Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวิชาฟิสิกส์-ม.4-ภาคเรียนที่-1

แผนการสอนวิชาฟิสิกส์-ม.4-ภาคเรียนที่-1

Published by อัมรา ใจตื๊บ, 2022-09-07 09:17:24

Description: แผนการสอนวิชาฟิสิกส์-ม.4-ภาคเรียนที่-1

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 251 ชว่ั โมงที่ 3 ข้นั สอน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันนำข้อมูลที่รวบรวมที่ได้จากการศึกษามาวิเคราะห์ และหาลงข้อสรุป ร่วมกันอภปิ รายซักถามกนั ภายในกล่มุ จนเป็นทเ่ี ข้าใจตรงกัน 2. ครใู ห้นกั เรียนแต่ละกล่มุ นำแผนผงั ความคิดออกมานำเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรยี น 3. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันอภิปรายสรปุ เก่ียวกบั แรงเสยี ดทาน ข้ันสรปุ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับชนิดของแรงเสียดทาน แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ แรงเสียดทานสถิต และแรงเสียดทานจลน์ ซึ่งนักเรียนสามารถศึกษาได้จากตัวอย่างการผลักตู้ที่วางอยู่บนพื้นไม้ ตาม รายละเอียดในหนังสือเรยี น 2. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ การคำนวณหาค่าแรงเสียดทาน และอธิบายคำว่าสัมประสิทธิข์ องความ เสยี ดทาน ตามรายละเอยี ดในหนังสอื เรียน 3. ครูอธิบายเกี่ยวกับการนำแรงเสียดทานไปใช้ประโยชน์ ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้ มากมาย เช่น ทำให้วัตถุหยุดนิ่งไม่เคลื่อนที่ เช่น ช่วยหยุดรถยนต์ที่กำลังเคลื่อนที่ ยางรถที่มีดอกยาง ชว่ ยใหร้ ถ เปน็ ต้น 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรือ่ ง ชนิดและประโยชน์ของแรงเสียดทาน ว่ามีส่วนไหนท่ยี ัง ไมเ่ ขา้ ใจและใหค้ วามรู้เพม่ิ เติมในสว่ นน้ัน 5. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั เฉลยคำถามจาก Unit Question 3 และแบบฝึกหดั เร่อื ง แรงเสยี ดทาน ช่วั โมงท่ี 4 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับแรงเสียดทาน ความหมายของแรงเสียดทาน ชนิด ของแรงเสียดทาน การหาคา่ แรงเสียดทาน ประโยชน์ของแรงเสยี ดทาน 2. ครตู ้ังคำถามเพือ่ นำเขา้ สู่การคน้ หาคำตอบ แรงเสยี ดทานเกิดไดอ้ ย่างไร และแรงเสยี ดทานส่งผลให้เกิด อะไรได้บ้าง 3. นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ศกึ ษากิจกรรม เร่ือง แรงเสียดทาน จากหนงั สือเรยี น กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 252 ข้ันสอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครใู หน้ ักเรียนแบ่งกลมุ่ ซึง่ ครูอาจใชเ้ ทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) คือ การจัดกิจกรรมการ เรยี นรูท้ ี่มีสมาชกิ กลมุ่ 4–5 คน มีระดบั สตปิ ัญญาแตกต่างกัน คอื เกง่ 1 คน: ปานกลาง 2–3 คน: อ่อน 1 คน พร้อมท้ังเลือกประธานกลมุ่ รองประธานกลุม่ เลขานุการกลมุ่ และสมาชกิ กลมุ่ โดยสับเปลี่ยน หน้าทใ่ี นการทำกิจกรรมกลุ่ม (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตการณท์ ำงานกลุ่ม) 2. ครชู ้ีแจงจุดประสงค์การทดลองให้นักเรียนทราบ ดังนี้ • เพ่ือศกึ ษาแรงเสียดทานทผี่ ลต่อการเคล่อื นท่ี • บอกและอธบิ ายความหมายของแรงเสียดทานสถติ และแรงเสยี ดทานจลน์ได้ 3. ครูให้นักร่วมกนั วางแผนทำการทดลอง การบนั ทกึ ผลการทดลอง ตลอดจนการกำหนดสมมตุ ิฐาน และ ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปร่วมกันวิเคราะห์ อภิปรายและลงข้อสรุป ปฏิบัติการทดลองตามที่กลุ่ม นักเรยี นไดว้ างแผนไว้ ซง่ึ นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ตอ้ งมีการแบ่งหน้าท่ีกนั ทำงานโดยไม่ใหซ้ ้ำกับหน้าท่ีเดิมที่ เคยปฏบิ ัติมาแล้ว 4. ครอู าจถามกระตุน้ ให้นักเรยี นไดค้ ดิ ด้วยตัวอยา่ งคำถามตอ่ ไปน้ี • คา่ ของแรงเสียดทานขน้ึ อยกู่ ับสิง่ ใด • แรงเสยี ดทานมขี นาดและทศิ ทางเทา่ ใด 5. ครูใหน้ ักเรียนลงมือทดลองตามข้ันตอนการทดลองที่กำหนดในหนังสือเรียน และบันทกึ ผลการทดลอง 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์สรุปผลการทดลอง และนำแสนอหน้าชั้นเรียน ครูและนักเรียนร่วม อภิปรายการทดลองตามแนวคำถามท้ายการทดลอง สรุปการเรียนรู้ 7. หลังจากที่ได้ร่วมกันอภิปรายข้อมูลจากการทดลองแล้ว ครูตั้งคำถามเพื่อเข้าสู่การอภิปรายเพิ่มเติม ดงั นี้ • แรงเสียดทานเกดิ ขึ้นบรเิ วณใด (ผิวสัมผสั ของวัตถกุ บั พืน้ ผิวนัน้ ) • นกั เรียนแรงเสยี ดทานสง่ ผลใหเ้ กิดอะไรขนึ้ (ต้านการเคลื่อนทีข่ องวัตถุ) • นกั เรียนคดิ ว่าลกั ษณะทิศทางของแรงเสียดทานเป็นอยา่ งไร (ตรงข้ามกับแรงทก่ี ระทำกบั วัตถ)ุ อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูและนักเรียนช่วยกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับแรงเสียดทานว่า แรงเสียดทานสถิตเป็นแรงเสียดทานท่ี กระทำต่อวัตถขุ ณะหยุดนิ่ง สว่ นแรงเสียดทานจลน์เป็นแรงเสียดทานท่ีกระทำตอ่ วตั ถุขณะเคล่ือนที่ 2. ครูตัง้ คำถามเพ่ืออภปิ รายกับนักเรยี นเพ่ิมเตมิ เพ่อื หาข้อสรุป ดงั น้ี • แรงเสยี ดทานมคี วามหมายวา่ อย่างไร (ผิวสัมผัสของวัตถกุ ับพ้ืนผิวนั้น) กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีท่ี 4 253 • นกั เรียนแรงเสียดทานสง่ ผลใหเ้ กิดอะไรข้ึน (ตา้ นการเคลื่อนทขี่ องวัตถ)ุ • นักเรยี นคดิ วา่ ลักษณะทิศทางของแรงเสียดทานเปน็ อยา่ งไร (ตรงข้ามกบั แรงทก่ี ระทำกบั วัตถุ) 3. จากนั้นครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างการคำนวณจากโจทย์ปัญหา พร้อมทั้งให้นักเรียนฝึกแก้โจทย์ ปัญหาในหนังสอื เรียน ตามขัน้ ตอนการแก้โจทยป์ ญั หา ดงั น้ี • ขนั้ ท่ี 1 ครูให้นกั เรียนทกุ คนทำความเข้าใจโจทย์ตวั อยา่ ง • ข้ันที่ 2 ครถู ามนักเรียนว่า สง่ิ ท่ีโจทยต์ ้องการถามหาคืออะไร และจะหาสงิ่ ทโี่ จทย์ต้องการ ต้อง ทำอย่างไร • ขน้ั ที่ 3 ครูให้นกั เรียนดูวธิ ที ำในการคำนวณหาคำตอบ • ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตวั อยา่ งวา่ ถกู ต้อง หรือไม่ 4. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบฝึกหดั เรอื่ ง แรงเสียดทาน ข้ันสรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. นักเรยี นจะนำความรู้เรอ่ื งแรงเสียดทานไปอธบิ ายอะไรได้บ้าง (การเคลอื่ นทข่ี องวตั ถุ การสมั ผัสตา่ ง ๆ) 2. ในชีวิตประจำวันนักเรียนพบเห็นการนำความรู้เรื่องแรงเสียดทานไปใช้ประโยชน์อย่างไรบ้าง (ทำให้ วัตถุหยุดนงิ่ ไมเ่ คล่ือนที่ เชน่ ชว่ ยหยุดรถยนตท์ ่ีกำลังเคลื่อนท่ี ยางรถที่มีดอกยางชว่ ยให้รถเกาะถนนได้ ดี เปน็ ต้น) 3. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง ค่าแรงเสียดทาน ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและให้ ความรเู้ พิม่ เติมในส่วนน้ัน 4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำถามจาก Unit Question 3 และแบบฝึกหัด เรื่อง การคำนวณหา คา่ แรงเสียดทาน ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครปู ระเมินผล โดยการสงั เกตการตอบคำถาม การร่วมกันทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 2. ครวู ดั และประเมนิ จากการทำแบบฝึกหดั ที่ 1 เร่ือง แรงตง้ั ฉากและแรงเสียดทาน 3. ครตู รวจสอบผลการใบกิจกรรม เร่ือง แรงเสยี ดทาน 4. ครูวดั และประเมินผลจากการทำ Unit Question 3 ในหนงั สอื เรียน ฟสิ ิกส์ เล่ม 1 5. ครูวดั และประเมินผลจากแผนผังมโนทัศนท์ นี่ ักเรยี นได้สร้างขน้ึ จากขนั้ อธิบายความรู้ของนกั เรียนเป็น รายบุคคล กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 254 8. การวัดและประเมินผล รายการวัด วธิ ีวดั เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ ด้านความรู้ 1.สามารถบอกความหมายแรงตง้ั -สงั เกตพฤติกรรมระหวา่ ง -แบบฝึกหดั ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ ฉากและแรงเสยี ดทานได้ กจิ กรรมการเรียน รายบคุ คล ด้านทกั ษะ/กระบวนการ 1.สามารถคดิ การคำนวณหาแรงตงั้ -สังเกต ประเมินจาก -แบบประเมนิ ดา้ นทักษะ/ ระดับคณุ ภาพ 2 ฉากและแรงเสยี ดทานไดถ้ ูกตอ้ ง กิจกรรมระหว่างเรียน กระบวนการ ผา่ นเกณฑ์ รายบคุ คลและกลุ่ม -แบบฝึกหดั ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1.มวี ินยั - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 2.ใฝเ่ รยี นรู้ การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ 3.มงุ่ มัน่ ในการทำงาน 4.มคี วามซ่ือสตั ย์ ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคณุ ภาพ 2 2. ความสามารถในการคดิ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 9. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนังสือเรยี น รายวชิ าเพิม่ เติม ฟสิ ิกส์ ม.4 เลม่ 1 2) แบบฝกึ หดั ท่ี 1 เรื่อง แรงตัง้ ฉากและแรงเสียดทาน 3) ชุดการทดลอง เรือ่ ง แรงเสียดทาน 4) PowerPoint เรือ่ ง แรงตงั้ ฉากและแรงเสียดทาน 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) ห้องเรยี น 10. กิจกรรมเสนอแนะ/งานท่มี อบหมาย ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 255 แบบฝึกหดั ที่ 1 เร่ือง แรงตั้งฉากและแรงเสียดทาน คำช้ีแจง : จงตอบคำถามและแสดงวิธที ำอยา่ งละเอียด 1. แรงเสยี ดทานสถิตและแรงเสียดทานจลน์ เหมือนหรือแตกตา่ งกัน อยา่ งไร 2. จงหาค่าสมั ประสิทธิข์ องแรงเสียดทานระหวา่ งผิววตั ถทุ วี่ างอยูบ่ นโตะ๊ กับวัตถุหนกั 12 กโิ ลกรัม ออกแรงดงึ 30 นิวตนั ในแนวราบให้วัตถเุ คล่อื นที่ได้ 3. ฉดุ ลากเล่ือนมวล 300 กิโลกรัม ดว้ ยม้า เชอื กลากทำมุม 35o กับแนวระดับ ถา้ สมั ประสทิ ธิ์ความเสยี ดทาน เท่ากับ0.10 จงหาขนาดของแรงฉดุ ทีน่ ้อยทีส่ ดุ ท่ที ำใหเ้ ลอ่ื นเคล่อื นที่ กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 256 เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ 1 เรอื่ ง แรงต้ังฉากและแรงเสียดทาน คำช้ีแจง : จงตอบคำถามและแสดงวธิ ที ำอยา่ งละเอียด 1. แรงเสียดทานสถติ และแรงเสียดทานจลน์ เหมือนหรือแตกตา่ งกนั อยา่ งไร แรงเสยี ดทานสถิต (static friction) คอื แรงเสยี ดทานทเี่ กิดขน้ึ ระหว่างผวิ สมั ผสั ของวัตถุ ในสภาวะที่ วัตถไุ ดร้ ับแรงกระทำแลว้ อยู่น่ิง แรงเสียดทานจลน์ (kinetic friction) คือ แรงเสยี ดทานทเี่ กิดขึ้นระหวา่ งผวิ สัมผสั ของวตั ถุ ในสภาวะท่ี วตั ถุไดร้ ับแรงกระทำแลว้ เกิดการเคลอ่ื นท่ีด้วยความเร็วคงตัว 2. จงหาค่าสมั ประสิทธ์ขิ องแรงเสียดทานระหวา่ งผิววัตถุทว่ี างอยบู่ นโต๊ะกับวัตถหุ นกั 12 กิโลกรมั ออกแรงดึง 30 นิวตัน ในแนวราบใหว้ ตั ถเุ คล่อื นท่ีได้ จากสมการ F = fs,max = µsN เมื่อ 1 กโิ ลกรมั = 9.8 นวิ ตนั แรงกดของวัตถุ = 12 × 9.8 = 117.6 นิวตนั และแรงดงึ = 30 นวิ ตนั แทนคา่ µs = 30 = 0.255 117.6 ดังนัน้ สัมประสทิ ธขิ์ องแรงเสียดทานระหว่างผิววัตถุ 0.255 3. ฉดุ ลากเลื่อนมวล 300 กโิ ลกรัม ด้วยม้า เชอื กลากทำมุม 35o กับแนวระดบั ถา้ สมั ประสทิ ธ์ิความเสยี ดทาน เทา่ กับ0.10 จงหาขนาดของแรงฉุดทน่ี อ้ ยท่ีสดุ ท่ที ำใหเ้ ลอ่ื นเคล่ือนที่ จาก แรงลากเลอ่ื นในแนวระดบั = แรงเสียดทาน F cos θ = (mg - F sin θ) F= µmg = µ sin θ+ cos θ (0.10)(300)(9.8) (0.10) sin 35°+ cos 35° = 335 N ดงั นน้ั ขนาดของแรงฉดุ ทีน่ ้อยที่สดุ ที่ทำให้เล่อื นเคลื่อนทเี่ ทา่ กบั 335 นวิ ตนั กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 257 เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบฝกึ หัด เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน ข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา เปล่ียนปริมาณเป็นสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง 2 ชดั เจนทุกข้อ ขั้นท่ี 1 ทำความเขา้ ใจปญั หา เปลย่ี นปรมิ าณเปน็ สัญลักษณ์ไดถ้ ูกต้องไม่ 1 ครบถว้ น ขัน้ ท่ี 2 วางแผนแก้ปญั หา ไมต่ อบหรอื เปลี่ยนปริมาณเป็นสญั ลกั ษณ์ 0 ขั้นท่ี 3 ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ไม่ถูกตอ้ งเลย กำหนดสตู รทเ่ี ลอื กใชไ้ ด้ถกู ต้อง 1 ข้นั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบ กำหนดสูตรทีเ่ ลือกใช้ไมถ่ ูกต้อง 0 แทนคา่ ในสตู รและคิดคำนวณเปน็ ไป 2 ตามลำดบั ขัน้ ไดถ้ ูกต้อง แทนค่าในสูตรได้ถูกต้องแต่คิดคำนวณไม่ 1 เปน็ ไปตามลำดับขั้นท่ีถกู ต้อง ไม่ตอบ หรือแทนค่าในสูตรผิดและคดิ 0 คำนวณไม่เป็นไปตามลำดบั ข้ันทถี่ ูกต้องเลย คำตอบและหนว่ ยถูกต้องชดั เจน 2 คำตอบถกู ต้องแตห่ น่วยไมถ่ ูกตอ้ ง 1 ไม่ตอบ หรอื คำตอบและหนว่ ยไมถ่ ูกต้อง 0 เกณฑก์ ารประเมนิ /ระดบั คณุ ภาพของแบบฝกึ หัด ชว่ งคะแนน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8 – 10 ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ดี พอใช้ 6 – 7 รอ้ ยละ 60 – 79 ต้องปรับปรงุ 4 – 5 ร้อยละ 40 – 59 0 - 3 นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 เกณฑ์การผ่านของผู้เรียน ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คะแนน 6 - 10 คะแนน ระดับไมผ่ ่านเกณฑ์ ระดบั คะแนน 0 – 5 คะแนน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 258 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื   3 การทำงานตามหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย   4 ความมนี ำ้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 259 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ คำชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การ ความมี การมี รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรับฟัง ทำงาน นำ้ ใจ ส่วนรว่ ม 15 คดิ เห็น ตามที่ ในการ คะแนน คนอ่ืน ได้รับ ปรบั ปรุง มอบหมาย ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 260 แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษัตริย์ 1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคปี รองดอง และเปน็ ประโยชน์ ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏิบัตติ ามหลกั ศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมที่เก่ยี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ามท่ีโรงเรยี น จัดข้นึ 2. ซ่อื สตั ย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสง่ิ ทถี่ กู ตอ้ ง 3. มีวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั มี ความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวนั 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏบิ ตั ไิ ด้ 4.2 รูจ้ กั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟงั คำสั่งสอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ต้ังใจเรียน 5. อย่อู ย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพยส์ นิ และส่ิงของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรียนอยา่ งประหยดั และรคู้ ณุ คา่ 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 มคี วามต้งั ใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพื่อใหง้ านสำเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย 7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ กั การดแู ลรักษาทรพั ยส์ มบัติและสง่ิ แวดลอ้ มของหอ้ งเรียนและ โรงเรียน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน 51-60 ดีมาก พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน 41-50 ดี 30-40 พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครงั้ ให้ 1 คะแนน ตำ่ กวา่ 30 ปรบั ปรุง กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 261 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 เรอื่ งแรงและกฎการเคล่อื นที่ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 15 เร่อื งการประยุกต์ใชก้ ฎการเคล่ือนที่ของนิวตนั กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 รหสั วิชา ว31201 ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 5 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต *********************************************************************************** ***************** 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ผลการเรยี นรู้ สาระฟสิ ิกส์ 1.เขา้ ใจธรรมชาติทางฟสิ ิกส์ ปรมิ าณและกระบวนการวัด การเคลอ่ื นที่แนวตรง แรงและกฎการเคล่ือนท่ี ของนวิ ตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทานสมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการอนรุ ักษ์พลังงานกล โมเมนตัม และกฎการอนุรักษโ์ มเมนตมั การเคลือ่ นท่ีแนวโคง้ รวมท้ังนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถุอิสระ ทดลองและอธิบายกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันและการ ใชก้ ฎการเคลอ่ื นทข่ี องนิวตนั กบั สภาพการเคลอื่ นท่ีของวตั ถุ รวมท้ังคำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเกย่ี วขอ้ งได้ 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายกฎการเคลอ่ื นที่ของนิวตนั ไดด้ ขี นึ้ และสามารถนำไปประยกุ ต์อธบิ ายปรากฏการณ์ต่าง ๆ ได้ (K) 2. สามารถคิดการคำนวณหากฎการเคล่ือนท่ขี องนวิ ตันได้ถูกต้อง (P) 3. ใฝ่เรยี นรู้ในด้านคุณภาพการสอน ด้านเน้อื หา ด้านกิจกรรมการเรยี นรู้ (A) 3. สาระการเรียนรู้ - สมบัติของวัตถุที่ต้านการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ เรียกว่า ความเฉื่อย มวลเป็นปริมาณที่ บอกให้ ทราบว่าวัตถุใดมคี วามเฉ่ือยมากหรือน้อย - การหาแรงลัพธ์ท่กี ระทำต่อวัตถสุ ามารถเขยี นเป็นแผนภาพของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุอิสระได้ - กรณีที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทำ วัตถุจะไม่เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ซึ่งเป็นไปตามกฎการเคลื่อนท่ี ขอ้ ทีห่ น่ึงของนวิ ตนั - กรณีที่มีแรงภายนอกมากระทำโดยแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ ไม่เป็นศูนย์ วัตถุจะมีความเร่ง โดย ความเรง่ มที ิศทางเดยี วกับแรงลัพธ์ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างแรงลัพธ์ มวลและความเร่ง เขยี นแทนได้ดว้ ยสมการ กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 262 ∑ni=0 F⃑ i = m⃑a ตามกฎการเคลอ่ื นท่ีข้อท่ีหนง่ึ ของนวิ ตัน - เม่ือวัตถุสองก้อนออกแรงกระทำต่อกนั แรงระหวา่ งวตั ถุทั้งสองจะมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้าม และกระทำต่อวัตถุคนละก้อน เรียกว่า แรงคู่กิริยา-ปฏิกิริยา ซึ่งเป็นไปตามกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สามของนิวตัน และเกิดขน้ึ ได้ทงั้ กรณที ่ีวตั ถุท้งั สองสัมผัสกนั หรือไม่สมั ผัสกนั ก็ได้ 4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด กฎการเคล่อื นที่ของนิวตนั ทัง้ สามข้อเป็นความรู้พน้ื ฐานทีส่ ำคัญมากในวชิ าฟิสิกส์ ซงึ่ สามารถทำให้เข้าใจ หรือใช้อธิบายสาเหตุของการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุทุกชนิดและทุกกรณี ทั้งการเคลื่อนที่บนโลก นอกโลก และในเอกภพ และยงั สามารถอธิบายเรื่องสมดลุ และการเคลื่อนที่ของวัตถตุ า่ ง ๆ ไดท้ กุ ลักษณะ และยัง เป็นพืน้ ฐานสำหรับนำไปใช้ศกึ ษาเรื่องอนื่ ๆ เชน่ งาน พลังงาน โมเมนตมั เปน็ ต้น 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. ม่งุ มั่นในการทำงาน 4. มคี วามซ่ือสตั ย์ 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5E (5E Instructional Model) รว่ มกับ เทคนคิ การแกโ้ จทย์ปัญหาของโพลยา ช่ัวโมงท่ี 1 ข้นั นำ กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนรว่ มกนั ทบทวนความร้เู ดิมเก่ยี วกับ เรอื่ ง แรง มวล และกฎการเคลื่อนทีข่ องนวิ ตัน 2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge วา่ “ถ้าชั่งนำ้ หนกั ในลิฟต์ที่กำลงั เคล่อื นที่ น้ำหนักจะเป็นอยา่ งไร” กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีท่ี 4 263 (แนวตอบ : เมื่อวัตถุและเครื่องชั่งน้ำหนักเคลื่อนที่ขึ้นลงไปด้วยกันด้วยความเร็วคงตัว (ไม่มีความเร่ง) แรงที่วัตถุกระทำต่อเครื่องชั่งน้ำหนักจะยังคงเท่ากับในขณะหยุดนิ่ง แต่ถ้าวัตถุและเครื่องชั่งน้ำหนัก เคลื่อนที่ขึ้นลงไปด้วยกนั โดยมีความเรง่ แรงกระทำระหว่างกันของท้ังสองสิ่งจะแตกต่างกับเมื่ออยู่ในขณะ หยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ในขณะนั้นเข็มชี้บอกน้ำหนักเรียกว่าเป็น น้ำหนักปรากฏ (apparent weight)) 3. นกั เรียนแต่ละคนชว่ ยกันตอบคำถาม ขน้ั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า การเคลื่อนที่ของวตั ถุในชีวิตประจำวัน สามารถนำกฎการเคลื่อนท่ีของ นิวตันและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ (Free-body diagram) มาช่วยสร้างความเข้าใจในการ เปลีย่ นแปลงสภาพการเคล่อื นทที่ ีเ่ กดิ จากแรงทีม่ ากระทำกบั วัตถใุ นแตล่ ะกรณี 2. ครูให้นักเรียนศึกษาการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระเพื่อใช้สำหรับการแก้ป ญหา ตามรายละเอียดใน หนงั สือเรียน 3. ครูชี้ให้เห็นว่าการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระของแต่ละปัญหา เป็นกระบวนการเริ่มต้นก่อนเข้าสู่ กระบวนการวิเคราะห์ปัญหาและแก้ปัญหา ดังนั้นนักเรียนจะต้องเข้าใจองค์ประกอบต่าง ๆ ก่อนจะ เขา้ สหู่ ลกั การเขียนแผนภาพ คอื ส่วนแรก คือ ชนิดของแรก ได้แก่ แรงกระทำหรือน้ำหนักที่มากระทำ ส่วนนี้เป็นส่วนสำคัญท่ี นักเรียนสมารถเขียนสัญลักษณ์หรือลูกศร ที่แสดงความหมายของแรงในแผนภาพวัตถุอิสระได้อย่าง ถูกต้อง สว่ นที่สอง คอื แกนอ้างอิง นกั เรียนต้องตง้ั แกนอ้างอิงให้สมั พันธก์ ับปัญหา และเป็นแนวเริ่มต้น ในการแกป้ ญั หานนั้ ๆ ส่วนทส่ี าม คือ ขอบเขตของวตั ถุ เช่น ลกั ษณะการเคล่ือนท่ี อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูอธิบายเพ่ิมเติมในเร่ืองของการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ (Free-body diagram) คือ การเขียน แผนภาพแทนวัตถุเพื่อแสดงให้เห็นเวกเตอร์ของแรงภายนอกที่กระทำต่อวัตถุ ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ 1) วาดรูปร่างของวัตถุ โดยนิยมเขียนเป็นโครงรูปโดยสังเขป หรือแทนด้วยจุดก็ได้ 2) แสดงแรงท้ังหมดที่กระทำกับวัตถุ 3) เขียนตัวเลขหรือสัญลักษณ์แทนแรงแต่ละแรง และเขียนลูกศรแสดงทิศของแรง 2. ครูอธิบายสรปุ เก่ียวกับเนือ้ หา หรอื เปดิ โอกาสให้นกั เรยี นได้สอบถามในส่วนทม่ี ขี ้อสงสยั กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 264 ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูนำนักเรียนอภิปรายและสรปุ เกยี่ วกบั การเขยี นแผนภาพวัตถอุ สิ ระ ดงั นี้ • เขียนภาพของปญั หาแลว้ ใส่แรงกระทำทเ่ี ป็นไปไดท้ ั้งหมด • นำวตั ถทุ เี่ ปน็ ปัญหามาเขียนแยกอิสระพร้อมทัง้ ใส่กรอบอ้างอิงทีเ่ หมาะสม • ถา้ แรงกระทำไมไ่ ดอ้ ยใู่ นแนวแกนของระบบ ให้แตกเป็นแรงยอ่ ย • เขียนเปน็ สมการของแรงลพั ธใ์ นแต่ละแกน - แนวการเคลือ่ นที่ท่ีมคี วามเรง่ : ∑F = ma (กฎขอ้ ทส่ี อง) - วตั ถุอยนู่ ่ิงหรอื มีความเร่งคงตวั : ∑F = 0 (กฎข้อทหี่ นง่ึ ) 2. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง การเขยี นแผนภาพวัตถุอิสระ วา่ มสี ่วนไหนท่ียังไม่เข้าใจ และให้ความรูเ้ พ่ิมเติมในสว่ นน้ัน 3. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยคำถามจาก Unit Question 3 ชั่วโมงที่ 2 ขั้นนำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนความรู้เกี่ยวกับการเขียนแผนภาพวัตถุอสิ ระ เพือ่ เปน็ แนวทางใชก้ ารแก้ปัญหาโดยใช้โดยใช้ กฎการเคล่ือนทีข่ องนวิ ตัน 2. ครูถามคำถามกระตุ้นความสนใจกับนักเรียน (ทิง้ ช่วงใหน้ กั เรียนคดิ ) - สมการใดสามารถนำมาคำนวณหาน้ำหนกั ของวตั ถุในขณะทลี่ ฟิ ต์กำลงั เคล่ือนที่ (แนวตอบ : ∑F = ma (กฎขอ้ ท่สี องของนิวตนั )) - ถ้านักเรียนยนื บนตาชั่งน้ำหนัก ซง่ึ อยใู่ นลฟิ ต์ทีห่ ยุดนง่ิ นกั เรียนจะใชส้ มการใดในการคำนวณนำ้ หนัก (แนวตอบ : ∑F = 0 (กฎข้อทีห่ น่ึงของนิวตัน)) 3. แจ้งใหน้ กั เรียนทราบว่า จะไดศ้ กึ ษาเก่ยี วกับการหาแรงปฏกิ ิริยาและการชั่งนำ้ หนกั ในลิฟต์ ขัน้ สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูอธิบายเกี่ยวกับแรงปฏิกิริยาว่า ค่าน้ำหนักของวัตถุที่อ่านจากตาชั่งสปริง จะเท่ากับค่าแรงตึงเชือก ในสปริง หรือแรงตึงในเส้นเชือกที่ผูกระหว่างวัตถุกับสปริง โดยต้องใช้สปริงเบา ค่าน้ำหนักของวัตถุท่ี อา่ นได้จากตาช่งั สปริงจะเทา่ กบั ค่าแรงปฏิกริ ยิ าท่ตี าชง่ั สปรงิ กระทำตอ่ วตั ถุ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 265 2. ครูถามนักเรียนว่า วัตถุที่วางอยู่ในลิฟต์ หรือชั่งน้ำหนักวัตถุโดยใช้ตาชั่งสปริงในลิฟต์ นักเรียนจะ สามารถหาแรงทก่ี ระทำต่อวัตถไุ ด้อย่างไร 3. ครูให้นกั เรยี นช่วยกันคดิ เพือ่ หาคำตอบ โดยนักเรยี นสามารถศกึ ษารายละเอยี ดจากหนังสอื เรียน อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มให้นักเรียนออกมาอธิบายหน้าช้ันเรียน 2. จากนนั้ ครูอธบิ ายเพ่ิมเติมวา่ วัตถทุ ่วี างอยู่ในลิฟต์ หรอื การชัง่ น้ำหนกั วัตถุโดยใชต้ าชัง่ สปริงในลิฟต์ ถ้า ต้องการหาแรงที่กระทำต่อวัตถุ นักเรียนต้องใส่แรงที่กระทำต่อวัตถุนั้นให้ครบ แล้วพิจารณาทิศการ เคลื่อนที่ของวัตถุ โดยแรงใดมีทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ให้มีค่าเป็นบวก (+) ส่วนแรงใดที่มีทิศ ทางตรงข้ามกับทิศการเคลื่อนที่ให้มีค่าเป็น ลบ (-) แล้วใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันในการแก้โจทย์ ปญั หา 3. ครเู ปิดโอกาสให้นกั เรียนสอบถามเน้อื หา วา่ มสี ว่ นไหนที่ยงั ไมเ่ ข้าใจและให้ความรู้เพ่ิมเติมในส่วนน้นั ขั้นสรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครนู ำนกั เรียนอภิปรายและสรุปเกี่ยวกบั การชั่งนำ้ หนักในลฟิ ต์ ดงั นี้ • ถ้าลิฟต์เคลื่อนทีล่ งด้วยความเร่ง a = g ตาช่งั อา่ นนำ้ หนักได้เท่ากับ 0 (เสมอื นไรน้ ำ้ หนกั ) • การชั่งน้ำหนักในลิฟต์ ใช้การคำนวณเหมือนการดึงมวล แต่เปลี่ยนค่าแรงดึงเชือก T เป็นค่า น้ำหนักท่ีอ่านได้จากตาช่งั N เท่าน้ัน 2. ครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างการคำนวณจากโจทย์ปัญหา พร้อมทั้งให้นักเรียนฝึกแก้โจทย์ปัญหาใน หนังสือเรียน ตามขั้นตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา ดังนี้ • ข้ันท่ี 1 ครูใหน้ ักเรียนทกุ คนทำความเขา้ ใจโจทย์ตัวอยา่ ง • ขั้นที่ 2 ครูถามนกั เรยี นว่า ส่งิ ท่โี จทย์ตอ้ งการถามหาคืออะไร และจะหาส่ิงที่โจทย์ต้องการ ต้อง ทำอยา่ งไร • ขัน้ ท่ี 3 ครูให้นักเรยี นดูวิธที ำในการคำนวณหาคำตอบ • ขน้ั ท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทยต์ ัวอย่างวา่ ถกู ตอ้ ง หรอื ไม่ 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับน้ำหนักปรากฏว่า เมื่อวัตถุและเครื่องชั่งน้ำหนักเคลื่อนที่ขึ้นลงไปด้วยกัน ด้วยความเร็วคงตัว (ไม่มีความเร่ง) แรงที่วัตถุกระทำต่อน้ำหนักปรากฏจะยังคงเท่ากับเมื่ออยู่ในขณะ หยุดนิ่ง แต่ถ้าวัตถุและน้ำหนักปรากฏเคลื่อนที่ขึ้นลงไปด้วยกันโดยมีความเร่ง แรงกระทำระหว่างกัน ของทั้งสองสิ่งจะแตกต่างกับเมื่อขณะหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว ในขณะนั้นเข็มชี้บอก น้ำหนัก เรยี กว่า น้ำหนกั ปรากฏ (apparent weight) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 266 4. ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรียนสอบถามเน้ือหาเรื่อง การหาแรงปฏิกริ ิยาและการช่ังนำ้ หนักในลิฟต์ ว่ามีส่วน ไหนท่ยี งั ไมเ่ ขา้ ใจและใหค้ วามรเู้ พ่ิมเติมในสว่ นน้ัน 5. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยคำถามจาก Unit Question 3 และทำแบบฝึกหัด เร่อื ง การช่ังน้ำหนักใน ลิฟต์ ชวั่ โมงที่ 3 ขนั้ นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูทบทวนเก่ยี วกบั การชง่ั น้ำหนักในลิฟต์ และการคำนวณโดยใช้กฎของนิวตัน 2. ครูถามคำถามให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นว่า การคำนวณวัตถุบนพื้นเอียง ใช้กฎของนิวตันข้อใดใน การคำนวณ (แนวตอบ : ∑F = ma (กฎข้อท่ีสองของนวิ ตัน)) 3. แจง้ ให้นกั เรยี นทราบว่า จะไดศ้ กึ ษาเกี่ยวกบั การคำนวณในกรณกี ารเคลอ่ื นท่ีของวตั ถพุ น้ื เอยี ง ขั้นสอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุพื้นเอียงตามรายละเอียดในหนังสือเรียน โดยให้นักเรียน พจิ ารณาการแยกองคป์ ระกอบเวกเตอร์ของน้ำหนกั ของวัตถุทว่ี างอย่บู นพ้นื เอ้ยี ง 2. ครถู ามนักเรยี นว่า วตั ถกุ ำลังจะเริม่ เคล่อื นทก่ี ับวัตถุท่เี คลื่อนท่ีดว้ ยความเรว็ คงตวั ค่าสัมประสิทธิ์ความ เสยี ดทานแตกต่างกันหรือไม่ อยา่ งไร 3. นกั เรยี นทุกคนช่วยกนั คิดเพื่อตอบคำถาม อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครนู ำอภิปรายเกยี่ วกับการเคลอ่ื นท่ีของวตั ถพุ นื้ เอียง ดงั นี้ เมอ่ื วตั ถุอยูบ่ นพื้นเอียงจะมแี รงเนื่องจากน้ำหนักของวัตถุ (mg) แรงเสียดทาน (f) และแรงท่ีพื้น เอียงกระทำกับวัตถุ (N) หากแตกแรง mg แล้ว นักเรียนสามารถจะหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณ ต่าง ๆ ในขณะท่วี ัตถุกำลงั จะเรมิ่ เคลื่อนท่ีได้จาก ������������ = ������������ = ������������ sin ������ = tan ������ ������ ������������ cos ������ ในลักษณะเดียวกัน ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว เราสามารถหาค่าสัมประสิทธิ์ความเสียด ทานจลนไ์ ด้จากสมการ ������������ = ������������ = ������������ sin ������ = tan ������ ������ ������������ cos ������ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 267 2. ครูให้นักเรียนลองหาคำตอบจากตัวอย่าง จากหนังสือเรียน ด้วยตนเอง เพื่อเสริมความเข้าในการใช้ สมการทใี่ ช้คำนวณท่เี รียนมา 3. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรยี นสอบถามเนอ้ื หาเร่ือง การเคลือ่ นทขี่ องวัตถพุ ้ืนเอียง วา่ มสี ว่ นไหนท่ยี ังไม่เขา้ ใจ และใหค้ วามรูเ้ พ่ิมเตมิ ในส่วนนัน้ ข้ันสรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างโจทย์คำนวณหาปริมาณอื่น ๆ โดยอาจปรับตัวอย่างจากหนังสือเรียน ครู อาจจะเพ่ิมเตมิ มวลของวัตถุ ความตึงในเส้นเชอื ก เป็นต้น 2. ครูและนกั เรียนร่วมกันเฉลยคำถามจาก Unit Question 3 ชั่วโมงท่ี 4 ขนั้ นำ กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนความรู้เดิมเกยี่ วกับเรอ่ื ง การเคล่ือนท่ขี องวตั ถุพ้ืนเอยี ง 2. ครถู ามนกั เรยี นว่า นกั เรยี นรู้จักหรอื เคยเห็นรอกในชวี ิตประจำวันบ้างหรือเปล่า แล้วครูถามนักเรียนว่า รอกคืออะไร (แนวตอบ : รอก เป็นเครื่องกลที่ใช้สำหรับยกของขึ้นที่สูงหรอื หย่อนลงไปในที่ตำ่ รอกมีลักษณะเป็นล้อม หมุนได้คลอ่ งรอบตวั และมเี ชอื กพาดลอ้ สำหรบั ยกตวั และดงึ วตั ถ)ุ 3. ครแู จ้งให้นักเรียนทราบวา่ จะไดศ้ กึ ษาเก่ยี วกบั แรงดึงในเส้นเชือกเบาและรอก ขั้นสอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นกั เรียนแบง่ กล่มุ กล่มุ ละ 4-5 คน แล้วรว่ มกันศึกษาตัวอยา่ ง 2. ครูถามคำถามนกั เรียนวา่ การคำนวณการดงึ ของวตั ถุด้วยรอก เหมือนหรอื แตกต่างกบั การคำนวณการ เคลือ่ นที่บนพนื้ เอียงหรอื ไม่ อย่างไร 3. ครใู ห้นักเรยี นแต่กลุ่มศึกษาเกยี่ วกบั การคำนวณจากโจทย์ตัวอย่าง 4. นกั เรยี นนำข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการสืบค้นมาวิเคราะหแ์ ละเรียบเรยี งเนอ้ื หาเพอื่ ใช้สำหรบั การนำเสนอโดย แลกเปลีย่ นความคิดเห็นกันภายในกลุ่ม จากนน้ั อธิบายซักถามกนั ภายในกลุ่มจนเขา้ ใจตรงกนั (หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตการณ์ทำงานกลุ่ม) 5. ครใู ห้ตัวแทนนักเรยี นออกมาสาธติ แสดงวธิ กี ารคำนวณท่หี น้าชั้นเรียน จากน้ันนักเรียนช่วยกนั สรุป กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 268 อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูนำนักเรียนอภิปรายและสรุปว่า แรงที่กระทำให้ระบบเคลื่อนที่ คือ น้ำหนักของ M คือ mg ส่วน น้ำหนักที่ m ไม่มีผลต่อการเคลื่อนที่ (เพราะตั้งฉากกับการเคลื่อนที่) และแรงตึงเชือก T เป็นแรง ภายในระบบไม่มผี ลต่อการเคล่อื นที่ 2. ครใู หค้ วามรตู้ ามรายละเอียดในหนังสือเรียนว่า แรงดึงในเส้นเชือกมีมวลที่ถูกแขวนในแนวดิ่งจะมีวิธีท่ี วับซ้อนกว่าการคำนวณในเส้นเชือกเบา เพราะมวลของเชือกจะมีผลต่อแรงดึงในแต่ละส่วนของตัว เชือก ดังนนั้ เพื่อง่ายตอ่ การคำนวณจะสามารถหาได้จากสมการความสัมพันธ์ ความหนาแนน่ เชงิ เสน้ ของเชือก = มวลเชือก ความยาวเชอื ก ชว่ั โมงที่ 5 ขั้นสรุป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง แรงและกฎการคลื่อนที่ จำนวน 10 ข้อ โดยใชเ้ วลา 30 นาที และอธิบายเพ่ิมเติมในสว่ นทีเ่ หน็ ว่า นักเรียนสว่ นมากไมผ่ า่ นการประเมิน เพื่อแก้ ข้อสงสัย และความไม่เข้าใจของนักเรียนเมื่อตรวจแบบทดสอบแล้วแจ้งคะแนนให้นักเรียนทราบ เพื่อ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข 2. ครเู ปดิ โอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเร่ือง การประยุกตใ์ ช้กฎการเคล่ือนท่ีของนวิ ตนั ว่ามีส่วนไหน ทย่ี ังไม่เขา้ ใจและใหค้ วามรู้เพิ่มเติมในสว่ นนั้น 3. ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนทำแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) แล้วส่งเป็นการบ้านใน คาบเรยี นตอ่ ไป 4. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยคำถามจาก Unit Question 3 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจสอบผลจากแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 2. ครูสงั เกตการตอบคำถามของนักเรยี น 3. ครตู รวจสอบผลจากแบบฝึกหดั ท่ี 1 เรือ่ ง การประยุกต์ใชก้ ฎการเคลื่อนทีข่ องนวิ ตัน 4. ครูตรวจการทำแบบฝึกหัดจากหนงั สอื เรียน 5. ครูตรวจแบบฝกึ หัดที่ 1 เร่ือง การประยุกต์ใช้กฎการเคล่ือนทีข่ องนิวตนั 6. ครูประเมินผลงานจากแผนผงั มโนทศั น์ (Concept Mapping) ที่นกั เรยี นได้สร้างขนึ้ จากขน้ั ขยายความ เข้าใจของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 269 8. การวัดและประเมินผล รายการวัด วธิ ีวัด เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมิน ดา้ นความรู้ 1.อธิบายกฎการเคล่ือนที่ของนิว -แบบทดสอบหลังเรียน -แบบฝึกหดั ร้อยละ 70 ผา่ นเกณฑ์ ตนั ไดด้ ขี นึ้ และสามารถนำไป -สังเกตพฤตกิ รรมระหว่าง -แบบทดสอบหลังเรยี น ประยกุ ตอ์ ธบิ ายปรากฏการณต์ า่ ง กิจกรรมการเรียน ๆ ได้ รายบุคคล ดา้ นทักษะ/กระบวนการ 1.สามารถคดิ การคำนวณหากฎ -สงั เกต ประเมินจาก -แบบประเมนิ ด้านทักษะ/ ระดบั คณุ ภาพ 2 การเคลอ่ื นที่ของนวิ ตันไดถ้ กู ต้อง กจิ กรรมระหวา่ งเรียน กระบวนการ ผ่านเกณฑ์ รายบุคคลและกลุ่ม -แบบฝึกหัด ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1.มวี ินยั - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ 2 2.ใฝเ่ รียนรู้ การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ 3.มุ่งมัน่ ในการทำงาน 4.มคี วามซ่อื สตั ย์ ด้านสมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคณุ ภาพ 2 2. ความสามารถในการคิด การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 9. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนงั สือเรยี น รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ ม.4 เลม่ 1 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 3 แรงและกฎการเคล่ือนที่ 2) แบบฝกึ หัดที่ 1 เรอ่ื ง การประยุกต์ใช้กฎการเคลอ่ื นทีข่ องนิวตัน 3) PowerPoint เร่ือง แรงและกฎการเคลือ่ นที่ 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) ห้องเรยี น 2) ห้องสมดุ 3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ 10. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานทีม่ อบหมาย ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................. กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 270 แบบฝึกหัดท่ี 1 เรื่อง การประยุกต์ใช้กฎการเคลื่อนทข่ี องนิวตัน คำชีแ้ จง : จงแสดงวิธีทำอย่างละเอยี ด ชายคนหนึ่งมีมวล 60 กิโลกรัม ยืนอยูใ่ นลิฟต์ จงหาแรงท่ีพื้นกระทำตอ่ ชายคนน้ี ในกรณี 1. ลิฟตเ์ คลอ่ื นทีข่ ึ้นดว้ ยความเรง่ 5 เมตรตอ่ วินาที2 2. ลิฟต์เคลื่อนที่ขน้ึ ด้วยความหน่วง 5 เมตรต่อวนิ าที2 1. ลฟิ ตเ์ คลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง 5 เมตรต่อวินาที2 2. ลฟิ ต์เคลื่อนทล่ี งด้วยความหน่วง 5 เมตรต่อวนิ าที2 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 271 เฉลยแบบฝกึ หัดที่ 1 เร่ือง การประยุกต์ใช้กฎการเคล่ือนทขี่ องนวิ ตัน คำชแ้ี จง : จงแสดงวธิ ีทำอย่างละเอยี ด ชายคนหน่งึ มมี วล 60 กิโลกรัม ยนื อยูใ่ นลฟิ ต์ จงหาแรงท่ีพ้ืนกระทำต่อชายคนน้ี ในกรณี 1. ลิฟตเ์ คล่ือนทข่ี นึ้ ด้วยความเร่ง 5 เมตรตอ่ วนิ าที2 ใหล้ ฟิ ต์เคลื่อนทด่ี ว้ ยความเร่ง a ให้ N1 เป็นแรงที่พนื้ ทีล่ ิฟต์กระทำต่อชายคนนี้ และ mg เปน็ น้ำหนกั ของชายคนนี้ จากสมการ ∑F = ma N1 – mg = ma N1 = m(g + a) = 900 N ดังนนั้ กรณที ี่พื้นลฟิ ต์ออกแรงกระทำ 900 นิวตนั 2. ลฟิ ตเ์ คลอ่ื นทข่ี ้ึนดว้ ยความหน่วง 5 เมตรตอ่ วินาที2 ใหล้ ิฟตเ์ คล่ือนทด่ี ้วยความหน่วง -a ให้ N2 เป็นแรงทพี่ ื้นทล่ี ิฟตก์ ระทำต่อชายคนนี้เชน่ เดียวกบั ข้อ 1 จากสมการ ∑F = ma N2 – mg = ma N2 = m(g - a) = 300 N ดงั นัน้ กรณีท่ีพน้ื ลิฟต์ออกแรงกระทำ 300 นวิ ตนั กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 272 คำช้ีแจง : จงแสดงวิธีทำอย่างละเอียด 3. ลิฟต์เคลอ่ื นท่ีลงด้วยความเรง่ 5 เมตรต่อวนิ าที2 ให้ลฟิ ตเ์ คล่ือนทด่ี ว้ ยความหน่วง a ให้ N3 เป็นแรงทพ่ี ้นื ท่ีลฟิ ตก์ ระทำต่อชายคนนี้ จากสมการ ∑F = ma N3 = m(g - a) = 300 N ดงั นนั้ กรณีที่พ้ืนลฟิ ต์ออกแรงกระทำ 300 นิวตนั 4. ลฟิ ต์เคลอ่ื นทีล่ งดว้ ยความหน่วง 5 เมตรต่อวนิ าที2 ใหล้ ิฟตเ์ คล่ือนท่ดี ้วยความหน่วง -a ให้ N4 เป็นแรงที่พน้ื ท่ลี ิฟต์กระทำต่อชายคนนี้ จากสมการ ∑F = ma mg – N4 = ma N3 = m(g + a) = 900 N ดังน้นั กรณที ี่พื้นลฟิ ต์ออกแรงกระทำ 900 นวิ ตัน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 273 แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 คำช้ีแจง : ให้นกั เรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ในระบบเอสไอแรงมีหน่วยเปน็ อะไร 6. ขอ้ ใดกลา่ วเก่ยี วกับแรงได้ถูกต้องทีส่ ุด 1. กิโลกรัม 2. นวิ ตัน 1. เป็นปรมิ าณเวกเตอร์ เพราะมีแต่ขนาด 3. กรัม 4. ตัน 2. เปน็ ปริมาณเวกเตอร์ เพราะมีขนาดและทศิ ทาง 5. เมตร 3. เปน็ ปรมิ าณสเกลาร์ เพราะมแี ต่ขนาด 2. กฎขอ้ ที่ 3 ของนวิ ตนั พดู ถึงแรงคกู่ ิรยิ าและปฏิกริ ยิ า 4. เปน็ ปรมิ าณสเกลาร์ เพราะมีแต่ทศิ ทาง ขอ้ ใดกล่าวถงึ แรงค่นู ไี้ ม่ถกู ต้อง 5. เปน็ ปรมิ าณสเกลาร์ เพราะมขี นาดและทศิ ทาง 1. แรงคนู่ ี้เกิดทเ่ี วลาเดียวกัน 7. ขอ้ ใดเป็นหน่วยคา่ คงตวั โนม้ ถว่ งสากล 2. แรงคู่นม้ี ีขนาดเท่ากนั 1. m/s2 2. km/s2 3. แรงคนู่ ี้จะตอ้ งกระทบบนวตั ถคุ นละก้อน 3. N/m2kg2 4. m3s2/kg 4. แรงคนู่ จ้ี ะต้องมีทศิ ตรงกนั ข้ามเสมอ 5. m2/kg2 5. แรงคนู่ ม้ี ีขนาดเท่ากันและมที ิศตรงกันขา้ ม ดงั นน้ั 8. ต้นยืนอยบู่ นตาชง่ั ในลิฟต์ทก่ี ำลงั เคลือ่ นที่ลง น้ำหนักของต้นมคี ่า วัตถจุ ึงอยใู่ นสภาพสมดลุ เทา่ กับเท่าใด 3. ข้อใดตอ่ ไปนไี้ ม่ถกู ตอ้ ง 1. N⃑⃑ − mg⃑ = 0 2. N⃑⃑ − mg⃑ = m⃑a 1. แรงเสียดทานเปน็ ปริมาณเวกตอร์ 3. mg⃑ − N⃑⃑ = ma⃑ 4. N⃑⃑ = m⃑g 2. แรงเสียดทานมีทิศทางเดียวกบั การเคลือ่ นทเ่ี สมอ 5. N⃑⃑ = −m⃑g 3. รถยนตม์ กั ลื่นไถลบนถนนทมี่ นี ำ้ มนั หกรดถนน 9. แรงลัพธ์ที่กระทำให้วัตถุเคลื่อนที่นั้นจะมีขนาดของแรงมาก 4. แรงเสียดทานเกิดขึน้ เมือ่ วตั ถุ 2 ช้นิ สัมผัสกัน หรือน้อยขึ้นอยู่กับส่ิงใด 5. พ้ืนถนนเปยี กมแี รงเสยี ดทานนอ้ ยกว่าพ้ืนถนนแหง้ 1. มวลของวตั ถกุ ับความเร่งของวตั ถุ 4. ข้อใดไม่เกย่ี วข้องกบั แรงเสียดทานระหวา่ งล้อกับถนน 2. นำ้ หนักของวัตถุกบั ความเรว็ ของวัตถุ 1. พ้ืนท่หี นา้ ยาง 2. น้ำหนักของรถ 3. ปริมาตรของวัตถุ 3. ลักษณะพน้ื ผิวถนน 4. ลักษณะของดอกยาง 4. ความหนาแนน่ ของวัตถุกับความเรว็ ของวัตถุ 5. ไม่มขี อ้ ถกู 5. มวลของวัตถกุ บั ความเร็วของวตั ถุ 10. ในขณะที่ดึงมวลขึ้นในแนวดิ่ง สามารถหาค่าแรงดึงเชือกได้ 5. ข้อใดต่อไปนใี้ ห้ความหมายของแรงไดถ้ ูกตอ้ งทสี่ ุด 1. สภาพการเคล่อื นท่ีของวัตถุ จากสมการใด 2. ปริมาณที่มแี ต่ขนาด 1. ∑ F⃑ = 0 2. ∑ F⃑ = 1 3. ปริมาณทีท่ ำใหว้ ัตถรุ ักษาสภาพการเคล่อื นท่ี 4. ปริมาณเวกเตอร์ท่ีจะเปลย่ี นสภาพ 3. ∑ ⃑F = mg⃑ 4. ∑ F⃑ = m⃑a 5. ขอ้ 2. และ 4. ถูก 5. ∑ F⃑ = − ∑ ⃑F เฉลย 1. 2 2. 5 3. 2 4. 1 5. 4 6. 2 7. 1 8. 3 9. 1 10. 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 274 เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบฝกึ หัด เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน ข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา เปล่ียนปริมาณเป็นสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง 2 ชดั เจนทุกข้อ ขั้นท่ี 1 ทำความเขา้ ใจปญั หา เปลย่ี นปรมิ าณเปน็ สัญลักษณ์ไดถ้ ูกต้องไม่ 1 ครบถว้ น ขัน้ ท่ี 2 วางแผนแก้ปญั หา ไมต่ อบหรอื เปลี่ยนปริมาณเป็นสญั ลกั ษณ์ 0 ขั้นท่ี 3 ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ไม่ถูกตอ้ งเลย กำหนดสตู รทเ่ี ลอื กใชไ้ ด้ถกู ต้อง 1 ข้นั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบ กำหนดสูตรทีเ่ ลือกใช้ไมถ่ ูกต้อง 0 แทนคา่ ในสตู รและคิดคำนวณเปน็ ไป 2 ตามลำดบั ขัน้ ไดถ้ ูกต้อง แทนค่าในสูตรได้ถูกต้องแต่คิดคำนวณไม่ 1 เปน็ ไปตามลำดับขั้นท่ีถกู ต้อง ไม่ตอบ หรือแทนค่าในสูตรผิดและคดิ 0 คำนวณไม่เป็นไปตามลำดบั ข้ันทถี่ ูกต้องเลย คำตอบและหนว่ ยถูกต้องชดั เจน 2 คำตอบถกู ต้องแตห่ น่วยไมถ่ ูกตอ้ ง 1 ไม่ตอบ หรอื คำตอบและหนว่ ยไมถ่ ูกต้อง 0 เกณฑก์ ารประเมนิ /ระดบั คณุ ภาพของแบบฝกึ หัด ชว่ งคะแนน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8 – 10 ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ดี พอใช้ 6 – 7 รอ้ ยละ 60 – 79 ต้องปรับปรงุ 4 – 5 ร้อยละ 40 – 59 0 - 3 นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 เกณฑ์การผ่านของผู้เรียน ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คะแนน 6 - 10 คะแนน ระดับไมผ่ ่านเกณฑ์ ระดบั คะแนน 0 – 5 คะแนน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 275 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื   3 การทำงานตามหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย   4 ความมนี ำ้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 276 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ คำชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การ ความมี การมี รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรับฟัง ทำงาน นำ้ ใจ ส่วนรว่ ม 15 คดิ เห็น ตามที่ ในการ คะแนน คนอ่ืน ได้รับ ปรบั ปรุง มอบหมาย ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 277 แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้ กษัตริย์ 1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคปี รองดอง และเป็นประโยชน์ ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ปฏิบัติตามหลกั ศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมที่เก่ยี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ามที่โรงเรยี น จัดข้นึ 2. ซ่อื สตั ย์ สุจรติ 2.1 ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี ูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นสง่ิ ทถี่ กู ตอ้ ง 3. มีวนิ ัย รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครัว มี ความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัตกิ จิ กรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวัน 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 รจู้ กั ใช้เวลาว่างใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏิบตั ิได้ 4.2 รูจ้ กั จัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เชื่อฟงั คำสั่งสอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แยง้ 4.4 ต้ังใจเรียน 5. อย่อู ย่างพอเพียง 5.1 ใชท้ รัพยส์ นิ และส่ิงของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรียนอยา่ งประหยดั และรคู้ ณุ คา่ 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 6.1 มคี วามต้งั ใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพื่อให้งานสำเร็จ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ช่วยพอ่ แม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 รจู้ กั การดแู ลรักษาทรพั ยส์ มบัติและสง่ิ แวดลอ้ มของหอ้ งเรยี นและ โรงเรียน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัตชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน 51-60 ดีมาก พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและบ่อยครัง้ ให้ 2 คะแนน 41-50 ดี 30-40 พอใช้ พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครงั้ ให้ 1 คะแนน ตำ่ กวา่ 30 ปรบั ปรงุ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 278 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 4 เรอ่ื งการเคลื่อนทแี่ นวโค้ง แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 16 เรอื่ งการเคลือ่ นทแ่ี บบโพรเจกไทล์ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 รหัสวชิ า ว31201 ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 8 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ *********************************************************************************** ***************** 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ผลการเรยี นรู้ สาระฟสิ ิกส์ 1.เขา้ ใจธรรมชาติทางฟสิ กิ ส์ ปรมิ าณและกระบวนการวัด การเคลอ่ื นท่แี นวตรง แรงและกฎการเคลื่อนท่ี ของนวิ ตนั กฎความโนม้ ถ่วงสากล แรงเสยี ดทานสมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการอนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัม และกฎการอนุรักษโ์ มเมนตมั การเคล่อื นท่ีแนวโค้ง รวมท้งั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ และ ทดลองการเคล่ือนที่แบบโพรเจกไทล์ได้ 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความหมาย ลักษณะของการเคลอ่ื นท่ีแบบโพรเจกไทล์ได้ (K) 2. ปฏิบตั ิการทดลองหาแนวทางการเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจกไทลไ์ ด้ (P) 3. เขียนกราฟระหว่างแนวทางการเคลื่อนที่ในแนวระดับและแนวดงิ่ ของการเคล่ือนท่แี บบโพรเจกไทล์ได้ (P) 4. ใฝ่เรยี นรู้ ทำงานร่วมกับผอู้ ืน่ และมเี จตคติทางวิทยาศาสตร์ (A) 3. สาระการเรียนรู้ - การเคลื่อนที่แนวโค้งพาราโบลาภายใต้สนามโน้มถ่วง โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศเป็นการเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทล์ วัตถุมีการเปลี่ยนตำแหน่งในแนวดิ่งและแนวระดับพร้อมกัน และเป็นอิสระต่อกัน สำหรับการเคลื่อนที่ใน แนวดิง่ เปน็ การเคลื่อนท่ีทีม่ ีแรงโน้มถว่ งกระทำจงึ มีความเรว็ ไมค่ งตวั ปรมิ าณตา่ ง ๆ มคี วามสมั พนั ธ์ตามสมการ vy = uy + ayt ∆y = (uy+vy) t 2 1 ∆y = uyt + 2 ayt2 กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 279 vy2 = uy2 + 2ay∆y ส่วนการเคลือ่ นที่ในแนวระดับไมม่ แี รงกระทำจึงมีความเร็วคงตัว ตำแหน่ง ความเรว็ และเวลา มีความสัมพนั ธ์ ตามสมการ ∆x = uxt 4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ เป็นการเคลื่อนที่เป็นแนววิถีโค้งภายใต้แรงเนื่องจากสนามโน้มถ่วงของ โลก ที่วัตถุเคลื่อนที่ในสองแนวพร้อม ๆ กัน คือการเคลื่อนที่ในแนวระดับและแนวดิ่ง แรงที่กระทำต่อวัตถุมี ทิศทางคงตัวตลอดเวลา โดยทำมมุ ใด ๆ กับทิศของความเรว็ 5. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5E (5E Instructional Model) ร่วมกับ เทคนคิ การแก้โจทย์ปญั หาของโพลยา ชว่ั โมงที่ 1 ขน้ั นำ กระต้นุ ความสนใจ (Engage) 1. ครูตรวจสอบความพร้อมของนักเรียน โดยให้ทำแบบทดสอบก่อนเรียนจำนวน 10 ข้อ แล้วแจ้ง จดุ ประสงค์การเรยี นร้ใู หน้ กั เรยี นทราบ กอ่ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 2. ครกู ระตุน้ ความสนใจของนักเรยี นโดยพูดคุยสนทนาประสบการณเ์ กี่ยวกบั การเคล่ือนทขี่ องวัตถุต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ทั้งที่เป็นไปโดยธรรมชาติ และที่มนุษย์ทำให้เกิดขึ้น เช่น ใบไม้ไหว ลูกบาสบอลท่ี กำลังลอยเข้าห่วง สายน้ำที่พุ่งออกจากหัวฉีด รถเลี้ยวโค้งในถนนโค้ง การหมุนของพัดลม ล้อรถกำลัง หมนุ การเคล่อื นท่ขี องดาวเทียม เปน็ ตน้ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 280 2. ครถู ามคำถามกระตุ้นนักเรียนจากภาพหน้าหน่วย โดยถามคำถาม BIG QUESTION จากหนังสือเรียน ว่า การยิงธนูไปยังเป้า เป็นการลักษณะการเคลื่อนที่แบบใด (เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความ คิดเห็นโดยไม่เน้นถูกผิด) (แนวตอบ : เป็นลกั ษณะการเคลือ่ นทีเ่ ปน็ แนวโค้ง หรอื เปน็ การเคลอื่ นท่แี บบโพรเจกไทล)์ 3. นกั เรยี นช่วยกนั อภิปรายและแสดงความคิดเหน็ คำตอบจากคำถาม เพือ่ เชอ่ื มโยงไปสู่การจัดการเรียนรู้ เรื่องการเคล่อื นท่แี บบโพรเจกไทล์ ชว่ั โมงท่ี 2 ข้นั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูถามคำถาม Prior Knowledge ว่า ลักษณะการเคลื่อนที่ของลูกบาสเกตบอลที่ถูกโยนลงห่วงเป็น อยา่ งไร โดยครูให้นกั เรยี นดูภาพการเคลอ่ื นทข่ี องลกู บาสเกตบอล ในหนงั สอื เรยี น (แนวตอบ : การเคลอ่ื นท่ีของวตั ถใุ นลกั ษณะเป็นแนวโค้ง หรือแบบโพรเจกไทล์) 2. ครูถามนักเรยี นด้วยคำถามต่อไปนี้ - เหตุใดเม่ือโยนลูกบาสเกตบอลออกไปแลว้ ลูกจึงโคง้ ตกลงมาเสมอ (แนวตอบ : มแี นวโน้มถว่ งของโลกกระทำ) - วัตถทุ มี่ ลี ักษณะการเคล่ือนที่เชน่ เดยี วกับลูกบาสเกตบอลมีอะไรอีกบ้าง (แนวตอบ : การรดนำ้ ต้นไม้ การโยนวตั ถใุ นแนวโค้ง และการเลน่ กีฬาหลายชนดิ เช่น วอลเลยบ์ อล ฟตุ บอล เทนนิส แชรบ์ อล ฯลฯ) 3. ครูตรวจสอบความรู้พื้นฐานเดิมของนักเรียน โดยให้ทำแบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง ทบทวนความรู้พื้นฐาน เกยี่ วกบั การเคล่อื นที่ 4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน เพื่อเป็นการทบทวนความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนท่ี แล้วจัดกิจกรรมการเรยี นตอ่ ไป อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ โดยชี้ให้เห็นว่า การเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทล์ คือ การเคลื่อนที่ของวัตถุในลักษณะเป็นแนวโค้งพาราโบลาตัวอย่าง เช่น การ เคลื่อนท่ีของลูกธนู การเคล่ือนที่ของลูกบาสเกตบอล เป็นต้น โดยเป็นการเคลื่อนที่ในลักษณะ 2 มิติ คือเคลื่อนที่ในแนวระดับและแนวด่ิงพร้อมกันและในเวลาที่เท่ากัน โดยการเคล่ือนที่ในแนวด่ิง เป็นการเคล่ือนที่ท่ีมีความเร่งเน่ืองจากแรงโน้มถ่วงของโลก ในขณะที่การเคล่ือนท่ีในแนวระดับไม่ มีความเร่ง 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สอบถามในส่วนที่มีข้อสงสัยเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ใน เบอื้ งต้น กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 281 ขั้นสรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูนำนักเรียนอภปิ รายและสรุปเกยี่ วกบั การเคลือ่ นที่แบบโพรเจกไทล์ ดงั นี้ • การเคลอื่ นทแ่ี บบโพรเจกไทล์ คอื การเคลอ่ื นทข่ี องวตั ถทุ เ่ี ป็นแนวโคง้ พาราโบลา • การเคลื่อนที่สองแนวตั้งฉากกันและเกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน ได้แก่ การเคลื่อนที่ในแนว ระดับ และการเคลอ่ื นที่ในแนวดง่ิ • กิจกรรมหลายอย่างที่เห็นในชีวิตประจำวัน เช่น การโยนผลไม้ของชาวสวน การโยนและรับถัง ปูนของช่างก่อสร้าง และการเล่นกีฬาหลายชนิด เช่น วอลเลย์บอล ฟุตบอล เทนนิส แชร์บอล หรือกจิ กรรมท่ีตอ้ งมีการโยนหรอื ขว้างวตั ถุ 2. ครเู ปดิ โอกาสให้นกั เรยี นสอบถามเน้ือหาเร่ือง การเคล่อื นทแี่ บบโพรเจกไทล์ ว่ามีสว่ นไหนท่ียังไม่เข้าใจ และให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น เพื่อเป็นความรู้นำไปสู่การศึกษาเกี่ยวกับเงื่อนไงของการเคลื่อนท่ี แบบโพรเจกไทล์ 3. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยคำถามจากหนังสอื เรยี นและทำแบบฝกึ หัด เร่ือง การเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจก ไทล์ ช่ัวโมงที่ 3 ขน้ั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนความรูเ้ กีย่ วกับลกั ษณะของการเคลอื่ นที่แบบโพรเจกไทล์ 2. ครูให้นักเรียนพิจารณาภาพแสดงลูกบอลที่ตกในแนวระดับและในแนวดิ่ง ตามรายละเอียดในหนังสือ เรยี น 3. ครูตง้ั คำถาม ดงั ตอ่ ไปนี้ • การเคลอ่ื นท่ขี องลูกบอลในแนวระดับและในแนวด่งิ มปี รมิ าณใดใช้รว่ มกนั (เวลา) • การกระจัดในแนวระดับและในแนวด่ิง แตกต่างกันหรือไมอ่ ย่างไร (ลกู บอลที่ปล่อยในแนวดิ่งจะ มีการกระจัดในแนวดิ่งเพียงแนวเดียว ลูกบอลที่ถูกขว้างออกไปจะมีการกระจัดทั้งในแนวด่ิง และแนวระดับ) • ลกู บอลทง้ั สองกรณี ถา้ ไม่คำนงึ ถึงแรงต้านอากาศจะมีความเร่งในแนวดง่ิ เท่ากันหรือไม่ อย่างไร (ลูกบอลท้งั สอง มคี วามเรง่ ในแนวดงิ่ เท่ากนั นนั่ คือ ������) 4. แจ้งให้นกั เรยี นทราบว่า จะไดศ้ กึ ษาเกย่ี วกับเงอ่ื นไงของการเคลอ่ื นที่แบบโพรเจกไทล์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 282 ข้นั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนสืบค้นขอ้ มูลเพื่อหาคำตอบจากรายละเอียดในหนังสือเรียน เพื่อสรุปเป็นความ เข้าใจของตนเอง 2. ครูชี้ในนักเรยี นเห็นว่า การศึกษาปริมาณตา่ ง ๆ ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ โดยการปล่อยวตั ถุ ใหต้ กอย่างอสิ ระพร้อมกบั การขว้างวตั ถอุ อกไปในแนวระดับจากจุดเดยี วกัน ซึง่ อยสู่ ูงจากพนื้ ระยะหนึ่ง แล้วบันทึกภาพอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่เริ่มเคลื่อนที่ ดังภาพประกอบลูกบอลสีแดงและสีเหลือง หน้า 148 3. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายและสรปุ เกย่ี วกับการเคล่อื นที่ของลูกบอล อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูอธิบายเปรียบเทียบการเคล่ือนที่ของลูกบอลท้ังสองกรณี ดังน้ี • ลกู บอลทั้งสองมกี ารกระจัดในแนวด่ิงเทา่ กัน เพราะตกถึงพนื้ พรอ้ มกัน ในช่วงเวลาเดียวกัน • ลูกบอลที่ปล่อยในแนวด่ิงจะมีการกระจัดในแนวดิ่งเพียงแนวเดยี ว ลูกบอลที่ถูกขว้างออกไปจะ มีการกระจดั ท้ังในแนวดงิ่ และแนวระดับ • ลูกบอลทง้ั สอง มคี วามเรง่ ในแนวด่ิงเทา่ กนั นนั่ คือ ������ • ลกู บอลทต่ี กในแนวดิ่งเคล่ือนท่ีเปน็ เส้นตรง ลูกบอลทถ่ี ูกขวา้ งเคล่ือนท่ีเป็นแนวโค้งในระนาบดิ่ง แบบพาราโบลา เรียกว่า การเคล่ือนที่แบบโพรเจกไทล์ 2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเน้ือหาเร่ือง เงื่อนไงของการเคล่ือนที่แบบโพรเจกไทล์ ว่ามีส่วนไหน ที่ยังไม่เข้าใจและใหค้ วามรู้เพิม่ เติมในส่วนนั้น เพื่อเป็นความรู้นำไปสูก่ ารศึกษาเกีย่ วกับความแตกต่าง ของการเคล่ือนทใ่ี นแนวระดับและแนวด่ิงของการเคลอื่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ ข้นั สรปุ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูให้นักเรยี นศกึ ษาความรูเ้ พิ่มเติมจากกรอบ Physics Focus เรอื่ ง พาราโบลา 2. ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามเน้ือหาเร่ือง ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและให้ความรู้เพ่ิมเติมในสว่ น นน้ั 3. ครูให้นักเรียนตอบคำถามจาก Unit Question 4 และทำแบบฝึกหัด เรื่อง เงื่อนไงของการเคลื่อนที่ แบบโพรเจกไทล์ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 283 ชั่วโมงที่ 4 ขั้นนำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนเกย่ี วกบั เง่ือนไงของการเคลื่อนทแี่ บบโพรเจกไทล์ 2. ครูเน้นใหน้ ักเรียนทราบวา่ การเคลื่อนทีแ่ บบโพรเจกไทล์ เป็นการเคล่ือนที่แนวพร้อมกันในแนวระดบั และแนวดิ่ง โดยการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเป็นการเคลื่อนที่ที่มีความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ในขณะที่การเคล่ือนทีใ่ นแนวระดบั ไม่มคี วามเร่ง 3. ครูถามคำถามกระตุ้นกับนักเรียนว่า การเคลื่อนที่ในแนวระดับและในแนวดิ่งของการเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทล์ มคี วามแตกต่างกันอยา่ งไร (แนวตอบ : การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์มีความเร็วเริ่มต้นในแนวระดับไม่เป็นศูนย์ และ ความเรว็ ต้นในแนวดง่ิ เป็นศูนย)์ 4. แจ้งให้นักเรียนทราบว่า จะได้ศึกษาเกี่ยวกับความแตกต่างกันของการเคลื่อนที่ในแนวระดับและใน แนวดิง่ ของการเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ ขนั้ สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้ศึกษาเกี่ยวกับความแตกต่างของการเคลื่อนที่ในแนวระดับและในแนวดิ่งของการเคลื่อนที่แบบ โพรเจกไทล์ 2. ครูถามคำถามกับนักเรียนวา่ เมื่อวัตถุเคล่ือนที่ขึ้นถึงจุดบนสุดของแนววธิ ี ความเร็วของวัตถุทั้งในแนว ระดบั และแนวดิง่ จะเป็นอย่างไร (แนวตอบ : วัตถเุ คล่อื นท่ีขึ้นจุดสงู สุดของการเคลื่อนที่ ความเรว็ ของวตั ถจุ ะเทา่ กับความเร็วของ แนวระดบั เพราะของแนวดง่ิ เท่ากบั ศูนย)์ 3. นกั เรียนรว่ มกันสืบค้นข้อมูล จากหนังสอื เรยี น อินเตอรเ์ น็ต หรือจากแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ เชน่ ห้องสมดุ อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสุ่มนักเรียนให้ออกมาอภิปรายร่วมกับครูเกี่ยวกับความแตกต่างของการเคลื่อนที่ในแนวระดับและ ในแนวด่ิงของการเคลอื่ นที่แบบโพรเจกไทล์ 2. ครูอธบิ ายเพิ่มเตมิ ดังน้ี • กรณีการเคลื่อนที่ในแนวระดับ วัตถุเคลื่อนที่อยู่ในอากาศจะมีแรงดึงดูดของโลก mg กระทำ เพียงแรงเดียวเทา่ น้ันโดยในแนวระดบั แรงกระทำต่อวัตถุมคี ่าเป็นศนู ย์ (∑Fx = 0) ซึ่งจากกฎ ขอ้ ทีส่ องของนวิ ตัน เมื่อ ∑Fx = 0 จะไดก้ ารกระจัดในแนวระดับเป็น ∆x = uxt กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 284 • กรณีการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง วัตถุเคลื่อนที่อยู่ในอากาศจะมีแรงดึงดูดของโลก mg กระทำ เพียงแรงเดียว ความเร่งของวัตถุในแนวดิ่ง คือ ความเร่งโน้มถ่วง โดยนักเรียนสามารถหา ความเร็วในแนวดงิ่ และการกระจัดในแนวดิง่ ได้จากสมการ ดงั น้ี vy = uy + ayt (uy + vy) ∆y = 2 t ∆y = uyt + 1 ayt2 2 vy2 = u2y + 2ay∆y • เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปในอากาศ ความเร็วในแนวดิ่งจะมีขนาดลดลง ซึ่งจะขนาดความเร็ว ลพั ธไ์ ด้จากสมการ v = √vx2 + vy2 3. ครยู กตวั อย่าง จากหนงั สอื เรยี น เพื่อเสริมความเขา้ ในการใชส้ มการทใ่ี ชค้ ำนวณทเ่ี รยี นมา 4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง การเคลื่อนที่ในแนวระดับและในแนวดิ่งของการ เคลอื่ นที่แบบโพรเจกไทล์ วา่ มสี ว่ นไหนทย่ี ังไมเ่ ข้าใจและใหค้ วามรู้เพ่มิ เตมิ ในส่วนนนั้ 5. ครูใหน้ ักเรยี นตอบคำถามจาก Unit Question 4 ขน้ั สรุป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูนำอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวระดับและในแนวด่ิงของการเคลื่อนท่ีแบบโพรเจก ไทล์ โดยอภิปรายร่วมกบั นกั เรยี น ดังนี้ • การเคลอ่ื นที่ในแนวระดบั ความเร็วคงตวั ความเร่งเทา่ กับศูนย์ • การเคลื่อนที่ในแนวดง่ิ ความเรว็ ไมค่ งตวั ความเรง่ คงตวั เท่ากบั g • ที่จุดสูงสุดของการเคลื่อนท่ี อัตราเร็วหรือความเร็ว จะเท่ากับอัตราเร็วหรือความเร็วของแนว ระดบั เพราะของแนวดิ่งเท่ากับศนู ย์ 2. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยคำถามจาก Unit Question 4 ช่ัวโมงท่ี 5 ข้ันนำ กระตุน้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับเรื่อง สมการการเคลื่อนที่ในแนวระดับและในแนวดิ่งของการเคลื่อนที่ แบบโพรเจกไทล์ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 285 2. ครูนำเขา้ สบู่ ทเรยี น โดยครูถามคำถาม ดังน้ี • นักเรียนสามารถคำนวณระยะทางสูงสดุ ท่วี ัตถุข้นึ ไปไดต้ ามแนวระนาบได้อย่างไร • นักเรียนสามารถคำนวณระยะทางที่วัตถุเคล่ือนที่ได้ในแนวระดับจากจุดเริ่มต้นถึงจุดสุดท้าย ของวัตถไุ ดอ้ ย่างไร 3. ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่า จะได้ศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์ที่มีแนววิถีเป็นแบบ พาราโบลาคว่ำ ขนั้ สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน เพื่อให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวการนำวิธีการทาง คณิตศาสตร์มาพสิ ูจนใ์ หเ้ ห็นว่า การเคลอ่ื นทแ่ี บบโพรเจกไทล์มแี นววธิ เี ป็นรปู พาราโบลาคว่ำ 2. ครแู นะนำให้นักเรียนเริ่มต้นจากสมการ ∆x = uxt และ ∆y = uyt + 1 ayt2 จนสามารถ 2 ได้สมการ H = uy2 = u2sin2θ0 เพือ่ ให้นักเรียนได้มีโอกาสฝกึ คดิ โดยใชว้ ธิ ีการทางคณติ ศาสตร์ 2g 2g 3. ครูให้นักเรียนแต่กลุ่มศึกษารายละเอียดการพิสูจน์สมการการเคลื่อนที่จากหนังสือเรียน หน้า 153- 154 หรอื จากแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ เช่น อนิ เตอร์เน็ต ห้องสมุด เป็นตน้ 4. นกั เรยี นนำข้อมูลทไี่ ด้จากการสืบค้นมาวเิ คราะห์และเรียบเรยี งเน้อื หาเพ่อื ใชส้ ำหรับการนำเสนอโดย แลกเปลยี่ นความคิดเห็นกนั ภายในกล่มุ จากนัน้ อธบิ ายซักถามกนั ภายในกลุ่มจนเข้าใจตรงกนั (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสงั เกตการณท์ ำงานกลุ่ม) 5. นกั เรยี นนำขอ้ มูลเกี่ยวกับการพิสูจน์สมการ มาวเิ คราะห์และนำเสนอหน้าช้ันเรยี น อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครสู ุ่มตัวแทนนักเรยี นจากกลุ่มต่าง ๆ ประมาณ 1-2 กลุม่ จากนัน้ รว่ มกันอภิปรายสรุปจนเป็นที่เข้าใจ ตรงกัน 2. ครนู ำนักเรียนอภปิ รายและสรุปเกยี่ วกบั การพสิ จู น์สมการสำหรบั การหาความสงู ทขี่ ้นึ ไปไดส้ งู สุด 3. ครูให้ความรู้เพิม่ เติมเกย่ี วกับการพสิ จู น์สมการ ดงั นี้ ที่ตำแหน่งสูงสุดความเร็วตามแนวดิ่งจะเป็นศูนย์ แต่ความเร็วของวัตถุไม่จำเป็นต้องเป็นศูนย์ เพราะมีความเรว็ ตามแนวนอน vx = u cos θ วัตถมุ คี วามเร็วในแนวดงิ่ ลดลงจาก u sin θ เป็นศูนย์ท่ี จุดสูงสดุ ด้วยอัตรา g จะได้เวลาทีใ่ ชข้ น้ึ ไปจนถงึ ตำแหน่งสงู สดุ คอื u sin θ g กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 286 จากสมการของการกระจัดในแนวราบและแนวดิ่ง จะได้ว่าในช่วงเวลานี้ วัตถุมีการกระจัดตาม แนวดิ่งเท่ากับ 1 (u sin θ + 0) (u sin θ) = u2sin2θ ซึ่งจะเป็นระยะทางสูงสูงใน 2 g 2g แนวด่ิง 4. ครูถามนักเรียนต่อว่า นักเรียนสามารถหาระยะทางท่ีวัตถุเคลื่อนที่ไปได้ตามแนวระดับได้อย่างไร (ท้ิง ช่วงใหน้ ักเรยี นคดิ ) 5. ครูอธิบายว่า เมื่อวัตถุตกกลับลงมาที่ความสูงเดิมตอนต้น การกระจัดตามแนวดิ่งมีค่าเป็นศูนย์ ดังน้ัน ถา้ ∆t เป็นเวลาทั้งหมดที่วตั ถุเคลือ่ นท่ีตั้งแตเ่ ร่มิ ตน้ จนกลบั มาที่สงู เดมิ จะได้ ∆y = uy∆t + 1 ay∆t2 2 ดงั นั้น 0 = u sin θ ∆t + 1 (−g)∆t2 หรอื ∆t = 2u sin θ 2g 6. ครูช้ีใหน้ ักเรยี นเหน็ ว่า เวลาทเ่ี คลื่อนทขี่ นึ้ ไปแลว้ กลับมาท่คี วามสงู เดมิ เปน็ สองเทา่ ของเวลาทว่ี ัตถุข้ึนไป ถงึ จุดสงู สุด ดังนั้น เวลาลงจากจุดสงู สุดกลบั มาที่พน้ื นานเท่ากบั เวลาขึ้นไปถึงจดุ สูงสุด ในระหว่างเวลา ∆t = 2u sin θ วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วตามแนวนอนคงตัว u cos θ จะได้ระยะตามแนวนอน g ที่เคลอื่ นทไ่ี ปไดเ้ ท่ากับ u cos θ × ∆t = 2u2 sin θ cos θ = u2 sin 2θ gg ข้ันสรุป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูอธิบายความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งในแนวดิ่งและแนวระดับ ของวัตถุท่ที ำมุม θ ตา่ ง ๆ กบั แนวระดับ 2. จากนั้นครูให้นักเรียนศึกษาตัวอย่างการคำนวณจากโจทย์ปัญหา พร้อมทั้งให้นักเรียนฝึกแก้โจทย์ ปัญหาในหนังสือเรียน ตามขัน้ ตอนการแกโ้ จทยป์ ญั หา ดังน้ี • ขั้นที่ 1 ครูใหน้ กั เรียนทุกคนทำความเขา้ ใจโจทย์ตวั อยา่ ง • ขนั้ ท่ี 2 ครูถามนักเรยี นว่า ส่ิงทโ่ี จทยต์ อ้ งการถามหาคืออะไร และจะหาสง่ิ ที่โจทยต์ ้องการ ต้อง ทำอย่างไร • ขั้นท่ี 3 ครูให้นกั เรียนดูวธิ ีทำในการคำนวณหาคำตอบ • ขน้ั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทยต์ วั อยา่ งว่าถูกต้อง หรือไม่ 3. ครูและนักเรียนรว่ มกันเฉลยคำถามจาก Unit Question 4 กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 287 ชวั่ โมงที่ 6 ขั้นนำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครทู บทวนเก่ยี วกับการเคลอื่ นท่แี บบโพรเจกไทล์ ดงั น้ี • การเคลื่อนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ มแี นวโค้งเปน็ รูปพาราโบลา • การเคลอื่ นที่แบบโพรเจกไทล์ มีการเคลือ่ นทที่ ้ังในแนวดิ่ง และแนวระดับพร้อม ๆ กนั 2. ครถู ามคำถามก่อนทำกิจกรรมการทดลอง เพอ่ื เป็นการกระตุ้นนกั เรยี น ดงั น้ี • การเคลื่อนท่แี บบโพรเจกไทล์มลี ักษณะการเคล่ือนทเ่ี ป็นอย่างไร • ความสมั พันธข์ องปรมิ าณการเคลื่อนท่ีในแนวดิ่งและแนวระดับสัมพันธก์ ันหรือไม่ อย่างไร ชั่วโมงท่ี 7 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครใู ห้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ซึง่ ครูอาจใชเ้ ทคนิคการแบ่งกลุ่มผลสมั ฤทธ์ิ (STAD) คอื การจดั กิจกรรมการ เรียนรทู้ ีม่ สี มาชิกกลมุ่ 4–5 คน มรี ะดบั สติปญั ญาแตกต่างกัน คอื เกง่ 1 คน: ปานกลาง 2–3 คน: ออ่ น 1 คน พร้อมทั้งเลือกประธานกลุ่ม รองประธานกลมุ่ เลขานุการกลมุ่ และสมาชกิ กลุ่ม โดยมีหน้าท่ี ดงั น้ี - ประธานกลุ่ม มีหนา้ ท่ีควบคุมการทำกจิ กรรมการทดลอง - รองประธานกลุ่ม มีหนา้ ท่ี วางแผนในการทำกจิ กรรมทดลอง - เลขานกุ ารกลมุ่ มีหนา้ ที่ อำนวยความสะดวกในการทำกิจกรรมการทดลอง - สมาชิกกลุ่ม มีหน้าท่ี นำเสนอผลการทำกจิ กรรม - สมาชกิ กลมุ่ มีหนา้ ท่ี รวบรวมองคค์ วามร้แู ละผลงานกลุ่ม 2. ครูชแ้ี จงจุดประสงค์การทดลองใหน้ ักเรียนทราบ ดงั น้ี • เพื่อศึกษาลักษณะการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ • เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ระหวา่ งการกระจัดในแนวระดบั และการกระจัดแนวดิ่ง 3. ครูให้สมาชิกภายในกลมุ่ เปดิ การระดมความคิดระบุปัญหาของกิจกรรมการทดลอง ให้หน้าท่ปี ระธาน เปดิ การระดมความคดิ ระบุปัญหาของกิจกรรมตอนที่ 1 พร้อมต้งั สมมตฐิ านและกำหนดตัวแปรให้ ชดั เจน และใหเ้ ลขานุการกล่มุ จดั การความรรู้ วบรวมแล้วบันทึกผล 4. ครูให้ความรู้ที่จำเป็นต่อการทดลอง จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำการทดลองตามขั้นตอนและ รายละเอียดในในหนงั สอื เรียน (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตการณท์ ำงานกลุม่ ) กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 288 5. ครูอาจถามกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนได้คดิ ดว้ ยตัวอย่างคำถามตอ่ ไปน้ี • เหตใุ ดจึงต้องปลอ่ ยลูกโลหะกลมจากตำแหน่งเดียวกนั ทกุ ครัง้ ที่ทำการทดลอง • ขณะทดลองแผ่นเป้าควรอย่กู ับทหี่ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด • แนวการเคลื่อนที่ของลูกโลหะกลมจากกระดาษกราฟบนแป้นไม้หรือเมื่อนำค่าการกระจัดใน แนวระดับและการกระจัดในแนวดิ่งมาเขียนกราฟจะมีลักษณะใด 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์สรุปผลการทดลอง ครูและนักเรียนร่วมอภิปรายการทดลองตามแนว คำถามท้ายการทดลอง และสรุปผลการเรียนรู้จากการทดลอง อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้สมาชกิ แตล่ ะกลุม่ ออกมานำเสนอผลการทดลอง และสรุปร่วมกนั 2. ครูและนักเรียนจะสรุปผลการทดลองร่วมกันว่า การเคลื่อนที่ของลูกโลหะกลมที่เคลื่อนที่ในแนวโค้ง แบบโพรเจกไทล์ มแี นวการเคลอื่ นทเ่ี ปน็ เส้นโคง้ พาราโบลา โดยลกู โลหะกลมจะมที งั้ การกระจัดในแนว ระดบั และแนวดิ่งพร้อมกัน ชวั่ โมงที่ 8 ข้ันสรปุ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ใน ชวี ิตประจำวัน เชน่ ด้านการกฬี า การท่มุ นา้ หนกั การพ่งุ แหลน การชทู ลกู บาสเกตบอล เปน็ ต้น 2. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ โดยใช้สื่อ power point และสื่อ animation 3. ครใู หน้ ักเรยี นสรปุ เป็นแผนผงั มโนทัศน์ (Concept Mapping) เรื่อง การเคลอื่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ 4. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันเฉลยคำถามจาก Unit Question 4 เร่อื ง การเคลอื่ นทแ่ี บบโพรเจกไทล์ 5. ครูให้นักเรียนตั้งคำถามที่นักเรียนอยากรู้เพิ่มเติม หรือร่วมกันสรุปเชื่อมโยงความคิดเกี่ยวกับการ เคล่ือนท่ีแบบโพรเจคไทล์ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจสอบผลการทำแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ครปู ระเมินผล โดยการสังเกตการตอบคำถาม การรว่ มกนั ทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 3. ครสู ังเกตความสนใจ ความกระตือรือรน้ ในการเรียนรู้ของนักเรยี น 4. ครตู รวจแบบฝึกหดั ท่ี 1 เรือ่ ง ทบทวนความรพู้ น้ื ฐานเก่ยี วกับการเคลื่อนท่ี กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 289 4. ครูตรวจแบบฝกึ หัดท่ี 2 เรอ่ื ง การเคล่ือนที่แบบโพรเจกไทล์ 5. ครตู รวจการทำแบบฝึกหดั จาก Unit Question 4 เร่ือง การเคล่ือนทแ่ี บบโพรเจกไทล์ 6. ครตู รวจแบบฝึกหดั เร่ือง การเคลือ่ นทแี่ บบโพรเจกไทล์ 7. ครปู ระเมินผลงานจากแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ทนี่ กั เรยี นได้สร้างขนึ้ จากขน้ั ขยาย ความเข้าใจของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล 8. การวดั และประเมินผล วิธวี ดั เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวดั รอ้ ยละ 70 ผา่ นเกณฑ์ -แบบทดสอบกอ่ นเรยี น -แบบทดสอบก่อนเรยี น ดา้ นความรู้ -สังเกตพฤติกรรมระหวา่ ง -แบบฝึกหดั 1.อธิบายความหมาย ลักษณะ กิจกรรมการเรยี น ของการเคลื่อนทแี่ บบโพรเจก รายบุคคล ไทลไ์ ด้ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ -สงั เกต ประเมินจาก ระดับคุณภาพ 2 1.ปฏิบตั ิการทดลองหาแนว กิจกรรมระหวา่ งเรยี น -แบบประเมนิ ดา้ นทกั ษะ/ ผ่านเกณฑ์ ทางการเคลื่อนที่แบบโพรเจก รายบคุ คลและกลุ่ม กระบวนการ ไทลไ์ ด้ (P) ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ 2 1.มีวนิ ัย การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ 2.ใฝเ่ รียนรู้ 3.ม่งุ มน่ั ในการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 4.มคี วามซอ่ื สัตย์ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์ ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของ ผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการ แกป้ ัญหา กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 290 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี น รายวิชาเพมิ่ เตมิ ฟิสิกส์ ม.4 เลม่ 1 2) แบบฝกึ หดั ที่ 1 เรอื่ ง ทบทวนความรพู้ ้ืนฐานเกยี่ วกบั การเคล่อื นที่ 3) แบบฝึกหดั ที่ 2 เรือ่ ง การเคลือ่ นทแี่ บบโพรเจกไทล์ 3) PowerPoint เร่ือง การเคล่อื นที่แบบโพรเจกไทล์ 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) ห้องเรยี น 2) ห้องสมุด 3) แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ 10. กิจกรรมเสนอแนะ/งานทม่ี อบหมาย ............................................................................................................................. .................................................... ..................................................................................................................................................................... ............ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 291 แบบฝึกหัดที่ 1 เรอื่ ง ทบทวนความรู้พน้ื ฐานเกี่ยวกบั การเคล่อื นท่ี คำชแ้ี จง : ให้นกั เรยี นเตมิ คำลงในชอ่ งว่างให้ถกู ตอ้ งสมบูรณ์ 1. ให้นักเรยี นเติมคำลงในชอ่ งว่างใหถ้ กู ต้อง 1. ระยะทาง คือ ............................................................................................................... ใช้สัญลักษณ์ ............ เปน็ ปรมิ าณ ........................................หน่วยเอสไอ คอื ................... 2. การกระจดั คือ............................................................................................................... ใชส้ ญั ลักษณ์ ............ เป็นปรมิ าณ ........................................หนว่ ยเอสไอ คือ ................... 3. อตั ราเรว็ คอื ............................................................................................................... ใช้สัญลักษณ์ ............ เปน็ ปรมิ าณ ........................................หนว่ ยเอสไอ คอื ................... 4. ความเรว็ คอื ............................................................................................................... ใช้สญั ลกั ษณ์ ............ เปน็ ปรมิ าณ ........................................หน่วยเอสไอ คอื ................... 5. อตั ราเรง่ คือ ............................................................................................................... ใช้สัญลักษณ์ ............ เปน็ ปรมิ าณ ........................................หนว่ ยเอสไอ คือ ................... 6. ความเรง่ คอื ............................................................................................................... ใชส้ ญั ลักษณ์ ............ เปน็ ปรมิ าณ ........................................หน่วยเอสไอ คือ ................... 2. ให้นักเรยี นเตมิ ตวั แปรในช่องวา่ งให้สมบูรณ์ ความเรว็ คงท่ี ความเร่งคงท่ี การเคลอ่ื นที่แนวระดบั (a คงท่)ี การเคล่ือนทแี่ นวด่งิ (a = g) v = u + ___ vy = uy + ___ x 1 1 u = ___ x = ___ + 2 ___ ∆y = ___ + 2 ___ v2 = ___ + 2a___ v2y = ___ + 2ay___ u + ___ x = [ 2 ] ___ ∆y = [uy + ___ ___ 2 ] กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 292 เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ 1 เรอ่ื ง ทบทวนความรู้พนื้ ฐานเกย่ี วกับการเคลือ่ นที่ คำชี้แจง : ใหน้ กั เรียนเตมิ คำลงในชอ่ งวา่ งให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. ระยะทาง คือ ความยาวตามเสน้ ทางทีว่ ัตถุเคล่ือนท่ีไป ใช้สัญลักษณ์ ������ เปน็ ปริมาณ สเกลาร์ มีหน่วยเปน็ เมตร 2. การกระจัด คือ ความยาวของเสน้ ตรงท่ลี ากระหวา่ งจุดเร่มิ ต้นและจดุ สดุ ท้าย ใชส้ ญั ลักษณ์ ������ เปน็ ปรมิ าณ เวกเตอร์ มีหนว่ ยเปน็ เมตร 3. อัตราเร็ว คือ ระยะทางท่ีเคลื่อนท่ีได้ในหน่ึงหน่วยเวลา ใช้สัญลกั ษณ์ v เป็นปรมิ าณ สเกลาร์ มหี น่วยเปน็ เมตร/วินาที 4. ความเรว็ คอื ระยะกระจัดทเ่ี ปลย่ี นไปในหนง่ึ หน่วยเวลา ใชส้ ญั ลักษณ์ ⃑v เปน็ ปรมิ าณ เวกเตอร์ มีหนว่ ยเปน็ เมตร/วนิ าที 5. อตั ราเรง่ คือ อัตราเร็วทเ่ี ปลีย่ นไปในหน่ึงหนว่ ยเวลา ใช้สญั ลักษณ์ a เปน็ ปรมิ าณ สเกลาร์ มีหนว่ ยเป็น เมตร/วนิ าที2 6. ความเรง่ คือ ความเรว็ ท่ีเปล่ียนไปในหน่ึงหนว่ ยเวลา ใชส้ ญั ลักษณ์ a⃑ เปน็ ปริมาณ เวกเตอร์ มหี นว่ ยเป็น เมตร/วินาที2 2. ให้นกั เรยี นเตมิ ตวั แปรในช่องว่างให้สมบรู ณ์ ความเร็วคงตัว ความเร่งคงตวั การเคลอ่ื นท่ีแนวระดับ (a คงตัว) การเคล่ือนทีแ่ นวดิง่ (a = g) vx = ux + at v������ = u������ + gt ∆x ∆x = uxt + 1 at2 ∆y = u������t + 1 gt2 ux = t 2 2 v2 = u2x + 2a∆x v2������ = u2������ + 2g∆y ∆x = [ux + vx] t ∆y = [u������ + v������ ] t 2 2 กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 293 แบบฝึกหัดท่ี 2 เรอ่ื ง การเคลื่อนท่ีแบบโพรเจกไทล์ คำชแ้ี จง : จงแสดงวิธีทำอย่างละเอียด 1. กอ้ นหินก้อนหนง่ึ ถูกขวา้ งออกจากหนา้ ผาในแนวระดับดว้ ยความเร็วตน้ 10 เมตร/วนิ าที ก้อนหนิ ตกถึง พน้ื ดนิ ในเวลา 8 วนิ าที ก้อนหินจะตกหา่ งจากจดุ ขวา้ งในแนวระดับเท่าใด 2. ลกู บอลลูกหนึ่งกลง้ิ ลงมาจากโต๊ะซ่ึงสูง 1.25 เมตร ถา้ ลกู บอลตกกระทบพน้ื ตรงจุดทีห่ า่ งจากขอบโต๊ะ ตาม แนวระดับ 4.0 เมตร ความเร็วของลูกบอลขณะหลุดจากขอบโต๊ะมีคา่ เท่าใด 3. วัตถุถกู ข้างออกไปจากยอดตึกด้วยความเรว็ ตน้ 20 m/s ทำมมุ 30 องศากบั แนวระดับ ขณะทว่ี ตั ถหุ ลดุ จาก มอื อยู่สูงจากพ้นื 400 เมตร จงหาเวลาที่วตั ถอุ ยใู่ นอากาศและระยะทางในแนวระดบั ของโพรเจกไทล์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 294 4. ยงิ จรวดขวดน้ำข้นึ จากพ้นื หน้าผาสงู 80 เมตร ดว้ ยความเร็วระดบั หนึ่งและทามมุ 37 องศากบั แนวระดบั โดย จดุ ยงิ หา่ งจากขอบหน้าผา 240 เมตร พบวา่ จรวดขวดนา้ เฉียดขอบหน้าผาพอดี จงหาความเรว็ ของจรวดขวดนำ้ และจรวดขวดน้ำตกถงึ พน้ื หา่ งจากตีนหน้าผากี่เมตร กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 295 เฉลยแบบฝึกหัดท่ี 2 เร่อื ง การเคลือ่ นทีแ่ บบโพรเจกไทล์ คำชี้แจง : จงแสดงวิธีทำอย่างละเอียด 1. ก้อนหนิ ก้อนหนง่ึ ถูกขว้างออกจากหน้าผาในแนวระดับดว้ ยความเรว็ ตน้ 10 เมตร/วินาที ก้อนหิน ตกถึง พื้นดนิ ในเวลา 8 วนิ าที ก้อนหนิ จะตกหา่ งจากจุดขวา้ งในแนวระดับเทา่ ใด จากสมการ x = uxt = (10)(8) = 80 m ดงั น้ัน กอ้ นหนิ จะตกหา่ งจากจุดขวา้ งในแนวระดบั เทา่ กับ 80 เมตร 2. ลกู บอลลกู หนง่ึ กล้ิงลงมาจากโตะ๊ ซ่งึ สงู 1.25 เมตร ถ้าลูกบอลตกกระทบพ้ืนตรงจุดทห่ี า่ งจากขอบโต๊ะ ตาม แนวระดบั 4.0 เมตร ความเร็วของลกู บอลขณะหลุดจากขอบโต๊ะมีคา่ เทา่ ใด จากสมการ ∆y = uyt + 1 ay t2 2 1.25 = (0)t + 1 (10)t2 2 t = 0.5 s โจทยต์ อ้ งการหาความเร็วในแนวระดับ จากสมการ ∆x = uxt 4 = ux(0.5) ux = 8 m/s ดงั นน้ั ความเร็วของลูกบอลขณะหลุดจากขอบโตะ๊ มีคา่ เทา่ กบั 8 เมตรต่อวนิ าที 3. วัตถุถกู ข้างออกไปจากยอดตึกดว้ ยความเรว็ ต้น 20 m/s ทำมมุ 30 องศากับแนวระดับ ขณะท่วี ัตถุหลุดจาก มืออยสู่ ูงจากพื้น 400 เมตร จงหาเวลาท่ีวตั ถุอย่ใู นอากาศและระยะทางในแนวระดับของโพรเจกไทล์ จากสมการ ∆y = uyt + 1 ay t2 2 (-400) = (10)t + 1 (−10)t2 2 t2 – 2t – 80 = 0 t = 10 วินาที จากสมการ ∆x = uxt = (10√3)(10) = 1,732 m ดงั นัน้ เวลาทว่ี ัตถุลอยในอากาศ 10 วินาที ในระยะทาง 1,732 เมตร กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 296 4. ยงิ จรวดขวดน้ำขน้ึ จากพ้นื หน้าผาสงู 80 เมตร ด้วยความเร็วระดับหนึ่งและทามมุ 37 องศากบั แนวระดบั โดย จดุ ยงิ หา่ งจากขอบหน้าผา 240 เมตร พบวา่ จรวดขวดนา้ เฉียดขอบหน้าผาพอดี จงหาความเรว็ ของจรวดขวดนำ้ และจรวดขวดน้ำตกถึงพนื้ ห่างจากตนี หนา้ ผาก่เี มตร 1) หาความเร็วของจรวดขวดนำ้ จากสมการ R = 2u2 sin θ cos θ g 240 = 2u2 sin 37 cos 37 g 240 = 2u2(315)(415) 10 u = √2500 = 50 ดังน้ัน ความเร็วของจรวดขวดนำ้ เทา่ กบั 50 เมตรต่อวินาที 2) หาหา่ งจากตนี หน้าผา จากสมการ ∆y = uyt + 1 ay t2 2 (-80) = (50) sin 37 t + 1 (−10)t2 2 (-80) = 30t − 5t2 t2 – 6t – 16 = 0 t = 8 วนิ าที จากสมการ ∆x = uxt = 50 cos 37 (t) = 50 (4/5)(8) = 320 m ดังนน้ั จรวดขวดน้ำตกถงึ พ้ืนหา่ งจากตนี หนา้ ผาเท่ากับ 320 – 240 = 80 เมตร กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 297 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4 คำชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ขว้างวัตถุด้วยอัตราเร็วคงตัวค่าหนึ่งจะได้ระยะทาง 6. การเคลอ่ื นทแ่ี บบโพรเจกไทล์เปน็ การเคลอื่ นท่ลี ักษณะใด ตามแนวระดับมากทส่ี ุดเม่ือขว้างทำมุมกอี่ งศา 1. เปน็ เสน้ โค้งทม่ี ีความเรว็ คงตวั 1. 30 2. 45 2. เปน็ เส้นโค้งท่ีมีความเร่งคงตวั ทัง้ สองแกน 3. 53 4. 60 3. เป็นเส้นโค้งพาราโบลา 5. 90 4. มคี วามเรง่ คงตวั ในแนวระดับ 2. คาบของการเคลอ่ื นทีม่ ีความหมายตรงกับข้อใด 5. เปน็ เส้นจำนวนรอบทเ่ี คลอ่ื นทไี่ ดใ้ น 1 วนิ าที 1. เวลาท่ีใช้ในการเคล่อื นท่ีครบ 1 รอบ 7. วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอ มี 2. จำนวนรอบที่เคล่อื นที่ได้ใน 1 วนิ าที ความเร่งหรือไม่ 3. ระยะทางในการเคลอ่ื นที่ไดใ้ น 1 รอบ 1. ไมม่ ี 2. มี ทศิ เขา้ สศู่ นู ย์กลาง 4. ความเร็วของวตั ถุในการเคล่อื นที่ 3. มี ทศิ ออกจากศนู ย์กลาง 4. มี ทศิ สมั ผสั กับเสน้ รอบวง 5. ความเร่งของวัตถุในการเคลือ่ นท่ี 5. มี ทิศสัมผสั กับเส้นรอบวงและออกจากศนู ย์กลาง 3. ความถ่ีของการเคลอ่ื นท่ีมคี วามหมายตรงกบั ขอ้ ใด 8. การเคลื่อนท่ีของวัตถุเป็นวงกลมด้วยอัตราเร็วสม่ำเสมอ ถ้า 1. เวลาท่ใี ชใ้ นการเคลอื่ นที่ครบ 1 รอบ รัศมีของการเคลื่อนที่เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า โดยที่อัตราเร็ว 2. จำนวนรอบทเ่ี คลื่อนที่ไดใ้ น 1 วินาที ยังคงเท่าเดิม จะต้องใช้แรงเข้าสู่ศูนย์กลางเท่าใด 3. ระยะทางในการเคลอื่ นทไ่ี ดใ้ น 1 รอบ 1. เทา่ กบั ครง่ึ หนง่ึ ของค่าเดิม 2. เท่าเดิม 4. ความเรว็ ของวัตถุในการเคล่ือนที่ 3. เพม่ิ ขน้ึ เปน็ 2 เท่า 4. เพิม่ ข้นึ เปน็ 3 เท่า 5. ความเรง่ ของวตั ถุในการเคลือ่ นที่ 4. เพ่ิมขน้ึ เปน็ 4 เท่า 4. ขว้างก้อนหินด้วยความเร็ว 15 เมตร/วินาที ตามแนว 9. รถเล้ียวโค้งได้เนื่องจากแรงใด ระดับจากยอดตึกสูง 100 เมตร เมื่อเวลาผ่านไป 4 1. แรงเสยี ดทานสถิตระหว่างยางกบั ถนนในแนวเดยี วกับการเคลื่อนท่ี วนิ าที วตั ถุมขี นาดการกระจดั เทา่ ใด 2. แรงเสยี ดทานจลนร์ ะหวา่ งยางกับถนนในแนวเดียวกบั การเคลื่อนท่ี 1. 100 เมตร 2. 145 เมตร 3. แรงเสียดทานสถติ ระหว่างยางกับถนนในแนวดา้ นขา้ ง 3. 150 เมตร 4. 160 เมตร 4. แรงเสียดทานจลนร์ ะหว่างยางกับถนนในแนวด้านข้าง 5. 190 เมตร 5. แรงเสยี ดทานสถิตระหว่างยางกบั ถนนในแนวดา้ นหลงั 5. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ งกบั การเคลอื่ นท่แี บบโพรเจกไทล์ 10. การท่จี ะทำให้วตั ถุเคลอ่ื นทเี่ ป็นวงกลมได้น้นั สง่ิ จำเป็นทต่ี ้อง 1. แรงและความเร่งมีค่าคงตวั เสมอ ให้แก่วัตถุคอื อะไร 2. วัตถุตกไกลสุดเมอื่ มุมยงิ 60 องศา 1. แรงเสียดทาน 2. แรงแม่เหลก็ 3. ณ ตำแหน่งสูงสดุ วตั ถไุ มม่ ีความเรง่ 3. แรงโนม้ ถว่ ง 4. แรงเริม่ ต้น 4. ณ ตำแหนง่ สงู สดุ ความเร็วมคี า่ เปน็ ศนู ย์ 5. แรงทตี่ งั้ ฉากกับทิศการเคลอื่ นที่ของวตั ถุตลอดเวลา 5. ข้อ 1. และ 4. ถกู เฉลย 1. 2 2. 1 3. 2 4. 1 5. 1 6. 3 7. 2 8. 1 9. 3 10. 5 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 298 เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบฝกึ หัด เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน ข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหา เปล่ียนปริมาณเป็นสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง 2 ชดั เจนทุกข้อ ขั้นท่ี 1 ทำความเขา้ ใจปญั หา เปลย่ี นปรมิ าณเปน็ สัญลักษณ์ไดถ้ ูกต้องไม่ 1 ครบถว้ น ขัน้ ท่ี 2 วางแผนแก้ปญั หา ไมต่ อบหรือเปลี่ยนปริมาณเป็นสญั ลกั ษณ์ 0 ขั้นท่ี 3 ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ไม่ถูกตอ้ งเลย กำหนดสูตรทเ่ี ลอื กใชไ้ ด้ถูกต้อง 1 ข้นั ที่ 4 ตรวจสอบคำตอบ กำหนดสตู รทีเ่ ลือกใช้ไมถ่ ูกต้อง 0 แทนคา่ ในสตู รและคิดคำนวณเปน็ ไป 2 ตามลำดบั ขัน้ ไดถ้ ูกต้อง แทนค่าในสูตรได้ถูกต้องแต่คิดคำนวณไม่ 1 เปน็ ไปตามลำดับขั้นท่ีถกู ต้อง ไม่ตอบ หรือแทนค่าในสตู รผิดและคดิ 0 คำนวณไม่เป็นไปตามลำดบั ข้ันทถี่ ูกต้องเลย คำตอบและหนว่ ยถูกต้องชดั เจน 2 คำตอบถูกต้องแตห่ น่วยไม่ถูกตอ้ ง 1 ไม่ตอบ หรอื คำตอบและหนว่ ยไมถ่ ูกต้อง 0 เกณฑก์ ารประเมนิ /ระดบั คณุ ภาพของแบบฝกึ หดั ชว่ งคะแนน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8 – 10 ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ดี พอใช้ 6 – 7 รอ้ ยละ 60 – 79 ต้องปรับปรงุ 4 – 5 ร้อยละ 40 – 59 0 - 3 นอ้ ยกว่าร้อยละ 40 เกณฑ์การผ่านของผู้เรียน ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ระดบั คะแนน 6 - 10 คะแนน ระดับไมผ่ ่านเกณฑ์ ระดบั คะแนน 0 – 5 คะแนน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 299 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเห็น   2 การยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ ่นื   3 การทำงานตามหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย   4 ความมนี ำ้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 300 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ คำชแ้ี จง : ให้ผ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชือ่ –สกลุ การแสดง การ การ ความมี การมี รวม ของนกั เรยี น ความ ยอมรับฟัง ทำงาน นำ้ ใจ ส่วนรว่ ม 15 คดิ เห็น ตามที่ ในการ คะแนน คนอ่ืน ได้รับ ปรบั ปรุง มอบหมาย ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook