษะในการตัดสินใจ และหาทางออกเพื่อลดหรือขจัดความทุกข์ ความยุ่งยากใจด้วย ตนเองไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพตามโครงการเพอื่ นท่ีปรึกษา (Youth Counselor : YC) YC : PP เดก็ ดพี ระธาตุ การเย่ยี มบ้านนักเรียน การติดตามดแู ลช่วยเหลือนักเรียน และสรา้ งความเขา้ ใจระหวา่ งผู้ปกครองกับทางโรงเรยี น

๓๓๓ การจัดกจิ กรรมแนะแนวการศึกษาต่อในระดบั อุดมศึกษา ลการดำเนินงาน ผลการดำเนนิ งานอยู่ในระดบั 4 พบว่า โรงเรียนพระธาตุพิทยาคมไดก้ ำหนดวัตถปุ ระสงค์ของการ ดำเนนิ งานระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน สอดคลอ้ งกับวิสยั ทศั น์ นโยบายเป้าหมายและจุดเนน้ การพฒั นา คณุ ภาพของสถานศึกษา ทำให้เกดิ จากการรับรู้ เขา้ ใจปัญหาและความต้องการร่วมกันของทุกฝ่าย ทุกงานใน สถานศกึ ษา ผู้เก่ียวข้องมสี ่วนร่วมคดิ วางแผน และลงมือปฏิบตั หิ รอื สนับสนุนตามบทบาทหน้าท่ี โรงเรยี นพระธาตุพิทยาคมได้ตระหนกั ถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียน ให้มีความสมบูรณ์ พร้อมอย่างเป็นองค์รวมท้ัง ด้านร่างกาย สติปัญญา ความรู้ความสามารถ คุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนให้มี ทักษะในการดำรงชีวิต มีความจำเป็นในการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตผ้เู รียน และแก้วิกฤติสังคม จึงได้นำระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนมาประยุกต์ใช้และพัฒนาให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน หลก านอา้ งอิง 1. เลม่ สรปุ รายงานการดำเนินการระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน 2. เล่มสรปุ รายงานการประเมนิ ตนเองตามมาตรฐาน Safe Schhool TSQP – 02 3. ภาพกิจกรรม 4. เกยี รติบัตรรางวลั โครงการพฒนาและส่งเสริมศกยภาพ ู้เรียน วธิ ีการดำเนนิ งาน 1) ประชมุ ครู/ผูป้ กครอง/นักเรียน และทำข้อตกลงรว่ มกนั ในการรบยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น O-Net ของนกั เรียนทกุ ระดบั ชน้ั 2) กำหนดเวลาสอนเสริมระหวา่ งเวลา 07.30 – 08.30 น. และเวลา ๑๖.๓๐ น. – ๑๗.๓๐ น. ของ ทกุ วันราชการ และสอนซ่อมเสริมนกั เรยี นพักนอนในชว่ งกลางคืน เวลา ๑๙.๓๐ น. – ๒๐.๓๐ น. ๓) จัดกิจกรรมคา่ ยฝึกประสบการณท์ ดสอบการคดิ วเิ คราะหบ์ ูรณาการแบบองค์รวม 4) ส่งเสริมสนับสนนุ ใหค้ รูเตรียมแบบทดสอบอยา่ งหลากหลายใหน้ ักเรียนกับทกุ คนได้ฝึกทำข้อสอบ ทัง้ ทบี่ า้ นและที่โรงเรยี นและครตู ดิ ตามการทำข้อสอบของนักเรียน 5) เยีย่ มบา้ นนักเรียน ๑๐๐ % เพ่ือทราบปญั หาที่แทจ้ ริงของนักเรยี น 6) นเิ ทศกำกบั ตดิ ตามในการจัดกิจกรรมยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนทุกสัปดาห์ คณะครูและบุคลากรโรงเรียนพระธาตุพิทยาคมมีความม่งุ ม่ันพัฒนาโรงเรียนเขา้ สู่มาตรฐานสากล โดย กำหนดในวสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ของโรงเรียน โดยมุ่งม่นั พัฒนาผู้เรยี นสู่มาตรฐานสากล มกี ารบริหารจัดการ

๓๓๔ แบบคณุ ภาพ จดั หลักสตู รให้นักเรียนเรียนภาษาอังกฤษ และภาษาจนี เพิ่มขนึ้ มีผลคะแนน O – Net รวมของ โรงเรยี นเพมิ่ ขึ้นทุกกลุ่มสาระ ทั้ง ม.๓ และม.๖ ม.๓ สงู กวา่ ระดบั ชาติ ๓ กล่มุ สาระ ม.๖ มีคา่ เฉล่ยี สูงกวา่ ปี กอ่ นทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 1. ลสมฤทธิ์ทางวชิ าการของ ูเ้ รียน โครงการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนเพ่ือยกระดับผลฤทธิ์ทางการเรยี น มีกจิ กรรมส่งเสริม ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่อื สาร และการคดิ คำนวณของแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรูใ้ ห้มี ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา ➢ กิจกรรมห้องสมดุ ส่กู ารเสริมสรา้ งนิสัยรกั การอา่ น สานต่อชุมชนมีกจิ กรรมท่สี ่งเสรมิ การอ่านเพือ่ กระตนุ้ ให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และแกป้ ัญหาโดยนกั เรยี นบนั ทกึ รกั การอา่ นดว้ ยเทคนิคสอนคิดแบบ KWL Plus ในกจิ กรรม“วางทกุ งาน อ่าน ทกุ คน” ➢ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นกิจกรรทีส่ ่งเสริมให้มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ี่ดตี ่อ งานอาชีพในศตวรรษที๒่ ๑ดา้ นทกั ษะอาชีพดว้ ยCASH PP Model ไดอ้ อกแบบเพอ่ื พัฒนาระบบการบรหิ ารและ จัดการสถานศึกษาของโรงเรียนพระธาตุพิทยาคมโดยการพัฒนาผเู้ รียนในศตวรรษที่๒๑ด้วยCASH PP Model ซงึ่ ประกอบด้วย ๖ ข้ันตอนดงั น้ี ๑) C= Career การส่งเสรมิ โอกาสชวี ติ และอาชีพให้แก่นกั เรียน ๒) A=Attitude การสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นเลอื กเรียนอาชพี ตามความต้องการตามความสนใจและความถนดั โดย ได้ฝกึ ปฏบิ ัติตามอาชีพนน้ั ๆ ๓) S=Sufficiency Economy การส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนเรยี นรู้การดำรงชวี ติ ตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๔) H=Happiness การจดั กระบวนการเรยี นรู้ทกั ษะอาชีพโดยใหน้ กั เรยี น เรียนรอู้ ยา่ งมีความสุข ๕) P= Product การส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนมผี ลผลิตที่เปน็ ผลิตภัณฑ์ของตนเองเพ่อื เสริม รายได้ระหวา่ งเรียนและหลังเรียนจบนกั เรียนโรงเรยี นพระธาตพุ ิทยาคมได้เรยี นรู้อาชีพที่ก่อให้เกิดรายได้อยา่ ง มคี วามสุขตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๖) P=Pratatpittayakhom School การสง่ เสริมการดาเนิน งานโดยเครอื ข่ายโรงเรียนพระธาตพุ ิทยาคมโดยความรว่ มมือจากเครอื ขา่ ยตา่ งๆทั้งภาครัฐและเอกชนเชน่ นกั เรยี นผู้ปกครองคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐานคณะกรรมการที่ปรึกษาปราชญ์ชาวบา้ นวทิ ยากรจาก สถานศกึ ษาที่อยใู่ กลเ้ คยี งผู้นำชุมชนศษิ ย์เก่าครู-อาจารยม์ หาวิทยาลยั และสถานบริการวชิ าการตา่ งๆ ➢ กจิ กรรมการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผู้เรยี นสู่การเป็นพลโลก เปน็ กจิ กรรมท่สี ่งเสรมิ ความสามารถ ในการสร้างนวัตกรรมในรูปแบบของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ สิ่งประดษิ ฐว์ ิทยาศาสตร์ ➢ กิจกรรมค่ายคณุ ธรรมและโครงการกจิ กรรมลูก ➢ เสอี -เนตรนารี เป็นโครงการที่เสริมสรา้ งการมคี ุณลักษณะและคา่ นิยมทดี่ ีตามทสี่ ถานศึกษากำหนด ➢ กจิ กรรมการรักษน์ ก รักษ์สงิ่ แวดล้อมและรักษ์วฒั นธรรมชนเผ่า มีกิจกรรมทีส่ ร้างความภูมใิ จใน ทอ้ งถ่ินและความเปน็ ไทยอนุรักษ์ วัฒนธรรมชนเผ่าของตนเองการยอมรบั ท่ีจะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและ หลากหลาย ซ่งึ นักเรียนโรงเรียนพระธาตุพิทยาคม ประกอบด้วย ๕ ชาตพิ นั ธ์ุ กิจกรรมส่งเสรมิ สขุ ภาพที่ดี ชวี ีมี สขุ และโครงการความเปน็ เลิศทางกีฬา มีกิจกรรมทีเ่ สริมสรา้ งสุข ภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม ➢ กิจกรรมงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ➢ กิจกรรมพฒั นาศักยภาพเยาวชนวัยใส ใส่ใจเพศศึกษา หา่ งไกลปัญหาตงั้ ครรภไ์ มพ่ ร้อมและเอดส์ ➢ กิจกรรมป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาการใช้สารเสพตดิ ในสถานศึกษา ➢ กจิ กรรมพฒั นาระบบสารสนเทศในโรงเรยี น เปน็ โครงการท่ีส่งเสริมความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

๓๓๕ กจิ กรรมโครงการการยก ลสมฤทธ์ิทางการเรียน เสรมิ ความรู้ใหก้ ับนักเรียน ได้เรยี นรู้เทคนิคในการสอบตา่ งๆและการค้นคว้า ศึกษาดว้ ยตนเอง แ นการจดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ ทเี่ ออื้ ต่อการประเมิน ลการเรียนรดู้ ้วยวิธกี ารประเมนิ ที่ หลากหลาย

๓๓๖ หนว่ ยการสอนและ แผนการจดั การเรียนรู้ บูรณาการ ๕ วิชา ตาม โครงการ TSQP 2 https://is.gd/exjPz7 โรงเรยี นไดน้ ำ Social Network มาใช้ในการจดการศึกษา อยา่ งหลากหลายรปู แบบ แอพพลเิ คช่ันท่ีใช้สอน ได้ โดยใช้แอพพลิเคชนั่ ZOOM และ แอพพลิเคชนั่ GOOGLE CLASSROOM แอพพลิเคช่ัน GOOGLE MEET การใชแ้ หลง่ การเรียนรู้ใน ทอ้ งถิน่ เพ่ือจดการเรยี นการสอนอยา่ งคุม้ คา่ แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกโรงเรียน แหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชน หรือแหล่งเรียนรใู้ นท้องถน่ิ ทโ่ี รงเรียนพระ ธาตพุ ิทยาคมให้ผเู้ รียนได้ศึกษาตามลักษณะของแหล่งเรยี นรู้ออกเปน็ 4 ประเภท (วลิ าสนิ ี เทพวงศ์, 2547) ดงั นี้ 1. แหล่งเรียนรปู้ ระเภทบุคคล หรือภมู ิปั าทอ้ งถิ่น หรือภูมิปั าชาวบา้ น เปน็ พนื้ ฐานความรู้ ของชาวบ้าน หรือความรู้ของชาวบา้ นที่เรียนรจู้ ากคนรุ่นก่อนเปน็ ความรู้ทส่ี บื เน่ืองกันมา เช่น ด้านยารกั ษาโรค การประกอบอาชพี ดนตรี ศิลปะ โรงเรยี นพระธาตุพิทยาคมไดส้ ำรวจ ภูมิปญั ญาท้องถิน่ ทีน่ กั เรยี นสามารถไปศึกษาค้นควา้ สอบถามข้อมลู เพื่อการศึกษาได้ มดี ังน้ี

๓๓๗ ที่ ชื่อปราช ์ทอ้ งถน่ิ / แหลง่ เรียนรู้ ทอ่ี ยู่/ สถานท่ตี ง้ เรอื่ ง ๑ นายอนวทั ย์ สลอี อ่ น าร์มเห็ดโตโน่ บา้ นกลาง การเพาะเหด็ นาง ้า Yong Smart Farmer ๒ นายเอกชยั แตงเทศ บา้ นรัชดา การปลูกผักไฮโดรโปนกิ ส์ ๓ วิทยาลัยชุมชนนา่ น อ.เมอื งน่าน จ.นา่ น การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ ม ๔ พระธนารัตน์ หอมดอก วัดกลาง ต.พระธาตุ การตกี ลองปูจา ๕ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัยวิทยาลัย อ.เมอื งน่าน จ.นา่ น ดนตรีไทย และนาฏศิลป์ ๖ ชมรมผูส้ ูงอายุ ตำบลปัว เทศบาลตำบลปัว การสานตะกรา้ จากกลอ่ งนม อ.ปวั จ.น่าน การถักจากรองแก้วจากพลาสตกิ ๗ นางวรรณิกา เครือเทพ ถาดเอนกประสงคจ์ ากกล่องนม บ้านพวงพยอม ๘ นายสมศักดิ์ สุขโข การทำคุ้กก้สี องเกลอจากกระบก (พชื ๙ กอรมน. จงั หวัดน่าน บ้านกลาง ศึกษาโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชของ ๑๐ นางไพวรรณ์ เพตะกร อ.เมอื ง จ.นา่ น โรงเรยี นพระธาตพุ ิทยาคม) โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพ ต.พระธาตุ กระถางปนู ปัน้ จากเศษผ้า การทำปยุ๋ หมัก การเพาะเห็ดนาง า้ การนวดฝา่ เทา้ เพื่อสุขภาพ ๑๑ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั วิทยาลัย อ.เมอื งน่าน จ.นา่ น เรยี น รู้ รกั นก การเล้ยี งสุกร การเลี้ยงไสเ้ ดือน ๑๒ กรมทหารพรานที่ ๓๒ อ.เมอื งน่าน จ.น่าน การเล้ยี งกบในบ่อซเี มนต์ ๑๓ เสริมสวยออง บา้ นสบกอน อ.เชยี งกลาง จ.นา่ น การสร้างฝายมีชีวติ เสรมิ สวยหญิง ตัดผมชาย ปราชญท์ อ้ งถน่ิ นายเอกชยั แตงเทศ อบรมการปลูกผกั ไฮโดรโปนกิ ส์

๓๓๘ นางไพวรรณ์ เพตะกร ให้ความรู้เร่ือง การนวดฝ่าเท้าเพอ่ื สุขภาพ พระธนารัตน์ หอมดอก สอนการตีกลองปูจาใหก้ ับนักเรียน นายสมศักดิ์ สขุ โข สอนการประดษิ ฐก์ ระถางปูนซเี มนตจ์ ากเศษผ้า กอรมน.จังหวัดนา่ น ให้ความรูก้ ารเพาะเหด็ าง

๓๓๙ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ให้ความรู้เรอ่ื งการเลย้ี งสุกร ชมรมผูส้ ูงอายเุ ทศบาลตำบลปัว ให้ความรู้เร่ือง การสานตะกรา้ จากกล่องนม การถักจานรองแก้วจากพลาสติก ถาดเอนกประสงค์จากกล่องนม นายอนวทั ย์ สลอี อ่ น ให้ความรู้เรื่องการเพาะเห็ดนาง ้า เสริมสวยออง ได้ให้ความร้เู รื่องการเสรมิ สวยหญิง และตดั ผมชาย

๓๔๐ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั วิทยาลยั ให้ความรู้เรื่องดนตรีไทย และนาฏศลิ ป์ 2. แหลง่ เรยี นรู้ประเภทธรรมชาติ หนว่ ยจดั การตน้ น้ำนำ้ เปอื บา้ นหวั นำ้ ต.พระธาตุ อ.เชียงกลาง ป่า ไมช้ มุ ชนบ้านหวั นำ้ 3. แหล่งเรียนรู้ประเภทวตถุและสถานทีท่ ี่มนุษยส์ ร้างข้นึ โรงเรยี นพระธาตพุ ิทยาคมได้ทำการ สำรวจ แหลง่ เรยี นรปู้ ระเภทประเภทวัตถุและสถานท่ีทม่ี นษุ ย์สรา้ งข้ึน ท่ีนกั เรยี นสามารถไปศกึ ษาคน้ คว้า สอบถามขอ้ มูลเพื่อการศกึ ษาได้ มดี งั น้ี ที่ แหล่งเรยี นรู้ ทอ่ี ย่/ู สถานท่ตี ้ง ๑ วัดบ้านกลาง บา้ นกลาง ต.พระธาตุ ๒ วดั บ้านพรา้ ว บา้ นพรา้ ว ต.พระธาตุ ๓ วัดบา้ นดอนแก้ว บา้ นดอนแกว้ ต.พระธาตุ ๔ วัดบา้ นหัวนำ้ บา้ นหวั นำ้ ต.พระธาตุ ๕ พระธาตดุ อนแกว้ บา้ นดอนแกว้ ต.พระธาตุ ๖ ข้าวนาบญุ แสงทองรสี อร์ท ต.เชยี งกลาง ๗ ศาลเจ้าพ่อพญามยั ศาลเจ้าพ่อพญามยั ต.เชียงกลาง ๘ โรงงานเจียใต๋ บ้านสร้อยพรา้ ว ต.พระธาตุ 4. แหล่งเรยี นรทู้ างสงคม ไดแ้ ก่ การร่วมประเพณวี ันเขา้ พรรษา ประเพณีวนั ลอยกระทง ประเพณีวัน สงกรานต์ ประเพณีการทอดกฐิน ซึ่งช่วยให้นักเรยี นไดเ้ รียนรู้เกี่ยวกับระเบียบ แบบแผน วัฒนธรรม ประเพณี ตา่ ง ๆ อันจะเปน็ แนวทางในการประพฤตปิ ฏิบัติตน

๓๔๑ การจดการสอนซ่อมเสริมนกเรยี นท่มี คี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ โรงเรียนพระธาตุพิทยาคมได้ตระหนักเห็นความสำคัญของการสอนซ่อมเสริม ซึ่งมีบทบาทสำคัญ ประการหนึ่งในจัดการเรียนการสอนทุกวิชาให้มีประสิทธิภาพ เนื่องจากความแตกต่างระหว่างบุคคล จึงต้อง จัดการเรียนการสอนที่แตกต่างกัน จัดการสอนเพิ่มเติม เสริมความรู้ให้ผู้เรียน การสอนซ่อมเสริมเป็นการ จัดการเรียนการสอนอีกทางหนึ่งซึ่งสามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน (ผดุง อารยะ วิญญู, ๒๕๕๙) ดังนั้นการจัดการศึกษาในโรงเรียนพระธาตุพิทยาคม จึงคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เพ่ือจัดการสอนซ่อมเสรมิ ให้แก่นกั เรยี นดงั ต่อไปนี้ ๑. ผ้เู รยี นแต่ละคนมคี วามแตกตา่ งกนั ทั้งในดา้ นร่างกาย สตปิ ญั ญา อารมณแ์ ละสังคม ๒. ผเู้ รยี นแตล่ ะคนมีพน้ื ฐานต่างกนั และแตล่ ะคนจะต้องเรยี นรเู้ พื่อปรับตวั เข้าหากนั และให้ทันโลกท่ี กำลงั เปลย่ี นแปลงไป ๓. ผู้เรียนแต่ละคนย่อมมีความสามารถอยู่ในตัวมากบ้างน้อยบ้าง การศึกษาจะช่วยให้ความสามารถ ของผู้เรยี นปรากฏเดน่ ชัดขึน้ ๔. ในสังคมมนุษยน์ ้ันย่อมมที ั้งคนปกตแิ ละคนพิการ ในเมือ่ เราไมส่ ามารถแยกคนพกิ ารออกจากสังคม ของคนปกติได้ โรงเรียนจึงไม่แยกให้การศึกษาแก่ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ ดังนั้นทางโรงเรียนจึงจัดการ เรียนการสอนอย่างเต็มที่เพื่อให้ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษได้มีโอกาสเรียนร่วมกับคนปก ติเท่าที่โรงเรียน สามารถจะทำได้ ๕. การให้การศกึ ษามีหลากหลายรูปแบบเพ่ือให้ผู้เรยี นไดม้ ีศักยภาพการเรียนรู้ได้อยา่ งเต็มที่ โรงเรียน ไดส้ อนซ่อมเสรมิ ให้นักเรียนในเวลา ๑๖.๓๐ น. – ๑๗.๓๐ น. และเวลากลางคืนสำหรับนักเรียนประจำพักนอน เวลา ๑๙.๓๐ น. – ๒๐.๓๐ น. เปน็ ประจำทุกวนั สง่ เสริมการเรยี นรู้ใหก้ บ เู้ รียน ในจดการเรียนการสอนทกุ วชิ าให้มีประสิทธภิ าพ

๓๔๒ ลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานอยู่ในระดบั 4 พบว่า โรงเรียนพระธาตุพิทยาคมได้กำหนดวตั ถุประสงค์ของการ ดำเนนิ งานโครงการพฒั นาและส่งเสรมิ ศักยภาพของผ้เู รียนได้ชัดเจน สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ นโยบายเป้าหมาย และจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพของสถานศกึ ษา ทำให้เกดิ จากการรับรู้ เข้าใจปญั หาและความตอ้ งการรว่ มกนั ของทุกฝา่ ย ทุกงานในสถานศึกษา ผู้เก่ียวข้องมีสว่ นร่วมคิด วางแผน และลงมือปฏิบตั ิหรือสนับสนนุ ตาม บทบาทหน้าท่ี โรงเรียนพระธาตพุ ิทยาคมได้พัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รียน มีกจิ กรรมส่งเสริมความสามารถ ในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคิดคำนวณของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน กิจกรรมคา่ ยคุณธรรมและโครงการกิจกรรมลูกเสีอ-เนตรนารี ทำใหผ้ เู้ รียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ตามหลกั สูตรสถานศึกษา หลก านอา้ งอิง 1. เลม่ สรุปรายงานโครงการพฒั นาและส่งเสริมศักยภาพของผู้เรยี น 2. ภาพกจิ กรรม 3. เกียรตบิ ัตรรางวัล 5.1.2 ้เู กยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ยทุกคนปฏิบติงานท่ีรบ ดิ ชอบดว้ ยความเตม็ ใจ ทกุ คนรบรู้ เขา้ ใจเป้าหมาย และมงุ่ ดำเนินการไปสเู่ ป้าหมายร่วมกน โครงการโรงเรียนปลอดขยะ (โครงการตามแนวพระราชดำรขิ อง ร.9) 1) ปัจจยภายใน ปัจจยั ภายใน (๗s Mc Kinsey) ประกอบด้วย ๗ ด้าน ได้แก่ ๑) กลยทุ ธ์ (Strategy) ๒) โครงสร้าง (Structure) ๓) รูปแบบ (Style) ๔) ระบบ (System) ๕) บุคคล (Staff) ๖) ทักษะ (Skill) และ ๗) คา่ นยิ มร่วม (Share Value) ปจั จยภายในสถานศึกษา หมายถงึ สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษาที่เกดิ จากการ วเิ คราะหจ์ ดุ แขง็ และจุดออ่ น ใน 7 ดา้ น (7s Mc Kinsey) ประกอบด้วย กลยุทธ์ (Strategy) หมายถงึ การวางแผนเพ่ือตอบสนองการเปลี่ยนแปลง ของสภาพแวดล้อมโดยการพิจารณาจุดแข็ง จุดอ่อนของโรงเรียน เพื่อการวางแผนการบริหารจัดการขยะตาม หลัก ๓ Rs ของโรงเรียน โดยใหส้ อดคล้องและเหมาะสมต่อการเปลย่ี นแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอก และ ภายในโรงเรยี น โครงสรา้ ง (Structure) หมายถงึ ลักษณะโครงสรา้ งของโรงเรยี นทีแ่ สดงความสัมพนั ธ์ ระหว่างอำนาจหนา้ ที่ และความรับผิดชอบ การควบคุม การรวมอำนาจ และการกระจายอำนาจของผู้บริหาร และการแบ่งโครงสรา้ งงานตามหนา้ ท่ี รูปแบบ (Style) หมายถึง การจัดการท่ีมีรปู แบบวิธีทีเ่ หมาะสมกบั โรงเรยี น เชน่ การสง่ั การ การควบคุม การจงู ใจ สะทอ้ นถึงวฒั นธรรมโรงเรยี น และรปู แบบการทำงานของผบู้ ริหารและบคุ ลากร ระบบ (System) หมายถงึ กระบวนการและลำดับขั้นการบรหิ ารจดั การขยะตามหลกั ๓ Rs ท่ีเป็นระบบ ตอ่ เนื่อง และสอดคล้องประสานกันทุกระดับ รวมทงั้ วัสดุ อปุ กรณ์ และงบประมาณ บุคคล (Staff) หมายถึง บคุ ลากรทีม่ คี วามสามารถในการให้ความรู้ ปฏิบัติกิจกรรม และ พฒั นานกั เรียนทกุ ด้าน เพอ่ื การบริหารจดั การขยะตามหลัก ๓ Rs

๓๔๓ ทกษะ (Skill) หมายถงึ ความชำนาญหรือความเช่ียวชาญขององค์กรโดยรวม ว่ามที ักษะ ความชำนาญหรอื ความเช่ียวชาญระดับไหน คา่ นิยมรว่ ม (Share Value) หมายถึง ความเชือ่ และค่านิยมรว่ มกนั ของบคุ ลากรในโรงเรียน ความเป็นอันหนงึ่ อนั เดยี วกนั 2) ปัจจยภายนอก และภาคเี ครือขา่ ย ปัจจัยภายนอก (PEST) ประกอบดว้ ย ๔ ด้าน ไดแ้ ก่ ๑) ด้านนโยบายและการเมอื ง (Policy) ๒) ด้านเศรษฐกิจ (Economy) ๓) ด้านสังคม (Social) และ ๔) ด้านเทคโนโลยี (Technology)โรงเรียนและ หน่วยงานภายนอกประสานความร่วมมือผ่านเครือข่ายในการสนับสนุนและมีส่วนร่วมต่อกิจกรรมโรงเรียน ปลอดขยะ เช่น การมาร่วมสร้างเสวียนในโรงเรียน การเก็บขยะ ถุงพสาสติกข้างถนนในชุมชน การแสดงจิต อาสาทำความสะอาดบรเิ วณวัดในงานสำคัญของทางวัด โครงการโรงเรียนปลอดขยะ ได้รับการสนับสนุนและ เผยแพร่จากหนว่ ยงานตา่ งๆ ปัจจยภายนอกสถานศึกษา หมายถึง สภาพแวดลอ้ มภายนอกโรงเรียนท่เี กิดจากการ วิเคราะห์โอกาสและอุปสรรค ใน 4 ดา้ น (PEST) ประกอบดว้ ย ด้านนโยบายและการเมือง (Policy) หมายถงึ เปา้ หมาย ยทุ ธศาสตร์ กฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คับของรัฐบาล กระทรวง และหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ด้านเศรษ กิจ (Economics) หมายถึง สภาพที่เกยี่ วข้องกับแนวโนม้ ทว่ั ไปของเศรษฐกจิ โครงสร้างทางรายได้ ภาวะทางการเงิน งบประมาณ การลงทุน การกระจายรายได้ หรือรายได้จากการ ประกอบอาชีพของประชาชนในทอ้ งถิ่น ด้านสงคมและวฒนธรรม (Social and Cultural) หมายถงึ ระบบการศึกษา วฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี ค่านยิ มทางการศึกษา คุณภาพชีวติ สภาพกระแสสงั คมและชมุ ชน ปญั หาของสังคม ดา้ นเทคโนโลยี (Technology) หมายถงึ ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยี เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร เทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศึกษาใหม่ ๆ ท่ีเกดิ ขึน้ การตรวจสอบรูปแบบ หมายถึง การพิจารณาตดั สินคณุ ภาพของรปู แบบการบรหิ ารจดั การ โรงเรียนปลอดขยะสู่ความยั่งยืน DEK D Nan Modelของ โดยพิจารณา 3 ด้าน ซึ่งแต่ละด้านมีความหมาย ดงั นี้ 1. ดา้ นความเหมาะสม (Suitability) หมายถงึ การตัดสนิ คุณภาพของรปู แบบการบริหา จดั การโรงเรียนปลอดขยะสูค่ วามยัง่ ยืน DEK D Nan Model โดยพจิ ารณาถึงความเหมาะสมตาม 1) หลกั การ 2) วตั ถปุ ระสงค์ 3) ระบบ และกลไก ซ่ึงแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ 3.1) ดา้ นปจั จัยนำเข้า (Inputs) 3.2) ด้านกระบวนการบรหิ าร (Process) 3.3) ดา้ นผลผลิต (Outputs) 4) วธิ ดี ำเนนิ การ 5) แนวทางการประเมนิ และ 6) เงอื่ นไขของรปู แบบ 2. ด้านความเป็นไปได้ (Feasibility) หมายถงึ การพจิ ารณาถึงความสัมพันธ์ของ มีโอกาส เป็นไปได้แค่ไหน เพอ่ื เตรยี มความพร้อมในการใชร้ ปู แบบการบรหิ ารจัดการโรงเรียนปลอดขยะสูค่ วามยั่งยืน DEK D Nan Model ๓. ดา้ นความเปน็ ประโยชน์ (Usefulness) หมายถึง การพิจารณาวา่ รูปแบบ จะมผี ลใช้ได้ดี มคี ุณค่าต่อรปู แบบการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นปลอดขยะสคู่ วามยงั่ ยนื DEK D Nan Model ู้บรหิ ารสถานศกึ ษา หมายถงึ ผู้อำนวยการโรงเรยี น และผู้ช่วยผ้อู ำนวยการโรงเรียน โรงเรยี นพระธาตุพิทยาคม สงั กัดสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาน่าน

๓๔๔ ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา หมายถงึ ข้าราชการครู พนกั งานราชการ และครูอัตราจา้ ง หรอื ผทู้ ี่ปฏิบตั หิ น้าที่สอนในโรงเรียนมธั ยมศกึ ษา สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา นกเรยี น หมายถึง ผูท้ ่เี ขา้ เรยี นในระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ - ๖ โรงเรยี นพระธาตพุ ิทยาคม สงั กดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาน่าน ู้ปกครองนกเรยี น หมายถึง บิดา มารดา หรือผู้ใช้อำนาจปกครองนกั เรยี น โรงเรยี นพระธาตุ พิทยาคม สังกดั สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาน่าน ชมุ ชน หมายถงึ ผทู้ ีอ่ าศยั อย่ใู นหมูบ่ ้านท่อี ย่ใู นเขตบริการโรงเรียนพระธาตุพทิ ยาคม อำเภอ เชยี งกลาง จังหวัดน่าน โครงการพฒนาระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกเรียน Pratat Model 1) ปัจจยภายใน การบริหารจดการระบบการดูแลช่วยเหลอื นกเรยี น ท่สี ะทอ้ นการดำเนินงานอยา่ ง ต่อเน่ือง 1. นโยบายการดำเนนิ งานระบบการดูแลช่วยเหลือนกเรยี นและความปลอดภยใน โรงเรียน 1.1 วิสัยทศั น์ของโรงเรยี นสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงความสำคญั ของระบบการดแู ลช่วยเหลือ นักเรียนโดยมีการกำหนดแนวทางตามนโยบายทีเ่ กี่ยวกบั ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนการเสริมสร้างทักษะ ชวี ิตและการคมุ้ ครองนักเรยี นอยา่ งชัดเจน วิสยทศน์ (Vision) : โรงเรียนพระธาตพุ ิทยาคม มุ่งพฒนา ู้เรยี นสมู่ าตร านสากล มีการบรหิ ารจดการด้วยระบบคณุ ภาพโดยชมุ ชนมสี ว่ นรว่ ม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง พนธกจิ (Mission) ข้อ ๓ พฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนกเรียน 1.2 มีแผนกลยุทธ์ที่ระบุการดำเนินงานเกี่ยวกับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การ เสริมสรา้ งทกั ษะชวี ิต และการคมุ้ ครองนักเรียน กลยุทธ์ ขอ้ ๑ พฒนาบคุ ลากร และระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกเรยี น 1.3 มีแผนปฏิบัติการที่ระบุโครงการ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสรา้ งทกั ษะชวี ิตและการคุ้มครองนักเรียน (ดงั ภาคผนวก) 1.4 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานเกี่ยวกับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะ ชวี ิตและการคุม้ ครองนักเรียนทช่ี ดั เจน (ดงั ภาคผนวก) 1.5 มีระเบียบ แนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับระบบการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้าง ทกั ษะชีวติ และการคมุ้ ครองนกั เรยี นมาใช้ไดอ้ ย่างเหมาะสม (ดงั ภาคผนวก) 2. ข้อมูลสารสนเทศระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกเรียนและความปลอดภยในโรงเรียน 2.1 มีการวิเคราะหส์ ภาพปัญหา นำผลการดำเนินงาน มาปรบั ปรงุ และพัฒนาในการปฏบิ ัติงาน ที่เกี่ยวข้อง กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้าง ทักษะชีวิตและการคุ้มครองนักเรียน มีระบบ

๓๔๕ การบนั ทึกขอ้ มลู การประเมินปัจจยั เส่ยี งเพ่ือคดั กรองเฝ้าระวงั และดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี นทกุ คนอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและนักเรียนที่ต้องการความ ช่วยเหลือโดยมีการทำงานร่วมกับทีมเครือข่ายสห วิชาชีพในการช่วยเหลือ มี รายงานผลการคัดกรองนักเรียนผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงโรงเรียนพระธาตุพิทยาคม โดยเฉพาะนักเรียนกลุ่มเส่ียงและนักเรียนที่ต้องการความชว่ ยเหลือ และมีสรุปข้อมูลสภาพปัญหานักเรียนและ แนวทางความต้องการรับบรกิ ารของนกั เรียน ในระบบ และ Q info 2.2 มีการบริหารและดำเนินงานที่สอดคล้องกับนโยบาย ของกระทรวงหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง จัดประชุมว่าด้วยเรื่องการเฝ้าระวัง ดูแลและคุ้มครองนักเรียน เป็นการเฉพาะที่ร่วมกันระหว่างครู ผปู้ กครอง เครือข่ายผปู้ กครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐานและผู้มีส่วนเก่ียวข้อง เขตพ้ืนท่ีการศึกษา สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดน่าน พสน. และเครือข่ายสหวิชาชีพ ได้รับความร่วมมือจากครูและบุคลากร ทางการศึกษา บุคลากรจากหน่วยงานในอำเภอเชียงกลาง ให้มีความเข้าใจถึงปัญหาและการแก้ปัญหา เพื่อ ร่วมมือดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีรายงานการประชุม รายงานผลการดำเนินงานเรื่องการเฝ้าระวัง ดูแลและ คมุ้ ครองนกั เรยี น 2.3 มีแนวทาง/ รูปแบบการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ สภาพปัญหาและบริบทของโรงเรียน ได้รับความร่วมมือจากคณะครู บุคลากรทางการศึกษา และเครือข่ายต่างๆ เพื่อพัฒนาโรงเรียนด้วยระบบ คุณภาพเพื่อมุ่งสู่มาตรฐานสากล ให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ โดยมีนวัตกรรมในการ บริหารสถานศึกษา ได้แก่ นวัตกรรมพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน PRATAT MODEL นวัตกรรมการ ส่งเสริมคุณธรรม การดำรงชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง การบริหารจัดการขยะ การอนุรักษ์พลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม DEK D Nan Model นวตั กรรมการสง่ เสรมิ อาชีพนักเรยี น \"๑ ศกั ยภาพ ๑ ครู ๑ อาชีพ\" CASH PP Model พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง โดยเข้าร่วมโครงการ sQip (School Quality Improvement Program) และได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ TSQP ๒ (Teacher School Quality Program) สนับสนนุ โดย กองทุนเพอ่ื ความเสมอภาค (กสศ.) และมหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุมเป็นพี่ เลี้ยง ได้รับการพิจารณาเข้าร่วมโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โดยมหาวิทยาลัยพะเยาเป็นพี่เลี้ยง มีผลการจัด การศึกษาที่สร้างความเชื่อมั่น และความพึงพอใจให้แก่ผู้ปกครอง และชุมชน มีนโยบายให้ครูสร้างบรรยากาศ การเรยี นรู้แบบบรู ณาการสหสาขาวชิ า หรือพหุปัญญา เพอ่ื ให้นกั เรียนทกุ คนไดม้ โี อกาสสลบั ผลัดเปลี่ยนกันเป็น ผนู้ ำ มกี ารนิเทศ ติดตามทัง้ ในโรงเรียน และจากหนว่ ยงานภายนอกโรงเรยี น 3. ข้อมลู สารสนเทศของโรงเรียนทเ่ี ก่ียวข้องกบระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกเรยี น 3.1 มีขอ้ มูลนกั เรยี นรายบุคคลทเี่ ปน็ ปัจจุบันและพร้อมนำไปใช้ (ดังภาคผนวก)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook