Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือคอมพิวเตอร์สำหรับครู - ฉบับผ่านการ

หนังสือคอมพิวเตอร์สำหรับครู - ฉบับผ่านการ

Published by Master of Education Suandusit, 2022-07-06 02:38:35

Description: หนังสือคอมพิวเตอร์สำหรับครู - ฉบับผ่านการ

Search

Read the Text Version

คอมพวิ เตอร์สำหรบั ครู : ทฤษฎีและปฏิบัติ (Computer for Teachers : Theory and Practice) ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.จริ ะ จิตสภุ ำ ปร.ด. (เทคโนโลยเี ทคนคิ ศกึ ษำ) คณะครุศำสตร์ มหำวิทยำลัยสวนดสุ ิต 2564

ISBN 978-616-586-537-1 ชอ่ื หนงั สือ คอมพวิ เตอรส์ ำหรับครู : ทฤษฎีและปฏบิ ัติ จัดทำโดย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จริ ะ จติ สุภา ปที ่พี ิมพ์ 2564 พิมพ์จำนวน 200 เลม่ รำคำ 300 บาท พิมพ์ท่ี ศูนย์บรกิ ารสือ่ และสง่ิ พิมพ์กราฟฟิคไซท์ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ 295 ถนนนครราชสีมา เขตดสุ ติ กรุงเทพฯ 10300 โทร. 0-2244-5081 โทรสาร 0-2243-9113

(1) คำนำ หนังสือคอมพิวเตอร์สำหรับครู: ทฤษฎีและปฏิบัติ (Computer for Teachers: Theory and Practice) เล่มน้ี เป็นหนังสือท่ีให้ควำมรู้ ควำมเข้ำใจทฤษฎีและกำรปฏิบัติเกี่ยวกับเทคโนโลยี ดิจิทัล ท้ังฮำร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ จนสำมำรถนำไปประยุกต์ใช้ประกอบกำรจัดกำรเรียนกำรสอน ออนไลน์และออฟไลน์ของครู ผสู้ อน อำจำรย์ บุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ นักศึกษำครู และผสู้ นใจทั่วไปได้ หนังสือเล่มน้ีเขียน เรียบเรียง จัดลำดับกำรถ่ำยทอดควำมรู้ และควำมเข้ำใจจำกง่ำย ไปหำยำกอย่ำงต่อเนื่องรวม 11 บท ประกอบด้วย แนวคิดคอมพิวเตอร์สำหรับครู ฮำร์ดแวร์ ของคอมพวิ เตอร์สว่ นบุคคล ซอฟตแ์ วร์ระบบของคอมพิวเตอรส์ ว่ นบคุ คล ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ออฟไลน์ เพ่ือสนับสนุนกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน ซอฟต์แวร์ประยุกต์และกำรสร้ำงส่ือแอนิเมชันเพื่อส่งเสริม กำรเรียนรู้ ซอฟต์แวร์ประยุกต์และกำรใช้งำนเพ่ือจัดกำรเรียนกำรสอนออนไลน์ แหล่งทรัพยำกร ออนไลน์เพ่ือสนับสนุนกำรเรียนกำรสอน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ออนไลน์เพื่อสนับสนุนกิจกรรมกำรเรยี น กำรสอน ซอฟต์แวร์ประยุกต์สำหรับกำรวัดและประเมินผลกำรเรียน เครือข่ำยคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ตสำหรบั ครู และควำมมน่ั คงปลอดภยั จรรยำบรรณ และกฎหมำยคอมพิวเตอร์ หนังสือแต่ละบทเน้นเน้ือหำท่ีสำคัญ พร้อมอธิบำยด้วยภำพที่ผู้เขียนสร้ำงขึ้นและภำพ ที่ได้รับอนุญำตจำกเจ้ำของลิขสิทธ์ิ ให้สำมำรถนำไปใช้งำนได้โดยไม่ถือเป็นกำรละเมิดลิขสิทธิ์ จำก www.pixabay.com และ www.pexels.com และภำพจำกตัวอย่ำงผลงำนและตัวอย่ำง กำรดำเนินงำนต่ำง ๆ ที่เป็นผลงำนของผู้เขียน ผลงำนที่ผู้เขียนมีส่วนร่วม และผลงำนของนักศึกษำ ระดับปริญญำตรี มหำวิทยำลัยสวนดุสิต ท่ีเคยลงทะเบียนเรียนในรำยวิชำ 1031206: นวัตกรรมและ เทคโนโลยีสำรสนเทศทำงกำรศึกษำ รำยวิชำ 1094403: กำรใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมสำเร็จรูป เพ่ือประโยชน์ในกำรจัดกำรเรียนกำรสอน รำยวิชำ 4000113: ควำมเข้ำใจและกำรใช้ดิจิทัล และ รำยวชิ ำ 5073326: กำรใชค้ อมพวิ เตอร์สำหรับธรุ กิจกำรบริกำรอำหำร ต้ังแตป่ ีกำรศกึ ษำ 2557-2563 ที่ผู้เขียนเป็นผู้สอนในรำยวิชำดังกล่ำว ผู้เขียนขอขอบคุณผู้มีส่วนร่วมทุกท่ำน รวมทั้งนักศึกษำทุกคน ท่ีจินตนำกำรและสร้ำงสรรค์ผลงำนท่ีดีออกมำ สำหรับชื่อเว็บไซต์ ช่ือโปรแกรม ชื่อผลิตภัณฑ์ และเครื่องหมำยกำรค้ำต่ำง ๆ ท่ีปรำกฎ อ้ำงถึง หรือกล่ำวถึงในหนังสือเล่มนี้เป็นลิขสิทธิ์ขององค์กร หรอื บรษิ ทั ผผู้ ลติ น้ัน ๆ ผู้เขียนหวังว่ำหนังสือเล่มน้ีจะอำนวยประโยชน์ต่อครู ผู้สอน อำจำรย์ บุคลำกรทำงกำร ศึกษำ นักศึกษำครู และผู้สนใจท่ัวไปได้เป็นอย่ำงดี หำกนำไปใช้แล้วมีข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็น ผเู้ ขียนยินดีรบั ฟังและขอขอบคุณมำ ณ โอกำสน้ี ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ ดร.จิระ จิตสุภำ 24 พฤษภำคม 2564



สำรบญั (1) คำนำ หน้ำ สำรบญั สำรบญั ภำพ (1) สำรบัญตำรำง (3) (6) บทท่ี 1 แนวคิดคอมพวิ เตอร์สำหรบั ครู (22) ควำมหมำยของคอมพวิ เตอร์ กระบวนกำรทำงำนของคอมพวิ เตอร์ 1 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 2 ประเภทของคอมพวิ เตอร์ 4 บทบำทของคอมพวิ เตอรใ์ นสถำนศึกษำ 6 บทบำทของคอมพิวเตอร์สำหรบั ครู 8 บทสรปุ 10 14 บทสรุป 20 บทท่ี 2 ฮำร์ดแวรข์ องคอมพิวเตอรส์ ่วนบคุ คล 23 อุปกรณน์ ำเขำ้ ข้อมลู 24 อุปกรณ์ประมวลผลข้อมลู 27 อปุ กรณ์จัดเกบ็ ข้อมูลของคอมพวิ เตอร์ 29 อปุ กรณ์แสดงผลข้อมลู 31 บทสรุป 36 บทสรุป 2 บทท่ี 3 ซอฟตแ์ วร์ของคอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคล 39 ทำควำมร้จู ักและเริ่มตน้ ใช้งำน Windows 10 40 กำรปรบั แตง่ หน้ำจอ พื้นที่กำรใช้งำน และกำรแจง้ เตอื น 42 กำรจดั กำรไฟลแ์ ละโฟลเดอร์ 46 กำรจัดกำรเก่ียวกับภำพและวิดีโอ 47 กำรจัดกำรเกย่ี วกับควำมบันเทงิ 49 กำรจัดกำรกับบัญชผี ู้ใช้งำน 49 กำรปรับแต่งและตัง้ คำ่ ระบบของ Windows 10 51 บทสรปุ 55 บทท่ี 4 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ออฟไลน์เพื่อสนับสนนุ กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน 57 OBS Studio ซอฟตแ์ วร์ประยุกตอ์ อฟไลน์สำหรบั บนั ทึกกำรสอน 58

(2) Davinci Resolve ซอฟต์แวร์ประยุกต์ออฟไลน์สำหรับตัดต่อคลปิ วิดโี อกำรสอน หน้ำ Mendeley ซอฟต์แวร์ประยุกตอ์ อฟไลน์สำหรับจัดกำรกำรอ้ำงอิง บทสรปุ 69 82 90 บทท่ี 5 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ตแ์ ละกำรสร้ำงสอื่ แอนเิ มชนั เพื่อส่งเสริมกำรเรียนรู้ 93 กำรสรำ้ งตัวละครกระต่ำย 97 กำรสร้ำงตัวละครเต่ำ 113 กำรสร้ำงฉำกหลังสำหรับแอนิเมชนั 123 กำรบันทึกฉำกหลงั เปน็ ภำพน่ิง 127 กำรสร้ำงแอนิเมชันเร่ืองกระต่ำยกบั เต่ำ 130 กำรบันทึกไฟล์แอนิเมชนั และกำรเผยแพร่ 138 บทสรุป 140 บทสรุป 143 บทท่ี 6 ซอฟต์แวร์ประยุกต์และกำรใชง้ ำนเพ่อื จัดกำรเรยี นกำรสอนออนไลน์ 145 156 กำรจดั กำรเรียนกำรสอนออนไลน์แบบประสำนเวลำดว้ ย Google Meet 157 กฎระเบียบและกติกำในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนออนไลน์แบบประสำนเวลำ 169 กำรจดั กำรเรียนกำรสอนออนไลนแ์ บบไมป่ ระสำนเวลำดว้ ย Google Classroom บทสรปุ บทท่ี 7 แหล่งทรัพยำกรออนไลนเ์ พื่อสนบั สนุนกำรเรียนกำรสอน 171 แหลง่ ทรัพยำกรออนไลนเ์ พ่อื สนบั สนนุ กำรเรยี นกำรสอน 172 กำรรวบรวมและจัดเก็บแหลง่ ทรพั ยำกรออนไลน์ 179 กำรเรม่ิ ตน้ สรำ้ งเว็บไซต์ด้วย Google Sites 180 กำรสร้ำงเมนูให้กับเวบ็ ไซต์ 185 กำรเพิ่มข้อมลู ให้เวบ็ แต่ละหนำ้ 189 กำรเพ่ิมข้อมลู ส่วนท้ำยของเว็บไซต์ 193 กำรเพ่ิมข้อมูลให้เวบ็ แตล่ ะหน้ำ 194 บทสรปุ 200 บทท่ี 8 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ออนไลนเ์ พือ่ สนับสนนุ กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน 203 MindMup ซอฟต์แวร์ประยุกต์ออนไลน์สำหรบั สรำ้ งแผนผังควำมคิด 204 Prezi Video ซอฟต์แวร์ประยุกตอ์ อนไลนส์ ำหรับสรำ้ งคลิปวิดโี อกำรสอน 210 AnyDesk ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ออนไลนส์ ำหรบั ควบคมุ คอมพิวเตอรร์ ะยะไกล 218 PubHTML5 ซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ออนไลน์สำหรับสร้ำงหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ 226 Jamboard ซอฟต์แวร์ประยุกต์ออนไลน์สำหรบั กำรเรยี นแบบรว่ มมอื 233

AutoDraw ซอฟต์แวร์ประยุกตอ์ อนไลนส์ ำหรับกำรคดิ สร้ำงสรรค์ (3) บทสรปุ บทสรปุ หน้ำ บทท่ี 9 ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์สำหรบั กำรวดั และประเมินผลกำรเรียน Google Form ซอฟต์แวร์ประยกุ ตส์ ำหรบั สร้ำงแบบฟอร์มเกบ็ ข้อมลู 237 Kahoot ซอฟต์แวรป์ ระยุกตส์ ำหรบั สรำ้ งแบบทดสอบ 240 บทสรุป บทสรุป 243 บทท่ี 10 เครือขำ่ ยคอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ นต็ สำหรบั ครู 243 รปู แบบกำรเชื่อมต่อของเครือข่ำยคอมพวิ เตอร์ 256 ฮำร์ดแวร์สำหรบั เครือข่ำยคอมพวิ เตอร์ 269 กำรเชื่อมต่อและกำรใชง้ ำนอินเทอรเ์ นต็ กำรจดั กำรกับซอฟต์แวร์สำหรบั เครอื ข่ำย 271 กำรจดั กำรเว็บเบรำวเ์ ซอรแ์ ละกำรท่องอินเทอรเ์ น็ต 272 บทสรุป 274 บทสรปุ 276 บทที่ 11 ควำมมนั่ คงปลอดภยั จรรยำบรรณ และกฎหมำยคอมพิวเตอร์ 278 แนวคิดควำมม่นั คงปลอดภัยของคอมพวิ เตอร์ 280 ภัยคกุ คำมตอ่ ควำมม่นั คงปลอดภัยของคอมพวิ เตอร์ 289 กำรรักษำควำมม่นั คงปลอดภยั ของคอมพวิ เตอร์ จริยธรรมในกำรใช้คอมพวิ เตอร์ 291 กฎหมำยท่ีเก่ยี วข้องกับคอมพิวเตอร์ 292 บทสรปุ 294 296 บรรณำนกุ รม 306 อภธิ ำนศพั ท์ 311 ดัชนี 318 321 325 339

(4)

(5) สำรบญั ภำพ หน้ำ ภำพที่ 1 4 1.1 กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนทีเ่ กยี่ วข้องกับครู 5 1.2 หนำ้ ทีแ่ ละกระบวนกำรทำงำนหลักของคอมพิวเตอร์ 5 1.3 กระบวนกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ 6 1.4 แบบจำลองแสดงกระบวนกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ในกำรตดั เกรดของผเู้ รียน 8 1.5 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 11 1.6 ประเภทของคอมพวิ เตอร์ 12 1.7 บทบำทของคอมพวิ เตอรใ์ นสถำนศึกษำ 13 1.8 บทบำทของคอมพวิ เตอรใ์ นฐำนะองค์ควำมรู้ 13 1.9 บทบำทของคอมพวิ เตอรใ์ นฐำนะเครื่องมือบริหำรจดั กำรทรพั ยำกรห้องสมุด 14 1.10 บทบำทของคอมพวิ เตอรใ์ นฐำนะเคร่ืองมือทำงวชิ ำกำร 15 1.11 บทบำทของคอมพิวเตอร์ในฐำนะเครื่องมือบริกำรทำงวิชำกำร 17 1.12 บทบำทของคอมพวิ เตอร์สำหรบั ครู 18 1.13 บทบำทของคอมพิวเตอร์สำหรบั ครู 18 1.14 กำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนในหอ้ งเรยี นโดยครูใช้คอมพิวเตอร์ 19 1.15 กำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนในห้องเรียนโดยครูและผู้เรยี นใช้คอมพิวเตอร์ 19 1.16 บรรยำกำศกำรเรยี นรทู้ ่สี นุกสนำนผำ่ นเกมคอมพวิ เตอร์ 20 1.17 แหลง่ สนบั สนุนกำรเรยี นรู้จำกคอมพิวเตอร์ 23 1.18 บทบำทของคอมพวิ เตอร์สำหรบั ครเู พ่ือกำรวดั และประเมินผลกำรเรยี นรู้ 24 2.1 ฮำร์ดแวร์ของคอมพิวเตอรส์ ่วนบคุ คล 25 2.2 ตัวอยำ่ งอุปกรณ์ของคอมพวิ เตอร์สว่ นบุคคล 26 2.3 อปุ กรณ์นำเขำ้ ขอ้ มลู ประเภทคยี ์บอร์ด 27 2.4 อปุ กรณน์ ำเข้ำขอ้ มลู ประเภทชต้ี ำแหน่ง 28 2.5 อุปกรณน์ ำเขำ้ ขอ้ มูลประเภทมลั ติมเี ดยี 29 2.6 อปุ กรณ์ประมวลผลข้อมลู ของคอมพวิ เตอร์ 30 2.7 แผงวงจรหลกั ของเคร่อื งคอมพิวเตอร์ 31 2.8 อุปกรณ์จัดเกบ็ ข้อมลู ของคอมพวิ เตอร์ 31 2.9 อุปกรณ์จัดเกบ็ ข้อมลู ของคอมพวิ เตอร์ประเภทหน่วยควำมจำหลกั 32 2.10 อปุ กรณ์จัดเกบ็ ข้อมูลของคอมพิวเตอร์ประเภทหน่วยควำมจำสำรอง 33 2.11 อปุ กรณ์แสดงผลข้อมูลประเภทจอภำพ 34 2.12 กำรแสดงผลขอ้ มลู จำกคอมพวิ เตอรไ์ ปยังโปรเจคเตอร์ โทรทัศน์ และคอมพิวเตอร์ 35 2.13 เคร่อื งพิมพแ์ บบดอทเมตรกิ ซ์ แบบอิงก์เจ็ต แบบเลเซอร์ 2.14 เครื่องพิมพ์แบบพล็อตเตอร์

(6) สำรบัญภำพ (ตอ่ ) หน้ำ ภำพท่ี 35 36 2.15 เครอ่ื งพิมพแ์ บบสำมมิติ 39 2.16 ลำโพงและหูฟังสำหรบั นำเสียงออกจำกคอมพิวเตอร์ 40 3.1 ตวั อย่ำงของซอฟตแ์ วร์สำหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล 41 3.2 พน้ื ท่ีสำหรับกำรทำงำนหลกั หรอื หนำ้ Desktop ของ Windows 10 42 3.3 ไอคอนของโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันทีต่ ดิ ตั้งอยใู่ นคอมพิวเตอร์ 43 3.4 กำรเปลีย่ นภำพของผใู้ ชง้ ำน 43 3.5 กำรเปลี่ยนภำพพ้ืนหลงั ของพื้นท่กี ำรทำงำน (Desktop) 44 3.6 กำรเลือกสีให้กบั เมนู Start และ Taskbar 45 3.7 กำรเลือกภำพสำหรบั กำร Lock Screen และ Screen Saver 45 3.8 กำรปรบั จอภำพให้เหมำะกบั กำรใช้งำน 46 3.9 สว่ นหนึ่งของแอปพลิเคชนั พื้นฐำนที่ติดตงั้ มำพรอ้ มกบั Windows 10 48 3.10 ลกั ษณะของไฟลแ์ ละโฟลเดอร์ใน Windows 10 48 3.11 โปรแกรม Photos สำหรับจัดกำรกบั ภำพและวดิ โี อ 49 3.12 กำรปรับแตง่ และแกไ้ ขภำพด้วยโปรแกรม Photos ดว้ ยคำสัง่ Crop 50 3.13 กลมุ่ โปรแกรมเพ่ือควำมบันเทิงใน Windows 10 50 3.14 บัญชขี องผู้ใชง้ ำนทกี่ ำลงั ใช้งำนคอมพวิ เตอร์ 51 3.15 บัญชีของผใู้ ช้งำนอกี User หน่ึงทใ่ี ชง้ ำนคอมพวิ เตอร์ 52 3.16 กำรสรำ้ ง User ใหมใ่ น Windows 10 52 3.17 หมวดหมคู่ ำส่ังสำหรับกำรปรับแต่งและตั้งคำ่ ระบบของ Windows 10 53 3.18 ตวั อย่ำงกำรปรับแตง่ และตงั้ ค่ำของจอภำพ 53 3.19 ตัวอย่ำงกำรปรับแต่งและตัง้ ค่ำของบลูททู 54 3.20 ตวั อย่ำงกำรปรับแตง่ และต้งั ค่ำของโปรแกรมในคอมพิวเตอร์ 54 3.21 ตัวอยำ่ งกำรปรับแต่งและตั้งค่ำกำรอัปเดต Windows 10 57 3.22 ตวั อยำ่ งกำรปรับแต่งและตง้ั ค่ำภำษำของคอมพวิ เตอร์ 58 4.1 กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับผสู้ อน 59 4.2 เลือกดำวนโ์ หลด OBS Sudio ให้ตรงกบั ระบบปฏิบตั กิ ำรของคอมพวิ เตอร์ 59 4.3 กำรติดตงั้ OBS Sudio 60 4.4 หน้ำแรกของ OBS Sudio 60 4.5 กำรปรับตั้งค่ำเบอ้ื งตน้ สำหรับกำรบนั ทึกวิดีโอ 61 4.6 กำรต้งั ค่ำ Base Resolution และ Output Resolution 61 4.7 กำรเลือกกล้องวิดีโอทตี่ ดิ ตั้งอย่ใู นคอมพิวเตอร์ 4.8 กำรเลือกกลอ้ งวิดโี อที่ติดต้ังอยู่ในคอมพวิ เตอร์ (ต่อ)

สำรบัญภำพ (ตอ่ ) (7) ภำพท่ี หน้ำ 4.9 กำรเลอื กกล้องวดิ โี อทต่ี ิดตั้งอย่ใู นคอมพิวเตอร์ (ต่อ) 62 4.10 ผลลัพธ์หลังกำรเลอื กกลอ้ งวดิ ีโอท่ตี ิดต้ังอยู่ในคอมพิวเตอร์ 62 4.11 คำสัง่ Filter เพอื่ ทำใหฉ้ ำกหลงั สเี ขยี วหำยไป 63 4.12 คำสั่ง Croma Key เพอ่ื ทำให้ฉำกหลงั สเี ขียวหำยไป 63 4.13 ผลจำกกำรเลอื กคำส่งั Croma Key 64 4.14 ปรับค่ำจนฉำกหลงั สเี ขียวกลำยเป็นสีเทำหรอื สีดำ 64 4.15 ผลลัพธท์ ่ไี ด้หลังจำกนำฉำกหลงั สเี ขยี วอกไป 65 4.16 ตง้ั ค่ำใน PowerPoint เพอื่ เตรยี มพรอ้ มใชร้ ่วมกบั OBS Studio 65 4.17 กำรคลกิ Slide Show เพ่ือเตรยี มพร้อมสำหรบั กำรนำเสนอ 66 4.18 PowerPoint เข้ำมำรว่ มใน OBS Studio 66 4.19 กำรนำภำพวิดโี อของผู้สอนมำไว้หน้ำ PowerPoint 67 4.20 กำรแสดงจอภำพสองจอด้วย Studio Mode 67 4.21 เริ่มบนั ทกึ กำรสอน 68 4.22 ไฟลว์ ิดโี อที่ถกู บันทึกและจดั เก็บไว้ 68 4.23 หน้ำแรกของ Davinci Resolve 69 4.24 กำรดำวนโ์ หลด Davinci Resolve 70 4.25 กำรดำวน์โหลด Davinci Resolve (ตอ่ ) 70 4.26 กำลังเข้ำสู่ Davinci Resolve 71 4.27 กำรเตรียมกำรทำงำนของ Davinci Resolve 71 4.28 กำรเตรียมกำรทำงำนของ Davinci Resolve (ต่อ) 71 4.29 หน้ำหลักและพื้นท่กี ำรทำงำนของ Davinci Resolve 72 4.30 กำรเตรยี มคลิปวิดีโอสำหรบั กำรตดั ต่อ 72 4.31 คลิปวดิ ีโอท่ีพร้อมตัดต่อ 73 4.32 แสดงผลคลปิ วดิ โี อก่อนตดั ตอ่ 73 4.33 นำคลปิ วดิ ีโอทตี่ ้องกำรตัดต่อมำวำงใน Timeline 74 4.34 แสดงผลคลิปวิดโี อกอ่ นตัดต่อ 74 4.35 Blade Tool เครอื่ งมือสำหรับตดั วิดโี อ 75 4.36 ตำแหน่งของวิดโี อท่ตี ้องกำรตัดออก 75 4.37 กำรนำคลิปเข้ำมำแทนที่ตำแหนง่ ทถี่ ูกตัดออก 75 4.38 กำรแยกเสยี งออกจำกคลปิ วิดีโอ 76 4.39 กำรลบเสยี งที่ไมต่ อ้ งกำรออก 76

สำรบัญภำพ (ตอ่ ) (8) ภำพท่ี หน้ำ 4.40 กำรนำไฟลเ์ สยี งสำหรบั ตดั ต่อเข้ำมำใน Davinci Resolve 77 4.41 กำรทดลองเปดิ เสยี งตน้ ฉบับ 77 4.42 กำรนำไฟล์เสียงเข้ำมำใน Timeline 78 4.43 กำรตดั คลปิ เสยี งดว้ ย Blade Tool 78 4.44 ลบเสยี งทีไ่ มต่ ้องกำรออก 79 4.45 กำรเพิ่มข้อควำมลงในคลิปวดิ ีโอ 79 4.46 กำรเพ่ิมข้อควำมลงในคลิปวิดโี อ (ต่อ) 80 4.47 กำรปรับรปู แบบและขนำดของขอ้ ควำม 80 4.48 กำรเตรยี ม Export คลิปวิดีโอ 81 4.49 กำรกำหนดพืน้ ทีส่ ำหรบั กำรจัดเก็บไฟล์วดิ โี อ 81 4.50 กำรเตรียม Export คลิปวิดโี อ 82 4.51 กำลัง Export คลปิ วิดีโอ 82 4.52 คลิปวดิ โี อทพ่ี ร้อมสำหรับนำไปเผยแพร่หรือจัดกำรเรียนกำรสอน 82 4.53 เวบ็ ไซตข์ อง Mendeley 83 4.54 กำรดำวน์โหลด Mendeley 83 4.55 กำรติดตั้ง Mendeley ลงในคอมพวิ เตอร์ 84 4.56 กำลังตดิ ตัง้ Mendeley ลงในคอมพิวเตอร์ 84 4.57 กำรลงทะเบยี นเขำ้ ใชง้ ำน Mendeley 84 4.58 Mendeley แจง้ ให้ทรำบวำ่ ได้ติดตงั้ ลงใน Microsoft Word แล้ว 85 4.59 หน้ำหลักของ Mendeley 85 4.60 ตำแหนง่ ที่ Mendeley ถูกติดต้ังไวใ้ น Microsoft Word 85 4.61 กำรนำเข้ำเอกสำรใน Mendeley 86 4.62 เอกสำรที่ถูกนำเขำ้ มำใน Mendeley 86 4.63 เอกสำรที่ถูกนำเขำ้ มำใน Mendeley หลำยชน้ิ 87 4.64 ตำแหน่งที่ต้องกำรแทรกอ้ำงอิง 87 4.65 กำรแทรกอ้ำงอิงในเนือ้ หำจำก Mendeley 88 4.66 เอกสำรทีต่ ้องกำรนำไปอ้ำงอิงในเนอื้ หำ 88 4.67 ตวั อย่ำงกำรอ้ำงองิ ในเนื้อหำ 89 4.68 ตำแหน่งทตี่ ้องกำรแทรกรำยกำรอำ้ งองิ 89 4.69 ตัวอย่ำงรำยกำรอำ้ งองิ ที่ถูกแทรกเขำ้ มำ 89 4.70 ตวั อยำ่ งรำยกำรอำ้ งองิ ที่ถูกแทรกเขำ้ มำเพิ่มเตมิ 90

(9) สำรบญั ภำพ (ตอ่ ) หน้ำ ภำพท่ี 93 94 5.1 กำรนำภำพน่ิงหลำย ๆ ภำพมำทำใหเ้ กิดกำรเคล่ือนไหวตำมลำดับอยำ่ งรวดเรว็ 95 5.2 ส่วนหน่งึ ของภำพน่ิงสำหรับสรำ้ งแอนิเมชันดว้ ยเทคนิค Clay Animation 95 5.3 ส่วนหนึ่งของภำพนิง่ สำหรบั สร้ำงแอนเิ มชันดว้ ยเทคนิค Cutout Animation 96 5.4 เบ้อื งหลงั กำรทำแอนเิ มชันด้วยเทคนคิ Cutout Animation 97 5.5 ภำพน่ิงบำงส่วนที่สร้ำงด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint 97 5.6 กำรลบกรอบและข้อควำม 98 5.7 กำรแทรกรูปร่ำงวงรลี งบนสไลด์ 98 5.8 กำรเปลี่ยนสีให้กบั หวั กระต่ำย 99 5.9 กำรเปลย่ี นสเี ส้นกรอบของหวั กระต่ำย 99 5.10 กำรเรยี กใชเ้ คร่ืองมือแก้ไขจุด (Edit Points) ดว้ ยกำรคลกิ ป่มุ ขวำของเมำส์ 100 5.11 กำรปรบั แก้ไขหวั กระต่ำยให้ได้ลกั ษณะตำมตอ้ งกำร 100 5.12 กำรสร้ำงสว่ นหขู องกระต่ำย 101 5.13 กำรปรับแต่งส่วนหูของกระต่ำยให้มี 2 ช้ัน 101 5.14 กำรรวมหกู ระต่ำยเป็นกลุม่ เดียวกัน 102 5.15 จดุ สำหรับหมนุ สว่ นหูกระต่ำยให้ไดอ้ งศำตำมต้องกำร 102 5.16 กำรพลิกกลบั ดำ้ นหูกระต่ำย 103 5.17 กำรลบเสน้ รอยต่อระหวำ่ งส่วนหัวกับสว่ นตวั 104 5.18 กำรจดั กลุ่มหวั และหกู ระต่ำยให้เป็นภำพเดยี วกนั 104 5.19 กำรแทรกรูปร่ำงเพ่ือประกอบเป็นสว่ นตำ 105 5.20 กำรสร้ำงส่วนตำท้ังสองข้ำงของกระตำ่ ย 106 5.21 กำรใสร่ ำยละเอยี ดบนใบหนำ้ ของกระตำ่ ย 106 5.22 กำรแทรกและปรับแตง่ ส่วนของลำตวั 107 5.23 กำรสรำ้ งชดุ ของกระต่ำย 107 5.24 กำรปรับขนำดของลำตัวใหพ้ อดีกบั ชดุ 108 5.25 กำรแทรกรูปรำ่ งส่ีเหลย่ี มหนำ้ จว่ั และนำมำวำงตรงบริเวณทีต่ ้องกำรตัดออก 108 5.26 กำรตดั ส่วนของตัวเอย๊ี มเพ่ือสรำ้ งขำกำงเกง 109 5.27 กำรจัดกลุม่ รปู ร่ำงสว่ นลำตวั และเสอื้ ผ้ำเขำ้ ดว้ ยกนั 109 5.28 กำรยำ้ ยส่วนลำตัวไปไวด้ ้ำนหลังส่วนหวั 110 5.29 กำรแทรกรูปร่ำงส่เี หลยี่ มผนื ผำ้ เพอ่ื สรำ้ งเปน็ แขนของกระต่ำย 110 5.30 กำรปรับแต่งแขนของกระต่ำยโดยวิธแี กไ้ ขจุด 111 5.31 กำรสรำ้ งแขนของกระต่ำยโดยคัดลอกและพลกิ ในแนวนอน 5.32 กำรย้ำยส่วนแขนไปไว้ดำ้ นหลังสว่ นลำตัว

(10) สำรบญั ภำพ (ตอ่ ) หน้ำ ภำพท่ี 111 112 5.33 กระต่ำยท่ีมีส่วนหวั กบั สว่ นลำตวั 112 5.34 กำรสรำ้ งส่วนขำของกระต่ำย 113 5.35 กำรแก้ไขจุดรูปร่ำงส่ีเหลี่ยมผนื ผ้ำใหเ้ ปน็ รองเท้ำของกระตำ่ ย 113 5.36 กระตำ่ ยท่ีสมบรู ณ์ 114 5.37 กำรแทรกสไลด์ใหม่ และลบกรอบข้อควำมออก 114 5.38 กำรแทรกวงกลมและวงรีเพ่ือสร้ำงสว่ นหวั 115 5.39 กำรเช่ือมรปู ร่ำง 115 5.40 กำรแทรกรูปรำ่ งวงกลมเพื่อสร้ำงสว่ นตำของเต่ำ 116 5.41 กำรยำ้ ยดวงตำของเต่ำขำ้ งหน่ึงไปไวด้ ำ้ นหลงั ส่วนหวั 116 5.42 กำรใสร่ ำยละเอยี ดของตำ 117 5.43 กำรนำรปู ร่ำงสำมเหลย่ี มหนำ้ จ่วั สรำ้ งกระดองเตำ่ 117 5.44 กำรสร้ำงฐำนกระดองเต่ำโดยใชร้ ปู ร่ำงส่ีเหล่ียมผนื ผำ้ 118 5.45 กำรตกแตง่ ลวดลำยบนกระดองเต่ำ 118 5.46 กำรแทรกรูปรำ่ งสเ่ี หลี่ยมผนื ผ้ำ 119 5.47 แกไ้ ขจุดให้เป็นส่วนลำตวั ของเต่ำตำมต้องกำร 119 5.48 กำรย้ำยสว่ นของลำตวั ไปไวด้ ำ้ นหลงั 120 5.49 กำรแทรกรูปรำ่ งส่เี หลีย่ มผืนผ้ำเพือ่ สรำ้ งเปน็ เท้ำเต่ำ 120 5.50 กำรปรับแตง่ รูปร่ำงส่เี หลยี่ มพ้ืนผ้ำให้เป็นเทำ้ ของเต่ำ 121 5.51 กำรนำเทำ้ เต่ำท้งั 2 ข้ำง ยำ้ ยไปด้ำนหลังสว่ นลำตวั 121 5.52 กำรแทรกรูปร่ำงสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ำมำวำงทับบริเวณทีต่ อ้ งกำรให้บงั เส้นรอยต่อ 122 5.53 กำรเปลยี่ นสี และกำรหมนุ รปู รำ่ งให้บงั เสน้ รอยต่อทง้ั สองข้ำง 122 5.54 กำรจัดกลมุ่ สว่ นขำกบั สว่ นลำตวั เขำ้ ดว้ ยกัน 123 5.55 เต่ำท่สี มบูรณ์ 123 5.56 กำรเพ่ิมสไลดเ์ ปล่ำพร้อมใช้งำน 124 5.57 กำรเปลย่ี นสใี หส้ เ่ี หลี่ยมผืนผ้ำเพ่ือสรำ้ งเป็นพืน้ หลัง 124 5.58 กำรแทรกรปู ร่ำงสี่เหล่ยี มผืนผำ้ เพือ่ สรำ้ งเป็นภูเขำ 125 5.59 กำรปรับแตง่ รูปร่ำงสเ่ี หล่ยี มผืนผ้ำใหเ้ ปน็ ภูเขำในลักษณะที่ตอ้ งกำร 125 5.60 กำรสร้ำงเนินหญำ้ 126 5.61 กำรสรำ้ งเนินหญำ้ ชัน้ ที่สอง 126 5.62 แทรกรปู รำ่ งวงรเี พอื่ สรำ้ งเป็นก้อนเมฆ 127 5.63 กำรเลือกรปู ร่ำงวงกลมเพ่ือเชื่อมเข้ำดว้ ยกนั 5.64 กำรเช่อื มรปู รำ่ งวงกลมทั้งหมดเปน็ กอ้ นเมฆ

สำรบญั ภำพ (ตอ่ ) (11) ภำพที่ หน้ำ 5.65 ก้อนเมฆท่ีได้จำกกำรคัดลอกจำกตน้ ฉบบั 127 5.66 กำรเลอื กโฟลเ์ ดอร์ทต่ี ้องกำรจัดเก็บไฟล์ 128 5.67 กำรบนั ทกึ สไลดเ์ ป็นไฟล์รปู ภำพ 128 5.68 กำรตอบคำถำมก่อนทำกำรบันทึก 129 5.69 กำรตรวจสอบไฟลท์ บี่ ันทึก 129 5.70 กำรเปลี่ยนภำพพนื้ หลงั 130 5.71 กำรแทรกรูปภำพเป็นภำพพ้นื หลัง 130 5.72 กำรเลอื กภำพเพ่ือแทรกเปน็ ภำพพืน้ หลัง 131 5.73 กำรต้ังคำ่ พืน้ หลังใหเ้ ป็นภำพเดยี วกันทกุ สไลด์ 131 5.74 กำรคัดลอกกระต่ำยกบั เตำ่ มำใส่ PowerPoint ปจั จบุ นั 132 5.75 กำรคัดลอกและวำงสไลด์ 132 5.76 กำรยกเลกิ กำรจดั กลุ่มรปู ร่ำง 133 5.77 กำรขยับขำและแขนของกระตำ่ ย 133 5.78 กำรขยับขำของเต่ำ 134 5.79 กำรเคล่ือนทข่ี องกระต่ำย 134 5.80 กำรเคลื่อนท่ีของเตำ่ 135 5.81 กำรคดั ลอกสไลด์ และกำรเคลอื่ นทขี่ องกระตำ่ ยกับเต่ำ 136 5.82 กำรคัดลอกสไลด์ และกำรเคลือ่ นท่ีของกระต่ำยกับเต่ำ 136 5.83 กำรคดั ลอกสไลด์ และกำรเคลอื่ นทข่ี องกระต่ำยกบั เตำ่ 137 5.84 กำรเคลือ่ นย้ำยตวั ละครให้มำอยู่ตำแหน่งทต่ี ้องกำร 137 5.85 กำรตั้งเวลำใหเ้ ปลีย่ นสไลด์อัตโนมัติ 138 5.86 กำรบันทึกไฟล์ 139 5.87 กำรเปลย่ี นนำมสกลุ ไฟล์ใหเ้ ป็นไฟล์ VDO 139 5.88 กำรบันทึกไฟล์ 140 5.89 ไฟล์ VDO ทบี่ ันทกึ ไว้ 140 6.1 เปรยี บเทยี บระหวำ่ งกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนออนไซต์กบั ออนไลน์ 144 6.2 ตวั อยำ่ งซอฟต์แวร์ประยุกตเ์ พื่อกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนออนไลน์ 144 6.3 กำร Login เขำ้ ใช้งำน Google Meet ผำ่ น Chrome 145 6.4 กำรเขำ้ ใชง้ ำน Google Meet ผำ่ นทำง Google apps 146 6.5 หน้ำแรกของ Google Meet ก่อน Sign in ดว้ ยอีเมลของ Google 146 6.6 ตรวจสอบและเตรยี มควำมพร้อมของไมโครโฟนกอ่ นเข้ำหอ้ งเรียน 147 6.7 ตรวจสอบและเตรยี มควำมพร้อมของไมโครโฟนก่อนเขำ้ ห้องเรียน (ต่อ) 147

(12) สำรบัญภำพ (ตอ่ ) หน้ำ ภำพที่ 148 148 6.8 ตรวจสอบและเตรยี มควำมพร้อมของกล้องวดิ ีโอก่อนเข้ำห้องเรยี น 149 6.9 กำรเปลย่ี นฉำกหลงั หรือ Background ของวดิ ีโอ 150 6.10 ลงิ ก์สำหรับเขำ้ ห้องเรยี นและกำรเพิ่มผเู้ รียน 150 6.11 กำรเพ่ิมผเู้ รยี นดว้ ยช่ือและอเี มล 151 6.12 เครื่องมอื สนับสนุนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนออนไลน์ของ Google Meet 152 6.13 ปมุ่ สำหรบั นำเสนอเอกสำรกำรสอนจำกผสู้ อนไปยังผู้เรยี น 152 6.14 กำรนำเสนอเอกสำรกำรสอนจำกผสู้ อนไปยังผเู้ รยี นดว้ ย Whole screen 153 6.15 เปรียบเทียบหนำ้ จอของผู้สอนกับผู้เรยี นทีแ่ สดงผลข้อมลู เหมือนกัน 153 6.16 ปมุ่ More option และเมนยู ่อยภำยใน 154 6.17 เมนู Change the layout 154 6.18 เมนู Turn on subtitles สำหรับแปลงส่งิ ที่ผูส้ อนพูดออกมำเป็นข้อควำม 155 6.19 แสดงจำนวนสมำชิกในห้องเรียน 155 6.20 ปุ่มแชทหรอื พมิ พข์ ้อควำมช่องทำงส่อื สำรระหว่ำงผสู้ อนกับผเู้ รยี น 158 6.21 ปุ่มสำหรับออกจำกห้องเรียน 159 6.22 กำรเข้ำใช้งำน Google Classroom ผำ่ นทำง Google apps 159 6.23 หน้ำแรกของ Google Classroom 160 6.24 กำรสร้ำงห้องเรยี นใน Google Classroom 160 6.25 กำรตงั้ ชอ่ื ห้องเรียนและกลมุ่ เรียน 161 6.26 เคร่อื งมอื สนบั สนุนกำรจัดกำรเรียนกำรสอนออนไลน์ของ Google Classroom 161 6.27 ภำพหรือธมี สำหรับใชใ้ นกำรตกแต่งห้องเรยี นใน Google Classroom 162 6.28 ตวั อยำ่ งภำพหรือธีมที่เลือกใช้ 162 6.29 กำรแจ้งข้อมูลข่ำวสำรแกผ่ เู้ รียนผำ่ น Google Classroom 163 6.30 กำรแจ้งข้อมูลข่ำวสำรแก่ผู้เรียนผ่ำน Google Classroom 163 6.31 กำรมอบหมำยงำนแกผ่ ูเ้ รียนใน Google Classroom 164 6.32 ตัวอยำ่ งงำนที่มอบหมำยแกผ่ ู้เรียน 164 6.33 ตวั อยำ่ งงำนท่ีมอบหมำยแกผ่ เู้ รียน 165 6.34 ตวั อยำ่ งงำนท่ีมอบหมำยแกผ่ เู้ รยี น 165 6.35 กำรเพิ่มผสู้ อนรว่ มในห้องเรยี น 165 6.36 กำรเพิ่มผู้สอนร่วมในห้องเรียน (ต่อ) 166 6.37 กำรรอใหผ้ ู้สอนร่วมตอบรบั กำรเชิญเขำ้ สอนร่วม 166 6.38 ตวั อยำ่ งอเี มลหรือจดหมำยเชิญทีผ่ สู้ อนร่วมจะไดร้ บั 6.39 กำรเพ่ิมผู้เรยี นเขำ้ ห้องเรยี น

(13) สำรบัญภำพ (ตอ่ ) หน้ำ ภำพที่ 167 167 6.40 กำรเพิ่มผ้เู รยี นดว้ ยลิงก์หรอื ด้วยกำรพมิ พอ์ เี มลหรือชื่อ-นำมสกุลของผเู้ รียน 168 6.41 กำรรอผู้เรยี นตอบรบั เข้ำรว่ มชัน้ เรียนออนไลน์ 168 6.42 ส่วนหน่ึงของผูเ้ รียนท่ตี อบรบั เขำ้ รว่ มช้นั เรียนออนไลน์ 169 6.43 งำนและคะแนนงำนของผูเ้ รยี น 172 6.44 รำยชื่อผู้เรียนและข้อมูลกำรสง่ งำน 173 7.1 ศนู ยด์ ัชนกี ำรอ้ำงอิงวำรสำรไทย แหลง่ ทรัพยำกรออนไลนป์ ระเภทข้อควำม 173 7.2 Google Scholar แหลง่ ทรัพยำกรออนไลน์ประเภทข้อควำม 174 7.3 Research Gate แหล่งทรัพยำกรออนไลนป์ ระเภทข้อควำม 175 7.4 Bensound แหล่งทรัพยำกรออนไลน์ประเภทเสยี ง 175 7.5 Pixabay แหลง่ ทรัพยำกรออนไลน์ประเภทภำพนิ่งและภำพเคลอ่ื นไหว 176 7.6 Pixel แหล่งทรพั ยำกรออนไลน์ประเภทภำพนิ่งและภำพเคล่อื นไหว 176 7.7 Canva แหลง่ ทรัพยำกรออนไลนป์ ระเภทกรำฟิก 177 7.8 Removebg แหล่งทรัพยำกรออนไลน์ประเภทกรำฟิก 177 7.9 GIFMaker แหลง่ ทรัพยำกรออนไลนป์ ระเภทกรำฟิก 178 7.10 Skillshare แหล่งทรพั ยำกรออนไลนป์ ระเภทแหล่งเรยี นรู้ 178 7.11 Skilllane แหล่งทรัพยำกรออนไลน์ประเภทแหล่งเรียนรู้ 178 7.12 ThaiMOOC แหลง่ ทรัพยำกรออนไลน์ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ 179 7.13 edX MOOCs แหลง่ ทรัพยำกรออนไลน์ประเภทแหล่งเรยี นรู้ 180 7.14 กำร Login เข้ำใชง้ ำน Google Meet ผำ่ น Chrome 180 7.15 กำรเข้ำใช้งำน Google Sites ผำ่ นทำง Google apps 181 7.16 หนำ้ แรกของ Google Site 182 7.17 กำรตงั้ ชอ่ื ของเวบ็ ไซตแ์ ละหัวขอ้ ของหนำ้ เว็บ 182 7.18 เมนูของ Google Sites 183 7.19 กำรเลอื ก Theme และสีของเว็บไซต์ 183 7.20 กำรสืบค้นและเลือกรูปภำพจำก pixabay 184 7.21 กำรใส่ภำพใน Google Sites 184 7.22 กำรปรบั ขนำดของภำพใน Google Sites 185 7.23 เมนู Preview สำหรบั ทดลองแสดงเว็บไซตเ์ สมือนจริง 185 7.24 กำรทดลองแสดงเวบ็ ไซต์เสมือนจริงแบบ Large screen 186 7.25 กำรทดลองแสดงเวบ็ ไซต์เสมือนจรงิ แบบ Phone 186 7.26 กำรสรำ้ งเมนูของเวบ็ 7.27 กำรสร้ำงเมนหู นำ้ แรก

สำรบญั ภำพ (ตอ่ ) (14) ภำพที่ หน้ำ 7.28 กำรสรำ้ งเมนูประวตั ิสว่ นตัว 186 7.29 เมนปู ระวัตสิ ่วนตัว 187 7.30 เมนูทั้งหมดของเว็บไซต์ 187 7.31 กำรสลับกำรเรียงลำดับของเมนู 188 7.32 เปรียบเทียบระหว่ำงกำรซ่อนเมนกู บั กำรแสดงเมนู 188 7.33 กำรเปล่ยี นตำแหนง่ กำรวำงเมนูจำกด้ำนบนจอไปดำ้ นซ้ำยมือจอ 189 7.34 เปรยี บเทียบตำแหนง่ ของเมนูเมอื่ วำงไว้ดำ้ นบนและด้ำนขำ้ งของเว็บไซต์ 189 7.35 กำรสร้ำงหวั ข้อขำ่ วและประชำสัมพนั ธ์ 190 7.36 กำรเลอื กพืน้ หลังของข้อควำม 191 7.37 กำรเพิ่มรูปภำพและข้อควำมในหวั ขอ้ ขำ่ วและประชำสัมพันธ์ 191 7.38 กำรเพ่ิมรปู ภำพและข้อควำมในหวั ข้อข่ำวและประชำสัมพนั ธ์ (ตอ่ ) 192 7.39 กำรทดลองแสดงเวบ็ ไซตเ์ สมือนจรงิ 192 7.40 กำรเชื่อมโยงภำพไปยังลงิ กท์ ่ีตอ้ งกำร 193 7.41 ส่วนทำ้ ยของเวบ็ ไซต์ 193 7.42 กำรเพิ่มส่วนท้ำยของเวบ็ ไซต์ 194 7.43 ควำมสำมำรถเพ่ิมเตมิ ของ Google Sites 194 7.44 กำรซอ่ นขอ้ ควำมบนเวบ็ ไซต์ 195 7.45 กำรแสดงข้อควำมบนเวบ็ ไซต์ 195 7.46 กำรสรำ้ ง Collapsible text 196 7.47 กำรแสดงภำพแบบสไลด์ 196 7.48 กำรสร้ำง Image carousel 197 7.49 กำรสร้ำงเส้นตรงสำหรบั แบง่ พ้ืนท่หี น้ำเวบ็ 197 7.50 แหล่งข้อมูลท่อี ยู่ในรปู ของวิดีโอจำก Youtube 198 7.51 กำรเพ่ิมแหล่งข้อมลู ท่ีอยใู่ นรูปของวดิ โี อจำก Youtube 198 7.52 กำรเพ่ิมแหล่งข้อมลู ท่ีอยใู่ นรูปของวิดีโอจำก Youtube (ต่อ) 199 7.53 กำรเพ่ิมปฏทิ นิ 199 7.54 กำรเพ่ิมแผนที่ 200 8.1 กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนท่เี ก่ียวข้องกับผสู้ อน 203 8.2 แผนผงั ควำมคิดเกีย่ วกับคอมพวิ เตอรส์ ำหรับครูทีส่ รำ้ งจำก MindMup 204 8.3 Login ดว้ ย Gmail เพื่อเขำ้ Google Drive 205 8.4 กำรคน้ หำ MindMup จำก Google Workspace Marketplace 205 8.5 กำรเรยี กใช้งำน MindMup ผ่ำนทำง Google Drive 205

(15) สำรบัญภำพ (ตอ่ ) หนำ้ ภำพท่ี 206 206 8.6 กำรเรียกใช้งำน MindMup ผ่ำนทำง Google apps 206 8.7 หน้ำหลักของ MindMup 207 8.8 พน้ื ทที่ ำงำนของ MindMup 207 8.9 กำรพมิ พ์ข้อควำมลงในรทู โหนด 207 8.10 กำรเพิ่มโหนดใหก้ บั แผนผงั ควำมคดิ 208 8.11 กำรเพ่ิมโหนดและข้อควำมให้กบั แผนผงั ควำมคิด 208 8.12 กำรเพ่ิม stickers ใหก้ ับแผนผังควำมคดิ 209 8.13 กำรเตมิ สีใหเ้ ส้นของแต่ละโหนด 209 8.14 กำรลบโหนดทซี่ ้ำกันออก 210 8.15 กำรลบเส้นเชื่อมระหวำ่ งโหนด 210 8.16 กำรนำ Mind Mapping ไปใชใ้ นรปู ของไฟล์ pdf 211 8.17 กำรเปดิ ไฟลข์ อง MindMup ทจี่ ัดเก็บไวใ้ น Google Drive 211 8.18 สอ่ื กำรสอนหรือส่อื สำหรบั นำเสนอทีส่ รำ้ งจำก Prezi 212 8.19 คลปิ วิดีโอกำรสอนท่สี ร้ำงจำก Prezi Video 212 8.20 กำรเตรยี มกำรเพ่ือติดตัง้ Prezi Video 213 8.21 โปรแกรม Prezi Video ที่ติดต้งั เสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว 213 8.22 Prezi Video ตรวจสอบกำรทำงำนของกล้องวิดีโอและไมโครโฟน 214 8.23 พนื้ ทท่ี ำงำนและจอแสดงผล Template และวิดีโอตน้ แบบของ Prezi Video 214 8.24 กำรเลือก Template สำหรบั แสดงผลภำพและข้อควำม 215 8.25 กำรเพิ่มภำพนง่ิ และข้อควำม 215 8.26 สอนและบนั ทึกวดิ ีโอกำรสอน 216 8.27 คลกิ Done recording เม่อื บันทึกวิดีโอกำรสอนเสร็จ 216 8.28 แสดงตัวอย่ำงงำนและตัดตัดคลปิ วิดโี อส่วนท่ไี มต่ อ้ งกำรออก 217 8.29 กระบวนกำรบันทึกไฟล์ของคลิปวดิ ีโอ 217 8.30 วธิ ีกำรเผยแพร่คลิปวิดโี อไปยังผเู้ รียน 218 8.31 ตวั อย่ำงคลิปวิดโี อกำรสอนที่ถูกแชรใ์ ห้ผ้เู รยี นทำง Google Classroom 218 8.32 กำรนำเสนอผลทำงหน้ำจอขณะบันทกึ กำรสอนแบบนำเสนอผู้สอนและสื่อพร้อมกัน 219 8.33 หนำ้ จอคอมพวิ เตอร์ของผู้สอนและของผเู้ รยี นที่ตดิ ตั้งโปรแกรม AnyDesk 219 8.34 หนำ้ แรกของโปรแกรม AnyDesk 219 8.35 ไฟล์ AnyDesk.exe สำหรบั ติดต้ังโปรแกรม 220 8.36 คลกิ Run เพื่อตดิ ตัง้ โปรแกรม 8.37 คลกิ Install AnyDesk เพ่อื ติดตงั้ โปรแกรม

(16) สำรบญั ภำพ (ตอ่ ) ภำพที่ หน้ำ 8.38 คลกิ Accept & Install เพือ่ ติดต้งั โปรแกรม 220 8.39 คลกิ Install เพือ่ ติดตัง้ โปรแกรม 220 8.40 โปรแกรม AnyDesk ฝง่ั ผูส้ อน 221 8.41 เลขประจำตวั หรอื ทีอ่ ยู่ของคอมพิวเตอร์ของผูเ้ รียน 221 8.42 ผเู้ รียนอนญุ ำตให้คอมพวิ เตอรข์ องผูส้ อนเชื่อมต่อ 222 8.43 หนำ้ จอคอมพิวเตอรข์ องผู้สอนขณะเช่ือมต่อกบั ของผู้เรียน 222 8.44 หน้ำจอคอมพวิ เตอร์ของผู้เรยี นขณะเชื่อมต่อกบั ของผสู้ อน 223 8.45 ผู้สอนเข้ำถึง ควบคมุ เมำส์ และใชง้ ำนคอมพิวเตอร์ของผ้เู รียน 223 8.46 ผ้สู อนคลกิ เพือ่ Shut down คอมพวิ เตอร์ของผเู้ รียน 224 8.47 ยกเลิกกำรเชื่อมต่อและเขำ้ ใช้งำนคอมพวิ เตอร์ของผ้เู รยี น 224 8.48 กำรตดิ ตง้ั และเขำ้ ถึงคอมพวิ เตอร์ของผู้เรยี นผำ่ นทำงโทรศัพท์มือถือ 225 8.49 กำรเขำ้ ถึงและกำรแก้ไขปัญหำคอมพิวเตอรข์ องผูเ้ รยี นผำ่ นทำงโทรศัพทม์ ือถือ 225 8.50 กำรเข้ำถึงและกำรแก้ไขปัญหำคอมพิวเตอร์ของผูเ้ รียนผ่ำนทำงโทรศัพทม์ ือถือ (ต่อ) 226 8.51 หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ทส่ี ร้ำงด้วยโปรแกรม PubHTML5 226 8.52 Sign in เข้ำ PubHTML5 ดว้ ยบัญชขี อง Facebook หรือ Google 227 8.53 สรำ้ งแหลง่ จดั เก็บผลงำน 227 8.54 ขนั้ ตอนกำรสรำ้ งหนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ 228 8.55 กำรแปลงไฟล์ PDF เปน็ หนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ 228 8.56 หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส์ที่สร้ำงด้วยโปรแกรม PubHTML5 229 8.57 เลอื กคลิก PubHTML5 หรือ Online Link เม่อื ต้องกำรอ่ำนหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ 229 8.58 ป่มุ ลกู ศรสำหรับเลอื กอ่ำนหนังสือยงั หน้ำถดั ไปหรือกลับสหู่ น้ำกอ่ นหนำ้ 230 8.59 คลิก Fullscreen เมอ่ื ต้องกำรอ่ำนหนงั สอื แบบเต็มจอ 230 8.60 คลิก Exit Fullscreen เมื่อต้องกำรย่อขนำดของหนังสือลง 231 8.61 กำรแชร์ลิงก์หรือส่งตอ่ หนงั สือใหผ้ ู้เรยี น 231 8.62 กำร Copy ลงิ ก์ที่ตอ้ งกำรแชร์หรอื ส่งต่อหนงั สือใหผ้ เู้ รยี น 232 8.63 รูปแบบกำรจัดเกบ็ หนังอิเล็กทรอนิกส์ของโปรแกรม PubHTML5 232 8.64 ผลงำนของผ้เู รยี นทีส่ ร้ำงสรรคร์ ่วมกนั ดว้ ยโปรแกรม Jamboard 233 8.65 กำรเขำ้ ใช้งำนโปรแกรม Jamboard ผ่ำนทำง Google apps 234 8.66 พนื้ ทส่ี ำหรบั กำรทำงำนของโปรแกรม Jamboard 234 8.67 กำรเชญิ ผอู้ น่ื เข้ำรว่ ม Jamboard 234 8.68 กำรเชิญผู้อืน่ เขำ้ รว่ ม Jamboard ทำงอีเมล 235

สำรบญั ภำพ (ตอ่ ) (17) ภำพท่ี หน้ำ 8.69 ลกั ษณะของจดหมำยเชญิ ท่ผี ู้เรียนได้รบั 235 8.70 แสดงช่อื และภำพของผูเ้ รยี นขณะเข้ำรว่ มทำกิจกรรมใน Jamboard 236 8.71 กำรบันทึกเปน็ ไฟลเ์ ปน็ PDF และเปน็ ไฟลภ์ ำพ 236 8.72 กำรทดลองวำดภำพลงใน Jamboard 237 8.73 ผลงำนของผเู้ รียนทสี่ ร้ำงสรรค์ร่วมกันดว้ ยโปรแกรม Jamboard 237 8.74 หนำ้ แรกและเมนขู องโปรแกรม AutoDraw 238 8.75 วำดภำพตำมจินตนำกำรด้วยโปรแกรม AutoDraw 238 8.76 กำรแชรห์ รือดำวน์โหลดไฟล์ 239 8.77 กำร Copy Link เพอ่ื แชร์ไฟล์ 239 9.1 กำรเร่ิมทำงำนกบั Google Form 243 9.2 หน้ำแรกของ Google Form 244 9.3 ตง้ั ช่อื ฟอรม์ ของแบบทดสอบ 244 9.4 ช่อื ฟอร์มของแบบทดสอบ 245 9.5 ฟอร์มและฟอร์มยอ่ ยของแบบทดสอบ 245 9.6 กำรเพ่ิมคำชแ้ี จง 246 9.7 กำรเพิ่มคำช้แี จง (ต่อ) 246 9.8 กำรเพ่ิมฟอรม์ ย่อยท่แี ตกต่ำงจำกฟอรม์ ย่อยก่อนหน้ำ 247 9.9 กำรสรำ้ งข้อสอบแบบเลือกตอบ 247 9.10 กำรแทรกรปู ภำพในข้อสอบ 248 9.11 รปู แบบของคำตอบ 248 9.12 กำรดูมมุ มองของข้อสอบในมุมมองของผ้เู รยี น 249 9.13 มุมมองของข้อสอบในมมุ มองของผู้เรียน 249 9.14 กำรตกแต่งฟอร์มของแบบทดสอบ 250 9.15 ผลกำรตกแต่งฟอรม์ ของแบบทดสอบ 250 9.16 ผลกำรตกแตง่ ฟอร์มของแบบทดสอบ (ต่อ) 251 9.17 ผลกำรตกแต่งฟอรม์ ของแบบทดสอบ (ต่อ) 251 9.18 กำรกำหนดเง่ือนไขในกำรทำแบบทดสอบ 252 9.19 กำรแสดงผลกำรสง่ คำตอบของผเู้ รยี นดว้ ยกรำฟ 252 9.20 กำรแสดงผลคะแนนหลงั จำกผูเ้ รียนส่งคำตอบ 253 9.21 ลิงกส์ ำหรบั สง่ แบบทดสอบให้ผ้เู รียน 253 9.22 กำหนดไม่ใหผ้ ้เู รียนเข้ำถึงหรือเห็นแบบทดสอบก่อนถึงเวลำทก่ี ำหนด 254 9.23 จำนวนผูเ้ รียนทสี่ ่งคำตอบแลว้ 254

สำรบัญภำพ (ตอ่ ) (18) ภำพที่ หน้ำ 9.24 ภำพรวมผลสอบของผ้เู รยี นทั้งหมด 255 9.25 ผลกำรทดสอบของผูเ้ รียนท้ังหมดเป็นไฟล์ Excel 256 9.26 ผลกำรทดสอบของผูเ้ รยี นที่แสดงใน Excel 256 9.27 กำร Sign up เพื่อสมัครเข้ำใช้งำนครัง้ แรก 257 9.28 กำรเลือกลักษณะของผูใ้ ช้งำน 257 9.29 กำรเลอื กลักษณะของหนว่ ยงำน 258 9.30 กำรสร้ำงบญั ชผี ใู้ ชง้ ำน 258 9.31 กำรเพ่ิมข้อมลู สว่ นตัว 258 9.32 หนำ้ แรกของ Kahoot พร้อมสร้ำงแบบทดสอบ 259 9.33 เลือกรูปแบบกำรนำเสนอ 259 9.34 ลกั ษณะของแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 260 9.35 ตวั อย่ำงคำถำมและคำตอบ 260 9.36 ตัวอยำ่ งคำถำมและคำตอบ (ต่อ) 261 9.37 แบบทดสอบพร้อมใช้งำน 261 9.38 เลอื กรปู แบบกำรนำเสนอแบบทดสอบ 262 9.39 เลือกรูปแบบกำรเล่นให้กับผเู้ รยี น 262 9.40 รอผ้เู รียนเขำ้ รว่ มทำแบบทดสอบด้วยเกมพนิ 263 9.41 กำรกรอกเกมพนิ เข้ำรว่ มทำแบบทดสอบของผูเ้ รียนด้วยโทรศัพท์มือถอื 263 9.42 คลิกป่มุ Start เม่ือผเู้ รียนพร้อมทำแบบทดสอบ 264 9.43 ลักษณะของข้อสอบหลงั คลิกป่มุ Start 264 9.44 ลกั ษณะคำตอบทีห่ นำ้ จอโทรศัพท์มอื ถือของผู้เรยี น 265 9.45 กำรเฉลยผลทดสอบหลงั จำกหมดเวลำทำแบบทดสอบแต่ละข้อ 265 9.46 รำยช่อื ผทู้ ำคะแนนได้สูงสุดสำมลำดับ 266 9.47 ดูรำยงำนผลคะแนนของผู้เรียน 266 9.48 ดำวนโ์ หลดรำยงำนผลคะแนนของผเู้ รียน 267 9.49 รำยงำนผลคะแนนของผเู้ รียน 267 9.50 รำยงำนผลคะแนนของผู้เรยี นในรปู ของ Excel 268 9.51 รำยงำนผลคะแนนของผเู้ รยี นรำยบคุ คลในรูปของ Excel 268 10.1 กำรทำงำนกบั คอมพิวเตอรส์ ่วนบุคคลในอดีตและปจั จบุ นั 271 10.2 กำรเชอ่ื มต่อคอมพวิ เตอร์แบบบัส (Bus) 272 10.3 กำรเช่อื มต่อคอมพิวเตอร์แบบสตำร์ (Star) 273

(19) สำรบัญภำพ (ตอ่ ) ภำพที่ หน้ำ 10.4 กำรเชอ่ื มต่อของเครื่องคอมพิวเตอรแ์ บบวงแหวน (Ring) 274 10.5 กำร์ดแลนสำหรับเช่อื มต่อกบั เครอื ขำ่ ยแบบมีสำยสญั ญำณและแบบไร้สำยสัญญำณ 275 10.6 อปุ กรณ์เครือข่ำยประเภท ADLS Router สำยสัญญำณแบบ UTP และหวั ต่อ RJ45 276 10.7 รูปแบบกำรตดิ ต้ังและกำรเชอื่ มตอ่ อุปกรณ์สำหรับเครือขำ่ ยคอมพิวเตอร์ 277 10.8 กำรตรวจสอบสถำนะกำรเช่ือมตอ่ ของ Wi-Fi 278 10.9 สถำนะกำรเชอ่ื มต่อของ Wi-Fi 279 10.10 สัญลักษณ์สำหรบั เชื่อมต่อ Wi-Fi จำกหนำ้ จอคอมพวิ เตอร์ 279 10.11 กำรเช่อื มต่อ Wi-Fi จำกหน้ำจอคอมพวิ เตอร์และรำยชือ่ Wi-Fi อื่น ๆ 280 10.12 Web Browser ท่ไี ด้รับควำมนยิ ม 280 10.13 หนำ้ แรกของ Web Browser ของ Chrome 281 10.14 คำสง่ั สำหรับโหมดไมร่ ะบตุ วั ตน หรือ Incognito Mode ของ Chrome 282 10.15 หน้ำตำของโหมดไม่ระบุตวั ตน หรือ Incognito Mode ของ Chrome 282 10.16 หน้ำต่ำงของ Chrome สำหรับสบื ค้นข้อมูลโหมดไมร่ ะบุตัวตน 283 10.17 ประวัตกิ ำรใช้งำนอินเทอร์เน็ต 283 10.18 เลือกประวัตกิ ำรใชง้ ำนอินเทอรเ์ นต็ ที่ต้องกำรลบ 284 10.19 แท็บทป่ี ักหมุดกับแท็บทไ่ี ม่ได้ปกั หมุด 284 10.20 สว่ นขยำยหรอื Extension เพิม่ เตมิ บน Chrome 285 10.21 กำรปรบั หนำ้ แรกของ Chrome ใหเ้ ปน็ เวบ็ ทผี่ ้ใู ชต้ ้องกำร 286 10.22 กำรเปล่ยี นภำพพื้นหลงั ตำมต้องกำรให้กับ Chrome ด้วยไอคอนรปู ดนิ สอ 286 10.23 กำรกำรปรบั ขนำดของฟอนต์ใน Chrome 287 10.24 กำรใชง้ ำน Auto-fill เพ่ือจดจำรหัสผำ่ นบนเวบ็ 288 10.25 กำรกำหนดแหล่งจัดเก็บไฟล์ที่ดำวน์โหลดจำกเว็บ 288 11.1 องค์ประกอบพ้นื ฐำนเกีย่ วกบั ควำมมน่ั คงปลอดภัยของคอมพวิ เตอร์ 292 11.2 ห้องปฏบิ ัตกิ ำรคอมพวิ เตอร์ในสถำนศึกษำท่ตี ดิ ตัง้ กล้องวงจรปดิ 293 11.3 ควำมมน่ั คงปลอดภยั ของคอมพิวเตอร์ 294 11.4 ภัยคุกคำมควำมมนั่ คงปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ปี 2562 296 11.5 โปรแกรม Windows Security ใน Windows 10 298 11.6 โปรแกรม Windows Security ใน Windows 10 299 11.7 รปู แบบกำรสแกนหำไวรสั ของ Windows Security 299 11.8 Windows Security กำลังสแกนหำไวรสั 300

สำรบญั ภำพ (ตอ่ ) (20) ภำพท่ี หน้ำ 11.9 กำรตรวจสอบกำรทำงำนของไฟรว์ อลลใ์ น Windows 10 301 11.10 กำรอัปเดตซอฟต์แวร์ใน Windows 10 302 11.11 กำรตรวจสอบสถำนะกำรอัปเดตใน Windows 10 302 11.12 ระบบกำลงั ดำวน์โหลดขอ้ มูลสำหรบั กำรอปั เดต 302 11.13 สถำนนะกำรอปั เดตเป็นปจั จุบันแล้ว 303 11.14 กำรสำรองขอ้ มูลใน Windows 10 303 11.15 แผนภำพจำลองกำรรกั ษำควำมมั่นคงปลอดภัยของคอมพวิ เตอร์ 305 11.16 ทรัพย์สนิ ทำงปัญญำ 307 11.17 แนวคิดจรยิ ธรรมกำรใช้คอมพิวเตอร์ 311

(21) สำรบญั ตำรำง หนำ้ ตำรำงท่ี 16 1.1 กำรออกแบบและวำงแผนจัดกจิ กรรมกำรเรียนรู้สำหรบั กำรจดั กำรเรยี น 294 กำรสอนออนไลน์ 308 312 11.1 ภยั คุกคำมควำมม่ันคงปลอดภยั ของคอมพวิ เตอร์ 11.2 กำรอนญุ ำตใหน้ ำผลงำนทม่ี ีลิขสทิ ธ์ไิ ปใช้โดยไม่ถือเปน็ กำรละเมดิ ลิขสิทธิ์ 11.3 ฐำนควำมผดิ และบทลงโทษวำ่ ดว้ ยกำรกระทำควำมผิดเกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์

(22) ภำพรวมเน้อื หำของหนงั สือคอมพวิ เตอร์สำหรบั ครู : ทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ

1 บทที่ 1 แนวคิดคอมพิวเตอรส์ ำหรับครู ยุคสังคมดิจิทัลที่ผู้เรียนเกิดและเติบโตมาพร้อมกับเทคโนโลยีดิจิทัล หมายความว่า คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่ผู้เรียนคุ้นเคยและใช้งานอยู่แล้วเป็นประจาในกิจวตั รประจาวัน ในขณะท่ีผู้สอน อาจจะไม่คุ้นเคยและไม่ได้ใช้งานคอมพิวเตอร์มากเท่ากับผู้เรียน จึงทาให้เสมือนมีช่องว่างระหว่าง ผู้สอนและผู้เรียนจนสง่ ผลต่อการจัดการเรียนการสอนด้วยการเทคโนโลยีดิจิทัลในที่สุด (Jira Jitsupa et al., 2020) อย่างไรก็ตามไม่ได้เป็นส่ิงที่ยากและลาบากเกินกว่าที่ผู้สอนจะเรียนรู้และพัฒนา สมรรถนะดิจิทัลของตนเอง ให้มีความรู้ความสามารถในการใช้งานคอมพิวเตอร์ อย่างน้อยนามาใช้ สาหรบั การจดั การเรยี นการสอน เนื่องจากคอมพวิ เตอร์เป็นเคร่ืองมือสาคญั ทชี่ ว่ ยอานวยความสะดวก ให้กับผู้สอนได้อย่างดียิ่งสาหรับกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งก่อนสอน ระหว่างสอน และหลังสอน ดังภาพที่ 1.1 อาจประกอบด้วยการออกแบบและวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การดาเนิน กิจกรรมการเรียนรู้การเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ การสนับสนุนการเรียนรู้ และการวัดและ ประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผ้เู รียนอยา่ งมีประสิทธิภาพ ภำพที่ 1.1 กิจกรรมการเรียนการสอนที่เกยี่ วข้องกับครู คอมพิวเตอร์ได้รับความนิยมนาไปใช้จัดการเรียนการสอนสาหรับผู้เรียนระดับอนุบาล จนถึงผู้เรียนระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะเม่ือเกิดการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด 19 คอมพิวเตอร์ย่ิงทวีความสาคัญย่ิงขึ้นด้วยการนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ใน 3 รูปแบบประกอบดว้ ย การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนปกติ (Onsite Learning) การจดั การ เรียนการสอนออนไลน์ (Online Learning) แบบประสานเวลา (Synchonous) และแบบไม่ประสาน เวลา (Asynchonous) และการจัดการเรียนการสอนแบบออนแอร์ (Onair Learning) การจัดการ

2 เรียนการสอนดังกล่าวจาเป็นต้องเตรียมการสอน ออกแบบและพัฒนาสื่อการเรียนการสอน รวบรวม แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ ดาเนินการสอน และดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน จึงจาเป็นที่ผู้สอนจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ด้านทฤษฎีและด้านปฏิบัติเพื่อช่วย ให้ผูส้ อนสามารถนาคอมพิวเตอร์ไปประยกุ ต์ใช้จดั การเรยี นการสอนได้อยา่ งสร้างสรรค์และรเู้ ท่าทัน เบื้องต้นหนังสือบทน้ีจะนาผู้สอนไปทาความรู้จักกับแนวคิดคอมพิวเตอร์สาหรับครู ประกอบด้วย ความหมายของคอมพิวเตอร์ กระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของ คอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ บทบาทของคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา และบทบาทของ คอมพิวเตอร์สาหรับครู โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี ควำมหมำยของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์เป็นเทคโนโลยีดิจิทัลที่ถูกสร้างและได้รับการพัฒนาให้สามารถใช้งานได้ อย่างมีประสิทธิภาพมาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานกว่าคร่ึงศตวรรษ แพร่หลายและได้รับการยอมรับ นาไปใชง้ านอยา่ งกวา้ งขวางในทุกวงการ Dainow (2017) กล่าวว่าหากพดู ถึงคาวา่ คอมพวิ เตอร์ มกั จะ หมายถงึ คอมพวิ เตอร์แบบตงั้ โต๊ะ คอมพวิ เตอร์แบบวางบนตกั คอมพิวเตอร์เมนเฟรมขนาดใหญ่ท่ีใช้ใน องค์กรขนาดใหญ่ หรือแม้แต่โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต เทคโนโลยีที่สวมใส่ได้ เคร่ืองควบคุมเกม อปุ กรณ์ทางการแพทย์ และอื่น ๆ อกี มากมายที่มีขนาด ฮารด์ แวร์ และซอต์ฟแวร์ใช้งานท่ีแตกต่างกัน และคอมพิวเตอร์ทางานได้หลากหลายตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน เช่น พิมพ์รายงาน ส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เล่นเกม ทอ่ งเว็บ สร้างตารางคานวณ สรา้ งงานหรือเอกสารสาหรับนาเสนอ ดูหนัง และฟังเพลง เป็นต้น วงการศึกษานาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ทุกระดับการศึกษา และ ทกุ สถาบนั การศึกษา ดังนัน้ เพอ่ื ให้ผู้สอนรู้ และเข้าใจเบอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์ จึงนาเสนอแนวคิด ด้านคอมพวิ เตอรเ์ ตอร์จากนกั วชิ าการที่ได้ให้ความหมายเอาไว้ดังน้ี Evans (2011) กล่าวว่าคอมพิวเตอร์ คือ เครื่องจักรที่ทาหน้าท่ีนาเข้าข้อมูลผ่านการพิมพ์ ด้วยคีย์บอร์ดจากผู้ใช้งาน ข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีเช่ือมต่อ หรือข้อมูลที่ถูกนาเข้ามาโดย อัตโนมัติผ่าน Sensors ท่ีทางานควบคู่กับคอมพิวเตอร์ ประมวลผลข้อมูล และนาเสนอหรือแสดงผล ขอ้ มูลให้ผ้ใู ชน้ าไปใช้ประโยชน์ Stallings (2016) กล่าวว่าคอมพิวเตอร์ คือ ระบบที่มีความซับซ้อนที่ประกอบด้วย ส่วนประกอบนับล้านชิ้น ทาหน้าที่หลักในการนาเข้าข้อมูล ประมวลผลข้อมูล จัดเก็บข้อมูล แสดงผล ขอ้ มลู และควบคมุ การทางานของอุปกรณ์ทั้งหมดท่ีเก่ียวข้องกับคอมพิวเตอร์ ภาสกร พาเจริญ (2561) กล่าวว่าคอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ช่วยให้ มนุษย์สามารถทางานได้โดยสะดวก รวดเร็ว และแม่นยา เช่น ใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ประมวลผล ข้อมูล โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์ (2561) กล่าวว่าคอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีทางาน อัตโนมัติ มีหน่วยประมวลผลกลางที่เปรียบเสมือนสมองกลสาหรับคานวณ ประมวลผลข้อมูลต่าง ๆ สามารถใช้เป็นเคร่ืองมือในการจัดการกับข้อมูลด้วยการประมวลผลข้อมูลได้อัตโนมัติตามโปรแกรม ทม่ี นุษย์ปอ้ นคาส่ังเขา้ ไป ผลลพั ธ์ท่ไี ด้กจ็ ะเปน็ สารสนเทศทีก่ อ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ วงการทัว่ ไป

3 เกษมชาติ ทองชา (2561) กล่าวว่าคอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีสามารถ ทางานโดยการรับข้อมูลเข้า เพ่ือทาการประมวลล และสามารถแสดงผลลัพธ์ รวมถึงการเก็บข้อมูล ไว้ใชเ้ ม่ือยามต้องการ ผู้เขียนขอสรุปวา่ คอมพวิ เตอร์ คอื อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ที่อานวยความสะดวกใหก้ ับผู้ใช้ ในการนาเข้า ประมวลผล จัดเก็บ และแสดงผลข้อมูลที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ในเวลาอันรวดเร็วและเป็น อตั โนมัติ จากความหมายของคอมพิวเตอร์พบว่าไม่ว่าจะเป็นยุคใดสมัยใด การทางานหลักของ คอมพิวเตอร์ยังคงเหมือนเดิมไม่ได้เปลี่ยนแปลงไป น่ันคือยังคงทาหน้าที่นาเข้าข้อมูล ประมวลผล จัดเกบ็ และแสดงผลขอ้ มูลท่ถี ูกตอ้ ง รวดเรว็ และเปน็ อัตโนมตั ิ ดงั นัน้ จงึ สรปุ ไดว้ ่าคอมพวิ เตอรม์ ีหน้าที่ และกระบวนการทางานหลกั ๆ ประกอบด้วย 1. การนาเข้าข้อมูล (Data Input) อาจเป็นข้อมูลดิบ เช่น คะแนนทดสอบก่อนเรียน คะแนนทดสอบหลังเรียน คะแนนจากผลงานระหว่างเรียน คะแนนปลายภาคของผู้เรียน เป็นต้น ทถ่ี ูกผสู้ อนป้อนเข้าสู่คอมพิวเตอร์ 2. การประมวลผลข้อมูล (Data Processing) เป็นการนาข้อมูลดิบท่ีถูกป้อนเข้ามาทาง ช่องทางต่าง ๆ มาประมวลผลด้วยหลักการทางคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร และการเปรยี บเทยี บ เป็นต้น 3. การจัดเก็บข้อมูล (Data Storage) เป็นการนาข้อมูลดิบที่ผ่านการประมวลผลแล้ว และออกมาเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์หรือสารสนเทศเรียบร้อยแล้วไปจัดเก็บไว้ใช้ประโยชน์เมื่อ ตอ้ งการ 4. การแสดงผลข้อมูล (Data Output) เป็นการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลหรือ ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มาแสดงผ่านทางหน้าจอของคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้ผู้ใช้งานเห็น ได้ยิน หรือรับรู้ถึง ข้อมลู เหลา่ นัน้ ภาพท่ี 1.2 เป็นการสรุปหน้าท่ีและกระบวนการทางานหลัก ๆ ของคอมพิวเตอร์ตามท่ีได้ กล่าวมาแล้วว่าประกอบด้วยการนาเข้าข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล และการ แสดงผลข้อมูล หน้าท่ีและกระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์ก็ยังคงเป็นเช่นเดิมไม่เปลี่ยนแปลง ตั้งแต่กาเนิดคอมพิวเตอร์เคร่ืองแรกเมื่อนานมาแล้วจนถึงปัจจุบัน และจะวนเวียนกันไปในลักษณะ เช่นน้ีต้ังแต่เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ จนกระทั่งหยุดการทางานคอมพิวเตอร์ ด้วยการปิดเคร่ือง หน้าที่และกระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์จึงจะส้ินสุดลง คอมพิวเตอร์ เปล่ียนแปลงเพียงเทคโนโลยีอันทันสมัยท่ีทาให้คอมพิวเตอร์ทางานได้รวดเร็วข้ึน มีพ้ืนท่ีจัดเก็บข้อมูล จานวนมหาศาลข้ึน พกพาสะดวก มีรูปร่างและขนาดหลากหลายให้เลือกใช้งานตามความต้องการ และในราคาทผ่ี ู้ใชส้ ามารถเขา้ ถึงได้

4 ภำพที่ 1.2 หนา้ ทแ่ี ละกระบวนการทางานหลักของคอมพวิ เตอร์ กระบวนกำรทำงำนของคอมพิวเตอร์ การทางานของคอมพิวเตอร์เป็นกระบวนการท่ีเกิดข้ึนอย่างต่อเน่ือง ตามกระบวนการ ทางานของ 5 หน่วยหลัก (Unit) ได้แก่ หน่วยนาเข้าข้อมูล (Input Unit) หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Processing Unit) หน่วยจัดเก็บข้อมูล (Storage Unit) และหนว่ ยแสดงผลข้อมูล (Output Unit) ดงั แสดงในภาพที่ 1.3 กระบวนการทางานของคอมพวิ เตอร์ เริ่มต้นจากการท่ีข้อมูลถูกป้อนผ่านหน่วยนาเข้าข้อมูล (Input Unit) เข้ามาทาการแปลงข้อมูล (Coder) ซ่ึงเป็นขั้นตอนที่คอมพิวเตอร์แปลงข้อมูลที่ถูกป้อนเข้ามาให้อยู่ในรูปของสัญญาณดิจิทัล (Digital Signal) อันเป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ และส่งต่อไปจัดเก็บหรือพักไว้ ชั่วคราวที่หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit) และทยอยส่งไปให้หน่วยประมวลผลกลาง (Processing Unit) ประมวลผล เสร็จแล้วส่งกลับมายังหน่วยความจาหลักเพ่ือส่งไปยังหน่วยจัดเก็บ ข้อมูล (Storage Unit) เพื่อจัดเก็บและดึงกลับมาใช้เมื่อต้องการ และแปลงข้อมูล (Decoder) เพ่ือให้ สามารถแสดงผลยังหน่วยแสดงผลข้อมูล (Output Devices) กระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์ อาจเกิดอุปสรรคหรือสิ่งรบกวน (Noise) ข้ึนได้ในทุกหน่วย เช่น หน่วยนาเข้าข้อมูลแปลงข้อมูล ผิดพลาด หน่วยความจาหลักมีพื้นท่ีพักข้อมูลไม่เพียงพอ หน่วยประมวลผลกลางทางานหนักเกินไป จนเกิดความร้อนหรือประมวลผลไม่ทัน หน่วยจัดเก็บข้อมูลโดนไวรัสเล่นงาน หรือหน่วยแสดงผล ข้อมูลแสดงผลผิดเพ้ียน เป็นต้น การใช้งานคอมพิวเตอร์จึงต้องตรวจสอบและพยายามลดอุปสรรค หรือส่งิ รบกวนการทางานของคอมพิวเตอร์ให้เหลือน้อยท่สี ุดเท่าที่จะทาได้ เพอื่ ใหก้ ระบวนการทางาน

5 ของคอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และจากกระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์ข้างต้น เพ่ือให้เข้าใจการทางานของคอมพิวเตอร์ยิ่งขึ้น จึงนามาประยุกต์เป็นแบบจาลองแสดงกระบวนการ ทางานของคอมพวิ เตอร์เพ่ือการคานวณผลการเรยี นและตัดเกรดของผเู้ รียนได้ ดังแสดงในภาพที่ 1.4 ภำพท่ี 1.3 กระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์ ภำพที่ 1.4 แบบจาลองแสดงกระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์ในการตัดเกรดของผู้เรียน

6 จากภาพท่ี 1.4 เม่ือพิจารณาถึงกระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์ข้างต้น โดยอิงตาม หน่วยการทางานหลักของคอมพิวเตอร์ อธิบายได้ว่าจุดเริ่มต้นการทางานของคอมพิวเตอร์เกิดขึ้น เมื่อข้อมูลถูกป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ เช่น คะแนนเก็บ คะแนนสอบ โดยส่งไปจัดเก็บหรือพักไว้ ชั่วคราวที่หน่วยความจาหลัก (RAM) และทยอยส่งไปคานวณหาผลรวมของคะแนน เสร็จแล้ว ส่งกลับมายังหน่วยความจาหลัก เพื่อส่งไปจัดเก็บอย่างถาวรในฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) รอนามาใช้ เมื่อต้องการ และแสดงผลการคานวณในรูปของผลการเรียนหรือเกรดยังหน้าจอ (Monitor) หรือ เครื่องพิมพ์ (Printer) กระบวนการตัดเกรดของคอมพิวเตอร์อาจเกิดอุปสรรคหรือปัญหาขึ้นได้ เช่นเดียวกัน เช่น แป้นพิมพ์บนคีย์บอร์ด (Keyboard) เสีย หน่วยความจาหลักมีพื้นที่พักข้อมูล ไม่เพียงพอ เนื่องจากทางานพร้อมกันหลาย ๆ งานพร้อมกัน การคานวณคะแนนอาจผิดพลาด เนื่องจากสูตรคานวณไม่ถูกต้อง พื้นที่จัดเก็บข้อมูลในฮาร์ดดิสก์เต็ม หน้าจอแสดงผลไม่ครบทุกสี หรือเครื่องพิมพ์พิมพ์ผลการเรียนออกมาไม่ชัด เป็นต้น จาเป็นท่ีผู้สอนจะต้องตรวจสอบ ดูแลรักษา คอมพิวเตอร์อย่างสม่าเสมอ เพื่อลดอุปสรรคหรือปัญหา และทาให้คอมพิวเตอร์ทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอร์เป็นอปุ กรณ์ที่มหี ลายองค์ประกอบ และแตล่ ะองค์ประกอบต้องทางานร่วมกัน อย่างเป็นระบบ การแบ่งองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ออกเป็นส่วน ๆ แต่ยังคงทางานประสานกัน เพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน จะช่วยให้ครูเข้าใจองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ได้ดีย่ิงข้ึน คอมพิวเตอร์มีองค์ประกอบหลักท่ีสาคัญ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (Peopleware) ข้อมูล (Data) และกระบวนการทางาน (Procedure) ดังแสดง ในภาพที่ 1.5 กระบวนกำรทำงำน ภำพที่ 1.5 องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์ จากภาพที่ 1.5 เป็นการทางานประสานกันของแต่ละองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ อธิบายได้ดังนี้ ครูซ่ึงเป็นบุคลากรของโรงเรียน (People ware) กาลังนั่งพิมพ์ข้อมูล (Data) เช่น คะแนนเก็บ คะแนนกลางภาค และคะแนนปลายภาคของนักเรียน ลงในคอมพิวเตอร์ทางแป้นพิมพ์

7 ซึ่งเป็นฮาร์ดแวร์ (Hardware) เพื่อให้คอมพิวเตอร์คานวณคะแนนผลการเรียนและสร้างกราฟ โดยใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น Microsoft Excel ซ่ึงเป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Software) ด้านตาราง คานวณที่ทางานอยู่ภายใต้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการวินโดว์ (Windows) เหตุการณ์ท้ังหมดท่ีเกิดข้ึน น้ีเรียกว่ากระบวนการทางาน (Procedure) ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เข้าใจมากยิ่งขึ้นบทน้ีจะได้ กล่าวถึงรายละเอียดองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์พอสังเขป และจะกล่าวถึงอย่างละเอียดใน บทเรียนต่อ ๆ ไป ดงั น้ี 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เป็นวัสดุและอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ สามารถมองเห็นด้วยตา และจับต้องได้ด้วยมือ มีทั้งท่ีติดต้ังและเชื่อมต่ออยู่ภายในและภายนอกตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร์ (Case) และสามารถทางานประสานกันได้เป็นอย่างดี เพื่อก่อให้เกิดกระบวนการทางานของคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วย อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล (Input Device) เช่น แป้นพิมพ์ หน้าจอแบบสัมผัส หน่วยประมวลผลกลาง (Process Device) เช่น ซีพียู (CPU) หน่วยความจาหลัก (Main Memory) เช่น รอม (ROM) และแรม (RAM) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Storage Device) เช่น ฮาร์ดดิสก์ และ อุปกรณ์แสดงผลขอ้ มูล (Output Devices) เช่น หนา้ จอ และเครอื่ งพมิ พ์ เป็นตน้ 2. ซอฟต์แวร์ (Software) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาสั่งท่ีถูกเขียนข้ึนเพ่ือให้คอมพิวเตอร์ ทางานได้ตามท่ีผู้ใช้ต้องการ แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เช่น ระบบปฏิบัติการวินโดว์ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) เช่น Microsoft Excel และ Microsoft Word เปน็ ตน้ 3. บคุ ลากร (Peopleware) เปน็ บคุ คลหรือผูท้ ปี่ ฏิบัติงานโดยใช้คอมพวิ เตอร์ คอยควบคุม ระบบคอมพิวเตอร์ให้ปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่น คอยแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นกับระบบคอมพิวเตอร์ และ พัฒนาซอฟต์แวร์ รวมถึงใช้งานโปรแกรมประยุกต์ท่ีถูกพัฒนาขึ้น แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มผู้ใช้งาน กลุ่มผู้พัฒนาระบบสารสนเทศ กลุ่มผู้ปฏิบัติงานระบบคอมพิวเตอร์ กลุ่มผู้ค้าขาย คอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์ และกลุม่ ผู้บรหิ ารระบบสารสนเทศ 4. ข้อมูล (Data) เป็นทรัพยากรที่สาคัญและเป็นมีค่า ถือเป็นทรัพย์สินที่ต้องจัดการให้ดี เช่นเดียวกับทรัพยากรอ่ืน ๆ และต้องจัดการอย่างเป็นระบบ เช่น ระบบสารสนเทศการปฏิบัติงาน สาหรับการจัดการ การตัดสินใจ และกาหนดกลยุทธ์เพ่ือความได้เปรียบในการแข่งขันและบริการ ผู้รับบริการ ตัวอย่างข้อมูลในสถานศึกษา เช่น ข้อมูลนักเรียน ข้อมูลครู ข้อมูลครุภัณฑ์ ข้อมูลหนังสือ ข้อมลู ผลการเรยี นของนกั เรียน เป็นต้น 5. กระบวนการทางาน (Procedure) เป็นขั้นตอนท่ีผู้ใช้จะต้องทาตาม เพ่ือให้ได้งาน เฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทางานพ้ืนฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพ่ือจะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง กระบวนการทางานอาจเขียนอธิบายอยู่ในรูปของเอกสารคู่มือ หรือเอกสารอ้างอิงในลักษณะออนไลน์ก็ได้ (พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ, 2553) เช่น การลงทะเบียนออนไลน์ การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การใช้งาน Facebook หรือ การใช้บริการเครื่องฝากและถอนเงิน อัตโนมัติ ซงึ่ อาจมกี ระบวนการดังน้ี จอภาพแสดงขอ้ ความเตรยี มพร้อมท่จี ะทางาน สอดบตั รและพิมพ์ รหัสส่วนตัวของเจ้าของบัตร เลือกรายการที่ต้องการ เช่น ฝาก ถอน โอน ใส่จานวนเงินที่ต้องการ สอดเงินในชอ่ งที่กาหนด หรือรบั เงนิ และรับใบบันทึกรายการและบตั รคืนมา เปน็ ต้น

8 ประเภทของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนตัวท่ีใช้ทางานและตอบสนองกับผู้ใช้งานเพียงครั้งละหน่ึงคน และคอมพิวเตอร์ท่ีใช้งานได้หลายคนพร้อมกัน (Multi-User Computer) อาจเรียกว่าคอมพิวเตอร์ หลายผู้ใช้ ซึ่งไม่ได้หมายความว่าเป็นคอมพิวเตอร์ส่วนกลางที่ใคร ๆ จะมาใช้งานก็ได้ แต่หมายถึง คอมพิวเตอร์ท่ีมีความสามารถในการทางานและตอบสนองกับผู้ใช้งานจานวนมากในเวลาเดียวกัน ได้ รายละเอียดดังแสดงในภาพที่ 1.6 ภำพท่ี 1.6 ประเภทของคอมพวิ เตอร์ 1. คอมพิวเตอรส์ ว่ นบุคคล (Personal Computer: PC) เป็นคอมพวิ เตอร์ที่สามารถนามา วางบนโต๊ะทางาน วางบนตัก อาจพกพาไปทางานยังสถานที่ต่าง ๆ ได้ตามความต้องการ มีขนาดเล็ก พกพาสะดวก ทันสมัย รูปลักษณ์สวยงาม ใช้งานง่าย และราคาไม่แพง ทาให้สามารถหามาใช้งานได้ อย่างแพร่หลาย ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop PC) คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Notebook PC) แท็บเล็ต (Tablet PC) และสมาร์ตโฟน (Smartphone) 1.1 คอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะ (Desktop PC) โดยปกตินิยมเรียกกันว่าเครื่องพีซี (PC) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ถูกออกแบบมาให้วางไว้บนโต๊ะทางาน มีขนาดไม่ใหญ่มาก แต่อาจไม่เหมาะกับ การเคลื่อนย้ายหรือการพกพาไปงานยังสถานท่ีต่าง ๆ เนื่องจากมีส่วนประกอบหลายอย่าง เช่น ตัวเคร่ือง อาจติดต้ังแยกมากับจอภาพมีลักษณะเป็นกล่องทาจากโลหะท่ีมักเรียกกันว่าเคส (Case) ภายในตวั เคร่อื งมีอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ท่ที างานประสานกัน มสี ว่ นของจอภาพสาหรบั นาเสนอข้อมูล ปัจจุบันตัวเครื่องหรือเคสกาลังจะกลายเป็นส่วนเกินของคอมพิวเตอร์ เนื่องจากการออกแบบและ พัฒนาคอมพิวเตอร์มีความก้าวหน้าจึงได้รวมเอาจอภาพกับตัวเคร่ืองมาไว้ด้วยกัน ทาให้คอมพิวเตอร์ แบบตั้งโต๊ะมีขนาดกะทัดรัด น้าหนักเบา มีรูปลักษณ์ท่ีทันสมัย และราคาถูกลง อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะจาเป็นจะต้องมีอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ เช่น คีย์บอร์ด และเมาส์ที่ต้องนามา

9 เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถทางานได้สะดวกและมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น และจาเป็นต้องได้รับ พลงั งานไฟฟ้าโดยตรงผ่านปลกั๊ ไฟตลอดเวลา 1.2 คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Notebook PC) หรือแล็ปท็อป (Laptop) เป็นคอมพิวเตอร์ ท่ีสามารถวางบนตักของผู้ใช้งานขณะใช้งานได้ มีขนาดเล็ก น้าหนักเบา พกพาไปในสถานที่ต่าง ๆ ได้ สะดวก มีแบตเตอร่ีเป็นพลังงานไฟฟ้าสารองสามารถใช้งานได้นานโดยไม่ต้องใช้พลังงานไฟฟ้า และ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีตัวเคร่ืองแยกออกมาต่างหากเหมือนคอมพวิ เตอร์แบบต้ังโต๊ะ แต่ถกู ออกแบบให้ รวมเอาไว้กับคีย์บอร์ดและเมาส์ มีจอภาพท่ีสามารถเปิดออกเม่ือต้องการใช้งานและปิดลงเม่ือไม่ ต้องการใช้งานหรือต้องการพักคอมพิวเตอร์ มีประสิทธิภาพในการทางานใกล้เคียงหรือเทียบเท่า คอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะ แต่อาจจะมีราคาแพงกว่า ยังมีคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กและมีประสิทธิภาพ ในการทางานน้อยกว่าคอมพิวเตอรโ์ น้ตบุ๊ก เรียกกนั วา่ เนต็ บกุ๊ (Netbook) เปน็ คอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับ การใช้งานผ่านอินเทอรเ์ นต็ มากกว่าทีจ่ ะใชโ้ ปรแกรมทางานบนเน็ตบุ๊กโดยตรง 1.3 แทบ็ เล็ต (Tablet PC) เป็นคอมพิวเตอรข์ นาดเล็กและนา้ หนักเบากว่าคอมพวิ เตอร์ โน้ตบกุ๊ มาก สามารถใส่กระเป๋าและพกพาไปใชง้ านได้ทกุ สถานท่ี เปน็ คอมพิวเตอร์ท่ีมองเห็นเพียงส่วน ที่เป็นจอภาพเท่านั้น ไม่มีส่วนท่ีเป็นแป้นพิมพ์และเม้าส์ท่ีจับต้องได้อย่างคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก สั่งการ ให้คอมพิวเตอร์ทางานด้วยการสัมผัสและสไลด์หน้าจอด้วยน้ิวมือแทนการใช้เมาส์ มีแป้นพิมพ์ที่เป็น ซอฟต์แวร์แสดงขึ้นมาเม่ือต้องการพิมพ์ข้อความ มีพลังงานไฟฟ้าสารองทาให้ใช้งานได้นานโดยไม่ตอ้ ง ใชไ้ ฟฟา้ เช่นเดยี วกับคอมพิวเตอรโ์ น้ตบุก๊ สมรรถนะในการทางานอาจไม่เทียบเท่าคอมพวิ เตอรโ์ น้ตบุ๊ก แต่เป็นท่ีนิยมเนื่องจากมีความทันสมัย ใช้งานได้ง่าย พกพาสะดวก น้าหนักเบา ทางานได้หลากหลาย มีกล้องถ่ายภาพที่มีสมรรถนะเทียบเท่ากล้องถ่ายภาพมืออาชีพทั่วไป เช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน WiFi และผ่านซิมการ์ด (SIM Card) สาหรับมือถือ นิยมนามาใช้สาหรับความบันเทิง เช่น ดูหนัง ฟังเพลง ถ่ายภาพ ดูรูปภาพ เข้าถึงเครือข่ายสังคมออนไลน์ ปัจจุบันนามาใช้ประกอบการจัดการเรยี นการสอน และเป็นสือ่ การเรียนการสอนสาหรับผู้เรียนทกุ ระดบั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 1.4 สมาร์ตโฟน (Smartphone) หรือโทรศัพท์มือถือ เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีมองเห็นเพียง หน้าจอเหมือนแท็บเล็ต และมีขนาดเล็กที่สุดในประเภทของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล สามารถถือได้ ด้วยมือเพียงข้างเดียว สั่งการให้ทางานด้วยการสัมผัสและสไลด์หน้าจอด้วยนิ้วมือแทนการใช้เมาส์ มีแป้นพิมพ์ที่เป็นซอฟต์แวร์แสดงขึ้นมาเม่ือต้องการพิมพ์ข้อความเหมือนคอมพิวเตอร์แบบแท็บเล็ต ปัจจบุ ันนอกจากใช้ตดิ ต่อส่ือสารกบั ผู้อ่ืนดว้ ยเสียงเป็นหลักแลว้ ยังสามารถใช้งานซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ได้ เหมือนคอมพิวเตอร์ทั่วไป เช่น เข้าถึงข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต เข้าถึงเครือข่ายสังคมออนไลน์ ถ่ายภาพ ดูหนงั ฟังเพลง ทางาน และยังสามารถโทรและสง่ ข้อความหาผูอ้ ืน่ เหมือนโทรศัพทท์ ่วั ไปผา่ นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ทั้งแบบมีค่าใช้จ่ายและไม่มีค่าใช้จ่ายในการโทรและส่งข้อความได้อีกด้วย ปัจจุบันนิยม นามาใช้จัดการเรียนการสอน และเป็นสื่อสาหรับการเรียนการสอนแก่ผู้เรียนทุกระดับได้เป็นอย่างดี และมีประสทิ ธภิ าพเช่นเดยี วกนั 2. คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานได้หลายคนพร้อมกัน (Multi-User Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ ท่ีมีสมรรถนะและประสิทธิภาพในการทางานสูงมาก ถูกออกแบบมาให้สามารถใช้งานได้พร้อมกัน ในเวลาเดียวกันได้หลายคน เหมาะกับการใช้งานในองค์กรหรือสานักงานขนาดเล็กไปจนถึงองค์กร

10 หรือสานักงานขนาดใหญ่ระดับชาติและนานาชาติท่ีจาเป็นต้องประมวลผลด้วยข้อมูลจานวนมหาศาล หรือมีผู้ใช้งานพร้อมกันจานวนมาก ปกติมักไม่ค่อยพบเห็นคอมพิวเตอร์ลักษณะนี้ เนื่องจากมีขนาด ใหญ่กว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลโดยทั่วไปและมีราคาแพง จาเป็นต้องจัดวางและติดต้ังไว้ในสถานที่ ท่ีมีอุณหภูมิเหมาะสมและมีการรักษาความปลอดภัยเป็นอย่างดี จาเป็นต้องมีบุคลากรคอมพิวเตอร์ หรือผู้ใช้ท่ีมีความชานาญและมีความสามารถเฉพาะทาหน้าที่ดูแล ใช้งาน และซ่อมบารุงโดยเฉพาะ ประกอบด้วย เซิร์ฟเวอร์คอมพิวเตอร์ (Server) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe) และซุปเปอร์ คอมพวิ เตอร์ (Supercomputer) มรี ายละเอียดดังน้ี 2.1 เซิรฟ์ เวอร์คอมพวิ เตอร์ (Server) หรอื คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เป็นคอมพวิ เตอร์ท่ีเป็น ศูนย์กลางในการบริหารจัดการการใช้งานในด้านฮาร์ดแวร์ ซอต์ฟแวร์ ข้อมูล และเครือข่าย คอมพิวเตอร์แก่ผู้ใช้ ตั้งแต่การบริหารจัดการงานในระดับเล็ก ๆ เช่น การแชร์หรือแบ่งปันเครื่องพิมพ์ ให้ผู้ใช้หลายคนสามารถใช้เครื่องพิมพ์เคร่ืองเดียวกันได้ และเป็นศูนย์กลางจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ในองค์กรหรือหน่วยงานขนาดเล็กเคร่ืองแม่ข่ายอาจดูไม่ต่างจากคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบต้ังโต๊ะ เพียงแต่ต้องใช้ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ที่แตกต่างกันและรองรับการใช้งานร่วมกัน พร้อม ๆ กันได้หลายคน แต่สาหรับองค์กรขนาดใหญ่ท่ีมีข้อมูลจานวนมากท่ีจะต้องเก็บรักษาและ ให้บริการแก่ผู้ใช้งานจานวนมากในเวลาเดียวกันได้ โดยระบบยังคงให้บริหารได้ปกติหรือไม่ล่ม อาจมี เครื่องแม่ขา่ ยจานวนมากทที่ างานและอยรู่ วมกัน เรยี กวา่ Server Farm 2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe) เป็นคอมพวิ เตอรข์ นาดใหญ่และมสี มรรถนะ ในการทางานและการคานวณมากเพียงพอที่จะประมวลผลและเก็บรวบรวมข้อมูลขององค์กรหรือ หน่วยงานที่ต้องให้บริการลูกค้าจานวนมากได้ในคราวเดียวกัน เช่น การให้บริการชาระเงินค่าสินค้า ของห้างสรรพสนิ ค้าหรอื ซุปเปอร์มาเก็ตขนาดใหญ่ 2.3 ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุด และมีประสิทธิภาพและความสามารถในการคานวณมากท่สี ดุ ในบรรดาคอมพิวเตอร์ท่ีกล่าวมาท้ังหมด ใช้สาหรับการทางานและการคานวณทางคณิตศาสตร์ท่ีซับซ้อน เช่น การถอดรหัสลับ การจาลอง โมเดลของสิ่งมีชีวิต การพยากรณ์อากาศ มักถูกนาไปใช้ในหน่วยงานด้านการศึกษาขั้นสูง หน่วยงาน ภาครฐั หรอื หนว่ ยงานวจิ ัยด้านวิทยาศาสตรข์ นาดใหญ่ บทบำทของคอมพวิ เตอร์ในสถำนศึกษำ คอมพิวเตอร์เป็นเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีมีบทบาทสาคัญในภาคการศึกษาทุกระดับทั่วโลก เน่ืองจากหากจดั ให้การศึกษาเปน็ ธุรกจิ จะพบวา่ เป็นธรุ กจิ การศึกษาทีม่ ีการแข่งขนั กนั สูงมาก โรงเรียน และสถานศึกษาแต่ละแห่งพยายามใช้ความสามารถจากคอมพิวเตอร์อย่างเต็มความสามารถ เพื่อเป็น เครื่องมือสาคัญสาหรบั การบรหิ ารและจัดการเรยี นการสอนให้กับผ้เู รยี นได้ตรงกับความต้องการ และ มีประสทิ ธภิ าพมากทส่ี ุด ดงั ภาพท่ี 1.7 ท่ีแสดงบทบาทของคอมพวิ เตอรใ์ นสถานศึกษา

11 ภำพท่ี 1.7 บทบาทของคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา บทบาทของคอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา 4 ประการจากภาพท่ี 1.7 ประกอบด้วย บทบาท ของคอมพิวเตอร์ในฐานะองค์ความรู้ บทบาทของคอมพิวเตอร์ในฐานะเครื่องมือบริหาร บทบาทของ คอมพิวเตอรใ์ นฐานะเครื่องมอื ทางวชิ าการ และบทบาทของคอมพวิ เตอร์ในฐานะเคร่ืองมือบริการทาง วชิ าการ แตล่ ะบทบาทมีรายละเอียดดงั น้ี 1. บทบาทของคอมพวิ เตอร์ในฐานะองค์ความรู้ เปน็ แนวโน้มของการจัดการเรียนการสอน ตามความก้าวหน้าและการประยุกต์ใช้งานของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ท่ีทาให้มีสถาบันการศึกษา จานวนมากเปิดหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนทางด้านคอมพิวเตอร์ในเกือบทุกระดับการศึกษา เช่น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ท้ังในประเทศไทยและต่างประเทศ อาจใช้ชื่อหลักสูตรและจัดการศึกษาแตกต่างกัน เช่น หลักสตู รวศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสตู รเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ หลักสตู รวิทยาการคอมพวิ เตอร์ หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรคอมพิวเตอร์ศึกษา และหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือ่ สารเพอ่ื การศึกษา เปน็ ตน้ รวมทง้ั หลกั สตู รอืน่ ๆ แม้จะไม่ได้เป็นหลักสูตรคอมพวิ เตอรโ์ ดยตรง แต่มีการนาคอมพิวเตอร์เข้าไปประยุกต์ใช้ในหลักสูตรและใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนกัน อย่างกว้างขวาง โดยปรับเปล่ียนบริบทของเนื้อหาวิชาและการจัดการเรียนการสอนไปตามหลักสูตร และความก้าวหน้าของคอมพิวเตอร์ รวมทั้งนามาใช้จัดการเรียนการสอนของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

12 ภาพที่ 1.8 แสดงให้เห็นบทบาทของคอมพิวเตอร์ในฐานะองค์ความรู้ท่ีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (2564) จัดการเรียนการสอนทางด้านคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพอ่ื ใหค้ วามรู้กบั ผู้เรยี นและผ้สู นใจหลากหลายสาขาวชิ าตั้งแต่ระดับปริญญาตรี ไปจนถงึ ระดบั ปริญญาเอก และระดบั ประกาศนียบตั ร ภำพที่ 1.8 บทบาทของคอมพิวเตอรใ์ นฐานะองคค์ วามรู้ ท่ีมา: มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี (2564) 2. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในฐานะเคร่ืองมือบริหาร เป็นการนาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็น เครื่องมือสาคัญในการบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษา อาทิ ใช้เป็นเครื่องมือสาหรับงาน ธุรการ งานบุคลากรและนักเรียน งานจดั เกบ็ และประเมินผลการเรียน งานหอ้ งสมุด งานวจิ ยั การเงิน และงบประมาณ งานบรหิ ารวิชาการ การเผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธ์กิจกรรมของสถานศึกษา เป็นต้น อาจจะนามาใช้ในลักษณะของผลสรุปในรูปของตาราง กราฟ รูปภาพ คลิปวิดีโอ อินโฟกราฟิก หรือ สื่อสังคมออนไลน์ที่กาลังได้รับความนิยม และการเปรียบเทียบข้อมูลในภาพรวของสถานศึกษา หรือ ใช้สาหรบั การบริหารจัดการตามวตั ถปุ ระสงค์ อาทิ ระบบลงทะเบียนเรียน ระบบเงินเดอื นของครูและ บุคลากร ระบบตัดเกรดและคานวณผลการเรียน ระบบประเมินผลการจัดการเรียนการสอน เป็นต้น อาจไม่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนโดยตรง หากแต่นาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องมือ สาหรับการบริหารจัดการทรัพยากรของสถานศึกษา ภาพท่ี 1.9 แสดงถึงบทบาทของคอมพิวเตอร์ ในฐานะเครือ่ งมือบริหารจดั การทรัพยากรหอ้ งสมดุ ทเ่ี ปน็ ส่วนผลักดันใหก้ ารจดั การเรียนการสอนและ การบริหารงานของสถานศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากผู้บรหิ าร ผสู้ อน ผู้เรยี น และผู้ใช้ สามารถมองเหน็ ภาพรวมทรัพยากรของสถานศึกษาท้ังหมด นอกจากนน้ั สามารถนาคอมพวิ เตอร์มาใช้ เปน็ เครอ่ื งมือสาคัญในการบริหารจัดการสถานศึกษาให้เจริญก้าวหน้า และยงั ชว่ ยอานวยความสะดวก ในการดาเนินการและเผยแพร่กจิ กรรมของสถานศึกษา

13 ภำพที่ 1.9 บทบาทของคอมพิวเตอร์ในฐานะเคร่ืองมือบริหารจัดการทรพั ยากรห้องสมุด ทีม่ า: มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ (2564) 3. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในฐานะเคร่ืองมือทางวิชาการ เป็นการนาคอมพิวเตอร์และ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์มาใช้ในการดาเนินกิจกรรมท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอน โดยตรง เช่น เตรียมการสอน เป็นสื่อการสอนหรือจัดกิจกรรมระหว่างสอน และใช้สรุปผลการสอน หลังสอนเสร็จแล้ว เป็นต้น ผู้สอนอาจใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครือ่ งมือสาหรบั สอน มอบหมายงานผู้เรียน ให้ศึกษาค้นคว้าหรือทารายงานด้วยคอมพิวเตอร์ และยังสารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นสื่อเสริมหรือ ส่ือหลักในการจัดการเรียนการสอนได้ ภาพท่ี 1.10 แสดงบทบาทของคอมพิวเตอร์ในฐานะเครื่องมือ ทางวิชาการ ที่ใช้สาหรับการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในช่วงที่ไวรัสโคโรน่า 19 ระบาดอย่างหนกั การระบาดของไวรัสดังกล่าว ทาให้สถานศึกษาและครูจาเป็นต้องนาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นส่ือหลัก สาหรับจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนออนไลนม์ ากข้ึนเช่นเดียวกัน ภำพที่ 1.10 บทบาทของคอมพวิ เตอร์ในฐานะเครือ่ งมือทางวิชาการ ทมี่ า: Malan (2021)

14 4. บทบาทของคอมพิวเตอร์ในฐานะเคร่ืองมือบริการทางวิชาการ อาจใช้สาหรับเผยแพร่ องค์ความรู้ให้กับผู้ท่ีไม่ได้อยู่ในระบบการศึกษาและผู้ท่ีอยู่ในระบบการศึกษา อาจจะเป็นองค์ความรู้ หรือกจิ กรรมทสี่ ถานศึกษา ครู และผเู้ รียนดาเนินการขึน้ มาและพบว่ามีประโยชน์ต่อสงั คม จงึ นาเสนอ หรือเผยแพร่ข้อมูลออกไปสู่วงกว้างให้ได้รับรู้และได้รับประโยชน์ร่วมกันในรูปแบบใดก็ตาม เช่น การฝึกอบรม การสัมมนา การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ให้ผู้ที่สนใจ บทบาทของคอมพิวเตอร์ ในฐานะเคร่ืองมือบริการทางวิชาการอาจจะนาคอมพิวเตอร์มาใช้โดยตรงในการบริการวิชาการ เช่น การฝึกอบรมการใช้คอมพิวเตอร์ หรือนาคอมพิวเตอร์มาเป็นเคร่ืองมือสาคัญสาหรับเตรียมบริการ วิชาการ ภาพท่ี 1.11 แสดงการนาคอมพิวเตอร์มาใช้เก็บรวบรวมแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับการออกแบบ และพัฒนาแอนิเมชันด้วเทคนิค Stop Motion เพื่อให้ครู ผู้เรียน หรือผู้สนใจสามารถเข้ามาเยี่ยมชม และเลือกใช้ประกอบการสอนหรือการเรยี นรู้ ภำพที่ 1.11 บทบาทของคอมพิวเตอร์ในฐานะเครอื่ งมอื บรกิ ารทางวิชาการ บทบำทของคอมพวิ เตอร์สำหรบั ครู ครู ใช้เรยี กผสู้ อนในสถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน เช่น ผสู้ อนในโรงเรยี นอนบุ าล โรงเรยี นประถม และโรงเรียนมัธยม ทาหน้าที่สงั่ สอนและถ่ายทอดความร้ใู หแ้ ก่ผู้เรียน สานักมาตรฐานและประเมินผล อุดมศึกษา, 2561) กล่าวถึงส่ิงที่ผู้สอนจะต้องทาและต้องรับผิดชอบ ประกอบด้วย การออกแบบและ วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การดาเนินกจิ กรรมการเรียนรู้ การเสรมิ สรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ การสนับสนุนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามภาพท่ี 1.12 ด้วยภารกิจจานวนมาก ทาให้ครูมสี ง่ิ ทต่ี ้องทา ต้องรบั ผดิ ชอบ และตอ้ งทาใหด้ ีทีส่ ุดมีจานวนมากเช่นเดยี วกัน เพ่ืออบรมและสั่ง สอนให้ลูกศษิ ย์เปน็ คนดแี ละประสบความสาเรจ็ ในหนา้ ทก่ี ารงานในอนาคตต่อไป

15 ดังน้ันหากครูมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในประเด็นต่าง ๆ เช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และจริยธรรมและความม่ันคงปลอดภัยในการใช้งานคอมพิวเตอร์ จะทาให้ครูสามารถนาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใชแ้ ละสร้างสรรค์สิ่งท่ีครูตอ้ งทาและต้องรับผดิ ชอบได้ อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง เป็นระบบ ช่วยลดภาระงานของครู ลดค่าใช้จ่าย เสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ และจะทาให้ครูรู้เท่าทันและสามารถใช้งานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัลได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ บทบาทของคอมพวิ เตอร์ทีค่ รตู อ้ งรตู้ ้องเข้าใจจงึ มรี ายละเอยี ดดังต่อไปน้ี ภำพที่ 1.12 บทบาทของคอมพิวเตอร์สาหรบั ครู 1. บทบาทของคอมพิวเตอร์สาหรับครูเพื่อการออกแบบและวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นช่วงเวลาที่ครูต้องให้ความสาคัญ เน่ืองจากเป็นการเตรียมสอนลว่ งหนา้ ก่อนการจัดการเรียนการสอนจรงิ เพื่อให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ นักเรียนเกิดความสนใจ ได้รับความรู้ และ บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนการสอน เช่น เตรียมและทบทวนเน้ือหาสาหรับการสอน เตรียม กิจกรรมการเรียนการสอน เตรียมสื่อการสอนโดยอาจพิจารณาใช้ส่ือเดิมที่มีอยู่แล้ว หรือใช้ส่ือใหม่ท่ียังไม่มี ซ่ึงครูจะต้องสร้างขึ้นมาด้วยตนเองหรือนาส่ือจากแหล่งอ่ืน ๆ มาใช้ และเตรียมวัสดุและอุปกรณ์การสอน บทบาทของคอมพิวเตอร์ในการออกแบบและวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น การสืบค้นแหล่งข้อมูล และเนื้อหาการสอนด้วย Google Chrome การออกแบบและวางแผนการจัดกิจกรรมด้วย Microsoft Word การสร้างส่ือการสอนวิดีโอด้วย Youtube การสร้างสื่อสาหรับนาเสนอด้วย Microsoft PowerPoint การ เตรียมแท็บเลต็ และโปรแกรมคอมพวิ เตอร์สาหรับนามาใชเ้ ปน็ กิจกรรมการเรยี นการสอน เป็นตน้ สถานการณ์ แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 19 ที่ผ่านมา ส่งผลทาให้การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ได้รับความนิยม

16 มากย่ิงขึ้นมาจนถึงปัจจุบัน ตารางท่ี 1 จึงนาเสนอตัวอย่างของกิจกรรมสาหรับการเรียนรู้ออนไลน์ท่ีครู จาเป็นต้องออกแบบและวางแผนเอาไว้สาหรับนักเรียนล่วงหน้า โดยนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทสาคัญ สาหรับจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เช่น นา Google Meet มาใช้สาหรับการสอนหรือบรรยายสดออนไลน์ นา Google Jamboard มาใช้สาหรับให้นกั เรยี นทางานกลมุ่ รว่ มกนั เปน็ ต้น ตำรำงท่ี 1.1 การออกแบบและวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับการจัดการเรียนการสอน ออนไลน์ ลำดบั กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน กฎและกติกำ คอมพิวเตอร์ หมำยเหตุ 1. นกั เรียน Login เขา้ ห้องเรียน และโปรแกรม - เปดิ กล้อง คอมพิวเตอร์ สื่อหลัก - ปิดไมค์ สาหรับ Google Meet บรรยาย และสอนสด เขา้ ไลน์กลุ่มหอ้ งเรียน Line ไลนก์ ลมุ่ ไลน์กลมุ่ นกั เรียนเปดิ กล้องจบั หน้าจอ - ผู้สอนแนะนาตัว Google Slide ผู้เรยี นแนะนาตัว - เปิดกลอ้ ง QR Code และ 1. แนะนาผ่านกลอ้ ง-ไมค์ - เปิดไมคเ์ ฉพาะ Google Form 2. พิมพ์ข้อมลู ลงแบบฟอรม์ นักเรียนทพ่ี ูด ผ้สู อนเช็คชอื่ นักเรยี น - Google Sheet 2. แจ้งกฎ กติกาการเรยี น - Microsoft PowerPoint 3. ทดสอบก่อนเรยี น - เปดิ กล้อง Kahoot 10 ข้อ บรรยายเนอ้ื หา - เปดิ ไมคเ์ ฉพาะ Microsoft นักเรยี นทีพ่ ดู PowerPoint นาเสนอตัวอย่างผลงาน Google Docs แบง่ นักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม Wheelofnames และ Google Sheet นักเรียนสรุปผลการเรียน Google Jamboard งานกล่มุ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ - Google Jamboard และ Google Meet ที่มา : จิระ จิตสุภา และมทุ ติ า ทาคาแสน (2564)

17 การออกแบบและวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู บางครั้งอาจต้องลงมือทาร่วมกัน กับเพ่ือนครูท่ีสอนวิชาเดียวกันหรือสอนต่างวิชากัน แต่สามารถบูรณาการเน้ือหาวิชาเข้าด้วยกัน ภาพที่ 1.13 เป็นการนาคอมพิวเตอร์มาใช้เปน็ เครือ่ งมือสาหรับการออกแบบและวางแผนจัดกิจกรรม การเรยี นรู้ร่วมกันของครู ภำพท่ี 1.13 บทบาทของคอมพิวเตอร์สาหรบั ครู 2. บทบาทของคอมพิวเตอร์สาหรับครูเพื่อการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นช่วงเวลา ท่สี าคญั อีกช่วงเวลาหน่ึง เนอ่ื งจากเปน็ การจดั การเรียนการสอนจรงิ ในหอ้ งเรยี น ไม่ว่าจะเป็นห้องเรยี น ปกตหิ รอื ห้องเรยี นออนไลน์ ดว้ ยการจัดการเรยี นการสอนตามกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีได้ออกแบบ และวางแผนไว้ล่วงหน้า หากเป็นการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ครูจะต้องใช้คอมพิวเตอร์และ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น โน้ตบุ๊ก และ Google Meet ตลอดเวลา เพื่อเป็นสื่อหลักสาหรับบรรยาย หรือสอนสด ติดต่อส่ือสาร และส่งผ่านข้อมูลและกิจกรรมการเรียนการสอนไปยังผู้เรยี น ท่ีเรียนรู้ผา่ น คอมพวิ เตอรแ์ ละโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เชน่ แทบ็ เล็ต หรือสมาร์ตโฟน อยทู่ ี่ใดท่หี นึง่ ท่ีไม่ใช่ห้องเรียน ปกติ แต่หากเป็นการจัดการเรียนการสอนในห้องเรยี นปกติ ครูอาจไม่จาเป็นต้องนาคอมพวิ เตอร์มาใช้ ในกิจกรรมการเรียนการสอนตลอดเวลา สามารถนามาใช้ได้เป็นช่วง ๆ สลับกับการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนรูปแบบอ่ืน ๆ ที่ครูเตรียมไว้ ยกเว้นกิจกรรมที่ครูเตรียมมานั้นเน้นการจัดการเรียน การสอนด้วยการลงมือปฏิบัติโดยใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นหลัก ภาพที่ 1.14 เป็นการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนปกติท่ีนาคอมพิวเตอร์มาใช้ประกอบ การจัดการ เรียน การสอนเป็นช่วง ๆ ส่วนภาพท่ี 1.15 เป็นการสอนแบบลงมือปฏิบัติการด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จึงจาเปน็ ต้องนาคอมพิวเตอรม์ าใช้ตลอดการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียน

18 ภำพที่ 1.14 การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรยี นโดยครูใช้คอมพวิ เตอร์ ภำพท่ี 1.15 การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนในหอ้ งเรียนโดยครูและผเู้ รียนใช้คอมพิวเตอร์ 3. บทบาทของคอมพิวเตอร์สาหรับครูเพื่อการเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ความสามารถของคอมพิวเตอร์ทาให้ผู้สอนนามาประยุกต์ใช้จัดการเรียนการสอนได้หลายรูปแบบ ส่งผลให้ผู้เรียนรู้สึกสนุกสนาน เพลิดเพลิน และให้ความสนใจและกระตือรือร้นกับการเรียนการสอน เพิ่มขึ้น ท่ีสาคัญผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้เชิงรุก จะเป็น การจัดการเรียนการสอนแบบเด่ียว หรือแบบกลุ่มก็สามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นเครื่องมือ ประกอบการจัดการเรยี นการสอนได้ จากการศึกษาของ จริ ะ จิตสภุ า นวลศรี สงสม และ ปรชั ญนันท์ นิลสุข (2557) พบว่าการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ทาให้ผู้เรียนได้รับความรู้ สนใจท่ีจะเรียนรู้ มีความสนุกสนานเพลิดเพลิน กระตือรือร้นและพร้อมที่จะเรียนรู้ ดังภาพที่ 1.16 เป็นการนาเกมจากคอมพิวเตอร์มาใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ช่วยให้บรรยากาศ การเรียนรู้เป็นไปด้วยความสนุกสนาน ผู้เรียนกระตือรือร้น และได้รับความร่วมมือในการทากิจกรรม การเรยี นการสอนจากผู้เรียนเป็นอย่างดี

19 ภำพท่ี 1.16 บรรยากาศการเรียนรู้ท่สี นกุ สนานผ่านเกมคอมพิวเตอร์ 4. บทบาทของคอมพิวเตอร์สาหรับครูเพื่อการสนับสนุนการเรียนรู้ นอกจากสอนหนังสือ ครยู ังมงี านท่ีต้องรับผดิ ชอบอีกมาก เชน่ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลนักเรียน การตดิ ต่อส่ือสารกบั นักเรียน ผู้ปกครองและเพื่อนครู การช่วยเหลืองานโรงเรียน การทาตาแหน่งหรือวิทยฐานะ การเผยแพร่และ ประชาสัมพันธ์ข้อมูล เตรียมการสอน การสอน การออกข้อสอบและการสอบ การตัดเกรด เป็นต้น หากนาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยสนับสนุน เช่น นาแหล่งข้อมูลออนไลน์มาใช้สาหรับเตรียมการสอน นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการติดต่อสือ่ สารและการประชาสัมพันธ์ สาหรบั ช่วยงานโรงเรยี น ทาตาแหน่ง ทางวิชาการของตัวครูเอง เป็นเครื่องมือประกอบการสอน ออกข้อสอบ คานวณคะแนนและตัดเกรด จะช่วยให้ครูทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ และมีเวลาเหลือให้กับนักเรียนเพ่ิมขึ้น ภาพท่ี 1.17 เป็นตัวอย่างการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยสนับสนุนผสู้ อนในการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้เรียน เช่น ช่ือและนามสกุล ผลการเรียน รายวชิ าท่ีลงทะเบยี น เป็นต้น ภำพท่ี 1.17 แหล่งสนบั สนุนการเรียนรจู้ ากคอมพวิ เตอร์ ทมี่ า : มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต (2564)

20 5. บทบาทของคอมพิวเตอร์สาหรับครูเพ่ือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การวัดและ ประเมนิ ผลการเรียนร้เู ปน็ ส่งิ สาคญั ทผี่ สู้ อนตอ้ งทา สามารถทาไดท้ งั้ ก่อนจดั การเรยี นการสอน ระหวา่ ง จัดการเรียนการสอน และหลังจัดการเรียนการสอน เพ่ือจะได้ทราบข้อมูลปัจจุบัน ทราบ ความก้าวหน้าของการเรียน และตัดสินใจให้ผู้เรียนผ่านการเรียนหรือจาเป็นต้องเรียนซ้าเพื่อทบทวน และเรียนรู้จนสามารถผา่ นการวัดและประเมินตามเกณฑ์ท่ีกาหนดได้ ปจั จุบันมีโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ มากมายที่สามารถนามาใช้เพ่ือการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน สามารถวัดและประเมิน แบบออนไลน์และแบบออฟไลน์ ผู้สอนสามารถเรียนรู้การใชง้ านได้ไม่ยาก และเรียนรู้ได้อย่างรวดเรว็ มีระบบบริหารจัดการคะแนนการทาแบบฝึกหัด คะแนนทดสอบอย่างมีประสิทธิภาพ บางโปรแกรม เป็นเคร่ืองมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนกระตือรือร้นท่ีจะสอบ และสามารถทาให้ผู้เรียน สนุกสนานไปด้วยได้ เช่น โปรแกรมวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ดว้ ย Kahoot ดังภาพท่ี 1.18 ภำพท่ี 1.18 บทบาทของคอมพิวเตอรส์ าหรับครูเพ่ือการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ บทสรปุ กิจกรรมการเรียนการสอนที่เกี่ยวข้องกับครูมีจานวนมากท้ังก่อนสอน ระหว่างสอน และ หลงั สอน นอกจากนั้นครยู งั มหี น้าท่ีอน่ื ๆ อกี มากมายทอ่ี าจจะไมเ่ ก่ียวข้องกับการจดั การเรยี นการสอน โดยตรง แต่เป็นงานท่ีจาเป็นต้องทาเนื่องจากเกี่ยวข้องกับโรงเรียนหรือสถานศึกษาท่ีครูสังกัดอยู่ การนาคอมพิวเตอรซ์ ึง่ เปน็ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกสม์ าช่วยในการนาเข้าข้อมูล ประมวลผลข้อมูล จัดเก็บ ข้อมลู และแสดงผลข้อมูลท่ีถูกต้อง เชอื่ ถอื ได้ในเวลาอันรวดเร็ว และเปน็ อัตโนมัติมาชว่ ยลดภาระงาน ดงั กล่าวส่งผลดีตอ่ ครู ผเู้ รยี น และโรงเรียนหรอื สถานศึกษาของครู คอมพิวเตอร์มีองค์ประกอบหลักที่สาคัญ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (Peopleware) ข้อมูล (Data) และกระบวนการทางาน(Procedure) องค์ประกอบแต่ละองค์ประกอบทางานประสานกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถ

21 ทางานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยปกติแลว้ คอมพิวเตอรแ์ บ่งออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ คอมพวิ เตอร์ ส่วนบุคคล (Personal Computer) ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะ (Desktop PC) คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก (Notebook PC) แท็บเล็ต (Tablet PC) และสมาร์ตโฟน (Smartphone) และ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานได้หลายคนพร้อมกัน (Multi-User Computer) อาจเรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ หลายผู้ใช้ ประกอบด้วย เซิร์ฟเวอร์คอมพิวเตอร์ (Server) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe) และ ซปุ เปอรค์ อมพวิ เตอร์ (Supercomputer) สาหรับสถานศึกษาบทบาทของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 2 บทบาท ได้แก่ บทบาทของ คอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา ประกอบด้วยบทบาทของคอมพิวเตอร์ในฐานะองค์ความรู้ ในฐานะ เครื่องมือบริหาร ในฐานะเครื่องมือทางวิชาการ และในฐานะเคร่ืองมือบริการทางวิชาการ และ บทบาทของคอมพวิ เตอรส์ าหรบั ครู ประกอบดว้ ยบทบาทของคอมพิวเตอรส์ าหรบั ครูเพอื่ การออกแบบ และวางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือการเสริมสร้างบรรยากาศ การเรยี นรู้ เพื่อการสนับสนุนการเรยี นรู้ และเพือ่ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้

23 บทท่ี 2 ฮารด์ แวรข์ องคอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคล หากพิจารณาจากความหมายของคอมพิวเตอร์ที่กล่าวว่า คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ที่ทาหน้าท่ีในการนาเขา้ ประมวลผล จดั เกบ็ และแสดงผลขอ้ มลู ในเวลาอนั รวดเร็วและ เป็นอัตโนมัติ จะพบว่าคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer) และคอมพิวเตอร์ท่ีใช้งานได้ หลายคนพร้อมกัน (Multi-User Computer) จาเป็นต้องมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีประกอบกันเป็น คอมพิวเตอร์หรือท่ีเรยี กกันวา่ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เพอื่ ชว่ ยให้กระบวนการทางานของคอมพวิ เตอร์ ได้แก่ การนาเขา้ ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล และการแสดงผลขอ้ มลู เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ เพียงแต่รูปลักษณ์ของอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์อาจเปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้ผู้สอนรู้ เข้าใจ และสามารถนาอุปกรณ์พ้ืนฐานของคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ บทนี้จึงนาเสนออุปกรณ์ อิเลก็ ทรอนิกส์ของคอมพิวเตอร์ที่ทางานประสานกนั ดังภาพที่ 2.1 ประกอบดว้ ย อปุ กรณน์ าเขา้ ข้อมูล (Input Device) อุปกรณ์ความจาหลัก (Main Memory Device) อุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล (Storage Device) อุปกรณ์ประมวลผลข้อมูล (Processing Device) และอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล (Output Device) มรี ายละเอยี ดดงั นี้ ภาพท่ี 2.1 ฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคล

24 เพ่ือให้เข้าใจฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเพิ่มมากขึ้นก่อนจะลงรายละเอียด ในหัวข้อต่อไป ภาพที่ 2.2 จึงอธิบายตัวอย่างของอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์และการทางานพอสังเขป เร่ิมจากคีย์บอร์ดซ่ึงเป็นตัวอย่างหน่ึงของอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลรับคาสั่งจากผู้ใช้งานและส่งต่อข้อมูล ไปยงั อปุ กรณ์ความจาหลักอย่างแรม (RAM) เพ่ือพกั ข้อมูลไวช้ ว่ั คราวรอให้ตัวประมวลผลกลาง (CPU) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลเรียกใช้ข้อมูลเพ่ือทาการประมวลผลตามหลักการของคอมพิวเตอร์ เมื่อประมวลผลเสร็จแล้วก็จะแสดงผลออกสู่หน้าจอ (Monitor) ซึ่งหน้าจอเป็นตัวอย่างหน่ึงของ อุปกรณ์แสดงผลข้อมูล และส่งไปจัดเก็บอย่างถาวรยังฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) ซึ่งเป็นหนึ่งในอุปกรณ์ จัดเกบ็ ขอ้ มลู ท่ีมใี หเ้ ลือกใชห้ ลายชนิด ภาพท่ี 2.2 ตวั อย่างอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล อุปกรณ์นาเข้าขอ้ มูล อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล (Input Device) มีหน้าท่ีรับและนาข้อมูลจากผู้ใช้งานส่งต่อไปยัง คอมพวิ เตอร์ เพอ่ื ใหค้ อมพิวเตอรท์ าการประมวลผล แสดงผล และจดั เก็บขอ้ มูลไวใ้ นคอมพวิ เตอร์เพื่อ ใช้งานในโอกาสต่อไป อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลมีหลากหลายชนิดด้วยกัน ท่ีรู้จักกันเป็นอย่างดีและใช้งาน กนั อยูเ่ ปน็ ประจาประกอบดว้ ย อปุ กรณน์ าเข้าข้อมูลประเภทคยี บ์ อรด์ (Keyboard Device) ประเภท ช้ีตาแหน่ง (Pointing Device) และประเภทมัลติมีเดีย (Multimedia Device) โดยมีรายละเอียด ดังตอ่ ไปน้ี 1. อุปกรณ์นาเข้าข้อมูลประเภทคีย์บอร์ด (Keyboard Device) คีย์บอร์ดเป็นอุปกรณ์ นาเข้าข้อมูลพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ท่ีมีความจาเป็นต้องใช้ และคอมพิวเตอร์ต่างมีอุปกรณ์นาเข้า ข้อมูลประเภทนี้ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลแบบตั้งโต๊ะ (Desktop PC) มักนิยมใช้อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล