Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-18

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-18

Published by รัชนี อัศวจุฬามณี, 2020-03-12 22:16:15

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1-18

Keywords: แผนการจัดการเรียนการสอน

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ รหสั วชิ า 3201 – 2001 วชิ า การบญั ชีช้ันกลาง 1 หน่วยท่ี 1 จานวน 4 ช่ัวโมง ชื่อหน่วย ความหมาย และหลกั การจาแนกประเภทของสินทรัพย์ ชื่อเร่ือง ความหมาย และหลกั การจาแนกประเภทของสินทรัพย์ 1. สาระสาคญั ในการประกอบธุรกิจ กิจการตอ้ งจดั สรรเงินทุนส่วนหน่ึงมาลงทุนในสินทรัพย์ ดงั น้นั จึงจาเป็ น อยา่ งยงิ่ ท่ีจะตอ้ งมีหลกั การบริหารสินทรัพยท์ ่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด เช่น สินทรัพยบ์ าง ชนิดก่อใหก้ ิจการเกิดรายไดจ้ านวนมาก ไดแ้ ก่ สินคา้ คงเหลือ ท้งั น้ี การบริหารสินทรัพยข์ องกิจการจะมีประสิทธิภาพมากนอ้ ยเพียงใดน้นั ข้ึนอยกู่ บั ขอ้ มูลที่ได้ รับมาใชใ้ นการประกอบการวางแผน ควบคุม และตดั สินใจของผบู้ ริหาร กล่าวคือ ขอ้ มูลทางการบญั ชี จดั ไดว้ า่ เป็ นขอ้ มูลที่สาคญั อยา่ งหน่ึงของขอ้ มูลท้งั หมดที่ผูบ้ ริหารตอ้ งการใชใ้ นการบริหาร เพราะขอ้ มูล ทางการบญั ชีทาการรวบรวมขอ้ มูลของสินทรัพย์ หน้ีสินและส่วนของเจา้ ของท้งั หมดท่ีกิจการมีอยู่ แลว้ สรุปผลออกมาในรูปของงบการเงิน คือ งบดุล เพ่ือแสดงฐานะทางการเงินของกิจการวา่ มีฐานะทางการเงิน อยา่ งไร ดงั น้นั กิจการตอ้ งมีหลกั และวธิ ีการบญั ชีเก่ียวกบั สินทรัพยท์ ี่ถูกตอ้ งและเชื่อถือได้ 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ จาแนกประเภทของสินทรัพยต์ ามมาตรฐานการบญั ชี 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทว่ั ไป สามารถบอกความหมายของงบการเงินและจาแนกประเภทของสินทรัพยไ์ ด้ 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกความหมายของสินทรัพยไ์ ด้ 2. บอกหลกั การจาแนกประเภทของสินทรัพยไ์ ด้ 3. บอกความหมายของงบการเงินได้ 4. บอกความหมายของมาตรฐานการบญั ชีหรือหลกั การบญั ชีที่รับรองโดยทว่ั ไปได้ 5. บนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั สินทรัพยไ์ ด้

2 6. มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ี่ผสู้ อนสามารถ สงั เกตเห็นได้ ในดา้ นความมีมนุษยสมั พนั ธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผดิ ชอบ ความเช่ือมนั่ ใน ตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามคั คี ความกตญั ญูกตเวที 4. การบูรณาการ 1. บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 2. การอา่ นจบั ใจความ 5. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของสินทรัพย์ 2. หลกั การจาแนกประเภทของสินทรัพย์ 3. ความหมายของงบการเงิน 4. ความหมายของมาตรฐานการบญั ชีหรือหลกั การบญั ชีท่ีรับรองโดยทว่ั ไป 5. หลกั การบญั ชีเก่ียวกบั สินทรัพย์ 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูและนกั ศึกษาช่วยกนั ทบทวนความหมายของสินทรัพย์ และยกตวั อยา่ งบญั ชีสินทรัพย์ ประกอบเน่ืองจากเคยศึกษาแลว้ ในระดบั ปวช. และช้ีใหเ้ ห็นความสาคญั หรือมูลเหตุของ การศึกษาสินทรัพย์ ครูแนะนาการเรียนการสอนรวมท้งั การประเมินผลการเรียนในวชิ าน้ี 2. ครูแจง้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั ข้นั สอน 3. ครูแนะนารูปแบบการเรียนการสอนแบบ Constructivism หรือทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ หมายถึง การเรียนการสอนที่มุง่ เนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนไดค้ ิดเอง เรียนรู้ดว้ ยตนเองมากข้ึน ซ่ึงครูจะจดั กิจกรรมเพ่ือใหน้ กั ศึกษา และครูมีส่วนร่วมในการจดั การเรียนการสอน มีปฏิสมั พนั ธ์ซ่ึงกนั และกนั ท้งั 2 ฝ่ าย เป็นการศึกษาจากความผสมผสานรู้เดิมที่มีอยกู่ บั ความรู้ใหม่ท่ีพบเห็นใน ปัจจุบนั จึงทาเกิดโครงสร้างทางปัญญากลายเป็นความรู้ท่ียง่ั ยนื 4. ใหน้ กั ศึกษาสงั เกต และสารวจขอ้ แตกตา่ งของสินทรัพยท์ ี่เคยศึกษามาแลว้ ในระดบั ปวช. กบั สินทรัพยท์ ี่ศึกษาอยใู่ นขณะน้ีเกี่ยวกบั ความหมายและหลกั การจาแนกประเภท ความหมาย ของงบการเงินตามมาตรฐานการบญั ชีโดยทวั่ ไป และหลกั การบญั ชีเก่ียวกบั สินทรัพย์

3 5. ครูใชค้ าถามลกั ษณะแนะนาเพ่ือใหน้ กั ศึกษาคิด หรือสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง 6. นกั ศึกษาจดั ทาแบบฟอร์มของงบดุล โดยการแยกประเภทของสินทรัพยอ์ อกเป็นหมวดหมู่ หรือแยกตามประเภท 7. นกั ศึกษาปฏิบตั ิตามใบงาน หน่วยท่ี 1 8. เปิ ดโอกาสใหน้ กั ศึกษาแสดงความคิดเห็น ข้ันสรุป 9. ครูและนกั ศึกษาสรุปเน้ือหา พร้อมยกรายการบญั ชีสินทรัพยป์ ระกอบ โดยใหน้ กั ศึกษาเป็นผู้ กาหนดรายการบญั ชี สินทรัพยเ์ อง 10. นกั ศึกษาทาแบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1 7. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนวชิ า การบญั ชีช้นั กลาง 1 (3201-2001) ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 2. หนงั สืออา่ นประกอบวชิ า การบญั ชีช้นั กลาง 1 ของ ผศ.กอบแกว้ รัตนอุบล มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 3. แบบฟอร์มงบการเงิน 4. ใบงาน 5. ตวั อยา่ งงบการเงินของบริษทั ท่ีจดทะเบียนในตลาดหลกั ทรัพย์ 8. การวดั ผลและประเมนิ ผล 8.1 เคร่ืองมือวดั 8.1.1 แบบทดสอบหลงั เรียน 8.1.2 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 8.1.3 แบบประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู) 8.1.4 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยนกั เรียน) 8.1.5 กิจกรรรมเสนอแนะและกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้ 8.1.6 แบบฝึ กปฏิบตั ิ 8.1.7 แบบประเมินผลการเรียนรู้ 8.1.8 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและ นกั เรียนร่วมกนั ประเมิน

4 8.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล 8.2.1 เกณฑผ์ า่ นแบบทดสอบหลงั เรียนคือ 50% 8.2.2 เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ีช่องปรับปรุง 8.2.3 เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 8.2.4 เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 8.2.5 ตอบคาถามในกิจกรรรมเสนอแนะและกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้จึงจะถือวา่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน 8.2.6 แบบฝึกปฏิบตั ิ เกณฑผ์ า่ น คือ 50% 8.2.7 แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ 5 ระดบั คือ 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช,้ 2 = ควร ปรับปรุง, 1 = ใชไ้ ม่ได้ 8.2.8 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คะแนน ข้ึนกบั การประเมินสภาพจริง 9. งานทมี่ อบหมาย/ภารกจิ ต่อเน่ือง 1. มอบหมายนกั ศึกษาจดั ทาแบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1 2. ครูมอบหมายใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลุ่ม ๆ ละ 5 คน ร่วมกนั ไปหาหนงั สือ อา่ นนอกเวลาเกี่ยวกบั ความรู้ทางบญั ชี ความรูเกี่ยวกบั ธุรกิจ การประกอบธุรกิจ การจดั ทาบญั ชีของธุรกิจ กลุ่มละ 1 เรื่อง

5 10. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้ 10.1 ข้อสรุปหลงั การจัดการเรียนรู้ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 10.2 ปัญหาทพ่ี บ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 10.3 แนวทางแก้ปัญหา ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................

6 แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ หน่วยที่ 1 จงเลือกคาตอบทถี่ ูกต้องเพยี งข้อเดียว 1. ขอ้ ใดหมายถึงสินทรัพยห์ มุนเวยี น ก. ยานพาหนะ ข. เงินลงทุนในหลกั ทรัพยเ์ ผ่อื ขาย ค. เงินลงทุนในหลกั ทรัพยเ์ พ่ือคา้ ง. ค่าใชจ้ ่ายในการจดั ต้งั บริษทั 2. ขอ้ ใดหมายถึงสินทรัพยไ์ มห่ มุนเวยี น ก. คา่ เบ้ียประกนั จา่ ยล่วงหนา้ ข. ลูกหน้ีและตวั๋ เงินรับ ค. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ง. เงินสดและเงินฝากธนาคาร 3. ขอ้ ใดหมายถึงสินทรัพยไ์ มม่ ีตวั ตน ก. สิทธิบตั ร ข. เคร่ืองหมายการคา้ ค. คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั ต้งั บริษทั ง. ถูกทุกขอ้ 4. ขอ้ ใดเป็นรายจ่ายรอตดั บญั ชี ก. ส่วนเกินมูลค่าหุน้ ข. ภาษีเงินไดร้ อการตดั จา่ ย ค. ค่าใชจ้ ่ายในการจดั ต้งั บริษทั ง. ขอ้ ข และ ค ถูกตอ้ ง 5. สินทรัพยใ์ นขอ้ ใดท่ีตอ้ งมีการคิดค่าเสื่อมราคา ก. อุปกรณ์สานกั งาน ข. วสั ดุสานกั งาน ค. ตว๋ั เงินรับ ง. ตวั๋ เงินจ่าย 6. ขอ้ ใดเป็นส่วนประกอบของงบการเงิน ก. งบดุล ข. งบแสดงการเปล่ียนแปลงฐานะการเงิน ค. หมายเหตุประกอบงบการเงิน ง. ถูกทุกขอ้ 7. จากรายการต่อไปน้ีใหเ้ รียงลาดบั รายการในงบดุล 1. เงินสดและเงินฝากธนาคาร 2. สินคา้ คงเหลือ 3. ลูกหน้ีและตว๋ั เงินรับ 4. ลูกหน้ีและเงินทดรองแก่กรรมการและลูกจา้ ง 5. หลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด 6. เงินลงทุนในหุน้ ทุน 7. เงินประกนั ก. 1 2 3 4 5 6 7 ข. 1 5 3 2 4 6 7 ค. 1 5 3 4 2 7 6 ง. 1 4 3 5 2 6 7

7 8. จากรายการต่อไปน้ี ให้เรียงลาดบั รายการในงบกาไรขาดทุน 1. ตน้ ทุนขาย 2. ขายสินคา้ 3. ค่าใชจ้ า่ ยในการขายและบริการ 4. ภาษีเงินได้ ก. 2 1 3 4 ข. 2 3 1 4 ค. 1 2 3 4 ง. 2 4 3 1 9. รายการท่ีควรปรากฏในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ก. นโยบายการบญั ชี ข. รายละเอียดลูกหน้ี ค. รายละเอียดเจา้ หน้ี ง. รายละเอียดการฝากเงิน 10. บริษทั จะตอ้ งจดั สรรกาไรไวเ้ ป็นทุนสารองตามกฎหมาย จนกวา่ ทุนสารองตามกฎหมายจะมียอด ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละเท่าไรของทุนจดทะเบียน ก. 5% ข. 10% ค. 20% ง. 30%

8 ใบงานที่ 1 หน่วยที่ 1 เรื่อง ความหมาย และหลกั การจาแนกประเภทของสินทรัพย์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของสินทรัพยไ์ ด้ 2. บอกหลกั การจาแนกประเภทของสินทรัพยไ์ ด้ 3. บอกความหมายของงบการเงินได้ 4. บอกความหมายของมาตรฐานการบญั ชีหรือหลกั การบญั ชีที่รับรองโดยทว่ั ไปได้ 5. บนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั สินทรัพยไ์ ด้ 6. มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ่ีผสู้ อนสามารถ สงั เกตเห็นได้ ในดา้ นความมีมนุษยสมั พนั ธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผดิ ชอบ ความเช่ือมน่ั ใน ตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามคั คี ความกตญั ญูกตเวที กจิ กรรมการเรียน 1. ใหน้ กั ศึกษาอธิบายหวั ขอ้ ต่อไปน้ี (10 คะแนน) 1. ความหมายของสินทรัพยต์ ามมาตรฐานการบญั ชี 2. สินทรัพยแ์ บ่งออกเป็นก่ีประเภท อะไรบา้ ง 3. ความหมายของงบการเงินตามมาตรฐานการบญั ชี 4. ทาไมสินทรัพยท์ ่ีกิจการไดม้ าจึงตอ้ งมีการคานวณตน้ ทุนของสินทรัพย์ 5. หลกั ทรัพยเ์ พื่อคา้ และหลกั ทรัพยเ์ ผอ่ื ขาย 2. ประเมินกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้ ตามพฤติกรรมบ่งช้ีที่ปลากดจากกิจกรรมการเรียนที่ นกั ศึกษาไดล้ งมือปฏิบตั ิตามแบบ

9 แบบประเมนิ กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้ คาชี้แจง : ใหป้ ระเมินรายการแตล่ ะขอ้ แลว้ เขียน เคร่ืองหมาย  ลงในช่องระดบั คุณภาพตามความเป็ นจริง โดย กาหนดน้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช,้ 2 = ควรปรับปรุง, 1 = ใชไ้ ม่ได้ รายการประเมนิ พฤตกิ รรมบ่งชี้ ระดบั คณุ ภาพ 54321 1. การมีมนุษยสมั พนั ธ์  พดู จาสุภาพ เรียบร้อยอ่อนนอ้ มถอ่ มตน  รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน 2.ความมีวนิ ยั  ตรงต่อเวลา  ประพฤติตนถกู ตอ้ งตามศีลธรรมอนั ดีงาม 3. ความรับผดิ ชอบ  ปฏิบตั งิ านท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด  ปฏิบตั งิ านดว้ ยความละเอียดรอบคอบ 4. ความซื่อสตั ยส์ ุจริต  ไม่ลอกเลียนงานของผอู้ ื่น  พดู ในส่ิงท่ีเป็ นความจริง 5. ความสนใจใฝ่ รู้  ศึกษาคน้ ควา้ มาตรฐานการบญั ชี  แสวงหาประสบการณ์และความรู้ใหม่ๆ 6. ความเชื่อมน่ั ในตนเอง  ยอมรับฟังขอ้ เสนอแนะจากผอู้ ื่น  แสดงความคิดเห็นในการบนั ทึกรายการบญั ชี รวมคะแนนทไี่ ด้.......................................คะแนน ข้อคดิ เห็นเพม่ิ เตมิ 1. กระบวนการคิดท่ีใช้ คือ……….…………………………………….………………………………………….. 2. สิ่งที่ควรปรบั ปรุง คือ……….…………………………………….………………………………………………. ผปู้ ระเมนิ ...................................... เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก 28-30 คะแนน = ดี 25-27 คะแนน = พอใช้ 20-24 คะแนน = ควรปรับปรุง 15-19 คะแนน = ใชไ้ ม่ได้ 0-14 คะแนน =

10 ใบงานที่ 2 หน่วยท่ี 1 หัวข้อเร่ืองศึกษาค้นคว้า 1. การวเิ คราะห์รายการในงบการเงิน 2. การอา่ นและอภิปรายงบการเงิน ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน 1. แบง่ กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยวธิ ีร่วมแรงร่วมใจ (Co- operative Learning) 2. แตล่ ะกลุ่มเลือกหวั หนา้ กลุ่ม 3. ครูมอบหมายให้นกั ศึกษาส่งตวั แทนจบั สลากเลือกงบการเงินของบริษทั ที่จดทะเบียนใน ตลาดหลกั ทรัพย์ 4. แตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ระดมความคิด วเิ คราะห์งบการเงิน จดบนั ทึกประเด็นท่ีจะอภิปรายงบ การเงินที่ไดร้ ับมา 5. หวั หนา้ กลุ่มหรือตวั แทนกลุ่มนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน โดยครูเป็นผกู้ าหนดเวลาใหเ้ หมาะสม 6. นกั ศึกษาแตล่ ะกลุ่มประเมินตนเองและประเมินกลุ่มอ่ืน 7. ครูประเมินผล นาคะแนนมาเฉล่ียและสรุปคะแนนในแบบประเมินผล พร้อมเสนอแนะและ ใหข้ อ้ คิดเห็น

11 ใบงานท่ี 3 หน่วยท่ี 1 หัวข้อเร่ืองศึกษาค้นคว้า การอา่ นหนงั สือนอกเวลา ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน 1. แบง่ กลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยวธิ ีร่วมแรงร่วมใจ (Co- operative Learning) 2. แต่ละกลุ่มเลือกหวั หนา้ กลุ่ม 3. ครูมอบหมายให้นกั ศึกษาร่วมกนั ไปหาหนงั สือ อ่านนอกเวลาเกี่ยวกบั ความรู้ทางบญั ชี ความรู้เกี่ยวกบั ธุรกิจ การประกอบธุรกิจ การจดั ทาบญั ชีของธุรกิจ กลุ่มละ 1 เรื่อง 4. กาหนดระยะเวลาใหอ้ า่ น 1 เดือน 5. แต่ละกลุ่มสรุปประเดน็ และสาระท่ีไดจ้ ากการอ่าน เป็นรูปเล่มรายงาน 6. หวั หนา้ กลุ่มหรือตวั แทนกลุ่มนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน 7. นกั ศึกษาแต่ละกลุ่มประเมินตนเองและประเมินกลุ่มอื่น 8. ครูประเมินผล นาคะแนนมาเฉล่ียและสรุปคะแนนในแบบประเมินผล พร้อมเสนอแนะและ ใหข้ อ้ คิดเห็น

12 แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านกล่มุ กลุ่มท่ี..................... ระดบั คุณภาพ 54321 ข้อ พฤตกิ รรมบ่งชี้ รวม 1 ความร่วมมือในการทางาน รวมคะแนน 2 วธิ ีการนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน 3 การใชส้ ื่อและอปุ กรณ์นาเสนอ 4 ความชดั เจนของเน้ือหาที่นาเสนอ 5 เวลาท่ีใชใ้ นการนาเสนอ เกณฑก์ ารประเมิน 5 = ดีมาก อยใู่ นระดบั ดีมาก 4 = ดี อยใู่ นระดบั ดี 3 = พอใช้ อยใู่ นระดบั พอใช้ 2 = ควรปรับปรุง อยใู่ นระดบั ปรับปรุง 1 = ใชไ้ มไ่ ด้ เกณฑผ์ า่ นกิจกรรมกลุ่ม ไดค้ ะแนน 20-25 ไดค้ ะแนน 15-19 ไดค้ ะแนน 12-14 ไดต้ ่ากวา่ 11

13 แบบประเมนิ กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้ คาชี้แจง : ใหป้ ระเมินรายการแต่ละขอ้ แลว้ เขียน เคร่ืองหมาย  ลงในช่องระดบั คุณภาพตามความเป็น จริง โดยกาหนดน้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช,้ 2 = ควรปรับปรุง, 1 = ใชไ้ มไ่ ด้ รายการประเมนิ พฤตกิ รรมบ่งชี้ ระดบั คุณภาพ 1. การมีมนุษยสมั พนั ธ์ 54321 2.ความมีวนิ ยั  แสดงกริยาท่าทางสุภาพต่อผอู้ ื่น 3. ความรับผิดชอบ  รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น 4. ความซื่อสตั ยส์ ุจริต  ตรงต่อเวลาในการทางาน 5. ความสนใจใฝ่ รู้  ประพฤติตนถกู ตอ้ งตามศีลธรรมอนั ดีงาม 6. ความเชื่อมนั่ ในตนเอง  ปฏิบตั งิ านท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด  ปฏิบตั ิงานดว้ ยความละเอียดรอบคอบ  ไม่นาผลงานผอู้ ื่นมาแอบอา้ งเป็ นของตนเอง  พดู ในส่ิงที่เป็ นความจริง  ศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง  แสวงหาประสบการณ์และความรู้ใหมๆ่  กลา้ แสดงความคิดเห็นอยา่ งมเี หตผุ ล  กลา้ ทกั ทว้ งในสิ่งท่ีไมถ่ ูกตอ้ ง รวมคะแนนทไ่ี ด้.......................................คะแนน ข้อคดิ เหน็ เพมิ่ เตมิ 1. กระบวนการคิดท่ีใช้ คือ……….…………………………………….…………………………………………. 2. สิ่งท่ีควรปรบั ปรุงคือ……….…………………………………….………………………………………………. ประเมิน....................................... เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก 28-30 คะแนน = ดี 25-27 คะแนน = พอใช้ 20-24 คะแนน = ควรปรับปรุง 15-19 คะแนน = ใชไ้ มไ่ ด้ 0-14 คะแนน =

14 แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ คาชี้แจง : ใหป้ ระเมินรายการแต่ละขอ้ แลว้ เขียน เคร่ืองหมาย / ลงในช่องระดบั คุณภาพตามความเป็ นจริง โดยกาหนด น้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช,้ 2 = ควรปรับปรุง, 1 = ใชไ้ มไ่ ด้ รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ 5432 1 1. ผลการเรียนท่ีคาดหวงั มีความชดั เจน ครอบคลุมพฤติกรรมทุกดา้ น 2. เน้ือหาสาระมีความถกู ตอ้ ง ครอบคลุม และชดั เจน 3. กิจกรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั 4. กิจกรรมการเรียนรู้มีความหลากหลาย น่าสนใจและเนน้ กระบวนการคิด การฟัง การพดู การอ่าน การดูและการเขียน 5. กิจกรรมการเรียนรู้เนน้ ใหผ้ เู้ รียนลงมือปฏิบตั ิจริง 6. กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนคน้ พบคาตอบดว้ ยตนเอง 7. กิจกรรมการเรียนรู้เพียงพอท่ีจะส่งผลใหบ้ รรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั 8. กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีกาหนดสามารถนาไปปฏิบตั ิการสอนไดจ้ ริง 9. มีส่ือที่สอดคลอ้ งกบั กิจกรรมและเป็ นส่ือท่ีเนน้ กระบวนการคดิ 10. มีการวดั ผลประเมินผลที่สอดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวงั 11. วธิ ีการวดั ผลสอดคลอ้ งกบั กิจกรรมการเรียนรู้ 12. มีการกาหนดเกณฑก์ ารประเมินผลไวอ้ ยา่ งชดั เจนและเหมาะสม รวม ข้อคดิ เหน็ เพม่ิ เตมิ 1. กระบวนการคิดท่ีใช้ คือ……….……………………………………………….………………………………… ……….……………………………………………………………………………..………..........................….. 2. ส่ิงที่ควรปรบั ปรุง คือ……….…………………………………….………………………………………………. ……….……………………………………………………………………………..………..........................….. ผปู้ ระเมิน.............................................

15 แผนการจดั การเรียนรู้ รหสั วชิ า 3201 – 2001 วชิ า การบัญชีช้ันกลาง 1 หน่วยท่ี 2 จานวน 4 ช่ัวโมง ชื่อหน่วยช่ือหน่วย การบนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั เงินสด ชื่อเรื่อง การบนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั เงินสด 1. สาระสาคญั เงินสดจดั เป็นสินทรัพยป์ ระเภทหมุนเวยี น ที่สามารถเปล่ียนมือไดง้ ่าย เพราะเงินสดเป็นสิ่งท่ี ยอมรับกนั โดยทวั่ ไปในการเป็นสื่อกลางในการแลกเปล่ียน และใชช้ าระหน้ีไดง้ ่ายท่ีสุด ดงั น้นั กิจการตอ้ งมี วธิ ีการท่ีจะป้องกนั การทุจริตใหร้ ัดกมุ และมีวธิ ีการบริหารเงินสดใหม้ ีสภาพคล่องท่ีดี 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ บนั ทึกรายการและจดั ทางบการเงินเกี่ยวกบั เงินสดตามมาตรฐานการบญั ชี 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทวั่ ไป สามารถจดั ทางบพสิ ูจน์ยอดเงินฝากธนาคารและงบประมาณเงินสดได้ 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกความหมายของเงินสดได้ 2. ระบุรายการท่ีไม่นบั เป็นเงินสดได้ 3. บอกการควบคุมภายในเก่ียวกบั เงินสดได้ 4. บนั ทึกรายการเกี่ยวกบั เงินสดยอ่ ยได้ 5. ทางบพิสูจนย์ อดเงินฝากธนาคารได้ 6. ทางบประมาณเงินสดได้ 7. มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ่ีผสู้ อน สามารถสงั เกตเห็นได้ ในดา้ นความมีมนุษยสัมพนั ธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผดิ ชอบ ความเช่ือมน่ั ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามคั คี ความกตญั ญูกตเวที 4. การบูรณาการ 1. คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 2. หลกั การประชาธิปไตย ตามใบงานท่ี 2

16 5. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของเงินสด 2. รายการที่ไม่นบั เป็ นเงินสด 3. การควบคุมภายในเกี่ยวกบั เงินสด 4. งบประมาณเงินสด 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูและนกั ศึกษาอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกนั จากประสบการณ์ท่ีเคยศึกษามาและใน ชีวติ ประจาวนั มกั จะเกี่ยวขอ้ งกบั เงินสดอยเู่ สมอ ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั วตั ถุประสงคข์ องแต่ละบุคคล ให้ นกั ศึกษายกตวั อยา่ งรายการบญั ชีที่เป็นเงินสดประกอบ 2. อาจารยแ์ จง้ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั ข้นั สอน 3. ครูอภิปรายเน้ือหาเก่ียวกบั เงินสดเพ่ิมเติมท่ีเคยศึกษามาบา้ งแลว้ ในระดบั ปวช. ซ่ึงเงินสด ถือ เป็นส่วนหน่ึงของสินทรัพย์ ครูแนะนาหลกั ในการคานวณและบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั เงินสดให้ นกั ศึกษาปฏิบตั ิไดถ้ ูกตอ้ ง 4. นกั ศึกษาปฏิบตั ิตามใบงานท่ี 2 หน่วยที่ 2 5. เปิ ดโอกาสใหน้ กั ศึกษาทุกคน แสดงความคิดเห็นโดยการถาม-ตอบ ข้ันสรุปและการประยกุ ต์ 6. ครูและนกั ศึกษาสรุปความรู้เก่ียวกบั เงินสดและสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมาก 7. นกั ศึกษาทาแบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยท่ี 2 7. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนวชิ า การบญั ชีช้นั กลาง 1 (3201-2001) ของสานกั พมิ พเ์ อมพนั ธ์ 2. หนงั สืออ่านประกอบวชิ า การบญั ชีช้นั กลาง 1 ของ ผศ.กอบแกว้ รัตนอุบล มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 3. แบบฟอร์มงบการเงิน 4. ใบงาน

17 8. การวดั ผลและประเมนิ ผล 8.1 เคร่ืองมือวดั 8.1.1 แบบทดสอบหลงั เรียน 8.1.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 8.1.3 แบบประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู) 8.1.4 แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยนกั เรียน) 8.1.5 กิจกรรรมเสนอแนะและกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้ 8.1.6 แบบฝึ กปฏิบตั ิ 8.1.7 แบบประเมินผลการเรียนรู้ 8.1.8 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและ นกั เรียนร่วมกนั ประเมิน 8.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล 8.2.1 เกณฑผ์ า่ นแบบทดสอบหลงั เรียนคือ 50% 8.2.2 เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ีช่องปรับปรุง 8.2.3 เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 8.2.4 เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 8.2.5 ตอบคาถามในกิจกรรรมเสนอแนะและกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้จึงจะถือวา่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน 8.2.6 แบบฝึกปฏิบตั ิ เกณฑผ์ า่ น คือ 50% 8.2.7 แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ 5 ระดบั คือ 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช,้ 2 = ควร ปรับปรุง, 1 = ใชไ้ มไ่ ด้ 8.2.8 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คะแนน ข้ึนกบั การประเมินสภาพจริง 9. งานทม่ี อบหมาย/ภารกจิ ต่อเนื่อง 1. ใหน้ กั ศึกษาจดั ทาแบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 2. ใหน้ กั ศึกษาจดั ทาใบงานที่ 1

18 10. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้ 10.1 ข้อสรุปหลงั การจัดการเรียนรู้ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 10.2 ปัญหาทพ่ี บ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 10.3 แนวทางแก้ปัญหา ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................

19 แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 ตอนท่ี 1 จงเลือกคำตอบทถี่ ูกทส่ี ุดเพยี งคำตอบเดยี ว 1. รายการในขอ้ ใด ไม่นับ เป็ นเงินสด ก. เช็คท่ียงั ไม่นาฝากธนาคาร ข. ดร๊าฟธนาคารกรุงเทพ ค. ธนาณตั ิ ง. แสตมป์ และไปรษณียากร 2. การปฏิบตั ิในขอ้ ใดถือเป็ นการควบคุมภายในเก่ียวกบั เงินสด ก. แบ่งหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบระหวา่ งเจา้ หนา้ ท่ีการเงินและบญั ชี ข. การจ่ายเงินจานวนมาก ควรจา่ ยเป็นเช็ค ค. การับ-จา่ ยเงินจะตอ้ งมีหลกั ฐานทุกคร้ัง ง. ถูกทุกขอ้ 3. ขอ้ ใดแสดงวา่ กิจการมีการควบคุมภายในเกี่ยวกบั การจา่ ยเงินสด ก. รายจา่ ยทุกรายการจา่ ยเป็ นเงินสด ข. รายจา่ ยทุกรายการจา่ ยเป็ นเช็ค ค. รายจ่ายทุกรายการท่ีเป็ นเงินจานวนมากจา่ ยเป็นเช็ค ส่วนค่าใชจ้ ่ายเลก็ นอ้ ยจา่ ยเป็ นเงินสดโดย ต้งั เป็นเงินสดยอ่ ย ง. ถูกทุกขอ้ 4. กิจการแห่งหน่ึงกาหนดวงเงินสดยอ่ ยไวเ้ ดือนละ 5,000 บาท ปรากฏวา่ วนั สิ้นเดือนมีเงินสดยอ่ ยเหลือ 1,500 บาท แสดงวา่ รายจา่ ยที่ผรู้ ักษาเงินสดยอ่ ยจ่ายไปคือขอ้ ใด ก. 1,500 บาท ข. 3,500 บาท ค. 5,000 บาท ง. 6,500 บาท 5. จากขอ้ 4 จานวนเงินที่ผรู้ ักษาเงินสดยอ่ ยตอ้ งเบิกชดเชยคือขอ้ ใด ก. 1,500 บาท ข. 3,500 บาท ค. 5,000 บาท ง. 6,500 บาท 6. งบพิสูจนย์ อดเงินฝากธนาคารจดั ทาข้ึนเพื่ออะไร ก. พิสูจนค์ วามถูกตอ้ งของเงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวนั ข. พิสูจนค์ วามถูกตอ้ งของเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ ค. พิสูจนค์ วามถูกตอ้ งของเงินฝากธนาคารประเภทประจา ง. พสิ ูจน์ความถูกตอ้ งของเงินฝากธนาคารประเภทเดินสะพดั

20 7. เงินฝากระหวา่ งทาง หมายถึงขอ้ ใด ก. เงินที่เจา้ หนา้ ท่ีการเงินทาหล่นระหวา่ งทาง ข. เงินที่นาไปฝากธนาคารแลว้ เจา้ หนา้ ท่ีธนาคารนาไปใชก้ ่อน ค. เงินท่ีนาไปฝากธนาคารแลว้ ธนาคารปิ ดทาการก่อนและรับเขา้ บญั ชีวนั รุ่งข้ึน ง. เงินที่นาไปฝากธนาคารแลว้ เจา้ หนา้ ท่ีธนาคารยงั ไม่บนั ทึกรับเน่ืองจากลืม 8. เช็คคืน หมายถึงขอ้ ใด ก. เช็คท่ีจา่ ยใหผ้ อู้ ื่นไปแลว้ บุคคลน้นั นากลบั มาคืนกิจการ ข. เช็คท่ีกิจการทาหายแลว้ มีคนเกบ็ มาคืน ค. เช็คที่กิจการจา่ ยไปแลว้ แต่ผรู้ ับไม่สามารถข้ึนเงินได้ ง. เช็คท่ีจา่ ยไปแลว้ ผรู้ ับยงั ไม่นาไปข้ึนเงิน 9. เช็คคา้ งจ่ายหมายถึงขอ้ ใด ก. เช็คที่กิจการสัง่ จา่ ยและบนั ทึกบญั ชีแลว้ แตผ่ รู้ ับยงั ไม่นาไปข้ึนเงิน ข. เช็คที่ผรู้ ับไม่สามารถเบิกเงินจากธนาคารได้ ค. เช็คท่ีธนาคารคืนใหก้ ิจการ ง. เช็คท่ีกิจการยงั ไมไ่ ดจ้ ่ายใหบ้ ุคคลภายนอก 10. ขอ้ ใดคือประโยชนข์ องงบประมาณเงินสด (Cash Budget) ก. เป็นเคร่ืองมือทางการเงิน ข. เป็นเคร่ืองมือในการวางแผนการผลิต ค. เป็นเครื่องมือในการวางแผนการสงั่ ซ้ือ ง. เป็นเคร่ืองมือในการวางแผนควบคุมเงินสด

21 ใบงานท่ี 1 หน่วยที่ 2 เร่ือง การบนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั เงินสด จุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของเงินสดได้ 2. ระบุรายการท่ีไม่นบั เป็นเงินสดได้ 3. บอกการควบคุมภายในเก่ียวกบั เงินสดได้ 4. บนั ทึกรายการเกี่ยวกบั เงินสดยอ่ ยได้ 5. ทางบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารได้ 6. ทางบประมาณเงินสดได้ 7. มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ่ีผสู้ อนสามารถ สงั เกตเห็นได้ ในดา้ นความมีมนุษยสมั พนั ธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผดิ ชอบ ความเชื่อมนั่ ใน ตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามคั คี ความกตญั ญูกตเวที กจิ กรรมการเรียน 1. ใหน้ กั ศึกษาอธิบายหวั ขอ้ ต่อไปน้ี (10 คะแนน) 1. อธิบายความหมายของเงินสดตามมาตรฐานการบญั ชี 2. ใหบ้ อกวธิ ีการควบคุมภายในเกี่ยวกบั เงินสดตามความเขา้ ใจ 3. เงินสดยอ่ ยหมายถึงอะไรและวธิ ีท่ีไดร้ ับการนิยมคือวธิ ีใด 4. บอกประโยชนข์ องการจดั ทางบพิสูจนย์ อดเงินฝากธนาคาร 5. งบประมาณเงินสดหมายถึงอะไรและมีประโยชน์อยา่ งไร 2. ประเมินกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้ ตามพฤติกรรมบ่งช้ีที่ปรากฎจากกิจกรรมการเรียนที่ นกั ศึกษาไดล้ งมือปฏิบตั ิตามแบบ

22 แบบประเมนิ กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้ คาชีแ้ จง : ใหป้ ระเมินรายการแต่ละขอ้ แลว้ เขียน เครื่องหมาย  ลงในช่องระดบั คุณภาพตามความเป็ นจริง โดย กาหนดน้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช,้ 2 = ควรปรับปรุง, 1 = ใชไ้ ม่ได้ รายการประเมนิ พฤตกิ รรมบ่งชี้ ระดบั คุณภาพ 54321 1. การมีมนุษยสมั พนั ธ์  สุภาพ เรียบร้อยอ่อนนอ้ มถ่อมตน  รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน 2.ความมีวนิ ยั  ตรงตอ่ เวลา  ประพฤติตนถกู ตอ้ งตามศีลธรรมอนั ดีงาม 3. ความรับผิดชอบ  ปฏิบตั ิงานท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด  ปฏิบตั ิงานดว้ ยความละเอียดรอบคอบ 4. ความซ่ือสตั ยส์ ุจริต  ไม่ลอกเลียนงานของผอู้ ื่น  มีความซื่อสตั ย์ 5. ความสนใจใฝ่ รู้  ศึกษาคน้ ควา้ มาตรฐานการบญั ชี  แสวงหาประสบการณ์และความรู้ใหมๆ่ 6. ความเชื่อมน่ั ในตนเอง  ยอมรับฟังขอ้ เสนอแนะจากผอู้ ่ืน  แสดงความคิดเห็นในการบนั ทึกรายการบญั ชี รวมคะแนนทไี่ ด้.......................................คะแนน ข้อคดิ เหน็ เพม่ิ เตมิ 1. กระบวนการคิดที่ใช้ คือ……….…………………………………….………………………………………….. 2. ส่ิงที่ควรปรับปรุง คือ……….…………………………………….………………………………………………. ผปู้ ระเมนิ ...................................... เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก 28-30 คะแนน = ดี 25-27 คะแนน = พอใช้ 20-24 คะแนน = ควรปรับปรุง 15-19 คะแนน = ใชไ้ ม่ได้ 0-14 คะแนน =

23 ใบงานท่ี 2 หน่วยที่ 1 หัวข้อเรื่องศึกษาค้นคว้า 1. การจดั ทางบพสิ ูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร 2. การอ่านและอภิปรายงบพิสูจนย์ อดเงินฝากธนาคาร ข้นั ตอนการปฏบิ ัติงาน 1. แบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 คน โดยวธิ ีร่วมแรงร่วมใจ (Co- operative Learning) 2. แตล่ ะกลุ่มเลือกหวั หนา้ กลุ่ม 3. ครูมอบหมายให้นกั ศึกษาส่งตวั แทนจบั สลากเลือกยอดเงินฝากธนาคารท่ีครูจดั หามา 4. แต่ละกลุ่มร่วมกนั ระดมความคิด วเิ คราะห์ จดั ทางบพสิ ูจน์ยอดเงินฝากธนาคารและจดบนั ทึก ประเด็นสาคญั 5. แตล่ ะกลุ่มเลือกตวั แทนโดยใชห้ ลกั การประชาธิปไตยนาเสนอหนา้ ช้นั เรียนโดยครูเป็ นผู้ กาหนดเวลาใหเ้ หมาะสม 6. ผเู้ รียนแตล่ ะกลุ่มประเมินตนเองและประเมินกลุ่มอื่น 7. ครูประเมินผล นาคะแนนมาเฉลี่ยและสรุปคะแนนในแบบประเมินผล พร้อมเสนอแนะและ ใหข้ อ้ คิดเห็น

24 แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานกล่มุ กลุ่มท่ี..................... ระดบั คณุ ภาพ 54321 ข้อ พฤตกิ รรมบ่งชี้ รวม 1 ความร่วมมือในการทางาน รวมคะแนน 2 วธิ ีการนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน 3 การใชส้ ่ือและอปุ กรณ์นาเสนอ 4 ความชดั เจนของเน้ือหาท่ีนาเสนอ 5 เวลาท่ีใชใ้ นการนาเสนอ ลงช่ือ.................................................ผปู้ ระเมิน เกณฑก์ ารประเมิน 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = พอใช้ 2 = ควรปรับปรุง 1 = ใชไ้ ม่ได้ เกณฑผ์ า่ นกิจกรรมกลุ่ม ไดค้ ะแนน 20-25 อยใู่ นระดบั ดีมาก ไดค้ ะแนน 15-19 อยใู่ นระดบั ดี ไดค้ ะแนน 12-14 อยใู่ นระดบั พอใช้ ไดต้ ่ากวา่ 11 อยใู่ นระดบั ปรับปรุง

25 แบบประเมนิ กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้ คาชี้แจง : ใหป้ ระเมินรายการแต่ละขอ้ แลว้ เขียน เคร่ืองหมาย  ลงในช่องระดบั คุณภาพตามความเป็น จริง โดยกาหนดน้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช,้ 2 = ควรปรับปรุง, 1 = ใชไ้ มไ่ ด้ รายการประเมนิ พฤตกิ รรมบ่งชี้ ระดบั คุณภาพ 1. การมีมนุษยสมั พนั ธ์ 54321 2.ความมีวนิ ยั  แสดงกริยาท่าทางสุภาพต่อผอู้ ่ืน 3. ความรับผิดชอบ  รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น 4. ความซื่อสตั ยส์ ุจริต  ตรงต่อเวลาในการทางาน 5. ความสนใจใฝ่ รู้  ประพฤติตนถกู ตอ้ งตามศีลธรรมอนั ดีงาม 6. ความเชื่อมนั่ ในตนเอง  ปฏิบตั งิ านท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด  ปฏิบตั ิงานดว้ ยความละเอียดรอบคอบ  ไม่นาผลงานผอู้ ื่นมาแอบอา้ งเป็ นของตนเอง  พดู ในส่ิงที่เป็ นความจริง  ศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง  แสวงหาประสบการณ์และความรู้ใหมๆ่  กลา้ แสดงความคิดเห็นอยา่ งมเี หตผุ ล  กลา้ ทกั ทว้ งในสิ่งท่ีไมถ่ ูกตอ้ ง รวมคะแนนทไ่ี ด้.......................................คะแนน ข้อคดิ เหน็ เพมิ่ เตมิ 1. กระบวนการคิดท่ีใช้ คือ……….…………………………………….…………………………………………. 2. สิ่งท่ีควรปรบั ปรุงคือ……….…………………………………….………………………………………………. ประเมิน....................................... เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 28-30 คะแนน = ดี 25-27 คะแนน = พอใช้ 20-24 คะแนน = ควรปรับปรุง 15-19 คะแนน = ใชไ้ มไ่ ด้ 0-14 คะแนน =

26 แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ คาชี้แจง : ใหป้ ระเมินรายการแต่ละขอ้ แลว้ เขียน เครื่องหมาย / ลงในช่องระดบั คุณภาพตามความเป็ นจริง โดยกาหนด น้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช,้ 2 = ควรปรับปรุง, 1 = ใชไ้ มไ่ ด้ รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ 5432 1 1. ผลการเรียนที่คาดหวงั มีความชดั เจน ครอบคลมุ พฤติกรรมทุกดา้ น 2. เน้ือหาสาระมีความถูกตอ้ ง ครอบคลมุ และชดั เจน 3. กิจกรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั 4. กิจกรรมการเรียนรู้มีความหลากหลาย น่าสนใจและเนน้ กระบวนการคิด การฟัง การพดู การอ่าน การดูและการเขียน 5. กิจกรรมการเรียนรู้เนน้ ใหผ้ เู้ รียนลงมือปฏิบตั ิจริง 6. กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนคน้ พบคาตอบดว้ ยตนเอง 7. กิจกรรมการเรียนรู้เพยี งพอที่จะส่งผลใหบ้ รรลุผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั 8. กิจกรรมการเรียนรู้ที่กาหนดสามารถนาไปปฏิบตั ิการสอนไดจ้ ริง 9. มีสื่อที่สอดคลอ้ งกบั กิจกรรมและเป็ นส่ือที่เนน้ กระบวนการคดิ 10. มีการวดั ผลประเมนิ ผลที่สอดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวงั 11. วธิ ีการวดั ผลสอดคลอ้ งกบั กิจกรรมการเรียนรู้ 12. มีการกาหนดเกณฑก์ ารประเมินผลไวอ้ ยา่ งชดั เจนและเหมาะสม รวม ข้อคดิ เห็นเพมิ่ เตมิ 1. กระบวนการคิดท่ีใช้ คือ……….……………………………………………….………………………………… ……….……………………………………………………………………………..………..........................….. 2. สิ่งที่ควรปรบั ปรุง คือ……….…………………………………….………………………………………………. ……….……………………………………………………………………………..………..........................….. ผปู้ ระเมิน.............................................

27 แผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 4 ชั่วโมง รหสั วชิ า 3201 – 2001 วชิ า การบัญชีช้ันกลาง 1 หน่วยที่ 2 ช่ือหน่วยช่ือหน่วย การบนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั เงินสด ช่ือเรื่อง บญั ชีครัวเรือนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 1. สาระสาคญั เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาท่ีช้ีถึงแนวทางการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนทุกระดบั ใหด้ าเนินไปในทางสายกลาง เพื่อใหท้ นั ต่อโลกยคุ โลกาภิวฒั น์ ภายใตภ้ าวการณ์ปัจจุบนั ซ่ึงหลาย หน่วยงานท้งั ภาครัฐและเอกชน ไดน้ อ้ มนาหลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชเ้ ป็นแนวทางในการ แกป้ ัญหาและประสบความสาเร็จเป็นรูปธรรมมากข้ึน เพ่ือส่งเสริมความรู้ความเขา้ ใจในหลกั ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาหลกั แนวคิด หลกั ปฏิบตั ิเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการสู่การเรียนการ สอนในวชิ าบญั ชีไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ชดั เจน และเป็นรูปธรรม 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ บนั ทึกรายการและจดั ทางบการเงินเกี่ยวกบั เงินสดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทวั่ ไป นกั ศึกษาสามารถนาหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. อธิบายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้ 2. อธิบายและจดั ทาบญั ชีครัวเรือนได้ 3. นาหลกั และแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ 4. นาหลกั การบญั ชีครัวเรือนมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดารงชีวติ 5. มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคท์ ่ีผสู้ อน สามารถสังเกตเห็นได้ ในดา้ นความมีมนุษยสมั พนั ธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผดิ ชอบ ความเช่ือมนั่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามคั คี ความกตญั ญูกตเวที

28 4. การบูรณาการ ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไดแ้ บง่ การบูรณาการเป็น 2 รูปแบบ คือ การบูรณาการ ภายในเน้ือหาวชิ า/สาขาวชิ าบญั ชี และบูรณาการกบั ตา่ งสาขาวชิ า การบูรณาการภายในเน้ือหาวิชา/สาขาวิชาบญั ชี 1. ครูมอบหมายงานตามแบบฝึกปฏิบตั ิท่ี 1 เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษาฝึกการทาบญั ชีครัวเรือนตามแนว เศรษฐกิจพอเพยี ง 2. นกั ศึกษาใชค้ วามรู้เก่ียวกบั บญั ชีเบ้ืองตน้ 1 และบญั ชีเบ้ืองตน้ 2 ในการวเิ คราะห์รายการและ บนั ทึกบญั ชีตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการต่างสาขาวิชา 1. นกั ศึกษาใชห้ ลกั วชิ าคณิตศาสตร์เบ้ืองตน้ ในการบวกและลบเลข การต้งั ตวั เลขให้ตรงหลกั 2. นกั ศึกษาใชห้ ลกั วชิ าโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ ในการนาเสนอผลงาน 5. สาระการเรียนรู้ 1. หลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. การนาหลกั การบญั ชีมาประยกุ ตใ์ ชก้ บั เศรษฐกิจพอเพียง 4. การจดั ทาบญั ชีครัวเรือน 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูนานกั ศึกษาร่วมกนั อภิปรายถึงความหมายของคาวา่ เศรษฐกิจพอเพยี ง โดยใหน้ กั ศึกษา อภิปรายถึงการนาหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งมาปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั จากน้นั ครูสรุปเพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจ 2. แจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ใหผ้ เู้ รียนทราบ ข้นั สอน 3. แบ่งกลุ่มผเู้ รียนออกเป็ นกลุ่ม ๆ ละ 4-5 คน โดยแต่ละกลุ่ม มีผเู้ รียนที่มีความสามารถ แตกตา่ งกนั 4. ตวั แทนกลุ่มรับใบความรู้ เร่ือง บญั ชีครัวเรือนตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง ไปแจกเพอ่ื น 5. ผเู้ รียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ศึกษาใบความรู้ เรื่อง บญั ชีครัวเรือนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ภายในเวลาท่ีกาหนด

29 6. ผเู้ รียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั สรุปความรู้ที่ได้ บนั ทึกลงในใบกิจกรรมของผเู้ รียน 7. ผสู้ อนอธิบายเพิ่มเติมเก่ียวกบั การทาบญั ชีครัวเรือนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยต้งั คาถาม ประกอบใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียน 8. ผเู้ รียนทุกคนทาแบบฝึกปฏิบตั ิที่ 1 ตามสภาพความเป็ นจริงของครัวเรือน 9. ผเู้ รียนทุกคนส่งแบบฝึกปฏิบตั ิ 10. ตวั แทนแตล่ ะกลุ่มรับแบบประเมินสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม นามาประเมินกลุ่ม ของตนเองและกลุ่มเพอ่ื น ข้ันสรุป 11. ตวั แทนแตล่ ะกลุ่มนาแบบฝึกปฏิบตั ิออกมานาเสนอหนา้ ช้นั เรียน 12. ผสู้ อนและผเู้ รียนช่วยกนั สรุปการทาบญั ชีรายรับ-รายจ่ายของครัวเรือน 7. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรื่อง บญั ชีครัวเรือนตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ใบกิจกรรม 3. แบบฝึกปฏิบตั ิที่ 1 8. การวดั ผลและประเมนิ ผล 8.1 เคร่ืองมือวดั 8.1.1 แบบฝึกปฏิบตั ิ 8.1.2 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 8.1.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 8.1.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและ นกั เรียนร่วมกนั ประเมิน 8.2 เกณฑ์การประเมนิ ผล 8.2.1 ผเู้ รียนไดค้ ะแนนแบบฝึกปฏิบตั ิไม่นอ้ ยกวา่ 60% 8.2.2 ผเู้ รียนไดค้ ะแนนสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคลไมน่ อ้ ยกวา่ 60% 8.2.3 ผเู้ รียนไดค้ ะแนนสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่มไม่นอ้ ยกวา่ 60% 8.2.4 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนน ข้ึนกบั การประเมินสภาพจริง 9. งานทมี่ อบหมาย/ภารกจิ ต่อเนื่อง ใบงานท่ี 1 หน่วยท่ี 2

30 10. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้ 10.1 ข้อสรุปหลงั การจัดการเรียนรู้ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 10.2 ปัญหาทพี่ บ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 10.3 แนวทางแก้ปัญหา ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................

31 ใบความรู้ เวลา 4 ชั่วโมง วชิ า การบญั ชีช้ันกลาง 1 เรื่อง บัญชีครัวเรือนตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั 1. นาหลกั และแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชไ้ ด้ 2. อธิบายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. นาหลกั การบญั ชีมาประยกุ ตใ์ ชก้ บั เศรษฐกิจพอเพียงได้ 4. อธิบายการทาบญั ชีครัวเรือนได้ เนื้อหา หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การพฒั นาตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง คือ การพฒั นาที่ต้งั อยบู่ นพ้นื ฐานของทางสายกลางและ ความไมป่ ระมาณโดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การสร้างภูมิคุ้มกนั ทดี่ ีในตวั ตลอดจนใชค้ วามรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผนการตดั สินใจและการกระทา ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมีหลกั พจิ ารณาอยู่ 5 ส่วน ดังนี้ 1. กรอบแนวคดิ เป็นปรัชญาที่ช้ีแนะแนวทางการดารงอยแู่ ละปฏิบตั ิตนในทางท่ีควรจะเป็น โดยมีพ้นื ฐานมาจากวถิ ีชีวติ ด้งั เดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยกุ ตใ์ ชไ้ ดต้ ลอดเวลา และเป็นการ มองโลกในเชิงระบบท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา มุ่งเนน้ การรอดพน้ จากภยั และวกิ ฤตเพอ่ื ความ มน่ั คงและความยงั่ ยนื ของการพฒั นา 2. คุณลกั ษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การปฏิบตั ิตนไดใ้ นทุกระดบั โดยเนน้ การปฏิบตั ิบนทางสายกลาง และการพฒั นาอยา่ งเป็นข้นั ตอน 3. คานิยาม ความพอเพียงจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 คุณลกั ษณะ พร้อม ๆ กนั ดงั น้ี  ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ท่ีไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไป โดย ไม่เบียดเบียนตนเองและผอู้ ่ืน เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยใู่ นระดบั พอประมาณ  ความมีเหตุผล หมายถึง การตดั สินใจเกี่ยวกบั ระดบั ของความพอเพยี งน้นั จะตอ้ ง เป็นไปอยา่ งมีเหตุผล โดยพจิ ารณาจากเหตุปัจจยั ที่เก่ียวขอ้ งตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนจาก การกระทาน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ

32  การมภี ูมิคุ้มกนั ทดี่ ใี นตวั หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการ เปล่ียนแปลงดา้ นต่าง ๆ ที่จะเกิดข้ึนโดยคานึงถึงความเป็ นไปไดข้ องสถานการณ์ตา่ ง ๆ ที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล 4. เงื่อนไข การตดั สินใจและการดาเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพียงน้นั ตอ้ ง อาศยั ท้งั ความรู้และคุณธรรมเป็นพ้ีนฐาน กล่าวคือ  เง่ือนไขความรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เก่ียวกบั วชิ าการต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง อยา่ งรอบดา้ นความรอบคอบท่ีจะนาความรู้เหล่าน้นั มาพิจารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั เพื่อประกอบการ วางแผน และความระมดั ระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ  เง่ือนไขคุณธรรม ท่ีจะตอ้ งเสริมสร้างประกอบดว้ ยมีความตระหนกั ในคุณธรรม มีความซ่ือสัตย์ และมีความอดทน มีความเพยี รใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวติ 5. แนวทางปฏิบตั ิ / ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยกุ ตใ์ ช้ คือ การพฒั นาที่สมดุลและยง่ั ยนื พร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลงในทุกดา้ นท้งั ดา้ น เศรษฐกิจ สังคมส่ิงแวดลอ้ ม ความรู้และเทคโนโลยี หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของในหลวง (Sufficiency Economy)

33 การนาหลกั การบัญชีมาประยกุ ต์ใช้กบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง การนาหลกั การบญั ชีมาประยุกตใ์ ชน้ ้นั ตอ้ งยอมรับวา่ ไม่ใช่เร่ืองง่ายนกั เพราะหลกั การบญั ชี มีรายละเอียดบางประการท่ีสลบั ซบั ซอ้ นพอสมควร อีกท้งั มีศพั ทท์ างเทคนิคที่ทาใหแ้ มแ้ ตน่ กั การบญั ชี เองก็ตอ้ งวเิ คราะห์อยา่ งละเอียดรอบคอบ ในธุรกิจปัจจุบนั น้ี ยอมรับกนั วา่ “การบญั ชี” น้นั มี ความสาคญั และเป็นงานส่วนหน่ึงท่ีสนบั สนุนการกา้ วไปขา้ งหนา้ ของธุรกิจ อยา่ งไรกต็ าม ในกิจการคา้ ร้านคา้ ขนาดเลก็ การให้ความสาคญั กบั การบญั ชีในปัจจุบนั ดูเหมือนจะยงั มีนอ้ ย และจะมองขา้ ม ทาใหไ้ มม่ ีการจดั กาบุคลากรท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั “การบญั ชี” มาดูแล และจดั ทาบญั ชีอยา่ งเป็นระบบ อาศยั เพยี งพนกั งานธุรการซ่ึงมีความรู้เก่ียวกบั เอกสารอยู่ บา้ งมาช่วยทา ซ่ึงผลที่ไดก้ อ็ าจไดร้ ับขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ งบา้ งหรือมีขอ้ ผดิ พลาดบา้ ง แมบ้ างกิจการจะให้ ความสาคญั กบั “การบญั ชี” และพยายามหาคนมาจดั การงานดา้ นน้ีอยบู่ า้ งแตก่ ็ไม่ประสบความสาเร็จ เจา้ ของกิจการควรจะเริ่มตน้ จดั การกบั “การบญั ชี” ใหม้ ีส่วนในการบริหารธุรกิจของตนเอง และใชป้ ระโยชน์จาก “การบญั ชี” เพอื่ เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารใหม้ ากกวา่ ท่ีเป็นอยู่ หลายคนพยายามท่ีจะเช่ือมโยงหลกั การบญั ชีท่ีมีความซบั ซอ้ น และยงุ่ ยาก โดยเฉพาะ บุคคลท่ีไมม่ ีพ้ืนความรู้เรื่อง “การบญั ชี” ใหพ้ อเขา้ ใจแนวความคิดและหลกั เกณฑข์ ้นั พ้ืนฐานของ การบญั ชี ซ่ึงหวงั วา่ จะนาไปสู่การผลกั ดนั ใหม้ ีการสร้างระบบบญั ชีที่ดีและเป็นประโยชน์สาหรับ กิจการในทุกระดบั “แตก่ ่อนน้ี มีเงินเทา่ ไหร่ ลงขวดหมด พอเริ่มจดบญั ชี ก็เลิกเหลา้ แลว้ เมียผม กซ็ ้ือทุกอยา่ งท่ีขวางหนา้ พอเร่ิมจดบญั ชี ก็เลิก แต่ก่อนน้ี ใชแ้ ตป่ ๋ ุยเคมี พอเร่ิมจด กใ็ ชป้ ๋ ุยชีวภาพ เพราะทาบญั ชี ผมก็เลยเห็นวา่ มีรายรับเท่าไร จะตดั รายจา่ ยฟ่ ุมเฟื อย ตรงไหนเลยมีเงินเหลือเก็บ เชื่อผมเถอะ จดแลว้ ไมจ่ น” จากโฆษณาดงั กล่าวทาใหท้ ราบวา่ การจดบญั ชีสามารถทาใหค้ นเราเลิกพฤติกรรมการ บริโภคท่ีไม่มีประโยชน์หลายอยา่ งไดจ้ ริงหรือไม่ ซ่ึงไมอ่ าจจะพสิ ูจนไ์ ดแ้ น่ชดั แต่อยา่ งนอ้ ยท่ีสุดก็ ทาใหท้ ราบวา่ “การจดบญั ชี” จะช่วยใหท้ ราบวา่ มีรายไดม้ ากนอ้ ยแคไ่ หน สามารถลดค่าใชจ้ ่าย รายการใดออกไดบ้ า้ ง “การจดบญั ชี” นาจะเป็นส่ิงที่ทาใหส้ ร้างสมดุลระหวา่ งรายได้ และค่าใชจ้ ่าย ใหเ้ หมาะสมกบั ฐานะการเงินเฉพาะตวั ไดด้ ีข้ึน ดงั น้นั คาวา่ “จดแลว้ ไมจ่ น” ก็น่าจะพอพิสูจน์ไดบ้ า้ ง

34 ไม่มากก็นอ้ ย ส่ิงท่ีทุกคนสงสยั ก็ คือ การทาบญั ชีครัวเรือนน้นั เขาทากนั อยา่ งไร มีความแตกตา่ งหรือ เหมือนกบั การทาบญั ชีของกิจการเจา้ ของคนเดียว หา้ งหุ้นส่วนหรือบริษทั หรือไม่การทาบญั ชี ครัวเรือน เป็ นการทาบญั ชีแบบง่ายท่ีสุด ซ่ึงสามารถทาไดท้ ุกคนโดยการแบ่งรายรับ (รายได)้ และ รายจ่าย (ค่าใชจ้ า่ ย) ออกจากกนั ซ่ึงตวั อยา่ งของรายรับ ไดแ้ ก่ รายรับจากเงินเดือน หรือค่าจา้ ง ผลตอบแทนท่ีไดร้ ับจากการทางาน เงินท่ีไดจ้ ากการขายสินคา้ หรือทรัพยส์ ิน เป็นตน้ ส่วนรายจ่าย ไดแ้ ก่ คา่ ใชจ้ ่ายในการอุปโภคหรือบริโภค คา่ น้าคา่ ไฟ คา่ ซ่อมแซม ค่าอาหาร เป็ นตน้ การจัดทาบญั ชีครัวเรือนมีข้ันตอน ดงั นี้ 1. แยกรายไดแ้ ละรายจา่ ยแต่ละประเภท โดยใชส้ มุดบญั ชีบนั ทึกหรือจดรายการท่ีเกิดข้ึน 2. กาหนดรหสั ประเภทของรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ย เพอื่ ใชส้ รุปประเภทของรายไดแ้ ละค่าใชจ้ า่ ย 3. นาเงินสด / เงินลงทุนเป็นตวั ต้งั แลว้ นารายไดม้ าบวกแลว้ หกั ค่าใชจ้ า่ ยและแสดงยอด คงเหลือ 4. นารายการท่ีเป็ นบญั ชีประเภทเดียวกนั รวมยอดเขา้ ดว้ ยกนั แลว้ แยกสรุปไวต้ า่ งหาก โดยอาจสรุปยอดตามตอ้ งการ เช่น รายวนั รายสปั ดาห์ รายเดือน เป็ นตน้ ในการจดั ทารูปแบบ หรือแบบฟอร์มของบญั ชีครัวเรือนน้นั ไม่มีรูปแบบท่ีเป็นทางการ แน่นอนข้ึนอยกู่ บั แตล่ ะกิจการ หรือแตล่ ะบุคคลจะออกแบบฟอร์มน้นั ๆ เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกบั กิจการ หรือตนเอง ดงั น้นั จึงสังเกตเห็นไดว้ า่ ในปัจจุบนั น้ี รูปแบบของบญั ชีครัวเรือนมีหลากหลาย แต่ ท้งั น้ีใหย้ ดึ หลกั สาระสาคญั ของรายละเอียดหรือขอ้ ความหที่ตอ้ งการในแบบฟอร์มน้นั ๆ จึงสอดคลอ้ ง กบั หลกั การของแมบ่ ทบญั ชีที่กล่าววา่ “เนื้อหาสาระสาคัญกว่ารูปแบบ”

35 ตวั อย่าง สมดุ บัญชีบันทกึ รายการรับ – จ่าย สมุดบนั ทกึ การรับ-จ่าย ของนายสมบัติ เจริญรุ่งเรือง วนั ที่ 1-31 มกราคม พ.ศ. 2552 รหสั รายรับ รายจ่าย คงเหลือ บาท สต. ว.ด.ป. รายการ บญั ชี บาท สต. บาท สต. 1,500 - มกราคม 5,500 - 5,000 - 1,850 - 3,500 - 1 เงินลงทุนเริ่มแรก 101 5,000 - (2,000) - 320 - (3,850) - 2 คา่ เดินทาง 501 280 - 1,350 - 4,500 - 5,550 - 2-31 ค่าอาหาร 502 5,230 - 13,950 - 4,950 - 15 คา่ เส้ือผา้ 503 450 - 15,450 - 16 ขายวสั ดุสิ้นเปลือง 401 5,200 - 15,450 - 15,450 - 18 รายไดค้ า่ นายหนา้ 402 4,200 - 25 คา่ ธรรมเนียมทางด่วน 504 28 คา่ รับรอง 505 30 คา่ การศึกษาบุตร 506 31 รายไดจ้ ากเงินเดือน 403 15,000 - รวม 29,400 - รายไดม้ ากกวา่ ค่าใชจ้ ่าย หมายเหตุ ในการทาแบบฟอร์มหรือรูปแบบสมุดบนั ทึกบญั ชีครัวเรือน ไมไ่ ดก้ าหนดไวเ้ ป็นทางการ สามารถดดั แปรงรูปแบบไดต้ ามความตอ้ งการ

36 แบบฝึ กปฏิบตั ทิ ี่ 1 เร่ือง บัญชีครัวเรือนตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงั อธิบายและบนั ทึกรายรับและรายจ่ายในครัวเรือนได้ กจิ กรรมปฏบิ ัติ 1. ใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลุ่ม ๆ ละ 3 คน 2. ฝึกการทาบญั ชีครัวเรือนเดือนมิถุนายน 2552 จากรายการท่ีครูเตรียมมา โดยบนั ทึกลงใน ตารางที่กาหนดให้ สมุดบันทกึ การรับ-จ่ายในครัวเรือน ของนาย / นาง / นางสาว............................................... ประจาเดือน.....................................พ.ศ. ........... รายรับ รายจ่าย คงเหลือ ว.ด.ป. รายการ บาท สต. บาท สต. บาท สต.

37 แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานกล่มุ กลุ่มท่ี..................... ระดบั คณุ ภาพ 54321 ข้อ พฤตกิ รรมบ่งชี้ รวม 1 ความร่วมมือในการทางาน รวมคะแนน 2 วธิ ีการนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน 3 การใชส้ ่ือและอปุ กรณ์นาเสนอ 4 ความชดั เจนของเน้ือหาท่ีนาเสนอ 5 เวลาท่ีใชใ้ นการนาเสนอ ลงช่ือ.................................................ผปู้ ระเมิน เกณฑก์ ารประเมิน 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = พอใช้ 2 = ควรปรับปรุง 1 = ใชไ้ ม่ได้ เกณฑผ์ า่ นกิจกรรมกลุ่ม ไดค้ ะแนน 20-25 อยใู่ นระดบั ดีมาก ไดค้ ะแนน 15-19 อยใู่ นระดบั ดี ไดค้ ะแนน 12-14 อยใู่ นระดบั พอใช้ ไดต้ ่ากวา่ 11 อยใู่ นระดบั ปรับปรุง

38 ใบงานท่ี 1 หน่วยที่ 2 หวั ข้อเร่ืองศึกษาค้นคว้า บัญชีครัวเรือนตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั อธิบายและบนั ทึกรายรับและรายจ่ายในครัวเรือนได้ กจิ กรรมปฏบิ ัติ 1. ใหน้ กั ศึกษาจดั ทาบญั ชีครัวเรือนจากการใชจ้ ่ายในครอบครัวของนกั ศึกษาเอง 2. จดั ทาบญั ชีครัวเรือนเดือนมิถุนายน ถึง กนั ยายน 2552 เพื่อทราบรายรับ-รายจา่ ยท่ีเกิดข้ึนใน ครอบครัวของผเู้ รียน 3. สรุปวเิ คราะห์รายรับ เปรียบเทียบรายจา่ ย 4. วจิ ารณ์รายจา่ ยที่ไมจ่ าเป็ นในครัวเรือน 5. กาหนดแนวทางแกไ้ ข 6. กาหนดส่งงานสิ้นเดือน กนั ยายน 2552

39 แบบประเมนิ กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้ คาชี้แจง : ใหป้ ระเมินรายการแต่ละขอ้ แลว้ เขียน เคร่ืองหมาย  ลงในช่องระดบั คุณภาพตามความเป็น จริง โดยกาหนดน้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช,้ 2 = ควรปรับปรุง, 1 = ใชไ้ ม่ได้ รายการประเมนิ พฤตกิ รรมบ่งชี้ ระดบั คุณภาพ 1. การมีมนุษยสมั พนั ธ์ 54321 2.ความมีวนิ ยั  แสดงกริยาท่าทางสุภาพตอ่ ผอู้ ่ืน 3. ความรับผิดชอบ  รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน 4. ความซ่ือสตั ยส์ ุจริต  ตรงตอ่ เวลาในการทางาน 5. ความสนใจใฝ่ รู้  ประพฤติตนถูกตอ้ งตามศีลธรรมอนั ดีงาม 6. ความเชื่อมน่ั ในตนเอง  ปฏิบตั ิงานท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด  ปฏิบตั งิ านดว้ ยความละเอียดรอบคอบ  ไมน่ าผลงานผอู้ ื่นมาแอบอา้ งเป็ นของตนเอง  พดู ในส่ิงที่เป็ นความจริง  ศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง  แสวงหาประสบการณ์และความรู้ใหมๆ่  กลา้ แสดงความคิดเห็นอยา่ งมเี หตผุ ล  กลา้ ทกั ทว้ งในส่ิงที่ไมถ่ ูกตอ้ ง รวมคะแนนทไ่ี ด้.......................................คะแนน ข้อคดิ เหน็ เพม่ิ เตมิ 1. กระบวนการคิดที่ใช้ คือ……….…………………………………….…………………………………………. 2. สิ่งท่ีควรปรบั ปรุงคือ……….…………………………………….………………………………………………. ประเมนิ ....................................... เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก 28-30 คะแนน = ดี 25-27 คะแนน = พอใช้ 20-24 คะแนน = ควรปรับปรุง 15-19 คะแนน = ใชไ้ ม่ได้ 0-14 คะแนน =

40 แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ คาชี้แจง : ใหป้ ระเมินรายการแต่ละขอ้ แลว้ เขียน เครื่องหมาย / ลงในช่องระดบั คุณภาพตามความเป็ นจริง โดยกาหนด น้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช,้ 2 = ควรปรับปรุง, 1 = ใชไ้ มไ่ ด้ รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ 5432 1 1. ผลการเรียนที่คาดหวงั มีความชดั เจน ครอบคลมุ พฤติกรรมทุกดา้ น 2. เน้ือหาสาระมีความถูกตอ้ ง ครอบคลมุ และชดั เจน 3. กิจกรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั 4. กิจกรรมการเรียนรู้มีความหลากหลาย น่าสนใจและเนน้ กระบวนการคิด การฟัง การพดู การอ่าน การดูและการเขียน 5. กิจกรรมการเรียนรู้เนน้ ใหผ้ เู้ รียนลงมือปฏิบตั ิจริง 6. กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนคน้ พบคาตอบดว้ ยตนเอง 7. กิจกรรมการเรียนรู้เพยี งพอที่จะส่งผลใหบ้ รรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั 8. กิจกรรมการเรียนรู้ที่กาหนดสามารถนาไปปฏิบตั ิการสอนไดจ้ ริง 9. มีสื่อที่สอดคลอ้ งกบั กิจกรรมและเป็ นส่ือที่เนน้ กระบวนการคดิ 10. มีการวดั ผลประเมนิ ผลที่สอดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวงั 11. วธิ ีการวดั ผลสอดคลอ้ งกบั กิจกรรมการเรียนรู้ 12. มีการกาหนดเกณฑก์ ารประเมินผลไวอ้ ยา่ งชดั เจนและเหมาะสม รวม ข้อคดิ เห็นเพมิ่ เตมิ 1. กระบวนการคิดท่ีใช้ คือ……….……………………………………………….………………………………… ……….……………………………………………………………………………..………..........................….. 2. สิ่งที่ควรปรบั ปรุง คือ……….…………………………………….………………………………………………. ……….……………………………………………………………………………..………..........................….. ผปู้ ระเมิน.............................................

41 แผนการจัดการเรียนรู้ รหสั วชิ า 3201 – 2001 วชิ า การบัญชีช้ันกลาง 1 หน่วยที่ 3 จานวน 4 ชั่วโมง ชื่อหน่วยชื่อหน่วย การบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั เงินลงทุนชวั่ คราวในตราสารหน้ีและตราสารทุน เรื่อง การบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั เงินลงทุนชวั่ คราวในตราสารหน้ีและตราสารทุน 1. สาระสาคญั การซ้ือหลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด หรือ ตราสารทุนเพ่ือคา้ และเผ่อื ขาย หรือเงินลงทุน ชวั่ คราว กิจการจะนาเงินสดคงเหลือในส่วนที่เกินความจาเป็นมาลงทุนเพื่อหวงั ผลตอบแทนจากการลงทุน น้นั เช่น กาไรจากการขายหลกั ทรัพย์ เงินปันผลรับ หรือดอกเบ้ียรับ โดยผลตอบแทนมีผลทาใหก้ ิจการมี รายไดเ้ พมิ่ ข้ึน 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ จาแนกประเภทตราสารหน้ีและตราสารทุนในงบการเงิน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ทวั่ ไป สามารถจาแนกประเภทและบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั ตราสารหน้ีและตราสารทุนได้ 3.2 จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. บอกความหมายของหลกั ทรัพยไ์ ด้ 2. บอกประเภทของหลกั ทรัพยไ์ ด้ 3. บอกความหมายของหลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาดได้ 4. จาแนกประเภทของหลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาดได้ 5. บนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั ตราสารหน้ีและตราสารทุนได้ 6. มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคท์ ่ีผสู้ อนสามารถ สังเกตเห็นได้ ในดา้ นความมีมนุษยสมั พนั ธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผดิ ชอบ ความเช่ือมนั่ ใน ตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามคั คี ความกตญั ญูกตเวที 4. การบูรณาการ บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

42 5. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของหลกั ทรัพย์ 2. ประเภทของหลกั ทรัพย์ 3. ความหมายของหลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด 4. การจาแนกหลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด 5. การบนั ทึกบญั ชีเกี่ยวกบั หลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาดประเภทหมุนเวยี นและไม่ หมุนเวยี น 6. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูและนกั ศึกษาทบทวนความรู้เดิมในสัปดาห์ที่ 2 เพอ่ื เช่ือมโยงเน้ือหาในสัปดาห์น้ีและให้ นกั ศึกษากาหนดรายการคา้ เกี่ยวกบั หลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด 2. ครูแจง้ ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั ข้นั สอน 3. ครูแนะนารูปแบบการเรียนการสอนแบบแกป้ ัญหา (Problem – Solving) เพ่อื ใหน้ กั ศึกษาคิด แกป้ ัญหาเป็ น 4. ครูอภิปรายตามหวั ขอ้ สาระการเรียนรู้ และสาธิตการคานวณพร้อมการบนั ทึกบญั ชี ตาม รายละเอียดดงั น้ี 4.1 ความหมายของหลกั ทรัพย์ 4.2 ประเภทของหลกั ทรัพย์ 4.3 ความหมายของหลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด 4.4 การจาแนกหลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด 4.5 บนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั หลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด 5. ใหน้ กั ศึกษาแบง่ กลุ่มออกเป็ น 5 กลุ่ม แลว้ จดั แบง่ ความรับผดิ ชอบภายในกลุ่มเอง 6. ใหแ้ ต่ละกลุ่มจบั สลากเลือกหวั ขอ้ ศึกษาตามขอ้ 4 7. ใหแ้ ต่ละกลุ่มศึกษาและสรุป วเิ คราะห์เน้ือหาตามหวั ขอ้ เร่ืองท่ีศึกษาคน้ ควา้ 8. รวบรวมขอ้ มูล และหาขอ้ สรุปเพือ่ นาผลการศึกษามาอภิปรายหนา้ ช้นั เรียน 9. ส่งตวั แทนของกลุ่มนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน 10. แสดงความคิดเห็นร่วมกนั 11. แต่ละกลุ่มนาผลงานส่งอาจารยเ์ พือ่ ประเมินผล

43 ข้นั สรุป 12. ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั สรุปเน้ือหาเก่ียวกบั หลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด ตามสาระ การเรียนรู้ของสัปดาห์น้ี 13. นกั ศึกษาทาแบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยท่ี 3 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนวชิ า การบญั ชีช้นั กลาง 1 (3201-2001) ของสานกั พิมพเ์ อมพนั ธ์ 2. หนงั สืออา่ นประกอบวชิ า การบญั ชีช้นั กลาง 1 ของ ผศ.กอบแกว้ รัตนอุบล มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 3. แบบฟอร์มงบการเงิน 4. ใบงาน 8. การวดั ผลและประเมนิ ผล 8.1 เครื่องมือวดั 8.1.1 แบบทดสอบหลงั เรียน 8.1.2 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 8.1.3 แบบประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู) 8.1.4 แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยนกั เรียน) 8.1.5 กิจกรรรมเสนอแนะและกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้ 8.1.6 แบบฝึ กปฏิบตั ิ 8.1.7 แบบประเมินผลการเรียนรู้ 8.1.8 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและ นกั เรียนร่วมกนั ประเมิน 8.2 เกณฑ์การประเมินผล 8.2.1 เกณฑผ์ า่ นแบบทดสอบหลงั เรียนคือ 50% 8.2.2 เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ีช่องปรับปรุง 8.2.3 เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 8.2.4 เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 8.2.5 ตอบคาถามในกิจกรรรมเสนอแนะและกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้จึงจะถือวา่ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน

44 8.2.6 แบบฝึกปฏิบตั ิ เกณฑผ์ า่ น คือ 50% 8.2.7 แบบประเมินผลการเรียนรู้มีเกณฑ์ 5 ระดบั คือ 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช,้ 2 = ควร ปรับปรุง, 1 = ใชไ้ ม่ได้ 8.2.8 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คะแนน ข้ึนกบั การประเมินสภาพจริง 9. งานทมี่ อบหมาย/ภารกจิ ต่อเนื่อง 1. นกั ศึกษาทาแบบประเมินผลการเรียนรู้ หน่วยที่ 3 2. ใบงานที่ 2 หน่วยท่ี 3

45 10. บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้ 10.1 ข้อสรุปหลงั การจัดการเรียนรู้ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 10.2 ปัญหาทพี่ บ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 10.3 แนวทางแก้ปัญหา ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................

46 แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ หน่วยท่ี 3 ตอนท่ี 1 จงเลือกคำตอบทถ่ี ูกทสี่ ุดเพยี งคำตอบเดยี ว 1. กาไรขาดทุนที่ยงั ไม่เกิดจากการปรับมูลค่าเงินลงทุนจะแสดงในส่วนใดในงบการเงิน ก. ส่วนของเจา้ ของ งบดุล ข. กาไรสุทธิ งบกาไรขาดทุน ค. เงินลงทุนในหลกั ทรัพยเ์ พ่ือคา้ งบดุล ง. เงินลงทุนในหลกั ทรัพยเ์ ผ่ือขาย งบดุล 2. ขอ้ ใดคือหลกั ทรัพยป์ ระเภทหน้ี ก. หุน้ กธู้ นาคารไทยพาณิชย์ ข. หุน้ สามญั ธนาคารกรุงเทพ ค. หุน้ สามญั ธนาคารธนชาติ ง. หุน้ สามญั บริษทั ปูนซิเมนตไ์ ทย 3. หลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาดแบ่งออกเป็ นก่ีประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท 4. บริษทั กลา้ เส่ียง จากดั ซ้ือตราสารเผอ่ื ขายหุน้ สามญั บริษทั ปตท. จากดั 2,000 หุน้ ๆละ 100 บาท ต่อมา ไดโ้ อนเปล่ียนเป็ นหลกั ทรัพยเ์ พือ่ คา้ ราคา Fair Value วนั น้ีหุน้ ละ 97 บาท ขอ้ ใดถูกตอ้ ง ก. ลดหลกั ทรัพยเ์ ผอ่ื ขายลงดว้ ยราคา Fair Value ข. รับรู้หลกั ทรัพยเ์ พื่อคา้ ดว้ ยราคา 100 บาท ค. ผลตา่ งรับรู้เป็นผลขาดทุนจากการโอนหุน้ ง. ไม่มีขอ้ ใดถูกตอ้ ง 5. ผลขาดทุนท่ีเกิดจากการเปล่ียนประเภทหลกั ทรัพยจ์ ะแสดงไวใ้ นงบการเงินใด ก. งบกาไรขาดทุน ข. งบดุล ค. งบกาไรสะสม ง. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของเจา้ ของ 6. การเปลี่ยนแปลงประเภทหลกั ทรัพยร์ ะหวา่ งไม่หมุนเวยี นและหมุนเวยี นน้นั ใหใ้ ชร้ าคาใดเป็นราคาทุน ใหม่ ก. ราคาทุน ข. ราคาตลาด ค. ราคาทุนหรือราคาตลาดที่ต่ากวา่ ง. ราคาทุนหรือราคาตลาดที่สูงกวา่

47 7. บริษทั สมชาย จากดั ซ้ือหุ้นสามญั ธนาคารไทยพาณิชยจ์ านวน 2,000 หุน้ ๆ ละ100 บาท บนั ทึกไวเ้ ป็น หลกั ทรัพยป์ ระเภทไมห่ มุนเวยี นตอ่ มาโดนเปล่ียนเป็นหมุนเวยี น ราคาตลาด ณ วนั โอนหุน้ ละ 97 บาท การบนั ทึกบญั ชี ณ วนั โอน คือขอ้ ใด ก. เดบิต หลกั ทรัพยห์ ุน้ ทุนในความตอ้ งการของตลาด-หมุนเวยี น 194,000 เครดิต หลกั ทรัพยห์ ุน้ ทุนในความตอ้ งการของตลาด-ไมห่ มุนเวยี น 194,000 ข. เดบิต หลกั ทรัพยห์ ุน้ ทุนในความตอ้ งการของตลาด-หมุนเวยี น 200,000 เครดิต หลกั ทรัพยห์ ุน้ ทุนในความตอ้ งการของตลาด-ไมห่ มุนเวยี น 200,000 ค. เดบิต หลกั ทรัพยห์ ุน้ ทุนในความตอ้ งการของตลาด-หมุนเวยี น 194,000 ขาดทุนจากการโอนหลกั ทรัพยไ์ มห่ มุนเวยี นกบั หมุนเวยี น 6,000 เครดิต หลกั ทรัพยห์ ุน้ ทุนในความตอ้ งการของตลาด-ไม่หมุนเวยี น 200,000 ง. เดบิต หลกั ทรัพยห์ ุน้ ทุนในความตอ้ งการของตลาด-ไมห่ มุนเวยี น 194,000 ขาดทุนจากการโอนหลกั ทรัพยไ์ มห่ มุนเวยี นกบั หมุนเวยี น 6,000 เครดิต หลกั ทรัพยห์ ุน้ ทุนในความตอ้ งการของตลาด-หมุนเวยี น 200,000 8. จากขอ้ 7 ผลขาดทุนที่เกิดจากการเปล่ียนประเภทหลกั ทรัพยร์ ะหวา่ งไมห่ มุนเวยี นกบั หมุนเวยี น จะ แสดงไวใ้ นงบใด และเป็นจานวนเงินเท่าใด ก. ไม่มีผลขาดทุนเกิดข้ึน ข. งบกาไรขาดทุนจานวน 6,000 บาท ค. งบกาไรสะสมจานวน 6,000 บาท ง. งบดุลจานวน 6,000 บาท 9. ในกรณีท่ีกิจการมีหลกั ทรัพยห์ ลายรายการตอ้ งแสดงรายการอยา่ งไรในงบดุล ก. แสดงแต่ละรายการโดยใชร้ าคาทุน ข. แสดงแตล่ ะรายการโดยใชร้ าคาตลาด ค. แสดงแตล่ ะรายการรวมโดยใชร้ าคาทุนหรือราคาตลาดรวมท่ีต่ากวา่ ง. แสดงแตล่ ะรายการรวมโดยใชร้ าคาทุนหรือราคาตลาดรวมท่ีสูงกวา่ 10. กิจการมีหลกั ทรัพยป์ ระเภทหมุนเวยี นราคาทุน 125,000 บาท ราคาตลาด ณ วนั น้ี 122,000 บาท จะ แสดงในงบดุลอยา่ งไร ก. หลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด-หมุนเวยี น 3,000 ข. หลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด-หมุนเวยี น 122,000 ค. หลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด-หมุนเวยี น 125,000 ง. หลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด-หมุนเวยี น 247,000

48 ใบงานที่ 1 หน่วยท่ี 3 เรื่อง เงินบนั ทึกบญั ชีเก่ียวกบั ตราสารหน้ีและตราสารทุน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของตราสารหน้ีและตราทุน 2. การบนั ทึกบญั ชีสาหรับเงินลงทุนในตราสารทุนเพ่ือคา้ และเผอ่ื ขาย 3. การแสดงรายการและการเปิ ดเผยขอ้ มูลในงบการเงิน 4. มีการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ ่ีผสู้ อนสามารถ สังเกตเห็นได้ ในดา้ นความมีมนุษยสัมพนั ธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผดิ ชอบ ความเชื่อมน่ั ใน ตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามคั คี ความกตญั ญูกตเวที กจิ กรรมการเรียน 1. ใหน้ กั เรียนอธิบายหวั ขอ้ ต่อไปน้ี (10 คะแนน) 1. ความหมายของตราสารหน้ีและตราสารทุน 2. เปรียบเทียบขอ้ แตกตา่ งของตราสารหน้ีและตราสารทุน 3. บอกวธิ ีการบนั ทึกบญั ชีสาหรับเงินลงทุนในตราสารทุนเพ่ือคา้ 4. บอกวธิ ีการบนั ทึกบญั ชีสาหรับเงินลงทุนในตราสารทุนเผอ่ื ขาย 5. อธิบายการแสดงรายการในงบการเงิน 2. ประเมินกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้ ตามพฤติกรรมบง่ ช้ีที่ปรากฎจากกิจกรรมการเรียนที่ผเู้ รียน ไดล้ งมือปฏิบตั ิตามแบบ

49 แบบประเมนิ กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรมนาความรู้ คาชีแ้ จง : ใหป้ ระเมินรายการแต่ละขอ้ แลว้ เขียน เครื่องหมาย  ลงในช่องระดบั คุณภาพตามความเป็ นจริง โดย กาหนดน้าหนกั คะแนน ดงั น้ี 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช,้ 2 = ควรปรับปรุง, 1 = ใชไ้ ม่ได้ รายการประเมนิ พฤตกิ รรมบ่งชี้ ระดบั คุณภาพ 54321 1. การมีมนุษยสมั พนั ธ์  สุภาพ เรียบร้อยอ่อนนอ้ มถ่อมตน  รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน 2.ความมีวนิ ยั  ตรงตอ่ เวลา  ประพฤติตนถกู ตอ้ งตามศีลธรรมอนั ดีงาม 3. ความรับผิดชอบ  ปฏิบตั ิงานท่ีไดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกาหนด  ปฏิบตั ิงานดว้ ยความละเอียดรอบคอบ 4. ความซ่ือสตั ยส์ ุจริต  ไม่ลอกเลียนงานของผอู้ ื่น  มีความซื่อสตั ย์ 5. ความสนใจใฝ่ รู้  ศึกษาคน้ ควา้ มาตรฐานการบญั ชี  แสวงหาประสบการณ์และความรู้ใหมๆ่ 6. ความเช่ือมนั่ ในตนเอง  ยอมรับฟังขอ้ เสนอแนะจากผอู้ ่ืน  แสดงความคิดเห็นในการบนั ทึกรายการบญั ชี รวมคะแนนทไี่ ด้.......................................คะแนน ข้อคดิ เหน็ เพมิ่ เตมิ 1. กระบวนการคิดท่ีใช้ คือ……….…………………………………….………………………………………….. 2. ส่ิงที่ควรปรบั ปรุง คือ……….…………………………………….………………………………………………. ผปู้ ระเมนิ ...................................... เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก 28-30 คะแนน = ดี 25-27 คะแนน = พอใช้ 20-24 คะแนน = ควรปรับปรุง 15-19 คะแนน = ใชไ้ ม่ได้ 0-14 คะแนน =

50 ใบงานที่ 2 หน่วยที่ 3 หัวข้อเร่ืองศึกษาค้นคว้า 1. ความหมายของตราสารหน้ีและตราสารทุน 2. การจาแนกหลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาด ข้นั ตอนการปฏิบตั งิ าน 1. แบ่งกลุ่มใหไ้ ด้ 5 กลุ่มโดยวธิ ีร่วมแรงร่วมใจ (Co- operative Learning) 2. แตล่ ะกลุ่มเลือกหวั หนา้ กลุ่ม 3. ครูใหผ้ เู้ รียนส่งตวั แทนจบั สลากเลือกหวั ขอ้ ที่จะไปสืบคน้ ดงั น้ี 3.1 ความหมายของตราสารหน้ี และตราสารทุน 3.2 วธิ ีการจาแนกประเภทตราสารหน้ีและตราสารทุน 3.3 หลกั การบนั ทึกบญั ชีตราสารทุนเพื่อคา้ และเผือ่ ขาย 3.4 ตวั อยา่ งตราสารทุนเพ่ือคา้ และเผอื่ ขาย 3.5 การแสดงรายการในงบการเงินเกี่ยวกบั ตราสารทุนเพ่ือคา้ และเผอ่ื ขาย 4. แต่ละกลุ่มร่วมกนั ระดมความคิด วางแผน แบง่ งานและมอบหมายหนา้ ท่ี เพื่อไปทาการ สืบคน้ ขอ้ มูล 5. หวั หนา้ กลุ่มหรือตวั แทนกลุ่มนาเสนอหนา้ ช้นั เรียนในการเรียนคร้ังตอ่ ไป โดยครูเป็นผู้ กาหนดเวลานาเสนอให้เหมาะสม 6. ผเู้ รียนแต่ละกลุ่มประเมินตนเองและประเมินกลุ่มอ่ืน 7. ครูประเมินผล นาคะแนนมาเฉล่ียและสรุปคะแนนในแบบประเมินผล พร้อมเสนอแนะและ ใหข้ อ้ คิดเห็น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook