Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวิชาฟิสิกส์-ม.4-ภาคเรียนที่-1

แผนการสอนวิชาฟิสิกส์-ม.4-ภาคเรียนที่-1

Published by อัมรา ใจตื๊บ, 2022-09-07 09:17:24

Description: แผนการสอนวิชาฟิสิกส์-ม.4-ภาคเรียนที่-1

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 101 เฉลยแบบฝกึ หัดท่ี 2 เรื่อง อตั ราเรว็ และความเรว็ คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปน้ี 1. จงอธบิ ายความหมายของความเรว็ ความเร็วเฉล่ยี และความเร็วขณะใดขณะหน่ึง ความเรว็ คอื การเปล่ียนแปลงการกระจดั หรือการเปลี่ยนตำแหนง่ ทีเ่ กิดข้ึนในหน่งึ หน่วยเวลา เปน็ ปริมาณเวกเตอร์ มหี นว่ ยเปน็ เมตรต่อวนิ าที (m/s) ความเร็วเฉลี่ย คือ กระจดั ของการเคลือ่ นทีท่ ้ังหมดต่อชว่ งเวลาทใี่ ชใ้ นการเคลื่อนที่ ความเร็วขณะใดขณะหน่งึ คือ ความเรว็ ของวัตถุขณะผา่ นจุดใดจดุ หนง่ึ หรือท่ีเวลาใดเวลาหนึ่ง 2. ลิงกำลงั ปีนขึ้นต้นมะพรา้ ว ถ้าในทกุ ๆ 30 วนิ าที สามารถปีนขน้ึ ไปไดส้ งู 10 เมตร แตจ่ ะลน่ื ไถลลงมาอกี 1 เมตร เสมอ จงหาระยะทาง การกระจัด อัตราเรว็ เฉลี่ย และความเร็วเฉล่ีย วธิ ที ำ ระยะทาง = 10 + 1 = 11 เมตร การกระจัด = 10 + (-1) = 9 เมตร อตั ราเรว็ เฉล่ีย = ระยะทาง = 11 = 0.37 เมตรตอ่ วินาที เวลา = 18.84 30 ความเรว็ เฉลย่ี = การกระจัด = 9 = 0.3 เมตรต่อวนิ าที เวลา 30 ดังน้นั ระยะทาง การกระจดั อัตราเร็วเฉลีย่ และความเร็วเฉล่ียเท่ากับ 11 เมตร 9 เมตร 0.37 เมตรต่อ วนิ าที 0.3 เมตรต่อวนิ าที ตามลำดับ 3. ชายคนหนึ่งวิ่งออกกำลังกายด้วยอัตราเร็วคงตัว 5 เมตรต่อวินาที เมื่อวิ่งได้ระยะทาง 100 เมตร เขารู้สึก เหน่อื ยจงึ เปล่ียนมาเป็นเดนิ ดว้ ยอัตราเรว็ คงตวั 1 เมตรตอ่ วนิ าที ในระยะทาง 100 เมตรต่อมา อัตราเร็วเฉล่ียใน การเคล่ือนท่ีของชายคนนม้ี คี า่ เท่าใด วธิ ที ำ เวลาท่ชี ายคนนใี้ ชใ้ นการเคล่ือนทใี่ นแต่ละช่วง = ระยะทาง อัตราเรว็ = 100 = 20 วินาที เวลาทใี่ ช้ในระยะ 100 เมตรแรก 5 เวลาทใ่ี ช้ในระยะ 100 เมตรต่อมา = 100 = 100 วนิ าที 1 เวลาท้งั หมดทใี่ ช้ในการเคล่ือนที่ = 20 + 100 = 120 วนิ าที อัตราเร็วเฉล่ีย = ระยะทาง = 100+100 = 1.67 เมตรต่อวินาที เวลา 120 ดงั นัน้ อัตราเรว็ เฉล่ยี ของชายคนน้เี ป็น 1.67 เมตรตอ่ วนิ าที กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีท่ี 4 102 แบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 คำช้แี จง : ให้นกั เรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ต้นเดินรอบสนามซึ่งมีรศั มี 7 เมตร โดยเขาเดนิ ได้ครบ 6. การคำนวณหาความเรว็ เฉลีย่ ของวัตถุ จะตอ้ งไดข้ อ้ มูลอะไรบา้ ง 3 รอบ พอดี การกระจัดท่ีต้นเคลอ่ื นทไ่ี ดเ้ ปน็ เทา่ ใด 1. ระยะทางทั้งหมดและเวลาทั้งหมด 1. 0 เมตร 2. 7 เมตร 3. 10 เมตร 4. 21 เมตร 2. การกระจดั ท้งั หมดและเวลาทง้ั หมด 5. 303 เมตร 3. ระยะทางและความเร่ง 2. โยนส้มผลหนึ่งขึ้นไปในแนวดิ่ง ความเร็วและความเรง่ 4. การกระจดั และความเร่ง ของสม้ เป็นอย่างไร ขณะถึงจดุ สูงสุด 5. ความเร่งและความเรว็ 1. ท้งั ความเร็วและความเร่งเปน็ ศนู ย์ 7. จิ๊บขับรถออกจากไฟแดงด้วยความเร่ง 4 m/s2 อยากทราบ 2. ทั้งความเรว็ และความเร่งไม่เปน็ ศูนย์ ว่าในเวลา 5 s ต่อมารถจะมีขนาดของความเร็วเท่าใด 3. ความเรว็ เปน็ ศนู ย์ แตค่ วามเร่งไมเ่ ป็นศนู ย์ 1. 5 m/s 2. 10 m/s 4. ความเรง่ เป็นศูนย์ แต่ความเรว็ ไมเ่ ป็นศูนย์ 3. 15 m/s 4. 20 m/s 5. ความเรง่ และความเร็วมคี า่ เทา่ กนั 5. 25 m/s 3. วัตถใุ ดตอ่ ไปน้กี ำลงั เคล่ือนที่โดยไมม่ ีความเร่ง 8. โยนลูกบอลขึ้นไปในแนวดิ่ง ความเร็วของก้อนหินเป็นไป 1. บอลลูนลอยขึน้ ในแนวดงิ่ ด้วยความเรว็ คงตวั ตามข้อใด ถ้า g = 10 m/s2 2. รถยนตก์ ำลังแล่นดว้ ยอตั ราเร็วสมำ่ เสมอในทางโค้ง 1. เพิม่ ขน้ึ วนิ าทลี ะ 10 m/s 2. ลดลงวนิ าทีละ 10 m/s 3. รถยนต์กำลังถอยหลังเข้าจอดในโรงรถ 3. เปน็ ศูนยเ์ ม่อื ถึงจดุ สูงสุด 4. ขอ้ 2 และ 3 ถกู 4. ยงิ ปนื จากหนา้ ผาขน้ึ ไปในแนวดง่ิ 5. ขอ้ 1 2 และ 3 ถูก 5. ขนนกกาลงั ปลิวลงในแนวดง่ิ 9. ระยะทางและการกระจดั แตกตา่ งกันอยา่ งไร 4. ข้อใดต่อไปน้ีไม่จดั เปน็ ปริมาณเวกเตอร์ 1. มหี น่วยการวดั แตกต่างกัน 1. ความเร็ว 2. ความเร่ง 2. ระยะทางเป็นปริมาณสเกลาร์ การกระจัดเป็นปริมาณ 3. การกระจัด 4. อตั ราเรว็ เวกเตอร์ 5. แรง 3. การกระจัดเป็นปริมาณสเกลาร์ ระยะทางเป็นปริมาณ 5. วัตถุเคลื่อนที่ด้วย “ความเร่งคงตัว” หมายความว่า เวกเตอร์ อย่างไร 4. ระยะทางมีคา่ มากกวา่ การกระจดั เสมอ 1. ความเร็วต้นและความเรว็ ปลายของวัตถุเป็นศูนย์ 5. ขอ้ 2. และ 4. ถกู 2. ความเร็วต้นและความเรว็ ปลายมขี นาดเทา่ กนั 10. ปล่อยกอ้ นหินใหต้ กลงมาจากตกึ ความเรว็ ของกอ้ นหินเป็นไป 3. ความเร็วของวตั ถเุ ปลยี่ นแปลงตลอดเวลา ตามขอ้ ใด ถ้า g = 10 m/s2 4. ความเรว็ ของวตั ถุท่เี ปลยี่ นไปมคี า่ เท่ากนั ทกุ ๆ วนิ าที 1. เพิม่ ขึ้นวินาทีละ 10 m/s 2. เป็นศนู ย์ ณ จดุ ปลอ่ ย 5. ข้อ 2. และ 4. ถูก 3. มากท่ีสุดขณะกระทบพน้ื 4. ขอ้ 1 และ 3 ถูก 5. ถูกทัง้ ขอ้ 1 2 และ 3 เฉลย 1. 1 2. 3 3. 1 4. 4 5. 4 6. 2 7. 4 8. 4 9. 2 10. 5 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 103 เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบฝกึ หัด เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน ข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา เปล่ียนปริมาณเป็นสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง 2 ชดั เจนทุกข้อ ขั้นท่ี 1 ทำความเขา้ ใจปญั หา เปลย่ี นปรมิ าณเปน็ สัญลักษณ์ไดถ้ ูกต้องไม่ 1 ครบถว้ น ขัน้ ท่ี 2 วางแผนแก้ปญั หา ไมต่ อบหรือเปลี่ยนปริมาณเป็นสญั ลกั ษณ์ 0 ขั้นท่ี 3 ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ไม่ถูกตอ้ งเลย กำหนดสูตรทเ่ี ลอื กใชไ้ ด้ถูกต้อง 1 ข้นั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบ กำหนดสตู รทีเ่ ลือกใช้ไมถ่ ูกต้อง 0 แทนคา่ ในสตู รและคิดคำนวณเปน็ ไป 2 ตามลำดบั ขัน้ ไดถ้ ูกต้อง แทนค่าในสูตรได้ถูกต้องแต่คิดคำนวณไม่ 1 เปน็ ไปตามลำดับขั้นท่ีถกู ต้อง ไม่ตอบ หรือแทนค่าในสตู รผิดและคดิ 0 คำนวณไม่เป็นไปตามลำดบั ข้ันทถี่ ูกต้องเลย คำตอบและหนว่ ยถูกต้องชดั เจน 2 คำตอบถูกต้องแตห่ น่วยไม่ถูกตอ้ ง 1 ไม่ตอบ หรอื คำตอบและหนว่ ยไมถ่ ูกต้อง 0 เกณฑก์ ารประเมนิ /ระดบั คณุ ภาพของแบบฝกึ หดั ชว่ งคะแนน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8 – 10 ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ดี พอใช้ 6 – 7 รอ้ ยละ 60 – 79 ต้องปรับปรงุ 4 – 5 ร้อยละ 40 – 59 0 - 3 นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 เกณฑ์การผ่านของผู้เรียน ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คะแนน 6 - 10 คะแนน ระดับไมผ่ ่านเกณฑ์ ระดบั คะแนน 0 – 5 คะแนน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 104 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน คำช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนือ้ หา   2 ความคิดสรา้ งสรรค์   3 วิธกี ารนำเสนอผลงาน   4 การนำไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบูรณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ เปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 105 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื   3 การทำงานตามหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย   4 ความมนี ำ้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 106 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ คำชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การ ความมี การมี รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรับฟัง ทำงาน นำ้ ใจ ส่วนรว่ ม 15 คดิ เห็น ตามที่ ในการ คะแนน คนอ่ืน ได้รับ ปรบั ปรุง มอบหมาย ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 107 แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษัตริย์ 1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคปี รองดอง และเปน็ ประโยชน์ ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏิบัติตามหลกั ศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมที่เก่ยี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ามที่โรงเรยี น จัดข้นึ 2. ซ่อื สตั ย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสง่ิ ทถี่ กู ตอ้ ง 3. มีวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั มี ความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่างๆ ในชวี ติ ประจำวัน 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏิบตั ิได้ 4.2 รูจ้ กั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟงั คำสั่งสอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ต้ังใจเรียน 5. อย่อู ย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพยส์ นิ และส่ิงของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรียนอยา่ งประหยดั และรคู้ ณุ ค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 มคี วามต้งั ใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพื่อให้งานสำเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ กั การดแู ลรักษาทรพั ยส์ มบัติและสง่ิ แวดลอ้ มของห้องเรยี นและ โรงเรียน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน 51-60 ดมี าก 41-50 ดี พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน 30-40 ต่ำกวา่ 30 พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครงั้ ให้ 1 คะแนน ปรับปรงุ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 108 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอื่ งการเคลื่อนทีแ่ นวตรง แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 5 เร่ืองเครือ่ งเคาะสญั ญาณเวลา กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 รหสั วิชา ว31201 ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต **************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ผลการเรยี นรู้ สาระฟสิ ิกส์ 1.เข้าใจธรรมชาตทิ างฟิสกิ ส์ ปริมาณและกระบวนการวดั การเคลือ่ นทีแ่ นวตรง แรงและกฎการเคลื่อนท่ี ของนิวตัน กฎความโนม้ ถว่ งสากล แรงเสียดทานสมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัม และกฎการอนุรักษโ์ มเมนตมั การเคลอ่ื นท่แี นวโคง้ รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1.ทดลองและอธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งตำแหนง่ การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการเคล่ือนที่ ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก และ คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งได้ 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายเกยี่ วกับเครอ่ื งเคาะสัญญาณและข้อมูลท่ีไดจ้ ากเคร่ืองเคาะสัญญาณเวลาได้ (K) 2. มที ักษะการใช้เครื่องเคาะสญั ญาณเวลาเบอ้ื งต้น (P) 3. มที กั ษะการทดลอง สามารถสรุป และอภปิ รายผลการทดลองได้ (P) 4. มวี นิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งมั่นในการทำงาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ - ปริมาณท่เี ก่ยี วกบั การเคล่ือนที่ ได้แก่ ตำแหน่ง การกระจดั ความเร็ว และความเรง่ โดยความเร็วและ ความเร่งมีทั้งค่าเฉลี่ยและค่าขณะหนึ่งซึ่งคิดในช่วงเวลาส้ัน ๆ สำหรับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ แนวตรงด้วยความเรง่ คงตัวมคี วามสัมพันธต์ ามสมการ v = u + at u+v s = ( 2 )t 1 s = ut + 2 at2 v2 = u2 + 2as กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 109 4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เครื่องเคาะสัญญาณเวลา เป็นอุปกรณ์ที่ใช้หาอัตราเร็วของวัตถุในช่วงเวลาสั้น ๆ เมื่อต่อเครื่องเคาะ สัญญาณเวลาเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้า 4-6 โวลต์ของหม้อแปลงโวลต์ต่ำ จะทำให้คันเคาะสั่นด้วยความถี่ของ ไฟฟ้ากระแสสลับท่ีใช้ คอื 50 ครัง้ ต่อวินาที เมือ่ ดงึ แถบกระดาษท่สี อดใตก้ ระดาษคาร์บอน จะทำให้เกดิ จุดต่าง ๆ เรียงกนั บนแถบกระดาษ จดุ เหล่านี้ช่วยให้ทราบระยะทางและเวลาทีใ่ ช้ในการเคลื่อนที่ เพราะเวลาระหว่างจุด 2 จุด ท่ีเรียงกันเทา่ กับ 1/50 วินาที ขอ้ มลู เวลาและระยะทางชว่ ยใหว้ เิ คราะห์หาอตั ราเรว็ ได้ 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุง่ ม่นั ในการทำงาน 4. มีความซอ่ื สตั ย์ 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ 5E ร่วมเทคนคิ การแกโ้ จทย์ปญั หาของ โพลยา ชว่ั โมงที่ 1 ข้นั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิม เกี่ยวกับปริมาณต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ ระยะทาง การกระจดั อตั ราเร็วเฉลี่ย อัตราเรว็ ขณะหน่ึง ความเรว็ เฉลี่ย ความเร็วขณะหนึง่ • เมือ่ วัตถเุ คล่อื นท่ีจากที่หน่งึ ไปยังท่ีใด ๆ ระยะตามเส้นทางการเคลื่อนท่ี คือ ระยะทาง ซง่ึ เปน็ ปรมิ าณสเกลาร์ • เมื่อวัตถุทีเปลี่ยนตำแหน่งจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง ระยะทางตามแนวเส้นตรงจาก ตำแหน่งเดิมไปยังตำแหนง่ ใหม่ เรียกว่า การกระจัด ซ่งึ เปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ • อตั ราเร็วเฉลี่ย เปน็ อตั ราส่วนระหวา่ งระยะทางทว่ี ัตถุเคลื่อนท่ีไปได้กับชว่ งเวลาท่ีใช้ในการเคลื่อนที่ และเปน็ ปริมาณสเกลาร์ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 110 • อตั ราเรว็ ขณะหนงึ่ เปน็ อตั ราเรว็ เฉล่ียในช่วงใดชว่ งหนง่ึ ของการเคลื่อนท่ี • ความเร็วเฉลี่ย เป็นอัตราส่วนระหว่างการกระจัดของวัตถุกับช่วงเวลาของการกระจดั นั้น และเป็น ปรมิ าณเวกเตอร์ • ความเร็วขณะหนึง่ เป็นความเรว็ เฉลย่ี ในชว่ งเวลาสั้นมาก ๆ และเปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ 2. ครูเชื่อมโยงเนื้อหาโดยนักเรียนร่วมกันตอบคำถาม Prior knowledge จากหนังสือเรียน หน้า 43 ว่า นักเรียนสามารถเห็นความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวตรงได้อย่างไร โดยให้นักเรียนร่วมกันหา คำตอบอย่างอิสระ (แนวตอบ : ใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลาช่วยในการพิจารณา) 3. ครูอาจเสริมนักเรียนว่า เครื่องเคาะสัญญาณเวลา เป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดความเร็วของวัตถุ หรือใช้หา อัตราเรว็ ของวตั ถุที่เคล่อื นท่ีในช่วงเวลานั้น ๆ เน่อื งจากสามารถบนั ทึกตำแหน่งเวลา และตำแหน่งวัตถุ ท่สี มั พนั ธก์ นั ได้ 4. ครูถามคำถามกับนักเรียนว่า เคร่ืองเคาะสัญญาณเวลามีการทำงานอย่างไร โดยให้คำแนะนำเกี่ยวกับ การทำงานของเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ตามรายละเอียดในหนังสือเรียนหน้า 43 5. ครูและนักเรียนช่วยกันอภิปรายคำตอบ เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนในเรื่อง การวิเคราะห์จุดบนแถบ กระดาษเคาะสญั ญาณเวลา ข้ันสอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนพจิ ารณาลกั ษณะจุดบนแถบกระดาษเคาะสัญญาณเวลาในหนังสือเรียน แล้วถามคำถามว่า จุด ทป่ี รากฏบนแถบกระดาษจากเคร่ืองเคาะสญั ญาณเวลา สามารถบอกลักษณะการเคลื่อนท่ีไดอ้ ย่างไร (แนวตอบ : ถา้ ระยะหา่ งระหว่างจุดเพ่ิมขนึ้ เร่อื ย ๆ แสดงวา่ แถบกระดาษเคล่ือนท่ีด้วยความเร่ง ถ้าระยะห่างระหว่างจุดคงที่ แสดงว่าแถบกระดาษเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ ไม่มีความเร่ง และถ้า ระยะหา่ งระหวา่ งจุดลดลงเรือ่ ย ๆ แสดงว่าแถบกระดาษเคล่ือนท่ดี ว้ ยความเรว็ ลดลง มคี วามหน่วง) 2. ครอู ธบิ ายเพิม่ เติมโดยเน้นวา่ จุด 2 จดุ ท่ีถดั กนั จะมรี ะยะเวลาหา่ งกันเท่า ๆ กนั เทา่ กบั 1 วินาที 50 3. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่าง และกรอบ Physics Focus เรื่อง การหาความเร็วจากจากเครื่องเคาะ สัญญาณเวลา ในหนงั สือเรยี น 4. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ให้แต่ละกลุ่มศึกษา อภิปราย และคำนวณเกี่ยว อัตราเร็วเฉล่ยี และอตั ราเรว็ ขณะใดขณะหนึง่ 5. ให้ผู้แทนแต่ละกลุ่มออกมาสรุปความรู้เกี่ยวกับการคำนวณวิธีการหาค่าอัตราเร็วเฉลีย่ จากนั้นครูและ นักเรียนร่วมกันสรุปแต่ละขั้นตอนของการคำนวณ เพื่อให้นักเรียนสามารถสรุปสาระสำคัญลงในสมุด จดบนั ทึก 6. ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝึกหดั ในหนงั สือเรียน เพอ่ื เป็นการตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 111 ชวั่ โมงที่ 2 ขั้นสอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิม ทำกิจกรรม เรื่อง การวัดอัตราเร็วโดยใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลา จาก หนังสือเรียน เพื่อหาอัตราเร็วเฉลี่ย และอัตราเร็วขณะหนึ่ง พร้อมให้ข้อแนะนำก่อนการทำ กิจกรรมกับนักเรียน 2. ครูอธิบายวิธีใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลา พร้อมทั้งอธิบายการทำงานว่าเครื่องเคาะสัญญาณเวลาจะ เคาะ 50 ครั้ง ในเวลา 1 วินาที กล่าวคือถ้าดึงแถบกระดาษผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลา คันเคาะจะ เคาะบนกระดาษคารบ์ อนท่ีอยบู่ นแถบกระดาษ ทำให้เกิดจุดบนแถบกระดาษ 50 จุด ในเวลา 1 วินาที หรอื เวลาท่ีใชจ้ ากจดุ หนง่ึ ไปยังอีกจุดหน่งึ ท่อี ยู่ถดั กนั จะเท่ากบั 1 วินาที 50 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการทดลองหาอัตราเร็วเฉลี่ย และอัตราเร็วขณะหนึ่ง โดยใช้เครื่องเคาะ สญั ญาณเวลา (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตการณ์ทำงานกลมุ่ ) 4. นกั เรยี นจดั เตรยี มอปุ กรณ์และทำการทดลองตามวิธที ำการทดลอง 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ อธิบายผล และสรุปผลการทดลอง แล้วนำผลการทดลองมา นำเสนอหน้าชนั้ เรียน โดยครูชว่ ยอธิบายเพิม่ เติมเพื่อใหไ้ ด้ข้อสรปุ ท่ถี ูกต้อง ขัน้ สรุป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูใหค้ วามรูเ้ พิม่ เติม โดยการอธบิ ายเกีย่ วกบั ความเร็วเฉล่ยี และอัตราเร็วเฉลี่ย 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามจากกิจกรรมการทดลอง ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและให้ความรู้ เพิม่ เตมิ ในสว่ นน้ัน โดยทีค่ รูอาจจะใช้ PowerPoint เรื่อง เคร่ืองเคาะสญั ญาณเวลา ชว่ ยในการอธิบาย 3. ครูให้นกั เรยี นทำแบบฝึกหัดท่ี 1 เรอ่ื ง เครอื่ งเคาะสญั ญาณเวลา 4. ครูใหน้ ักเรียนทำแบบฝกึ หัดจากหนังสอื เรียนส่งเปน็ การบ้านในชัว่ โมงถัดไป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคำถาม การรว่ มกันทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 2. ครวู ัดและประเมนิ การปฏบิ ัติการ จากการทำแบบฝึกหดั ที่ 1 เรอ่ื ง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา 3. ครูตรวจสอบผลการทำกิจกรรม เร่อื ง การวดั อตั ราเรว็ โดยใช้เครื่องเคาะสญั ญาณเวลา กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 112 8. การวัดและประเมินผล รายการวดั วิธีวดั เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ ด้านความรู้ 1.อธบิ ายเกี่ยวกับเครื่องเคาะสญั ญาณ 1.สังเกต และประเมนิ 1.แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผ่านการประเมินได้ และขอ้ มูลที่ได้จากเครอื่ งเคาะ จากการปฏิบัติกิจกรรม การทำงานรายบุคคล และ ระดบั คุณภาพ ดี ขน้ึ ไป สญั ญาณเวลาได้ ระหว่างเรยี น รายกล่มุ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ 1.มีทักษะการใชเ้ ครื่องเคาะ 1.แบบบนั ทกึ การทดลอง 1.แบบบันทกึ การทดลอง ผ่านการประเมินคะแนน สัญญาณเวลาเบอื้ งตน้ 2.แบบฝึกหดั 2.แบบฝึกหดั ร้อยละ 70 ข้นึ ไป 2.มีทกั ษะการทดลองสามารถสรุป และ อภปิ รายผลการทดลองได้ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ัย 1.สงั เกต และประเมนิ 1.แบบประเมินดา้ น ผา่ นการประเมนิ ได้ 2. ใฝ่เรยี นรู้ จากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ ดี ขนึ้ ไป 3. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน ระหว่างเรยี น 4. มีความซอื่ สัตย์ ด้านสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1.สงั เกต และประเมนิ 1.แบบประเมินดา้ น ผ่านการประเมินได้ 2. ความสามารถในการคดิ จากการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม สมรรถนะสำคญั ของ ระดับคุณภาพ ดี ขนึ้ ไป 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ ระหว่างเรียน ผเู้ รียน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนังสอื เรยี น รายวิชาเพิ่มเติม ฟสิ ิกส์ ม.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การเคลอื่ นทใ่ี นแนวตรง 2) แบบฝึกหดั ที่ 1 เรื่อง เครอื่ งเคาะสัญญาณเวลา 3) ชุดการทดลองเครอื่ งเคาะสญั ญาณเวลา 4) PowerPoint เรอื่ ง เคร่อื งเคาะสัญญาณเวลา 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 10. กิจกรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย ............................................................................................. .................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................... กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 113 แบบฝึกหัดท่ี 1 เรอ่ื ง เครื่องเคาะสญั ญาณเวลา คำช้ีแจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปน้ี 1. ระยะห่างระหว่างจุดบนแถบกระดาษต่างกันอยา่ งไร เมื่อวัตถดุ ึงแถบกระดาษชา้ ๆ กับเม่ือวัตถุดึงแถบกระดาษ เรว็ ๆ 2. ระยะหา่ งระหวา่ งจุดบนแถบกระดาษต่างกนั อย่างไร เมื่อเปรียบเทยี บการดงึ แถบกระดาษด้วยอัตราเร็ว สมำ่ เสมอ กบั อตั ราเร็วไมส่ ม่ำเสมอ 3. เวลาท่ีวัตถุใช้เคล่ือนที่ทำให้ปรากฏจดุ แต่ละชว่ งจดุ เท่ากนั หรือไม่ เพราะเหตุใด 4. จากรูป แสดงแถบกระดาษท่ไี ด้จากการทดลองดึงผ่านเครื่องเคาะสัญญาณเวลาเคาะ 50 ครง้ั ตอ่ 1 วินาที จง หาความเร็วเฉลย่ี ของแถบกระดาษในช่วง AD และชว่ ง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีที่ 4 114 เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ 1 เร่อื ง เคร่ืองเคาะสญั ญาณเวลา คำช้ีแจง : ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1. การดึงแถบกระดาษชา้ ๆ กับการดงึ แถบกระดาษเร็ว ๆ ระยะหา่ งระหวา่ งจดุ บนแถบกระดาษต่างกันอยา่ งไร ถ้าดึงแถบกระดาษช้า ๆ จุดที่ปรากฏบนแถบกระดาษจะอยู่ชิด ๆ กัน แตถ่ า้ ดึงแถบกระดาษเร็ว ๆ จดุ ท่ี ปรากฏบนแถบกระดาษจะอยู่ห่าง ๆ กนั 2. เมอื่ เปรยี บเทยี บการดึงแถบกระดาษดว้ ยอัตราเร็วสม่ำเสมอ กบั อัตราเร็วไมส่ ม่ำเสมอ ระยะห่างระหว่างจดุ บนแถบกระดาษตา่ งกันอยา่ งไร ถา้ ดึงแถบกระดาษดว้ ยอัตราเร็วสม่ำเสมอ จดุ ทป่ี รากฏบนแถบกระดาษหา่ งจากกนั เทา่ กัน แต่ถา้ ดึงแถบ กระดาษด้วยอัตราเรว็ ไม่สมำ่ เสมอ จดุ ทป่ี รากฏบนแถบกระดาษหา่ งจากกันไม่เท่ากนั 3. เวลาทวี่ ัตถุใชเ้ คลอื่ นท่ีทำใหป้ รากฏจุดแตล่ ะช่วงจดุ เทา่ กนั หรือไม่ เพราะเหตุใด เวลาทีว่ ัตถใุ ชเ้ คลื่อนท่ีทาใหป้ รากฏจดุ แต่ละชว่ งจดุ เท่ากัน เพราะเครอ่ื งเคาะสญั ญาณเวลาเคาะดว้ ย ความถี่ 50 ครั้งใน 1 วินาที นั่นคอื แตล่ ะช่วงจุดใชเ้ วลา 1/50 วนิ าที 4. จากรปู แสดงแถบกระดาษทไ่ี ดจ้ ากการทดลองดึงผ่านเคร่ืองเคาะสัญญาณเวลาเคาะ 50 คร้ัง ต่อ 1 วินาที จง หาความเร็วเฉล่ียของแถบกระดาษในช่วง AD และชว่ ง BC วิธีทำ อัตราเร็วเฉลยี่ ในชว่ ง AD = ระยะทาง อตั ราเร็วเฉลยี่ ในชว่ ง BC เวลา = 8.2×10−2 10/50 = 0.41 m/s = ระยะทาง เวลา = 3.6×10−2 3/50 = 0.6 m/s ดงั นนั้ อตั ราเรว็ เฉลี่ยในช่วง AD มีค่า 0.41 เมตรต่อวินาที และอตั ราเร็วเฉล่ียในชว่ ง BC มีค่า 0.6 เมตรต่อวนิ าที กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 115 เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบฝกึ หัด เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน ข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา เปล่ียนปริมาณเป็นสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง 2 ชดั เจนทุกข้อ ขั้นท่ี 1 ทำความเขา้ ใจปญั หา เปลย่ี นปรมิ าณเปน็ สัญลักษณ์ไดถ้ ูกต้องไม่ 1 ครบถว้ น ขัน้ ท่ี 2 วางแผนแก้ปญั หา ไมต่ อบหรอื เปลี่ยนปริมาณเป็นสญั ลกั ษณ์ 0 ขั้นท่ี 3 ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ไม่ถูกตอ้ งเลย กำหนดสตู รทเ่ี ลอื กใชไ้ ด้ถกู ต้อง 1 ข้นั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบ กำหนดสูตรทีเ่ ลือกใช้ไมถ่ ูกต้อง 0 แทนคา่ ในสตู รและคิดคำนวณเปน็ ไป 2 ตามลำดบั ขัน้ ไดถ้ ูกต้อง แทนค่าในสูตรได้ถูกต้องแต่คิดคำนวณไม่ 1 เปน็ ไปตามลำดับขั้นท่ีถกู ต้อง ไม่ตอบ หรือแทนค่าในสูตรผิดและคดิ 0 คำนวณไม่เป็นไปตามลำดบั ข้ันทถี่ ูกต้องเลย คำตอบและหนว่ ยถูกต้องชดั เจน 2 คำตอบถกู ต้องแตห่ น่วยไมถ่ ูกตอ้ ง 1 ไม่ตอบ หรอื คำตอบและหนว่ ยไมถ่ ูกต้อง 0 เกณฑก์ ารประเมนิ /ระดบั คณุ ภาพของแบบฝกึ หัด ชว่ งคะแนน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8 – 10 ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ดี พอใช้ 6 – 7 รอ้ ยละ 60 – 79 ต้องปรับปรงุ 4 – 5 ร้อยละ 40 – 59 0 - 3 นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 เกณฑ์การผ่านของผู้เรียน ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คะแนน 6 - 10 คะแนน ระดับไมผ่ ่านเกณฑ์ ระดบั คะแนน 0 – 5 คะแนน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 116 แบบประเมินการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม คำช้ีแจง : ใหผ้ ้สู อนประเมินการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมของนกั เรยี นตามรายการทกี่ ำหนด แลว้ ขดี ✓ ลงในช่องท่ีตรง กับระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 4321 1 การปฏิบตั กิ ารทำกิจกรรม 2 ความคลอ่ งแคล่วในขณะปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 3 การบันทกึ สรปุ และนำเสนอผลการทำกจิ กรรม รวม เกณฑก์ ารประเมินการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ประเด็นทป่ี ระเมนิ 4 ระดับคะแนน 1 32 1.การปฏบิ ตั ิ ทำกิจกรรมตามข้ันตอน ทำกจิ กรรมตามขั้นตอน ต้องใหค้ วามชว่ ยเหลือ ต้องใหค้ วามชว่ ยเหลือ กิจกรรม และใช้อปุ กรณไ์ ด้อยา่ ง และใชอ้ ปุ กรณไ์ ดอ้ ยา่ ง บ้างในการทำกจิ กรรม อย่างมากในการทำ ถูกต้อง ถูกต้อง แตอ่ าจตอ้ งไดร้ ับ และการใชอ้ ปุ กรณ์ กิจกรรม และการใช้ คำแนะนำบา้ ง อปุ กรณ์ 2.ความ มคี วามคลอ่ งแคล่ว มคี วามคล่องแคล่ว ขาดความคลอ่ งแคล่ว ทำกิจกรรมเสรจ็ ไม่ คล่องแคลว่ ในขณะทำกจิ กรรมโดยไม่ ในขณะทำกจิ กรรมแต่ ในขณะทำกจิ กรรมจึงทำ ทนั เวลา และทำอปุ กรณ์ ในขณะปฏบิ ตั ิ ตอ้ งไดร้ ับคำช้ีแนะ และ ตอ้ งไดร้ บั คำแนะนำบา้ ง กจิ กรรมเสร็จไมท่ ันเวลา เสียหาย กจิ กรรม ทำกิจกรรมเสรจ็ ทันเวลา และทำกิจกรรมเสรจ็ ทันเวลา 3.การบันทกึ สรปุ บนั ทึกและสรุปผลการทำ บนั ทึกและสรุปผลการทำ ต้องใหค้ ำแนะนำในการ ตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลอื และนำเสนอผล กจิ กรรมไดถ้ กู ตอ้ ง รดั กุม กิจกรรมได้ถกู ต้อง แต่ บันทึก สรปุ และนำเสนอ อย่างมากในการบันทึก การปฏิบัตกิ ิจกรรม นำเสนอผลการทำ การนำเสนอผลการทำ ผลการทำกจิ กรรม สรุป และนำเสนอผลการ กจิ กรรมเปน็ ขั้นตอน กจิ กรรมยังไมเ่ ปน็ ทำกจิ กรรม ชดั เจน ข้ันตอน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 10-12 ดีมาก 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 0-3 ปรับปรุง กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 117 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน คำช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนือ้ หา   2 ความคิดสรา้ งสรรค์   3 วิธกี ารนำเสนอผลงาน   4 การนำไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบูรณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ เปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 118 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื   3 การทำงานตามหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย   4 ความมนี ำ้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 119 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ คำชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การ ความมี การมี รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรับฟัง ทำงาน นำ้ ใจ ส่วนรว่ ม 15 คดิ เห็น ตามท่ี ในการ คะแนน คนอ่ืน ได้รบั ปรบั ปรุง มอบหมาย ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครงั้ ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 120 แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องท่ี ตรงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้ กษัตริย์ 1.2 เข้ารว่ มกิจกรรมทสี่ ร้างความสามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ ต่อโรงเรยี น 1.3 เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนับถือ ปฏบิ ัติตามหลักศาสนา 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมทีเ่ กี่ยวกับสถาบนั พระมหากษตั รยิ ต์ ามท่ีโรงเรยี น จัดขึ้น 2. ซ่อื สตั ย์ สุจรติ 2.1 ให้ข้อมลู ที่ถกู ตอ้ งและเป็นจรงิ 2.2 ปฏิบัติในสิง่ ท่ีถูกตอ้ ง 3. มีวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ของครอบครวั มี ความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจำวัน 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รจู้ ักใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏบิ ตั ไิ ด้ 4.2 รู้จักจัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟงั คำส่ังสอนของบิดา-มารดา โดยไมโ่ ต้แย้ง 4.4 ตั้งใจเรียน 5. อย่อู ย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรพั ยส์ นิ และส่งิ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใชอ้ ปุ กรณ์การเรียนอย่างประหยดั และรู้คณุ ค่า 5.3 ใชจ้ ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 มีความต้งั ใจและพยายามในการทำงานท่ไี ด้รบั มอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแทต้ อ่ อปุ สรรคเพ่ือให้งานสำเรจ็ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มจี ิตสำนกึ ในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย 7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ช่วยพ่อแม่ ผูป้ กครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ กั การดแู ลรกั ษาทรัพย์สมบัตแิ ละสิ่งแวดล้อมของห้องเรยี นและ โรงเรียน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน 51-60 ดมี าก 41-50 ดี พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและบอ่ ยครั้ง ให้ 2 คะแนน 30-40 ต่ำกวา่ 30 พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครงั้ ให้ 1 คะแนน ปรบั ปรุง กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 121 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 เร่อื งการเคลอ่ื นท่ีแนวตรง แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 6 เรือ่ งความเรง่ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 รหสั วิชา ว31201 ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 3 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต **************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ผลการเรียนรู้ สาระฟสิ ิกส์ 1.เขา้ ใจธรรมชาติทางฟสิ กิ ส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลอ่ื นที่แนวตรง แรงและกฎการเคล่ือนที่ ของนิวตนั กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทานสมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการอนรุ ักษ์พลังงานกล โมเมนตัม และกฎการอนรุ ักษโ์ มเมนตัม การเคล่อื นท่แี นวโคง้ รวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการ เคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วงของ โลก และคำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งได้ 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกบั ความเรง่ ได้ (K) 2. มที ักษะการคำนวณหาความเร่ง และปรมิ าณทเ่ี กี่ยวข้องกบั การเคลอ่ื นท่ีได้ (P) 3. ทำงานรว่ มกบั ผู้อืน่ อยา่ งสร้างสรรค์ ยอมรับความคดิ เห็นของผอู้ ่นื ได้ (A) 3. สาระการเรียนรู้ - ปริมาณทีเ่ กยี่ วกับการเคลื่อนท่ี ได้แก่ ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเรง่ โดยความเร็วและ ความเร่งมีทัง้ ค่าเฉลี่ยและค่าขณะหน่ึงซึ่งคิดในช่วงเวลาส้ัน ๆ สำหรับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ แนวตรงดว้ ยความเรง่ คงตัวมีความสัมพนั ธต์ ามสมการ v = u + at u+v s = ( 2 )t 1 ∆x = ut + 2 at2 v2 = u2 + 2as กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 122 - การอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุสามารถเขียนอยู่ในรูปกราฟตำแหน่งกับเวลา กราฟความเร็วกับเวลา หรอื กราฟความเร่งกับเวลา ความชันของเส้นกราฟตำแหน่งกับเวลาเป็นความเรว็ ความชันของ - การอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุสามารถเขียนอยู่ในรูปกราฟตำแหน่งกับเวลา กราฟความเร็วกับเวลา หรือกราฟความเร่งกับเวลา ความชันของเส้นกราฟตำแหน่งกับเวลาเป็นความเร็ว ความชันของเส้นกราฟความเร็ว กับเวลาเป็นความเร่ง และพ้ืนที่ใต้เส้นกราฟความเร็วกบั เวลาเป็นการกระจัด ในกรณีที่ผสู้ ังเกตมีความเร็ว ความเร็ว ของวตั ถุที่สังเกตได้เปน็ ความเร็วท่ีเทียบกับผสู้ ังเกต 4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด การเคลื่อนที่ของวัตถุใด ๆ มีการเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลง และบางครั้งมีการเปลี่ยนแปลงทิศทางการ เคลอ่ื นที่ การเคลื่อนที่ทีม่ ขี นาดหรอื ทศิ ทางของความเร็วเปลย่ี นแปลงไป เรียกวา่ การเคลอ่ื นท่แี บบมีความเร่ง ความเร่ง เป็นความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา หรืออัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ว ซึ่งเป็น ปรมิ าณเวกเตอร์ แตถ่ ้าถ้าหากพิจารณาเฉพาะขนาดของความเร่ง โดยไมค่ ำนงึ ถึงทิศทางของการเคล่อื นที่แลว้ จะ เรียกวา่ อัตราเรง่ ซง่ึ เป็นปรมิ าณสเกลาร์ ความเร่งเฉลี่ย เป็นอัตราส่วนระหว่างความเร็วที่เปลี่ยนไปทั้งหมด กับช่วงเวลาที่เกิดการเปลี่ยนแปลง ความเรว็ นั้น 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 4. มีความซอ่ื สัตย์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 123 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5E รว่ มเทคนิคการแก้โจทย์ปญั หาของ โพลยา ช่ัวโมงที่ 1 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิม เกี่ยวกับ เรื่อง ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และ ความเร็ว เพื่อเชื่อมโยงความคิดนักเรียนสู่เนื้อหาโดยให้นักเรียนร่วมกันสนทนา เกี่ยวกับ การเคลื่อน ที่ว่ามีปริมาณใดบ้าง ที่เป็นปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์ (ทิ้งช่วงให้นักเรียนคิด) เพื่อเป็น ความร้พู ้ืนฐานนำไปสู่การศึกษา เรอ่ื ง ความเร่ง 2. ครสู นทนากบั นักเรียนถงึ เรื่องการเคลอ่ื นที่ต่าง ๆ โดยซกั ถามนกั เรยี นในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี • การท่ีรถยนต์แล่นใชค้ วามเรว็ เทา่ กัน หรือไม่ • การขรี่ ถจักรยานของนกั เรยี นใช้ความเร็วเท่ากนั หรอื ไม่ 3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน ว่า “นักเรียนรู้ได้อย่างไรว่าวัตถุเคลื่อนที่แบบมี ความเร่ง” เพือ่ เปน็ การกระต้นุ ใหน้ ักเรียนรว่ มกันคิด (แนวตอบ : ความเร็วของวตั ถุการเปล่ียนแปลงไป ซึ่งความเร่งอาจมีค่าเปน็ บวกหรอื ลบกไ็ ด้) 4. นักเรยี นชว่ ยกนั อภปิ รายและแสดงความคดิ เห็นคำตอบจากคำถาม 5. ครูอาจจะยกตัวอย่างการเคลือ่ นที่ที่มคี วามเรง่ แล้วอธบิ ายว่าการเคลอ่ื นท่นี นั้ เป็นอยา่ งไร อะไรบง่ บอก ว่าการเคลื่อนที่นั้น ๆ มีความเร่ง เช่น นักวิ่งเพิ่มความเร็วในการวิ่งเพื่อแซงคู่แข่งขัน ซึ่งทำให้เกิด ความเร่ง เปน็ ตน้ ขั้นสอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหค้ วามรู้เก่ียวกับความหมายของความเร่งเพ่ือให้นักเรียนเข้าใจมากขึ้นว่า ในการเคล่ือนที่ของวัตถุ บางช่วงเวลาขนาดของความเร็วและทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่งกล่าวได้ว่าวัตถุมี ความเร็วคงตัว แตถ่ า้ ขนาดของความเรว็ เปลี่ยน หรอื ทศิ การเคล่ือนท่ีเปล่ียน หรือเปล่ียนทั้งขนาดของ ความเร็ว และทิศการเคลื่อนที่ เราเรียกว่าวัตถุมี “ความเร่ง” เช่น รถที่เลี้ยวโค้งด้วยขนาดของ ความเรว็ คงตวั ก็ถือว่ารถมคี วามเร่ง เพราะทิศการเคลอ่ื นท่ขี องรถเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 2. ครนู ำเสนอวธิ ีการคำนวณหาคา่ ความเรง่ จากสมการความเรง่ (ในหนงั สอื เรียน หน้า 47) ในความหมาย ของอตั ราสว่ นระหวา่ งความเร็วที่เปล่ยี นไปกบั ช่วงเวลาหนงึ่ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 124 3. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับการเขยี นกราฟความสัมพนั ธ์ของความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนทีข่ องวัตถุแนว ตรง พร้อมทงั้ รว่ มอภิปรายกบั นกั เรียนใหไ้ ด้ข้อสรปุ ดงั น้ี • ถ้าความเร็วคงที่ ลักษณะของกราฟระหว่างความเร็วกับเวลาเป็นเส้นตรงขนานกับแกนเวลา โดยมีความชันเปน็ ศนู ย์ • ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เปลี่ยนแปลงสม่ำเสมอ ลักษณะของกราฟระหว่างความเร็วกับ เวลาเป็นเส้นตรงมคี วามชันค่าหนึ่ง 4. ครูให้นักเรียนพิจารณาความหมายของความเร่งกับความหน่วง จากรายละเอียดในหนังสือเรียนหน้า 48 โดยพิจารณาสถานการณก์ ารเกิดความเรง่ และความหนว่ งของรถจกั รยานยนต์ 5. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันอภปิ ราย สรุปไดว้ า่ รถจักรยานยนตเ์ คลื่อนทีเ่ ป็นเส้นตรงมีการเคลื่อนท่ี 2 แบบ คอื • แบบแรก รถจักรยานยนตม์ ีความเร็วเพิม่ ขึน้ เรียกวา่ รถมีความเร่ง • แบบสอง รถจกั รยานยนต์มคี วามเร็วลดลง เรยี กว่า รถมคี วามหนว่ ง ชั่วโมงท่ี 2 ขนั้ สอน สำรวจค้นหา (Explore) 6. ครถู ามนักเรียนว่าความเรง่ และความหนว่ งมีทิศทางอย่างไร 7. ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุม่ กลุ่มละ 4 – 5 คน แล้วชว่ ยกนั เขียนแผนภาพเวกเตอรแ์ สดงทิศทางการเปลี่ยน ความเรว็ ลงในกระดาษ A4 (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตการณท์ ำงานกลุ่ม) 8. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนำแผนภาพและคำตอบทคี่ ิดได้ มารว่ มกนั อภิปรายภายในกลุ่ม ตรวจสอบและ รวบรวมขอ้ มูล และทุกคนต้องทำความเข้าใจให้ตรงกัน 9. ครสู ่มุ ตัวแทนของนกั เรียนแต่ละกลุ่ม เพ่ือนำเสนอแผนภาพทแี่ ตล่ ะกล่มุ ไดไ้ ปสรุปเปน็ แผนท่ีความคดิ 10. ครูสอบถามข้อสรุปของแต่ละกลุ่ม โดยครูตรวจสอบข้อมูลจากการนำเสนอเพื่อความถูกต้อง แล้ว สรุปดังนี้ • ถ้า V2 มากกว่า V1 แสดงว่าความเร่ง (a) เปน็ + (V2 – V1 > 0) ซ่ึงหมายถึง a มีทศิ เดียวกับทิศ การเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถซุ ง่ึ มีความเรว็ เพม่ิ ขน้ึ • ถ้า V2 น้อยกว่า V1 แสดงว่าความเร่ง (a) เป็น – (V2 – V1 < 0) ซึ่งหมายถงึ a มีทิศตรงข้ามกบั ทศิ การเคลื่อนท่ขี องวัตถุ ในกรณีน้วี ัตถุจะเคล่อื นท่ีชา้ ลง 11. จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน ศึกษาการหาความเร่งเฉลี่ยและความเร่งขณะหนึ่งของวัตถุ จากเครอื่ งเคาะสญั ญาณเวลา จากหนังสือเรยี นหนา้ 49 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีท่ี 4 125 12. ครูเชื่อมโยงการหาอัตราเร็วของแถบกระดาษจากเครื่องเคาะสัญญาณ ซึ่งหากดึงแถบกระดาษด้วย อัตราเร็วที่ต่างกันจะพบว่า บางครั้งกระดาษเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่สม่ำเสมอและไม่สม่ำเสมอ ลักษณะของการเคลื่อนที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงความเร็วและทิศทาง เรียกว่า การเคลื่อนที่แบบมี ความเร่ง 13. ครูอธบิ ายเพิม่ เติมเกย่ี วกบั วิธีการหาอัตราเร็วเฉล่ยี จากแถบกระดาษเครื่องเคาะสัญญาณเวลา รวมท้ัง การแปลความหมายจุดบนกระดาษ โดยการนำแถบกระดาษที่ปรากฏจุดแตกต่างกัน มาให้นักเรียน สังเกตและร่วมกนั สรปุ ผล ช่ัวโมงที่ 3 ขั้นสอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครใู หน้ กั เรียนรว่ มกันศึกษาโจทยต์ ัวอยา่ งของวิธีการคำนวณความเร่งเฉล่ยี จากตัวอย่างในหนังสือเรียน โดยครูอธบิ ายเสริมเพื่อให้นกั เรียนเขา้ ใจมากขน้ึ 2. ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ ศกึ ษาตวั อยา่ งในหนงั สอื เรยี น ตามขั้นตอนการแกโ้ จทย์ปัญหา ดงั น้ี • ขั้นท่ี 1 ครใู ห้นกั เรยี นทุกคนทำความเขา้ ใจโจทยต์ ัวอย่าง • ข้ันที่ 2 ครถู ามนักเรยี นว่า สิง่ ทโ่ี จทยต์ อ้ งการถามหาคืออะไร และจะหาสิง่ ท่ีโจทยต์ ้องการ ต้อง ทำอย่างไร • ขน้ั ที่ 3 ครูให้นกั เรยี นดูวิธีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ขนั้ ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทยต์ วั อยา่ งวา่ ถูกต้อง หรือไม่ 3. นักเรียนและครูร่วมกนั อภปิ รายเกี่ยวกบั วิธีการคำนวณความเร่ง เพื่อให้นกั เรียนสรุปสาระสำคัญลงใน สมดุ จดบันทึก ข้ันสรุป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครนู ำนกั เรียนอภิปรายและสรปุ เกยี่ วกับความเร่ง ดงั นี้ • ในชวี ติ ประจำวนั ของนกั เรยี นได้เก่ียวข้องกับอัตราเร็วหรอื ความเร็ว ดา้ นใดบ้าง • ความเร่งกับความหน่วงแตกตา่ งกนั อยา่ งไร 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง ความเร่ง ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและให้ความรู้ เพิ่มเติมในส่วนนน้ั โดยทคี่ รูอาจจะใช้ PowerPoint เรอื่ ง ความเรง่ ชว่ ยในการอธิบาย 3. ครูใหน้ กั เรียนร่วมกันทำแบบฝึกหดั ท่ี 1 เรอื่ ง ความเร่ง 4. ครูมอบหมายใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนทำแบบฝึกหดั ในหนังสือเรยี นการบา้ น กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 126 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครปู ระเมินการนำเสนอข้อมลู เกีย่ วกบั แผนภาพเวกเตอรแ์ สดงทิศทางการเปล่ียนความเรว็ 2. ครสู งั เกตการตอบคำถามของนักเรยี น 3. ครตู รวจสอบผลจากแบบฝึกหดั ท่ี 1 เรอ่ื ง ความเร่ง 4. ครตู รวจการทำแบบฝกึ หัดในหนงั สอื เรียน 5. ครปู ระเมินผลงานจากแผนภาพเวกเตอร์ท่ีนกั เรียนได้สร้างขน้ึ จากข้นั สำรวจค้นหา 8. การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีวดั เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวัด -สงั เกตพฤตกิ รรมระหว่าง -แบบฝึกหดั รอ้ ยละ 70 ผ่านเกณฑ์ กิจกรรมการเรยี น ด้านความรู้ รายบคุ คล ระดับคณุ ภาพ 2 1. อธบิ ายเกี่ยวกบั -สังเกต ประเมนิ จาก -แบบประเมนิ ดา้ นทักษะ/ ผ่านเกณฑ์ ความเร่งได้ กจิ กรรมระหวา่ งเรยี น กระบวนการ รายบุคคลและกลุ่ม -แบบฝึกหัด ด้านทักษะ/กระบวนการ 1.มที กั ษะการคำนวณหา - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 ความเร่ง และปริมาณท่ี การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ เกี่ยวขอ้ งกับการเคล่ือนท่ี ได้ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คณุ ภาพ 2 ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ ประสงค์ 1.มีวินยั 2.ใฝเ่ รียนรู้ 3.มุ่งมั่นในการทำงาน 4.มีความซอ่ื สตั ย์ ด้านสมรรถนะสำคัญของ ผเู้ รียน 1.ความสามารถในการ ส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการ แกป้ ัญหา กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 127 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ ม.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การเคลือ่ นทีใ่ นแนวตรง 2) แบบฝกึ หดั ท่ี 1 เร่ือง ความเร่ง 3) ชดุ การทดลองเครือ่ งเคาะสัญญาณเวลา 4) PowerPoint เรอื่ ง ความเรง่ 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องเรยี น 2) ห้องสมุด 3) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ 10. กิจกรรมเสนอแนะ/งานท่ีมอบหมาย ............................................................................................................................. .................................................... ................................................................................................................................................................................. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 128 แบบฝกึ หดั ท่ี 1 เรื่อง ความเร่ง คำชี้แจง : ใหน้ กั เรียนตอบคำถามต่อไปนี้ กราฟระหว่างความเร็ว (⃑v) กบั เวลา (t) ของวตั ถทุ ี่เคล่ือนที่เปน็ เส้นตรงดงั รูป จงหา 1. ระยะทางท่ีเคล่ือนที่ทั้งหมด 2. การกระจัดทไ่ี ด้ทัง้ หมด (x⃑ ) อมั รา ใจตบ๊ิ 3. อตั ราเร็วเฉล่ยี ของการเคลื่อนที่ทั้งหมด (vav) 4. ความเร็วเฉลย่ี ของการเคลอ่ื นทที่ ั้งหมด (⃑vav) 5. ความเรง่ ที่วนิ าทีที่ 1 และ 7 (a⃑ 1, ⃑a7) กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 129 เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ 1 เรอื่ ง ความเร่ง คำชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามต่อไปนี้ กราฟระหวา่ งความเรว็ (v⃑ ) กบั เวลา (t) ของวัตถุที่เคลอื่ นทเ่ี ป็นเส้นตรงดังรูป จงหา 1. ระยะทางท่ีเคล่ือนท่ที ั้งหมด ระยะทางทเ่ี คลอ่ื นท่ีท้ังหมด หาได้จากผลรวมของขนาดการกระจัดในแตล่ ะชว่ ง = พ้ืนที่ใตก้ ราฟ พนื้ ที่ใต้กราฟ = x1 + x2 + x3 + x4 =(1⁄2 × 2 × 15) + (1⁄2 × 2 × 15) + (1⁄2 × (20 + 15) × 2) + (1⁄2 × 2 × 20) = 85 เมตร 2. การกระจัดทไ่ี ด้ท้ังหมด การกระจัด = พน้ื ท่ใี ตก้ ราฟ = x1 + x2 + x3 + x4 = (-15) + 15 + 35 + 20 = 55 เมตร 3. อตั ราเรว็ เฉลย่ี ของการเคล่อื นทท่ี ง้ั หมด (vav) vav = ระยะทางทั้งหมด = 85 = 10.6 เมตรตอ่ วนิ าที เวลาทั้งหมด 8 4. ความเรว็ เฉลย่ี ของการเคลอ่ื นท่ีทงั้ หมด (v⃑ av) v⃑ av = ระยะทางท้งั หมด = 55 = 6.9 เมตรต่อวินาที เวลาท้งั หมด 8 5. ความเร่งท่ีวินาทีที่ 1 และ 7 ( ∆v⃑ ) ∆t ความเรง่ a⃑ = ความชันของกราฟ (⃑v) กบั (t) = ∆v⃑ ∆v⃑ (0−(−15) ∆t (2−0) ∆t วนิ าทีท่ี 1, ⃑a1 = = = 7.5 เมตรต่อวนิ าที2 วินาทที ี่ 7, a⃑ 1 = ∆⃑v = (0−20) = -10 เมตรตอ่ วนิ าที2 ∆t (8−6) กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 130 เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบฝกึ หัด เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน ข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา เปล่ียนปริมาณเป็นสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง 2 ชดั เจนทุกข้อ ขั้นท่ี 1 ทำความเขา้ ใจปญั หา เปลย่ี นปรมิ าณเปน็ สัญลักษณ์ไดถ้ ูกต้องไม่ 1 ครบถว้ น ขัน้ ท่ี 2 วางแผนแก้ปญั หา ไมต่ อบหรอื เปลี่ยนปริมาณเป็นสญั ลกั ษณ์ 0 ขั้นท่ี 3 ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ไม่ถูกตอ้ งเลย กำหนดสตู รทเ่ี ลอื กใชไ้ ด้ถกู ต้อง 1 ข้นั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบ กำหนดสูตรทีเ่ ลือกใช้ไมถ่ ูกต้อง 0 แทนคา่ ในสตู รและคิดคำนวณเปน็ ไป 2 ตามลำดบั ขัน้ ไดถ้ ูกต้อง แทนค่าในสูตรได้ถูกต้องแต่คิดคำนวณไม่ 1 เปน็ ไปตามลำดับขั้นท่ีถกู ต้อง ไม่ตอบ หรือแทนค่าในสูตรผิดและคดิ 0 คำนวณไม่เป็นไปตามลำดบั ข้ันทถี่ ูกต้องเลย คำตอบและหนว่ ยถูกต้องชดั เจน 2 คำตอบถกู ต้องแตห่ น่วยไมถ่ ูกตอ้ ง 1 ไม่ตอบ หรอื คำตอบและหนว่ ยไมถ่ ูกต้อง 0 เกณฑก์ ารประเมนิ /ระดบั คณุ ภาพของแบบฝกึ หัด ชว่ งคะแนน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8 – 10 ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ดี พอใช้ 6 – 7 รอ้ ยละ 60 – 79 ต้องปรับปรงุ 4 – 5 ร้อยละ 40 – 59 0 - 3 นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 เกณฑ์การผ่านของผู้เรียน ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คะแนน 6 - 10 คะแนน ระดับไมผ่ ่านเกณฑ์ ระดบั คะแนน 0 – 5 คะแนน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 131 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื   3 การทำงานตามหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย   4 ความมนี ำ้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 132 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ คำชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การ ความมี การมี รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรับฟัง ทำงาน นำ้ ใจ ส่วนรว่ ม 15 คดิ เห็น ตามท่ี ในการ คะแนน คนอ่ืน ได้รบั ปรบั ปรุง มอบหมาย ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครงั้ ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 133 แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษัตริย์ 1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคปี รองดอง และเป็นประโยชน์ ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏิบัติตามหลักศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมที่เก่ยี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ามที่โรงเรยี น จัดข้นึ 2. ซ่อื สตั ย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสง่ิ ทถี่ กู ตอ้ ง 3. มีวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั มี ความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่างๆ ในชวี ติ ประจำวนั 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏิบตั ิได้ 4.2 รูจ้ กั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟงั คำสั่งสอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ต้ังใจเรียน 5. อย่อู ย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพยส์ นิ และส่ิงของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรียนอยา่ งประหยดั และรคู้ ณุ ค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 มคี วามต้งั ใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพื่อให้งานสำเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ กั การดแู ลรักษาทรพั ยส์ มบัติและสง่ิ แวดลอ้ มของห้องเรียนและ โรงเรียน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครงั้ ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน 51-60 ดมี าก 41-50 ดี 30-40 พอใช้ ต่ำกว่า 30 ปรับปรงุ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 134 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 เรื่องการเคลอื่ นท่ีแนวตรง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เร่อื งกราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปรมิ าณต่าง ๆ ของการเคลอ่ื นท่แี นวตรง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 รหัสวิชา ว31201 ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ *********************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ผลการเรียนรู้ สาระฟิสิกส์ 1.เข้าใจธรรมชาตทิ างฟิสกิ ส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการเคล่ือนที่ ของนิวตัน กฎความโนม้ ถ่วงสากล แรงเสยี ดทานสมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการอนรุ ักษ์พลังงานกล โมเมนตัม และกฎการอนุรักษ์โมเมนตมั การเคลอื่ นทแ่ี นวโค้ง รวมทงั้ นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตำแหนง่ การกระจัด ความเร็ว และความเรง่ ของการเคล่ือนท่ี ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วงของโลก และ คำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เก่ยี วข้องได้ 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระยะทาง ความเร็ว กับเวลา สำหรับการเคล่อื นท่ใี นแนวตรงได้ (K) 2. มีทักษะการคำนวณหาระยะทาง ความเรว็ กบั เวลา จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ได้ (P) 3. ทำงานรว่ มกบั ผู้อื่นอย่างสรา้ งสรรค์ ยอมรบั ความคดิ เห็นของผ้อู ่ืนได้ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ - ปรมิ าณที่เกีย่ วกับการเคลื่อนท่ี ได้แก่ ตำแหนง่ การกระจัด ความเรว็ และความเรง่ โดยความเร็วและ ความเร่งมีทัง้ ค่าเฉลี่ยและค่าขณะหน่ึงซึ่งคิดในช่วงเวลาส้ัน ๆ สำหรับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกับการเคลื่อนที่ แนวตรงด้วยความเร่งคงตวั มีความสัมพนั ธ์ตามสมการ v = u + at u+v s = ( 2 )t 1 ������ = ut + 2 at2 v2 = u2 + 2as กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีที่ 4 135 - การอธบิ ายการเคลอ่ื นท่ีของวัตถสุ ามารถเขยี นอยใู่ นรูปกราฟตำแหน่งกับเวลา กราฟความเร็วกับเวลา หรือกราฟความเร่งกับเวลา ความชนั ของเส้นกราฟตำแหน่งกับเวลาเปน็ ความเรว็ ความชนั ของเสน้ กราฟความเรว็ กบั เวลาเป็นความเร่ง และพ้นื ทใี่ ตเ้ ส้นกราฟความเรว็ กับเวลาเป็นการกระจัด ในกรณีทีผ่ สู้ ังเกตมีความเรว็ ความเรว็ ของวัตถทุ สี่ ังเกตได้เป็นความเร็วทเี่ ทียบกับผูส้ ังเกต 4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด กราฟความสมั พันธร์ ะหวา่ ง การกระจัด (������) ความเรว็ (v) ความเร่ง (a) และเวลา (t) เพื่อใหเ้ ข้าใจได้ง่าย จะใชก้ ราฟเส้นตรงหาความสัมพันธ์ระหวา่ งสองปริมาณท่ีเปน็ ปฏภิ าคกัน สว่ นกราฟเสน้ โค้งใชด้ ูการเปล่ียนแปลง ไดแ้ ต่ไม่สามารถพสิ จู นค์ วามสมั พนั ธไ์ ดช้ ัดเจน 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน 4. มีความซ่อื สตั ย์ 7. กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5E (5E Intruction Model) ร่วมกับ เทคนคิ การแก้โจทย์ปัญหาของโพลยา ชัว่ โมงท่ี 1 ข้นั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิม เกี่ยวกับ ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว และ ความเร่ง เชื่อมโยงเนื้อหาโดยนักเรียนร่วมกันตอบคำถาม เกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะทาง การกระจัด อตั ราเร็ว ความเรว็ และความเรง่ (ท้ิงช่วงให้นกั เรียนคิด) เพือ่ นำไปสู่การศึกษา เรื่องกราฟ ความสัมพนั ธ์ระหว่างการกระจัด (������) ความเรว็ (v) ความเรง่ (a) และเวลา (t) กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 136 2. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่า จะได้ศึกษาเรื่อง กราฟความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด (������) ความเร็ว (v) ความเร่ง (a) และเวลา (t) 3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge ว่า “กราฟระยะทางกับเวลาสามารถบ่งบอกถึงปรมิ าณใดได้” เพ่ือ เป็นการกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนร่วมกันคิด (แนวตอบ : จากกราฟความสัมพันธร์ ะหว่างการกระจดั กับเวลาสามารถหาค่าความเรว็ (v) จาก ค่าความชนั ของกราฟได)้ 4. ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกันอภิปรายและแสดงความคิดเหน็ คำตอบจากคำถาม 5. ครูยกตัวอย่างการเคลื่อนที่ของรถยนต์ในแต่ละวินาที แล้วอธิบายว่าการเคลื่อนที่ของวัตถุอธิบายได้ ด้วยปริมาณต่าง ๆ ดังที่นักเรียนทราบมาแล้ว เช่น ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว และ ความเร่ง ถ้านำปริมาณต่าง ๆ ในการเคลื่อนที่ของวัตถุกับเวลาที่วัตถุใช้ในการเคลื่อนที่มาเขียนเป็น กราฟ จะได้กราฟความสัมพันธ์ของปริมาณดังกล่าวในลักษณะต่าง ๆ ซึ่งสามารถใช้กราฟดังกล่าวหา ปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เกย่ี วข้องกับการเคลอ่ื นทน่ี ้ันได้ ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหน้ ักเรียนพิจารณาการเคลอ่ื นท่ีของรถยนตใ์ นหนงั สือเรียน ทีแ่ สดงการกระจดั ทร่ี ถยนต์ เคลอื่ นที่ ไดใ้ นแต่ละวินาที ซง่ึ จากภาพการเคล่ือนท่ีของรถยนต์ สามารถเขียนกราฟความสมั พนั ธ์ของการ กระจดั กับเวลาได้ ท่มี ีความเร็วคงตัว 5 m/s 2. ครอู ธบิ ายวธิ ีการคำนวณหาคา่ ความเรว็ จากกราฟความสมั พนั ธข์ องการกระจัดกบั เวลาได้ว่าเปน็ กราฟ เสน้ ตรงเฉียงข้นึ แสดงวา่ เมอื่ เวลาเพ่มิ ข้ึน การกระจัดทีร่ ถยนต์เคลอื่ นที่ได้จะเพ่ิมขึน้ ตามไปด้วยใน อตั ราคงตัวหรือแปรผนั ตรงซึ่งกันและกันเม่ือหาความชนั ของกราฟในชว่ งเวลา 1 – 3 วินาที จะได้วา่ ความชนั ของกราฟ = 15−5 = 5 m/s 3−1 3. ครูอธบิ ายใหน้ ักเรียนเข้าใจมากขึน้ วา่ ค่าความชนั ของกราฟระหว่างการกระจัดกับเวลาทห่ี าได้ ก็คอื ความเร็วของรถยนตม์ ีค่าเท่ากับ 5 m/s จากสมการเสน้ ตรงท่ัวไป คือ y = mx + c เมอ่ื m คือ ความชนั ของเส้นตรง มีคา่ เทา่ กับ ∆y ∆x c คือ จดุ ตัดบนแกน y จากสมการ v = sหรอื ������ = vt t เม่ือเทียบกับ y = mx + c แล้วกราฟระหวา่ งการกระจดั (s) กบั เวลา (t) จะได้ความชนั เท่ากบั ความเร็ว (v) และจุดตัดบนแกน s เท่ากับ 0 (c = 0) กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีที่ 4 137 4. ครใู หน้ ักเรยี นพิจารณาความหมายของกราฟการกระจัดกับเวลาของรถยนต์ทเ่ี คล่อื นที่ในแนวตรงจาก ตารางในหนังสอื เรียน ซึง่ ทำให้ทราบความเร็วของการเคลอ่ื นทขี่ องวตั ถจุ ากความชนั ของเสน้ กราฟ แล้วยังบอกถึงลักษณะการเคลอ่ื นที่ของวตั ถุไดอ้ ีกด้วย 5. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปเกี่ยวกบั กราฟการกระจดั กบั เวลา ดังนี้ • ความชนั ของกราฟการกระจดั กับเวลาแทนความเร็วเฉลย่ี ของการเคล่ือนท่ี • เม่อื ความเรว็ คงตัว ความเรว็ เฉล่ยี เท่ากับความเร็วขณะหนงึ่ • การหาความเร็วเฉลี่ยระหว่าง 2 จุดใด ๆ หาจากความชันของเส้นตรงที่ลากจากจุดทั้งสองบน กราฟตรงช่วงเวลานั้น ความชันจะแทนความเร็วเฉลี่ยและแทนความเร็วขณะหนึ่งตรงจุด กึ่งกลางช่วงเวลานนั้ สำรวจคน้ หา (Explore) 6. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 4 – 5 คน แล้วให้นักเรยี นเขียนกราฟการกระจัดกับเวลาจากสถานการณ์ ทกี่ ำหนดให้ คอื รถคนั หนง่ึ เคล่ือนท่ีในแนวตรงไดค้ ่าการกระจดั กบั เวลาเป็นดงั ตารางด้านลา่ ง ให้นักเรียน เขียนกราฟความสัมพันธ์การกระจัดกับเวลา โดยให้แกน y เป็นการกระจดั แกน x เป็นเวลา การกระจดั (เมตร) เวลา (วินาที) 31 62 93 12 4 15 5 (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ้ บบสงั เกตการณท์ ำงานกลุ่ม) 7. ครถู ามนักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ว่า ลักษณะกราฟที่ไดเ้ ป็นเชน่ ใด อธบิ ายความหมายของกราฟไดว้ ่าอย่างไร (ทง้ิ ชว่ งใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มคิด) (แนวตอบ : ลักษณะเป็นกราฟเส้นตรงเฉียงขึ้น แสดงว่าเมื่อเวลาเพิ่มขึ้นการกระจัดที่รถ เคลือ่ นท่ีไดจ้ ะเพ่ิมขึน้ ตามไปด้วยในอัตราคงตัวหรือแปรผนั ตรงซึ่งกนั และกนั ) 8. ครสู ุ่มตวั แทนของนกั เรยี นแตล่ ะกลุ่ม เพอ่ื นำเสนอคำตอบทีแ่ ต่ละกลุ่มได้ไปสรุปเป็นความคิดของแต่ละ กล่มุ 9. ครูตรวจสอบข้อมูลจากการนำเสนอเพอ่ื ความถูกต้อง แลว้ สรปุ ดังน้ี • ลักษณะเป็นกราฟเส้นตรงเฉียงขึ้น แสดงว่าเมื่อเวลาเพิ่มขึ้นการกระจัดที่รถเคลื่อนที่ได้จะ เพิม่ ขึน้ ตามไปดว้ ยในอตั ราคงตวั หรอื แปรผันตรงซง่ึ กนั และกนั 10. ครูถามคำถามต่อเพ่อื ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันคิดและสรุปจากคำถามตอ่ ไปนี้ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 138 • ความชันของกราฟไดอ้ ยา่ งไร • ความชันของกราฟท่ไี ด้แทนปรมิ าณใดของการเคลือ่ นท่ี 11. ครูและนักเรยี นอภิปราย สรุปไดว้ า่ กราฟการกระจัดกับเวลาท่ีได้ มีลักษณะเป็นเส้นตรงเฉียงข้ึน และ เมอ่ื เวลาเพิ่มขึน้ การกระจดั ท่ีรถเคลือ่ นที่ได้จะเพมิ่ ข้นึ ตามไปด้วยในอัตราคงตวั ความชันของกราฟ (m) หาได้จาก ∆y = ∆x = 6−3 = 3 m/s แสดงว่าความชนั ของกราฟที่ได้แทนความเร็วเฉลี่ยของรถ ซ่งึ มี ∆x ∆t 3−1 ค่าเท่ากบั 3 m/s 12. จากนั้นครูให้นักเรียนพิจารณาการเคลื่อนที่ของรถยนต์ท่ีช่วงเวลาต่าง ๆ กัน ในหนังสือเรียน เพ่ือ ศึกษากราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างความเร็วเวลา เมื่อวัตถุเคล่ือนที่แล้วเกิดความเร็วทีเ่ วลาตา่ ง ๆ จะสามารถนำไปเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลา ( v – t) ที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ของปริมาณความเร็ว ความเร่ง กับเวลา ดังภาพแสดงการเคลื่อนที่ของรถยนต์ในแต่ละ ช่วงเวลาเวลา และสามารถเขียนกราฟความสมั พันธค์ วามเร็วกับเวลาได้ 13. ครอู ธบิ ายวา่ จากกราฟจะเหน็ ว่ากราฟแสดงความสัมพันธร์ ะหว่างความเร็วกับเวลาเป็นกราฟเส้นตรง เฉียงขึ้น นนั่ คอื ค่าบนแกนความเร็วของรถเปลย่ี นแปลง เราทราบแลว้ ว่าถ้าวตั ถเุ คลื่อนท่ีดว้ ยความเร็ว คงตัว แสดงว่าวัตถุนั้นไม่ได้เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง หรือความเร่งของวัตถุเป็น 0 แต่ถ้ามีการ เปลยี่ นแปลงความเร็ว แสดงว่าวัตถุนั้นเคล่อื นทด่ี ว้ ยความเรง่ พิจารณาจากกราฟจะพบว่าความชันของ กราฟเป็น ∆v ซึ่งก็คือ ความเร่งของการเคลื่อนที่ หาได้จาก ∆v = v3−v1 = 15−5 = 5 m/s2 ∆t ∆t t3−t1 3−1 กลา่ วได้ว่า ความชันของกราฟความเร็วกับเวลาแทนความเร่งเฉลี่ยของการเคล่อื นท่ี 14. ครูถามกับนักเรียนว่าจากกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับเวลา เราสามารถหาการ กระจัดได้หรอื ไม่ อย่างไร (ทิง้ ช่วงให้นักเรียนคดิ ) 15. ครูอธิบายว่า เราสามารถหาการกระจดั ไดจ้ ากพ้นื ทีใ่ ต้กราฟ ความชันของกราฟจะบง่ บอกถึงความเร่ง ของการเคล่ือนที่และเมื่อนักเรียนหาพื้นที่ใต้กราฟออกมา ซึ่งหาได้จาก พื้นที่ใต้กราฟ = พื้นที่รูป สามเหลี่ยม = 1 × ฐาน × สูง = 1 × 3 × 15 = 22.5 m พื้นที่ใต้กราฟจะมีค่าเท่ากับการกระจัดท่ี 22 รถยนต์คันนี้เคลื่อนที่ได้ในเวลา 3 s จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันศึกษากราฟความเร็วกับเวลาในแต่ละ กรณจี ากตารางในหนังสือเรยี น หน้า 56 16. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรปุ เกีย่ วกับกราฟความเร็วกบั เวลา ดังน้ี • ความชันของกราฟความเร็วกับเวลาแทนความเร่งเฉล่ยี ของการเคลอื่ นที่ • เม่อื ความเร็วคงตวั ความเร็วเฉลย่ี เทา่ กบั ความเรว็ ขณะหนึง่ • การหาความเร่งขณะหนึ่งตรงตำแหน่งเวลาใด หาจากความชันของเส้นตรงที่ลากสัมผัสกับ กราฟตรงตำแหนง่ เวลาน้ัน • พ้นื ทใ่ี ต้กราฟความเรว็ กบั เวลาแทนการกระจัดของการเคลื่อนท่ี กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีที่ 4 139 17. ครูสรุปเพิ่มเติมเกี่ยวกับกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดกับเวลา (s – t) ความเร็วกับ เวลา (v – t) ความเรง่ กบั เวลา (a – t) ดงั น้ี ถ้าความชนั เพ่ิมข้ึน → ความเรว็ เพิ่มสม่ำเสมอ → ความเรง่ คงตัวมคี ่าเป็นบวก ถ้าความชนั เลดลง → ความเรว็ ลดลงมำ่ เสมอ → ความเรง่ คงตวั มคี ่าเปน็ ลบ ชั่วโมงที่ 2 ข้ันสอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครทู บทวนความร้ใู หก้ ับนักเรียนเกีย่ วกบั กราฟความสมั พันธส์ ำหรับการเคล่ือนท่ใี นแนวตรง ดังน้ี • กราฟระหวา่ งการกระจัดกับเวลา (s – t) ความชนั ของกราฟน้ี คอื ความเรว็ • กราฟระหวา่ งความเรว็ กับเวลา (v – t) ความชันของกราฟน้ี คอื ความเร่ง • ความชันของกราฟ ถ้าความชันเป็นศูนย์ กราฟจะขนานแกน x ถ้าความชันคงตัว กราฟจะเป็น เส้นตรง ในกรณีความชันไม่คงตัว ถ้าความชันเพิ่มขึ้น กราฟจะโค้งหงาย และถ้าความชันลดลง กราฟจะโค้งควำ่ 2. ครูให้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศึกษาตวั อยา่ ง ในหนังสือเรยี น ตามขั้นตอนการแกโ้ จทยป์ ญั หา ดังนี้ • ข้นั ที่ 1 ครใู ห้นกั เรยี นทกุ คนทำความเขา้ ใจโจทย์ตวั อย่าง และพจิ ารณากราฟความสัมพนั ธ์ • ขั้นที่ 2 ครูถามนักเรียนว่า จากกราฟความสัมพันธ์ สิ่งที่โจทย์กำหนดคืออะไร สิ่งที่โจทย์ ตอ้ งการคอื อะไร และต้องทำอยา่ งไร • ขั้นที่ 3 ครใู ห้นักเรียนดวู ธิ ีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ขน้ั ท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทยต์ วั อย่างว่าถูกต้อง หรือไม่ 3. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีการคำนวณจากกราฟความสัมพันธ์ที่กำหนด เพื่อให้ นักเรยี นสรุปสาระสำคญั ลงในสมดุ จดบนั ทกึ ขั้นสรปุ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูนำนักเรียนอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่าง ๆ ของการ เคล่ือนท่แี นวตรง 2. ครเู ปิดโอกาสให้นกั เรยี นสอบถามเนื้อหาเรื่อง กราฟความสัมพันธร์ ะหว่างระยะทาง ความเร็ว กบั เวลา ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น โดยที่ครูอาจจะใช้ PowerPoint เรื่อง กราฟแสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปรมิ าณตา่ ง ๆ ของการเคลือ่ นท่ีแนวตรง ช่วยในการอธิบาย 3. ครใู ห้นักเรียนร่วมกันทำใบงานที่ 7 เรอ่ื ง กราฟความสัมพันธ์ระหวา่ งระยะทาง ความเร็ว กบั เวลา กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 140 4. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนทำแบบฝกึ หดั จาก Unit Question 2 เร่ือง กราฟแสดงความสมั พนั ธ์ ระหว่างปรมิ าณตา่ ง ๆ ของการเคล่ือนท่ีแนวตรง ในหนังสอื เรยี นเปน็ การบา้ น ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครสู ังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้และการรว่ มกิจกรรมของนกั เรียน 2. ครูสงั เกตการตอบคำถามของนักเรยี น 3. ครตู รวจสอบผลจากแบบฝึกหัดท่ี 1 เรือ่ ง กราฟความสัมพันธร์ ะหวา่ งระยะทาง ความเร็ว กบั เวลา 4. ครตู รวจการทำแบบฝกึ หัดในหนังสอื เรยี นเร่อื ง กราฟแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างปรมิ าณต่าง ๆ ของ การเคลือ่ นท่แี นวตรง 8. การวัดและประเมนิ ผล วธิ วี ดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน รายการวัด ผ่านการประเมนิ รอ้ ยละ - แบบฝึกหัด -แบบฝกึ หดั 70 ข้นึ ไป ด้านความรู้ 1.อธิบายกราฟแสดงความสมั พันธ์ -สงั เกต และประเมิน -แบบประเมนิ ด้าน ผ่านการประเมนิ ได้ระดับ ระหว่างระยะทาง ความเร็ว กบั จากการปฏบิ ัติกิจกรรม ทักษะกระบวนการ คณุ ภาพ ดี ขึน้ ไป เวลา สำหรบั การเคล่อื นทีใ่ นแนว ระหว่างเรยี นของผเู้ รยี น รายบคุ คล และกลุ่ม ตรงได้ แบบรายบคุ คลและกลมุ่ -แบบฝกึ หัด ผา่ นการประเมินไดร้ ะดับ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ คณุ ภาพ ดี ขน้ึ ไป 1.มีทักษะการคำนวณหา -สังเกต และประเมนิ -แบบประเมนิ ดา้ น ระยะทาง ความเรว็ กบั เวลา จาก จากการปฏิบัติกจิ กรรม คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ผา่ นการประเมินไดร้ ะดับ กราฟแสดงความสมั พันธไ์ ด้ ระหว่างเรียนของผเู้ รียน ประสงค์ คุณภาพ ดี ขนึ้ ไป แบบรายบคุ คลและกลมุ่ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ -แบบประเมนิ ด้าน 1.มีวนิ ยั -สังเกต และประเมิน สมรรถนะสำคญั ของ 2.ใฝ่เรยี นรู้ จากการปฏบิ ัติกิจกรรม ผู้เรยี น 3.มุ่งมั่นในการทำงาน ระหวา่ งเรยี นของผูเ้ รียน 4.มคี วามซ่อื สตั ย์ แบบรายบุคคลและกล่มุ ด้านสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2.ความสามารถในการคดิ 3.ความสามารถในการแก้ปัญหา กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 141 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนังสือเรยี น รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสกิ ส์ ม.4 เล่ม 1 2) แบบฝึกหดั ที่ 1 เรอ่ื ง กราฟความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งระยะทาง ความเร็ว กบั เวลา 3) PowerPoint เร่ือง การเคล่อื นท่ใี นแนวตรง 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรยี น 2) หอ้ งสมุด 3) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ 10. กิจกรรมเสนอแนะ/งานทม่ี อบหมาย ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 142 แบบฝกึ หดั ที่ 1 เรอ่ื ง กราฟความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งระยะทาง ความเรว็ กับเวลา คำช้ีแจง : ให้นกั เรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1. กราฟแสดงความสมั พันธร์ ะหว่างการกระจดั (m) และเวลา (s) จากการเคล่ือนทีข่ องวตั ถุ จงหา 1.1ระยะทางท้ังหมด 1.2ความเร็วเฉลี่ย …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… …………………………………………………………………… ……………………………………………………………2…. …จา…กกราฟ a…–…t…เป…็น…ก…า…รเ…คล…ื่อ…น…ท…ี่ขอ…ง…ว…ัตถ…ุจ…า…กจ…ุด…ห…ย…ุดน…ิ่ง…ต…ล…อด ……………………………………………………………ร…ะย…ะ…เวลา 20 ว…นิ …า…ที…ว…ตั ถ…ุเค…ล…่อื …นท…ไี่…ด…้ระ…ย…ะท…า…งเท…า่…ใด…………………… …………………………………………………………………… ……………… ……………………………………………… กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีที่ 4 143 เฉลยแบบฝึกหัดที่ 1 เร่ือง กราฟความสมั พนั ธ์ระหวา่ งระยะทาง ความเรว็ กับเวลา คำชแี้ จง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ 1. กราฟแสดงความสมั พันธ์ระหวา่ งการกระจดั (m) และเวลา (s) จากการเคล่อื นทข่ี องวัตถุ จงหา 1.1 ระยะทางทัง้ หมด 1.2 ความเรว็ เฉลย่ี วธิ ีทำ ระยะทางท้ังหมด = พน้ื ที่ A +พนื้ ที่ B + พน้ื ที่ C วิธีทำ ความเร็วเฉลย่ี = การกระจดั ทั้งหมด เวลาทั้งหมด = 1 (2)(200) + 1 (200 + 400)(4) + 1 (2)(400) = 1800 22 2 = 200 + 1200 + 400 8 = 225 = 1800 ดังนนั้ ความเร็วเฉลยี่ มคี า่ เทา่ กบั 225 เมตรต่อวินาที ดังนัน้ ระยะทางทง้ั หมดมีค่าเทา่ กบั 1800 เมตร 2 จากกราฟ a – t เปน็ การเคลอื่ นทข่ี องวตั ถจุ ากจุดหยดุ น่งิ ตลอดระยะเวลา 20 วนิ าที วตั ถุเคลื่อนทไ่ี ด้ระยะทางเท่าใด วิธีทำ ตอ้ งเปลย่ี นเปน็ กราฟ v – t จะได้ ทีว่ นิ าทีท่ี 5 มคี วามเรว็ = พ้ืนที่ A = (2)(5) = 10 ที่วินาทีที่ 5 มคี วามเร็วเท่ากับ 10 m/s2 ระยะทาง ที่วตั ถเุ คลือ่ นที่ = พน้ื ท่ใี ตก้ ราฟ = 1 2 (5)(10) + (10 - 5)(10) + 1 (10 - 2 15)(10) + 0 = 25 + 50 + 25 = 100 ดงั นน้ั วตั ถุเคลื่อนทไ่ี ดร้ ะยะทาง 100 เมตร กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 144 เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบฝกึ หัด เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน ข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา เปล่ียนปริมาณเป็นสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง 2 ชดั เจนทุกข้อ ขั้นท่ี 1 ทำความเขา้ ใจปญั หา เปลย่ี นปรมิ าณเปน็ สัญลักษณ์ไดถ้ ูกต้องไม่ 1 ครบถว้ น ขัน้ ท่ี 2 วางแผนแก้ปญั หา ไมต่ อบหรอื เปลี่ยนปริมาณเป็นสญั ลกั ษณ์ 0 ขั้นท่ี 3 ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ไม่ถูกตอ้ งเลย กำหนดสตู รทเ่ี ลอื กใชไ้ ด้ถกู ต้อง 1 ข้นั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบ กำหนดสูตรทีเ่ ลือกใช้ไมถ่ ูกต้อง 0 แทนคา่ ในสตู รและคิดคำนวณเปน็ ไป 2 ตามลำดบั ขัน้ ไดถ้ ูกต้อง แทนค่าในสูตรได้ถูกต้องแต่คิดคำนวณไม่ 1 เปน็ ไปตามลำดับขั้นท่ีถกู ต้อง ไม่ตอบ หรือแทนค่าในสูตรผิดและคดิ 0 คำนวณไม่เป็นไปตามลำดบั ข้ันทถี่ ูกต้องเลย คำตอบและหนว่ ยถูกต้องชดั เจน 2 คำตอบถกู ต้องแตห่ น่วยไมถ่ ูกตอ้ ง 1 ไม่ตอบ หรอื คำตอบและหนว่ ยไมถ่ ูกต้อง 0 เกณฑก์ ารประเมนิ /ระดบั คณุ ภาพของแบบฝกึ หัด ชว่ งคะแนน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8 – 10 ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ดี พอใช้ 6 – 7 รอ้ ยละ 60 – 79 ต้องปรับปรงุ 4 – 5 ร้อยละ 40 – 59 0 - 3 นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 เกณฑ์การผ่านของผู้เรียน ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คะแนน 6 - 10 คะแนน ระดับไมผ่ ่านเกณฑ์ ระดบั คะแนน 0 – 5 คะแนน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 145 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื   3 การทำงานตามหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย   4 ความมนี ำ้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 146 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ คำชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การ ความมี การมี รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรับฟัง ทำงาน นำ้ ใจ ส่วนรว่ ม 15 คดิ เห็น ตามที่ ในการ คะแนน คนอ่ืน ได้รับ ปรบั ปรุง มอบหมาย ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 147 แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องท่ี ตรงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษัตริย์ 1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคปี รองดอง และเปน็ ประโยชน์ ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏิบัตติ ามหลกั ศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมที่เก่ยี วกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ต์ ามทีโ่ รงเรยี น จัดข้นึ 2. ซ่อื สตั ย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสง่ิ ทถี่ กู ตอ้ ง 3. มีวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครัว มี ความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ิตประจำวนั 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏบิ ตั ิได้ 4.2 รูจ้ กั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟงั คำสั่งสอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แยง้ 4.4 ต้ังใจเรียน 5. อย่อู ย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพยส์ นิ และส่ิงของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรียนอยา่ งประหยดั และรคู้ ณุ ค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 มคี วามต้งั ใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพื่อใหง้ านสำเรจ็ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ กั การดแู ลรักษาทรพั ยส์ มบัติและสง่ิ แวดลอ้ มของห้องเรียนและ โรงเรียน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน 51-60 ดีมาก พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน 41-50 ดี 30-40 พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครงั้ ให้ 1 คะแนน ต่ำกวา่ 30 ปรบั ปรุง กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 148 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอ่ื งการเคล่อื นทีแ่ นวตรง แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 8 เร่ืองการเคลื่อนท่ีของวตั ถกุ รณีความเรง่ คงตัว กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 รหสั วิชา ว31201 ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 3 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต *********************************************************************************** ***************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรยี นรู้ สาระฟสิ ิกส์ 1.เข้าใจธรรมชาตทิ างฟสิ กิ ส์ ปรมิ าณและกระบวนการวดั การเคลื่อนท่แี นวตรง แรงและกฎการเคล่ือนท่ี ของนวิ ตนั กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสยี ดทานสมดุลกลของวตั ถุ งานและกฎการอนรุ ักษ์พลังงานกล โมเมนตัม และกฎการอนรุ กั ษโ์ มเมนตัม การเคล่ือนที่แนวโค้ง รวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการ เคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วงของ โลก และคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ งได้ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหว่างการกระจัด เวลา ความเร็ว ความเร่งของการเคลื่อนที่เสน้ ตรงได้ (K) 2. มีทกั ษะการคำนวณหาปริมาณท่ีเกย่ี วข้องกบั การเคลือ่ นท่ีในแนวตรง (P) 3. ทำงานรว่ มกับผู้อืน่ อย่างสรา้ งสรรค์ ยอมรบั ความคดิ เห็นของผู้อนื่ ได้ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ - ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง โดยความเร็วและ ความเร่งมีทัง้ ค่าเฉลี่ยและค่าขณะหนึ่งซึ่งคิดในช่วงเวลาส้ัน ๆ สำหรับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกับการเคลือ่ นที่ แนวตรงด้วยความเรง่ คงตวั มคี วามสัมพันธต์ ามสมการ v = u + at u+v s = ( 2 )t 1 s = ut + 2 at2 กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 149 v2 = u2 + 2as - การอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุสามารถเขียนอยู่ในรูปกราฟตำแหน่งกับเวลา กราฟความเร็วกับเวลา หรือกราฟความเร่งกับเวลา ความชันของเส้นกราฟตำแหน่งกับเวลาเป็นความเร็ว ความชันของเส้นกราฟความเร็ว กบั เวลาเป็นความเร่ง และพื้นท่ีใต้เส้นกราฟความเร็วกับเวลาเป็นการกระจัด ในกรณีท่ีผู้สังเกตมีความเร็ว ความเร็ว ของวตั ถทุ ่ีสังเกตได้เป็นความเรว็ ท่ีเทียบกับผ้สู ังเกต 4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด การเคลื่อนที่ของวัตถุแนวตรงในกรณีความเร่งมีค่าคงตัว คือ การที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่งโดยมีทั้ง ขนาดและทิศทางเหมือนเดิมตลอดเวลาของการเคลื่อนที่ โดยสมการการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เกี่ยวข้องมี ความสมั พนั ธ์ตามสมการ v = u + at s = (u+v) t 2 s = ut + 1 at2 2 v2 = u2 + 2as 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทำงาน 4. มคี วามซ่อื สตั ย์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 150 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5E (5E Instructional Model) ร่วมกับ เทคนคิ การแกโ้ จทย์ปญั หาของโพลยา ชัว่ โมงที่ 1 ขนั้ นำ กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันทบทวนความรู้เดมิ เก่ยี วกบั ตำแหนง่ ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว ความเร็ว และความเร่ง เชื่อมโยงเนื้อหาโดยนักเรียนร่วมกันตอบคำถาม เกี่ยวกับ อัตราเร็วและระยะทางมี ความสัมพนั ธ์กันอยา่ งไร (ทิ้งช่วงใหน้ ักเรยี นคดิ ) เพอ่ื นำไปสกู่ ารศึกษา เรอื่ ง สมการท่ใี ชใ้ นการคำนวณ ปริมาณตา่ ง ๆ ของการเคลอื่ นท่ีในแนวตรงของวัตถทุ ่ีมคี วามเร่งคงตวั 2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสอื เรียนว่า “วัตถเุ คล่ือนท่ดี ว้ ยความเร่งคงตัวจะมีลักษณะ การเคล่อื นทเ่ี ป็นอยา่ งไร” เพือ่ เป็นการกระต้นุ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั คิด (แนวตอบ : วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งโดยมีทั้งขนาดและทิศทางเหมือนเดิมตลอดเวลาของการ เคล่อื นท)่ี 3. นกั เรียนชว่ ยกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็น 4. ครูสามารถกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยการเปิดโปรแกรมสาธิตการเคลื่อนที่ของวัตถุด้วย ความเร่งคงตัว จาก http://www.walter-fendt.de/html5/phth/acceleration_th.htm ซึ่งครู อาจจะขออาสาสมัครนักเรียนให้ออกมาหน้าชน้ั เรียนเพื่อเป็นตัวแทนในการสาธิตการใชโ้ ปรแกรม โดย แนะนำให้นกั เรยี นนำโปรแกรมไปศึกษาในเรื่อง การเคลอื่ นที่ด้วยความเรง่ คงตวั นอกเวลาเรยี นได้ โปรแกรมเรอื่ ง การเคล่อื นท่ีดว้ ยความเรง่ คงตวั อมั รา ใจต๊ิบ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook