Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมจริงๆ

รวมจริงๆ

Published by waew_lek, 2021-09-28 11:35:33

Description: รวมจริงๆ

Search

Read the Text Version

๔๖

๔๗

๔๘

๔๙

๕๐

๕๑ ดา้ นที่ ๑ คุณภาพผู้เรยี น ๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการ ๑.๑.๘ นักเรยี นมคี วามรคู้ วามสามารถรอบด้าน มคี วามสามารถพเิ ศษ และมผี ลงานเป็นเลศิ ผลการดาเนนิ การ นกั เรียนทุกคนได้รบั การพฒั นาความรู้ความสามารถอยา่ งรอบดา้ นครบท้ัง ๘ กล่มุ สาระ และพฒั นา ทักษะอาชีพ และมีผลงานเชงิ ประจกั ษ์ที่เปน็ เลิศ วิธกี ารดาเนินงาน ดาเนนิ งานโดยโครงการพัฒนาและยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน หลักฐานอา้ งอิง ดังปรากฏในภาคผนวก

๕๒ ด้านท่ี ๑ คณุ ภาพผเู้ รยี น ๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ ๑.๒.๑ นกั เรยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม ตามที่สถานศกึ ษากาหนด และแสดงการกระทาท่ี สะทอ้ นว่าเหน็ ประโยชน์สว่ นรวมมากกวา่ สว่ นตน ปรากฏโดดเด่น เป็นแบบอยา่ งได้ ผลการดาเนินการ ผลการดาเนินงานอยใู่ นระดบั 4 คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงคท์ ี่ต้องการให้เกดิ กับผู้เรียนอันเป็น คุณลกั ษณะ ทส่ี ังคมตอ้ งการในด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม จิตสานกึ และแสดงการกระทาที่สะท้อนว่าเห็นประโยชน์ สว่ นรวมมากกวา่ สว่ นตนปรากฏโดดเดน่ เป็นแบบอย่างได้สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผ้อู ่ืนในสงั คมได้อย่างมคี วามสขุ ทงั้ ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลกโรงเรยี นพระธาตุพิทยาคมไดด้ าเนนิ การจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนอยา่ งรอบ ด้าน เพ่ือส่งเสริมและสรา้ งความตระหนักใหแ้ ก่ผู้เรยี น วิธีการดาเนนิ งาน โรงเรียนพระธาตุพทิ ยาคมจดั การศึกษามงุ่ เนน้ ความสาคัญทง้ั ความรแู้ ละคณุ ธรรม บรู ณาการความรู้ ดา้ นตา่ งๆ รวมทัง้ ปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมทด่ี งี าม โดยดาเนนิ การจัดโครงการและกิจกรรมดงั นี้ ๑. โครงการปฏิบตั ิธรรม รักษาศลี เจรญิ จิตภาวนา เพ่ือถวายเปน็ พระราชกุศลแด่ สมเด็จพระ กนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในวโรกาสมหามงคลเฉลมิ พระ ชนมพรรษา ๒. โรงเรยี นดี “วถิ พี ทุ ธ” กจิ กรรมสวดมนต์ น่งั สมาธิ ฟังการอบรมปลกู ความดี ทกุ วนั พระ ของ นักเรยี นโรงเรยี นพระธาตุพทิ ยาคม ๓. กจิ กรรมพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย์ ๔. โครงการชวนกนั ทาดี “วิถีข้าว วถิ พี อเพยี ง” ๕. กจิ กรรมจติ อาสา/และจติ อาสาพระราชทาน ๖. กิจกรรม Zero Waste School ๗. กจิ กรรมลูกเสือ - เนตรนารี หลกั ฐานอ้างองิ

๕๓ โครงการปฏบิ ัตธิ รรม รักษาศีล เจริญจิตภาวนาเพื่อถวายเป็นพระราชกศุ ลแด่ สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา โรงเรียนดี “วิถพี ทุ ธ” โครงการชวนกันทาดี“วิถีขา้ ว วถิ ีพอเพยี ง” นานักเรียนสมัคร กจิ กรรมจิตอาสาพระราชทาน

๕๔ กิจกรรม Zero Waste School ดา้ นท่ี ๑ คณุ ภาพผ้เู รียน ๑.๒ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ๑.๒.๒ นกั เรียนมคี วามตระหนกั และแสดงออกถึงการมสี ่วนร่วมในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มอย่างชัดเจน โดยมกี ารวางแผนร่วมกันอย่างเปน็ ระบบ ร่วมอนุรกั ษ์ทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษา ผลการดาเนินการ ผลการดาเนนิ งานอย่ใู นระดับ 4 โรงเรยี นพระธาตพุ ิทยาคมตระหนักถงึ ปญั หาดา้ นสง่ิ แวดล้อมทีม่ ี ความรุนแรง มมี ลภาวะตา่ งๆเกิดขึน้ มากมาย การจดั การเรยี นรู้เพื่อใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ความตระหนักถงึ ปญั หา และ ใหค้ วามร่วมมอื ในการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม จึงมีความจาเป็นอย่างย่งิ ที่จะใหผ้ ู้เรียนมี สว่ นร่วมในกิจกรรมดังกลา่ ว วธิ กี ารดาเนินงาน โดยได้กาหนดกจิ กรรม ดังน้ี ๑. นกั เรยี นแกนนาชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ศึกษาดงู านศนู ยก์ สกิ รรมธรรมชาติชมุ ชนตน้ นา้ นา่ น (ชตน.) บา้ นคัวะ ตาบลศรภี มู ิ อาเภอท่าวังผา จังหวดั น่าน ๒. กิจกรรมปลกู ต้นไม้ ๓. ฝายมชี วี ิต หลักฐานอา้ งองิ นกั เรียนแกนนาชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ศกึ ษาดูงานศูนยก์ สิกรรมธรรมชาตชิ มุ ชนตน้ นา้ นา่ น (ชตน.) บ้านคัวะ ตาบลศรภี ูมิ อาเภอทา่ วังผา จังหวัดนา่ นเพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นเกิดความตระหนกั ถึงปญั หา และให้ความร่วมมือในการอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม

๕๕ โรงเรยี นพระธาตพุ ิทยาคมจัดกจิ กรรมถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ ถวายพระพรชยั มงคล พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรสี นิ ทรมหาวชิราลงกรณพระวชิรเกล้าเจ้าอยหู่ วั และกิจกรรมจิต อาสา “ปลูกปา่ ปลูกความดี” โดยปลกู ตน้ ไม้สวยงาม และไม้ผล ไดแ้ ก่ ต้นกัลปพฤกษ์ และตน้ หมอ่ น เพือ่ แสดงความ จงรักภกั ดี และน้อมราลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว สง่ เสรมิ กจิ กรรมจติ อาสา และการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม “ฝายมชี ีวิต” นกั เรยี นมคี วามตระหนกั และแสดงออกถงึ การมสี ว่ นร่วมในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ด้านท่ี ๑ คณุ ภาพผู้เรยี น ๑.๒ คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ ๑.๒.๓ นักเรยี นมีการยอมรบั เหตผุ ลและความคิดเห็นของผ้อู ื่น ผลการดาเนินการ ผลการดาเนนิ งานอยใู่ นระดับ 4 โรงเรียนพระธาตุพทิ ยาคมดาเนนิ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เพ่อื พฒั นาใหผ้ เู้ รียนสามารถปรบั ตัวเพือ่ การอยู่ร่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ทง้ั ดา้ นภาษา วัฒนธรรม ของชนเผา่ โดยจัดกิจกรรม ดังนี้

๕๖ วธิ ีการดาเนินงาน ๑. กจิ กรรมสภานกั เรยี นตามวิถปี ระชาธิปไตย . ๒. กิจกรรมZero Waste school ดแู ลรักษาความสะอาด อาคารสถานที่ สภาพแวดลอ้ มของ โรงเรียน ๓. กจิ กรรมการจัดระเบยี บขอ้ บังคบั ของโรงเรียน ๔. กิจกรรมการให้ความร้เู กีย่ วกบั กระบวนการประชาธิปไตย หลกั ฐานอ้างอิง จดั กิจกรรมเพอื่ ให้นกั เรียนได้เรียนรบู้ ทบาทหน้าที่วิถีประชาธิปไตย มงุ่ เนน้ ใหเ้ ดก็ คิดเปน็ ทาเป็น แก้ปญั หาเป็น เป็นสมาชกิ ทดี่ ีของสังคม โดยมีการเลือกตง้ั สภานักเรยี น คณะทางานสภานักเรยี น และดาเนนิ การกิจกรรมสภานกั เรยี น

๕๗ กิจกรรมตามปฏิทินการปฏิบัตงิ านในชว่ งเชา้ ของวันพุธ และวันศุกร์ ผู้เรยี นจะปฏบิ ัติกิจกรรมแบ่งเขต รับผดิ ชอบการทาความสะอาด โดยแบ่งตามช้ัน ตั้งแต่ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 – ๖ โดยแบ่งตามเขตรับผิดชอบแต่ละเขต แตง่ ตง้ั หัวหนา้ คอยดูแลและควบคุมการปฏิบตั งิ าน มีการรายงานผลการทางานของแตล่ ะชน้ั เรยี น เพอ่ื ประเมนิ ผลและแกไ้ ขขอ้ บกพร่อง การจัดทาระเบยี บขอ้ บังคับของโรงเรยี น เพ่อื เปน็ แนวทางในการปฏิบตั ิตนของนกั เรยี น ไดม้ ีการทา ขอ้ ตกลงร่วมกนั ระหว่างนักเรียน ครู และผูป้ กครองนกั เรยี น เพื่อให้เกดิ ความเข้าใจและเปน็ การประสานความ รว่ มมือกันในการดูแลนกั เรียนซงึ่ ดาเนนิ โดยฝา่ ยปกครอง ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียน ครทู ี่ปรกึ ษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผปู้ กครอง

๕๘ กระบวนการเรยี นรู้ประชาธปิ ไตยในโรงเรียน เพือ่ เปน็ การสง่ เสริมใหน้ ักเรยี นตระหนักถงึ ความสาคัญ ของระบอบประชาธิปไตย ร้จู กั ปฏบิ ัติตนให้ถูกต้อง ตามภาระหนา้ ที่ และวถิ ีชวี ิตตามหลกั ประชาธิปไตย โดย จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ ประชาธิปไตยในสถานศึกษาผ่านกิจกรรมวนั สาคญั กจิ กรรมรณรงค์ในวันสาคญั ตา่ งๆ กจิ กรรมกฬี า กิจกรรมชุมนมุ กิจกรรมดาเนินตามนโยบายและกจิ กรรมการเรยี นการสอนทส่ี อดแทรกใน หอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น ดา้ นที่ ๑ คุณภาพผู้เรยี น ๑.๒ คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ ๑.๒.๔ นกั เรยี นสามารถทางานเป็นทมี มคี วามรับผิดชอบ มคี วามมงุ่ มน่ั ในการทางาน และได้งาน ท่ีมีประสิทธิภาพ ผลการดาเนนิ การ ผลการดาเนนิ งานอย่ใู นระดบั 4ทักษะการทางานเปน็ ทมี เป็นกระบวนการทางานทม่ี ่งุ เนน้ การมี คุณภาพในการทางานรว่ มกัน โรงเรยี นพระธาตพุ ทิ ยาคม จึงจดั กิจกรรมเพ่ือพฒั นาแนวคิดให้นักเรยี นไดท้ างาน รว่ มกันไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยมีโครงการและกิจกรรม ดังน้ี วธิ ีการดาเนินงาน ๑. โครงการส่งเสรมิ ประชาธิปไตยในโรงเรยี น สง่ เสริมให้นักเรียนเรียนรแู้ ละฝึกฝนตนเองเกย่ี วกบั บทบาทหน้าที่ และมีลักษณะนสิ ยั ที่ดใี นการ ทางานรว่ มกัน ๒. โครงการโรงเรยี นสจุ ริตเสรมิ สร้างคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา จดั กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งคุณลกั ษณะสจุ รติ ๕ ประเภท ทักษะกระบวนการคิด มวี นิ ยั ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต อยู่อย่างพอเพียงและมีจิตสาธารณะ นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเข้าแถว ร้องเพลงชาติและประกาศเจตนารมณ์ สจุ ริต กาหนดมาตรการ และแนวทางการดาเนนิ การส่งเสรมิ ป้องกนั และพัฒนาคุณลักษณะของโรงเรยี น สจุ ริต นักเรียนร่วม เพ่ือปลูกฝังคุณลักษณะของนกั เรยี นโรงเรียนสุจรติ โดยร่วมกจิ กรรมตา่ งๆ ของโรงเรยี นที่ สร้างประโยชน์ต่อสว่ นรวม หลักฐานอา้ งองิ

๕๙ ด้านที่ ๑ คณุ ภาพผู้เรียน ๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ ๑.๒.๕ นักเรียนมีความภาคภมู ใิ จในความเป็นไทย และเห็นคณุ คา่ เกย่ี วกบั ภมู ปิ ญั ญาไทย สามารถ อธิบายยกตวั อย่าง และแสดงออกได้อย่างเหมาะสม มีแนวทางนาภมู ิปญั ญาทีม่ ีในท้องถิน่ ของตนไปใชใ้ น ชีวติ ประจาวันได้ ผลการดาเนนิ งาน ผลการดาเนนิ งานอยูใ่ นระดบั 4ภมู ิปัญญาไทย คือ องค์ความรู้ ความสามารถและทักษะอันเกิดจากการ ส่ังสมประสบการณ์ท่ีผ่านกระบวนการเรียนรู้ การสร้างความตระหนักให้นักเรียนเห็นคุณค่าและเรียนรู้ วัฒนธรรมทีเ่ กดิ ข้ึนในวถิ ชี วี ติ ไทย เพอ่ื พัฒนาไปส่คู นรุ่นใหม่ตามยุคตามสมัยต่อไป วิธกี ารดาเนนิ งาน ๑. กิจกรรมงดงามดว้ ยมารยาทไทยการแสดงคารวะธรรม ๒. การแตง่ กายด้วยชดุ ประจาชนเผา่ และผา้ ไทย ๓. กิจกรรมการเรยี นรู้ดนตรีไทย ดนตรีพน้ื เมอื ง ๔. กจิ กรรมเรียนรูว้ ถิ ีชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น หลกั ฐานอ้างอิง จดั กจิ กรรมยมิ้ ง่าย ไหวส้ วย เมอื่ พบกนั ในทุกเช้าต่อจากกจิ กรรมหน้าเสาธง โดยครูปฏบิ ตั ิตนเป็น แบบอยา่ งใหก้ ับนักเรยี น ฝกึ ปฏิบัตมิ ารยาทไทยในกิจกรรมการเรียนการสอน สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นร่วมแขง่ ขัน กจิ กรรมประกวดมารยาทไทย นักเรียนเป็นตวั แทนเขา้ รว่ มการแข่งขันมารยาทไทย ในระดับสหวิทยาเขต สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษานา่ น ครแู ละนกั เรยี น แต่งกายชุดประจาชนเผ่า เช่น เผ่ามง้ เผ่าถนิ่ พ้ืนเมือง ลาว ด้วยชุดประจาชนเผา่ และผ้า ไทย ในโอกาสตา่ งๆ มีการกาหนดใหค้ รแู ละนักเรยี นสวมชุดพืน้ เมืองทุกวันศกุ รแ์ ละเชิญชวนครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษา ใชผ้ ้าพน้ื เมืองและผ้าไทยในการแต่งกายอย่างเหมาะสม

๖๐ นกั เรยี นมีโอกาสไดเ้ ลอื กเรียนตามความสนใจ จากชมุ นมุ ดนตรีไทย ไดฝ้ กึ ปฏบิ ัตจิ นเกิดทักษะ มคี วามสามารถบรรเลงเครือ่ งดนตรีประเภทตา่ งๆ นกั เรยี นท่ีมคี วามสามารถพเิ ศษทางด้านดนตรี เปน็ ตัวแทน เข้าร่วมแขง่ ขนั ในระดบั สหวทิ ยาเขตและระดับภาคเหนือ ดงั น้ี ๑. นายกีรติ คนั ถี นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ได้รบั คดั เลือกเป็น นกั เรยี นเยาวชนต้นแบบด้าน ดนตรไี ทย ของกระทรวงวฒั นธรรม ๒. นางสาวกญั ญาภคั วิทยาเลิศ ได้รับรางวลั เหรยี ญเงิน การแข่งขันวงเคร่ืองสายวงเลก็ ม.1-ม.6 งาน มหกรรมความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยี ระดบั ชาติ ปกี ารศกึ ษา 2561 ณ จงั หวัด พะเยา ๓. นายศภุ วฒั น์ สีมาเหล็ก ได้รบั รางวัลเหรียญเงิน การแข่งขนั วงเคร่อื งสายวงเลก็ ม.1-ม.6 งาน มหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วชิ าการ และเทคโนโลยี ระดับชาติ ปีการศกึ ษา 2561 ณ จงั หวดั พะเยา ๔. เดก็ หญงิ ธัญณดา รวดเรว็ ไดร้ ับรางวลั เหรียญเงิน การแขง่ ขันวงเครื่องสายวงเลก็ ม.1-ม.6 งาน มหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วชิ าการ และเทคโนโลยี ระดบั ชาติ ปีการศกึ ษา 2561 ณ จงั หวัด พะเยา ๕. นายกีรติ คันถี ได้รบั รางวลั เหรียญเงนิ การแขง่ ขนั วงเคร่ืองสายวงเล็ก ม.1 –ม.6 งานมหกรรม ความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วชิ าการ และเทคโนโลยี ระดับชาติ ปีการศึกษา 2561 ณ จังหวดั พะเยา

๖๑ ๖. เด็กชายวรี วฒั น์ ขอดเตชะ ไดร้ บั รางวัลเหรยี ญเงนิ การแขง่ ขันวงเคร่ืองสายวงเล็ก ม.1-ม.6 งาน มหกรรมความสามารถทางศิลปหตั ถกรรม วชิ าการ และเทคโนโลยี ระดบั ชาติ ปีการศึกษา 2561 ณ จงั หวัด พะเยา ๗. นายอดิศร ฝปี ากเพราะ ไดร้ บั รางวลั เหรียญเงนิ การแข่งขนั วงเครือ่ งสายวงเลก็ ม.1-ม.6 งาน มหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วชิ าการ และเทคโนโลยี ระดับชาติ ปกี ารศึกษา 2561 ณ จงั หวัด พะเยา ๘. นางสาวปาจรยี ์ ใจนอ้ ย ได้รบั รางวัลเหรยี ญเงนิ การแข่งขนั วงเคร่ืองสายวงเล็ก ม.1-ม.6 งาน มหกรรมความสามารถทางศลิ ปหัตถกรรม วชิ าการ และเทคโนโลยี ระดบั ชาติ ปีการศกึ ษา 2561 ณ จังหวดั พะเยา ๙. เด็กหญิงปรียานุช พรมณี ได้รับรางวลั เหรยี ญเงิน การแขง่ ขนั วงเครอ่ื งสายวงเล็ก ม.1-ม.6 งาน มหกรรมความสามารถทางศลิ ปหตั ถกรรม วชิ าการ และเทคโนโลยี ระดับชาติ ปกี ารศึกษา 2561 ณ จงั หวัด พะเยา ๑๐. เด็กหญิงธญั ญพร ศรยี า ไดร้ บั รางวัลเหรียญเงิน การแข่งขันวงเครื่องสายวงเล็ก ม.1-ม.6 งาน มหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วชิ าการ และเทคโนโลยี ระดับชาติ ปีการศกึ ษา 2561 ณ จังหวดั พะเยา ๑๑. เดก็ หญิงมาริษา อนุ่ ถ่ิน ไดร้ บั รางวลั เหรยี ญเงนิ การแขง่ ขนั ขับร้องเพลงไทย ม.1-ม.๓ งาน มหกรรมความสามารถทางศลิ ปหัตถกรรม วชิ าการ และเทคโนโลยี ระดับชาติ ปกี ารศกึ ษา 2561 ณ จงั หวดั พะเยา

๖๒

๖๓ นกั เรียนไดเ้ รยี นรวู้ ิถชี มุ ชนในทอ้ งถิ่น โดยเขา้ ร่วมกจิ กรรมตา่ งๆของชุมชนในวนั สาคัญทาง พระพุทธศาสนา และจารตี ประเพณีพิธกี รรมทส่ี บื ทอดกนั มา ในพธิ บี วงสรวงเจ้าพ่อพญาไมย งานตานกว๋ ย สลาก นักเรยี นได้เรยี นรศู้ ลิ ปะพน้ื บา้ นประดิษฐโ์ คมล้านนา เพ่ือนาความรู้ท่ีไดไ้ ปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ดา้ นท่ี ๑ คณุ ภาพผู้เรียน ๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ๑.๒.๖ นักเรยี นมคี วามม่นั ใจในตนเอง และมีเจตคติทดี่ ีตอ่ การเรยี น ผลการดาเนนิ การ ผลการดาเนนิ งานอยูใ่ นระดับ 4 การสรา้ งความเชื่อมั่นในตนเอง เปน็ ผลลพั ธ์ของความสามารถของ ตนเองและความภูมิใจในตนเอง การสร้างเจตคติที่ดตี ่อการเรยี นเป็นสิ่งสาคญั ท่ีครทู กุ คนต้องตระหนัก ในการ เสรมิ สร้างเจตคติทด่ี ตี อ่ การเรียนให้กบั ผู้เรียน

๖๔ วธิ กี ารดาเนินงาน ๑. โครงการส่งเสรมิ ผเู้ รียนให้เป็นบุคคลแหง่ การเรยี นรจู้ ากแหลง่ เรียนรู้ทหี่ ลากหลาย ส่งเสรมิ ผู้เรยี นดว้ ยกจิ กรรมของห้องสมุดโรงเรยี น โดยจัดกจิ กรรมวนั สาคัญต่างๆ กจิ กรรม ยอดนักอ่าน กิจกรรมห้องสมุดเคลอ่ื นท่ี กิจกรรมคาถามนมี้ รี างวลั ให้นกั เรียนได้มโี อกาสแสดงความสามารถ ตามศกั ยภาพของตนเอง มกี ารบันทกึ เข้าร่วมกจิ กรรม ครปู ระเมินผลการร่วมกจิ กรรมของนักเรียน หลกั ฐานอ้างองิ กจิ กรรมชมุ นุม ชุมนมุ ปยุ๋ หมกั ชีวภาพ เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนรวมกลมุ่ ทม่ี ีความสนใจความถนดั ในเรือ่ งเดยี วกนั และร่วมปฏบิ ัติกิจกรรม เพือ่ พัฒนาความรู้ ทกั ษะ มคี ุณธรรม สร้างประสบการณ์ของตนเองใหเ้ ต็มตามศกั ยภาพ ด้านท่ี ๑ คณุ ภาพผู้เรยี น ๑.๒ คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ๑.๒.๗ นักเรียนสามารถรักษาสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ดี ีได้ ผลการดาเนินการ ผลการดาเนินงานอยู่ในระดับ 4 สุขภาพทางกายและสุขภาพทางจิตมคี วามสัมพนั ธ์ต่อกัน สขุ ภาพจติ ดีย่อมมสี ขุ ภาพกายที่ดตี ามไปดว้ ย การดแู ลสุขภาพกายและสุขภาพจิต จึงมีความจาเป็นอย่างยง่ิ ท่ีจะเป็นสว่ น ช่วยพัฒนาคุณภาพของผ้เู รยี น วิธีการดาเนนิ งาน โครงการสรา้ งเสรมิ สุขภาพและพัฒนาศกั ยภาพดา้ นกฬี าสู่ความเป็นเลิศ ส่งเสรมิ ความสามารถดา้ น กีฬาฟุตบอล วอลเลย่ ์บอลชายหาด กรีฑาในโรงเรียน และใช้เวลาหลังเลกิ เรียนฝกึ ทักษะดา้ นกฬี าให้กับ นักเรียนที่สนใจ และมีความสามารถพิเศษสง่ เสริมนักเรยี นเขา้ ร่วมการแขง่ ขันกฬี า-กรฑี า ทั้งในโรงเรยี นและ ระดับสหวิทยาเขต เพือ่ สง่ เสรมิ ศักยภาพและใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ สร้างความภาคภูมิใจให้แกต่ นเอง นกั เรียนมีรายไดจ้ ากการว่งิ ตามหน่วยงานต่างๆทม่ี กี ารจดั วิ่ง

๖๕ หลักฐานอ้างอิง กจิ กรรมศิลปสรา้ งสรรค์ สง่ เสรมิ ศกั ยภาพทางด้านศิลปะ พัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ของนักเรียน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ จากการปฏบิ ตั ิจริง โดยจดั กิจกรรมการเรียนการสอนส่งเสริมให้ผู้เรยี นไดแ้ สดงออกอยา่ งสร้างสรรค์ มีความสขุ ในการทางาน มีความภาคภมู ิใจในผลงานของตนเอง ต้ังแต่ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๖

๖๖ ด้านท่ี ๑ คณุ ภาพผู้เรียน ๑.๒ คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ๑.๒.๘ นักเรียนมคี วามรู้สกึ ปลอดภัย เข้าใจวิธปี อ้ งกันตนเองและผู้อื่นให้ปลอดภัยจากสารเสพติด ปัญหาทางเพศ และอบายมุขทกุ ชนิดในทกุ สถานการณ์ ผลการดาเนินการ ผลการดาเนินงานอยู่ในระดบั 4 ครอบครัว โรงเรยี น วดั และชมุ ชน ตา่ งมีบทบาทสาคญั ในการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาท่ีจะเกิดขนึ้ โดยให้ความรูแ้ ละให้ผูเ้ รียนตระหนักถึงโทษและอนั ตรายของสารเสพติด ปญั หา ทางเพศและอบายมุข วิธีการดาเนนิ งาน ๑. กจิ กรรมการเรยี นรกู้ ับครู ตารวจประจาโรงเรียน ในทุกปีการศึกษา นกั เรียนไดเ้ ขา้ ร่วมโครงการตารวจโรงเรยี น เพอื่ ตอ่ ต้านการใชย้ าเสพติด ในเดก็ นกั เรยี น นกั เรยี นจะไดร้ บั ความรใู้ นการป้องกันตนเองจากสารเสพตดิ กฎหมายการจราจร ตลอดจน ป้องกนั พฤติกรรมการใชค้ วามรนุ แรง ๒. กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด นกั เรียนรว่ มกนั จดั ทาปา้ ยเดินรณรงคต์ อ่ ต้านยาเสพตดิ ในวันที่ ๒๖ มิถนุ ายน ของทุกปี จดั นทิ รรศการโทษของยาเสพติด วาดภาพเก่ียวกบั โทษของยาเสพติดจัดกีฬาตอ่ ต้านยาเสพติดรว่ มกบั ชุมชน

๖๗ หลกั ฐานอ้างอิง ร่วมมอื กับเครือขา่ ย พสน. และสถานตี ารวจภธู รเชยี งกลางดูแลสง่ เสรมิ ความประพฤตินกั เรยี น

๖๘ ด้านท่ี ๒ การบริหารหลักสตู รและงานวชิ าการ ๒.๑ การพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา ๒.๒.๑ นำผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลนักเรียนรายบุคคลและความคดิ เห็นของผู้ปกครอง ชมุ ชน มากำหนดกจิ กรรมเสริมหลักสูตร การดำเนนิ งาน โรงเรียนพระธาตพุ ิทยาคม มีการวิเคราะห์ขอ้ มลู นักเรียนรายบคุ คล และความจำเปน็ ของ สถานศึกษา ร่วมกบั ชมุ ชน สงั คม ทอ้ งถิ่น และผมู้ ีส่วนเก่ียวข้องดังน้ี ๑. โรงเรยี นได้วเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม ในการจัดการศึกษา โดยให้ผูป้ กครอง นักเรียน ครู และบุคลากรในโรงเรียน รว่ มแสดงความคิดเหน็ ระบุจดุ เด่นและจดุ ที่ควรพฒั นา เพ่ือนำผลท่ีได้มาวางแผน พฒั นาสถานศึกษา ๒. ศึกษาข้อมลู เก่ียวกับสภาพและความต้องการของชมุ ชนและท้องถ่ิน ดา้ นการศึกษา เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม 3. แตง่ ตง้ั คณะทำงาน เพอ่ื วางแผนและเตรียมความพร้อมในการพัฒนาหลกั สูตร 4. สรุป/ รายงานผล ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล และความต้องการจำเป็นของสถานศึกษา ชมุ ชน สังคม และทอ้ งถ่ิน 5. นำผลจากข้อมูลนกั เรยี นรายบุคคล และของสถานศึกษา ชุมชน ทอ้ งถ่ิน มาใช้ใน การวางแผนและเตรยี มความพร้อมในการพฒั นาหลักสตู ร ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานอยู่ในระดบั 4 โดยทางโรงเรยี นพระธาตุพทิ ยาคม ไดน้ ำผลการ วเิ คราะหข์ ้อมลู นักเรียนรายบุคคล และความจำเปน็ ของสถานศึกษาและชมุ ชน มาวางแผนในการพฒั นา/ ปรบั ปรุงหลักสูตรสถานศึกษาอยา่ งต่อเนอื่ ง มีหลักสูตรท่สี นองความต้องการของสถานศกึ ษา ชุมชน สงั คม และท้องถน่ิ ชมุ ชุน สงั คม และทอ้ งถนิ่ มีส่วนรว่ มในการจัดทำหลักสตู รสถานศึกษา หลกั ฐานอา้ งอิง – รายงานผลการวเิ คราะห์ความตอ้ งการจำเป็นของสถานศึกษา ชุมชน สังคม และทอ้ งถ่ิน – คำสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา – บนั ทกึ การประชมุ – แบบสำรวจความต้องการจำเป็นของสถานศึกษา – รูปภาพ

๖๙ คำส่ังแต่งตง้ั คณะกรรมการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา c การประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน คณะกรรมการที่ปรึกษา ผปู้ กครอง นกั เรียน

๗๐ ๒.๑.๒ นำผลการวเิ คราะหท์ ไ่ี ด้มาพฒั นาหลกั สตู รของสถานศึกษาให้มีความยืดหยุ่นและสอดคล้อง กับหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน การดำเนินงาน การพฒั นาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นพระธาตุพิทยาคมด้านคณุ ภาพครูผ้สู อน มีการดำเนินการ พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาอย่างต่อเน่ืองใหส้ อดคล้องตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และการวิเคราะห์หลักสตู รในสว่ นของมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ดั ของกลุม่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตร์ในกล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตาม หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) มีการกำหนดกรอบ โครงสรา้ งเวลาเรียนของหลกั สตู รให้ครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ให้เหมาะสมกบั บริบทของผู้เรียนและสถานศึกษา ผลการดำเนนิ งาน ผลการดำเนินงานอยใู่ นระดบั 4 โรงเรยี นพระธาตุพทิ ยาคม มีหลกั สูตรสถานศกึ ษา หลกั สูตร กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระ ท่ีมีความยดื หยุ่นและสอดคล้องกบั เปา้ หมายการจัดการศึกษา และวิสัยทัศน์ ของสถานศึกษา หลักสูตรของโรงเรียนเป็นไปตามความต้องการของชุมชน และท้องถิ่น นักเรียนได้เรียนรู้ตาม ความถนัด ความสนใจ สนองตามศักยภาพและความต้องการของนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน นกั เรียน ผปู้ กครอง ชุมชน มีส่วนร่วมในการจดั ทำหลักสูตร หลกั ฐานอ้างอิง – คำส่ังแตง่ ตัง้ คณะกรรมการพฒั นาหลกั สูตร – กรอบโครงสร้างเวลาเรยี นของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน – กำหนดโครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษา – การดำเนินงานแลกเปลย่ี นเรียนรเู้ ครอื ข่ายโรงเรยี นโครงการ TSQP ๒ และการนิเทศ ตดิ ตาม และวิพากษห์ ลกั สตู ร หน่วยการสอน และการจดั การเรียนรู้ – การประชุมการพัฒนาหลกั สตู ร – PLC ของครู 3 กลุม่ สาระการเรยี นรแู้ ละ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ – หลักสูตรสถานศึกษา – หลกั สตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุม่ สาระ คำส่งั คณะกรรมการงานหลกั สตู รและการเรียนการสอน

๗๑ กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรยี นของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรยี นพระธาตุพทิ ยาคม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ปกี ารศึกษา 2563) ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 รหัสวิชา ชอื่ วิชา นก รหัสวิชา ชอื่ วิชา นก รหัสวิชา ชอ่ื วิชา นก รหัสวิชา ชอื่ วิชา นก รหัสวิชา ชอ่ื วิชา นก รหัสวิชา ชอ่ื วิชา นก กลมุ่ สาระวิชาพ้ืนฐาน กลุ่มสาระวิชาพื้นฐาน กลุม่ สาระวิชาพื้นฐาน กล่มุ สาระวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระวิชาพ้ืนฐาน กลุ่มสาระวิชาพ้ืนฐาน 1.5 1.5 ท21101 ภาษาไทย 1 1.5 ท21102 ภาษาไทย 2 1.5 ท22101 ภาษาไทย 3 1.5 ท22102 ภาษาไทย 4 1.5 ท23101 ภาษาไทย 5 1.5 ท23102 ภาษาไทย 6 1.5 1.0 ค21101 คณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน 1 1.5 ค21102 คณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน 2 1.5 ค22101 คณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน 3 1.5 ค22102 คณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน 4 1.5 ค23101 คณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน 5 1.5 ค23102 คณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน 6 0.5 0.5 ว21101 วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 1 1.5 ว21102 วทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 2 1.5 ว22101 วทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 3 1.5 ว22102 วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 4 1.5 ว23101 วทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 5 1.5 ว23102 วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 6 1.0 1.0 ส21101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส21104 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส22101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส22104 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส23101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส23104 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.5 0.5 ส21102 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 ส21105 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 ส22102 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 ส22105 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 ส23102 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 ส23105 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 11.0 ส21103 พระพุทธศาสนา 0.5 ส21106 พระพุทธศาสนา 0.5 ส22103 พระพุทธศาสนา 0.5 ส22106 พระพุทธศาสนา 0.5 ส23103 พระพุทธศาสนา 0.5 ส23106 พระพุทธศาสนา 0.5 ศ21101 ศลิ ปะพื้นฐาน 1 1.0 ศ21102 ศลิ ปะพื้นฐาน 2 1.0 ศ22101 ศลิ ปะพ้ืนฐาน 3 1.0 ศ22102 ศลิ ปะพื้นฐาน 4 1.0 ศ23101 ศลิ ปะพื้นฐาน 5 1.0 ศ23102 ศลิ ปะพื้นฐาน 6 1.0 1.0 พ21101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 พ21102 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 พ22101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 พ22102 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 พ23101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.0 พ23102 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 0.5 อ21101 ภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน 1 1.5 อ21102 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 1.5 อ22101 ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน 3 1.5 อ22102 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 4 1.5 อ23101 ภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน 5 1.5 อ23102 ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน 6 ง21101 การงานอาชีพ 0.5 ง21102 การงานอาชีพ 0.5 ง22101 การงานอาชีพ 0.5 ง22102 การงานอาชีพ 0.5 ง23101 การงานอาชีพ 0.5 ง23102 การงานอาชีพ ว21103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 ว21104 วทิ ยาการคานวณ 0.5 ว22103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 ว22104 วทิ ยาการคานวณ 0.5 ว23103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 ว23104 วทิ ยาการคานวณ รวม 11.0 รวม 11.0 รวม 11.0 รวม 11.0 รวม 11.0 รวม กลุ่มสาระวิชาเพิ่มเตมิ กลุ่มสาระวิชาเพ่ิมเติม กลุ่มสาระวิชาเพ่ิมเตมิ กลุม่ สาระวิชาเพ่ิมเตมิ กลุ่มสาระวิชาเพ่ิมเติม กลุ่มสาระวิชาเพิ่มเติม ส21231 หนา้ ที่พลเมอื ง 1 0.5 ส21232 หนา้ ท่ีพลเมอื ง 2 0.5 ส22233 หนา้ ที่พลเมอื ง 3 0.5 ส22234 หนา้ ที่พลเมอื ง 4 0.5 ส23235 หนา้ ที่พลเมอื ง 5 0.5 ส23236 หนา้ ท่ีพลเมอื ง 6 ค21201 คณติ ศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 1 1.0 ค21202 คณิตศาสตรเ์ พ่ิมเตมิ 2 1.0 ค22201 คณิตศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 3 1.0 ค22202 คณิตศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 4 1.0 ค23201 คณิตศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 5 1.0 ค23202 คณิตศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 6 ว21201 วทิ ยาศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 1 1.0 ว21202 วทิ ยาศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 2 1.0 ว22201 วทิ ยาศาสตรก์ บั ความงาม 1.0 ว22202 วทิ ยาศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 4 1.0 ว23201 วทิ ยาศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 5 1.0 ว23202 วทิ ยาศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 6 จ21201 ภาษาจีน 1 0.5 I20201 การสบื คน้ ดว้ ยโครงงาน (IS1) 1.0 I20202 การเขียนรายงานทางวิชาการ (IS2) 1.0 จ22202 ภาษาจีน 4 0.5 จ23201 ภาษาจีน 5 0.5 จ23202 ภาษาจีน 6 ก21201 ภาษาเกาหลี 1 0.5 จ21202 ภาษาจีน 2 0.5 จ22201 ภาษาจีน 3 0.5 ก22202 ภาษาเกาหลี 4 0.5 ก23201 ภาษาเกาหลี 5 0.5 ก23202 ภาษาเกาหลี 6

๗๒ โครงสรา้ งหลักสูตรโรงเรียนพระธาตุพทิ ยาคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (แผนการเรยี นศิลป-์ ภาษา) ปกี ารศึกษา 2563 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/2, 4/3 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 5/2 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6/2 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 นก รหัสวิชา ชอื่ วิชา นก รหัสวิชา ชอ่ื วิชา นก รหัสวิชา ชอ่ื วิชา นก รหัสวิชา ชอ่ื วิชา รหัสวิชา ชอื่ วิชา นก รหัสวิชา ชอ่ื วิชา กลมุ่ สาระวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระวิชาพื้นฐาน นก กลุ่มสาระวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระวิชาพ้ืนฐาน กลุม่ สาระวิชาพื้นฐาน กลมุ่ สาระวิชาพ้ืนฐาน ท31101 ภาษาไทย 1 1.0 ท31102 ภาษาไทย 2 1.0 ท32101 ภาษาไทย 3 1.0 ท32102 ภาษาไทย 4 1.0 ท33101 ภาษาไทย 5 1.0 ท33102 ภาษาไทย 6 1.0 ค31101 คณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน 1 1.0 ค31102 คณติ ศาสตรพ์ ้ืนฐาน 2 1.0 ค32101 คณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน 3 1.0 ค32102 คณติ ศาสตรพ์ ้ืนฐาน 4 1.0 ค33101 คณติ ศาสตรพ์ ้ืนฐาน 5 1.0 ค33102 คณติ ศาสตรพ์ ้ืนฐาน 6 1.0 ส31101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส31103 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส32101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส32102 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส33101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส33103 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส31102 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 ส31104 ประวัติศาสตร์ 0.5 พ32101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 พ32102 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 ส33102 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 ส33104 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 พ31101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 พ31102 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 ศ32101 ศลิ ปะพื้นฐาน 3 0.5 ศ32102 ศลิ ปะพ้ืนฐาน 4 0.5 พ33101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 พ33102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 ศ31101 ศลิ ปะพ้ืนฐาน 1 0.5 ศ31102 ศลิ ปะพ้ืนฐาน 2 0.5 ง32101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 0.5 ง32102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 0.5 ศ33101 ศลิ ปะพ้ืนฐาน 5 0.5 ศ33102 ศลิ ปะพ้ืนฐาน 6 0.5 ง31101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 0.5 ง31102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 0.5 ว30103 วทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 3 1.0 ว30104 วทิ ยาศาสตร์ โลก และอวกาศ 1.5 ง33101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 5 0.5 ง33102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 0.5 ว30103 วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 3 1.0 ว30102 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 1 1.0 ว32103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 ว32104 วทิ ยาการคานวณ 0.5 ว33103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 อ33102 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 6 1.0 ว31103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 ว31104 วทิ ยาการคานวณ 0.5 อ32101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 1.0 อ32102 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 4 1.0 ว30105 วทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน 5 1.0 อ31101 ภาษาองั กฤษพื้นฐาน 1 1.0 อ31102 ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน 2 1.0 อ33101 ภาษาองั กฤษพื้นฐาน 5 1.0 รวม 7.5 รวม 7.5 รวม 7.0 รวม 7.5 รวม 7.5 รวม 6.0 กลุ่มสาระวิชาเพ่ิมเติม กลุ่มสาระวิชาเพิ่มเตมิ กลุ่มสาระวิชาเพิ่มเติม กลมุ่ สาระวิชาเพิ่มเติม กลมุ่ สาระวิชาเพ่ิมเติม กลุ่มสาระวิชาเพิ่มเตมิ จ31201 ภาษาจีนเพื่อการส่อื สาร 1 หรอื 3.0 จ31202 ภาษาจีนเพ่ือการสือ่ สาร 2 หรอื 3.0 จ32201 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 3 3.0 จ32202 ภาษาจีนเพื่อการสอ่ื สาร 4 3.0 จ33201 ภาษาจีนเพ่ือการส่ือสาร 5 3.0 จ33202 ภาษาจีนเพื่อการสอื่ สาร 6 3.0 ก31201 ภาษาเกาหลี 1 3.0 ก31202 ภาษาเกาหลี 2 3.0 ก30201 ภาษาเกาหลเี บ้ืองตน้ 1 1.0 ก 1.0 ก30202 ภาษาเกาหลีเบื้องตน้ 2 1.0 ก 1.0 ท30201 หลกั การใช้ภาษาไทย 1 1.0 ท30201 หลกั การใช้ภาษาไทย 2 1.0 ท30203 การเขียน 1.0 ท30204 ภาษากบั วฒั นธรรม 1.0 ท30205 ภาษาถ่ิน 1.0 ท30206 วรรณกรรมท้องถ่ิน 1.0 ส30231 หนา้ ท่ีพลเมอื ง 1 0.5 ส30232 หนา้ ที่พลเมอื ง 2 0.5 ส30233 หนา้ ท่ีพลเมอื ง 3 0.5 ส30234 หนา้ ที่พลเมอื ง 4 0.5 ง33203 ทักษะอาชีพ 5 1.0 ง33204 ทักษะอาชีพ 6 1.0 ง31204 ทักษะอาชีพ 1 1.0 I30201 การสืบคน้ ดว้ ยโครงงาน (IS1) 1.0 I30202 การเขียนรายงานทางวชิ าการ (IS2) 1.0 ง32204 ทักษะอาชีพ 4 1.0 ส33201 โลกและเหตกุ ารณป์ ัจจุบัน 1.0 อ33202 ภาษาองั กฤษอ่านเขียน 6 1.0 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นพระธาตุพทิ ยาคม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (แผนการเรยี นวิทยาศาสตร-์ คณิตศาสตร)์ ปกี ารศึกษา 2563 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5/1 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 รหัสวิชา ชอื่ วิชา นก รหัสวิชา ชอื่ วิชา นก รหัสวิชา ชอ่ื วิชา นก รหัสวิชา ชอื่ วิชา นก รหัสวิชา ชอ่ื วิชา นก รหัสวิชา ชอื่ วิชา นก กลุ่มสาระวิชาพ้ืนฐาน กลมุ่ สาระวิชาพ้ืนฐาน กลุ่มสาระวิชาพ้ืนฐาน กล่มุ สาระวิชาพื้นฐาน กลุม่ สาระวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระวิชาพ้ืนฐาน ท31101 ภาษาไทย 1 1.0 ท31102 ภาษาไทย 2 1.0 ท32101 ภาษาไทย 3 1.0 ท32102 ภาษาไทย 4 1.0 ท33101 ภาษาไทย 5 1.0 ท33102 ภาษาไทย 6 1.0 ค31101 คณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน 1 1.0 ค31102 คณติ ศาสตรพ์ ้ืนฐาน 2 1.0 ค32101 คณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน 3 1.0 ค32102 คณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน 4 1.0 ค33101 คณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน 5 1.0 ค33102 คณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน 6 1.0 ส31101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส31103 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส32101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส32102 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส33101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส33103 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1.0 ส31102 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 ส31104 ประวัติศาสตร์ 0.5 พ32101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 พ32102 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 ส33102 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 ส33104 ประวตั ศิ าสตร์ 0.5 พ31101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 พ31102 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 ศ32101 ศลิ ปะพื้นฐาน 3 0.5 ศ32102 ศลิ ปะพ้ืนฐาน 4 0.5 พ33101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 พ33102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 0.5 ศ31101 ศลิ ปะพื้นฐาน 1 0.5 ศ31102 ศลิ ปะพื้นฐาน 2 0.5 ง32101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 0.5 ง32102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 0.5 ศ33101 ศลิ ปะพ้ืนฐาน 5 0.5 ศ33102 ศลิ ปะพื้นฐาน 6 0.5 ง31101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 0.5 ง31102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 0.5 ว30103 วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 3 1.0 ว30104 วทิ ยาศาสตร์ โลก และอวกาศ 1.5 ง33101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 5 0.5 ง33102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 0.5 ว30103 วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 3 1.0 ว30102 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 1 1.0 ว32103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 ว32104 วทิ ยาการคานวณ 0.5 ว33103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 อ33102 ภาษาองั กฤษพื้นฐาน 6 1.0 ว31103 การออกแบบและเทคโนโลยี 0.5 ว31104 วทิ ยาการคานวณ 0.5 อ32101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 1.0 อ32102 ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน 4 1.0 ว30105 วทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน 5 1.0 อ31101 ภาษาองั กฤษพื้นฐาน 1 1.0 อ31102 ภาษาองั กฤษพื้นฐาน 2 1.0 อ33101 ภาษาองั กฤษพื้นฐาน 5 1.0 รวม 7.5 รวม 7.5 รวม 7.0 รวม 7.5 รวม 7.5 รวม 6.0 กลมุ่ สาระวิชาเพ่ิมเติม กลุม่ สาระวิชาเพิ่มเตมิ กลมุ่ สาระวิชาเพิ่มเตมิ กล่มุ สาระวิชาเพ่ิมเตมิ กลุม่ สาระวิชาเพ่ิมเตมิ กลุม่ สาระวิชาเพ่ิมเตมิ ว31201 ฟิสกิ ส์ 1 2.0 ว31202 ฟิสกิ ส์ 2 2.0 ว32203 ฟิสิกส์ 3 2.0 ว32204 ฟิสกิ ส์ 4 2.0 ว33205 ฟิสกิ ส์ 5 2.0 ว33206 ฟิสกิ ส์ 6 2.0 ว31221 เคมี 1 1.5 ว31222 เคมี 2 1.5 ว32223 เคมี 3 1.5 ว32224 เคมี 4 1.5 ว33225 เคมี 5 1.5 ว33226 เคมี 6 1.5 ว31241 ชีววทิ ยา 1 1.5 ว31242 ชีววทิ ยา 2 1.5 ว32243 ชีววทิ ยา 3 1.5 ว32244 ชีววทิ ยา 4 1.5 ว33245 ชีววทิ ยา 5 1.5 ว33246 ชีววทิ ยา 6 1.5 ว31251 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 1 1.0 ว31252 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 2 1.0 ว32253 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 3 1.0 ว32254 โลก ดาราศาสตรแ์ ละอวกาศ 4 1.0 ค33201 คณติ ศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 5 2.0 ค33202 คณิตศาสตรเ์ พิ่มเตมิ 6 2.0 การกำหนดโครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษา แผนการเรยี นที่หลากหลากหลายใหผ้ เู้ รียนสามารถเลือก ท่จี ะเรยี นรู้ใหส้ อดคลอ้ งตามความถนัดและความสนใจของตนเอง

๗๓ การแลกเปลีย่ นเรยี นร้เู ครือข่ายโรงเรยี นโครงการ TSQP ๒ และ การนเิ ทศ ติดตาม และวิพากษห์ ลักสูตร หน่วยการสอน และการจัดการเรยี นรู้ โดยผู้ทรงคุณวุฒิจากสำนกั งานกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.) และมหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ การประชมุ วิเคราะห์หลักสูตรสถานศกึ ษา PLC ของครู 3 กลุ่มสาระการเรียนรูแ้ ละ 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ รูปเล่มหลักสูตรสถานศกึ ษา

๗๔ หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ๒.๑.๓ นำหลกั สูตรสถานศึกษาไปออกแบบจัดการเรยี นการสอนเพื่อให้บรรลผุ ลตามจุดมุ่งหมาย การดำเนนิ งาน การนำหลกั สูตรสถานศึกษาไปออกแบบการจัดการเรยี นการสอนอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน มีกระบวนการ ดงั น้ี ๑. ครผู ้สู อนศกึ ษา วิเคราะหห์ ลักสตู ร มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชวี้ ดั หรอื ผล การเรียนรู้ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๒. ออกแบบการจดั การเรยี นรู้ โดยเลอื กใชว้ ิธีการสอนและเทคนคิ การสอน สื่อ/ แหล่งเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อใหผ้ ้เู รยี นได้พัฒนาเต็มตามศกั ยภาพและบรรลตุ ามมาตรฐาน การเรียนรู้ ๓. จัดทำหนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล และพัฒนา การทางสมอง เพ่อื นำผเู้ รียนไปสเู่ ปา้ หมาย ๔. จัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ หี่ ลากหลาย เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ และเน้นกิจกรรม

๗๕ Active Learning ๕. เตรียมและเลือกใชส้ อื่ ให้เหมาะสมกบั กิจกรรม นำภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นและ เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยุกตใ์ ชใ้ นการจัดการเรียนการสอน ๖. ประเมินความก้าวหนา้ ของผเู้ รยี นดว้ ยวิธกี ารทหี่ ลากหลาย เหมาะสมกับ ธรรมชาติของวิชา และระดับพัฒนาการของผเู้ รยี น ๗. วิเคราะหผ์ ลการประเมินมาใช้ในการสอนซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานอยู่ในระดับ 4 โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนเป็นลำดับขั้นตอน มีการศึกษา วเิ คราะห์หลกั สตู ร มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ดั สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ มีวิธีการสอนและเทคนิคที่หลากหลาย มีสื่อและแหล่งการเรียนรู้ จัดทำ แผนการสอนที่เหมาะสมกับผูเ้ รียน โดยเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ มีกิจกรรม Active Learning มีการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ และมีการวัดผลและประเมินผลตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ และมีการซ่อมเสริมให้กบั ผู้เรียนท่ีต้องพฒั นา ส่งผลใหผ้ ้เู รยี นมีผลสัมฤทธ์ิท่ีดี และเป็นคน ดี เก่ง มีความสุขตามมาตรฐานการศึกษา หลกั ฐานอ้างอิง – แผนการจดั การเรียนรู้ – การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้สือ่ เทคโนโลยี สารสนเทศ – การบริหารจัดการชน้ั เรยี น – การนเิ ทศรายบุคคล การกำหนดแผนผงั การออกแบบการสอน การจัดการเรียนรูแ้ บบ Thinking School สอดแทรกเทคนคิ วธิ ีต่างๆ ทหี่ ลากหลายมาพฒั นาการสอนคิดในโรงเรยี น มุง่ ให้ผูเ้ รยี นมีทกั ษะแห่งการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21

๗๖ แผนการจดั การเรียนรู้ที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั การบรู ณาการการจดั การเรยี นร้รู ะหวา่ งกลุ่มสาระการเรียนรู้ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือใช้แหลง่ เรยี นรมู้ าชว่ ยในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ

๗๗ เตรียมพร้อมครูและบคุ ลากรโดยเข้ารว่ มประชมุ Video Conference หรอื zoom เทคนิคการสอน online จากหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องอยา่ งต่อเน่ือง ส่งเสริมครแู ละบุคลากรให้สามารถจดั การเรยี นรู้ online ในวิชาของตนเองโดยใชโ้ ปรแกรมตา่ งๆอย่าง หลากหลาย เชน่ Class Start, Zoom, Google Classroom เป็นต้น

๗๘ การบริหารจัดการช้ันเรยี น การสร้างปฏิสมั พนั ธ์เชิงบวกกบั นกั เรยี น และส่งเสรมิ การเรียนร้อู ยา่ งมี ความสขุ โดยสร้างบรรยากาศแหง่ การเรียนรู้ ดูแลเอาใจใสใ่ ห้คำแนะนำปรึกษา และรบั ฟังนักเรยี นอย่างเขา้ ใจ กจิ กรรมการเรยี นร้แู บบ Active Learning

๗๙

๘๐ ครูผู้สอนมกี ารวิเคราะห์ และประเมินผู้เรียนเป็นรายบุคคลเพ่ือทราบความแตกต่าง และข้อจำกัดของ ผเู้ รยี นดา้ นการเรยี นเปน็ รายบคุ คล มีการจดั ทำโครงสร้างรายวิชาและแผนจัดการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการวัดและประเมินผู้เรียนตามสภาพจริง เป็นขั้นตอน โดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่ หลากหลายและเหมาะสมกบั ผู้เรียนในการจดั การเรียนรู้ โดย ใชเ้ ครื่องมือการวดั และประเมินผลที่หลากหลาย และสอดคล้องกับวิธีการประเมินตลอดจนจุดประสงค์ในการประเมิน และนำผลการประเมินการเรียนรู้มา จดั ทำวิจยั ในชน้ั เรยี นเพื่อพฒั นาการเรยี นการสอน และแก้ปัญหาผ้เู รียน ทำใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ และเข้าใจ เนื้อหา ทกั ษะกระบวนการ และเกิดเจตคติทดี่ ตี อ่ การเรียนรู้ ส่งผลใหน้ กั เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นท่สี งู ข้ึน 1. ข้นั ตอนการวดั และประเมินผลผู้เรยี น 1.1 ศึกษา วเิ คราะห์มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั ของหลกั สตู ร 1.2 จัดทำโครงสร้างรายวิชาและการวัดผลประเมินผล 1.3 ชี้แจงรายละเอียดของการวัดและประเมินผลให้ผู้เรียนเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ เคร่อื งมือ ภาระงาน เกณฑ์ คะแนน ตามแผนการประเมินท่กี ำหนดไว้ 1.4 ดำเนนิ การวัดและประเมินวเิ คราะหผ์ ้เู รียน 1.5 วัดและประเมินความก้าวหน้าระหวา่ งเรียน 1.6 วัดและประเมินผลการเรียนรู้หลงั เรยี นเมอ่ื จบหนว่ ยหรือปลายภาคเรียน 2. ให้ข้อมลู ย้อนกลบั แก่ผเู้ รียนและนำผลมาพฒั นาผู้เรียน 2.1 ครูผู้สอนให้ข้อมูลย้อนกลับในการทำแบบฝึกหัด แบบทดสอบ ภาระงาน/ ชิ้นงานแก่ นกั เรียน 2.2 ผเู้ รยี นนำขอ้ มูลย้อนกลบั มาพัฒนา ปรบั ปรงุ การเรียนรู้ 3. ครนู ำผลการประเมินการเรียนร้มู าจดั ทำวจิ ัยในชั้นเรียนเพือ่ พฒั นาการเรียนการสอน

๘๑ ๒.๑.๔ จดั ทำแผนและดำเนนิ การนิเทศ กำกับ ตดิ ตาม และประเมนิ การใช้หลักสตู ร การดำเนินงาน โรงเรียนได้จดั ทำแผน และดำเนนิ การนิเทศ กำกับติดตาม และประเมนิ ผลการใช้หลกั สูตร ดังนี้ 1. มรี ปู แบบการนิเทศการใช้หลกั สูตรดังนี้ - วิเคราะหส์ ภาพปัญหาความตอ้ งการความจำเปน็ ซงึ่ ทางโรงเรียนได้จดั ทำข้อมูล สารสนเทศ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน O - net/ NT ลำดับความสำคญั ของปญั หาและความต้องการจำเป็น - วางแผนการจัดทำคู่มือและแผนการนเิ ทศภายใน ประชมุ ชี้แจง แต่งตั้ง คณะกรรมการ ประกอบด้วย ผู้บริหาร หัวหน้าฝ่าย หัวหน้าสายชั้น หรือบุคลากรตามความเหมาะสม และ สร้างเครอื่ งมอื การนิเทศภายใน - ปฏิบัติการนิเทศภายใน โดยใช้การนิเทศแบบกัลยาณมิตรในการให้คำปรึกษา แนะนำ เยี่ยมช้นั เรียน และสงั เกตการสอน - ประเมินผล และสรุปรายงานผล เพือ่ สะท้อนผลการประเมินและนำผลการนเิ ทศ ไปปรับปรงุ 2. ประเมนิ ตดิ ตาม ผลการใชห้ ลักสตู รสถานศกึ ษา ดงั นี้ - องคป์ ระกอบของหลกั สตู รสอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รแกนกลาง สอดคลอ้ งกับความ ต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครอง ชมุ ชน มีความเหมาะสมตามแนวทางการจัดการเรียนรู้ ด้านสื่อการสอน การจัด กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น และการวดั ประเมนิ ผล การจัดสรรงบประมาณและการมสี ่วนร่วมของชมุ ชน - สรุปและรายงานผลการประเมินการใชห้ ลักสตู ร ผลการดำเนนิ งาน ผลการดำเนินงานอย่ใู นระดบั 4 โรงเรียนพระธาตุพิทยาคมมรี ะบบการนเิ ทศภายในทช่ี ดั เจน มีการนิเทศภายในแบบมีส่วนร่วม มีผลการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาปรับปรุง หลักสูตรสถานศึกษา และนำหลักสูตรไปสหู่ อ้ งเรยี น ตลอดจนจดั การเรียนการสอนอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มีการ PLC และนิเทศติดตามอยา่ งเป็นระบบ หลักฐานอ้างอิง - คำส่งั แตง่ ต้งั คณะกรรมการนิเทศภายใน - วเิ คราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสตู ร - วจิ ัยในชน้ั เรยี นเพ่ือพฒั นาการเรยี นการสอน - แผนการพฒั นาตนเอง (ID Plan) และ SAR ทุกปีการศกึ ษา - กจิ กรรมการนิเทศภายใน - แผนการนเิ ทศภายใน - แบบบนั ทึกการนิเทศรายบุคคล - แบบประเมินการใช้หลกั สตู ร

๘๒ ครูผู้สอนศกึ ษา วิเคราะหม์ าตรฐานและตวั ชีว้ ัดของหลักสตู ร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ครูผู้สอนจัดทำโครงสรา้ งรายวชิ าและวางแผนการวัดและประเมินผล

๘๓ ครูผ้สู อนจดั ทำโครงสร้างรายวชิ าและวางแผนการวัดและประเมนิ ผล แผนการจดั การเรยี นรู้มกี ารกำหนดช้นิ งาน/ ภาระงาน และวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลที่ชดั เจน ครูชแี้ จงรายละเอียดการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นร้รู ายวิชาแกผ่ เู้ รียน

๘๔ ครูวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ของผู้เรยี นระหว่างเรียนโดยใชก้ ิจกรรมการเรยี นรู้ วิธกี ารวัดและประเมินผลทหี่ ลากหลาย

๘๕ ครูวัดและประเมินผลการเรยี นร้หู ลงั เรยี นเมือ่ จบหน่วยหรอื ปลายภาคเรียน ครใู หข้ ้อมลู ย้อนกลบั ในการทำแบบฝกึ หดั แบบทดสอบ ภาระงาน/ ชน้ิ งานแกน่ ักเรยี น

๘๖ ครูนำผลการประเมนิ การเรียนรู้มาจดั ทำวจิ ยั ในชน้ั เรยี นเพ่ือพฒั นาการเรียนการสอน

๘๗ นอกจากนคี้ รแู ละบุคลากรได้จดั ทำแผนการพฒั นาตนเอง (ID Plan) และ SAR ทกุ ปีการศกึ ษา สง่ เสริมให้ครูและบุคลากรเข้ารบั การอบรมพัฒนาตนเองท้งั ในรปู แบบออนไลน์และอบรมตามหน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ยี วข้องอย่างตอ่ เนื่อง การติดตามการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน และการนิเทศภายใน

๘๘

๘๙ ๒.๑.๕ สรุปผลการนเิ ทศ กำกับ ติดตาม และประเมิน มาปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสตู ร โดยใช้ กระบวนการวิจัยเพือ่ พัฒนา การดำเนนิ งาน การสรปุ ผล การนิเทศ กำกับติดตาม และประเมนิ ผลการใชห้ ลกั สตู รสถานศึกษาได้ดำเนินการ ดังนี้ 1. แต่งต้ังคณะดำเนนิ งานสรปุ ผล การนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการใช้ หลักสตู รสถานศกึ ษา 2. จัดทำแบบสำรวจความคิดเห็น ความพงึ พอใจตอ่ การใชห้ ลักสูตรสถานศกึ ษา 3. สรุป และรายงานผล การสำรวจความคิดเหน็ ความพงึ พอใจการใชห้ ลักสูตร สถานศึกษา 4. ประเมินผลการใช้หลักสูตร ทั้งดา้ นปจั จัย และดา้ นกระบวนการ ประกอบด้วย - การนำหลักสตู รไปใช้ - คุณภาพของหลักสตู ร - ผลการจดั การเรยี นรู้ - พฤติกรรมการเรยี นรู้ของนกั เรยี น 5. นำผลมาปรับปรงุ และพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา 6. ครูผสู้ อนนำหลกั สตู รสถานศกึ ษาทพี่ ัฒนาแลว้ ไปใช้ในการจดั การเรยี นการสอน ผลการดำเนนิ การ ผลการดำเนนิ งานอยู่ในระดับ 4 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจต่อการจัดการเรยี นการสอนตาม หลักสูตรของโรงเรยี น พบว่า ครู นกั เรียน และผูป้ กครอง มีความพึงพอใจตอ่ การใช้หลักสูตรสถานศึกษา ใน ระดับดีมาก โรงเรยี นได้นำผลการประเมนิ มาใช้ในการพัฒนาหลกั สูตรอย่างต่อเนื่อง สง่ ผลให้การจดั การเรยี น การสอนมีประสิทธภิ าพและเปน็ ท่ยี อมรับของชมุ ชน ทำให้ส่งนกั เรียนมาเรยี นทีโ่ รงเรียนพระธาตุพทิ ยาคมเพ่ิม มากขนึ้ นักเรยี นที่มีความสามารถทางด้านวิชาการได้เข้าร่วมแขง่ ขันทักษะทางวิชาการ และได้รบั รางวัล ระดับ กลุ่มเครือข่าย ฯ ระดบั เขตพ้ืนท่ี ฯ ระดับภาคเหนือ และระดบั ประเทศ หลกั ฐานอา้ งอิง - บันทึกการประชุมครู - คำสัง่ แตง่ ตั้งคณะดำเนนิ งาน - หลักสตู รสถานศึกษา - รายงานประเมินผลความพงึ พอใจ - ผลประเมนิ ระดบั ชาติ - รายงานผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน - รปู ภาพ - เกียรตบิ ัตรการแข่งขันทักษะทางวชิ าการ

๙๐

๙๑

๙๒

๙๓ ๒.๒ การจดั กิจกรรมเสริมหลักสูตร ๒.๒.๑. นำผลการวิเคราะหข์ ้อมลู นกั เรียนรายบคุ คลและความคิดเหน็ ของผ้ปู กครอง ชุมชน มา กำหนดกิจกรรมเสริมหลักสูตร การดำเนนิ งาน ๑. โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นเขม้ แขง็ เพ่มิ โอกาสทางการศึกษา โรงเรียนพระธาตุพทิ ยาคมมกี ระบวนการดำเนนิ งานดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ มีขั้นตอนชดั เจน มหี ลกั ฐานและข้อมลู เพ่อื ใชใ้ นการกำหนดกิจกรรมเสริมหลักสูตรไดเ้ หมาะสม และสอดคล้อง กับความพร้อม ความสนใจของนกั เรียน โดยศึกษาเดก็ เป็นรายบคุ คลจากข้อมูลการเยย่ี มบ้านนกั เรียน จดั กิจกรรมแนะแนว เพื่อส่งเสรมิ พฒั นานกั เรยี น

๙๔ ๒. พฒั นาระบบออนไลนด์ ูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น การติดตาม เอาใจใสน่ ักเรียนอยา่ งใกลช้ ดิ ผ่านระบบออนไลน์ โดยใช้ Applications : Zoom และ Google Meet ดำเนินงานอย่างมีระบบและมปี ระสิทธภิ าพ สนทนาซกั ถามแสดงความคิดเห็นระหว่างครู และผปู้ กครองของนักเรยี นได้ ๓. พัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศนกั เรียน มกี ารพฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศนกั เรยี นอย่างมีระบบ เปน็ ปจั จุบัน สามารถใช้ข้อมลู ได้ งา่ ยและสะดวกรวดเรว็

๙๕ ผลการดำเนนิ งาน ผลการประเมินอยู่ในระดับ ๔ นำผลการวิเคราะห์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล และความคิดเห็นของ ผปู้ กครอง ทอ้ งถ่ิน ชุมชน มากำหนดกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร ไดเ้ หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ความพรอ้ ม ความสนใจของนักเรียน เป็นไปตามความต้องการของผูป้ กครองและชมุ ชน และสอดคล้องกับบรบิ ทของ ทอ้ งถิน่ ชมุ ชน กจิ กรรมเสริมหลักสตู รเป็นกิจกรรมท่ีสง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนใฝ่หาความรู้ แสดงความรคู้ วามสามารถ อย่างเต็มท่ี สรา้ งเสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี นให้มีสุขภาพร่างกายแขง็ แรง และสุขภาพจติ ที่ดี มีความฉลาด ทางอารมณ์ สามารถอยูร่ ่วมกับผอู้ น่ื ในสงั คมได้ และเติบโตเปน็ บคุ ลากรทม่ี ีคุณภาพของประเทศ ๒.๒.๒. กำหนดวัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดและแนวทางการจัดกิจกรรมเสริมหลกั สตู ร สอดคล้อง กับมาตรฐานการเรยี นรู้เนน้ การพัฒนารอบดา้ น การดำเนินงาน แต่งตั้งคณะทำงาน โดยศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อร่วมกันกำหนด วตั ถุประสงค์ กรอบแนวคิด และแนวทางการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เรียนและจัดกิจกรรม ที่สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่นและชุมชน จัดทำกิจกรรมเสริมหลักสูตร มีครูผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรม จดั เตรยี มสือ่ วสั ดุอุปกรณ์ มกี ารวัดผลประเมนิ ผล และรายงานผลการจัดกจิ กรรม ผลการดำเนนิ งาน ผลการประเมนิ อยู่ในระดับ ๔ กำหนดวตั ถปุ ระสงค์ กรอบแนวคดิ และแนวทางการจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรไว้อย่างชัดเจน สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เนน้ การพฒั นารอบดา้ น ท้ังการอ่านเขียน การสอื่ สาร การคดิ ทหี่ ลากหลาย ทักษะการจดั การ และทักษะอาชีพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook