Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนวิชาฟิสิกส์-ม.4-ภาคเรียนที่-1

แผนการสอนวิชาฟิสิกส์-ม.4-ภาคเรียนที่-1

Published by อัมรา ใจตื๊บ, 2022-09-07 09:17:24

Description: แผนการสอนวิชาฟิสิกส์-ม.4-ภาคเรียนที่-1

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 51 แบบฝึกหัดที่ 1 เรอ่ื ง ธรรมชาติของฟิสิกส์ คำชีแ้ จง : ใหเ้ ตมิ ข้อความหรอื ความหมายของคำตอ่ ไปน้ีให้สมบูรณ์ 1. ฟิสกิ ส์มคี วามหมายว่าอย่างไร 2. วทิ ยาศาสตรธ์ รรมชาตปิ ระกอบดว้ ยอะไรบา้ ง 3. วธิ กี ารทางวิทยาศาสตรเ์ ปน็ อย่างไร อมั รา ใจติ๊บ 4. เทคโนโลยมี ีความหมายว่าอย่างไร กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 52 เฉลยใบงานที่ 1 เรอื่ ง ธรรมชาติของฟิสิกส์ คำช้แี จง : ให้เติมข้อความหรือความหมายของคำต่อไปนีใ้ หส้ มบูรณ์ 1. ฟสิ กิ สม์ คี วามหมายว่าอย่างไร ฟิสิกส์เป็นศาสตร์วิชาที่ว่าด้วยกฎเกณฑ์หรือปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของสิ่งที่ไม่มีชีวิตในเรื่องอันตร กริ ิยา (interaction) ของอนภุ าคของสสารและพลังงาน 2. วทิ ยาศาสตรธ์ รรมชาติประกอบด้วยอะไรบา้ ง วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ (natural science) คือ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่บรรยายถึงความเป็นไป ของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติ อันประกอบไปด้วย ขอ้ เท็จจรงิ หลกั การ ทฤษฎี กฎ และสูตรต่าง ๆ เป็น ความรู้พื้นฐานของนักวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้มาเพื่อสนองความต้องการอยากรู้อยากเห็น โดยไม่คำนึงถึง ประโยชน์ของการค้นหา สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มยอ่ ยได้อีก 3 แขนง คือ 1. วิทยาศาสตร์กายภาพ (physical science) คือ วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ของ สงิ่ ไมม่ ชี ีวิต เช่น เคมี ฟิสกิ ส์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ 2. วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ (biological science) คอื วิทยาศาสตร์ทีว่ ่าด้วยเร่ืองราวต่าง ๆ ของสงิ่ มชี ีวติ เช่น สตั ววิทยา จลุ ชีววทิ ยา 3. วิทยาศาสตร์สังคม (social science) คือ วิทยาศาสตร์ท่ีศึกษาหาความรู้ เพ่ือจัดระบบให้มนุษย์ มีการดำรงชีวิตอยู่ด้วยกันอย่างมีแบบแผน เพื่อความสงบสุขของสังคม ประกอบด้วย วิชาจิตวิทยา วิชา รัฐศาสตร์ วิชาเศรษฐศาสตร์ เป็นต้น 3. วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์เป็นอย่างไร วิธีการทางวิทยาศาสตร์ คือ การแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์อย่างมีกระบวนการที่เป็นแบบ แผนมีขั้นตอนที่สามารถปฏิบัติตามได้ โดยขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นเครื่องมือสำคัญของ นักวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ การกำหนดปัญหา การตั้งสมมติฐาน การตรวจสอบสมมติฐาน การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และการสรุปผลการทดลอง 4. เทคโนโลยมี ีความหมายว่าอย่างไร เทคโนโลยี คือ การนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ มาผสมผสาน ประยุกต์ เพื่อสนอง เป้าหมายเฉพาะตามความต้องการของมนุษย์ ด้วยการนำทรัพยากรตา่ ง ๆ มาใชใ้ นการผลติ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 53 เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบฝึกหดั เกณฑก์ ารพิจารณา คะแนน ขนั้ ตอนการแก้โจทย์ปัญหา เปลยี่ นปรมิ าณเป็นสัญลักษณ์ได้ถูกตอ้ ง 2 ชดั เจนทุกข้อ ขั้นท่ี 1 ทำความเขา้ ใจปัญหา เปลย่ี นปริมาณเปน็ สญั ลักษณ์ได้ถูกตอ้ งไม่ 1 ครบถว้ น ข้นั ท่ี 2 วางแผนแก้ปัญหา ไม่ตอบหรือเปล่ยี นปริมาณเป็นสัญลกั ษณ์ 0 ขน้ั ท่ี 3 ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ไมถ่ ูกต้องเลย กำหนดสตู รที่เลือกใช้ได้ถูกต้อง 1 ขั้นท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบ กำหนดสตู รทีเ่ ลอื กใช้ไมถ่ ูกตอ้ ง 0 แทนค่าในสูตรและคิดคำนวณเป็นไป 2 ตามลำดบั ขนั้ ได้ถูกต้อง แทนคา่ ในสตู รไดถ้ ูกต้องแต่คิดคำนวณไม่ 1 เป็นไปตามลำดับขัน้ ที่ถูกต้อง ไมต่ อบ หรอื แทนค่าในสตู รผดิ และคิด 0 คำนวณไม่เป็นไปตามลำดบั ข้ันทถี่ กู ต้องเลย คำตอบและหนว่ ยถูกต้องชัดเจน 2 คำตอบถกู ต้องแตห่ น่วยไมถ่ ูกต้อง 1 ไม่ตอบ หรือคำตอบและหน่วยไมถ่ ูกตอ้ ง 0 เกณฑ์การประเมิน/ระดบั คุณภาพของแบบฝกึ หดั ช่วงคะแนน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8 – 10 รอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป ดี พอใช้ 6 – 7 รอ้ ยละ 60 – 79 ต้องปรบั ปรุง 4 – 5 ร้อยละ 40 – 59 0 - 3 น้อยกวา่ ร้อยละ 40 เกณฑ์การผา่ นของผเู้ รยี น ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ระดับคะแนน 6 - 10 คะแนน ระดบั ไม่ผา่ นเกณฑ์ ระดับคะแนน 0 – 5 คะแนน กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 54 แบบประเมนิ การปฏิบตั ิกจิ กรรม คำชี้แจง : ใหผ้ ูส้ อนประเมินการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมของนักเรยี นตามรายการทก่ี ำหนด แล้วขดี ✓ ลงในช่องท่ีตรง กับระดับคะแนน ลำดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 4321 1 การปฏิบตั กิ ารทำกิจกรรม 2 ความคลอ่ งแคล่วในขณะปฏิบัตกิ จิ กรรม 3 การบนั ทึก สรุปและนำเสนอผลการทำกจิ กรรม รวม เกณฑก์ ารประเมินการปฏิบตั ิกจิ กรรม ประเด็นทป่ี ระเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1 32 1. การปฏบิ ัติ ทำกจิ กรรมตามขนั้ ตอน ทำกจิ กรรมตามข้นั ตอน ต้องให้ความชว่ ยเหลือ ตอ้ งใหค้ วามช่วยเหลอื กิจกรรม และใชอ้ ปุ กรณไ์ ดอ้ ย่าง และใชอ้ ุปกรณไ์ ดอ้ ย่าง บ้างในการทำกจิ กรรม อย่างมากในการทำ ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง แต่อาจตอ้ งไดร้ บั และการใชอ้ ปุ กรณ์ กจิ กรรม และการใช้ คำแนะนำบ้าง อปุ กรณ์ 2. ความ มีความคล่องแคลว่ มีความคลอ่ งแคล่ว ขาดความคล่องแคล่ว ทำกิจกรรมเสร็จไม่ คล่องแคล่ว ในขณะทำกจิ กรรมโดยไม่ ในขณะทำกิจกรรมแต่ ในขณะทำกิจกรรมจงึ ทำ ทันเวลา และทำอุปกรณ์ ในขณะปฏบิ ตั ิ ตอ้ งได้รับคำชี้แนะ และ ตอ้ งไดร้ ับคำแนะนำบ้าง กิจกรรมเสรจ็ ไม่ทันเวลา เสียหาย กิจกรรม ทำกิจกรรมเสรจ็ ทนั เวลา และทำกิจกรรมเสรจ็ ทันเวลา 3. การบนั ทกึ สรปุ บนั ทึกและสรปุ ผลการทำ บันทกึ และสรุปผลการทำ ต้องใหค้ ำแนะนำในการ ต้องใหค้ วามชว่ ยเหลือ และนำเสนอผล กิจกรรมไดถ้ ูกตอ้ ง รดั กุม กจิ กรรมได้ถูกต้อง แต่ บันทึก สรุป และนำเสนอ อยา่ งมากในการบนั ทกึ การปฏบิ ัติ นำเสนอผลการทำ การนำเสนอผลการทำ ผลการทำกจิ กรรม สรุป และนำเสนอผลการ กจิ กรรม กจิ กรรมเป็นขัน้ ตอน กจิ กรรมยังไม่เปน็ ข้ันตอน ทำกจิ กรรม ชัดเจน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 10-12 ดีมาก 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 0-3 ปรบั ปรุง กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 55 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคดิ เหน็   2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่นื   3 การทำงานตามหน้าท่ีทีไ่ ด้รับมอบหมาย   4 ความมีนำ้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกวา่ 8 ปรบั ปรงุ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 56 แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ คำชีแ้ จง : ใหผ้ ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดบั คะแนน การมี การแสดง การทำงาน สว่ นรว่ มใน ความ ตามทีไ่ ด้รบั ลำดับท่ี ช่อื –สกุล คดิ เห็น การยอมรบั มอบหมาย ความมี การ รวม ของนกั เรยี น ฟังคนอืน่ น้ำใจ ปรบั ปรุง 15 ผลงาน คะแนน กล่มุ 321321321321321 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครงั้ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรงุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 57 แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในช่องท่ี ตรงกับระดับคะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพึงประสงค์ด้าน 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้ กษตั ริย์ 1.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคีปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เขา้ รว่ มกิจกรรมทางศาสนาทตี่ นนับถอื ปฏบิ ัตติ ามหลักศาสนา 1.4 เข้ารว่ มกจิ กรรมทเี่ กี่ยวกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ต์ ามท่โี รงเรยี น จัดข้ึน 2. ซ่อื สัตย์ สุจรติ 2.1 ให้ขอ้ มลู ท่ีถูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏิบตั ิในส่งิ ทถ่ี ูกตอ้ ง 3. มวี ินัย รบั ผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั มี ความตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิกจิ กรรมตา่ งๆ ในชีวติ ประจำวนั 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ และนำไปปฏิบตั ิได้ 4.2 รูจ้ ักจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เช่อื ฟงั คำสัง่ สอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ต้งั ใจเรยี น 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 5.1 ใช้ทรพั ยส์ นิ และสิ่งของของโรงเรยี นอย่างประหยดั 5.2 ใช้อุปกรณก์ ารเรยี นอย่างประหยดั และร้คู ณุ ค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 6.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อให้งานสำเร็จ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มีจติ สำนกึ ในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณคา่ และปฏบิ ตั ติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจติ สาธารณะ 8.1 รจู้ กั ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 ร้จู ักการดแู ลรักษาทรพั ย์สมบตั ิและสิ่งแวดล้อมของหอ้ งเรียนและ โรงเรียน เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ิชดั เจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ชิ ดั เจนและบ่อยครงั้ ให้ 2 คะแนน 51-60 ดมี าก พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติบางครง้ั ให้ 1 คะแนน 41-50 ดี 30-40 พอใช้ ตำ่ กว่า 30 ปรบั ปรุง กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีท่ี 4 58 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรือ่ งธรรมชาตแิ ละพัฒนาการทางฟิสิกส์ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรือ่ งการวัดปริมาณและหน่วยทางฟิสิกส์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 รหัสวิชา ว31201 ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 2 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกติ *********************************************************************************** ***************** 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรยี นรู้ สาระฟสิ ิกส์ 1.เขา้ ใจธรรมชาตทิ างฟสิ ิกส์ ปรมิ าณและกระบวนการวัด การเคลอ่ื นทแ่ี นวตรง แรงและกฎการเคลื่อนท่ี ของนวิ ตัน กฎความโนม้ ถ่วงสากล แรงเสียดทานสมดลุ กลของวตั ถุ งานและกฎการอนรุ ักษ์พลังงานกล โมเมนตัม และกฎการอนุรกั ษโ์ มเมนตมั การเคลอ่ื นท่ีแนวโคง้ รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ 1. วัดและรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนำความคลาดเคลื่อนในการ วัดมาพิจารณาในการนำเสนอผล รวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์และแปลความหมาย จากกราฟเส้นตรงได้ 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายปริมาณกายภาพ ระบบหนว่ ยระหว่างชาติได้ (K) 2. อธบิ ายการเปลย่ี นแปลงของปรมิ าณท่สี งั เกตไดจ้ ากการวัดได้ (K) 3. มีทกั ษะการเปลย่ี นหน่วย การใชเ้ คร่ืองมือการวดั และการนำเสนอข้อมูลได้ถกู ตอ้ ง (P) 4. ใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ มัน่ ในการทำงาน และทำงานร่วมกบั ผอู้ นื่ อยา่ งสร้างสรรค์ ยอมรับความคดิ เห็นของผู้อน่ื ได้ (A) 3. สาระการเรยี นรู้ - ความรู้ทางฟิสิกส์ส่วนหนึ่งได้จากการทดลอง ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ ซึ่ง ประกอบดว้ ยตวั เลข และหนว่ ยวัด - ปรมิ าณทางฟสิ กิ สส์ ามารถวดั ได้ด้วยเครอ่ื งมือต่าง ๆ โดยตรงหรือทางอ้อม หนว่ ยท่ใี ชใ้ นการวัดปริมาณ ทางวิทยาศาสตร์ คือระบบหนว่ ยระหวา่ งชาติ เรียกย่อว่า ระบบเอสไอ กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 59 - ปริมาณทางฟิสิกส์ที่มีค่าน้อยกว่าหรือมากกว่า 1 มาก ๆ นิยมเขียนในรูปของสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ หรือ เขยี นโดยใช้คำนำหน้าหน่วยของระบบเอสไอ การเขียนโดยใชส้ ัญกรณว์ ิทยาศาสตร์เป็นการเขียนเพื่อแสดงจำนวนเลข นัยสำคัญทีถ่ กู ตอ้ ง - การทดลองทางฟิสิกส์เก่ียวกับการวดั ปริมาณต่าง ๆ การบันทกึ ปริมาณที่ได้จากการวัดด้วยจำนวนเลข นัยสำคัญที่เหมาะสมและค่าความคลาดเคลื่อน การวิเคราะห์และการแปลความหมายจากกราฟ เช่น การหา ความชนั จากกราฟเสน้ ตรง จดุ ตดั แกน พ้ืนทีใ่ ตก้ ราฟ เป็นตน้ - การวดั ปรมิ าณต่าง ๆ จะมีความคลาดเคลือ่ นเสมอขน้ึ อยู่กับเคร่ืองมือ วิธกี ารวัด และประสบการณ์ของ ผู้วดั ซ่ึงคา่ ความคลาดเคล่ือนสามารถแสดงในการรายงานผลทง้ั ในรูปแบบตวั เลขและกราฟ - การวัดควรเลือกใช้เครื่องมือวัดให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด เช่น การวัดความยาวของวัตถุที่ ตอ้ งการความละเอียดสงู อาจใช้เวอรเ์ นียรแ์ คลลิเปริ ส์ หรอื ไมโครมเิ ตอร์ - ฟิสกิ ส์อาศัยคณิตศาสตรเ์ ป็นเครื่องมือในการศึกษาคน้ คว้า และการสื่อสาร 4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด ปริมาณที่อธิบายปรากฏการณ์ทางฟิสิกส์ หรือการเปลี่ยนแปลงของปริมาณที่สังเกตอาจจะความยาว มวล เวลา ความเร่งและความดัน เป็นต้น ปริมาณเหล่านี้จะถูกแยกเป็นปริมาณฐานและปริมาณอนุพันธ์ การ กำหนดหน่วยต่างๆ จึงต้องกำหนดใหเ้ ข้าใจตรงกันโดยใชร้ ะบบหนว่ ยระหว่างชาติ (SI Unit) ตัวพหุคูณท่ีใช้เขียน แทนหน่วยฐานหรอื หนว่ ยอนพุ ันธ์ท่มี ีคา่ มากหรือน้อยเกินไป เรียกวา่ คำอปุ สรรค 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการในการแก้ปัญหา 6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 60 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5E ร่วมเทคนิคการแกโ้ จทยป์ ญั หาของ โพลยา ชัว่ โมงท่ี 1 ข้ันนำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกนั สนทนาเก่ยี วกับปริมาณทางฟิสกิ ส์ 2. ครูถามนกั เรยี นว่า ปริมาณทางฟิสิกสแ์ บ่งออกเป็นปรมิ าณได้บ้าง นักเรียนร่วมกนั ตอบคำถาม 3. ครถู ามคำถาม Prior Knowledge “การบอกปรมิ าณในทางฟสิ ิกส์จำเป็นต้องมีการบอกหนว่ ยกำกับไว้ ดว้ ยหรือไม่อย่างไร” เพือ่ เปน็ การกระตุ้นให้นกั เรียนร่วมกนั คดิ (แนวตอบ : ฟิสิกส์เป็นวิชาที่เน้นศึกษาในเชิงปริมาณทางกายภาพ เช่น มวล แรง ความยาว เวลา อุณหภูมิ เป็นต้น และข้อมูลที่ได้จะเป็นตวั เลข ดังนั้นเพื่อให้สื่อสารในสิ่งที่ต้องการศึกษาให้ผู้อื่น เข้าใจง่ายต่อการนำไปใชป้ ระโยชน์ จึงจำเป็นตอ้ งมหี นว่ ยกำกบั ในการวดั ปริมาณนั้น ๆ ด้วย) 4. นักเรยี นร่วมชว่ ยกันตอบคำถาม ครูอาจจะเลอื กคำตอบที่ไมช่ ดั เจน มาอภิปรายรว่ มกนั 5. ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับปริมาณที่เกี่ยวข้องกับวิชาฟิสิกส์ อีก 2 ปริมาณ คือ เวกเตอร์และส เกลาร์ ซึ่งปริมาณสเกลาร์ คือ ปริมาณที่กำหนดแต่เพียงขนาด ก็มีความหมายสเกลาร์ เช่น ระยะทาง เวลา พื้นที่ ส่วนปริมาณเวกเตอร์ คือ ปริมาณที่ต้องกำหนดทั้งขนาดและทิศทาง จึงจะมีความหมาย เช่น แรง การกระจดั เป็นต้น ขัน้ สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลมุ่ สืบคน้ ข้อมลู เก่ยี วกบั ระบบหนว่ ยท่ีใชส้ ำหรบั การวัดปริมาณในทาง ฟิสกิ ส์ วา่ มีหน่วยอะไรบ้าง จากแหล่งการเรียนรตู้ า่ ง ๆ เชน่ หนงั สือเรียน อินเตอร์เนต็ หนังสอื อ้างอิง ตา่ งๆ ในห้องสมดุ 2. นกั เรียนแต่กล่มุ รว่ มกนั วิเคราะหผ์ ลจากการสบื คน้ ขอ้ มลู 3. ครูสุ่มนักเรียนจากกลุ่มต่างๆ เพื่อนำเสนอผลจากการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับระบบหน่วยที่ใช้ในทาง ฟิสิกส์ 4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ขอ้ สรุปที่ว่า ระบบเอสไอหรือหน่วยเอสไอ เพื่อใช้เป็นหน่วย กลาง ทท่ี กุ ประเทศใช้เปน็ มาตรฐานในการระบหุ น่วยการวัดทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตการณท์ ำงานกล่มุ ) กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 61 ชั่วโมงที่ 2 ขัน้ สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 5. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายต่อว่า หน่วยเอสไอ มอี ยู่ 4 หน่วย 6. ครูอธิบายไปทีละหน่วย โดยเริ่มจากหน่วยฐาน หน่วยเสริม หน่วยอนุพัทธ์ และคำอุปสรรค • หน่วยฐานประกอบด้วย 7 หน่วย ได้แก่ หน่วยที่ใช้วัดความยาว มวล เวลา กระแสไฟฟ้า อุณหภูมิ ความเข้มแห่งการส่องสว่าง ปริมาณของสาร โดยแต่ละหน่วยต่างเป็นอิสระต่อกัน และใชเ้ ปน็ หน่วยพ้นื ฐานของหน่วยอนื่ แสดงดังตารางในหนังสอื เรียน • หน่วยเสริม มี 2 หน่วย คือ เรเดียน เป็นหน่วยวัดมุมในระนาบ โดย 1 เรเดียน คือ มุมที่จุด ศูนย์กลางของวงกลมที่รองรับ ความยาวส่วนโค้งที่มีความยาวเท่ากับรัศมี และสเตอเรเดียน เป็นหน่วยวัดมุมตัน โดย 1 สเตอเรเดียน คือ มุมที่จุดศูนย์กลางของทรงกลมที่รองรับพื้นที่ผิว โคง้ ทีม่ พี ืน้ ท่เี ป็นรูปสเี่ หลีย่ มจัตุรสั ทม่ี ีความยาวดา้ นเทา่ กับรศั มี • หน่วยอนุพันธ์ เกิดจากการนำหน่วยพื้นฐานมาสร้างความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ แล้วได้เป็น ปริมาณที่มีความสัมพันธ์กันมากกว่า 1 ปริมาณ เช่น ความเร็วเป็นความสัมพันธ์ระหว่าง ระยะทางตอ่ เวลา 7. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้คำอุปสรรคและตัวพหุคูน ตัวอย่างเช่น การเติมคำอุปสรรค เรา มักจะไว้ข้างหน้าหน่วยพื้นฐาน เพื่อใช้แทนตัวคูณเพิ่มหรือตัวคูณลด แล้วทำให้หน่วยพื้นฐานนั้นมี ขนาดใหญข่ นึ้ หรือลดลงเหมาะแกก่ ารนำไปประยกุ ต์ใช้คำอปุ สรรค หรืออาจบอกความหมายของตัวพหุ คนู คือเลขสบิ ยกกำลงั บวกหรอื ลบ 8. ครูอาจให้นักเรียนท่องจำคำอปุ สรรคในระบบเอสไอและเน้นคำอุปสรรคท่นี ยิ มใช้ในวชิ าฟิสกิ ส์ 9. ครูอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วการเปล่ียนหน่วยโดยใช้คำอุปสรรค เช่น คำอุปสรรคนิยมใช้กับหน่วยของเวลา เช่น นาที ชั่วโมง ยกเว้นช่วงเวลาที่สั้นกวา่ วินาที เช่น 10-6 s = μs และเปิดโอกาสให้นกั เรยี นซักถาม ขอ้ สงสัย ท่นี กั เรียนยังไม่เขา้ ใจเกย่ี วกับเร่อื งทเี่ รยี น 10.ครูยกตัวอย่างโจทย์จากตัวอย่างท่ี 1.3 ในหนังสือเรียนหน้า 14 และให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 1 ข้อ 5. และข้อ 6. จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 เพื่อ เป็นการทบทวนความเข้าใจในเนื้อหาท่ีเรียนมา อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้าใจในเรื่องคำอุปสรรคและการเปลี่ยนหน่วยมากขึ้น โดยให้นักเรียน แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ เพื่อศึกษาให้ได้มาซึ่งคำตอบจากตัวอย่างที่ 1.4 และ 1.5 ให้นักเรียนได้ วิเคราะห์โจทย์ตามขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหา ดังน้ี กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 62 • ขนั้ ท่ี 1 ทำความเข้าใจโจทย์ตัวอย่าง • ข้ันที่ 2 สงิ่ ท่โี จทยต์ อ้ งการถามหา และจะหาส่ิงท่ีโจทย์ต้องการ ต้องทำอย่างไร • ขน้ั ท่ี 3 ดำเนนิ การ หาคำตอบ • ขั้นที่ 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตวั อยา่ ง 2. ครูตรวจสอบการแทนค่า การเปลี่ยนหน่วย การคำนวณ ว่าตรงกบั โจทย์กำหนดใหห้ รือไม่ และคำตอบ ถูกหรอื ไม่ ถา้ ตรงกัน สรุปไดว้ ่าคำตอบนั้นถูกต้อง 3. เมอื่ นกั เรียนท้ัง 2 กล่มุ ทำความเข้าใจของโจทย์ตวั อย่างแลว้ สง่ ตัวแทนมาอธบิ ายวิธีการเปลี่ยนหน่วย การคำนวณ การหาคำตอบของโจทยต์ วั อยา่ งทั้ง 2 ข้อ 4. ครูอธิบายสรุปเกี่ยวกับเนอื้ หา หรอื เปิดโอกาสให้นักเรียนได้สอบถามในสว่ นทมี่ ขี ้อสงสยั 5. จากนั้น ครูอธิบายความรู้ให้กับนักเรียนว่า ความรู้ต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ ทางฟสิ กิ ส์ จำเป็นตอ้ งใช้เครือ่ งมือต่าง ๆ มาเกยี่ วขอ้ ง โดยเฉพาะเคร่อื งมือในการวดั ปรมิ าณต่างๆ การ เลอื กเคร่ืองมือวดั และการอา่ นคา่ ทไ่ี ดจ้ ากการวดั จึงเป็นส่ิงสำคัญในการศึกษาวชิ าฟิสิกส์ เพื่อนำข้อมูล มาคำนวณ พิสูจน์ หรือหาผลสรุป ซึ่งหากผู้ทำการทดลองวัดและอ่านค่าจากเครื่องมือผิดพลาด อาจ สง่ ผลตอ่ ความถกู ตอ้ งและความแมน่ ยำของผลการทดลองได้ 6. ครูให้นักเรียนอ่านทำความเข้าใจเนื้อหาจากหนังสือเรียน จากนั้นนักเรียนทุกคนช่วยกันสรุปเชื่อมโยง เก่ียวกับหน่วยต่าง ๆ ของการวดั คำอปุ สรรค และการอ่านค่าจากเครอื่ งมอื วดั ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครนู ำนกั เรยี นอภปิ รายและสรปุ เกยี่ วกับการวดั ปรมิ าณทางกายภาพในเชิงฟิสกิ ส์ ดงั น้ี • ฟิสิกส์เป็นวิชาทีม่ ุง่ เนน้ การศึกษาในเชิงปริมาณ ประกอบด้วย 2 สิ่งที่ต้องคำนึงถึง คือ ปริมาณ ตัวเลขทไี่ ดจ้ ากการวัด และหนว่ ยของการวดั • คำอุปสรรค เป็นคำที่ไว้ข้างหน้าหน่วยเอสไอ เพื่อใช้แทนตัวคูณเพิ่มหรือตัวคูณลด แล้วทำให้ หนว่ ยพืน้ ฐานนนั้ มขี นาดใหญข่ ้ึนหรอื ลดลงเหมาะแกก่ ารนำไปประยุกต์ใช้ • การอ่านผลจากเครื่องวัดทั้งแบบสเกล และแบบตัวเลข ค่าที่อ่านไดจ้ ะเป็นตวั เลขแลว้ ตามด้วย หนว่ ยของการวดั 2. ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามเนื้อหาเร่ือง การวัดปริมาณทางกายภาพในเชงิ ฟิสิกส์ วา่ มีส่วนไหนท่ี ยังไมเ่ ขา้ ใจและใหค้ วามรู้เพิ่มเติมในส่วนนน้ั 3. ครูให้นักเรียนทำใบงานที่ 1.2 เรื่อง หน่วยของการวัด แล้วมอบหมายให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดที่ 3.1 เรอ่ื ง การวัดปริมาณและหนว่ ยทางฟิสิกส์ ส่งเป็นการบ้านในชวั่ โมงถดั ไป กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 63 ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจการนำเสนอขอ้ มูลระบบหน่วยท่ีใช้ในทางฟสิ กิ ส์ท่ีได้จากการสืบคน้ 2. ครูประเมนิ ผลโดยการสงั เกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ่ และพฤติกรรมการ ทำงานรายบุคคล 3. ครตู รวจสอบผลจากการทำแบบฝกึ หัดที่ 1 เร่ือง หนว่ ยของการวดั 4. ครตู รวจสอบผลการทำแบบฝึกหดั ที่ 2 เร่ือง การวดั ปริมาณทางกายภาพในเชงิ ฟสิ ิกส์ 8. การวัดและประเมินผล วธิ ีวัด เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมิน รายการวัด 1.แบบทดสอบก่อนเรยี น 1.แบบทดสอบ ผา่ นการประเมนิ ด้านความรู้ 2.แบบฝกึ ทกั ษะ 2.แบบฝกึ ทกั ษะ คะแนนรอ้ ยละ 70 ขนึ้ 1. อธบิ ายปริมาณกายภาพ 3.แบบทดสอบหลังเรยี น ไป ระบบหน่วยระหวา่ งชาตไิ ด้ 2. อธบิ ายการเปล่ยี นแปลง ของปรมิ าณท่ีสังเกตไดจ้ าก การวัดได้ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ 1.แบบประเมินดา้ นทกั ษะ ผ่านการประเมินได้ 1.มีทักษะการเปลีย่ นหนว่ ย 1.สังเกตพฤตกิ รรม และ กระบวนการ ระดับคุณภาพ ดี ขน้ึ ไป การใชเ้ คร่อื งมอื การวดั และ ประเมินจากการจดั การนำเสนอข้อมลู ไดถ้ ูกตอ้ ง กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1.แบบประเมนิ ดา้ น ผ่านการประเมินได้ ด้านคุณลักษณะ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ระดับคณุ ภาพ ดี ขน้ึ ไป 1.ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมั่นในการ 1.สงั เกตพฤติกรรม และ ทำงาน และทำงานรว่ มกับ ประเมินจากการจัด 1.แบบประเมนิ ดา้ น ผา่ นการประเมินได้ ผู้อน่ื อย่างสรา้ งสรรค์ ยอมรบั กิจกรรมการเรียนการสอน สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น ระดับคุณภาพ ดี ขน้ึ ไป ความคิดเห็นของผูอ้ ืน่ ได้ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการ 1.สงั เกตพฤติกรรม และ ส่อื สาร ประเมนิ จากการจัด 2. ความสามารถในการคิด กจิ กรรมการเรยี นการสอน 3. ความสามารถในการใน การแกป้ ัญหา กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 64 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี น รายวชิ าเพมิ่ เติม ฟสิ กิ ส์ ม.4 เลม่ 1 2) แบบฝึกหดั ท่ี 1 เรอ่ื ง หนว่ ยของการวัด 3) แบบฝกึ หดั ท่ี 2 เรื่อง การวัดปริมาณทางกายภาพในเชงิ ฟสิ กิ ส์ 3) PowerPoint หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การศกึ ษาวิชาฟสิ กิ ส์ 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งเรยี น 2) ห้องสมุด 3) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ 10. กิจกรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 65 แบบฝกึ หัดท่ี 1 เรอ่ื ง หนว่ ยของการวดั คำชแ้ี จง : จงหาคำตอบและแสดงวธิ ีทำอย่างละเอียด 1. วตั ถมุ วล 500 กรมั มีคา่ กี่กโิ ลกรัม ก่ีไมโครกรัม ก่มี ิลลกิ รัม 2. ระยะทาง 90 กโิ ลเมตร มีค่าก่ีเมตร กี่นาโนเมตร 3. เรือลำหนง่ึ แล่นดว้ ยความเรว็ 72 กโิ ลเมตร/ชั่วโมง มคี ่าก่เี มตร/วินาที กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 66 เฉลยแบบฝึกหัดท่ี 1 เร่อื ง หน่วยของการวัด คำชแ้ี จง : จงหาคำตอบและแสดงวธิ ที ำอย่างละเอียด 1. วตั ถุมวล 500 กรัม มีค่ากี่กิโลกรมั ก่ีไมโครกรัม กี่มิลลกิ รัม วัตถุมวล 500 กรมั มีค่าก่ีกิโลกรัม จะได้ 500 = 500 × 10−3 kg 103 500 วัตถุมวล 500 กรัม มีค่ากี่ไมโครกรมั จะได้ 10−6 = 500 × 106 μg วตั ถุมวล 500 กรมั มีคา่ ก่ีมลิ ลกิ รมั จะได้ 500 = 500 × 103 mg 10−3 2. ระยะทาง 90 กโิ ลเมตร มีค่าก่เี มตร กน่ี าโนเมตร ระยะทาง 90 กิโลเมตร มีคา่ ก่ีเมตร ดังน้ัน ระยะทาง 90 กโิ ลเมตร เทา่ กับ 90 × 103 เมตร ระยะทาง 90 กิโลเมตร มีคา่ กี่นาโนเมตร ระยะทาง 90 กิโลเมตร เท่ากับ 90 × 103 = 90 × 103 × 109 10−9 ดงั นนั้ ระยะทาง 90 กโิ ลเมตร เท่ากบั 90 × 1012 นาโนเมตร 3. เรือลำหนงึ่ แลน่ ด้วยความเร็ว 72 กโิ ลเมตร/ช่วั โมง มคี า่ กเ่ี มตร/วินาที เรือลำหนง่ึ แลน่ ด้วยความเร็ว 72 กโิ ลเมตร/ช่ัวโมง ดงั น้นั ความเรว็ 72 กิโลเมตร/ชว่ั โมง เท่ากับ 72 × 103 = 19.44 เมตร/วินาที 60 ×60 กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 67 เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบฝึกหดั เกณฑก์ ารพิจารณา คะแนน ขนั้ ตอนการแก้โจทย์ปัญหา เปลยี่ นปรมิ าณเป็นสัญลักษณ์ได้ถูกตอ้ ง 2 ชดั เจนทุกข้อ ขั้นท่ี 1 ทำความเขา้ ใจปัญหา เปลย่ี นปริมาณเปน็ สญั ลักษณ์ได้ถูกตอ้ งไม่ 1 ครบถว้ น ข้นั ท่ี 2 วางแผนแก้ปัญหา ไม่ตอบหรือเปล่ยี นปริมาณเป็นสัญลกั ษณ์ 0 ขน้ั ท่ี 3 ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ไมถ่ ูกต้องเลย กำหนดสตู รที่เลือกใช้ได้ถูกต้อง 1 ขั้นท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบ กำหนดสตู รทีเ่ ลอื กใช้ไม่ถูกตอ้ ง 0 แทนค่าในสูตรและคิดคำนวณเป็นไป 2 ตามลำดบั ขนั้ ได้ถูกต้อง แทนคา่ ในสตู รไดถ้ ูกต้องแต่คิดคำนวณไม่ 1 เป็นไปตามลำดับขัน้ ที่ถูกต้อง ไมต่ อบ หรอื แทนคา่ ในสตู รผิดและคิด 0 คำนวณไม่เป็นไปตามลำดับขั้นทถี่ กู ต้องเลย คำตอบและหนว่ ยถูกต้องชดั เจน 2 คำตอบถกู ต้องแตห่ น่วยไม่ถูกต้อง 1 ไม่ตอบ หรือคำตอบและหนว่ ยไมถ่ ูกตอ้ ง 0 เกณฑ์การประเมิน/ระดบั คุณภาพของแบบฝกึ หดั ช่วงคะแนน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8 – 10 รอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป ดี พอใช้ 6 – 7 รอ้ ยละ 60 – 79 ต้องปรบั ปรุง 4 – 5 ร้อยละ 40 – 59 0 - 3 น้อยกวา่ ร้อยละ 40 เกณฑ์การผา่ นของผเู้ รยี น ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ระดับคะแนน 6 - 10 คะแนน ระดบั ไม่ผา่ นเกณฑ์ ระดับคะแนน 0 – 5 คะแนน กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 68 แบบประเมินการปฏบิ ัติกจิ กรรม คำช้แี จง : ใหผ้ ้สู อนประเมินการปฏบิ ัติกิจกรรมของนักเรียนตามรายการท่ีกำหนด แล้วขดี ✓ ลงในช่องทตี่ รง กบั ระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 4321 1 การปฏิบตั ิการทำกิจกรรม 2 ความคล่องแคล่วในขณะปฏิบัตกิ จิ กรรม 3 การบันทึก สรุปและนำเสนอผลการทำกจิ กรรม รวม เกณฑ์การประเมนิ การปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ประเดน็ ท่ี 4 ระดับคะแนน 1 ประเมนิ 32 1.การปฏบิ ตั ิ ทำกจิ กรรมตามข้ันตอน ทำกิจกรรมตามขน้ั ตอน ตอ้ งใหค้ วามชว่ ยเหลอื ต้องให้ความชว่ ยเหลอื กิจกรรม บา้ งในการทำกจิ กรรม อย่างมากในการทำ และใช้อุปกรณไ์ ด้อยา่ ง และใชอ้ ปุ กรณไ์ ดอ้ ยา่ ง และการใชอ้ ปุ กรณ์ กิจกรรม และการใช้ 2.ความ อปุ กรณ์ คล่องแคลว่ ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง แตอ่ าจต้อง ขาดความคลอ่ งแคลว่ ทำกจิ กรรมเสร็จไม่ ในขณะปฏิบตั ิ ในขณะทำกจิ กรรมจึง ทนั เวลา และทำ กจิ กรรม ได้รบั คำแนะนำบา้ ง ทำกจิ กรรมเสรจ็ ไม่ อปุ กรณ์เสยี หาย ทนั เวลา 3.การบนั ทกึ มคี วามคลอ่ งแคลว่ มีความคลอ่ งแคลว่ ต้องใหค้ วามชว่ ยเหลือ สรุปและนำเสนอ ต้องให้คำแนะนำในการ อย่างมากในการบนั ทกึ ผลการปฏิบตั ิ ในขณะทำกิจกรรมโดย ในขณะทำกิจกรรมแต่ บนั ทกึ สรปุ และ สรปุ และนำเสนอผล กจิ กรรม นำเสนอผลการทำ การทำกิจกรรม ไม่ต้องได้รบั คำช้ีแนะ ต้องไดร้ บั คำแนะนำ กิจกรรม และทำกจิ กรรมเสร็จ บ้าง และทำกิจกรรม ทนั เวลา เสร็จทนั เวลา บันทึกและสรุปผลการ บนั ทึกและสรุปผลการ ทำกิจกรรมได้ถูกต้อง ทำกจิ กรรมได้ถกู ต้อง รดั กุม นำเสนอผลการ แตก่ ารนำเสนอผลการ ทำกิจกรรมเปน็ ขนั้ ตอน ทำกิจกรรมยงั ไมเ่ ปน็ ชัดเจน ขัน้ ตอน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 10-12 ดมี าก 7-9 ดี 4-6 พอใช้ 0-3 ปรบั ปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 69 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน คำช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดบั คะแนน ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 ความถกู ตอ้ งของเนื้อหา   2 ความคิดสรา้ งสรรค์   3 วธิ ีการนำเสนอผลงาน   4 การนำไปใช้ประโยชน์   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบูรณช์ ัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางสว่ น เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรงุ กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 70 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคดิ เหน็   2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่นื   3 การทำงานตามหน้าท่ีทีไ่ ด้รับมอบหมาย   4 ความมีนำ้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกวา่ 8 ปรบั ปรงุ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 71 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ คำชแ้ี จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชื่อ–สกลุ การแสดง การ การ ความมี การมี รวม ของนกั เรียน ความ ยอมรับฟงั ทำงาน นำ้ ใจ ส่วนรว่ ม 15 คดิ เหน็ ตามท่ี ในการ คะแนน คนอ่ืน ได้รับ ปรบั ปรุง มอบหมาย ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 72 แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องท่ี ตรงกับระดับคะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดับคะแนน อันพึงประสงค์ด้าน 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้ กษตั ริย์ 1.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทส่ี รา้ งความสามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เขา้ รว่ มกิจกรรมทางศาสนาทตี่ นนับถอื ปฏบิ ัตติ ามหลกั ศาสนา 1.4 เข้ารว่ มกจิ กรรมทเี่ กี่ยวกบั สถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ามท่ีโรงเรยี น จัดข้ึน 2. ซ่อื สัตย์ สุจรติ 2.1 ให้ขอ้ มลู ท่ีถูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏิบตั ิในส่งิ ทถ่ี ูกตอ้ ง 3. มวี ินัย รบั ผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครวั มี ความตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวัน 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ และนำไปปฏบิ ตั ิได้ 4.2 รูจ้ ักจดั สรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เช่อื ฟงั คำสัง่ สอนของบดิ า-มารดา โดยไม่โตแ้ ย้ง 4.4 ต้งั ใจเรยี น 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 5.1 ใช้ทรพั ยส์ นิ และสิ่งของของโรงเรยี นอย่างประหยดั 5.2 ใช้อุปกรณก์ ารเรยี นอย่างประหยดั และร้คู ณุ ค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงนิ 6. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 6.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อให้งานสำเรจ็ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มีจติ สำนกึ ในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย 7.2 เห็นคุณคา่ และปฏบิ ตั ติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจติ สาธารณะ 8.1 รจู้ กั ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครทู ำงาน 8.2 ร้จู ักการดแู ลรักษาทรพั ย์สมบตั ิและสิ่งแวดล้อมของหอ้ งเรียนและ โรงเรียน เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ิชดั เจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน 51-60 ดมี าก 41-50 ดี พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ชิ ดั เจนและบ่อยครงั้ ให้ 2 คะแนน 30-40 ต่ำกว่า 30 พอใช้ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติบางครง้ั ให้ 1 คะแนน ปรบั ปรุง กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 73 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่ืองธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสิกส์ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรื่องเลขนัยสำคญั กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวิชาฟิสกิ ส์ 1 รหสั วิชา ว31201 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 2 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต *********************************************************************************** ***************** 1. มาตรฐานกาเรียนร/ู้ ผลการเรยี นรู้ สาระฟสิ ิกส์ 1.เขา้ ใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวดั การเคลือ่ นทแ่ี นวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของ นิวตนั กฎความโนม้ ถ่วงสากล แรงเสยี ดทานสมดุลกลของวตั ถุ งานและกฎการอนรุ กั ษ์พลังงานกล โมเมนตัมและ กฎการอนุรกั ษโ์ มเมนตัม การเคลอื่ นทแ่ี นวโค้ง รวมทงั้ นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรยี นรู้ 1. วัดและรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนำความคลาดเคล่ือนในการวัดมา พิจารณาในการนำเสนอผล รวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์และแปลความหมายจาก กราฟเส้นตรงได้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเก่ียวกบั เลขนัยสำคัญและคา่ ความคลาดเคลื่อนได้ (K) 2. สามารถบนั ทึก และคำนวณการบันทึกข้อมลู ได้ถูกต้อง (P) 3. ใฝเ่ รยี นรู้ และม่งุ มั่นในการทำงาน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ - ความรู้ทางฟิสิกส์ส่วนหนึ่งได้จากการทดลอง ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ ซ่ึง ประกอบด้วยตัวเลข และหนว่ ยวัด - ปรมิ าณทางฟิสกิ ส์สามารถวัดไดด้ ว้ ยเครอื่ งมือต่าง ๆ โดยตรงหรอื ทางออ้ ม หนว่ ยทใ่ี ช้ในการวดั ปริมาณ ทางวิทยาศาสตร์ คือระบบหน่วยระหว่างชาติ เรียกยอ่ ว่า ระบบเอสไอ - ปริมาณทางฟิสิกส์ที่มีค่าน้อยกว่าหรือมากกว่า 1 มาก ๆ นิยมเขียนในรูปของสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ หรือเขียนโดยใช้คำนำหน้าหน่วยของระบบเอสไอ การเขียนโดยใช้สัญกรณ์วิทยาศาสตร์เป็นการเขียนเพื่อแสดง จำนวนเลขนัยสำคญั ทถี่ ูกตอ้ ง กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 74 - การทดลองทางฟิสิกส์เกี่ยวกบั การวดั ปริมาณต่าง ๆ การบันทึกปริมาณที่ได้จากการวัดด้วยจำนวนเลข นัยสำคัญที่เหมาะสมและค่าความคลาดเคลื่อน การวิเคราะห์และการแปลความหมายจากกราฟ เช่น การหา ความชนั จากกราฟเสน้ ตรง จดุ ตัดแกน พน้ื ท่ีใต้กราฟ เป็นต้น - การวัดปริมาณต่าง ๆ จะมคี วามคลาดเคล่อื นเสมอข้นึ อยู่กบั เคร่ืองมือ วธิ กี ารวัด และประสบการณ์ของ ผู้วัด ซึง่ ค่าความคลาดเคลือ่ นสามารถแสดงในการรายงานผลท้งั ในรปู แบบตวั เลขและกราฟ - การวัดควรเลือกใช้เครื่องมือวัดให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด เช่น การวัดความยาวของวัตถุที่ ตอ้ งการความละเอยี ดสูง อาจใชเ้ วอร์เนยี รแ์ คลลิเปิรส์ หรอื ไมโครมิเตอร์ - ฟสิ ิกส์อาศยั คณติ ศาสตร์เปน็ เครื่องมอื ในการศึกษาค้นคว้า และการส่อื สาร 4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การทดลองทางฟสิ ิกส์เกี่ยวกับการวดั ปริมาณตา่ ง ๆ และการแสดงความเท่ียงตรงของผลการวัดท่ีได้จาก การวัดโดยตรง หรือผลที่คำนวณมาจากผลการวัดจะใช้คำเรียกว่า เลขนัยสำคัญ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลขที่แสดง ความแน่นอนรวมกบั ตวั เลขที่แสดงความไม่แน่นอน การวัดปริมาณต่าง ๆ จะมีความคลาดเคล่ือนเสมอขึน้ อย่กู ับเครือ่ งมือ วธิ ีการวดั และประสบการณ์ของผู้ วดั ซงึ่ คา่ ความคลาดเคล่ือนสามารถแสดงในการรายงานผลทั้งในรูปแบบตวั เลขและกราฟ 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทำงาน กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 75 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : สบื เสาะหาความรู้ 5E รว่ มเทคนิคการแก้โจทย์ปัญหาของ โพลยา ชวั่ โมงท่ี 1 ข้นั นำ กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับปริมาณตัวเลขที่ได้จากการวัด หน่วยของการวัด คำอุปสรรค และการอ่านผลจากเครือ่ งมือวัด เพื่อเป็นการทบทวนความรู้ของนกั เรียนจากคาบเรียนท่ีผ่านมา และ นำไปส่หู วั ข้อต่อไป 2. ครูถามนกั เรียนว่า “การทดลองมคี วามสำคัญอย่างไร” นกั เรยี นร่วมกันตอบคำถาม (แนวตอบ : เพอ่ื ได้เรยี นรเู้ นือ้ หาของวิชานั้นมากขนึ้ และเพอื่ ใหน้ ักเรียนได้สามารถพฒั นาทักษะ ในเชงิ ปฏบิ ัติ) 3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge “นักเรียนควรใช้เครื่องมือใด ในการวัดความหนาของเหรียญ 10 บาท” เพอื่ เป็นการกระตุ้นใหน้ ักเรียนร่วมกนั คิด (แนวตอบ : เวอร์เนียหรือไมโครมิเตอร์เพราะเป็นเคร่ืองมอื ท่ีเหมาะสำหรับวัดความหนาของวตั ถุ) 4. นกั เรียนร่วมชว่ ยกันตอบคำถาม และร่วมกันอภปิ ราย 5. ครูถามคำถามนักเรียนเพื่อเข้าสู่เนื้อหาว่า การบันทึกค่าที่ได้จากการทดลองทางฟิสิกส์นั้น จะต้อง คำนึงถึงสงิ่ ใด (แนวตอบ : เลขนยั สำคัญ) ข้นั สอน สำรวจคน้ หา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละ 4 – 5 คน แล้วให้ช่วยกันศึกษาหลักการนับและการพิจารณาจำนวนเลข นยั สำคัญ จากหนังสอื เรียน โดยครูคอยให้ข้อเสนอแนะคำปรึกษาแกน่ ักเรยี น ซึ่งนักเรียนร่วมกันวเิ คราะห์ และสรุปในประเด็นต่อไปนี้ • เลขนยั สำคญั คืออะไร • การนับจำนวนเลขนยั สำคัญ นับอยา่ งไร • ยกตวั อย่างหลักการนบั เลขนยั สำคัญ 2. นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันอภิปรายภายในกลุ่ม ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูล และทุกคนต้องทำความ เข้าใจใหต้ รงกนั 3. ครสู มุ่ ตวั แทนของนักเรยี นแตล่ ะกล่มุ เพอื่ นำเสนอขอ้ มลู ทแ่ี ต่ละกลุ่มได้ไปสบื คน้ ข้อมูลมา 4. ครูสอบถามข้อสรปุ ของแต่ละกลุ่ม โดยครตู รวจสอบขอ้ มลู จากการนำเสนอเพื่อความถูกตอ้ ง กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 76 (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบสังเกตการณ์ทำงานกลุ่ม) ชั่วโมงท่ี 2 ขน้ั สอน สำรวจค้นหา (Explore) 5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน ศึกษาหาคำตอบจากตัวอย่าง ในหนังสือเรียน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ในเรอ่ื งเลขนยั สำคญั ทีไ่ ดจ้ ากการวดั ตามข้นั ตอนการแก้โจทยป์ ญั หา ดังนี้ • ขน้ั ที่ 1 ทำความเขา้ ใจโจทย์ตวั อยา่ ง • ขั้นที่ 2 สิ่งที่โจทย์ต้องการถามหา (ความยาว) และจะหาสิ่งที่โจทย์ต้องการ ต้องทำอย่างไร (อ่านจากขีดสเกลของไม้บรรทัด) • ข้นั ท่ี 3 ดำเนินการ (ดูความละเอียดของไมบ้ รรทดั อ่านคา่ ความยาวของดนิ สอ) • ขัน้ ท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตวั อยา่ ง (ความยาวของดินสอ จำนวนเลขนยั สำคัญ และค่า ความละเอียดของไมบ้ รรทัด) 6. ให้นักเรียนได้วิเคราะห์โจทย์จากตัวอย่าง โดยใช้ขั้นตอน 7. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการนับเลขนัยสำคัญ เพื่อให้นักเรียนสรุปสาระสำคัญลงใน สมุดจดบันทกึ 8. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 1 ข้อ 3. และ 4. ในหนังสือเรียน เพื่อเป็นการ ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียน 9. ครูและนักเรียนรว่ มกนั ทบทวนหลกั การนบั จำนวนเลขนัยสำคัญ 10. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาหลักการคำนวณเลขนัยสำคัญ แล้วชักชวนให้นักเรียนอภิปราย ร่วมกัน เพ่ือให้ได้ข้อสรุป ดังน้ี • การบวกลบเลขนัยสำคัญ โดยจะบวกลบเลขนัยสำคญั ก่อน เมอ่ื ได้ผลลัพธ์ ใหม้ ีจำนวนทศนิยม เท่ากบั จำนวนที่ทศนยิ มนอ้ ยที่สดุ • การคูณหารเลขนยั สำคัญ โดยจะคณู หารเลขนยั สำคัญก่อน เมอ่ื ไดผ้ ลลัพธ์ ให้พิจารณาจำนวน เลขนยั สำคญั เท่ากับตวั เลขทนี่ ยั สำคญั นอ้ ยทส่ี ุดท่ีคูณหารกัน 11. ครูใหน้ กั เรียนรว่ มกันตอบคำถามท้าทายการคดิ ขน้ั สงู H.O.T.S. “เหตุใดผลลพั ธ์ที่ได้จากการคำนวณ ขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการวดั จะตอ้ งพิจารณาตามหลักนัยสำคญั ” (แนวตอบ : การคำนวณข้อมูลที่ได้จากการวัดเครื่องวัด ผลลัพธ์ที่ได้ จะต้องมีความถูกต้องไม่ เกินความละเอียดของเครื่องวัดที่ใช้ ซึ่งเลขนัยสำคัญจะบอกถึงความละเอียดของช่องสเกลของ เคร่ืองวัด และยงั ชว่ ยให้ผู้วัดทราบวา่ ผลการทดลองควรจะบันทกึ ผลดว้ ยตัวเลขก่หี ลักจึงจะเหมาะสม) 12. ครใู ห้นกั เรยี นรว่ มกันทำโจทยต์ วั อย่างของการคำนวณเลขนัยสำคญั จากตวั อยา่ ง 13. ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาตัวอย่าง ในหนงั สอื เรยี น ตามข้นั ตอนการแก้โจทย์ปัญหา ดงั น้ี กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 77 • ข้นั ท่ี 1 ครูให้นักเรียนทกุ คนทำความเข้าใจโจทย์ตัวอยา่ ง • ขั้นท่ี 2 ครถู ามนกั เรยี นว่า ส่ิงท่ีโจทย์ต้องการถามหาคืออะไร และจะหาส่ิงท่โี จทยต์ ้องการ ต้อง ทำอยา่ งไร • ขน้ั ท่ี 3 ครใู หน้ ักเรียนดวู ธิ ที ำในการคำนวณหาคำตอบ • ข้ันท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทยต์ วั อยา่ งวา่ ถกู ตอ้ ง และตามหลักนยั สำคญั หรอื ไม่ 14. นกั เรยี นและครูรว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกับการคำนวณเลขนยั สำคัญ เพอื่ ให้นกั เรยี นสรุปสาระสำคัญลง ในสมุดจดบนั ทกึ 15. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดจาก Unit Question 1 ข้อ 8. และ 9. ในหนังสือเรียน เพื่อเป็นการ ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี น อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนจับคู่กับเพื่อนร่วมชั้นเรียนเพื่อปฏิบัติการทดลอง การหาปริมาตรของหนังสือเรียน ใน หนังสือเรียน แล้วบันทึกผลการทดลอง พร้อมตอบคำถามท้ายการทดลองลงในแบบบันทึกกิจกรรมที่ อยูใ่ นแบบฝึกหดั ฟิสกิ ส์ ม.4 เลม่ 1 2. ครูอาจจะสุ่มถามนักเรียน ด้วยคำถามต่อไปนี้ • นกั เรียนวัดความกวา้ ง ความยาว และความหนา ของหนังสอื เรยี นได้เทา่ ไร • คา่ เฉล่ยี ของความกวา้ ง ความยาว และความหนา ของหนงั สือเรียน เป็นเท่าไร • นกั เรยี นหาปรมิ าตรของหนงั สอื เรยี นได้เท่าไร 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน อภิปราย สรุปผลการทดลองและเขียนรายงานการทดลองจากการ ปฏิบัติการทดลอง แล้วแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน โดยครูช่วยอธิบายความรู้เพิ่มเติม เพอื่ ใหน้ กั เรยี นเกิดความเข้าใจมากข้นึ 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมหลังจากทำการทดลองว่า การวัดทุกรูปแบบจะมีความคลาดเคลื่อนหรือความไม่ แน่นอนเกิดขึ้นเสมอ ค่าต่างๆ ที่วัดได้จากการทดลอง หากเราไม่มีค่าความคลาดเคลื่อนกำกับ ค่านั้น จะไม่มคี วามหมายแต่อยา่ งใด การบันทกึ ค่าความคลาดเคล่ือนถือเปน็ สิ่งสำคัญยิ่งอยา่ งหนึง่ ท่ีจะทำให้ วิเคราะห์สิ่งที่เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้อง ซึ่งขนาดของความคลาดเคลื่อนจะเป็นตัวสะท้อนถึงความ ละเอียดของเคร่ืองมอื หรอื เทคนิคทใี่ ชใ้ นการทดลองนั้นๆ 5. ครูถามคำถามนักเรียนต่อว่า แล้วความคลาดเคลือ่ นเกิดข้ึนจากสาเหตใุ ดบ้าง โดยให้นักเรียนอภิปราย รว่ มกนั เพ่อื หาคำตอบ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 78 ข้นั สรปุ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครใู ห้นกั เรยี นศกึ ษาการคำนวณความคลาดเคล่อื นที่ไดจ้ ากการวัดในตวั อย่าง จากหนังสอื เรียน แล้วให้ นักเรียนร่วมกันทำแบบฝึกหัดที่ 1 เรอื่ ง เลขนัยสำคญั 2. จากนั้นครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปเป็นผังมโนทัศน์ เรื่อง เลขนัยสำคัญ โดยอาจยกคำถามมาถามตอบ หรือนำผลการทดลองที่ได้จากการวัดมาสรุปผลการทดลอง เพื่อเป็นการสรุปสาระสำคัญของเนื้อหา เช่น เลขนัยสำคัญคืออะไร และมีความสำคัญอย่างไรต่อการทดลอง ความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นได้ อยา่ งไร เปน็ ต้น 3. ครูมอบหมายให้นกั เรยี นแต่ละคนทำแบบฝกึ หดั ในหนงั สือเรยี น เป็นการบ้าน ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจการนำเสนอข้อมูลเกีย่ วกบั เลขนยั สำคัญ 2. ครสู งั เกตการทำกจิ กรรม การหาปริมาตรของหนังสอื เรียน 3. ครตู รวจสอบผลจากแบบฝกึ หัดท่ี 1 เรอ่ื ง เลขนยั สำคัญ 5. ครูตรวจการทำแบบฝกึ หัดจากหนงั สอื เรยี น เรื่อง เลขนัยสำคญั 6. ตรวจแบบฝึกหดั ที่ 1 เรือ่ ง เลขนยั สำคัญและความคลาดเคลอ่ื น 7. ตรวจแบบบนั ทกึ กจิ กรรม เรอ่ื ง การหาปริมาตรของหนงั สือเรียน 8. ครปู ระเมินผลช้นิ งาน/ผลงานจากผังมโนทัศนท์ ่นี ักเรียนไดส้ ร้างข้นึ จากขั้นขยายความรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 79 8. การวดั และประเมนิ ผล รายการวดั วธิ ีวดั เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมนิ ดา้ นความรู้ 1.อธิบายเกี่ยวกบั เลขนัยสำคัญ 1.แบบทดสอบหลังเรยี น 1.แบบทดสอบหลังเรยี น ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์ 2.แบบฝึกหดั และคา่ ความคลาดเคลอ่ื นได้ 2.แบบฝึกหดั ด้านทกั ษะ/กระบวนการ 1.สามารถบันทึก และคำนวณ 1.ประเมนิ การนำเสนอ 1.แบบประเมนิ ด้าน ผ่านการประเมินได้ ทกั ษะกระบวนการ ระดับคุณภาพ ดี ขน้ึ ไป การบนั ทึกขอ้ มูลได้ถกู ต้อง ผลงาน ดา้ นคณุ ลักษณะ 1. มีวินัย 1.สังเกต และประเมนิ 1.แบบประเมินด้าน ผา่ นการประเมินได้ คณุ ลกั ษณะ ระดับคุณภาพ ดี ข้ึนไป 2. ใฝเ่ รียนรู้ พฤติกรรมจากการปฏบิ ตั ิ 3. มุง่ มัน่ ในการทำงาน กจิ กรรมระหว่างเรียน ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1.สังเกต และประเมนิ 1.แบบประเมนิ ด้าน ผา่ นการประเมินได้ สมรรถนะสำคัญของ ระดบั คุณภาพ ดี ขึ้นไป 2. ความสามารถในการคิด พฤติกรรมจากการปฏิบัติ ผูเ้ รยี น 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา กจิ กรรมระหวา่ งเรยี น 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ฟสิ กิ ส์ ม.4 เลม่ 1 2) แบบฝกึ หัดที่ 1 เรือ่ ง เลขนยั สำคัญ 3) แบบฝึกหดั ท่ี 2 เรือ่ ง เลขนยั สำคญั และความคลาดเคลือ่ น 3) PowerPoint หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง การศกึ ษาวชิ าฟิสกิ ส์ 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องเรียน 2) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ 10. กิจกรรมเสนอแนะ/งานท่มี อบหมาย ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................................................................... .. กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 80 แบบฝกึ หัดท่ี 1 เร่ือง เลขนยั สำคัญ คำชแ้ี จง : จงหาคำตอบและแสดงวิธีทำอย่างละเอยี ด 1. จงหาปริมาตรของเหลก็ ที่มขี นาด 36 เซนตเิ มตร × 20.2 เซนติเมตร × 9 มิลลิเมตร ในหน่วยลกู บาศก์ มิลลิเมตรเมตร (mm3) ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร (cm3) และลูกบาศกเ์ มตร (m3) 2. แผ่นพลาสติกรปู ส่ีเหลีย่ มผนื ผ้า มดี ้านกวา้ ง 36.20 ± 0.05 เซนตเิ มตร และยาว 96.45 ± 0.05 เซนติเมตร แผ่นพลาสติกน้ีจะมีพ้ืนท่ีเป็นเทา่ ไร 3. จงหาผลลพั ธ์ของ 3.50 + 4.95 – 2.52 ตามหลักเลขนยั สำคญั 7.0 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 81 เฉลยแบบฝึกหดั ท่ี 1 เร่อื ง เลขนยั สำคญั คำช้แี จง : จงหาคำตอบและแสดงวิธที ำอยา่ งละเอยี ด 1. จงหาปริมาตรของเหล็กท่มี ขี นาด 36 เซนติเมตร × 20.2 เซนติเมตร × 9 มลิ ลิเมตร ในหน่วยลกู บาศก์ มลิ ลิเมตรเมตร (mm3) ลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3) และลูกบาศกเ์ มตร (m3) ปริมาตรของเหล็ก ในหน่วย mm3 = 36 cm × 20.2 cm × 9 mm = 36 × 10 mm × 20.2 × 10 mm × 9 mm = 65448 mm3 = 7×104 mm3 ปริมาตรของเหลก็ ในหนว่ ย cm3 = 36 cm × 20.2 cm × 9 mm = 36 cm × 20.2 cm × 9 ×10-1 cm = 65448 cm 3 = 7×102 cm3 ปรมิ าตรของเหล็ก ในหน่วย m3 = 36 cm × 20.2 cm × 9 mm = 36 × 10-2 m × 20.2 × 10-2 m × 9 × 10-3 m = 6544.8 m3 = 7×10-3 m3 2. แผน่ พลาสติกรปู สีเ่ หล่ยี มผืนผ้า มดี า้ นกวา้ ง 36.20 ± 0.05 เซนตเิ มตร และยาว 96.45 ± 0.05 เซนติเมตร แผ่นพลาสติกนจ้ี ะมีพนื้ ทเ่ี ปน็ เท่าไร แผน่ พลาสติกนจี้ ะมีพ้นื ที่เปน็ (A  A) • (B  B) = (A • B)  (∆A x 100 % + ∆B x 100 %) B A (36.20  0.05) • (96.45 0.05) = (36.20 • 96.45)  ( 0.05 x 100 % + 0.05 x 100 %) 36.20 96.45 = 3491.49  (0.19 %) = 3491  6.63 cm2 ดังนัน้ พน้ื ท่ีแผ่นพลาสตกิ จะมีพ้นื ที่ 3491  6.63 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร 3. จงหาผลลัพธ์ของ 3.50 + 4.95 – 2.52 ตามหลกั เลขนยั สำคัญ 7.0 3.50 + 4.95 – 2.52 = (0.5) + 4.95 – 2.52 7.0 = 2.93 ดังน้ัน ผลลัพธต์ ามหลกั เลขนยั สำคญั เทา่ กบั 2.9 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 82 แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 คำช้แี จง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ต้นวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหรียญอันหนึ่ง 3 ครั้ง 6. นาแผ่นไม้สี่เหลี่ยมผืนผ้ามาวัดความกว้างได้ 12.5 ± 0.1 เมตร ไดเ้ ท่ากบั 2.542, 2.532 และ 2.54 เซนติเมตร คา่ เฉล่ยี และวดั ความยาวได้ 20.0 ± 0.2 เมตร จงหาพ้นื ทขี่ องแผ่นไม้ ของเหรยี ญเป็นเทา่ ไร 1. (2.80 ± 0.03) × 102 ตารางเมตร 1. 2.538 เซนติเมตร 2. (2.50 ± 0.05) × 102 ตารางเมตร 2. 2.532 เซนติเมตร 3. (2.50 × 102 ± 0.05) ตารางเมตร 3. 2.53 เซนติเมตร 4. 2.542 เซนตเิ มตร 4. (2.80 × 102 ± 0.03) ตารางเมตร 5. 2.54 เซนติเมตร 5. (2.50 ± 0.03) × 102 ตารางเมตร 2. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ใช้พิสูจน์ความ 7. นักเรียนคนหนึ่งใช้ไมโครมิเตอร์วัดเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นผม จรงิ ต่าง ๆ ได้ 3.004 มลิ ลิเมตร คา่ ที่วัดได้จะมเี ลขนัยสาคัญก่ีตัว 1. การทดลอง 2. การบนั ทกึ ขอ้ มลู 1. 5 ตวั 2. 4 ตวั 3. ความเชอ่ื 4. ทฤษฎี 3. 3 ตัว 4. 2 ตวั 5. การสงั เกต 5. 1 ตวั 3. ข้อใดคือปริมาณเวกเตอร์ทงั้ หมด 8. จงหาผลรวมของ 3.15 × 10-3 และ 7.54 × 10-2 ตามหลัก 1. โมเมนตมั แรง พลังงาน เลขนยั สาคญั 2. เวลา ปรมิ าตร ความหนาแนน่ 1. 7.855 × 10-3 2. 78.55 × 10-3 3. ความเร่ง การกระจดั ระยะทาง 3. 7.86 × 10-2 4. 10.94 × 10-2 4. มวล น้าหนกั พลงั งาน 5. 7.855 × 10-4 5. ความเรว็ ความเรง่ การกระจัด 9. ข้อใดคือผลรวมของ 2.50 มิลลิเมตร และ 7.2 เซนติเมตร 4. การอ่านค่าจากเครื่องวัดแบบแสดงผลด้วยตัวเลขมี ตามหลักเลขนัยสาคญั หลักการอย่างไร 1. 7.4 เซนตเิ มตร 2. 7.45 เซนติเมตร 1. ประมาณความคลาดเคล่อื นทกุ คร้งั 3. 7.450 เซนตเิ มตร 4. 7.5 เซนตเิ มตร 2. อ่านตามท่เี หน็ จริง ๆ จากจอภาพ 5. 7.55 เซนตเิ มตร 3. ตอ้ งประมาณตวั เลขตวั สดุ ทา้ ย 1 ตัว 10. เลขนยั สาคัญ คอื อะไร 4. ต้องวัดหลายคร้งั แล้วหาค่าเฉลยี่ 1. เลขทว่ี ดั ไดจ้ ริงๆ จากเครือ่ งมือวดั 5. ใหห้ นา้ จอแสดงผลอยใู่ นระดบั สายตา 2. เลขทอ่ี ่านได้จากเครือ่ งมอื วดั แบบขีดสเกลรวมกบั ตวั เลขที่ 5. ความยาว 0.000007 เมตร มคี ่าตรงกับขอ้ ใด ประมาณอกี 1 ตวั 1. 7 ไมโครเมตร 2. 7.0 × 10-5 เมตร 3. เลขท่ีประมาณขน้ึ มาในการวดั 3. 7 นาโนเมตร 4. 7.0 × 10-4 เมตร 4. เลขทบ่ี อกความละเอยี ดของเคร่อื งมอื วัด 5. 7 เมกะเมตร 5. ขอ้ 1. และ 2. ถกู เฉลย 1. 1 2. 1 3. 5 4. 1 5. 1 6. 2 7. 2 8. 3 9. 4 10. 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 83 เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบฝึกหดั เกณฑก์ ารพิจารณา คะแนน ขนั้ ตอนการแก้โจทย์ปัญหา เปลยี่ นปรมิ าณเป็นสัญลักษณ์ได้ถูกตอ้ ง 2 ชดั เจนทุกข้อ ขั้นท่ี 1 ทำความเขา้ ใจปัญหา เปลย่ี นปริมาณเปน็ สญั ลักษณ์ได้ถูกตอ้ งไม่ 1 ครบถว้ น ข้นั ท่ี 2 วางแผนแก้ปัญหา ไม่ตอบหรือเปล่ยี นปริมาณเป็นสัญลกั ษณ์ 0 ขน้ั ท่ี 3 ดำเนนิ การแกป้ ัญหา ไมถ่ ูกต้องเลย กำหนดสตู รที่เลือกใช้ได้ถูกต้อง 1 ขั้นท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบ กำหนดสตู รทีเ่ ลอื กใช้ไม่ถูกตอ้ ง 0 แทนค่าในสูตรและคิดคำนวณเป็นไป 2 ตามลำดบั ขนั้ ได้ถูกต้อง แทนคา่ ในสตู รไดถ้ ูกต้องแต่คิดคำนวณไม่ 1 เป็นไปตามลำดับขัน้ ที่ถูกต้อง ไมต่ อบ หรอื แทนคา่ ในสตู รผิดและคิด 0 คำนวณไม่เป็นไปตามลำดับขั้นทถี่ กู ต้องเลย คำตอบและหนว่ ยถูกต้องชดั เจน 2 คำตอบถกู ต้องแตห่ น่วยไม่ถูกต้อง 1 ไม่ตอบ หรือคำตอบและหนว่ ยไมถ่ ูกตอ้ ง 0 เกณฑ์การประเมิน/ระดบั คุณภาพของแบบฝกึ หดั ช่วงคะแนน ร้อยละ ระดบั คุณภาพ ดีมาก 8 – 10 รอ้ ยละ 80 ข้นึ ไป ดี พอใช้ 6 – 7 รอ้ ยละ 60 – 79 ต้องปรบั ปรุง 4 – 5 ร้อยละ 40 – 59 0 - 3 น้อยกวา่ ร้อยละ 40 เกณฑ์การผา่ นของผเู้ รยี น ระดบั ผา่ นเกณฑ์ ระดับคะแนน 6 - 10 คะแนน ระดบั ไม่ผา่ นเกณฑ์ ระดับคะแนน 0 – 5 คะแนน กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 84 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคดิ เหน็   2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่นื   3 การทำงานตามหน้าท่ีทีไ่ ด้รับมอบหมาย   4 ความมีนำ้ ใจ   5 การตรงต่อเวลา   รวม เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกวา่ 8 ปรบั ปรงุ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีที่ 4 85 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม่ คำชแ้ี จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชื่อ–สกลุ การแสดง การ การ ความมี การมี รวม ของนกั เรียน ความ ยอมรับฟงั ทำงาน นำ้ ใจ ส่วนรว่ ม 15 คดิ เหน็ ตามที่ ในการ คะแนน คนอ่ืน ได้รับ ปรบั ปรุง มอบหมาย ผลงาน กลมุ่ 321321321321321 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบ่อยคร้งั ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางครงั้ ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ำกวา่ 8 ปรับปรุง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีที่ 4 86 แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพึงประสงค์ด้าน 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้ กษตั ริย์ 1.2 เขา้ ร่วมกิจกรรมทส่ี รา้ งความสามัคคีปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ ตอ่ โรงเรยี น 1.3 เขา้ รว่ มกิจกรรมทางศาสนาทตี่ นนับถอื ปฏบิ ัติตามหลกั ศาสนา 1.4 เข้ารว่ มกิจกรรมทีเ่ กี่ยวกบั สถาบนั พระมหากษตั ริยต์ ามท่ีโรงเรยี น จัดข้ึน 2. ซ่อื สัตย์ สุจรติ 2.1 ให้ข้อมลู ท่ีถูกตอ้ งและเปน็ จรงิ 2.2 ปฏิบตั ิในส่งิ ทถ่ี ูกต้อง 3. มวี ินัย รบั ผิดชอบ 3.1 ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คบั ของครอบครัว มี ความตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิกจิ กรรมตา่ งๆ ในชีวิตประจำวัน 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ และนำไปปฏิบตั ิได้ 4.2 รูจ้ ักจัดสรรเวลาใหเ้ หมาะสม 4.3 เช่อื ฟงั คำสัง่ สอนของบิดา-มารดา โดยไม่โต้แย้ง 4.4 ต้งั ใจเรยี น 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพยส์ นิ และสงิ่ ของของโรงเรยี นอย่างประหยดั 5.2 ใช้อุปกรณก์ ารเรยี นอย่างประหยดั และร้คู ณุ ค่า 5.3 ใช้จา่ ยอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน 6. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 6.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพื่อให้งานสำเรจ็ 7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มีจติ สำนกึ ในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏิบตั ติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจติ สาธารณะ 8.1 รจู้ กั ชว่ ยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครทู ำงาน 8.2 ร้จู ักการดแู ลรักษาทรพั ย์สมบตั ิและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียนและ โรงเรียน เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ พฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ิชดั เจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ชิ ดั เจนและบ่อยครงั้ ให้ 1 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติบางครง้ั 51-60 ดีมาก 41-50 ดี 30-40 พอใช้ ต่ำกว่า 30 ปรับปรงุ กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 87 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 เรอ่ื งการเคลอื่ นทีแ่ นวตรง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 เร่อื งปริมาณที่เกิดจากการเคลอ่ื นท่ีของวัตถุ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 รหัสวชิ า ว31201 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 2 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต **************************************************************************************************** 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ผลการเรียนรู้ สาระฟสิ กิ ส์ 1.เขา้ ใจธรรมชาตทิ างฟิสกิ ส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคล่อื นทีแ่ นวตรง แรงและกฎการเคลื่อนท่ี ของนิวตนั กฎความโนม้ ถว่ งสากล แรงเสยี ดทานสมดุลกลของวัตถุ งานและกฎการอนรุ ักษ์พลังงานกล โมเมนตัม และกฎการอนรุ ักษ์โมเมนตัม การเคลอื่ นท่แี นวโค้ง รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ 1. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการ เคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วงของ โลก และคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ งได้ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของปริมาณต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการเคล่ือนที่ (K) 2. อธบิ ายความสมั พันธข์ องปรมิ าณ ท่ีเกี่ยวข้องกับการเคลือ่ นทจ่ี ากกราฟและสมการได้ (K) 3. สามารถคำนวณหาปรมิ าณต่างๆ ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การเคลื่อนท่ไี ด้ (P) 4. ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมัน่ ในการทำงาน และทำงานร่วมกบั ผอู้ ่ืน (A) 3. สาระการเรียนรู้ - ปริมาณทเ่ี กย่ี วกบั การเคลื่อนที่ ไดแ้ ก่ ตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่ง โดยความเร็วและ ความเร่งมีทัง้ ค่าเฉลี่ยและค่าขณะหนึ่งซึ่งคิดในช่วงเวลาสั้น ๆ สำหรับปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลือ่ นท่ี แนวตรงด้วยความเรง่ คงตวั มคี วามสัมพันธต์ ามสมการ v = u + at u+v s = ( 2 )t 1 s = ut + 2 at2 v2 = u2 + 2as กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊ิบ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีที่ 4 88 4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การเคลื่อนที่แนวตรงทั้งในแนวระดับและแนวดิ่ง เป็นการเคลื่อนที่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก แนวดิ่ง การเคลอ่ื นทข่ี องวัตถุจะมีความสัมพนั ธ์กับระยะทาง การกระจัด เวลา อตั ราเร็ว ความเร็ว ความเรง่ และทศิ ทาง ระยะทางกับการกระจัดเป็นปริมาณที่ต่างกัน โดยระยะทางเป็นระยะตามเส้นทางการเคลื่อนที่จริงของ วัตถุ และเป็นปริมาณสเกลาร์ ส่วนการกระจัดเป็นระยะทางตามแนวเส้นตรงจากตำแหน่งเดิมไปยงั ตำแหนง่ ใหม่ และเปน็ ปริมาณเวกเตอร์ ความเร็วกับอัตราเร็วเป็นปริมาณที่ต่างกัน โดยความเร็วคือการเปลี่ยนแปลงการกระจัดของวัตถุกับ ช่วงเวลานั้น เป็นปริมาณเวกเตอร์ ส่วนอัตราเร็วเป็นการเปลี่ยนแปลงของระยะทางของวัตถุกับช่วงเวลาน้ัน เช่นกันและเป็นปรมิ าณสเกลาร์ พื้นทีใ่ ตก้ ราฟความเรว็ –เวลาในช่วงเวลาทีก่ ำหนดของการเคล่ือนทแ่ี นวตรง คอื ระยะทางท่ีวตั ถุเคลื่อนท่ี ได้หรอื การกระจดั ทีเ่ ปลย่ี นไปในชว่ งเวลาน้นั 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน 4. มคี วามซ่อื สัตย์ 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ 5E รว่ มเทคนคิ การแกโ้ จทย์ปญั หาของ โพลยา ช่ัวโมงท่ี 1 ข้นั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูนำภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุต่าง ๆ ที่ได้เตรียมไว้ จำนวน 10-12 ภาพ ให้นักเรียนจำแนกว่าภาพ ใดบา้ งเปน็ การเคลอ่ื นท่ีแนวตรง ซงึ่ ประกอบดว้ ยภาพตัวอยา่ ง ดังต่อไปนี้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 89 • ภาพชิงชา้ สวรรค์ • ภาพผลไมต้ กสพู่ น้ื ดิน • ภาพรถวง่ิ ตามถนนเสน้ ตรง • ภาพรถเลยี้ วโค้ง • ภาพคนวิ่งแข่ง 100 เมตร • ภาพลูกตุ้มนาฬิกา • ภาพการแกว่งชิงชา้ • ภาพรถไตถ่ งั • ภาพคนยงิ ธนู • ภาพดาวเทยี มโคจรรอบโลก • ภาพการเคล่อื นท่ขี องลูกบาสเกตบอล • ภาพนักกฬี าวา่ ยน้ำในลู่ของสระวา่ ยนำ้ 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงวิธีการพิจารณาว่าภาพใดบ้าง ที่เป็นภาพการเคลื่อนที่แนวตรง เพื่อ นำไปสู่ความเข้าใจลักษณะของการเคลื่อนที่แนวตรงว่า “การเคลื่อนที่แนวตรง เป็นการเคลื่อนที่ที่มี ระยะทางและการกระจัดอยใู่ นแนวเส้นตรงเดยี วกัน” 3. นักเรยี นช่วยกนั อภิปรายและแสดงความคดิ เห็นคำตอบจากภาพตวั อย่าง 4. ครูถามนักเรียนว่า ภาพแต่ละภาพมีลักษณะการเคลื่อนที่เหมือนกันหรือแตกต่างกัน หรือไม่ อย่างไร นักเรียนสังเกตลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้นอย่างไร (ทิ้งช่วงให้นักเรียนคิด) จากนั้นครูอธิบาย ลักษณะการเคล่ือนที่ทลี ะภาพ 5. ครูถามคำถาม BIG QUESTION จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 1 ว่า ใน ชีวิตประจำวันมีกิจกรรมใดบ้าง ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ และให้ยกตัวอย่าง (เปิดโอกาสให้ นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นโดยไม่เน้นถูกผิด) (แนวตอบ : ในชวี ติ ประจำวัน เราพบเห็นการเคล่ือนท่ีของส่ิงตา่ งๆ เช่น นกบิน รถยนต์แล่นบน ถนน ลูกฟตุ บอลเคลอ่ื นท่ใี นอากาศ ใบพดั ลมหมนุ เด็กแกวง่ ชงิ ช้า ผลไม้หล่นจากต้น เป็นตน้ ) 6. นักเรียนช่วยกนั อภิปรายและแสดงความคดิ เห็นคำตอบจากคำถาม เพื่อเชื่อมโยงไปสู่การเรียนในเรือ่ ง ตำแหน่ง ระยะทาง และการกระจดั 7. ครใู ห้นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 90 ขั้นสอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครถู ามคำถาม Prior knowledge จากหนังสือเรียนว่า เราจะทราบได้อย่างไรวา่ วตั ถุเกดิ การเคล่ือนที่ (แนวตอบ : วตั ถมุ กี ารเปลีย่ นตำแหนง่ จากจุดหนงึ่ ไปอกี จุดหน่งึ ) 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า การเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นผลมาจากการที่มีแรงไปกระทำต่อวัตถุ ทำให้วัตถุ เปลี่ยนแปลงสภาพโดยเปลยี่ นตำแหน่งจากจดุ ที่ 1 ไปยงั จุดที่ 2 โดยการเปลีย่ นตำแหนง่ ของวัตถุจะทำ ใหเ้ กดิ ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลือ่ นท่ี 3. ครูแจง้ ใหน้ กั เรยี นทราบว่า จะได้ศกึ ษาเรื่อง ตำแหน่ง ระยะทาง และการกระจัด 4. ครูเข้าสู่บทเรียน เริ่มจากให้นักเรียนเข้าใจจุดอ้างอิงหรือตำแหน่งอ้างอิง โดยการตั้งประเด็นคำถาม เช่น • นักเรียนจะบอกตำแหน่งของบ้านนักเรียนให้เพื่อนเข้าใจได้อย่างไร (ขึ้นอยู่กับคำตอบของ นักเรยี น เช่น ชือ่ ถนน ชื่อซอย เป็นต้น) • นักเรียนเดินทางจากบ้านถึงโรงเรียนเป็นได้อย่างไร (ขึ้นอยู่กับคำตอบของนักเรียน เช่น เดิน ออกจากบ้านมาโรงเรยี นโดยท่ีเดินตรงไปทางทิศเหนือ 180 เมตร จากน้นั เลย้ี วซ้ายมุ่งหน้าไป ทางทิศตะวันตก 240 เมตร แล้วเดินต่อไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนืออีก 200 เมตร จึงจะ ถงึ โรงเรยี น) • นกั เรยี นมวี ธิ ีอย่างไร สำหรับการเดนิ ทางมาโรงเรียนที่ใชเ้ วลาน้อยทส่ี ุด (ข้ึนอยู่กับคำตอบของ นกั เรียน) 5. ครูและนักเรียนช่วยกันอภปิ รายถึงระยะทางในการเดนิ ความเร็วในการเดิน และระยะทางในการเดนิ นอ้ ยทส่ี ดุ เพื่อให้นกั เรยี นเข้าใจมากขึ้น 6. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า การศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุเป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของวัตถุ (position) การที่จะบอกการเปลี่ยนตำแหน่งต้องมีการระบุตำแหน่งเพื่อให้สื่อความหมายได้ตรงกัน และเป็นระบบเดียวกนั โดยกำหนดจดุ อา้ งอิงหรอื ตำแหน่งอ้างองิ (reference point) ซงึ่ เป็นจดุ ทบ่ี อก พิกัดที่แน่นอน และเป็นตัวเปรียบเทียบในการบอกตำแหน่งของวัตถุที่อยู่ภายในกรอบอ้างอิง (reference frame) 7. ครูให้นักเรียนแต่ละคนวิเคราะห์และอธิบายเกี่ยวกับจุดอ้างอิงและตำแหน่งของรถชนิดต่าง ๆ เทียบ กับทต่ี ้งั ของปา้ ยรถประจำทาง จากภาพในหนังสือเรียน 8. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปความสัมพันธ์ระหว่างจุดอ้างอิงกับตำแหน่งของรถในภาพ โดยกำหนด จุดอ้างอิงและอธบิ ายทิศทางของวตั ถเุ ทยี บกับจุดอ้างอิง จากนน้ั ครูสรปุ เร่ืองจุดอ้างอิงกับตำแหน่งของ วัตถุ เพ่ือใหน้ กั เรียนมีความเข้าใจในเน้ือหามากย่ิงข้ึน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 91 9. ครูเขา้ สเู่ นื้อหาเรื่อง ระยะทางและการกระจดั โดยครูช่วยเช่อื มโยงความรู้ใหม่จากเน้ือหาความรู้เดิมท่ี เรียนรู้มาแล้ว ด้วยการให้นักเรียนแต่ละคนบอกตำแหน่งของเพื่อน และระยะห่างระหว่างตัวนักเรียน กบั เพอื่ น เพ่ือให้เข้าใจความแตกต่างระหว่างระยะทางกับการกระจดั 10. ครูกล่าวต่อว่า การเคล่ือนทขี่ องวัตถเุ ปน็ การเปลยี่ นตำแหนง่ ของวัตถุ ซึง่ จะพจิ ารณาไดจ้ ากระยะทาง และการกระจัด แล้วครูอาจถามด้วยคำถาม เพื่อให้นักเรียนตอบจากความรู้และประสบการณ์ของ นกั เรียน ดังนี้ • ระยะทางกับการกระจัดมีความหมายและแตกต่างกนั อยา่ งไร • ระยะทางและการกระจัดมคี วามสมั พนั ธ์กันหรือไม่ อยา่ งไร • ระยะทางจะมคี ่าเทา่ กบั การกระจดั ในกรณใี ด 11. ครูทิ้งช่วงให้นักเรยี นแตล่ ะไดค้ ิด จากนั้นอาจสุม่ นักเรียนให้ออกมาตอบคำถามที่ครูได้ถามไวห้ น้าชั้น เรยี น 12. หลังจากนั้นครูอธิบายสรุปจากคำถามเกี่ยวกับระยะทางกับการกระจัดวา่ ระยะทาง (distance) คือ ระยะทั้งหมดที่วัดได้ตามแนวการเคลื่อนที่ ระยะทางจะระบุแต่ขนาดเพียงอย่างเดียว จึงจัดว่าเป็น ปริมาณสเกลาร์ หน่วยเป็นเมตร (m) ส่วนการกระจัด (displacement) คือ ระยะที่วัดได้ในแนว เส้นตรงจากตำแหน่งเริ่มต้นไปยังตำแหน่งสุดท้าย ซึ่งเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่ต้องระบุทั้งขนาดและ ทิศทาง มีหน่วยเป็นเมตร (m) ครูอธิบายชี้ให้นักเรียนเหน็ ว่า ระยะทางขึ้นอยู่กับเส้นทางการเคลื่อนที่ จริง ส่วนการกระจัดจะขึ้นอยู่กับตำแหน่งเริ่มตน้ และตำแหน่งสดุ ท้ายของการเคลื่อนที่ และระยะทาง จะมขี นาดเท่ากับการกระจัด ในกรณีท่วี ตั ถุเคล่อื นท่เี ปน็ เส้นตรงและไมเ่ ปลี่ยนแปลงทิศทาง 13. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน กำหนดให้แต่ละกลุ่มสืบค้นในหัวข้อ การคำนวณหา ระยะทางและการกระจัด โดยให้นักเรียนแต่ละร่วมกันวางแผนการสืบค้นทั้งจากหนังสือเรียน (หน้า 33-34) เอกสารอ้างอิง และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ตามขั้นตอนทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทักษะหรือ กระบวนการสงั เกต จากน้ันนำข้อมูลที่ไดม้ าอภิปรายรว่ มกนั หน้าช้ันเรียน อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาตัวอย่าง จากหนังสือเรียนโดยให้ร่วมกันศึกษาความแตกต่าง ระหว่างระยะทางและการกระจัด วิธีการหาระยะทางและการกระจัด โดยครูใช้คำถามนำเพื่อหา ข้อสรุป ดังน้ี • จากโจทยต์ วั อยา่ งการเคลื่อนท่ีของวัตถุแต่ละคร้งั ระยะทางและการกระจัดที่เกิดข้ึนมีลักษณะ อย่างไร (แนวตอบ : ระยะทางและการกระจดั ในการเคล่ือนที่มี 2 ลกั ษณะ คือ ระยะทางมากกว่าการ กระจดั และระยะเท่ากับและการกระจัด แตจ่ ากตัวอยา่ งระยะทางมากกวา่ การกระจัด) กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 92 • จากโจทย์ตัวอย่าง เด็กชายเอเดินเป็นแนววงกลมครบ 1 รอบ จะได้ระยะทาง 88 เมตร และ ทำไมการกระจัดถงึ มีค่าเป็นศนู ย์ (แนวตอบ : การกระจัดมีค่าเป็นศูนย์ เนื่องจากเมื่อสิ้นสุดการเคลื่อนที่แล้วจะไม่มีการ เปล่ยี นแปลง) 2. นักเรยี นแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอวธิ กี ารแกป้ ญั หาโจทยต์ ัวอยา่ งใหเ้ พ่ือน ๆ ทราบหน้าห้องเรยี น 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปผลการสืบเสาะหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นคำถามต่าง ๆ ที่ครูกำหนดไว้ (อาจ นำเสนอในรปู ของเอกสาร) แลว้ นำมาอภปิ รายและแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ กบั กลมุ่ อนื่ ๆ 4. นักเรียนร่วมกันเขียนแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เกี่ยวกับระยะทางและการกระจัด เพื่อ เปน็ การสรุปความคิดความเขา้ ใจที่ไดใ้ นช้นั เรียน แลว้ สง่ เปน็ การบ้านในคาบเรยี นตอ่ ไป ขน้ั สรุป ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูนำนักเรียนอภิปรายและสรปุ เกย่ี วกับเรือ่ ง ระยะทางและการกระจัด ดงั น้ี • ความหมายของระยะทางและการกระจัด • การคำนวณหาระยะทางและการกระจัด • การกระจัดจะมคี า่ เท่ากบั ระยะทางในกรณใี ด 2. ครเู ปิดโอกาสให้นกั เรยี นสอบถามเน้ือหาเร่ือง ตำแหน่ง ระยะทาง และการกระจดั ว่ามีสว่ นไหนท่ียังไม่ เข้าใจและให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น โดยที่ครูอาจจะใช้ PowerPoint เรื่อง ระยะทางและการ กระจดั ชว่ ยในการอธิบาย 3. ครูให้นกั เรยี นทำแบบฝึกหดั ท่ี 1 เรอื่ ง ระยะทางและการกระจัด 4. ครใู ห้นกั เรยี นทำ Unit Question 2 เร่อื ง ระยะทางและการกระจัด จากหนังสือเรียน ส่งเปน็ การบ้าน ในชว่ั โมงถดั ไป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครตู รวจสอบผลการทำแบบทดสอบก่อนเรยี น 2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตการตอบคำถาม การร่วมกันทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 3. ครวู ดั และประเมินการปฏบิ ตั ิการ จากการทำแบบฝึกหัดท่ี 1 เรอื่ ง ระยะทางและการกระจัด 4. ครูตรวจสอบผลการทำแผนผังมโนทศั น์ (Concept Mapping) 5. ครูวดั และประเมินผลจากการตอบคำถาม เรื่อง ระยะทางและการกระจดั 6. ครูวัดและประเมนิ ผลจากแผนผงั มโนทศั นท์ นี่ ักเรียนไดส้ ร้างข้ึนจากขน้ั อธบิ ายความร้ขู องนักเรียนเปน็ รายบคุ คล กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ี่ 4 93 ชว่ั โมงท่ี 2 ขน้ั นำ กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูและร่วมกันทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับ เรื่อง ระยะทางและการกระจัด เพื่อเป็นความรู้พื้นฐาน นำไปสเู่ นื้อหา เร่อื ง อตั ราเร็วและความเร็ว 2. ครูถามคำถามกระตุ้นใหน้ ักเรียนแสดงความคดิ เหน็ วา่ • ในการเคล่อื นท่ี นอกจากจะมีระยะทางและการกระจัดแลว้ ยังมปี ริมาณใดอกี • การบอกว่าวัตถุใดเคลอ่ื นทเ่ี รว็ หรือชา้ จะพิจารณาจากระยะทางหรือการกระจัดเทยี บกบั สิ่งใด 3. นักเรียนร่วมกันอภิปรายหาคำตอบเกี่ยวกับคำถามตามความคิดเห็นของแต่ละคน หลังจากนักเรียน ร่วมกันอภิปรายแล้ว ครูอธิบายเพิ่มเติมเพ่ือให้นักเรยี นเข้าใจมากข้ึนวา่ การเคลื่อนท่ีจากจุดหนึ่งไปยงั จุดหนึ่งน้นั นอกจากจะมรี ะยะทางและการกระจดั แล้ว ยงั มีเวลาท่ีใช้เคล่ือนท่ีด้วย และการบอกว่าวัตถุ ใดเคลื่อนที่เร็วหรอื ชา้ จะพิจารณาจากระยะทางหรือการกระจดั เทียบกับเวลาที่ใช้ในการเคล่ือนที่ ซึ่ง เก่ยี วกับปรมิ าณการเคล่ือนทขี่ องวตั ถุ คือ อตั ราเร็วและความเรว็ 4. ครแู จง้ ให้นักเรยี นทราบว่า จะไดศ้ กึ ษาเร่ือง อตั ราเร็วและความเร็ว ขนั้ สอน สำรวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ อัตราเร็วและความเร็ว จากหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 1 โดยถามคำถามให้นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น ดังน้ี • นกั เรยี นคดิ ว่า ความเร็วตา่ งจากอตั ราเร็วหรือไม่ อย่างไร (แนวตอบ ต่างกัน โดยอัตราเร็วเป็นระยะทางที่เปลี่ยนแปลงใน 1 หน่วยเวลา เป็นปริมาณส เกลาร์ สว่ นความเรว็ เปน็ การกระจัดที่เปล่ยี นแปลงในหนึ่งหน่วยเวลา เป็นปรมิ าณเวกเกอร)์ • นักเรียนพิจารณา สมการของอัตราเร็วและความเร็ว นักเรียนจะสามารถหาปริมาณอื่นได้ หรือไม่ เช่น การกระจดั ระยะทาง หรอื เวลา (แนวตอบ สามารถหาปริมาณอืน่ ได้ โดยการปรบั รูปสมการ ดงั สมการความสัมพันธใ์ นหนังสือ เรยี น) 2. ครูให้ผู้แทนนักเรียนออกมานำอธิบายความแตกต่างระหว่างอัตราเร็วกับความเร็ว จากนั้นครูอธิบาย เพิม่ เติมถึงความแตกตา่ งของท้ังสองปริมาณ พร้อมบอกเหตผุ ล 3. ครูถามคำถามจากหนังสือเรียน เพอื่ เปน็ การตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี นว่า “ถ้าพดู วา่ โดยปกติ โปเต้ขับรถเรว็ ประมาณ 70 กโิ ลเมตรต่อช่วั โมง และวันน้ีโปเตข้ ับรถมาทำงานเร็วถงึ 100 กิโลเมตรต่อ ชั่วโมง” นกั เรียนคดิ ว่ามคี วามแตกต่างกนั หรอื ไม่ อย่างไร กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 94 (แนวตอบ : มีความแตกต่างกัน เนื่องจากข้อความแรกกล่าวถึงอัตราเร็วโดยเฉลี่ยในการ เดินทางของโปเต้ ขณะอีกข้อความหนึ่ง คือความเร็วซึ่งเป็นปริมาณเวกเตอร์ โดยมีการระบุทิศทาง มายงั ท่ีทำงานไวด้ ว้ ย ทำใหป้ ริมาณทัง้ สองมคี วามแตกต่างกัน) 4. ครูอาจให้ความรู้เสริมว่า อัตราเร็วที่อ่านได้จากมาตรวัดบนหน้าปัดรถยนต์จะแสดงว่าอัตราเร็ว ณ ขนาดนั้น แต่ถ้าพิจารณาถึงทิศทางของการเคลื่อนที่จะได้รถเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว และถ้ามีการ เปลี่ยนแปลงความเรว็ จะกลา่ วได้ว่า รถเคล่ือนที่ดว้ ยความเร่ง 5. ครูถามนักเรียนต่อไปว่า ความเร็วกับความเร็วเฉลี่ย เหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร และ อัตราเร็วกับอัตราเร็วเฉลี่ย เหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร (ท้ิงช่วงให้นักเรียนคิด) 6. ครูให้ผู้แทนนกั เรยี นแต่ละกลุ่มนำเสนอความร้ตู ามทีน่ กั เรยี นเขา้ ใจ 7. นักเรียนและครูร่วมกันวิพากษ์เกี่ยวกับข้อมูลการนำเสนอของแต่ละคนต่าง ๆ เพื่อความเข้าใจตรงกนั โดยนักเรียนและครคู วรได้ข้อสรุปร่วมกันดงั น้ี • ความเร็ว เป็นการกระจัดของวัตถุในหนึ่งหน่วยเวลา เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็นเมตร ต่อวนิ าที สว่ นความเร็วเฉลี่ย เป็นการกระจดั ระหวา่ งจุดเร่ิมตน้ กับจดุ สดุ ท้ายของการเคล่ือนที่ ตอ่ เวลาทใ่ี ชใ้ นการเคลื่อนทท่ี ง้ั หมด • อัตราเร็ว เป็นระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยเวลา เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น เมตรตอ่ วนิ าที สว่ นอตั ราเรว็ เฉล่ยี เป็นอัตราการเคล่ือนทตี่ ามระยะทางจรงิ ในหน่งึ หนว่ ยเวลา 8. จากนั้นครูให้ความรู้เรื่องอัตราเร็วขณะหนึ่ง (instantaneous speed) ตามรายละเอียดในหนังสือ เรียน โดยที่นักเรียนมีส่วนร่วมในการอภิปรายหรือสอบถาม ซึ่งนักเรียนจะเข้าใจมากยิ่งขึ้นในหัวข้อ ตอ่ ไป เร่ือง เครื่องเคาะสัญญาณเวลา อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนร่วมกันศึกษาทำความเข้าใจโจทย์ เรื่อง อัตราเร็วและความเร็ว และลอง หาคำตอบจากตัวอย่างด้วยตนเอง จากตวั อยา่ งในหนังสือเรียน เพื่อให้ช่วยเข้าใจการนำเสนอข้อมูล ได้มากยิ่งข้ึน ครูควรให้นักเรยี นทำโจทย์ตามขัน้ ตอนการแก้โจทยป์ ญั หา ดังน้ี • ข้นั ที่ 1 ทำความเข้าใจโจทย์ตัวอย่าง • ขั้นท่ี 2 ส่งิ ท่ีโจทย์ต้องการถามหา และจะหาสงิ่ ทโี่ จทยต์ อ้ งการ ตอ้ งทำอย่างไร • ขั้นท่ี 3 ดำเนินการหาคำตอบ • ขั้นท่ี 4 ตรวจสอบคำตอบของโจทย์ตวั อย่าง 2. ครูสุ่มนักเรียนให้ออกมานำเสนอวิธีการแก้ปญั หาโจทย์ตัวอย่างตามขั้นตอนในแต่ละขั้น โดยที่ครูคอย แนะนำและเสริมขอ้ มลู ทีถ่ กู ตอ้ งใหน้ ักเรียน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรียนร้รู ายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 95 ขน้ั สรุป ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูนำนักเรียนอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับวิธีการหาอัตราเร็วและความเร็ว แล้วให้นักเรียนร่วมกัน วิเคราะหแ์ ละสรปุ ความแตกตา่ งระหวา่ งอตั ราเรว็ และความเรว็ 2. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และยกตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับความเร็วเฉลี่ย และ อัตราเร็วเฉลี่ยในชีวิตประจำวัน และการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร เช่น การ วิเคราะห์เส้นทางที่เหมาะสมจะช่วยประหยัดเวลา นำไปใช้ในระบบ GPS เพื่อคำนวณเส้นทางการ เดนิ ทาง 3. ครูเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นสอบถามเน้ือหาเรื่อง อตั ราเร็วและความเร็ว วา่ มสี ว่ นไหนทย่ี งั ไมเ่ ข้าใจและให้ ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น โดยที่ครูอาจจะใช้ PowerPoint เรื่อง อัตราเร็วและความเร็ว ช่วยในการ อธิบาย 4. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบฝึกหัดที่ 1 เรือ่ ง อตั ราเร็วและความเรว็ 5. ครูมอบหมายใหน้ กั เรียนสรปุ แผนผงั มโนทศั น์ (Concept Mapping) เรอื่ ง อตั ราเร็วและความเรว็ และ ให้นักเรียนทำ Unit Question 2 เรอื่ ง อัตราเรว็ และความเร็ว สง่ เป็นการบา้ นชว่ั โมงถดั ไป ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจสอบผลการทำแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ครูประเมนิ ผล โดยการสังเกตการตอบคำถาม การร่วมกนั ทำผลงาน และจากการนำเสนอผลงาน 3. ครวู ดั และประเมนิ การปฏิบัติการ จากการทำใบงานท่ี 2.2 เรอื่ ง อัตราเรว็ และความเรว็ 4. ครวู ดั และประเมินผลจากการทำ Unit Question 2 เร่ือง อตั ราเรว็ และความเรว็ 5. ครูวัดและประเมนิ ผลจากผังมโนทัศนท์ ี่นักเรียนไดส้ ร้างขนึ้ จากขั้นขยายความเข้าใจของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบ๊ิ

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 96 8. การวดั และประเมินผล วธิ วี ดั เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ รายการวัด 1.แบบทดสอบก่อน 1.แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ผา่ นการประเมินคะแนน ดา้ นความรู้ เรียน 1.เกดิ ความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับ 2.แบบฝึกหัด 2.แบบฝึกหัด รอ้ ยละ 70 ขึ้นไป ความหมายของปริมาณตา่ ง ๆ ที่ เกยี่ วข้องกับการเคลือ่ นท่ี 1.สังเกต และ 1.แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านการประเมินไดร้ ะดับ 2.อธบิ ายความสัมพันธข์ องปริมาณ ประเมินจากการ การทำงานรายบุคคล คณุ ภาพ ดี ขึน้ ไป ท่ีเกีย่ วข้องกบั การเคลื่อนท่จี าก ปฏิบตั กิ ิจกรรม และการทำงานกลุม่ กราฟและสมการได้ ระหวา่ งเรยี น ด้านทกั ษะ/กระบวนการ 1.แบบประเมินด้าน ผา่ นการประเมินไดร้ ะดบั 1.สามารถคำนวณหาปริมาณต่างๆ 1.สังเกต และ คุณลกั ษณะอนั พึง คณุ ภาพ ดี ขน้ึ ไป ทเี่ ก่ียวข้องกับการเคลื่อนที่ได้ ประเมินจากการ ประสงค์ ปฏิบัตกิ ิจกรรม ดา้ นคณุ ลกั ษณะ ระหวา่ งเรยี น 1.แบบประเมนิ ด้าน ผา่ นการประเมินไดร้ ะดับ 1.มวี นิ ยั สมรรถนะสำคัญของ คณุ ภาพ ดี ข้นึ ไป 2.ใฝ่เรียนรู้ 1.สงั เกต และ ผเู้ รยี น 3.มุง่ มัน่ ในการทำงาน ประเมนิ จากการ 4.มคี วามซื่อสตั ย์ ปฏิบตั กิ จิ กรรม ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ระหวา่ งเรยี น 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจติ๊บ

แผนการจดั การเรยี นรูร้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปที ่ี 4 97 9. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรยี น รายวิชาเพ่มิ เตมิ ฟสิ ิกส์ ม.4 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 2 เร่อื ง การเคลอื่ นทแ่ี นวตรง 2) แบบฝึกหัดที่ 1 เรือ่ ง ระยะทางและการกระจดั 3) แบบฝกึ หัดท่ี 2 เรอื่ ง อตั ราเร็วและความเร็ว 4) PowerPoint เร่ือง ปรมิ าณที่เกดิ จากการเคลื่อนทีข่ องวัตถุ 9.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งเรยี น 2) หอ้ งสมุด 3) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ 10. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานทมี่ อบหมาย ............................................................................................................................. .................................................... ................................................................................................................................................................................. กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจติบ๊

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศึกษาปีที่ 4 98 แบบฝกึ หดั ที่ 1 เรื่อง ระยะทางและการกระจัด คำชแี้ จง : ให้นักเรยี นตอบคำถามตอ่ ไปน้ี 1. จงอธบิ ายความหมายของตำแหน่ง ระยะทาง และการกระจัด 2. ถา้ เหว่ียงก้อนหนิ ไปเป็นรปู วงกลมรศั มี 3 เซนตเิ มตรก้อนหินจะเคลอ่ื นทไ่ี ดร้ ะยะทางและการกระจัดเทา่ ไร 3. เด็กชายคนหนึง่ เดินทางไปทางทศิ ตะวันออก 150 เมตร แล้วเดนิ กลบั ทางเดิม 30 เมตร ไปทางทศิ ตะวันตก จงหาการกระจัดของเด็กคนน้ี 4. โยนก้อนหินข้ึนไปจากยอดตกึ สูง 100 เมตร ก้อนหินเคลอื่ นทไี่ ปไดส้ ูงสดุ 50 เมตร จงึ ตกกลบั ลงมายงั พืน้ ดนิ จงหาว่าก้อนหินเคลื่อนที่ได้ระยะทางและการกระจดั ท้ังหมดเทา่ ไร กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจตบิ๊

แผนการจดั การเรยี นร้รู ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 99 เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ 1 เรื่อง ระยะทางและการกระจัด คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1. จงอธิบายความหมายของตำแหนง่ ระยะทาง และการกระจัด ตำแหนง่ คอื การบอกให้ทราบว่าวตั ถหุ รือสิง่ ของทเ่ี ราพจิ ารณาอยู่ท่ใี ด และเพื่อความชดั เจนการบอกตำแหน่ง ของวัตถจุ ะต้องเทียบกบั จดุ อ้างอิงหรือตำแหนง่ อ้างอิง (reference point) ระยะทาง คือ ระยะทั้งหมดท่ีวดั ได้ตามแนวการเคลอ่ื นที่ ระยะทางจะระบุแต่ขนาดเพยี งอยา่ งเดียว จงึ จดั ว่าเป็นปริมาณสเกลาร์ หน่วยเป็นเมตร (m) การกระจัด คือ ระยะทีว่ ัดได้ในแนวเส้นตรงจากตำแหน่งเร่ิมตน้ ไปยงั ตำแหน่งสุดทา้ ย ซ่ึงเปน็ ปริมาณ เวกเตอร์ทต่ี ้องระบุทงั้ ขนาดและทศิ ทาง มหี น่วยเป็นเมตร (m) 2. ถา้ เหว่ยี งก้อนหินไปเป็นรูปวงกลมรศั มี 3.0 เมตร กอ้ นหินจะเคลอื่ นท่ีได้ระยะทางและการกระจัดเท่าไร วิธีทำ กอ้ นหนิ เคลื่อนท่ีได้ระยะทาง = เสน้ รอบวง = 2r = 2 (3.0) = 18.8 การกระจัด = 0 (จุดเร่ิมตน้ กับจุดสดุ ทา้ ยอยู่จดุ เดียวกนั ) ดงั น้ัน ระยะทางเทา่ กับ 18.8 เมตร และการกระจัดเท่ากับ 0 3. เดก็ ชายคนหนง่ึ เดินทางไปทางทิศตะวนั ออก 150 เมตร แล้วเดินกลบั ทางเดิม 30 เมตร ไปทางทศิ ตะวนั ตก จงหาการกระจัดของเดก็ คนน้ี วธิ ีทำกำหนดใหท้ ศิ ทางตะวนั ออกมีคา่ เปน็ บวก และทิศทางตะวันตกมคี า่ เป็นลบ การกระจดั ทีเ่ ดก็ เดินได้ = 150 + (-30) = 120 เมตร ดงั นั้น การกระจดั ของเดก็ ชายเปน็ 120 เมตร ไปทางทิศตะวันออก 4. โยนก้อนหินขนึ้ ไปจากยอดตึกสงู 100 เมตร กอ้ นหินเคลือ่ นทีไ่ ปไดส้ งู สุด 50 เมตร จงึ ตกกลบั ลงมายงั พื้นดนิ จงหาวา่ กอ้ นหนิ เคลอ่ื นท่ไี ดร้ ะยะทางและการกระจัดท้งั หมดเท่าไร วธิ ีทำ ระยะทางที่ก้อนหินเคลือ่ นท่ี = 50 + 50 + 100 = 200 กำหนดให้ ทศิ ทางข้นึ จากพนื้ ดินมคี ่าเป็นบวก และทิศทางลงสู่พน้ื ดนิ มีคา่ เปน็ ลบ การกระจดั = 50 + (-50) + (-100) = 100 เมตร มีทิศจาก A ไป C ดงั นั้น กอ้ นหินเคลื่อนท่ีไดร้ ะยะทาง 200 เมตร และการกระจดั 100 เมตรทิศจาก A ไป C กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อมั รา ใจต๊บิ

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชาฟสิ กิ ส์ 1 (ว31201) มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 100 แบบฝึกหัดที่ 2 เรอ่ื ง อัตราเรว็ และความเร็ว คำชี้แจง : ให้นกั เรยี นตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ความหมายของความเรว็ ความเร็วเฉลย่ี และความเร็วขณะใดขณะหน่งึ 2. ลงิ กำลังปีนขึน้ ต้นมะพร้าว ถา้ ในทุก ๆ 30 วนิ าที สามารถปีนข้ึนไปไดส้ งู 10 เมตร แตจ่ ะล่ืนไถลลงมาอีก 1 เมตร เสมอ จงหาระยะทาง การกระจัด อัตราเร็วเฉล่ีย และความเรว็ เฉล่ีย 3. ชายคนหนึ่งวิ่งออกกำลังกายด้วยอัตราเร็วคงตัว 5 เมตรต่อวินาที เมื่อวิ่งได้ระยะทาง 100 เมตร เขารู้สึก เหนื่อยจงึ เปลี่ยนมาเป็นเดินด้วยอัตราเร็วคงตวั 1 เมตรตอ่ วินาที ในระยะทาง 100 เมตรต่อมา อัตราเร็วเฉล่ียใน การเคลือ่ นทขี่ องชายคนนี้มีคา่ เท่าใด กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อัมรา ใจตบิ๊


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook