แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 201 3. จงหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ ของแรงตา่ ง ๆ ที่มากระทำร่วมกันโดยมีขนาดและทิศทางตามรูป กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 202 เฉลยแบบฝึกหดั ท่ี 1 เร่อื ง แรงและแรงลัพธ์ คำช้ีแจง : ให้เตมิ ข้อความหรอื ความหมายของคำต่อไปนี้ใหส้ มบูรณ์ 1. แรงมีความหมายวา่ อยา่ งไร แรง (force) หมายถึง สิ่งที่สามารถทำให้วตั ถุที่อยู่นิ่งเคล่ือนที่หรือทำใหว้ ัตถุที่กำลังเคลื่อนที่มีความเร็ว เพิ่มขึ้นหรือช้าลง หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได้ แรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่ต้องบอกทั้งขนาด และทศิ ทาง ดังนั้นการหาผลของแรงลพั ธท์ ี่กระทำตอ่ วัตถุจากการรวมกันระหวา่ งแรงย่อย 2 แรงขนึ้ ไป 2. จงหาขนาดและทศิ ทางของแรงลัพธ์ (R⃑ ) ของแรงย่อยท่มี ีขนาดและทิศทางตามรูป โดยการคำนวณ จากสมการ ⃑R = √F12 + F22 + 2F1F2 cos θ F1 = 900 N F2 = 400 N θ = 60° R⃑ = √(900)2 + (400)2 + (2)(400)(900) cos 60 = √1330000 = 1153.25 N จากสมการ tan α = F1 sin θ F2+F1 cos θ tan α = 400 sin 60 900+400 cos 60 α = 17.48° ดังน้ัน แรงลัพธ์มีขนาด 1153.25 N มีทิศทามุมกับแนวนอน 17.48° กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 203 3. จงหาขนาดและทศิ ทางของแรงลพั ธ์ ของแรงต่าง ๆ ที่มากระทำรว่ มกนั โดยมขี นาดและทิศทางตามรปู แยกแรง 400 N ไปตามแกน X = 400 cos 45° แยกแรง 400 N ไปตามแกน Y = 400 sin 45° แยกแรง 900 N ไปตามแกน X = 900 cos 60° แยกแรง 900 N ไปตามแกน Y = 900 sin 60° รวมแรงตามแกน x, ∑Fx = 900 cos 60° – 400 cos 45° รวมแรงตามแกน X; ∑Fx = 900 cos 60° – 400 cos 45° ∑Fx = 167.15 N รวมแรงตามแกน Y; ∑Fy = 900 sin 60° – 400 sin 45° ∑Fy = 1062.2 N R = √(∑ Fx)2 + (∑ Fy)2 = √(167)2 + (1062)2 R = 1,075 N หาทศิ ทางของแรงลัพธ์ จากสมการ tan α = ∑ Fy ∑ Fx = 1062 167 = 6.36 tan α = 81.05° ดงั นนั้ แรงลพั ธม์ ีขนาด 1075 นิวตัน มที ศิ ทามุมกบั แกน X 81.05° กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 204 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 คำชแี้ จง : ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดเป็นหน่วยคา่ คงตวั โนม้ ถ่วงสากล 6. ขอ้ ใดกลา่ วเก่ียวกับแรงได้ถกู ตอ้ งที่สุด 1. m/s2 2. km/s2 1. เปน็ ปริมาณเวกเตอร์ เพราะมีแตข่ นาด 3. N/m2kg2 4. m3s2/kg 5. m2/kg2 2. เป็นปริมาณเวกเตอร์ เพราะมขี นาดและทิศทาง 2. กฎข้อท่ี 3 ของนวิ ตันพูดถึงแรงคกู่ ิริยาและปฏกิ ริ ยิ า 3. เปน็ ปรมิ าณสเกลาร์ เพราะมีแต่ขนาด ขอ้ ใดกลา่ วถึงแรงคนู่ ไ้ี ม่ถกู ตอ้ ง 1. แรงคนู่ ี้เกิดท่เี วลาเดยี วกัน 4. เป็นปรมิ าณสเกลาร์ เพราะมแี ตท่ ศิ ทาง 2. แรงคนู่ ีม้ ีขนาดเท่ากัน 5. เป็นปริมาณสเกลาร์ เพราะมขี นาดและทศิ ทาง 3. แรงค่นู ้จี ะตอ้ งกระทบบนวัตถุคนละกอ้ น 7. ในระบบเอสไอแรงมีหนว่ ยเปน็ อะไร 4. แรงคูน่ ีจ้ ะต้องมที ิศตรงกันข้ามเสมอ 1. กิโลกรมั 2. นิวตนั 5. แรงคูน่ ม้ี ีขนาดเทา่ กันและมีทศิ ตรงกันขา้ ม ดังน้นั 3. กรมั 4. ตนั วัตถจุ งึ อย่ใู นสภาพสมดลุ 5. เมตร 3. ข้อใดต่อไปนไ้ี ม่ถูกต้อง 8. ในขณะที่ดึงมวลขึ้นในแนวดิ่ง สามารถหาค่าแรงดึงเชือกได้ 1. แรงเสียดทานเป็นปรมิ าณเวกตอร์ จากสมการใด 2. แรงเสยี ดทานมีทศิ ทางเดยี วกับการเคลื่อนท่เี สมอ 1. ∑ ⃑F = 0 2. ∑ ⃑F = 1 3. รถยนต์มกั ลน่ื ไถลบนถนนทมี่ นี ำ้ มนั หกรดถนน 3. ∑ ⃑F = mg⃑ 4. ∑ F⃑ = ma⃑ 4. แรงเสียดทานเกดิ ข้นึ เมื่อวตั ถุ 2 ช้นิ สมั ผสั กนั 5. ∑ ⃑F = − ∑ F⃑ 5. พน้ื ถนนเปียกมีแรงเสยี ดทานนอ้ ยกวา่ พ้ืนถนนแหง้ 9. แรงลัพธ์ที่กระทำให้วัตถุเคลื่อนที่นั้นจะมีขนาดของแรงมาก 4. ข้อใดไม่เกย่ี วขอ้ งกับแรงเสยี ดทานระหวา่ งล้อกบั ถนน หรือน้อยข้ึนอยู่กับส่ิงใด 1. พื้นทหี่ น้ายาง 2. นำ้ หนกั ของรถ 1. มวลของวตั ถุกับความเรง่ ของวัตถุ 2. นำ้ หนกั ของวัตถกุ บั ความเร็วของวัตถุ 3. ลกั ษณะพืน้ ผวิ ถนน 4. ลกั ษณะของดอกยาง 3. ปริมาตรของวัตถุ 5. ไมม่ ีขอ้ ถกู 5. ขอ้ ใดต่อไปนี้ให้ความหมายของแรงได้ถกู ตอ้ งทีส่ ดุ 4. ความหนาแน่นของวตั ถกุ ับความเรว็ ของวัตถุ 1. สภาพการเคลอ่ื นทีข่ องวตั ถุ 5. มวลของวตั ถกุ ับความเร็วของวตั ถุ 2. ปริมาณทีม่ ีแต่ขนาด 10. ต้นยืนอยู่บนตาชัง่ ในลิฟตท์ ี่กำลงั เคลื่อนทลี่ ง น้ำหนักของตน้ มีคา่ 3. ปรมิ าณที่ทำใหว้ ตั ถรุ ักษาสภาพการเคลื่อนที่ เท่ากับเท่าใด 4. ปรมิ าณเวกเตอร์ทจี่ ะเปล่ยี นสภาพ 1. N⃑⃑ − m⃑g = 0 2. N⃑⃑ − mg⃑ = m⃑a 5. ขอ้ 2. และ 4. ถูก 3. m⃑g − N⃑⃑ = ma⃑ 4. N⃑⃑ = m⃑g เฉลย 5. N⃑⃑ = −mg⃑ 1. 1 2. 5 3. 2 4. 1 5. 4 6. 2 7. 2 8. 1 9. 1 10. 3 กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 205 เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบฝกึ หัด เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน ข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา เปล่ียนปริมาณเป็นสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง 2 ชดั เจนทุกข้อ ขั้นท่ี 1 ทำความเขา้ ใจปญั หา เปลย่ี นปรมิ าณเปน็ สัญลักษณ์ไดถ้ ูกต้องไม่ 1 ครบถว้ น ขัน้ ท่ี 2 วางแผนแก้ปญั หา ไมต่ อบหรอื เปลี่ยนปริมาณเป็นสญั ลกั ษณ์ 0 ขั้นท่ี 3 ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ไม่ถูกตอ้ งเลย กำหนดสตู รทเ่ี ลอื กใชไ้ ด้ถกู ต้อง 1 ข้นั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบ กำหนดสูตรทีเ่ ลือกใช้ไมถ่ ูกต้อง 0 แทนคา่ ในสตู รและคิดคำนวณเปน็ ไป 2 ตามลำดบั ขัน้ ไดถ้ ูกต้อง แทนค่าในสูตรได้ถูกต้องแต่คิดคำนวณไม่ 1 เปน็ ไปตามลำดับขั้นท่ีถกู ต้อง ไม่ตอบ หรือแทนค่าในสูตรผิดและคดิ 0 คำนวณไม่เป็นไปตามลำดบั ข้ันทถี่ ูกต้องเลย คำตอบและหนว่ ยถูกต้องชดั เจน 2 คำตอบถกู ต้องแตห่ น่วยไมถ่ ูกตอ้ ง 1 ไม่ตอบ หรอื คำตอบและหนว่ ยไมถ่ ูกต้อง 0 เกณฑก์ ารประเมนิ /ระดบั คณุ ภาพของแบบฝกึ หัด ชว่ งคะแนน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8 – 10 ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ดี พอใช้ 6 – 7 รอ้ ยละ 60 – 79 ต้องปรับปรงุ 4 – 5 ร้อยละ 40 – 59 0 - 3 นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 เกณฑ์การผ่านของผู้เรียน ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คะแนน 6 - 10 คะแนน ระดับไมผ่ ่านเกณฑ์ ระดบั คะแนน 0 – 5 คะแนน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 206 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น 2 การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื 3 การทำงานตามหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย 4 ความมนี ำ้ ใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 207 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ คำชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การ ความมี การมี รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรับฟัง ทำงาน นำ้ ใจ ส่วนรว่ ม 15 คดิ เห็น ตามที่ ในการ คะแนน คนอ่ืน ได้รับ ปรบั ปรุง มอบหมาย ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 208 แบบประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาตไิ ด้ กษัตริย์ 1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคปี รองดอง และเป็นประโยชน์ ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏิบัตติ ามหลกั ศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมที่เก่ยี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ามทีโ่ รงเรยี น จัดข้นึ 2. ซ่อื สตั ย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสง่ิ ทถี่ กู ตอ้ ง 3. มีวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คบั ของครอบครวั มี ความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่างๆ ในชีวติ ประจำวัน 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏบิ ตั ไิ ด้ 4.2 รูจ้ กั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟงั คำสั่งสอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ต้ังใจเรียน 5. อย่อู ย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพยส์ นิ และส่ิงของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรียนอยา่ งประหยดั และรคู้ ณุ คา่ 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 มคี วามต้งั ใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย 7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ กั การดแู ลรักษาทรพั ยส์ มบัติและสง่ิ แวดลอ้ มของห้องเรยี นและ โรงเรียน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน 51-60 ดีมาก 41-50 ดี พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน 30-40 ตำ่ กวา่ 30 พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครงั้ ให้ 1 คะแนน ปรบั ปรุง กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ
แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 209 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 เร่ืองแรงและกฎการเคลอ่ื นท่ี แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 12 เรอ่ื งกฎการเคล่อื นทขี่ องนิวตัน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 รหสั วิชา ว31201 ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 6 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ *********************************************************************************** ***************** 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ผลการเรียนรู้ สาระฟสิ ิกส์ 1.เข้าใจธรรมชาตทิ างฟสิ กิ ส์ ปริมาณและกระบวนการวดั การเคล่ือนทแ่ี นวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ ของนวิ ตัน กฎความโนม้ ถ่วงสากล แรงเสยี ดทานสมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการอนรุ ักษ์พลังงานกล โมเมนตัม และกฎการอนรุ กั ษโ์ มเมนตัม การเคลื่อนทีแ่ นวโค้ง รวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรยี นรู้ 1. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถุอิสระ ทดลองและอธิบายกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันและการ ใชก้ ฎการเคลอื่ นที่ของนวิ ตันกับสภาพการเคลื่อนที่ของวตั ถุ รวมทัง้ คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. สามารถบอกความหมายของมวลและกฎการเคล่อื นท่ีของนิวตันทงั้ สามข้อได้ (K) 2. สามารถคดิ คำนวณ และนำสูตรสมการกฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตันแก้โจทย์ปัญหาได้ถูกต้อง (P) 3. ใฝ่เรยี นรู้ ขยนั หมั่นเพียร ด้านกิจกรรมการเรียนรู้รายวชิ าฟิสกิ ส์ (A) 3. สาระการเรียนรู้ - สมบัติของวัตถุที่ต้านการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ เรียกว่า ความเฉื่อย มวลเป็นปริมาณที่บอกให้ ทราบวา่ วตั ถใุ ดมคี วามเฉ่ือยมากหรอื น้อย - การหาแรงลพั ธท์ ่ีกระทำตอ่ วัตถสุ ามารถเขียนเปน็ แผนภาพของแรงท่ีกระทำตอ่ วัตถุอสิ ระได้ - กรณีที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำ วัตถุจะไม่เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ซึ่งเป็นไปตามกฎการเคลื่อนที่ ขอ้ ทหี่ น่งึ ของนวิ ตนั - กรณีที่มีแรงภายนอกมากระทำโดยแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ ไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะมีความเร่ง โดย ความเร่งมีทศิ ทางเดียวกบั แรงลพั ธ์ ความสมั พนั ธ์ระหว่างแรงลัพธ์ มวลและความเรง่ เขียนแทนไดด้ ้วยสมการ กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีท่ี 4 210 ∑in=0 ⃑Fi = m⃑a ตามกฎการเคลื่อนทีข่ ้อท่หี นงึ่ ของนิวตัน - เมือ่ วัตถสุ องก้อนออกแรงกระทำต่อกนั แรงระหวา่ งวตั ถุท้ังสองจะมีขนาดเทา่ กัน แต่มีทิศทางตรงข้าม และกระทำต่อวัตถุคนละก้อน เรียกว่า แรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยา ซึ่งเป็นไปตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน และเกิดขึน้ ได้ทง้ั กรณที ่ีวตั ถทุ ้ังสองสัมผสั กันหรอื ไม่สมั ผัสกันกไ็ ด้ 4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด มวล (mass) เป็นสมบัติประจำตัวของวัตถุอย่างหนึ่งโดยเป็นสมบัติทางความเฉื่อย (inertia) ตอการ เปลย่ี นแปลงการเคลือ่ นทขี่ องวัตถุ โดยทมี่ วลเป็นปรมิ าณสเกลาร ในระบบเอสไอมหี น่วยเป็นกิโลกรัม (kg) กฎข้อที่หนึ่งของนิวตัน หรือกฎแห่งความเฉื่อย กล่าวว่า \"วัตถุทุกชนิดจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงท่ี นอกจากมแี รงมากระทำตอ่ วัตถ\"ุ กฎข้อที่สองของนิวตัน กล่าวว่า \"ความเร่งของของวัตถุจะแปลผันตรงกับแรงสุทธิทีก่ ระทำต่อวัตถุ และ แปรผกผันกับมวลของวัตถุ\" ทิศของความเร่งจะมีทิศเดียวกับแรงสุทธิที่กระทำบนวัตถุ สามารถเขียนอยู่ในรูป ของสมการทางคณิตศาสตร์ไดด้ ังน้ี n ∑ ⃑Fi = ma⃑ i=0 กฎข้อที่สามของนิวตัน - กฎของแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา กล่าวว่า \"เมื่อวัตถุชิ้นหนึ่งออกแรง (แรง กิริยา , action) กระทำต่อวัตถุอีกชิ้นหนึ่ง วัตถุอันหลังจะออกแรงด้วยขนาดที่เท่ากันแต่ทิศตรงกันข้าม (แรง ปฏกิ ริ ยิ า - reaction) กบั แรงท่ีเกดิ จากวัตถอุ ันแรก\" 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน 4. มคี วามซอื่ สตั ย์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊ิบ
แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 211 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5E (5E Instructional Model) ร่วมกบั เทคนิคการแกโ้ จทยป์ ญั หาของโพลยา ชัว่ โมงที่ 1 ขัน้ นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับแรง เพื่อเป็นความรู้พื้นฐานนำไปสู่การศึกษา เรื่อง มวล 2. จากคำถาม Prior Knowledge มวลมผี ลต่อการเคล่อื นที่หรือไม่ อย่างไร (แนวตอบ วัตถุใดทมี่ ีมวลมาก จะตา้ นการเปลย่ี นสภาพการเคลอ่ื นท่มี าก ในทางกลบั กนั วัตถุใด มีมวลน้อยจะต้านการเปล่ียนสภาพการเคลอื่ นทีน่ ้อย) 3. ครเู ปดิ ประเด็นและนำอภปิ รายโดยคำถามทเี่ ช่ือมโยงสู่ชวี ิตประจำวนั ว่า ระหว่างรถยนต์กับรถบรรทุก ถ้าเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัวเท่ากัน เมื่อเบรกอย่างกะทันหันรถคันไหนสามารถหยุดนิ่งได้ก่อน เพราะเหตใุ ด (รถยนต์ เพราะว่า รถยนตม์ มี วลน้อย ยอ่ มมีความเฉือ่ ยนอ้ ยกวา่ ) 4. ครูให้นักเรียนจับคู่ทดลอง โดยการนำไม้บรรทัดมาดีดให้เคลื่อนที่กลับไปกลับมา แล้วช่วยกันสังเกต การเคลื่อนที่ของไม้บรรทัด จากนั้นนำดินน้ำมัน มาติดไว้ที่ปลายไม้บรรทัด แล้วดีดไม้บรรทัด เหมือนเดิมอีกครั้ง สังเกตการเคลื่อนที่ของไม้บรรทัด แล้วให้นักเรียนทุกคนช่วยกันตอบคำถามโดยใช้ คำถามวา่ จากการทดลองทั้ง 2 กรณี การเคล่อื นทตี่ ่างกันหรือไม่ อยา่ งไร (เคลือ่ นที่ต่างกัน ไม้บรรทัด ที่ไม่มีมวลดินน้ำมันติดจะเคลื่อนที่ครบวงรอบโดยใช้เวลาในการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาแล้วจึงหยุด สว่ นไม้บรรทัดที่มีมวลดนิ น้ำมนั ติดอยู่ จะเคล่อื นทีใ่ ช้เวลานานกวา่ ไม้บรรทัดที่ไม่มีมวลดินน้ำมันติดอยู่ จึงจะหยดุ น่งิ 5. ครูถามนักเรียนต่อไปว่า เพราะเหตุใด ไม้บรรทัดที่มีมวลดินน้ำมันติดอยู่ ให้เวลาเคลื่อนที่นานกว่าจึง จะหยุดนิ่ง (เป็นเพราะมีมวลเข้ามาเกี่ยวข้อง ถ้ามีมวลมากความเฉื่อยก็จะมาก จึงทำให้ไม้บรรทัดที่มี มวลของดินน้ำมันตดิ อยู่ จึงใชเ้ วลานานกวา่ ไมบ้ รรทดั เปลา่ จงึ จะหยุดเคลื่อนท่ี) 6. ครชู ใ้ี ห้นกั เรียนเห็นว่า การเคลอ่ื นท่ีมีความเฉ่ือยมาเกยี่ วข้อง แลว้ ถามนักเรียนว่า ความเฉ่ือย คืออะไร (ความเฉ่ือย คอื สมบัตขิ องวัตถุท่ีพยายามรักษาสภาพการเคล่ือนท่ี ดังนั้นการที่วัตถุมมี วลมาก ๆ วัตถุ นั้นจะมีความเฉื่อยมาก การเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ทำได้ยากกว่าวัตถุที่มีมวลน้อย หรือวัตถุมีมวล มากมีความเฉื่อยมากทำให้วัตถนุ ัน้ เคลื่อนที่ยาก ต้องใช้แรงมาก วัตถุที่มีมวลน้อยมคี วามเฉือ่ ยน้อยทำ ใหว้ ัตถุเคล่ือนทง่ี ่าย ใชแ้ รงนอ้ ย) 7. นกั เรียนช่วยกันตอบคำถาม แสดงความคิดเหน็ ตามความร้แู ละประสบการณ์ของนักเรียน โดยครูยังไม่ เน้นคำตอบทีถ่ ูกต้อง ครแู ละนักเรยี นอภปิ รายสรปุ ร่วมกนั กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊
แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีที่ 4 212 ช่วั โมงที่ 2 ข้นั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูถามคำถาม Prior Knowledge เพื่อนำไปสกู่ ารศึกษา เรอ่ื ง กฎการเคล่ือนท่ีของนิวตัน วา่ ถ้า นักเรียนออกแรงเข็นรถ แตร่ ถไม่เคล่ือนท่ี นักเรยี นคดิ ว่าเป็นเพราะเหตุใด (แนวตอบ วตั ถุคงสภาพอย่นู ิ่ง หรือสภาพการเคล่ือนท่ีด้วยความเรว็ คงตวั ซึง่ เป็นไปตามกฎการ เคล่ือนทขี่ อ้ ที่หนึง่ ของนิวตัน) 2. ครูให้นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ให้สมาชิกในกลุม่ เลือกหัวหน้ากลุ่มเพื่อประสานงานกล่มุ และมอบหมายหน้าที่ใหส้ มาชิกในกลุ่มตามความสามารถ (พอประมาณ) ไปสืบค้นข้อมูลหรือกิจกรรม ท่เี กี่ยวข้องกับกฎการเคลอื่ นทข่ี ้อท่ีหน่ึงของนวิ ตันจากแหลง่ เรยี นร้ตู า่ ง ๆ เพื่อนำมาจัดปา้ ยนเิ ทศ 3. นกั เรยี นนำขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการสืบคน้ มาวเิ คราะห์และเรียบเรยี งเน้ือหาเพือ่ ใชส้ ำหรบั การนำเสนอโดย แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ กนั ภายในกลมุ่ (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นักเรียน โดยใช้แบบสงั เกตการณ์ทำงานกลุ่ม) 4. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันคดิ วิเคราะห์ คน้ หาวธิ ีการ การจดั ปา้ ยนิเทศเร่ือง กฎการเคลื่อนที่ข้อที่หน่ึง ของนิวตัน เพือ่ นำเสนอประกอบการรายงานหน้าชนั้ เรียน โดยนกั เรียนทกุ คนต้องใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ หรือ วัสดุเหลือใช้ (เช่น หนงั สือพิมพ์) ท่ีมีในโรงเรยี นเท่าน้ันสำหรบั ตกแตง่ ปา้ ยนเิ ทศสำหรบั ใชน้ ำเสนอ อธบิ ายความรู้ (Explain) 5. ครูให้นักเรียนแต่กลุ่มส่งตัวแทน 2 คน แต่ละกลุ่มนำเสนอหน้าชั้นเรียน พร้อมป้ายนิเทศของกลุ่ม ตนเอง โดยครูและนกั เรียนกลุ่มอ่นื ๆ ช่วยกันประเมินการอภปิ รายและการนำเสนอ ข้ันสรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. หลักจากทที่ กุ คนนำเสนอหนา้ ช้นั เรียนครบแล้ว ครูนำนักเรยี นอภิปรายสรุปเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนท่ี ข้อท่หี นึ่งของนิวตัน ดังนี้ กฎการเคล่ือนที่ข้อท่ีหนึ่งของนิวตัน หรอื อาจเรียกวา่ กฎแห่งความเฉื่อย (inertia law) กลา่ ว ว่า “วัตถุจะคงสภาพอย่นู ่ิง หรอื สภาพเคลื่อนท่ดี ว้ ยความเร็วคงตวั ในแนวตรง นอกจากจะมแี รงลัพธ์ซงึ่ มีค่าไม่เปน็ ศูนย์มากระทำ” หรอื สรุปเปน็ สมการ ∑F = 0 2. ครนู ำส่ือ power point เร่อื ง กฎการเคลือ่ นที่ขอ้ ที่หนง่ึ ของนวิ ตนั ให้นักเรยี นศึกษา พร้อมทั้ง อภิปรายรว่ มกับนกั เรียนเพ่ือสรปุ กฎการเคลอื่ นที่ข้อทหี่ น่งึ ของนิวตนั กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊
แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 213 3. ครนู ำอภิปรายและให้ความร้เู ก่ยี วกับการนำกฎการเคล่ือนที่ข้อที่หนงึ่ ของนวิ ตันไปอธบิ าย ปรากฎการณต์ า่ ง ๆ ทเี่ กิดข้นึ ในชีวิตประจำวนั โดยนำอภิปรายโดยคำถามทว่ี ่า เพราะเหตุใด เม่ือรถที่ กำลังเคลอ่ื นท่อี ยู่คนขับรถเหยียบเบรกกะทนั หัน เพ่ือจะหยุดรถ ตัวเราจึงถกู ผลักมาขา้ งหนา้ กเ็ พราะ วัตถตุ ้องการรกั ษาสภาพการเคลอ่ื นที่เดิม ซึ่งเปน็ ไปตามกฎขอ้ ท่ีหนงึ่ ของนวิ ตัน 4. ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามเน้อื หาเรื่อง กฎข้อที่หนง่ึ ของนิวตนั วา่ มสี ่วนไหนทยี่ ังไมเ่ ข้าใจและ ให้ความร้เู พิ่มเตมิ ในสว่ นนั้น ชว่ั โมงที่ 3 ขั้นนำ กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนความรเู้ ดิมเกี่ยวกบั เรอ่ื งกฎการเคลื่อนทีข่ ้อที่หนงึ่ ของนวิ ตัน เพ่อื จะได้เช่ือมโยงเนอ้ื หา 2. ครถู ามนกั เรยี นวา่ ถา้ วัตถุเคลอ่ื นทีโ่ ดยมีแรงลพั ธม์ ากระทำที่มีคา่ มากกว่าศูนย์ วัตถจุ ะเคลอื่ นท่ีอย่างไร และจะมีปริมาณใดบ้างเกิดข้ึนขณะวตั ถุเคล่อื นท่ี (ท้ิงช่วงให้นักเรียนคิด) เพ่ือนำไปสู่การศึกษา เร่ือง กฎการเคล่ือนทข่ี ้อทสี่ องของนวิ ตัน 3. นกั เรียนชว่ ยกันตอบคำถาม แสดงความคิดเหน็ ตามความรแู้ ละประสบการณ์ของนักเรียน โดยครยู ังไม่ เนน้ คำตอบทถ่ี ูกตอ้ ง ครแู ละนักเรียนอภิปรายสรปุ ร่วมกัน ขั้นสอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูทบทวนความรู้เดมิ เกย่ี วกบั กฎการเคล่ือนที่ข้อท่ีหนึ่งของนิวตนั เพ่ือจะได้เชื่อมโยงเนื้อหา 2. นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพื่อหาคำตอบจากหนังสือเรียน และเพื่อนำไปสู่เนื้อหาเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนท่ี ข้อทสี่ องของนวิ ตัน 3. ครูอธิบายว่า เมื่อมีแรงลัพธ์คงตัวและมีค่ามากกว่าศูนย์มากระทำต่อวัตถุจะเคลื่อนที่ตามทิศขอ งแรง ลัพธ์ดว้ ยความเร่งโดยความเรง่ แปรผันตรงกับแรงลัพธ์และแปรผกผันกับมวล หรือสรุปเป็นสมการ ∑F = ma เราเรียกสมการน้วี า่ กฎการเคล่อื นท่ีขอ้ ทส่ี องของนวิ ตนั 4. ครยู กตวั อย่างเพ่ือใหน้ ักเรยี นเข้าใจมากขน้ึ สมมตวิ ่านักเรยี นมีมวล 50 กิโลกรมั และเดินด้วยความเร่ง 1 เมตร/วนิ าที2 นักเรียนสามารถหาแรงที่ใช้ไดโ้ ดยการแทนคา่ มวลและความเร่งลงในสมการ นน่ั คือ แรง = 50 kg x 1 m/s2 แรง = 50 kg.m/s2 = 50 N กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 214 5. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างการคำนวณเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน พร้อมทั้งให้ นักเรยี นฝึกแกโ้ จทย์ปัญหาในหนังสือเรียน ตามขนั้ ตอนการแกโ้ จทย์ปัญหา ดงั นี้ • ขน้ั ท่ี 1 ครูใหน้ กั เรียนทกุ คนทำความเข้าใจโจทย์ตัวอยา่ ง • ข้ันท่ี 2 ครูถามนักเรียนว่า สิ่งที่โจทยต์ อ้ งการถามหาคืออะไร และจะหาสง่ิ ทีโ่ จทยต์ ้องการ ต้อง ทำอย่างไร • ขน้ั ท่ี 3 ครูใหน้ กั เรียนดูวิธีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ขัน้ ท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตัวอยา่ งวา่ ถกู ต้อง หรือไม่ 6. ครใู หน้ กั เรียนทำแบบฝกึ หัด เรอ่ื ง กฎการเคล่อื นที่ของนิวตนั เปน็ การบ้านส่งในชวั่ โมงต่อไป ชั่วโมงที่ 4 ข้ันสอน สำรวจคน้ หา (Explore) 7. ครถู ามนักเรียนว่า ถา้ นักเรียนจะทำการทดลอง เพื่อศึกษาการเคลื่อนที่ของวตั ถุ เม่ือมแี รง 2 แรงที่มี ขนาดของแรงแตกต่างกนั และมที ิศทางตรงกันข้ามกระทำต่อวัตถชุ นิ้ เดียวกนั นักเรยี นจะกำหนด ปัญหาน้ีไดว้ ่าอย่างไร โดยใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่ม ร่วมกันกำหนดปญั หา หลงั จากนัน้ ครูนำข้อปญั หาของ แต่ละกลุ่มเขียนไวบ้ นกระดาน เพือ่ ใหน้ ักเรียนร่วมกันวเิ คราะห์และสรปุ รว่ มกนั 8. ครใู หน้ ักเรยี นแบ่งกลุม่ ซงึ่ ครูอาจใชเ้ ทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสมั ฤทธ์ิ (STAD) คือ การจัดกิจกรรมการ เรยี นร้ทู ่ีมีสมาชกิ กลมุ่ 4–5 คน มีระดบั สติปญั ญาแตกต่างกัน คอื เก่ง 1 คน: ปานกลาง 2–3 คน: ออ่ น 1 คน พรอ้ มทั้งเลือกประธานกล่มุ รองประธานกล่มุ เลขานุการกลมุ่ และสมาชิกกลุ่ม โดยสับเปลี่ยน หน้าท่ใี นการทำกจิ กรรมกล่มุ (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตการณ์ทำงานกลุ่ม) 9. ครชู ี้แจงจุดประสงค์การทดลองให้นักเรยี นทราบ ดงั น้ี - เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงที่กระทำต่อวัตถุกับความเร่งของวัตถุที่เกิดจากแรงนั้น เมื่อมวล ของวตั ถุท่ีพิจารณามีค่าคงตวั 10. ครูใหน้ กั เรยี นทำกิจกรรมการทดลอง เร่อื ง แรงและความเรง่ 11. ครูให้ความรู้ที่จำเป็นต่อการทดลอง แนะนำการจัดเตรียมอุปกรณ์ แนะนำให้ขั้นตอน และ รายละเอยี ดในการทดลองแก่นักเรยี น โดยใชว้ ธิ กี ารตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม 12. ครอู าจถามกระตุน้ ให้นักเรียนไดค้ ดิ ดว้ ยตวั อยา่ งคำถามตอ่ ไปน้ี • ถา้ มวลสองข้างเท่ากัน รถทดลองจะมกี ารเคลอ่ื นทห่ี รอื ไม่ • รถทดลองเคลอ่ื นท่ดี ้วยความเร่งหรอื ไม่ อยา่ งไร 13. นักเรยี นลงมือทดลองตามข้นั ตอนการทดลองทกี่ ำหนดในหนังสอื เรียน และบันทกึ ผลการทดลอง กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 215 14. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์สรุปผลการทดลอง วิธีการหาค่าความเร่งของการตกอย่างอิสระของถุง ทราย จากการทำกิจกรรมโดยใช้เครื่องเคาะสัญญาณเวลาและนำแสนอหน้าชั้นเรียน ครูและนักเรียน ร่วมอภิปรายการทดลองตามแนวคำถามท้ายการทดลอง สรุปการเรียนรู้ 15. ครเู ชอ่ื มโยงความรู้จากการทดลองให้นักเรียนไดร้ ่วมกันวิเคราะห์ถึงความสัมพนั ธข์ องปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่ เก่ยี วขอ้ งกบั กฎการเคล่ือนท่ีขอ้ ทส่ี องของนิวตัน 16. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเก่ยี วกับกฎการเคลอื่ นทีข่ ้อท่สี องของนิวตัน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันวิเคราะหผ์ ลการทดลองและสรปุ ผลการทดลอง 2. ครใู หต้ ัวแทนแตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลการทดลอง 3. นักเรียนบันทึกผลการทดลองในใบงานกจิ กรรม เรื่อง แรงและความเร่ง เขียนกราฟความสัมพันธ์จาก ผลการทดลองที่ได้ แลว้ วิเคราะห์ผล และสรุปผลทดลองจากกราฟความสัมพนั ธ์ ขนั้ สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. หลักจากที่ทุกคนนำเสนอหน้าชั้นเรียนครบแล้ว ครูนำนักเรียนอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับกฎการ เคลอ่ื นทขี่ อ้ ท่สี องของนวิ ตัน ดังนี้ กฎข้อที่สองของนิวตัน กล่าวว่า \"ความเร่งของของวัตถุจะแปลผันตรงกับแรงสุทธิที่กระทำต่อ วัตถุ และแปรผกผันกับมวลของวัตถุ\" ทิศของความเร่งจะมีทิศเดียวกับแรงสุทธิที่กระทำบนวัตถุ สามารถเขยี นอยู่ในรปู ของสมการทางคณิตศาสตร์ได้ คือ ∑F = ma 2. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรยี นสอบถามเน้ือหาเร่ือง กฎการเคล่อื นท่ีขอ้ ทส่ี องของนวิ ตัน ว่ามสี ่วนไหนท่ียังไม่ เขา้ ใจและให้ความรู้เพิ่มเติมในสว่ นนั้น และนักเรยี นสามารถดจู ากสอ่ื ดจิ ิทลั เรือ่ ง กฎการเคลือ่ นท่ีข้อท่ี สอง จากหนังสอื เรยี น ดว้ ยวิธกี ารสแกน QR Code 3. ครูนำอภิปรายและให้นักเรียนร่วมกันยกตัวอย่าง อธิบายปรากฎการณ์ หรือเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่ เก่ียวขอ้ งกับกฎการเคลื่อนท่ีขอ้ ท่สี องของนิวตัน 4. ครูและนกั เรียนรว่ มกันเฉลยคำถามจาก Unit Question 3 และแบบฝกึ หดั เร่ือง กฎการเคลื่อนท่ีของ นวิ ตัน 5. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนทำแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) แล้วส่งเป็นการบ้านใน คาบเรยี นต่อไป กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 216 ชั่วโมงท่ี 5 ข้นั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนความรเู้ ดิมเก่ียวกับเรือ่ งกฎการเคลื่อนทข่ี ้อท่ีหนงึ่ และข้อทส่ี องของนวิ ตัน เพอ่ื จะได้ เชื่อมโยงเนื้อหา 2. ครอู าจจะสาธิตหรือถามนักเรียนว่า การปล่อยลูกปิงปองหรอื ลูกเทนนสิ บนพน้ื โตะ๊ ให้นกั เรียนสังเกต และร่วมกนั อภปิ รายวา่ เหตุใดลกู ปงิ ปองหรอื ลกู เทนนสิ จึงกระดอนข้นึ จากพื้นโต๊ะ โดยใหน้ ักเรียน แสดงความคิดเหน็ 3. ครตู ้ังคำถามว่า ทศิ ทางของแรงเนื่องจากการตกของลูกปงิ ปองหรือลูกเทนนิสกบั ทศิ ทางของแรงที่พืน้ โตะ๊ กระทำตอบโต้ลูกปงิ ปองหรือลูกเทนนสิ มีทศิ ทางอย่างไร 4. นกั เรยี นช่วยกันตอบคำถาม แสดงความคิดเห็นตามความรูแ้ ละประสบการณ์ของนักเรยี น โดยครยู งั ไม่ เน้นคำตอบทถี่ ูกตอ้ ง 5. ครูอธบิ ายเพิม่ เตมิ วา่ แรงท่ีลกู ปิงปองหรือลกู เทนนสิ พ่งุ ชนพืน้ เรยี กว่า แรงกริ ิยา ส่วนแรงท่ีพื้นออกแรง ตอบโต้ เรยี กวา่ แรงปฏกิ ริ ิยา ชัว่ โมงที่ 6 ขั้นสอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. นกั เรยี นสบื คน้ ข้อมลู เพื่อหาคำตอบจากหนงั สือเรียน และเพ่ือนำไปสเู่ น้ือหาเกี่ยวกับกฎการเคล่ือนที่ ขอ้ ทีส่ ามของนวิ ตนั 2. ครูอธบิ ายวา่ เราไม่ได้ออกแรงกระทำต่อวตั ถเุ พียงฝ่ายเดียวเท่านั้น เม่ือวตั ถหุ นึง่ ออกแรงกระทำกับอีก วัตถุหนึ่ง วัตถุที่สองก็จะออกแรงกระทำกลับไปยังวัตถุแรก โดยที่แรงกระทำกลับนี้จะมีขนาดเท่ากัน แต่มที ศิ ตรงกันข้ามกับแรงแรก ซ่งึ นวิ ตนั เรยี กแรงท้ังสองนวี้ ่าเป็นแรงกิริยา (action) และแรงปฏิกิริยา (reaction) กฎข้อที่สามของนิวตันได้กล่าวไว้ว่า ถ้าวัตถุหนึ่งออกแรงกระทำกับอีกวัตถุหนึ่ง วัตถุที่ถูก กระทำจะออกแรงท่ีมขี นาดเท่ากันแต่มีทิศทางตรงกันข้ามกระทำกลบั ต่อวตั ถแุ รก 3. ครูยกตัวอย่างเพื่อให้นักเรียนเขา้ ใจมากขึน้ สมมติว่านักเรียนใช้ค้อนออกแรงตอกตะปูเขา้ ไปในเนื้อไม้ ในขณะเดยี วกัน ตะปกู ็ออกแรงกระทำกลบั ไปยังค้อน ซ่ึงทำใหค้ อ้ นหยดุ เคล่ือนที่เทา่ กนั แตต่ รงกนั ข้าม 4. ครถู ามนกั เรยี นว่า แรงกิริยาและแรงปฏกิ ริ ยิ าหกั ล้างกันหรอื ไม่ (ทิ้งชว่ งใหน้ ักเรยี นคดิ ) 5. ครูนำอภปิ รายว่า ในเรือ่ งแรง แรงสมดุล คอื แรงที่เทา่ กันแต่มีทิศทางตรงกันข้าม เมอ่ื นำมารวมกันจะ ได้แรงลัพธ์เป็นศูนย์ คือ แรงหักล้างกัน ทำให้วัตถุไม่เปลี่ยนการเคลื่อนที่ ดังนั้น แรงกิริยาและแรง ปฏกิ ิรยิ าในกฎขอ้ ท่สี ามของนิวตนั จึงไมห่ กั ล้างกันเม่อื แรงท้ังสองมีขนาดเท่ากันแตม่ ีทศิ ตรงกนั ข้าม กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 217 6. ครูใหน้ ักเรียนพิจารณาเหตุการณท์ ก่ี ำหนดให้ แล้วบอกวา่ อาศัยกฎขอ้ ท่ีสามของนวิ ตันอยา่ งไร • ลกู บอลท่ีตกอสิ ระ (แรงโน้มถ่วงกระทำต่อลูกบอล อาศัยกฎข้อที่สามของนิวตัน โลกจะออกแรงนี้ ซึ่งมีค่าเท่ากบั แรงท่ลี ูกบอลกระทำต่อโลก) • กลอ่ งวางนงิ่ อยูบ่ นโต๊ะ (โลกออกแรงโน้มถ่วงกระทำต่อกล่อง ดังนั้นกล่องจะถูกผลักข้ึน โต๊ะออกแรงขึ้นในทศิ ตัง้ ฉาก กับผิวโต๊ะ อาศยั กฎขอ้ ทส่ี ามของนวิ ตนั จะไดว้ า่ กล่องจะออกแรงในทศิ ลงกระทำต่อโต๊ะ) • เมอื่ รับลกู บอล (เมื่อรับลูกบอลมือจะออกแรงกระทำต่อลูกบอลอาศัยกฎข้อท่ีสามของนิวตัน ลูกบอลจะออก แรงขนาดเท่ากนั ในทิศตรงขา้ มกระทำกบั มือ) 7. ครถู ามคำถามว่า ในชีวติ ประจำวนั เหน็ ได้วา่ มแี ตว่ ัตถุเคลื่อนท่ีเข้าหาโลก เหตุใดโลกจึงไม่เคลื่อนที่หา วตั ถุ (แนวตอบ วัตถุจะตกสู่พื้นโลกเนื่องจากโลกมสี นามโน้มถว่ ง (gravitational field) อยู่รอบโลก สนามโน้มถ่วงทำให้เกิดแรงดึงดูดกระทำต่อมวลของวัตถุทั้งหลาย แรงดึงดูดนี้เรียกว่า แรงโน้มถ่วง (gravitational force) และสนามมที ศิ พุ่งสศู่ ูนย์กลางของโลก แตว่ ัตถุไมม่ ี) อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. นักเรียนร่วมกนั วิเคราะห์ผลการทดลองและอภปิ รายสรปุ 2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge ว่า ตุ๊กตาผูกเชือกแขวนกับเพดานห้องในแนวดิ่ง มีแรงชนิดใด กระทำบา้ ง (แนวตอบ แรงดงึ ในเส้นเชอื ก) 3. ครูนำอภิปรายว่า แรงตึงเชือก (Tension) คือ แรงที่เกิดขึ้นในเส้นเชือก ลวด และอื่น ๆ ซึ่งแรงจะเกิด เฉพาะตามแนวเสน้ เชือกเท่าน้ัน และมที ศิ พงุ่ ออกจากระบบทีเ่ รากำลังพิจารณาเสมอ ซึ่งแรงดึงเชือกนี้ เปน็ แรงทใี่ ชก้ ฎข้อทีส่ ามของนวิ ตนั มากทส่ี ดุ 4. ครูให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับแรงดึงในเส้นเชือกในแต่ละกรณี จากนั้นครูสุ่มนักเรียนให้ออกมา สรุปหน้าช้ันเรียน พร้อมทงั้ อธิบายเพ่มิ เติมในส่วนทีน่ กั เรยี นยังไม่เขา้ ใจ 5. ครูถามคำถาม Prior Knowledge ว่า นำ้ หนักท่ีอ่านได้จากเครื่องชั่งน้ำหนัก เป็นคา่ น้ำหนักจริงหรือไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ เครือ่ งชัง่ น้ำหนกั จะบอกมวล มหี น่วยเป็นกิโลกรมั (kg) เช่น เด็กชายปอชัง่ น้ำหนักตัวเอง ได้ 54 kg ตัวเลข 54 คือค่ามวลของเด็กชายปอ ส่วนนำ้ หนกั จะเทา่ กบั 540 นิวตัน (N) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊
แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 218 6. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเร่ืองน้ำหนักกับนักเรยี นว่า น้ำหนัก หมายถึงแรงบนวตั ถุอันเนื่องมาจาก ความโน้มถ่วง ขนาดของน้ำหนักในปริมาณสเกลาร์ เขียนแทนด้วย W คือผลคูณของมวลของวัตถุ m กับขนาดของความเรง่ เนอื่ งจากความโน้มถ่วง g น่นั คือ W = mg หนว่ ยวัดของน้ำหนกั ใช้อย่างเดยี วกัน กบั หน่วยวดั ของแรง ซึง่ ก็คอื นิวตนั 7. ครูยกตัวอย่างว่า วัตถุหนึ่งมีมวลเท่ากับ 1 กิโลกรัม มีน้ำหนักประมาณ 9.8 นิวตัน บนพื้นผิวโลก มี น้ำหนักประมาณหนึ่งในหกเท่าบนพื้นผิวดวงจันทร์ และมีน้ำหนักที่เกือบจะเป็นศูนย์ในห้วงอวกาศที่ ไกลออกไป 8. ครอู ธบิ ายเพิ่มเติมว่า ในการตกอย่างอสิ ระของวัตถุใกล้ผิวโลก พบว่า วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งคง ตวั ถา้ เราใชก้ ฎการเคล่ือนที่ข้อทส่ี องของนวิ ตัน จะสามารถอธบิ ายไดว้ า่ ในขณะทีว่ ัตถุตกจะต้องมีแรง กระทำต่อวัตถุ จึงทำให้วัตถุเคล่ือนท่ีด้วยความเร่ง ซึ่งมีแรงมากระทำตอ่ วัตถุกค็ ือ แรงดึงดูดของโลกท่ี กระทำต่อวัตถุ จะเรยี กแรงนี้ว่า นำ้ หนกั นัน่ เอง 9. ครูใหน้ กั เรยี นตอบคำถาม3 จากหนงั สอื เรยี น เรอื่ ง กฎการเคล่ือนทข่ี องนิวตัน ชน้ั สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครนู ำนักเรยี นอภิปรายและสรุปเกยี่ วกับกฎการเคลือ่ นทข่ี องนิวตนั ดังนี้ กฎข้อที่หนึ่ง ∑F = 0 เป็นกฎของการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยที่เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่ก็จะเกิด ความเร่ง แต่ถ้าวัตถุมีความเร็วคงที่ ก็จะทาให้ความเร่งเป็น 0 ถึงแม้ว่า วัตถุจะมีความเร็ว แต่ถ้าหาก ความเรง่ เปน็ 0 กจ็ ะไมม่ กี ารเพิม่ ความเรว็ ทำใหว้ ัตถเุ หมอื นอยใู่ นสภาพหยุดนง่ิ กฎข้อที่สอง ∑F = ma ถ้าหากมีแรงมากระทำกับวัตถุ ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง โดย ความเร่งจะแปรผันกับแรงท่ีกระทำ กฎขอ้ ท่สี อง ∑F = -∑F แรงเปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ ดังนั้น แรงจงึ มีทิศทางที่แรงไปทกุ ทศิ ทางจะมี แรงสวนทศิ ทางของแรงนน้ั เสมอ 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจ และให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนัน้ และนักเรียนสามารถดจู ากสื่อดิจิทัล เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ขอ้ ที่สาม จากหนงั สอื เรียน ดว้ ยวธิ ีการสแกน QR Code 3. ครูนำอภิปรายและให้นักเรียนร่วมกันยกตัวอย่าง อธิบายปรากฎการณ์ หรือเทคโนโลยีต่าง ๆ ท่ี เกี่ยวข้องกบั กฎการเคล่อื นทีข่ องนวิ ตนั 4. ครใู หน้ ักเรยี นทำแบบฝึกหัดท่ี 1 เร่อื ง กฎการเคล่ือนทขี่ องนิวตนั 5. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยคำถามจากหนังสือเรยี น และแบบฝึกหดั เรอ่ื ง กฎการเคลื่อนท่ีของนวิ ตัน 6. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนทำแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ ของนิวตนั แลว้ ส่งเป็นการบา้ นในคาบเรียนต่อไป กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติบ๊
แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 219 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมนิ ผล โดยการสงั เกตการตอบคำถาม การร่วมกนั ทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 2. ครสู ังเกตความสนใจ ความกระตือรือรน้ ในการเรียนรู้ของนกั เรยี น 3. ครตู รวจสอบผลการใบกิจกรรม เรือ่ ง แรงและความเรง่ 4. ครวู ัดและประเมินผลจากแบบฝึกหัดท่ี 1 เร่ือง กฎการเคลอ่ื นท่ีของนิวตนั 5. ครตู รวจการทำแบบฝกึ หัดจากหนงั สือเรยี น 6. ครูตรวจแบบฝกึ หดั ที่ 1 เรอ่ื ง กฎการเคลอื่ นทีข่ องนวิ ตัน 7. ครูประเมนิ ผลงานจากแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ทน่ี ักเรยี นได้สรา้ งข้นึ จากขัน้ ขยาย ความเข้าใจของนกั เรียนเป็นรายบุคคล 8.การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีวดั เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมนิ รายการวดั -แบบฝกึ หัด ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ -สงั เกตพฤตกิ รรมระหวา่ ง ดา้ นความรู้ กจิ กรรมการเรียน -แบบประเมนิ ด้าน ระดับคณุ ภาพ 2 1.สามารถบอกความหมายของ รายบุคคล ทักษะ/กระบวนการ ผา่ นเกณฑ์ มวลและกฎการเคลือ่ นท่ีของนวิ -แบบฝกึ หดั ตันท้ังสามข้อได้ -สังเกต ประเมนิ จาก - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ กิจกรรมระหว่างเรียน การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ 1.สามารถคดิ คำนวณ และนำ รายบคุ คลและกลุ่ม สตู รสมการกฎการเคลื่อนที่ของ - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 นวิ ตนั แก้โจทย์ปญั หาได้ถกู ต้อง - สังเกตพฤตกิ รรม การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ การทำงานรายบุคคล 1.มีวนิ ยั 2.ใฝ่เรยี นรู้ - สังเกตพฤติกรรม 3.มงุ่ ม่ันในการทำงาน การทำงานรายบคุ คล 4.มีความซ่อื สตั ย์ ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 220 9. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สอ่ื การเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เติม ฟิสกิ ส์ ม.4 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 แรงและกฎการเคลือ่ นท่ี 2) แบบฝึกหดั ท่ี 1 เรอื่ ง กฎการเคลื่อนท่ขี องนวิ ตนั 3) ชดุ การทดลองเครื่องเคาะสญั ญาณเวลา 4) PowerPoint เรื่อง กฎการเคล่อื นที่ของนิวตนั 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) หอ้ งเรยี น 2) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ 10. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานทีม่ อบหมาย ............................................................................................................................. .................................................... ................................................................................................................................................................................. กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 221 แบบฝึกหัดท่ี 1 เรื่อง กฎการเคลอ่ื นทีข่ องนวิ ตัน ตอนที่ 1 คำชี้แจง : ใหเ้ ตมิ ข้อความหรือความหมายของคำตอ่ ไปนใ้ี หส้ มบรู ณ์ จากกฎการเคลื่อนท่ีข้อทีห่ นึง่ ของนิวตนั จงอธิบาย 1. เม่อื รถหยดุ อยา่ งกะทันหนั ทำไมคนถงึ พุ่งไปขา้ งหนา้ 2. คนในรถเป็นอย่างไรเมื่อรถเลี้ยวขวา ตอนที่ 2 คำชีแ้ จง : จงแสดงวธิ ที ำอย่างละเอียด 1. แรง F กระทำบนวตั ถุมวล m1 ทำใหเ้ กดิ ความเร่ง 3 m/s2 และถ้าแรง F ดงั กลา่ ว กระทำวัตถุมวล m2 จะทำ ให้เกดิ ความเร่ง 1 m/s2 จงหา ก) อัตราส่วนระหว่างมวล m1 และ m2 ข) ถ้านามวล m1 ผกู ตดิ กับมวล m2 แรง F ดงั กล่าว จะทำให้มวลเหลา่ นีเ้ กิดความเรง่ เท่าใด กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 222 ตอนที่ 2 คำช้แี จง : จงแสดงวิธีทำอยา่ งละเอียด (ตอ่ ) 2. รถกระบะมวล 1.2 × 103 กโิ ลกรมั ถกู เร่งให้เปลยี่ นแปลงความเรว็ จาก 60 กโิ ลเมตรต่อชว่ั โมง เปน็ 80 กโิ ลเมตรต่อช่วั โมง ดว้ ยแรงขับสมำ่ เสมอในเวลา 20 วินาที จงหาแรงทำต่อรถกระบะ เมื่อไม่คำนงึ ถงึ แรงต้าน อากาศ 3. ลฟิ ตม์ ีมวล 500 กิโลกรมั ตอ้ งการบรรทุกคนครั้งละ 8 คน โดยเฉล่ยี คนหน่ึงคนมมี วล 80 กิโลกรมั โดยลฟิ ต์ จะเคลอื่ นทดี่ ว้ ยอตั ราเรว็ 10 เมตรตอ่ วนิ าที หลงั จากเรมิ่ เคลอื่ นทีไ่ ด้ 25 เมตร วิศวกรจะตอ้ งออกแบบใหเ้ คเบลิ รบั แรงไดเ้ ป็น 2 เทา่ เขาจะต้องใชส้ ายเคเบิลที่รับแรงไดถ้ ึงเทา่ ไร 4. นักตกปลาออกแรงดึงปลาขนาด 1.2 กิโลกรัม โดยใช้เชอื กซ่งึ ทนแรงได้สงู สดุ 20 นวิ ตนั จงหาความเร่งสูงสดุ ขณะท่ีดึงปลาข้ึนในแนวด่ิง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 223 เฉลยแบบฝกึ หัดท่ี 1 เรือ่ ง กฎการเคลอ่ื นที่ของนวิ ตัน ตอนที่ 1 คำช้ีแจง : ให้เติมข้อความหรอื ความหมายของคำตอ่ ไปน้ใี หส้ มบรู ณ์ จากกฎการเคลอ่ื นท่ีขอ้ ท่ีหนึ่งของนวิ ตัน จงอธบิ าย 1. เมอ่ื รถหยุดอยา่ งกะทันหนั ทำไมคนถึงพุ่งไปข้างหน้า เมื่อรถหยดุ อย่างกะทนั หนั จะทำให้คนท่ีอยใู่ นรถจึงพุ่งไปข้างหนา้ เน่อื งจากในขณะทีร่ ถเคลื่อนที่ไป ข้างหน้า คนที่อยใู่ นรถจะเคลอ่ื นท่ดี ว้ ยความเร็วเดียวกันกบั รถ หากรถเบรกกะทันหัน รถจะเปลย่ี นความเรว็ เปน็ ศูนย์ แต่คนในรถยังคงเคลือ่ นทีด่ ้วยความเรว็ เดมิ จงึ ทำใหย้ งั คงเคล่ือนทต่ี ่อไปขา้ งหนา้ 2. คนในรถเปน็ อยา่ งไรเม่ือรถเล้ียวขวา เมื่อรถเล้ียวขวา คนจะเอยี งไปด้านซา้ ย เน่อื งจากในขณะที่รถเคล่ือนทไี่ ปขา้ งหน้า คนที่อยู่ในรถ จะ เคลือ่ นทด่ี ้วยความเร็วเดยี วกันกบั รถ ขณะทร่ี ถเลี้ยวขวา รถจะเปลี่ยนทิศทางของการเคลอื่ นที่ แต่คนยังคงมี ความเร็วไปทิศทางเดิม ทำให้มองเห็นคนเอยี งไปทางซ้าย แตถ่ ้ามองจากด้านนอกตัวรถจะมองเหน็ คน เคล่อื นท่ีไปยังเส้นตรงเหมือนเดมิ ตอนที่ 2 คำชีแ้ จง : จงแสดงวธิ ีทำอยา่ งละเอยี ด 1. แรง F กระทำบนวัตถุมวล m1 ทำใหเ้ กิดความเร่ง 3 m/s2 และถา้ แรง F ดงั กล่าว กระทำวัตถมุ วล m2 จะทำ ให้เกดิ ความเร่ง 1 m/s2 จงหา ก) อัตราส่วนระหวา่ งมวล m1 และ m2 จากกฎข้อท่ีสองของนวิ ตัน จะได้วา่ F1 = m1a1 (1) และ F2 = m2a2 (2) นำสมการ (1)/(2) จะไดว้ ่า m1 = a1 = 1 m2 a2 3 ข) ถ้านามวล m1 ผูกตดิ กบั มวล m2 แรง F ดังกล่าว จะทำให้มวลเหลา่ นีเ้ กิดความเร่งเท่าใด จาก F = (m1 + m2)a = m1a2 3 N = (1 + 3)a a = 0.75 m/s2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 224 2. รถกระบะมวล 1.2 × 103 กโิ ลกรมั ถูกเรง่ ใหเ้ ปลีย่ นแปลงความเรว็ จาก 60 กโิ ลเมตรต่อชั่วโมง เปน็ 80 กโิ ลเมตรต่อช่ัวโมง ด้วยแรงขับสมำ่ เสมอในเวลา 20 วินาที จงหาแรงทำต่อรถกระบะ เมื่อไม่คำนงึ ถงึ แรงต้าน อากาศ จากสมการ a = ∆v ∆t = 8060××16003sm−6600××16003sm 20s 20×103m = 60×60s 20s =5 18 = 0.28 m/s2 จากสมการ ∑F = ma = (1.2 × 103 kg)(0.28 m/s2) = 333 N ดงั น้นั แรงทำต่อรถกระบะเท่ากบั 333 นวิ ตัน 3. ลฟิ ต์มมี วล 500 กโิ ลกรัม ต้องการบรรทกุ คนคร้งั ละ 8 คน โดยเฉล่ยี คนหนงึ่ คนมีมวล 80 กโิ ลกรมั โดยลฟิ ต์ จะเคล่อื นทด่ี ้วยอัตราเรว็ 10 เมตรตอ่ วนิ าที หลงั จากเร่ิมเคล่อื นทีไ่ ด้ 25 เมตร วิศวกรจะต้องออกแบบใหเ้ คเบลิ รบั แรงไดเ้ ปน็ 2 เท่า เขาจะต้องใชส้ ายเคเบิลทรี่ บั แรงไดถ้ ึงเทา่ ไร จากสมการ v2 = u2 + 2ax 102 = 0 + 2a (25) a = 2 m/s2 จากสมการ ∑F = ma F – mg = ma F – [500 + (8 × 80)](10) = [500 + (8 × 80)](2) F = 27,360 N จากโจทย์ สายเคเบลิ รบั แรง 2 เท่า จะได้ F = (2)(27,360) = 54,720 N ดงั น้ัน วิศวกรจะต้องใชส้ ายเคเบิลทรี่ บั แรงได้ถงึ 54,720 นวิ ตัน กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 225 4. นกั ตกปลาออกแรงดึงปลาขนาด 1.2 กิโลกรมั โดยใช้เชอื กซึ่งทนแรงได้สงู สดุ 20 นิวตัน จงหาความเร่งสูงสุด ขณะทีด่ ึงปลาขึ้นในแนวดงิ่ จากสมการ ∑F = ma FT – Fg = ma a = FT−Fg m = FT−mg m = FT − g m = 20N − 9.8 m/s2 1.2kg = 6.87 m/s2 ดังนั้น ความเร่งสูงสดุ ขณะทีด่ ึงปลาข้ึนในแนวดง่ิ เท่ากับ 6.87 เมตรต่อวนิ าที2 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 226 เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบฝกึ หัด เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน ข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา เปล่ียนปริมาณเป็นสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง 2 ชดั เจนทุกข้อ ขั้นท่ี 1 ทำความเขา้ ใจปญั หา เปลย่ี นปรมิ าณเปน็ สัญลักษณ์ไดถ้ ูกต้องไม่ 1 ครบถว้ น ขัน้ ท่ี 2 วางแผนแก้ปญั หา ไมต่ อบหรอื เปลี่ยนปริมาณเป็นสญั ลกั ษณ์ 0 ขั้นท่ี 3 ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ไม่ถูกตอ้ งเลย กำหนดสตู รทเ่ี ลอื กใชไ้ ด้ถกู ต้อง 1 ข้นั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบ กำหนดสูตรทีเ่ ลือกใช้ไมถ่ ูกต้อง 0 แทนคา่ ในสตู รและคิดคำนวณเปน็ ไป 2 ตามลำดบั ขัน้ ไดถ้ ูกต้อง แทนค่าในสูตรได้ถูกต้องแต่คิดคำนวณไม่ 1 เปน็ ไปตามลำดับขั้นท่ีถกู ต้อง ไม่ตอบ หรือแทนค่าในสูตรผิดและคดิ 0 คำนวณไม่เป็นไปตามลำดบั ข้ันทถี่ ูกต้องเลย คำตอบและหนว่ ยถูกต้องชดั เจน 2 คำตอบถกู ต้องแตห่ น่วยไมถ่ ูกตอ้ ง 1 ไม่ตอบ หรอื คำตอบและหนว่ ยไมถ่ ูกต้อง 0 เกณฑก์ ารประเมนิ /ระดบั คณุ ภาพของแบบฝกึ หัด ชว่ งคะแนน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8 – 10 ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ดี พอใช้ 6 – 7 รอ้ ยละ 60 – 79 ต้องปรับปรงุ 4 – 5 ร้อยละ 40 – 59 0 - 3 นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 เกณฑ์การผ่านของผู้เรียน ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คะแนน 6 - 10 คะแนน ระดับไมผ่ ่านเกณฑ์ ระดบั คะแนน 0 – 5 คะแนน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 227 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น 2 การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื 3 การทำงานตามหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย 4 ความมนี ำ้ ใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 228 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ คำชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การ ความมี การมี รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรับฟัง ทำงาน นำ้ ใจ ส่วนรว่ ม 15 คดิ เห็น ตามที่ ในการ คะแนน คนอ่ืน ได้รับ ปรบั ปรุง มอบหมาย ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 229 แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษัตริย์ 1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคปี รองดอง และเป็นประโยชน์ ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏิบัติตามหลกั ศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมที่เก่ยี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ามที่โรงเรยี น จัดข้นึ 2. ซ่อื สตั ย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 3. มีวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสง่ิ ทถี่ กู ตอ้ ง 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครัว มี ความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวัน 4.1 รจู้ กั ใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏิบตั ิได้ 4.2 รูจ้ กั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟงั คำสั่งสอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แยง้ 4.4 ต้ังใจเรียน 5. อย่อู ย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพยส์ นิ และส่ิงของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรียนอยา่ งประหยดั และรคู้ ณุ คา่ 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 มคี วามต้งั ใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพื่อให้งานสำเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย 8.1 รูจ้ กั ช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ กั การดแู ลรักษาทรพั ยส์ มบัติและสง่ิ แวดลอ้ มของหอ้ งเรยี นและ โรงเรียน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน 51-60 ดีมาก พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครงั้ ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน 41-50 ดี 30-40 พอใช้ ตำ่ กวา่ 30 ปรบั ปรงุ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ
แผนการจดั การเรียนร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 230 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 เรอ่ื งแรงและกฎการเคลื่อนที่ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 13 เรือ่ งกฎแรงดึงดดู ระหวา่ งมวลของนิวตัน กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวชิ าฟสิ ิกส์ 1 รหสั วิชา ว31201 ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 4 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ *********************************************************************************** ***************** 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ผลการเรยี นรู้ สาระฟสิ กิ ส์ 1.เข้าใจธรรมชาติทางฟสิ ิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคล่อื นทแ่ี นวตรง แรงและกฎการเคล่ือนท่ี ของนิวตนั กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทานสมดลุ กลของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัม และกฎการอนรุ กั ษ์โมเมนตัม การเคลอ่ื นทแ่ี นวโคง้ รวมทงั้ นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรยี นรู้ 1. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโน้มถว่ งท่ที ำใหว้ ัตถมุ ีนำ้ หนัก รวมทั้งคำนวณปริมาณ ตา่ งๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งได้ 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับแรงดงึ ดูดระหว่างมวลของนิวตนั แรงดึงดูดทโี่ ลกกระทำต่อวัตถุและน้ำหนกั ของวัตถุ ความสัมพันธ์ระหวา่ งขนาดของ g และระยะห่างระหว่างจดุ ศนู ย์กลางของโลกได้ (K) 2. คำนวณหาปริมาณที่เกย่ี วกับแรงดงึ ดูดระหว่างมวลของนวิ ตันได้ (P) 3. ใฝ่เรยี นรู้ ในด้านการจัดการเรยี นการสอน ดา้ นเนื้อหา และด้านกจิ กรรมการเรยี นรู้ (A) 3. สาระการเรียนรู้ - แรงดึงดูดระหว่างมวลเป็นแรงที่มวลสองก้อนดึงดูดซึ่งกันและกันด้วยแรงขนาดเท่ากันแต่ทิศทางตรงข้าม และเป็นไปตามกฎความโนม้ ถ่วงสากล เขยี นแทนได้ดว้ ยสมการ - รอบโลกมสี นามโน้มถ่วงทำใหเ้ กิดแรงโน้มถว่ ง ซ่งึ เปน็ แรงดึงดูดของโลกที่กระทำต่อวตั ถุ ทำใหว้ ัตถมุ ีนำ้ หนกั FG = G m1m2 R2 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีที่ 4 231 4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน วัตถุทั้งหลายในเอกภพจะออกแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน โดยขนาด ของแรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง ๆ จะแปรผันตรงกับผลคูณระหว่างมวลวัตถุทั้งสอง และจะแปรผกผันกับกำลัง สองของระยะทางระหว่างวตั ถทุ ัง้ สองน้ัน สามารถเขียนอยใู่ นรปู ของสมการทางคณิตศาสตร์ได้ ดงั น้ี FG = G m1m2 R2 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทำงาน 4. มีความซือ่ สตั ย์ 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : สบื เสาะหาความรู้ 5E (5E Instructional Model) รว่ มกบั เทคนิคการแกโ้ จทยป์ ัญหาของโพลยา ชวั่ โมงท่ี 1 ข้นั นำ กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เพื่อเป็นความรู้พื้นฐาน นำไปส่กู ารศกึ ษา เร่ือง กฎแรงดงึ ดูดระหวา่ งมวลของนวิ ตัน 2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge ว่า เหตุใดดวงจันทร์จึงโคตรรอบโลก และโลกจึงโคจรรอบดวง อาทิตย์ (ทิง้ ชว่ งใหน้ ักเรยี นคิด) (แนวตอบ การโคจรของดวงจันทร์รอบโลก เกิดจากแรงดึงดูดระหว่างมวลโลกและมวลดวง จันทร์ทำหน้าที่เป็นแรงสู่ศูนย์กลาง ให้ดวงจันทร์สามารถโคจรรอบโลกเป็นวงกลมได้ โลกกับดวง อาทิตย์กเ็ ชน่ กันปรากฎการณน์ อ้ี ธิบายได้ด้วยกฎแห่งความโนม้ ถ่วง (The law of gravity)) กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรียนร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 232 3. นกั เรียนร่วมกันอภิปรายในแต่ละกลมุ่ 4. ครูร่วมสนทนากับนักเรียน เรื่อง น้ำหนักของวัตถุและการเดินบนโลก และดาวเคราะห์ เพื่อนำไปสู่ คำถามท่วี า่ “ทำไมน้ำหนกั ของวตั ถุบนโลกและดวงจันทร์จงึ หนักไม่เท่ากัน” 5. ครูใหค้ ำถามกับนกั เรยี นวา่ “ทำไมน้ำหนักของวัตถบุ นโลกและดวงจันทร์จึงหนักไม่เท่ากัน” (ท้ิงช่วงให้ นักเรียนคิด) 6. นกั เรียนรว่ มกันอภิปรายในแต่ละกลุ่ม พรอ้ มท้งั บนั ทึกความเหน็ ของกลุ่ม 7. ครใู หต้ วั แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอความเห็นของกลุ่ม (ของแต่ละคนในกลมุ่ โดยตัวแทนของกลุ่ม และขอ้ สรุปของกลมุ่ ) 8. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ “ทำไมน้ำหนักของวัตถุบนโลกและดวงจันทร์จึงหนักไม่ เท่ากัน” 9. ครูนำนกั เรยี นสรุปวา่ วัตถุชิ้นเดยี วกนั ถ้านำไปช่ังหานำ้ หนักโดยเปรียบเทียบกนั ระหว่างบนโลกกับบน ดวงจันทร์ หรือบนโลกกับบนดาวเคราะห์อื่น หรือแม้แต่บนโลกเหมือนกันแต่อยู่คนละแห่งกัน เช่น ท่ี พ้ืนผวิ โลก เทียบกบั บนภเู ขาสงู นำ้ หนกั ของวัตถทุ ่ีได้ก็จะไม่เท่ากนั 10. ครูทบทวนเข้าใจให้นักเรียนก่อนว่า “มวล” กับ “น้ำหนัก” ไม่เหมือนกัน ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดมวลของ วัตถุจะไมม่ ีการเปลยี่ นแปลง ซ่ึงมวลกค็ อื เน้ือสารนน่ั เอง แตน่ ำ้ หนกั คือ แรงท่โี ลกกระทำกับวัตถุ หรือ แรงท่ีวัตถนุ ั้นถูกโลกดงึ ดดู ซึ่งแรงและมวลมีความสมั พันธ์กันตาม กฎของนวิ ตัน โดยนิวตันไดค้ ้นพบกฎ นี้ จากการสงั เกตเหน็ ลูกแอปเปิลหล่นลงมาจากต้นไม้ ทำใหเ้ ขาเกิดความสงสัยวา่ “ทำไมวัตถุจึงตกลง สพู่ ื้นโลก ไมล่ อยข้นึ ไปในอากาศ” และไดแ้ สดงเปน็ สมการ ∑F = ma 11. ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่า ถ้าเราต้องการเร่งวัตถุหนึ่ง เราต้องใช้แรง ทำนองเดียวกัน เมื่อวัตถุตกลงสู่ พื้นดินเกิดความเร่งเนือ่ งจาก แรงโน้มถ่วงของโลก วัตถุตั้งนิง่ อยูบ่ นพ้ืนจึงมแี รง (หรือน้ำหนัก) เป็นผล คูณระหว่างมวล (m) กับความเร็วเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก (g) ดังสมการ w = mg ดังนั้น เม่ือ แรงโน้มถ่วงของโลกกับของดวงจันทร์ไม่เท่ากัน (ค่า g ต่างกัน) จึงทำให้น้ำหนักของวัตถุที่ได้แตกต่าง กันนัน่ เอง และคา่ g อาจมีค่าแปรผันบา้ งเลก็ น้อย ข้นึ อยูก่ ับวา่ วัตถนุ ัน้ อยู่แหง่ ใดบนผวิ โลก 12. ครแู จง้ ให้นักเรียนทราบวา่ จะไดศ้ กึ ษาเกีย่ วกับ แรงดึงดูดระหว่างมวลของนวิ ตนั และสนามโน้มถ่วง ชั่วโมงท่ี 2 ข้ันสอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูทบทวนบทเรยี นที่เรยี นมาแล้ว ดว้ ยการซกั ถามและอธบิ าย ตอบข้อสงสยั ของนักเรยี น แลว้ ให้ นักเรยี นแบง่ กลุ่ม ซงึ่ ครูอาจใชเ้ ทคนคิ การแบง่ กลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) คือ การจดั กิจกรรมการเรียนรูท้ ี่ มีสมาชิกกล่มุ 4–5 คน มีระดับสตปิ ัญญาแตกต่างกนั คอื เก่ง 1 คน: ปานกลาง 2–3 คน: ออ่ น 1 คน กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 233 พร้อมทง้ั เลอื กประธานกลุ่ม รองประธานกลมุ่ เลขานุการกลุ่ม และสมาชกิ กล่มุ โดยสับเปลยี่ นหน้าท่ี ในการทำกิจกรรมกลมุ่ (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสังเกตการณ์ทำงานกลมุ่ ) 2. ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุม่ สืบคน้ ขอ้ มูลเก่ยี วกับ กฎแรงดงึ ดดู ระหว่างมวลของนวิ ตัน ตามรายละเอยี ดใน หนังสอื เรียน หรอื จากแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ แลว้ สรปุ สาระสำคัญ บันทกึ ลงในสมดุ จดบนั ทึก 3. นักเรยี นนำข้อมลู ที่ไดจ้ ากการสืบค้นมาวิเคราะหแ์ ละเรียบเรียงเนอื้ หาเพ่ือใชส้ ำหรบั การนำเสนอโดย แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ กันภายในกล่มุ จากน้ันอธบิ ายซักถามกนั ภายในกลุ่มจนเข้าใจตรงกัน 4. ให้นักเรียนนำข้อมลู เกี่ยวกับกฎแรงดึงดดู ระหว่างมวลของนิวตัน สนามโนม้ ถ่วง และความเร่งโน้มถ่วง มาวเิ คราะห์นำเสนอในรูปของแผนผังความคิด จากนั้นตกแต่งให้สวยงามในกระดาษฟลิปชาร์ต ชั่วโมงที่ 3 ขนั้ สอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ใหแ้ ตล่ ะกลุม่ นำแผนผงั ความคดิ และแผนภาพไปตดิ ที่ผนังห้อง 2. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียนจากกลุ่มต่างๆ ประมาณ 1-2 กลุ่ม จากนั้นร่วมกันอภิปรายสรุปจนเป็นที่เข้าใจ ตรงกัน โดยนักเรยี นสามารถเข้าใจถึงกฎแรงดึงดดู ระหว่างมวลของนิวตนั ความเรง่ เนือ่ งจากความโน้ม ถว่ ง และใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มผลดั เปลี่ยนกันตรวจผลงาน 3. ครูนำนักเรียนอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับกฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน โดย ครูอธิบาย ความสมั พนั ธ์ของสมการ FG = G m1m2 R2 4. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่า กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน ช่วยให้สามารถคำนวณหาแรงดึงดูด ระหวา่ งวัตถุคหู่ นงึ่ ๆ ได้ เมือ่ ทราบค่าคงตวั G 5. ครูชใ้ี หน้ ักเรยี นเห็นว่า มวลทใ่ี ชใ้ นห้องปฏิบตั กิ ารโดยทั่วไปแลว้ จะทำให้เกิดแรงดึงดูดน้อยมาก การจัด ขนาดแรงดึงดูด FG จึงทำได้ยากมาก แต่มีนักวิทยาศาสตรช์ าวองั กฤษ ชื่อว่า คาเวนดิช สามารถคิดวธิ ี วัดแรงดึงดูดน้อย ๆ นี้ได้ โดยใช้เครื่องชั่งแบบแรงบิด (torsion balance) และสามารถหาค่าของ G ได้ ซึ่งประมาณ 100 ปี หลงั จากนิวตนั ไดต้ ง้ั กฎนีข้ ึ้น กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 234 ชั่วโมงท่ี 4 ข้นั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างการคำนวณจากโจทย์ปัญหาในตัวอย่าง พร้อมทั้งให้นักเรียนฝึกแก้โจทย์ ปัญหาในหนังสอื เรียน ตามข้ันตอนการแก้โจทย์ปญั หา ดังนี้ • ข้นั ท่ี 1 ครูใหน้ กั เรยี นทุกคนทำความเข้าใจโจทยต์ ัวอยา่ ง • ขนั้ ท่ี 2 ครถู ามนกั เรียนว่า ส่ิงทโี่ จทย์ตอ้ งการถามหาคืออะไร และจะหาส่งิ ท่โี จทยต์ ้องการ ต้อง ทำอย่างไร • ขนั้ ท่ี 3 ครใู ห้นกั เรยี นดวู ิธีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ขน้ั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตวั อยา่ งวา่ ถูกต้อง หรือไม่ 2. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันเฉลยคำถามจากหนังสือเรียน เรื่อง กฎแรงดึงดดู ระหว่างมวลของนวิ ตัน ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูประเมินผล โดยการสงั เกตการตอบคำถาม การร่วมกนั ทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 2. ครูสงั เกตความสนใจ ความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ของนกั เรยี น 3. ครูวดั และประเมนิ ผลจากแบบฝึกหัดท่ี 1 เร่ือง กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนวิ ตนั 4. ครตู รวจการทำแบบฝึกหดั จากหนงั สือเรยี น 5. ครตู รวจแบบฝกึ หัดท่ี 1 เร่อื ง กฎแรงดงึ ดดู ระหว่างมวลของนิวตัน 6. ครปู ระเมินผลงานจากแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ทน่ี กั เรียนไดส้ ร้างข้นึ จากข้นั สำรวจ ค้นหาของนกั เรียนเปน็ รายกลุ่ม กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีท่ี 4 235 8. การวัดและประเมินผล รายการวัด วิธวี ัด เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมนิ ดา้ นความรู้ 1.อธิบายเก่ียวกบั แรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลของนวิ ตัน แรง -สังเกตพฤตกิ รรม -แบบฝกึ หัด ร้อยละ 70 ผา่ นเกณฑ์ ดึงดูดท่โี ลกกระทำต่อวตั ถุและ ระหว่างกจิ กรรมการ น้ำหนกั ของวัตถุ ความสมั พันธ์ เรยี นรายบุคคล ระหวา่ งขนาดของ g และ ระยะหา่ งระหว่างจดุ ศูนย์กลาง ของโลกได้ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ ระดับคุณภาพ 2 -แบบประเมนิ ดา้ นทักษะ/ ผา่ นเกณฑ์ 1.คำนวณหาปริมาณทีเ่ กย่ี วกับ -สงั เกต ประเมนิ จาก กระบวนการ -แบบฝึกหัด แรงดึงดูดระหว่างมวลของนิว กจิ กรรมระหวา่ งเรยี น - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 ตนั ได้ (P) รายบคุ คลและกลุม่ การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ 1.มีวนิ ัย - สงั เกตพฤติกรรม 2.ใฝ่เรยี นรู้ การทำงานรายบคุ คล 3.ม่งุ ม่นั ในการทำงาน 4.มคี วามซ่อื สตั ย์ ด้านสมรรถนะสำคัญของ ผ้เู รยี น - สังเกตพฤตกิ รรม 1. ความสามารถในการส่ือสาร การทำงานรายบุคคล 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการ แกป้ ัญหา กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 236 9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนังสือเรยี น รายวชิ าเพิ่มเตมิ ฟสิ ิกส์ ม.4 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 3 แรงและกฎการเคลือ่ นที่ 2) แบบฝกึ หัดท่ี 1 เรื่อง กฎแรงดงึ ดดู ระหว่างมวลของนิวตัน 3) PowerPoint เรื่อง กฎแรงดงึ ดดู ระหว่างมวลของนวิ ตนั 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) หอ้ งเรียน 2) หอ้ งสมุด 3) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ 10. กิจกรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย ............................................................................................................................. .................................................... ................................................................................................................................................................................. กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติบ๊
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 237 แบบฝึกหัดที่ 1 เร่อื ง กฎแรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลของนิวตัน คำช้แี จง : จงแสดงวิธีทำอย่างละเอียด 1. ดาวเคราะห์ดวงหน่งึ มีมวล และรัศมีเป็น 2 เท่าของโลกจะมีความเร่งโนม้ ถว่ งเปน็ ก่ีเท่าของโลก 2. 1 มวล 5 กโิ ลกรัม และ 10 กิโลกรมั อยู่ห่างกนั 10 เมตร จะมีแรงดึงดูดระหวา่ งมวลเท่าไร กำหนดให้ G = 6.67 x 10-11 Nm2/kg2 3. ดาวเคราะหส์ มมตดิ วงหนง่ึ มมี วล 1/100 เท่าของโลก และมีรัศมี 1/4 เทา่ ของโลก ถา้ คนหนึง่ หนัก 600 นิว ตนั บนโลก เขาจะหนกั เท่าใดบนดาวเคราะห์สมมติดวงน้ี กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีท่ี 4 238 เฉลยแบบฝึกหัดท่ี 1 เรือ่ ง กฎแรงดงึ ดูดระหวา่ งมวลของนวิ ตัน คำช้แี จง : จงแสดงวธิ ีทำอย่างละเอยี ด 1. ดาวเคราะหด์ วงหนงึ่ มีมวล และรศั มเี ปน็ 2 เท่าของโลกจะมีความเรง่ โน้มถว่ งเป็นกีเ่ ท่าของโลก จากสมการ g= Gme R2e m = 2me r = 2Re จะได้ g= G2me (2Re)2 1 Gme g= 2 R2e g = 0.5ge ดงั นนั้ ความเร่งโนม้ ถว่ งเป็น 0.5 เท่าของโลก 2. 1 มวล 5 กโิ ลกรมั และ 10 กิโลกรัม อยู่หา่ งกนั 10 เมตร จะมีแรงดึงดูดระหวา่ งมวลเท่าไร กำหนดให้ G = 6.67 x 10-11 Nm2/kg2 จากสมการ FG = Gm1m2 R2 (6.67×10−11)(10)(10) = (10)2 = 3.34 × 10−11 N ดังนน้ั แรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลเทา่ กบั 3.34 x 10-11 นวิ ตัน กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 239 3. ดาวเคราะห์สมมตดิ วงหนึ่งมีมวล 1/100 เทา่ ของโลก และมีรศั มี 1/4 เทา่ ของโลก ถ้าคนหนึง่ หนัก 600 นิว ตนั บนโลก เขาจะหนกั เทา่ ใดบนดาวเคราะหส์ มมติดวงน้ี จากสมการ g= Gme , m = 1 me , r = 1 Re Re2 100 4 จะได้ g= G(me/100) (41Re)2 16 Gme g= 100 Re2 gw==0.g16=ge0.16 we ge w = 0.16we w = 0.16(600) = 96 N ดังนั้น เขาจะหนัก 96 นวิ ตนั บนดาวเคราะหส์ มมตดิ วงนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 240 เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบฝกึ หัด เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน ข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา เปล่ียนปริมาณเป็นสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง 2 ชดั เจนทุกข้อ ขั้นท่ี 1 ทำความเขา้ ใจปญั หา เปลย่ี นปรมิ าณเปน็ สัญลักษณ์ไดถ้ ูกต้องไม่ 1 ครบถว้ น ขัน้ ท่ี 2 วางแผนแก้ปญั หา ไมต่ อบหรอื เปลี่ยนปริมาณเป็นสญั ลกั ษณ์ 0 ขั้นท่ี 3 ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ไม่ถูกตอ้ งเลย กำหนดสตู รทเ่ี ลอื กใชไ้ ด้ถกู ต้อง 1 ข้นั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบ กำหนดสูตรทีเ่ ลือกใช้ไมถ่ ูกต้อง 0 แทนคา่ ในสตู รและคิดคำนวณเปน็ ไป 2 ตามลำดบั ขัน้ ไดถ้ ูกต้อง แทนค่าในสูตรได้ถูกต้องแต่คิดคำนวณไม่ 1 เปน็ ไปตามลำดับขั้นท่ีถกู ต้อง ไม่ตอบ หรือแทนค่าในสูตรผิดและคดิ 0 คำนวณไม่เป็นไปตามลำดบั ข้ันทถี่ ูกต้องเลย คำตอบและหนว่ ยถูกต้องชดั เจน 2 คำตอบถกู ต้องแตห่ น่วยไมถ่ ูกตอ้ ง 1 ไม่ตอบ หรอื คำตอบและหนว่ ยไมถ่ ูกต้อง 0 เกณฑก์ ารประเมนิ /ระดบั คณุ ภาพของแบบฝกึ หัด ชว่ งคะแนน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8 – 10 ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ดี พอใช้ 6 – 7 รอ้ ยละ 60 – 79 ต้องปรับปรงุ 4 – 5 ร้อยละ 40 – 59 0 - 3 นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 เกณฑ์การผ่านของผู้เรียน ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คะแนน 6 - 10 คะแนน ระดับไมผ่ ่านเกณฑ์ ระดบั คะแนน 0 – 5 คะแนน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 241 แบบประเมนิ การปฏิบตั ิกจิ กรรม คำชี้แจง : ให้ผูส้ อนประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมของนกั เรียนตามรายการทีก่ ำหนด แลว้ ขีด ✓ ลงในชอ่ งทต่ี รง กบั ระดับคะแนน ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 4321 1 การปฏบิ ัติการทำกจิ กรรม 2 ความคลอ่ งแคล่วในขณะปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 3 การบันทึก สรุปและนำเสนอผลการทำกิจกรรม รวม เกณฑก์ ารประเมนิ การปฏบิ ัติกิจกรรม ประเดน็ ท่ปี ระเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 32 1.การปฏิบัติ ทำกจิ กรรมตามข้ันตอน ทำกจิ กรรมตามขั้นตอน ตอ้ งให้ความชว่ ยเหลือบา้ ง ตอ้ งให้ความชว่ ยเหลือ กจิ กรรม และใช้อุปกรณไ์ ด้อย่าง และใช้อปุ กรณไ์ ดอ้ ยา่ ง ในการทำกจิ กรรม และ อยา่ งมากในการทำ ถกู ตอ้ ง ถกู ต้อง แต่อาจตอ้ งได้รับ การใช้อปุ กรณ์ กิจกรรม และการใช้ คำแนะนำบ้าง อุปกรณ์ 2.ความคลอ่ งแคลว่ มคี วามคลอ่ งแคล่วในขณะ มีความคล่องแคล่วในขณะ ขาดความคลอ่ งแคลว่ ทำกิจกรรมเสร็จไม่ ในขณะปฏบิ ตั ิ ทำกจิ กรรมโดยไม่ต้อง ทำกิจกรรมแตต่ ้องได้รบั ในขณะทำกจิ กรรมจึงทำ ทนั เวลา และทำอุปกรณ์ กจิ กรรม ได้รบั คำชี้แนะ และทำ คำแนะนำบ้าง และทำ กจิ กรรมเสรจ็ ไม่ทนั เวลา เสยี หาย กจิ กรรมเสร็จทันเวลา กิจกรรมเสรจ็ ทนั เวลา 3.การบันทึก สรปุ บนั ทกึ และสรปุ ผลการทำ บนั ทกึ และสรุปผลการทำ ต้องให้คำแนะนำในการ ตอ้ งให้ความช่วยเหลอื และนำเสนอผลการ กิจกรรมได้ถกู ตอ้ ง รดั กมุ กจิ กรรมได้ถกู ตอ้ ง แตก่ าร บันทกึ สรุป และนำเสนอ อยา่ งมากในการบันทึก ปฏิบัติกจิ กรรม นำเสนอผลการทำ นำเสนอผลการทำ ผลการทำกจิ กรรม สรปุ และนำเสนอผลการ กจิ กรรมยงั ไมเ่ ปน็ ข้นั ตอน ทำกจิ กรรม กิจกรรมเป็นขน้ั ตอน ชดั เจน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 10-12 ดีมาก 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 0-3 ปรบั ปรงุ กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 242 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน คำช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนือ้ หา 2 ความคิดสรา้ งสรรค์ 3 วิธกี ารนำเสนอผลงาน 4 การนำไปใช้ประโยชน์ 5 การตรงต่อเวลา รวม เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบูรณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ เปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางส่วน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊
แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 243 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น 2 การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื 3 การทำงานตามหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย 4 ความมนี ำ้ ใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ
แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 244 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ คำชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การ ความมี การมี รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรับฟัง ทำงาน นำ้ ใจ ส่วนรว่ ม 15 คดิ เห็น ตามที่ ในการ คะแนน คนอ่ืน ได้รับ ปรบั ปรุง มอบหมาย ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊
แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 245 แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในช่องท่ี ตรงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษัตริย์ 1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคปี รองดอง และเปน็ ประโยชน์ ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏิบัติตามหลักศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมที่เก่ยี วกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ต์ ามทโ่ี รงเรยี น จัดข้นึ 2. ซ่อื สตั ย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสง่ิ ทถี่ กู ตอ้ ง 3. มีวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั มี ความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวนั 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏบิ ตั ไิ ด้ 4.2 รูจ้ กั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟงั คำสั่งสอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ต้ังใจเรียน 5. อย่อู ย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพยส์ นิ และส่ิงของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรียนอยา่ งประหยดั และรคู้ ณุ ค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 มคี วามต้งั ใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพื่อให้งานสำเรจ็ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย 7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ กั การดแู ลรักษาทรพั ยส์ มบัติและสง่ิ แวดลอ้ มของห้องเรียนและ โรงเรียน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครงั้ ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน 51-60 ดมี าก 41-50 ดี 30-40 พอใช้ ต่ำกว่า 30 ปรบั ปรงุ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊ิบ
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 246 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เร่อื งแรงและกฎการเคลอ่ื นที่ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 14 เรื่องแรงตงั้ ฉากและแรงเสียดทาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวชิ าฟิสิกส์ 1 รหัสวชิ า ว31201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 4 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ *********************************************************************************** ***************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ผลการเรยี นรู้ สาระฟิสิกส์ 1.เขา้ ใจธรรมชาตทิ างฟิสกิ ส์ ปริมาณและกระบวนการวดั การเคลอ่ื นทีแ่ นวตรง แรงและกฎการเคล่ือนที่ ของนวิ ตนั กฎความโน้มถว่ งสากล แรงเสียดทานสมดุลกลของวตั ถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัม และกฎการอนุรกั ษ์โมเมนตัม การเคลอื่ นทแ่ี นวโค้ง รวมทง้ั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ 1. วเิ คราะห์ อธบิ าย และคำนวณแรงเสยี ดทานระหว่างผวิ สัมผัสของวัตถุคู่หน่ึง ๆ ในกรณีที่วัตถุหยุดนิ่ง และวัตถุเคลอ่ื นที่ รวมทั้งทดลองหาสัมประสทิ ธิ์ความเสียดทานระหวา่ งผิวสมั ผัสของวัตถุคหู่ นึ่ง ๆ และนำความรู้ เรื่องแรงเสียดทานไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. สามารถบอกความหมายแรงตั้งฉากและแรงเสยี ดทานได้ (K) 2. สามารถคดิ การคำนวณหาแรงตั้งฉากและแรงเสยี ดทานได้ถูกตอ้ ง (P) 3. ใฝเ่ รียนรู้ในด้านคณุ ภาพการสอน ดา้ นเนือ้ หา ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ - แรงที่เกิดขนึ้ ทีผ่ วิ สัมผัสระหว่างวตั ถสุ องกอ้ นในทศิ ทางตรงขา้ มกบั ทิศทาง การเคล่ือนที่ หรือแนวโน้มที่ จะเคลอื่ นทีข่ องวัตถุ เรยี กว่า แรงเสียดทานแรงเสียดทานระหวา่ งผวิ สัมผัสคู่หนงึ่ ๆ ขน้ึ กับสัมประสิทธิค์ วามเสียด ทาน และแรงปฏิกิริยาตั้งฉากระหว่างผวิ สัมผสั คนู่ น้ั ๆ ขณะออกแรงพยายามแต่วัตถยุ ังคงอยนู่ ิง่ แรงเสียดทานมี ขนาดเท่ากับแรงพยายามที่กระทำต่อวัตถุนั้น และแรงเสียดทานมีค่ามากที่สุดเมื่อวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ เรียกแรง เสียดทานนี้ว่า แรงเสียดทานสถิต แรงเสียดทานที่กระทำต่อวตั ถุขณะกำลังเคลื่อนที่ เรียกว่า แรงเสียดทานจลน์ โดยแรงเสียดทานทเี่ กิดระหว่างผิวสัมผสั ของวัตถุคหู่ นึง่ ๆ คำนวณได้จากสมการ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊
แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 247 fs ≤ μsN fk = μkN - การเพม่ิ หรือลดแรงเสยี ดทานมผี ลตอ่ การเคลื่อนท่ขี องวัตถุ ซึง่ สามารถนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั 4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด แรงตั้งฉากหรือแรงปฏิกิริยาตั้งฉาก (normal force) คอื แรงท่ีวตั ถุ 2 สงิ่ ที่กระทำซง่ึ กันและกัน จะเกิด แรงนี้ขึ้นเกือบทุกครั้งที่วัตถสุ มั ผัสกัน (แรงนี้จะไม่เกิดในกรณี เช่น ยกกล่องให้ลอยจากพื้นพอดี ผิวของกล่องกบั พ้ืนสัมผสั กนั แต่มนั ไมม่ ีแรงตอ่ กนั ) ซงึ่ แรงนี้มีทิศทางตงั้ ฉากกับผิวสมั ผัสเสมอ แรงเสียดทาน (friction force) เป็นแรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ แรงเสยี ดทานมี 2 ชนิด ดังนี้ แรงเสียดทานสถิติ (static friction) แทนด้วย fs คือ แรงเสียดทานที่เกิดในสภาวะวัตถุอยู่นิ่ง แรงเสียด ทานสถิติจะมีค่าไม่คงท่ี จะมคี า่ เพ่มิ ขึน้ หรือลดลงตามแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถุ แรงเสยี ดทานจลน์ (kinetic friction) แทนด้วย fk คอื แรงเสียดทานท่เี กดิ ในสภาวะวตั ถกุ ำลังเคลอ่ื นท่ี 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน 4. มคี วามซื่อสัตย์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ
แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 248 7. กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ 5E (5E Instructional Model) รว่ มกับ เทคนิคการแก้โจทย์ปัญหาของโพลยา ชว่ั โมงท่ี 1 ขั้นนำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันทบทวนความรเู้ ดมิ เกย่ี วกับ แรงและกฎการเคลอื่ นทีข่ องนิวตนั 2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge ว่า “เหตุใดเวลาที่นักเรียนนั่งบนเก้าอี้ จึงรู้สึกว่ามีแรงมากระทำท่ี ก้นของนักเรียน” (ทิ้งช่วงใหน้ กั เรยี นได้คิด) (แนวตอบ เพราะเกิดแรงต้งั ฉากหรอื แรงปฏิกิรยิ าตั้งฉากระหวา่ งเกา้ อี้ทน่ี ักเรยี นน่งั กับกน้ ของนกั เรยี น) 3. ครถู ามนกั เรยี นตอ่ วา่ นกั เรียนร้จู ักแรงปฏกิ ิรยิ าตงั้ ฉากหรือไม่ แรงนม้ี ีความหมายว่าอย่างไร (แนวตอบ แรงปฏิกิรยิ าตง้ั ฉาก เป็นแรงคู่กิริยาท่ีวัตถุ 2 สง่ิ กระทำซึ่งกันและกัน จะเกิดแรงน้ีขึ้นเกือบ ทุกครงั้ ทีว่ ัตถุสมั ผสั กัน) 4. นกั เรียนชว่ ยกันอภิปรายและแสดงความคิดเหน็ คำตอบจากคำถาม เพอื่ เช่ือมโยงไปสู่การเรียนในเร่ือง เร่ือง แรงปฏกิ ริ ยิ าต้งั ฉาก ข้นั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูอธิบายความหมายแรงปฏิกิริยาต้งั ฉากว่า เปน็ แรงคกู่ ิริยาโดยมีขนาดเท่ากบั แรงกิริยาแต่ทิศตรงกัน ข้ามจากที่นักเรียนนั่งบนเก้าอี้ นักเรียนมวล m นั่งอยู่บนเก้าอี้ โดยนักเรียนนั่งด้วยแรงเนื่องจาก น้ำหนักของนักเรียน คือ mg พื้นเก้าอี้ออกแรงต้านน้ำหนักของนักเรียน ด้วยแรง N ซึ่งเป็นแรง ปฏกิ ิรยิ า จะได้สมการความสัมพันธ์ N = mg 2. ครูให้นักเรยี นศกึ ษาตัวอย่างเพ่ิมเติมเกยี่ วกับแรงปฏิกริ ิยาตั้งฉาก จากภาพตวั อยา่ งแรงปฏกิ ิริยาต้ังฉาก ในหนงั สอื เรยี นหนา้ 118 3. ครูยกตัวอย่างภาพรถไฟเหาะตีลังกา แล้วถามนักเรียนว่า จากภาพเกิดแรงปฏิกิริยาตั้งฉากหรือไม่ อย่างไร 3. นักเรียนชว่ ยกันคดิ วเิ คราะห์เพ่ือตอบคำถาม อมั รา ใจต๊ิบ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 249 ขั้นสอน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครอู ธบิ ายเกี่ยวกบั ภาพรถไฟเหาะตลี งั กาว่า ภาพแสดงแรงปฏกิ ริ ยิ าต้ังฉากท่กี ระทำกับวัตถุมีทศิ ต้ังฉาก กบั ผิวสัมผัสและสามารถเกดิ ขน้ึ ในทิศทางใดก็ได้ 2. จากนั้นครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างการคำนวณจากโจทย์ปัญหา พร้อมทั้งให้นักเรียนฝึกแก้โจทย์ ปญั หาในหนังสือเรียน ตามข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ญั หา ดังนี้ • ขั้นที่ 1 ครใู หน้ กั เรียนทกุ คนทำความเข้าใจโจทย์ตัวอย่าง • ขัน้ ที่ 2 ครูถามนกั เรียนว่า สิง่ ที่โจทย์ต้องการถามหาคืออะไร และจะหาสงิ่ ท่โี จทยต์ ้องการ ต้อง ทำอย่างไร • ข้ันที่ 3 ครใู ห้นักเรียนดูวิธีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ข้ันที่ 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตวั อย่างว่าถูกต้อง หรอื ไม่ 3. ให้นักเรยี นทำแบบฝึกหดั เรื่อง แรงปฏกิ ริ ยิ าตง้ั ฉาก ขั้นสรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูนำนกั เรยี นอภิปรายและสรุปเกย่ี วกับแรงปฏิกริ ยิ าต้ังฉาก ดงั นี้ • แรงปฏิกิริยาตง้ั ฉากสามารถเกิดขึ้นได้ เม่อื มจี ดุ สมั ผสั ระหวา่ งวตั ถสุ องอย่าง • แรงปฏกิ ิรยิ าต้งั ฉากสามารถเกดิ ขึ้นในทศิ ทางใดก็ได้ • แรงปฏกิ ิรยิ าต้งั ฉากไมจ่ ำเป็นตอ้ งมีขนาดเท่ากบั น้ำหนกั ของวตั ถุที่กดทบั อยู่เสมอไป 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง แรงปฏิกิริยาตั้งฉาก ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและให้ ความรเู้ พ่ิมเตมิ ในส่วนนนั้ 3. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยคำถามจากหนงั สอื เรียนและแบบฝึกหัด เรือ่ ง แรงปฏกิ ิริยาตัง้ ฉาก ช่ัวโมงท่ี 2 ขั้นนำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั ทบทวนความรู้เดมิ เกีย่ วกบั แรงปฏิกริ ยิ าตงั้ ฉาก 2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge วา่ “เหตุใดเม่ือฝนตก แลว้ ถนนจงึ ลื่นกวา่ ปกต”ิ (ท้ิงช่วงให้นักเรียน ได้คิด) (แนวตอบ สิ่งสำคัญที่อยู่ตรงกลางระหว่างตัวรถกับถนนก็คือยางรถยนต์ ยางรถยนต์โดนกดทับด้วย น้ำหนักอยู่ติดกับพื้นถนน ก็เกิดแรงเสียดทานขับเคลื่อนไปได้ปรกติ แต่ถ้ามีอะไรมาแทรกตรงกลาง ระหว่างยางกับพนื้ แลว้ ทำใหแ้ รงเสียดทานนัน้ หายไป ถนนจงึ ล่ืนกว่าปกต)ิ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ
แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 250 3. ครูให้นักเรียนสังเกตเวลาเดินตามบริเวณต่าง ๆ ของโรงเรียน เช่น พื้นทราย พื้นดิน พื้นไม้ พื้นยาง และพนื้ กระเบอื้ ง แลว้ ถามวา่ ลกั ษณะของพนื้ ผวิ สัมผสั ตา่ งกนั หรือไม่ (ทิง้ ช่วงให้นักเรียนไดค้ ิด) 4. ครถู ามนักเรยี นตอ่ วา่ นักเรยี นร้จู กั แรงเสียดทานหรอื ไม่ แรงนม้ี ีความหมายว่าอยา่ งไร (แนวตอบ แรงเสียดทาน คือ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุซึ่งเกิดขึ้นระหว่างผิววัตถุกับพื้นที่สัมผัส และมที ิศตรงกันขา้ มกบั ทิศการเคลอ่ื นท่ีของวัตถุเสมอ) 5. นักเรียนช่วยกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นคำตอบจากคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนในเรือ่ ง เรื่อง แรงเสยี ดทาน ข้ันสอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูอธิบายความหมายแรงเสียดทานว่า เป็น แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุซึ่งเกิดขึ้นระหว่างผิววัตถุ กับพื้นที่สัมผัสและมที ศิ ตรงกนั ขา้ มกับทิศการเคล่อื นท่ีของวตั ถุเสมอ 2. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างแรงเสียดทาน จาก Physics Focus แรงเสียดทานช่วยให้มนุษย์เดินได้ อย่างไร ตามรายละเอียดในหนังสอื เรียน 3. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับแรงเสียดทาน ในประเด็นว่า ในชีวิตประจำวันจะพบว่า เมื่อเดินบน พื้นผิวที่มีลักษณะต่างกัน เช่น ผิวเรียบ ผิวลื่น ผิวขรุขระจะมีผลต่อการเดินแตกต่างกัน ลักษณะของ ผิวสัมผัสมผี ลตอ่ การเคลอื่ นทอ่ี ยา่ งไร 4. ครูนำอภิปรายเรือ่ งลักษณะของผวิ สัมผัส โดยอธิบายว่าลักษณะของพื้นผิวสัมผัสเป็นปัจจัยหน่ึงท่มี ผี ล ต่อแรงเสียดทาน ถ้าพื้นผิวเรียบ เช่น กระเบื้อง กระจก พลาสติก เป็นต้น จะเกิดแรงเสียดทานน้อย เนื่องจากพื้นผิวเรียบ มีกำรเสียดสีระหว่างกันน้อย ในทางกลับกัน ถ้าพื้นผิวขรุขระ จะเกิดแรงเสียด ทานมาก 5. ครูอาจยกตัวอย่างเพ่ิมเติม เช่น การเตะฟตุ บอล เวลาที่เราเตะลูกฟตุ บอลไปบนสนามหญ้า จะเกิดแรง เสียดทานระหว่าพน้ื ผิวของลูกฟุตบอลและพ้ืนสนาม โดยทิศทางของแรงเสียดทานจะตรงข้ามกับทิศท่ี ลูกฟุตบอลเคลื่อนที่ไป จึงต้านการเคลื่อนที่ของลูกฟุตบอล ทำให้ลูกฟุตบอลเคลื่อนที่ช้าลงจนกระทั่ง หยุดนิง่ 6. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแรงเสียดทาน ความหมายของแรงเสียดทาน ชนิดของแรง เสียดทาน การหาค่าแรงเสียดทาน ประโยชน์ของแรงเสียดทาน จากแหล่งสืบค้นต่าง ๆ เช่น หนังสือ เรียน หนังสืออ้างอิงต่าง ๆ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น แล้วสรุปผลการสืบค้นในรูปของแผนผังความคิด ซ่ึง นักเรียนสามารถใช้การวาดรูปประกอบเพื่อสื่อความหมายลงในกระดาษฟลิปชาร์ต และตกแต่งให้ สวยงาม (หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตการณ์ทำงานกลุ่ม) กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327